# 1 เ พื่ อ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ถ พ า ณิ ช ย
กาวสูปที่ 12
ฉบับที่ 271
www.BusAndTruckMedia.com
ปกษแรก มิถุนายน 2558 40 บาท
ยักษใหญรถการพาณิชย วางแผนรอตลาดฟน
คําถามสังคม
AEC
ดีตอภาคขนสง จริงหรือ? ดับเครื่องชม
ชมระบบขับเคลื่อนทุกลอ VOLVO FMX เปรียบเทียบรถเดน เปรยบเทยบรถเดน
04
บรรทุก 6 ลอ สมรรถนะสูง
ธุรกิจโรงงานประกอบรถเพื�อการ พ า ณิ ช ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ถื อ ว า มี มาตรฐานระดับโลกเนื�องจากคายยักษ ใหญ ไ ม ว า จะเป น สามมิ ต ร, พนั ส ,
อารซีเค, ช.ทวี ตางผลิตสินคาสงออก มาเป น เวลานานแต สํ า หรั บ ภายใน ประเทศขณะนี้ตางกําลังวางแผนเพื�อ กระตุนยอดขายภายในประเทศใหเพิ่ม
มากขึ้น ไมวาจะเปน การขยายโรงงาน ภายในประเทศและตางประเทศ เพื�อ สรางกลยุทธเรื�องตนทุน หรือเพิม่ กําลัง การผลิตใหสูงขึ้นเพื�อรองรับตลาดที่จะ อานตอหนา 38
LOGISTICS NEWS
24
ไทคอน-SSIA-มิตซุย ผนึกกําลังจัดตั้ง SLP
28
ทดลองรถเมลไฟฟา ฝนที่จับตองได
44
POWER SAVING
ไทยซันปลื้มมิกเซอร SANY โต ไฮเกอรรวมกลยุทธสูตลาดบัส ตั้งเปาปนี้ ขายได 250 คัน หลังเปด AEC สงผลดีหลายดาน
ไทยซัน ปลื้มรถมิกเซอร SANY ทั้งขนาด 6 คิว และ 3 คิว โตตามกระแสวงการกอสราง เมกะโปรเจกต และ อสังหาริมทรัพย ตั้งเปาป 58 แบงตลาดได 250 คัน พรอม ดูแลลูกคา SHACMAN เต็มที่ เล็งขยายศูนยฯ เพิ่มให ครอบคลุมหัวเมืองภาคกลาง เหนือ อีสาน และใต
คาย “ไฮเกอร” ประกาศชัดรวมกลยุทธทุกอยางเพื�อ ความเปนหนึ่ง ลาสุดเปดตัวรถใหม 2 รุน 9 เมตรและ 12 เมตร หลังเปด AEC แนวโนวบริษัทแมประเทศจีนเลือกให ประเทศมาเลเซียเปนศูนยกลาง มัน่ ใจสงผลดีในหลาย ๆ ดาน ทํางานงายกวาเดิม
อานตอหนา 39
อานตอหนา 39
04 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK SHOW
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
ดับเครื่องชม
ชมระบบขับเคลื่อนทุกลอ
VOLVO FMX
ระบบขับเคลื่อนทุกลอของ วอลโว ทรัคส ที่ไดเปดตัวไปนั้นจากขอมูลที่ไดนํามาเปดเผยและรายละเอียดของ กลไกซึ่งมีผูเชี่ยวชาญของวอลโว ทรัคส ไดใหขอมูลและอธิบายถึงการทํางานของระบบขับเคลื่อนทุกลอวามี ประสิทธิภาพและขอดีอยางไรเมื่อใชระบบนี้
เคลื�อนลอหนาขณะที่รถยังเคลื�อนที่โดย ใชเวลาเพียงเล็กนอยเทานั้น”
พัฒนาขึ้นสําหรับ อุตสาหกรรมที่สมบุกสมบัน
Jonas Odermalm ผูจัดการ สวนงานกอสรางของวอลโว ทรัคส กลาววา คุณลักษณะใหมของระบบขับ เคลื�อ นทุ ก ล อ นั้ น เป น กลไกทาง เทคโนโลยี เ พื�อ ตอบสนองระบบขั บ เคลื�อนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นเพื�อ การควบคุ ม การเกาะถนนและการ เคลื�อนทีใ่ หดยี งิ่ ขึน้ เปนการขับขี่โดยใช เพลาหน า แบบอั ต โนมั ติ ข ณะที่ ร ถ เคลื�อนที่ ในกรณีท่ีรถบรรทุกมีความ เสีย่ งทีจ่ ะเกิดการติดขัด เมื�อลอหลังไม สามารถเกาะถนนไดขณะอยูบ นพืน้ ผิว ทีล่ ื�นหรือออนนุม ผูข บั ขีส่ ามารถขับรถ ไดอยางลื�นไหลมากขึ้น และสามารถ ประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิงอีกทั้งยังชวย ลดการสึกหรอของรถบรรทุก “ผูข บั ขีห่ ลายคนใชการขับเคลื�อน ลอหนาหรือล็อคดิฟเฟอเรนเชียลใน สภาวะปกติ ก อ นที่ จ ะเจอสภาพ ภูมปิ ระเทศทีย่ ากลําบากเพื�อหลีกเลีย่ ง
ความเสี่ ย งที่ จ ะเกิ ด การติ ด ขั ด ระบบ ควบคุ ม การเกาะถนนอั ต โนมั ติ ข อง วอลโว ทรัคส จะเปดการใชงานระบบขับ
สําหรับรถบรรทุกของวอลโวทใี่ ชใน งานกอสรางและงานในเหมืองคงไมพน รุน FMX ซึ่งเปนรถบรรทุกที่จะตองเจอ สภาพถนนหรือพื้นที่แบบสมบุกสมบัน มากไมวาจะเปนโคลนหรือพื้นถนนที่มี การยุบตัวสูงระบบขับเคลื�อนจึงตองมี ประสิทธิภาพทีส่ งู กวารถบรรทุกทีใ่ ชงาน อื�น ๆ เพราะเหตุผลนีร้ ะบบขับเคลื�อนทุก ลอของวอลโวจึงถูกติดตั้งใหเปนระบบ มาตรฐานทีต่ ดิ ตัง้ ไวในรถบรรทุกรุน FMX ในขณะนี้มีบริษัทขนสงที่ใหบริการ ในวงการกอสราง ได ใชรถบรรทุกวอลโว FMX แบบเพลาขับดานหนาไดทดลองใช งานและสามารถใชระบบขับเคลื�อนทุก ลอแบบอัตโนมัติเพื�อใหบรรทุกวอลโว FMX สามารถควบคุมการเกาะถนนได เปนอยางดี โดยระบบจะประกอบดวย ซอฟต แ วร ที่ เ ชื�อ มต อ กั บ เซ็ น เซอร ความเร็วที่ตรวจจับเพื�อควบคุมการขับ เคลื�อนลอ เมื�อลอหลังเกิดการลื�นไถล กําลังจะถูกสงโดยอัตโนมัติไปยังลอหนา โดยที่ ร ถบรรทุ ก ไม สู ญ เสี ย กํ า ลั ง หรื อ ความเร็ว คลัตชจะเปดใชงานการขับ เคลื�อนลอหนาดวยเวลาเพียงครึ่งวินาที คลัตชจะเบาขึ้นและมีสวนที่เคลื�อนตัว นอยลงกวาดั้งเดิมที่มีการขับเคลื�อนทุก ล อ แบบถาวร หากผู ขั บ ขี่ เ กิ ด เหตุ บ น ภูมปิ ระเทศทีข่ รุขระ เปนไปไมไดเลยทีจ่ ะ ล็อคดิฟเฟอเรนเชียลอื�นทั้งที่ดานหนา และดานหลังดวยตนเอง
เคลื่อนที่ไดลื่นไหลขึ้น และใชเชื้อเพลิงนอยลง
การขับเคลื�อนดวยเพลาหนาจะ ช ว ยป อ งกั น การหยุ ด นิ่ ง บนสภาพ ภู มิ ป ระเทศที่ ย ากลํ า บาก ในขณะ เดียวกันฟงกชันนี้มักใชกับสวนเล็ก ๆ ของการเดินทางทัง้ หมดเทานัน้ เมื�อใช ระบบควบคุมการเกาะถนนอัตโนมัติ ยางลอหนาจะยึดเกาะไปกับการบังคับ เลี้ยวจนกวาจะเจอสถานการณวิกฤต ซึ่งทําใหผูขับขี่สามารถขับรถไดอยาง ลื�นไหลขึ้นเทาที่จะทําได ผูข บั ขีย่ งั หลีกเลีย่ งการสิน้ เปลือง นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง เพิ่ ม เติ ม และการ สึกหรอของระบบขับเคลื�อนและยางรถ ซึ่งการใชงานระบบขับเคลื�อนลอหนา จะทําใหเกิดผลเชนนั้นเปนปกติ ระบบ ควบคุมการเกาะถนนอัตโนมัติทําให มั่นใจไดวามีการเปดใชงานการผสาน การขั บ เคลื�อ นที่ เ หมาะสมอยู เ สมอ โดยที่ผูขับขี่ ไมตองตัดสินใจเอง “ระบบควบคุ ม การเกาะถนน อั ต โนมั ติ เ ป น อี ก ตั ว อย า งหนึ่ ง ของ เทคโนโลยีสุดลํ้าสมัยที่สามารถทําให สิ่งตาง ๆ งายขึ้นและดีขึ้นกวาเดิม เหมือนที่ Volvo I-Shift ไดปฏิวัติเกียร เรามั่นใจวาการพัฒนาครั้งใหมนี้จะ ทําใหเกิดผลเชนเดียวกันสําหรับเพลา ขับเคลื�อนดานหนา” Ricard Fritz รองประธานของแบรนด วอลโว ทรัคส กลาวเพิ่มเติม
มาตรฐานสําหรับ Volvo FMX ที่มีเพลาขับดานหนา
ระบบควบคุ ม การเกาะถนน อัตโนมัตมิ ใี หบริการมาตรฐานใน Volvo FMX รุน 4x4, 6x6, รวมถึง 8x6 พรอม ทั้ ง โปรแกรมเครื�อ งยนต ทั้ ง หมดที่ มี มาตรฐาน Euro 3, 4, 5 และ 6
06 BUS&TRUCK • SPECIAL PURPOSE VEHICLE
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
รถเพื่ อกิจการพิ เศษ
คูโบตา
รถขุดเล็ก 3.3 ตัน ประสิทธิภาพสูง “คูโบตา” แบรนดนเี้ ปนทีค ่ น ุ เคยเปนอยางดีในประเทศไทยไมวา จะเปนภาคเกษตรหรือภาคอุตสาหกรรมกอสราง แตสําหรับสินคาอยางรถขุดคูโบตา ถือวาไดรับความนิยมอยางมากดวยยอดขายอันดับ 1 ในประเทศไทย
ทํ า งานด ว ยกํ า ลั ง การตั ก กว า 0.11 ลูกบาศกเมตร แข็งแรง ทนทาน รองรับ งานหนัก ด า นความปลอดภั ย มั่ น ใจได โ ดย ศูนยถว งนํา้ หนักของรถตํา่ และเสริมแกน ลอเหล็ก เพื�อรองรับตีนตะขาบเพิม่ ความ มั่ น คงปลอดภั ย ให กั บ ผู ขั บ ขี่ ใ นขณะ ทํางานหรือยกของหนัก เบรกล็อคลอ อั ต โนมั ติ จ ะทํ า งานเมื�อ ดั บ เครื�อ งช ว ย ป อ งกั น รถไหลเมื�อ จอดในพื้ น ที่ เ อี ย ง พิเศษสําหรับรุน นี้ ไดเสริมความปลอดภัย ดวยโครงสรางหลังคานิรภัยชวยปกปอง อุบัติเหตุจากการพลิกควํ่าหรือของหลน จากที่สูง KX91-3 Super Series 2 พัฒนามา เพื�อ ตอบสนองการใช ง านอย า งเต็ ม ประสิทธิภาพ มาพรอมกับหองโดยสาร ปรับอากาศ ชวยใหผู ใชงานทํางานได
โดยไมนานมานี้ “สยามคูโบตา” ไดเปดตัวรถขุดขนาด 3.3 ตัน รุน ใหม โดยรุนนี้มีการพัฒนาดวยเทคโนโลยี ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เจาะกลุม เปาหมายที่เปนสถาปนิกและวิศวกร ผูรับเหมา รวมทั้งผูประกอบการใน ภาคธุ ร กิ จ ก อ สร า งและพั ฒ นา อสังหาริมทรัพย สําหรับจุดเดนของรถขุด คูโบตา ขนาด 3.3 ตัน KX91-3 Super Series 2 มาพรอมเครื�องยนตดีเซลคูโบตา 3 สูบ 4 จังหวะ ระบายความรอนดวย นํ้า กําลังสูงสุด 29.6 แรงมา 22.1 กิโล วัตต แรงบิดสูงสุด 2,250 รอบตอนาที เครื�องยนตแรงประหยัด ลดรอบเดิน เบาของเครื�องยนต โดยอัตโนมัติเมื�อ ไมมกี ารทํางานและสามารถปรับไปยัง รอบการใชงานปกติไดทันที เมื�อเริ่ม ทํ า งานอี ก ครั้ ง ทํ า ให ป ระหยั ด นํ้ า มั น เพิ่มขึ้น 10% ระยะของแขนขุดออกแบบมาให มีชว งแขนยาวจึงมีระยะการทํางานได ไกล โดยสามารถขุดได ไกลสุดถึง 5.13 เมตร และระยะขุ ด ที่ ลึ ก สุ ด 3.186 เมตร ขณะอยูในที่ราบระดับเดียวกับ รถ มี ร ะบบไฮโดรลิ ค ซึ่ ง ปรั บ ตั้ ง
อัตโนมัติ ไมตองเลี้ยง คั น โ ย ก เ พื�อ ป รั บ ปริ ม าณนํ้ า มั น ไอโดร ลิ ค ให เ หมาะสมกั บ การทํ า งานที่ ห ลาก หลาย ช ว ยให เ กิ ด ความสมดุ ล ทั้ ง ด า น ความเร็ ว และกํ า ลั ง ของตั ว รถ ให ค วาม สะดวกในการเปลี่ยน อุปกรณเสริมดวยสาย ไฮโรลิค 2 สาย ทําให รถขุดใชงานไดหลาก ห ล า ย เ ฉ พ า ะ รุ น นี้ เทานั้น เมื�อมีการใช ไฮโดรลิคทิศทางเดียว เช น การใช หั ว เจาะ นํา้ มันไฮโรลิคสามารถ ไหลกลับได โดยไมตอ ง ผานตัวควบคุมวาลว ชวยลดความสกปรก ลดปญหาความดันยอนกลับและเพิ่ม ประสิทธิภาพการไหลยอนของนํ้ามัน ไฮโดรลิคในระบบ ชุดหัวขุดทรงพลัง มีขนาดหัวขุด กวาง 0.50 เมตร คงประสิทธิภาพการ
อย า งสะดวกสบายเหมาะกั บ การ ทํ า งานในสภาพภู มิ อ ากาศของ ประเทศไทย อีกทั้งยังมีการใหบริการ หลังการขายที่ครบครัน อาทิ การรับ ประกันสินคาอายุ 1 ป หรือ 2,000 ชัว่ โมง และโครงการ Beyond Service Checking (บริการตรวจเช็คฟรี 9 ครัง้ ภายใน 2 ป) ดวยความดูแลอยางใกล ชิดจากศูนยบริการที่มีมากกวา 200 สาขาครอบคลุมทัว่ ประเทศ และลูกคา ยังสามารถมั่นใจในความพรอมของ อะไหล แ ท ที่ ค รบครั น หาซื้ อ ง า ย เนื�องจากสยามคูโบตามีศูนยกระจาย อะไหล ส ยามคู โ บต า ภายใต อ าคาร หลั ง คาเดี ย วที่ ใ หญ ที่ สุ ด ในโลกของ KUBOTA Group ซึ่งตั้งอยูในนิคม อุตสาหกรรม นวนคร จังหวัดปทุมธานี เพื�อ รองรั บ การบริ ก ารหลั ง การขาย และจัดสงอะไหลใหแกลูกคาไดอยาง ครบถวนและรวดเร็วยิ่งขึ้น สําหรับผูที่สนใจสามารถติดตอ บริ ษั ท สยามคู โ บต า คอร ป อเรชั่ น จํากัด โทรศัพท 0-2909-0300
08 BUS&TRUCK • BUSINESS CATALYST
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
คันเร่งธุรกิจ
Q4 ตลาดฟน เมื�อป 2557 ยอดการจําหนายรถ ใหญประมาณ 2.7 หมื�นคัน ซึ่งถือวาตํ่า กวาเปาหมายทีแ่ ตละคายไดวางไว มาใน ป 2558 นี้ ทุกคายตางคาดหวังวาตองมี ยอดจําหนายรวมมากกวา 3.5 หมื�นคัน แตเมื�อผาน 4 เดือนแรกของปสามารถ จําหนายได 8 พันกวาคันเทานั้น หากคิดเปน “บัญญัติไตรยางค” คงจะมียอดจําหนายทั้งปไมถึงเปาแน!!! เมื�อวิเคราะหดูจากนโยบายที่ทาง รัฐบาลไดวางไว ในป 2558 นี้ โครงการ ตาง ๆ ที่เปนพื้นฐานการพัฒนาคมนาคม ก็จะเริ่มขึ้นในชวงปลายป รวมถึงพืชผล ทางการเกษตรก็ จ ะสามารถเก็ บ เกี่ ย ว ขนสงได ในชวงปลายปเชนเดียวกัน ดังนั้น จึงมีการประเมินวา ในชวง ไตรมาส 4 ของปนี้ ตลาดรถใหญก็จะเริ่ม มีความตองการในตลาดเปนรูปธรรมมาก ยิง่ ขึน้ ไมวา จะเปนรถดัมพทตี่ อ งใช ในการ กอสรางในโครงการตาง ๆ รถบรรทุก สิบลอทีต่ อ งใชขนสงในการเกษตร รวมถึง รถขนส ง ให กั บ บริ ษั ท ที่ ไ ด รั บ มาตรฐาน สากลตองมีอายุการใชงานตามทีก่ าํ หนดก็ ถึงเวลาที่จะตองเปลี่ยนใหมดวย สูต อ ไปอยายอมแพเศรษฐกิจตอง ฟนตัวเร็วแน! บรรณาธิการอาวุโส นิตยสาร BUS & TRUCK คณะผูจัดทําฝายบริหาร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 คณะที่ปรึกษา ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา, ชยาวุธ จิรธันท, ยู เจียรยืนยง พงศ, บุนเอี้ยน ศรีแสนสุชาติ, วรพจน แสงทวีสิน, เถลิง พลวรรณาภา, ชูชาติ สวางสําลี, ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร, คุณวรวิทย เจริญวัฒนพันธ, คุณสมชาย ทองคําคูณ ทีมงานฝายบริหาร กรรมการผูจัดการ คุณชาตรี มรรคา รองกรรมการผูจัดการ คุณศุภแมน มรรคา รองกรรมการผูจัดการ คุณศุภวาร มรรคา Publishing Director คุณปยะนุช มีเมือง ฝายขายโฆษณา Sales Director คุณศุภแมน มรรคา supaman@ttfintl.com ผูจัดการโฆษณา สุจิตรา สงครามรอด แผนกโฆษณา นัฐพล วณิชกูร ชญานิน มาศเมธา ณัฑฏดนัย ฐิติระอานนท อนรรฆวี หาญอยูคุม นิภาพร ทุมสอน เลขาแผนกโฆษณา บุตรตรี สงางาม ฝายกองบรรณาธิการ บรรณาธิการอาวุโส เสกสรรค ไชยเผือก หัวหนากองบรรณาธิการ พฤกษ ดานจิตรตรง ผูชวยหัวหนากองบรรณาธิการ ธัญพร ขันธสิทธิ์ กองบรรณาธิการ จักรพรรดิ์ โสภา เลขากองบรรณาธิการ มณีรัตน วัฒตะนะมงคล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ อรุณ เหลาวัฒนกุล สมาชิก วิวรมาศ แกวศิริ เว็บไซต BusAndTruckMedia.com การเงิน แสงอรุณ มงคล ศิลปกรรม ธีระ พุมขํา BIP GROUP พิมพ กรังดปรีซ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด มหาชน จัดจําหนาย เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น โทร. 0-2744-6888 ติดตอฝายขายโฆษณา โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดตอฝายสมาชิก โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดตอฝายกองบรรณาธิการ โทรศัพท (66) 2717-2477
ไซโนทรัค ปรับกลยุทธการตลาดใหม เนนรถมือสองทั้งขาย-ใหเชา
เอเชียนไมโครฯ ปรับวิธีการขาย รถไซโนทรัค ใหม หันมาเนนขายรถมือ สอง ทั้งขายและใหเชาเปนรายเดือน ยํ้าตรวจเช็คคุณภาพรถไซโนทรัค ยังมี มาตรฐานสูง ใชงานไดนานกวา 10 ป สวนลูกคาเกา 300 คัน ยังเนนสงอะไหล ให ไวเหมือนเดิม คุณวินเชสเตอร ลิน กรรมการ ผูจัดการ บริษัท เอเชียนไมโคร เอ็นจีวี ออโต เ ซลส (ประเทศไทย) จํ า กั ด ตัวแทนจําหนายรถใหญ “ไซโนทรัค” ประเทศจีน เปดเผยวา จากการวิเคราะห สภาพเศรษฐกิจภายในป 2558 นี้ พบวา สภาพขนสงยังคงตกตํา่ อยู ความตองการ รถใหญคันใหมยังมีนอยมาก ทําใหคาย รถใหญแทบทุกบริษทั ตางไดผลตอบแทน ไมคุมกับเงินที่ลงทุนไป ทางบริ ษั ท จึ ง ต อ งปรั บ เปลี่ ย น กลยุทธทางการตลาดใหม ไมมีการใช โปรโมชั่นตาง ๆ เพื�อทําใหกลุมลูกคาซื้อ รถใหญ ไ ซโนทรั ค คั น ใหม เพราะงาน ขนสงที่จะไดมาไมคุมแกการลงทุนเลย ตองมีเสียงตอวามายังบริษัทที่ดึงดูดให มาเปนลูกคาแน ดวยบริษัทมีไซโนทรัค มือสองอยู ประมาณ 20 คัน ซึง่ ไดผา นการซอมบํารุง มาเรี ย บร อ ยแล ว เมื�อ ลู ก ค า มี ค วาม ตองการไมวาจะเปนการซื้อหรือการเชา เป น รายเดื อ น ทางบริ ษั ท ก็ ยิ น ดี ก็ จ ะ จําหนายและใหบริการทั้งหมด ไมวาจะ เปนการวาจางงานแบบระยะยาว การซือ้ รถไซโนทรัคมือสองก็ถือวาคุมคา หรือจะ เปนการเชาเปนรายเดือน เพราะงานที่ได มาเปนระยะสัน้ ก็ถอื วาไดผลตอบแทนมา คุมคาเหนื�อย คุณวินเชสเตอร ลิน เปดเผย ตอวา ดวยการเปนดีลเลอรมากวา 5 ป สามารถทํายอดจําหนายไดมากกวา 300 คัน ซึ่งทุกคันยังคงมีสภาพการใชงานได ดีอยู การใหบริการหลังการขายถือไดวา เป น สิ่ ง สํ า คั ญ มาก ดั ง นั้ น เมื�อ ลู ก ค า ตองการอะไหลชิ้นใด เปนจํานวนมาก
นอยแคไหน ทางบริษทั ก็จะนําเขาอะไหล จากบริษัทแมประเทศจีนใหรวดเร็วที่สุด หรือตองการใหทําการเปลี่ยนและซอม บํารุงใหดวย ทางบริษัทก็ยินดีทําใหทุก อยาง แต ห ากมี ลู ก ค า รายอื�น ต อ งการ อะไหลรถใหญยี่หออื�นทางบริษัทก็ยินดี นําเขามาตามความตองการของลูกคา เพียงแตตอ งใชเวลารอนานกวา เนื�องจาก
ต อ งใช ร ะยาเวลาในการสั่ ง ของตาม ออเดอรของลูกคาซึ่งไมไดมีการสต็อกไว สําหรับรถใหญยหี่ อ ไซโนทรัคนัน้ ถือ ไดวา เปนรถใหญประเทศจีนทีส่ ามารถทํา ยอดจําหนายไดมากที่สุดหลายพันคันใน เมืองไทย ดวยสาเหตุทมี่ ตี วั แทนจําหนาย มากกวา 5 แหง นัน่ เอง จึงสามารถเจาะ ตลาดถึ ง กลุ ม ลู ก ค า ต า งจั ง หวั ด ได ทั่ ว ประเทศ
ทุงสง ดีลเลอรรายใหญคายฟูโซ ทํายอดขายทะลุเปาเนนดานบริการ ทุ ง สง ทรั ค เซลส เป น ดี ล เลอร ค า ยฟู โ ซ ไ ด เ พี ย ง 2 ป สามารถทํายอดขายไดทะลุเปาที่ วางไว ได เพราะเนนการบริการหลัง การขายไมใหรถของลูกคาตองหยุด นิ่ง มั่นใจชวงลางฟูโซดีสุดในรถ ใหญทุกยี่หอ คุ ณ ณ ร ง ค รั ก ก า ร ง า น กรรมการผูจัดการ บริษัท ทุงสง ทรัคเซลส จํากัด เปดเผยวา หลัง จากที่ ไดเปน ดีลเลอรคายฟูโซ มา ไดกวา 2 ป สามารถจําหนายไดมาก เกินกวาทีค่ าดไวมาก อยางในป 2558 นี้ ไดวางเปาการจําหนายไวเพียงแค 80 คัน แตในขณะนี้มียอดจําหนาย รวมถึง 80 คันแลว พรอมทั้งในตน ไตรมาส 3 ก็มียอดสั่งจองจากลูกคา อีก 30 คันทําใหมนั่ ใจไดวา จะทํายอด ขายได ม ากจนเป น ดี ล เลอร ร ะดั บ ตน ๆ ไดแน ด ว ยจั ง หวั ด ที่ รั บ ผิ ด ชอบมี สํานักงานใหญอยูท นี่ ครศรีธรรมราช พรอมรับผิดชอบใน กระบี่ พัทลุง และตรัง ดว ย นอกจากจะมี ศูน ย บริการใหญอยูท นี่ ครศรีธรรมราช ซึง่
มีชองซอมอยูถึง 12 ชอง และมีรถ โมบายเซอร วิ ส ที่ ค อยดู แ ลรถของ ลูกคาที่วิ่งตามทองถนนดวย เพราะ มีความเขาใจลูกคาที่วา หากรถหยุด วิ่ง ก็จะทําใหเสียรายได จึงทําใหการ บริการดูแลอยางเต็มที่เพื�อไมใหเกิด สิ่งนี้ขึ้น และในครึ่ ง ป ห ลั ง นี้ ท างค า ย ฟูโซ จะเปดตัวรถรุนใหมถึง 5 รุน ตองสรางแรงดึงดูดใหลูกคาสนใจได สู ง แน และกล า รั บ ประกั น ได ว า ตลอดเวลาทีใ่ ชไปถึง 3 ป จะไมมกี าร ซอมเกิดขึ้นอยางแนนอน เพียงแต แคดูรักษาตามระยะทางที่ใชเทานั้น อยางไรก็ดี ดวยประสบการณ ที่ เ ริ่ ม จากการเป ด อู ซ อ มรถใหญ มากวา 35 ป พบวาระบบชวงลาง ของรถใหญคาย ฟูโซ ที่ทางเมอรเซ เดส-เบนซ ถือหุนสวนใหญอยูนั้น มี ชวงลางที่ดีที่สุด เมื�อนําไปเทียบกับ รถใหญยหี่ อ อื�น ๆ ทีเ่ คยซอมมา กลุม ลูกคาจึงมัน่ ใจในคุณภาพ และอายุใน การใชงานที่ถือวาคุมคาเปนอยาง มาก
BUSINESS CATALYST • BUS&TRUCK 09
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
คันเร่งธุรกิจ
ป 2558 พิสูจนคายรถจีนตัวจริง ป 2558 ยังถือวาภาวะเศรษฐกิจ ยังเติบโตแบบเชื�องชา ดูไดจากรายได โดยรวมของประเทศ ทีเ่ ติบโตไมถงึ 3% ทํ า ให ธุ ร กิ จ ทั้ ง หมดของประเทศไม สามารถเติบโตไดอยางที่หวัง ดวยเหตุ นี้เองจึงทําให ตัวขับเคลื�อนเศรษฐกิจ อยางรถใหญทุกยี่หอสามารถทํายอด ขายสูงสุดไดเพียง 3 หมื�นคันเทานั้น เมื�อมองไปที่รถใหญจากประเทศ จีน ที่ ไดเขามารุกตลาดไทยอยางเต็มตัว ในป 2554 ดวยสาเหตุทวี่ า ไดเกิดภัยพิบตั ิ ธรรมชาติ “สึนามิ” โรงงานผลิตชิ้นสวน รถใหญของทุกยี่หอตองหยุดการผลิตไป เป น เวลานาน เมื�อ ค า ยรถใหญ จ าก ประเทศญี่ ปุ น ที่ ม าตั้ ง ฐานการผลิ ต ใน เมืองไทย ไมมีชิ้นสวนที่มีเทคโนโลยีสูง จากประเทศญี่ปุนมาประกอบ ทําให ไม สามารถประกอบรถใหญออกมาจําหนาย ได เมื�อกลุมผูประกอบธุรกิจการขนสง ไมมีรถใหญจากญี่ปุน เพื�อขยายธุรกิจได ในขณะที่ ไดทําสัญญากับผูวาจางไวแลว ก็ตอ งเปลีย่ นมาสัง่ ซือ้ รถจากคายจีนแทน ดวยเวลาที่ ไดรับรถเร็วจึงแกปญหาการ ขยายธุรกิจการขนสงได คายรถจีนจึงใช โอกาสนีเ้ ขามานําเสนอใหกบั ลูกคาขนสง ไดเปนจํานวนมาก คายรถใหญจากจีนสามารถแบงผู แทนจําหนายออกไดเปน 2 กลุม คือ
ทําการคาขายใหกับผูประกอบการขนสง เพียงอยางเดียว เนนหนักที่บริการหลัง การขาย อีกกลุมหนึ่งคือ ซื้อรถมาใชงาน ในธุรกิจของตนเอง พรอมทั้งจําหนายให เพื�อนพันธมิตรที่ทําธุรกิจเดียวกัน เนน หนักที่ราคาจําหนายถูกกวายี่หออื�นเปน อยางมาก เมื�อภาวะเศรษฐกิจในป 2558 ยัง อยูใ นภาวะยํา่ อยูก บั ที่ไมมกี ารเติบโตมาก นัก กลุมธุรกิจขนสงสินคาที่ตองใชรถ บรรทุก ก็ไมมีความตองการรถใหมเพิ่ม เพราะแทบจะไมมีผูวาจางเลย สวนรถ ใหญคันเกาที่เพิ่งซื้อมาเมื�อ 1 ถึง 2 ปที่ ผานมา ก็ยังอยูในชวงที่ตองผอนคางวด อีก 2 ปจงึ จะหมด ซึ่งก็ถือวายากมาก สวนรถโดยสารที่ ไมวาจะเปนรถ ทัวรหรือรถรับสงพนักงาน ก็แทบจะไมมี ผู โ ดยสารเลยหรื อ เมื�อ มี ลู ก ค า อยู ก ลุ ม หนึ่งก็จะมีเพื�อนพันธมิตรเขาแยงชิงกัน โดยนําการแขงขันมาตอสูกันดานราคา เรียกวาแทบจะไมมีกําไรเลย เมื�อ ไม มี ก ลุ ม ลู ก ค า ที่ ต อ งการรถ ใหญ คายรถจีนหลายยี่หอที่ ไดสต็อกรถ ไวลวงหนาเพราะเปนกลยุทธการขาย หลัก เมื�อลูกคาเพียงสัง่ ซือ้ จะไดรบั รถเลย ไมตองรอการตรวจสอบขอมูลดูรายได และรายจายตอเดือนเหมือนกับคายรถ ยุโรปและคายรถญี่ปุน ประกอบกับทั้ง
ใต้ท้องรถ นับวาเปนขาวดีที่ทาง ขสมก. สามารถเปดประมูลรถเมล NGV จํานวนแรก 489 คันไดแลว หลังจากที่รัฐบาลไดประกาศออกมาให ขสมก. เรง เรื�องทํานีต้ งั้ แตเดือนพฤศจิกายนปทแี่ ลว ถือไดวา นานเกือบครึง่ ปทเี ดียวและผู ที่ ไดรับการประมูลก็คือ บริษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน) แตก็ยัง ไมไดรบั การแตงตัง้ อยางเปนทางการ เพราะตองเจรจาเรื�องการบริการหลังการ ขายอีก อาทิ ระยะเวลาการซอม สถานทีด่ แู ล ไมวา จะเปนอูห รือการบริการนอก สถานที่ ก็นาแปลกใจทั้งที่ทาง ขสมก.มีมาแตเดิมนานแลว ทําไมถึงไมใชกัน ตองใหเปนเรื�องใหม แบบนี้คงจะโปรงใสไมมีคอรัปชั่นนะครับ สวนเรื�องที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม บอกใหบอรดของ ขสมก.ทําการศึกษาก็คอื รายละเอียดของรถโดยสารไฟฟานาจะคุม ทุนมากกวา รถเมลเครื�องยนตดเี ซลและเครื�องยนต NGV แตเรื�องแรกก็นา แปลกใจแลว คือ ราคาจําหนายที่ สขมก.นําเสนอมาใหก็คือราคา คันละ 16 ลานบาท ในขณะที่ มีบริษทั แหงหนึง่ ไดนาํ เสนอรถโดยสารไฟฟาเพื�อใหตลาดขนสงรถโดยสารไดรบั ทราบขอมูลมีราคาจําหนายที่ 12 ลานบาท ทําใหแปลกใจวาทําไมราคาของ ขสมก.กับเอกชนมีความแตกตางกันอยางมากในเมื�อเปนรถแบบเดียวกัน มีคายรถใหญจากประเทศเกาหลียี่หอหนึ่ง มีความสนใจในตลาด รถใหญเปนอยางมาก เมื�อประมาณ 2 ปทแี่ ลวตองการทําตลาดรถบรรทุกเพราะ มียอดจําหนายเปนจํานวนมาก แตเมื�อศึกษาขอมูลแลวพบวาการเขามาแทรก ในตลาดนั้นทํายากมาก ตองลงทุนอีกหลายป จึงตัดสินใจใหมเปลี่ยนมาเปนรถ โดยสาร โดยจะนําแชสซีสเ ขามาจําหนายเพื�อรุกตลาดรถทัวร ทีเ่ นนการประกอบ เอง เพราะผู โดยสารชอบรถทีม่ กี ารตกแตงภายในเปนเอกเทศไมเหมือนใคร แต ก็ไมทราบวาจะตองใชเวลาอีกมากนอยแคไหน เพราะเศรษฐกิจยังซบเซาอยู ความตองการรถโดยสารยังมีนอย กวาจะมีชื�อเสียงไดคงอีกนานเหมือนกัน
คายรถยุโรป ญี่ปุน เกาหลี และอินเดีย ต า งก็ มี ส ต็ อ กอยู ม ากเหมื อ นกั น กลุ ม ลูกคาจึงไดรบั รถเร็วเหมือนกัน วิธนี จี้ งึ ไม ไดผลแตอยางใด สวนดานราคาจําหนาย แมคายรถ จีนจะกดราคาขายลงมาจนแทบไมมกี าํ ไร แตตวั ธุรกิจขนสงมีความตองการรถใหญ เยอะมาก ทําใหเจาตลาดอยางคายญีป่ นุ และยุโรปก็ตองจัดโปรโมชั่นหลากหลาย แถมมีบางยี่หอลดราคาลงมาอยางคาด ไมถึง ราคาเกือบคันละ 1 ลานบาท ให กับลูกคาบางรายเทานั้น ดวยเหตุนั้นเองแหลงขาวระดับสูง จากคายรถใหญยี่หอหนึ่ง เปดเผยวา ป 2558 นี้ จะเปนบทพิสูจนวา คายรถจีน รายใดจะไดเปนเจาที่สูตลาดที่สุด เพราะ ตองใชเงินทุนมากกวา 1 พันลานบาท เพื�อ ยอมขาดทุ น ไม ว า จะเป น ราคา จําหนาย การใหบริการหลังการขายที่ดี ทีส่ ดุ การสต็อกอะไหลไวเปนจํานวนมาก รวมถึงการรุกตลาดขนสงใหครอบคลุม ทั้งประเทศ หากตัวแทนจําหนายรถใหญยี่หอ ใดยีห่ อ หนึง่ ทีท่ าํ การคาดวยการซือ้ มาขาย
ไป เนนหนักในชวงปที่มีโอกาสขาย ซึ่ง ประสบผลกําไรมาก จากนั้นเศรษฐกิจ ซบเซาลง พรอมทั้งวางแผนในตลาดผิด พลาด ประสบปญหาขาดทุนเปนอยาง มากในที่สุดก็ตองปดบริษัท และก็ตอง ทําการปดตัวไปเพราะทนตอสภาพการ ขาดทุนไมไหว ดังนัน้ คายรถใหญจากจีน ทีจ่ ะเปน ผูทําตลาดอยางแทจริง จะมีใหเห็นเพียง ไม กี่ ยี่ ห อ เท า นั้ น ไม ว า จะเป น ค า ยรถ บรรทุกหรือคายรถโดยสาร ทําใหกลุมผู ประกอบการขนส ง ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง การ เลือกซื้อรถใหญตองระวังในการเลือกซื้อ ด ว ย เพราะมิ ฉ ะนั้ น แล ว อาจจะต อ ง เสียใจทีต่ อ งเปนผูห าอะไหลมาเปลีย่ นเอง เพราะไมมผี รู บั ผิดชอบตอยีห่ อ รถใหญคนั ที่ซื้อมาอีกตอไปแลว สําหรับหลักการพิจารณาเบือ้ งตน คือ ตองเลือกยี่หอที่มีผูแทนจําหนาย เปนบริษัทใหญมีเงินทุนมากกวา 1 พัน ลานบาท พรอมทัง้ ยังมีโรงงานประกอบ เปนของตัวเอง นอกจากนี้ ก็ยงั ตองเปน ผูแทนจําหนายอยางเปนทางการอีก ดวย
10 BUS&TRUCK • ROAD and LAW
สัญญาณ
จอดป้ายหมอชิต
พัฒนาคุณภาพขนสงไทย รับ AEC ยกระดับ 10 ลอ ลุยงานชาติอาเซียน โครงการพัฒนาศักยภาพผูประกอบ การขนสงสินคาทางถนนรองรับการเปด เสรีประชาคมเศรษฐกิจ กรมการขนสง ทางบก ไดจัดสัมมนามาแลว 2 ป เพื�อ พัฒนาและยกระดับการขนสงสินคาทาง ถนนด ว ยรถบรรทุ ก ของประเทศไทยให สามารถเพิม่ ศักยภาพในการแขงขันได ทัง้ ภายในประเทศและขยายไปยังประเทศ ตาง ๆ ในภูมิภาคอาเซียนได ลาสุด ไดจดั สัมมนา “พัฒนาแนวรวม ขนสงอาเซียน ยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ขนสงไทย” เปนปที่ 3 เพื�อเปนการพัฒนา และยกระดับการขนสงสินคาทางถนนดวย รถบรรทุกของประเทศไทย และเปนการ สรางศักยภาพใหกบั ผูป ระกอบการขนสงไทย อยางตอเนื�อง “วัฒนา พัทรชนม” รองอธิบดีกรม การขนสงทางบก เปดเผยวา ประเด็นที่มี ความสําคัญตอระบบการขนสงสินคาทาง ถนนของไทย คื อ การเป ด ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในปลายป 2558 ทีจ่ ะถึงนี้ นับเปนความเปลีย่ นแปลงที่ สําคัญทัง้ ทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการ ลงทุน ซึ่งอาจจะมีผลกระทบตอภาคธุรกิจ การขนส ง สิ น ค า ด ว ยรถบรรทุ ก และเมื�อ พิจารณาแลวอาจจะเกิดผลกระทบจากการ แขงขันที่เพิ่มสูงขึ้น และในอีกดานหนึ่ง จะ เปนโอกาสใหผปู ระกอบการขนสงสินคาไทย ไดมีโอกาสในการขยายและสรางเครือขาย พันธมิตรกับประเทศเพื�อนบานในภูมิภาค อาเซียนได “ผูประกอบการขนสงฯ อยามองแต เรื�องการขนสงสินคาเพียงเทานั้น ควรที่จะ มองอยางคูข นานไปดวย คือ เรื�องการขายที่ ประเทศไทยมีศักยภาพ เพื�อเพิ่มมูลคาและ ศักยภาพใหแกผูประกอบการและประเทศ ดวย อยางไรก็ดี อยามอง AEC เปนวิกฤต เพราะ AEC จะสามารถตอยอดและเปน โอกาสใหธุรกิจเติบโตได และแนนอนวา ธุรกิจขนสงสินคาไทยมีศักยภาพมากเปน อันดับตน ๆ ของอาเซียน ประเทศเพื�อนบาน อยาง สปป.ลาว กัมพูชา และเมียนมาร จึง
ให ก ารขนส ง สิ น ค า ไทยเป น ต น แบบการ ขนสงในประเทศ ดาน “กลม บูรณพงศ” ผูอํานวยการ สํานักการขนสงสินคา กรมการขนสงทางบก กลาววา โครงการดังกลาวกรมฯ รวมกับศูนย บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร แ ห ง จุ ฬ า ล ง ก ร ณ มหาวิทยาลัย เพื�อเผยแพรขอ มูล และเตรียม ความพรอมผูประกอบการขนสงไทยที่จะ สามารถเขาไปทําธุรกิจในประเทศอาเซียน แ ล ะ ร อ ง รั บ ก า ร แ ข ง ขั น ไ ด อ ย า ง มี ประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม ทีผ่ า นมากรมการขนสง บกรวมกับภาคเอกชนทําการสํารวจเสนทาง ขนสงสินคาระหวางประเทศในภูมิภาค 6 ประเทศ โดย 3 เสนทางระหวางไทยมายัง ประเทศสําคัญ เชน กัมพูชา สปป.ลาว พมา และเวี ย ดนาม อิ น เดี ย และสาธารณรั ฐ ประชาชนจีน นอกจากนี้ ได จั ด ทํ า คู มื อ แจกผู ประกอบการไทย เพื�อใชเปนขอมูลอางอิงใน การเขาไปประกอบธุรกิจขนสงสินคาระหวาง ประเทศ โดยมีขอมูลสําคัญ เชน เสนทาง ขนสงแตละประเทศ กฎหมายและระเบียบ ตาง ๆ รวมถึงขอมูลของพันธมิตรทางธุรกิจ ทีผ่ ปู ระกอบการไทยสามารถเขาไปเชื�อมโยง การทํ า ธุ ร กิ จ ได จนถึ ง ขณะนี้ มั่ น ใจว า ผูป ระกอบการไทยมีความพรอมระดับหนึง่ ที่ จะสามารถแขงขันไดภายหลังเขาสูเออีซี โดยเฉพาะศั ก ยภาพเมื�อ เปรี ย บเที ย บกั บ ประเทศในภูมิภาคดวยกัน ขณะที่ “จักรกฤษณ ดวงพัสตรา” ผู อํานวยการสถาบันการขนสง จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย กลาววา โครงการดังกลาวได ศึกษาภาพรวมดานการขนสง และโลจิสติกส ของภูมิภาคอาเซียน เพื�อเปนขอมูลในการ พิจารณาจุดยืนของไทยดานการพัฒนาการ ขนสงในเวทีภูมิภาคอาเซียน ใหสอดคลอง กับทิศทางการเจริญเติบโตของอาเซียนได อยางเหมาะสม ทั้งนี้ เพื�อพัฒนาผูประกอบ การขนส ง สิ น ค า ไทยให มี ศั ก ยภาพในการ แขงขัน และกระจายสินคาใน AEC ไดอยาง มีคุณภาพ
ทช.เปดใชสะพานพรหมรังสี เชื่อมระบบขนสง ลดปญหาจราจร
กรมทางหลวงชนบท (ทช.) ดําเนิน การกอสรางสะพานขามแมนาํ้ ปาสัก ตําบล จํ า ปา อํ า เภอท า เรื อ จั ง หวั ด พระนคร ศรีอยุธยา ซึ่งปจจุบันกอสรางแลวเสร็จ และเปดใหประชาชนได ใชสัญจรแลว โดย ใชชี่เปนทางการวา “สะพานพรหมรังสี” คุ ณ ดรุ ณ แสงฉาย อธิ บ ดี ก รม ทางหลวงชนบท กล า วว า ที่ ผ า นมา กระทรวงคมนาคมมอบหมายให ทช.ดําเนิน การกอสรางถนนตามผังเมืองรวมถนนสาย ข2 ผังเมืองรวมเมืองทาเรือ เพื�อพัฒนา ระบบขนสงในเขตเทศบาลตําบลทาเรือ และ รองรับการเจริญเติบโตของเมืองในอนาคต ทั้งนี้สะพานพรหมรังสี จะชวยพัฒนาระบบ
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
ขนสงลดปญหาการจราจรทีห่ นาแนนในเขต เทศบาล ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ให แ ก ประชาชนในพืน้ ที่ ซึง่ อําเภอทาเรือเปนเมือง ทาที่มีแมนํ้าปาสักไหลผานเชื�อมโยงระบบ ขนสงทางนํา้ กับทางบกเปนทีต่ งั้ ของโรงงาน อุตสาหกรรมเปนจํานวนมาก ทั้งยังเปนถนนตามแนวการพัฒนา เมือง อันจะสงผลใหเกิดความเจริญเติบโต ทางดานเศรษฐกิจและสังคมอยางตอเนื�อง ซึง่ สะพานดังกลาวมีความยาว 555.00 เมตร 2 ชองจราจร ไป-กลับ ความกวางชองละ 4.00 เมตร รวมถนนต อ เชื�อ มผิ ว ทาง แอสฟลท กวาง12.00 เมตร ใชงบประมาณ ในการกอสราง 157.172 ลานบาท
โดย กรมการขนสงทางบก
ขบ.เปดยื่นขอเดินรถโดยสาร หมูบานขวัญเวียง-รอบเมืองเชียงใหม กรมการขนส ง ทางบกเป ด ให ผู ประกอบการขนสง ยื�นคําขออนุญาต ประกอบการเดินรถโดยสารประจําทาง หมวด 1 สายที่ 10 เสนทางหมูบ า นขวัญ เวียง - รอบเมืองเชียงใหม เพื�ออํานวย ความสะดวกแกประชาชนและใหบริการ นักทองเทีย่ ว เปดรับคําขอแลวตัง้ แตวนั นี้ - 14 มิถุนายน 2558 ดวยขณะนี้เสนทางหมวด 1 สายที่ 10 หมู บ า นขวั ญ เวี ย ง - รอบเมื อ ง เชียงใหมยังขาดผูประกอบการเดินรถ โดยสาร ในขณะที่เสนทางดังกลาวยังมี ความจําเปนในการใหบริการประชาชน ดังนั้น เพื�อเปนการอํานวยความสะดวก แก ป ระชาชนผู ใ ช บ ริ ก ารรถโดยสาร ประจํ า ทางให ได รั บ ความสะดวก ปลอดภั ย ในการเดิ น ทาง และเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการบริการนักทองเที่ยว นายทะเบียนประจําจังหวัดเชียงใหมจึง ไดประกาศรับคําขอเพื�อพิจารณาหาผู สมควรได รั บ ใบอนุ ญ าตประกอบการ ขนสงในเสนทางสายดังกลาว โดยเปดใหผูประกอบการขนสงที่ สนใจยื�นคําขออนุญาตประกอบการขนสง ตั้งแตวันนี้ - วันที่ 14 มิถุนายน 2558 ซึ่ง กํ า หนดเงื�อ นไขเกี่ ย วกั บ การเดิ น รถไว ดังนี้ เสนทางหมูบานขวัญเวียง - รอบ เมืองเชียงใหม ใชรถโดยสารปรับอากาศ จํานวน 5 - 10 คัน โดยเริ่มตนจากสถาน BUS&TRUCK FAQ
ทีจ่ อดรถโดยสารประจําทางหมูบ า นขวัญ เวียง เขาทาอากาศยานเชียงใหม ผาน ประตูชา งเผือก โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ผานตลาดสมเพชร ตลาดวโรรส แยกขวา ไปตามถนนทาแพ ถึงสี่แยกแสงตะวัน ผานโรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย โรงเรียน พระหฤทัยเชียงใหม ถึงประตูเชียงใหม ไปตามถนนวั ว ลาย และสุ ด เส น ทาง ณ หมูบานขวัญเวียง รวมระยะทางให บริการ 25.5 กิโลเมตร ผู ป ระกอบการขนส ง ที่ ส นใจ สามารถยื�นคําขอพรอมเอกสารหลักฐาน ไดแก สภาพของรถ การเปนเจาของรถ แผนดานมลพิษและสิง่ แวดลอม เชน การ จั ด การไอเสี ย รถยนต ควั น ดํ า -ขาว มี สถานทีเ่ ก็บซอมและบํารุงรักษารถ จุดพัก รถตนทางและปลายทาง แผนการให บริการ แผนการบริหารจัดการเดินรถ แผนดานความปลอดภัยเกี่ยวกับตัวรถ และผู โดยสาร แผนการพัฒนาพนักงาน เพื�อ ให มี จิ ต สํ า นึ ก ในการบริ ก าร และ ประวั ติ ก ารประกอบการขนส ง ในอดี ต รวมทั้งฐานะความมั่นคงของผูขอเพื�อ ประกอบการพิจารณา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ กลุ ม วิ ช าการขนส ง สํ า นั ก งานขนส ง จังหวัดเชียงใหม แหงที่ 2 (แมเหียะ) โทร.0-5327-0411 ในวั น และเวลา ราชการ
พ.ต.อ.ยอดชาย ผูสันติ ผกก.ฝอ.3, บก.อก.บช.น.ฝายประชาสัมพันธ, บก.02
ตอตูทึบกระบะปายแดงผิดกฎหมาย ผมสอบถามวา รถกระบะปาย แดงถาตอตูท บึ ผิด.ตอโดยไมแจง หรือตอเติมแตตอนซือ้ รถผมแจง ผูข ายวาจดทะเบียนแบบมีตูไวสง ของแต จะใหทาํ อยางไรไดครับ ชวงรอดําเนินการ จดทะเบียนอยูรถตองใชประกอบอาชีพ ผมโดนเรียกหลายทองที่ เชน ตรงวิภาวดี พีต่ าํ รวจก็อธิบายเกีย่ วกับการใชปา ยแดง ไดดีมากและก็บอกผมวาคนทํามาหากิน เนอ แลวก็บอกไปได ตอมาอีกมีดานตรง เสนถนนเทพารักษ ชวงบางพลีเรียกขอ ดู คู มื อ ป า ยแดงผมลงรายละเอี ย ดไว เรียบรอยพี่เขาก็ไมไดวาอะไร เจากรรม มาโดนแถวบานสําโรงเหนือตั้งดานไม รอด อธิบายยังไงก็ไมเห็นใจใหลงไปจาย คาปรับตอเติมโดยไมแจงบอก400บาท แตผมขอใหออกใบสั่งมายังไมพรอมเสีย คาปรับพอไปเสียที่โรงพักแค 200 บาท ขอหานี้มันไมไดอยากมีใครทําผิดหรอก ครับ แตยังรอปายจากทางศูนยอยู จาก : คนขายของ
การนํารถปายแดงมาวิง่ ฯ นัน้ ผิด กฎหมาย ซึ่งรถปายแดงเปนรถ ที่ น ายทะเบี ย นอนุ ญ าตให ใ ช สําหรับรถยนตมีไวเพื�อขายหรือเพื�อซอม ซึ่งจะนําไปใชงานในทางไดตองไดรับ อนุญาตจากนายทะเบียนกรมการขนสง ทางบก ตาม พ.ร.บ.รถยนตฯ ม.6, ม.27, ม.28 นอกจากนี้ จ ะต อ งมี ส มุ ด คู มื อ ประจํารถซึ่งนายทะเบียนเปนผูออกให อีกดวย สมุดคูมือนี้จะมีแบบฟอรมใหผู ใชรถบันทึกวาเอามาใชเมื�อไรจากที่ไหน ไปถึงที่ ไหน และลงชื�อผู ใช ไวดวย การ ใช ร ถป า ยแดงใช ไ ด ใ นเวลาระหว า ง พระอาทิ ต ย ขึ้ น และพระอาทิ ต ย ต ก เทานัน้ ฝาฝนมีความผิดและระวางโทษ ปรับไมเกิน 2,000 บาท ครับ สวนกรณีทางแกนั้น ขอใหทาน เรงรัดใหผูขายดําเนินการติดตอกับกรม การขนสงทางบก เพื�อขอออกแผนปาย ทะเบี ย นประจํ า รถให กั บ คุ ณ ต อ ไป ขอบคุณครับ
PROTEST • BUS&TRUCK 11
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
กดแตร
พั กรถ
ขสมก.ไมเปนธรรม
เมื�อ พู ด ถึ ง รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ ใ ห ก าร บริการประชาชนมีอยูเพียงแหงเดียวที่ ทําผลกําไรนั่น คือ บริษัท ขนสง จํากัด หรือ บขส. สวนอีก 2 แหง ขาดทุนแหง ละเกือบ 1 แสนลานบาท คือ การรถไฟ แหงประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) และองคการ ขนสงมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ปจจุบนั นี้ ทาง สขมก. ไดสรางเรื�อง ทอลก ออฟ เดอะ ทาวน คือ การยื�น เสนอใหซื้อรถเมล ใหมมาหลายรัฐบาล แลว และในที่สุดเดือนพฤษภาคม 2558 นีเ้ อง ไดมกี ารเซ็นสัญญาลวงหนาประมูล รถเมล NGV ใหม จํานวน 489 คัน โดย ให บริษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน) เปนผูรับผิดชอบ พรอมทั้งมี การนํารถโดยสารไฟฟามาวิง่ ทดสอบเปน รถเมลประจําทางดวย ซึ่งโครงการนี้ ได มีการเตรียมแผนที่จะเริ่มในเร็ววันนี้ สิ่งที่กลาวมาทั้งหมดนี้ เปนการ วางแผนใหญของ ขสมก. เพื�อใหบริการ ประชาชนใหดีที่สุด ไมคํานึงถึงหนี้สิน สะสมที่มีมาในอดีต ดวยรัฐบาลจะเปน ผูรับผิดชอบ เพราะเปนรัฐวิสาหกิจที่ให บริการประชาชน การใหบริการประชาชนทีด่ ที สี่ ดุ นัน้ ทาง ขสมก. จะตองเริ่มการบริหารจาก ภายในกอน หากพนักงานภายในไดรับ การดู แ ลหรื อ สวั ส ดิ ก ารที่ ไ ม ดี ก ารให บริการประชาชนทีใ่ ชบริการรถเมลกจ็ ะไม ไดรับการดูแลใสใจเทาที่ควร ถึงแมวาจะ มีรถเมลใหมทมี่ คี ณ ุ ภาพสูง แตประชาชน ก็จะไมมีความสุขจากการบริการแย ๆ จากพนั ก งาน ทั้ ง คนขั บ และกระเป า รถเมล ทํ า หน า ที่ แ ค ขั บ และเก็ บ เงิ น เทานั้น ไมมีการเอาใจใสประชาชนที่ใช บริการรถเมล มีเจาหนาที่ใน ขสมก. เปดเผยวา ขณะนี้พนักงานใหมของ ขสมก. จํานวน ประมาณ 300 คน ไมไดรับการบรรจุให เปนพนักงานประจําของ ขสมก. เปน เพียงลูกจางชั่วคราวเทานั้น เมื�อครบ
กําหนดการจางงาน ไมวาจะเปน 2 -3 ป ก็ตองออกไปหางานใหมทําแทน ด ว ยนิ สั ย ของคนไทยทั่ ว ไป ต า ง ตองการหนาที่การทํางานที่ยั่งยืนเพราะ เมื�อมีอายุมากขึน้ สถานทีท่ าํ งานก็หายาก มากขึ้นเพราะมีคนรุนใหม การศึกษาดี เงินเดือนตํ่า พรอมที่จะมาทํางานแทน การเป น ลู ก จ า งชั่ ว คราวนั้ น จะไม มี สวัสดิการใด ๆ ใหเลย ไมวาจะเปนคา รักษา บิดา มารดา บุตร คาทํางานลวง เวลา เวลาหยุ ด งานประจํ า ป ตามที่ กฎหมายแรงงานกําหนด สําหรับพนักงานประจําของ ขสมก. นี้ มีอยูป ระมาณ 3 พันคน เมื�อมีอายุครบ เกษียณก็ตอ งหยุดทํางานไป แทนทีจ่ ะรับ พนักงานประจําเขามาทํางานแทนกลับ รั บ ลู ก จ า งชั่ ว คราวซึ่ ง ไม ต อ งเสี ย ค า สวัสดิการใด ๆ เลย ถือเปนการประหยัด ที่ ไมถูกทาง เพราะลูกจางชั่วคราวแทบ จะถื อ ได ว า ไม มี คุ ณ ภาพ แทนที่ จ ะมี สํานักงานทีอ่ ื�นรับตองมารับคาตอบแทน ที่ ไมคุมกับแรงงานเลย เนื�องจากคนขับ และกระเปารถตองใชเวลานานกวา 4 ชั่วโมงบนทองถนนเพื�อวิ่งรถได 1 เที่ยว เทานั้น เรื�องนี้จะตองนําเสนอใหกับรักษา การผูอํานวยการ ขสมก. กอน หากไมมี ความคืบหนาก็จะยื�นเรื�องใหกับรัฐมนตรี วาการกระทรวงคมนาคมอีกขั้นหนึ่ง พรอมยังกลาวเสริมวา วิธกี ารแกไข เรงดวนของ ขสมก. เพื�อใหมีเงินทุนมา บริหารเพิ่มมากขึ้น นั่นคือ การเก็บคา สัมปทานจากรถรวม ขสมก. ที่ติดคางอยู กวา 1 พันลานบาท ซึ่งไมมีการเปดเผย วาเพราะเหตุใดจึงติดคางมากถึงขนาดนี้ การมีเงินทุนมาใชบา งบางสวนก็จะทําให พนักงานภายในมีกําลังใจมากขึ้น การ ทํางานทุกอยางของ ขสมก. ตองมีความ โปรงใสและรวดเร็วเพื�อลบลางภาพพจน ที่ถูกมองวาเปนองคการคอรัปชั่นตลอด เวลาที่ผานมา
ใชแตรปองกันอุบัติเหตุ ทุกเชากอนทีจ่ ะใชรถใหญเพื�อไปทํางานก็ตอ งมีการ ตรวจตราระบบไฟ ระบบเบรก คันเรง ชวงลาง ลม ยาง และที่สําคัญลืมไม ได คือ แตรมีเสียงดังหรือ ไม? เมื�อทุกอยางพรอมก็ใชงานไดอยางสบายใจ เมื�อพูดถึงแตรก็มองวามีทั้งประโยชนและโทษ ใหผลเสียเปนดาบ 2 คม สิ่งแรก คือ ประโยชนเพราะ เมื�อกดแตรก็เทากับเปนการประกาศใหคนรอบขาง ทราบวา พระเอกมาแลว ทุกคนตองใหความระวัดระวัง เพราะหากไมระวัง และเขาใกลอาจทําใหเกิดอุบัติเหตุได สวนผลเสียก็มี คือ เมื�อรถติดจะมีการ บีบแตรเพื�อเรงคนหนาทัง้ ทีท่ ราบดีวา ไมอาจจะเดินหนาไดเพราะรถทีอ่ ยูข า ง หนาติดสิง่ กีดขวางอยูป ระเด็นนีท้ าํ ใหเกิดการทะเลาะเบาะแวงกันได โดยงาย คุณประโยชนของแตรยังมีอีกหลายประการ ไมวาจะขับทางตรงและ ทางแยกซายมือหนามีรถยนตที่กําลังจะออกจากซอยก็ใหบีบแตรเตือนเผื�อ มองไมเห็น หรือเมื�อขับผานสี่แยกที่ ไฟจราจรเสียก็ใหบีบแตรเพื�อบอกเปน สัญญาณใหรถคันอื�นไดทราบวามีรถกําลังขับไป สวนการกดแตรเพื�อปองกันอุบตั เิ หตุทเี่ ห็นไดชดั คือ เมื�อขับรถบนถนน ที่วิ่งขึ้นเขา ถึงทางโคงจะมองไมเห็นรถที่วิ่งสวนมาก็ใหบีบแตรเตือนไว เพื�อ ใหรถที่วิ่งสวนมานั้นทราบ หรือเมื�อขับรถขึ้นเนินมองไมเห็นรถที่จะวิ่งขึ้นมา สวนเนินเชนกันก็ใหบีบแตรไวเพื�อปองกันอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้น เทคนิคในการเช็คแตรรถใหเกิดประโยชนเพื�อปองกันอุบัติเหตุมีอยู มากมายหลายวิธีขึ้นอยูกับสติคนขับหากตั้งใจใชเปนประจําจนติดเปนนิสัยก็ จะชวยใหเกิดอุบัติเหตุจากรถใหญลดนอยลง รวมทั้งการไมใชแตรพรํ่าเพรื�อ โดยไมมีเหตุอันควรซึ่งอาจจะทําใหชาวบานรําคาญหรือลุกลามไปสูการ ทะเลาะวิวาทโดยไมจําเปน
12 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK CARE
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
รักษ์รถ
ปญหาพวงมาลัยดึง เกิดจากอะไร?
การที่เราขับรถแลวพบวา มี อาการดึงไปขางใดขางหนึ่ง ทําให ต อ งคอยหั ก พวงมาลั ย ขื น เอาไว ทําใหการขับขี่ชางนาหงุดหงิด ตัว ป ญ หามี ด ว ยกั น หลายจุ ด ต อ ง พิจารณากันใหดี
ดานซายกับดานขวาจะทรุดไมเทากัน จากการรับนํ้าหนัก จะแตกตางกัน หากนัง่ คนเดียวบอย ๆ ดานขวามักจะ ทรุดมากกวา แตระบบรองรับนํา้ หนัก แบบทอร ชั่ น บาร นี้ ดี อ ยู อ ย า งคื อ สามารถปรับตั้งระดับความสูงได จึง ควรตรวจเช็คระดับความสูงของรถให เทากัน
ตนเหตุเกิดเพราะยาง
เกิน 50% ที่อาการดึงของรถมี สาเหตุมาจากยาง เชน แรงดันลมอาจ จะตํ่าไป กอนจะไปพิจารณาที่อื�นควร ทดลองวัดแรงดันลมยางเปนอยาง แรก หากมีปญ หาลมยางออนก็จดั การ เติมให ไดตามที่ผูผลิตกําหนด แตถา ลมยางถูกตองหรือเติมไปเรียบรอย แลวแตอาการดึงยังคงมีอยู หากยาง ที่ใชเปนยางใหมและกอนหนาจะไป เปลี่ยนยางก็ไมเคยมีอาการดึงแบบนี้ มากอน แสดงวาตัวปญหาอยูท ยี่ างชุด ใหม โดยอาจจะเกิดจากขั้นตอนการ ผลิตที่มีการวางเส นเข็มขัดรัดหน า ยางไมอยูในตําแหนงที่ถูกตอง อยาง ที่เรียกวา Off Center Belt เวลายางกลิ้ ง ไปบนถนนจะ ทําใหเกิดแรงกระแทกทางดานขาง (Side Force) เอาชนะแรงที่ทําใหยาง กลิ้ ง ในทางตรง (Roll Straight Ahead) การทดลองใหรคู อื สลับยางหนา ทั้ง 2 เสน ถาอาการดึงเปลี่ยนไปใน ทิศทางตรงกันขาม ชัวรวายางเปน เหตุไดเลย หากไมสามารถเปลีย่ นยาง เสนใหมไดกต็ อ งลองสลับเอายางจาก ล อ หลั ง มาใช แ ทน อี ก อย า งหนึ่ ง ที่ ทําใหเกิดอาการพวงมาลัยดึง เปน เรื�องของการใชยางเกาหรือยางกลาง เกากลางใหม ยางทีม่ กี ารสึกของดอก ยางมากนอยตางกันแตกลับนํามาใช รวมกัน การใชยางผิดประเภทหรือ การใชยางตางขนาด ซึ่งจะทําใหเกิด อาการดึงเชนกัน
อาจเกิดจากลูกปนและลูกหมาก
หรือชวงลางมีปญหา
หลังการทดลองสลับยางแลวพบวา อาการดึ ง ของพวงมาลั ย ยั ง ไม เ ปลี่ ย น แปลง หรือมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก เคยดึงไปทางดานไหนก็ยังคงดึงไปทาง เดิม ไมยอมเปลีย่ นใจ แสดงวางานนีย้ าง ไมเกี่ยวก็ตองพิจารณาที่จุดอื�น เชน อาจ เกิ ด จากศู น ย ล อ ไม ถู ก ต อ ง โดยแม จ ะ คลาดเคลื�อ นเพี ย งเล็ ก น อ ยก็ ส ามารถ ทําใหรถเกิดอาการดึงไปดานใดดานหนึ่ง ได โอกาสที่ศูนยลอจะเกิดการผิดเพี้ยน เปลี่ยนไปนั้นมีไดมาก อยางเชน ถายาง มีการสึกหรอมาก แตคอนขางสมํ่าเสมอ ที่ขอบหนายางดานใดดานหนึ่ง จะมีผล ทํ า ให มุ ม แคมเบอร ผิ ด ไป และจะเกิ ด อาการดึ ง มากขึ้ น ยามขั บ บนถนนต า ง ระดับหรือพวกถนนหลังเตา แตหากขอบ หนายางดานใดดานหนึ่งสึกเปนจุด เปน ชั้นหรือสึกไมเรียบ ปญหาก็เหมือนกับวา ระบบชวงลางหลวม หรือตัวรองรับนํ้า หนักทรุดทําใหมุมแคมเบอรเปลี่ยนไป เปนจังหวะ ๆ ขณะที่รถวิ่งพวกคอยล
สปริงหรือแหนบทีน่ มิ่ ลา หรือทรุดตัวแลว จะเปนสาเหตุสําคัญที่มีผลทําใหชุดแค็ม เบอรเปลี่ยนแปลง รถที่ใชระบบรองรับ นํ้ า หนั ก เป น คอยล ส ปริ ง เราสามารถ ทดสอบและตรวจเช็ความันลา หรือทรุด ตัว หรือยังไดหลายทาง เชน จากการ สังเกตเวลาเลี้ยวโคงเร็ว ๆ จะพบวาตัว รถมีอาการเอียงตัวมากกวาปกติ หรือ ตรวจสอบความสูงของตัวรถเมื�อพบวา ความสูงทางดานหนากับดานหลังตลอด จนดานซายกับดานขวามีความสูงแตก ตางกันเกินกวา 13 มม. หรือ ½ นิ้ว ก็ แสดงวาสปริงลาหรือทรุดตัวแลว สําหรับ รถที่ใชระบบรองรับนํ้าหนักเปนแหนบ ตองตรวจสภาพแหนบวายังอยูดีหรือไม แหนบหักหรือเปลา พวกน็อตสาแหรกยึดตับแหนบมี การหลุดหลวม คลายตัวหรือไม พวกหู แหนบหรือโตงเตงแหนบมีการชํารุดหรือ ไม พวกที่ใชระบบรองรับนํ้าหนักแบบ ทอรช่นั บาร เมื�อใช ไปนาน ๆ ก็มีอาการ ลาและทรุดตัวไดเชนเดียวกัน และบางที
เป น อี ก จุ ด ที่ ส ามารถสร า ง ปญหาใหรถเกิดอาการดึงไปขางใด ขางหนึ่ง ควรตรวจสภาพของลูกปน ลอและลูกหมากหากทําเองไมไดกค็ วร นํ า รถไปหาช า ง การตรวจสอบลู ก หมากนี้สามารถทําตอเนื�องจากการ ตรวจสอบลูกปนลอไดเลย ยังมีอีก หลายจุดทีท่ าํ ใหเกิดปญหาพวงมาลัย หันไมตรงกับทิศทางที่เราขับรถไป ต อ งเอี ย งไปทางด า นใดด า น หนึ่ ง อาทิ มุ ม แคสเตอร มี ป ญ หา เนื�องจากมุมแคสเตอรจะเปนตัวการ สําคัญที่ทําใหเกิดการดึงของลอหลัง จากที่ ไดหักเลี้ยวไปแลว หากมี ป ญ หาก็ จ ะมี ผ ลกั บ นํ้ า หนักของพวงมาลัย การตอบสนอง ของพวงมาลัย การเลี้ยว รวมทั้งยังมี ผลกั บ การทรงตั ว ของรถยามเบรก และประสิทธิภาพในการหยุดรถอีก ดวย แตถา เหยียบเบรกเพื�อชะลอหรือ หยุดรถแลวพบวาพวงมาลัยถูกดึงไป ขางใดขางหนึง่ แบบนีแ้ สดงวาตัวการ เกิดขึน้ จากระบบเบรกซึง่ ก็ตอ งพึง่ พา ใหชางเขาจัดการใหเชนกัน
14 BUS&TRUCK • INTERVIEW
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
จอดคุย
รถโดยสาร ยูทง ถือไดวาเปนรถโดยสารที่มีมาตรฐานสูงจนเปนที่ยอมรับของตลาดขนสงในประเทศจีน จนมี ยอดขายสูงที่สุดปละกวา 60,000 คัน พรอมวางแผนที่จะขยายตลาดมาสูตลาดอาเซียน โดยยกใหประเทศไทยเปน ตลาดที่มาแรงสุด
คุณโจ เวย ผูจัดการฝายขาย แ ผ น ก ธุ ร กิ จ ต า ง ป ร ะ เ ท ศ Zhengzhou Yutong Bus Co, Ltd. เป ด เผยถึ ง กลยุ ท ธ ใ นการรุ ก ตลาด ประเทศไทย พรอมตั้งมั่นวารถโดย สารยูทง ตองมียอดขายมากที่สุด ดัง เชนประเทศจีน
นํารถโดยสารทุกขนาดบุกไทย
รถโดยสาร ยูทง ที่จําหนายอยู ในจีนมีตั้งแต 6-25 เมตร ไดรับความ นิยมมาก เพราะมีความปลอดภัยสูง ดั ง นั้ น เพื�อ เจาะตลาดให ได ทุ ก เซ็กเมนต ในไทย จึงมีแผนจะนํารถ โดยสารขนาด 6 เมตร 7 เมตร 9 เมตร 10 เมตร 11 เมตร และ 12 เมตร อยางไรก็ตาม จากการศึกษาตลาดรถ โดยสารในเมืองไทย พบวา ความ ตองการใชรถโดยสารมีอยูมากมาย
หลายกลุม ทําใหตัดสินใจวาภายในปนี้ ทาง ยูทง จะจัดสงรถทุกขนาดที่ทําการ ผลิตบุกตลาดใหครอบคลุมทุกเซ็กเมนต โดยอุปกรณภายในรถจะแตกตางกัน เพื�อ ใหตรงกับความตองการของกลุม นัน้ ๆ ให มากที่สุด วางเปาจําหนายเริ่มตนไวที่ 200 คัน ในปนี้ และในปตอ ไปยอดขายจะ ตองเพิ่มขึ้นเรื�อย ๆ
แบงดีลเลอรเจาะเฉพาะกลุม
ในสวนของดีลเลอรนั้น ทางบริษัท ไดแตงตัง้ บริษทั ไทยคูชยั มอเตอรเซลส จํากัด ใหเปนดีลเลอรรายแรกกอน แต จากการมองของทางบริษัทแม ประเทศ จีน มีแนวโนมวา ประเทศไทยมีศกั ยภาพ มาก และมีแนวโนนตลาดรถโดยสารจะ เติบโตขึน้ มากเรื�อย ๆ จึงไดแตงตัง้ บริษทั ไทยบัสกลการ จํากัด ใหเปนดีลเลอรอีก ราย เพื�อที่จะไดชวยกันเพิ่มยอดขายให
คุณโจ เวย
กับรถโดยสาร ยูทง
วางแผนเจาะรถโรงเรียน
หลังจากที่กรมการขนสงทางบก กระทรวงคมนาคม ได ว างแผนที่ จ ะ ออกแบบและพั ฒ นาให ร ถโรงเรี ย นมี ความปลอดภัยสูง เพื�อดูแลเด็กนักเรียน ด ว ยทางยู ท งเอง มี ร ถโรงเรี ย นที่ มี คุณภาพความปลอดภัยระดับสูง จนไดรบั การคั ด เลื อ กจากรั ฐ บาลจี น ให เ ป น รถ ต น แบบของรถโรงเรี ย นทุ ก แห ง ทั่ ว ประเทศ ดั ง นั้ น จึ ง เข า มาเพื�อ นํ า รถ โรงเรียนตนแบบนี้มาให โรงเรียนตาง ๆ ไดยลโฉม และพรอมขายหากโรงเรียนใด มีความตองการ ซึง่ ปจจุบนั นีส้ ามารถขาย ไดแลวพอสมควร รายละเอียดของรถโรงเรียนยูทง จะมีขนาดทั้ง 6 เมตร และ 10 เมตร เริ่ม ตั้งแตเบาะนั่งของนักเรียน จะมีเข็มขัด
ยูทง นํารถโดยสารทุกขนาดบุกไทย ยู ท ง มี ร ถ โ ร ง เ รี ย น ที่ มี คุณภาพความปลอดภัยระดับสูง จนไดรับการคัดเลือกจากรัฐบาล จี น ใ ห เ ป น ร ถ ต น แ บ บ ข อ ง ร ถ โรงเรียนทุกแหงทั่วประเทศ
นิรภัยทุกที่นั่ง โครงสรางจะไมทํามา จากเหล็กเลย เพื�อปองกันการบาด เจ็บหากเกิดอุบตั เิ หตุ กระจกก็จะเปด จากดานบนหากแอรเสีย มีเครื�องดับ เพลิ ง และค อ นทุ บ กระจกเป น อุปกรณมาตรฐานติดไวกับตัวรถ มี เซ็นเซอรทั้งดานหนาดานหลัง เพื�อ ปองกันการกระแทกสิ่งของที่มองไม เห็ น และที่ สํ า คั ญ ก็ ยั ง มี เ ซ็ น เซอร ภายในรถอีก หากมีเด็กและสิง่ มีชวี ติ นอนหลับอยูในรถเมื�อคนอื�นลงหมด แลว จะไมสามารถดับเครื�องยนต ได
เพื�อใหคนขับรถตรวจดูความละเอียด กันอีกครัง้ วามีเด็กนักเรียนหลับอยูบ น รถหรือไม
ตั้งไทยเปนฮับ สงออกไปอาเซียน
ตลาดรถโดยสารในประเทศไทย มียอดจดทะเบียนอยูมากกวา 1 ลาน คัน รวมทั้งตลาดในประเทศตาง ๆ ใน อาเซียน ยังมีความตองการรถโดยสาร อยู อี ก มาก อย า งเช น ประเทศ ฟลิปปนส ยูทง ก็สามารถทํายอดขาย ไดมากกวา 2,000 คันแลว และใน ประเทศเมียนมาร ที่เพิ่งเปดประเทศ ไดไมนานก็สามารถทํายอดขายไดเกิน 500 คันแลวเชนกัน ทัง้ นี้ ทางยูท ง ไดเลือกเมืองไทย เปนฐานการประกอบรถโดยสาร ทั้ง เพื�อจําหนายในประเทศและสงออกไป ยังประเทศในอาเซียนดวย เนื�องจาก มี วั ต ถุ ดิ บ ผลิ ต เป น ชิ้ น ส ว นได มี ทั้ ง แรงงานทีม่ ฝี ม อื และคาแรงไมสงู มาก เมื�อ เที ย บกั บ ฝ มื อ ของคนไทยที่ มี มาตรฐานสู ง ทั้ ง นี้ ไทยยั ง เป น ศูนยกลางการสงออกใหกับหลาย ๆ ประเทศ เพราะทัง้ ระบบโลจิสติกสทดี่ ี เมื�อเทียบกับหลาย ๆ ประเทศ อยางไร ก็ดี จะสรุปการตั้งโรงงานในไทยได ก็ ตองมียอดขายขั้นตํ่าปละ 800 คัน ซึ่ง คงใชเวลาอีกไมนาน เพราะตลาดรถ โดยสารมีการเติบโตขึ้นอยางตอเนื�อง
รถเกาคุณภาพสูงราคาไมตก
ใน สปป.ลาว ทางบริ ษั ท ได เขาไปตั้งสาขาเอง ซึ่งมีกลุมลูกคาสั่ง ซือ้ รถโดยสาร ยูท ง มือสองทีใ่ ชงานมา แลวกวา 6 ป โดยทํางานหนักมาก เพราะเปนรถโดยสารประจําทางวิ่ง ระหวางเมืองใหกับลูกคาไดทดสอบ ปรากฏวาคุณภาพของรถยังดีอยู ตํ่า กวารถใหมจากโรงงานนอยมาก สวน ราคาจําหนายก็เปนที่นาพอใจเพราะ ลูกคาใหราคาประมาณ 30% ของ ราคารถใหมเลยทีเดียว รวมถึ ง ยั ง มี ลู ก ค า ที่ สั่ ง ซื้ อ รถ โดยสาร ยูท ง คันใหมดว ย แมวา จะทํา ยอดขายได ไมมาก แตก็เปนสัญญาณ อันดีที่ชี้วา ตลาดรถโดยสารใน สปป. ลาว มีความต องการใช รถโดยสาร ยูทง ทั้งรถใหมและรถมือสอง เปนที่จับตามองวา รถโดยสาร ยูท ง ซึง่ เปนรายใหญทสี่ ดุ ในเมืองจีน และมียอดจําหนายมากถึง 60,000 คันในปที่ผานมา ไดเขามาบุกตลาด ในเมืองไทยอยางเต็มตัว จะสามารถ กระตุนใหตลาดรถโดยสารกลับมา คึ ก คั ก อี ก ครั้ ง ได ห รื อ ไม ? และจะ สามารถเจาะตลาดรถโดยสารใน เมืองไทยไดมากนอยเพียงไร? ตอง คอยดูกัน...
LAW KNOWLEDGE • BUS&TRUCK 15
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
รู้กฎก่อนขับ (อางอิง : หนังสือขับปลอดภัยไรอุบัติเหตุ - สมพงษ ใจซื่อ)
พวงมาลัยมีความสําคัญตอการ ขั บ ขี่ ร ถยนต อ ย า งมากเพราะเป น อุ ป กรณ สํ า หรั บ บั ง คั บ ทิ ศ ทางของ รถยนต นั่ น เอง เทคโนโลยี ข องพวง มาลัยก็ ไดถูกพัฒนาตามยุคตามสมัยมี ความกาวหนาและสะดวกสบายในการ ใช ง านเพิ่ ม ขึ้ น ตามลํ า ดั บ ไม ว า เทคโนโลยีจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไร แตหลักการก็ยงั คงเปนหลักการทีอ่ มตะ จีรังยึดถือปฏิบัติตอ ๆ กันมาหลายยุค หลายสมัย มีเหตุมีผลรองรับวิธีการซึ่ง มีความนาสนใจเปนอยางยิ่ง ผู เ ขี ย นเห็ น ว า สมควรจะนํ า มา สื�อ สารเผื�อ ว า อาจจะเป น ประโยชน สําหรับทานที่กําลังมองหาหรือมีคําถาม ในใจวาการจับพวงมาลัยนั้นมีวิธีการจับ อยางไร ดวยเหตุดว ยผลอะไร การจับพวง มาลัยตามหลักการคือพื้นฐานแรกเลย สําหรับการขับรถก็วา ไดครับ “การจับพวง มาลัยตามหลักการทีจ่ ะนําเสนอในวันนีก้ ็ เพื�อจะบอกถึงวิธกี ารจับ วิธกี ารหมุน การ ทํ า หน า ที่ ข องมื อ ทั้ ง สองข า งซ า ยและ ขวา” “พวงมาลั ย คื อ อุ ป กรณ กํ า หนด ทิศทางของรถยนต” จะเปนไปตามคํา กลาวนีก้ ต็ อ เมื�อมันถูกบังคับอยางถูกตอง ทันเวลาทันเหตุการณเทานั้นนะครับ ผม กําลังหมายความวาถาเราใชมันไมถูกวิธี สิ่ ง ที่ ต ามมาก็ คื อ จะได ป ระโยชน น อ ย นั่นเอง ไมคุมคากับเงินที่เราจายไป สวน วิธีการจับพวงมาลัยนั้นปกติแลวมือซาย ก็อยูที่ตําแหนงประมาณ 9 – 10 นาฬกา สวนมือขวาก็อยูที่ตําแหนงประมาณ 1415 นาฬกา ผมเนนวาการจับนะครับไมใช การกํา เราจะสังเกตไดงาย ๆ ถาหัวแม มือทั้งสองขางวางอยูบนพวงมาลัยนั่น แสดงวาเราจับพวงมาลัย แตถา หัวแมมอื ทั้ ง สองข า งอยู ด า นในวงพวงมาลั ย ก็
10 และ 14 นาฬกา
จับพวงมาลัย
หมายความเรากําพวงมาลัยครับ ในขณะกําลังขับรถขอแนะนําวา “มือทั้งสองควรจะจับพวงมาลัยตลอด เวลา ยกเวนขณะเปลีย่ นเกียรหรือปฏิบตั ิ การอะไรทีห่ า งจากวงพวงมาลัย” ในขณะ ที่รถกําลังแลนอยูในทางโคง กําลังเลี้ยว รถ มือทั้งสองขางก็ควรจะจับพวงมาลัย เชนกัน การลดเกียรเพื�อใหสอดคลองกับ รอบของเครื�องยนตควรกระทําตัง้ แตกอ น ทีร่ ถจะแลนเขาถึงโคง สวนพืน้ ทีข่ องพวง มาลัยนัน้ ปกติแลวเราก็แบงเปน 2 ซีกคือ ซีกซายกับซีขวา ซีกซายกําหนดกันที่จุด 7:00 - 11:00 นาฬกา และซีกขวากําหนด ที่จุด 13:00 - 17:00 นาฬกา จุดที่ใชแบง เรากําหนดไว 2 จุดคือจุดลางและจุดบน นั่ น ก็ คื อ ที่ ตํ า แหน ง 6 นาฬ ก าและ
9 และ 15 นาฬกา
ตําแหนง 12 นาฬกานัน่ เอง ทีจ่ ดุ แบงเรา จะปลอยไว ใหเปนพื้นที่อิสระ มือซายทํา หนาที่ดึงหรือดันตั้งแตตําแหนง 7:00
-11:00 นาฬกาเทานั้น สวนมือขวาก็ทํา หนาที่ดึงหรือดันตั้งแตตําแหนง 13:00 17:00 เทานั้น ตามรูปภาพครับ
18 BUS&TRUCK • ASSOCIATION NEWS
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
คบหาสมาคม
สหพันธขนสงทางบก แหงประเทศไทย
คุ ณ ชุ ม พล สายเชื้ อ เลขาธิ ก ารสหพั น ธ ขนสงทางบกแหง ประเทศไทย เปดเผยวา หลังจากที่ ไดเขารวมประชุมกับสภา นิติบัญญัติแหงชาติ หรือ สนช. ไดผล สรุปวา จะใหมีการตั้งสํานักโครงสราง พื้นฐฐานและโลจิสติกส โดยจะรวบรวม หน า ยงานที่ ทําโลจิสติกส ของกระทรวง ตาง ๆ มาไว ดวยกัน เพื�อที่ จะไดวาง โครงสรางพืน้ ฐานตาง ๆ ให เป น รู ป แบบ เดียวกัน เพื�อ สรางความแข็งแกรงใหมีมาตรฐาน เปนสากล และในอนาคตก็จะไดขยาย ความสามารถไปยังประเทศเพื�อนบาน อาเซียนได พรอมทัง้ ยังจะนําหนวยงานของ เอกชนเข า ร ว มทํ า งานในสํ า นั ก โครงสรางพื้นฐานและโลจิสติกสดวย ซึ่งมีอยู 3 แหง คือ สภาหอการคาไทย สภาอุตสาหกรรม และสภาการสงออก ซึ่งมีความแข็งแกรงมาก ทั้งนี้ เพื�อจะ ไดเพิ่มความมีมาตรฐานสากลมากยิ่ง ขึ้น นอกจากนี้ ยังไดเสนอแนวความ คิดวา การขนสงทางบกก็เปนเพียงแค ไมประดับซึ่งจะแทรกเขาไปทํางานใน สํานักโครงสรางพืน้ ฐานและโลจิสติกส ซึ่ ง ทางหน ว ยงานของรั ฐ บาลได ใ ห ความสําคัญนอยมาก การเพิ่มความ สามารถและความสํ า คั ญ ของการ ขนสงทางบก คงตองใหทางสหพันธ และทางสมาคมขนสงตาง ๆ ชวยเหลือ พัฒนาตัวเอง เพราะไมมีหนวยงานใด ที่จะเขามาชวยเหลือเลย
สมาคมขนสงสินคา และโลจิสติกสไทย
คุ ณ สั ญ ญวิ ท ย เ ศ ร ษ ฐ โ ภ คิ น นายกสมาคม ขนสงสินคาและโลจิสติกส ไทย เปด เผยวา หลังจากที่บรรดาสมาชิกที่มี สํานักงานอยูท พี่ ทุ ธมณฑลสาย 2 สาย 3 และสาย 4 ตางถูกทางกรมผังเมือง ทํ า การไล ที่ ใ ห ไ ปตั้ ง ยั ง สถานที่ อื�น เนื�อ งจากพื้ น ที่ ดั ง กล า วจั ด เป น เขต เกษตรกรรมกับที่พักอาศัย ไมใชที่ตั้ง สํานักงานที่มีรถขนสงอยูเปนจํานวน
มากทํ า ให ก ารจราจรติ ด ขั ด และสร า ง มลพิ ษ เป น ภั ย ต อ สิ่ ง แวดล อ มและ ประชาชนที่พักอาศัยในบริเวณนั้น เพื�อแก ไขปญหานีใ้ หออกมาดีที่สดุ ทางสมาคมฯ จึงไดยื�นเอกสารไปยังคณะ รักษาความสงบแหงชาติหรือ คสช. และ หนวยงานทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับเรื�องนี้ ให ชวยยืดระยะเวลาออกไปกอน โดยเสนอ ทางออกให 2 ระยะ ระยะแรก ทางกรมการขนสงทาง บก กระทรวง คมนาคม ไดทํา สั ญ ญ า ข ย า ย พื้ น ที่ เ ช า ของ ส ถ า นี ข น ส ง สินคาสาขาพุทธ มณฑลเรียบรอย แลว หากทําการ ก อ สร า งเสร็ จ ก็ จะสามารถรอง รับผูป ระกอบการขนสงสินคาไดบางสวน รวมทั้ ง ได มี ศู น ย ข นส ง เอกชนได เ ริ่ ม ก อ สร า งสถานที่ ใ ห กั บ ผู ป ระกอบการ ขนสงเชาแลว ซึ่งอยูในศาลายา จังหวัด นครปฐม สามารถรองรับผูประกอบการ ที่ตองการยายสถานที่ ได ก็หวังวาคงจะ ไดรบั ความเห็นใจ เพราะหากใหยา ยไปใน ขณะนี้ ก็ยงั มองหาสถานทีแ่ ทนไมได ไมรู จะไปอยูไหน สวนระยะยาว ก็ไดทาํ การเจรจากับ การรถไฟแหงประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) แลว ในเรื�องการกอสรางรถไฟสายตาง ๆ หาก วางแผนตั้งแตเริ่มตนใชพื้นที่ที่รถไฟวิ่ง ผาน เพื�อทําเปนศูนยการขนสงสินคา ซึง่ สามารถใช ไดทั้งรถบรรทุกและรถไฟใน การขนสง ก็จะชวยทําใหผปู ระกอบการมี สถานที่ในการทํางานที่มั่นคง พรอมทั้ง ยังใหการขนสงลดยอดการลงทุนไดอีก มาก เพราะสามารถใชรถไฟเต็มความ สามารถไดดวย พร อ มทั้ ง ยั ง ได เ สนอความคิ ด ว า ทางออกที่ดีที่สุดที่จะชวยผูประกอบการ ขนสงทางบกก็คือ การหาพื้นที่ใหเปน คลังสินคาขนาดใหญมีกฎหมายเปนตัว รองรั บ ให ส ามารถทํ า การขนส ง กั น ได ตลอดเวลา จะชวยใหระบบโลจิสติกสทาง บกมีมาตรฐานเปนสากลมีความเขมแข็ง ทั้งภายในประเทศ และยังขยายไปตาง ประเทศไดดวย
ประชุมที่ใหญมาก เพราะมีทั้งสมาชิกใน จังหวัดกวา 50 บริษัท และยังมีสมาชิก จากจังหวัดอื�นไดเขารวมไปดวย ซึง่ ไดรบั การสนับสนุนจากคายรถหลายยี่หอเกิน ความคาดหมายเปนอยางมาก การขนสงในจังหวัดอุบลราชธานีนี้ ถือไดวา เปนตนแบบทีข่ นสงในจังหวัดอื�น ตองนําไปเปนแบบอยาง มีสนิ คาใหขนสง อยางตอเนื�องไมวา จะเปน มันสัมปะหลัง หรือไมสัก จะไมมีการแยงลูกคากันโดย วิ ธี ก ารตั ด ราคา กันเอง และทีน่ า แปลกใจมากที่ สุดคือ ไมมีสวย ของรถบรรทุ ก ใหเห็นเลย ทัง้ นี้ เ ป น เ พ ร า ะ ผู ประกอบการ ขนสงภายใน จั ง หวั ด มี ค วาม สามัคคีกันมาก สวนปญหาใหญของขนสง คือ การ ขาดแคลนคนขั บ รถใหญ ใ นจั ง หวั ด อุบลราชธานีไรปญ หา เนื�องจากใชคนขับ ทีม่ ที พี่ กั อยูใ นจังหวัดอุบลฯ รวมถึงการให สวัสดิการที่ดีมาก ทําใหคนขับมีใจรักใน บริษทั ทีท่ าํ อยู ไมยา ยไปทําจังหวัดอื�นเลย การสรางใหบรรดาสมาชิกที่อยูใน จังหวัดตาง ๆ ในแถบภาคอีสานมีความ รั ก แ ล ะ ส า มั ค คี กั น แ ล ก เ ป ลี่ ย น ประสบการณและใหการชวยเหลือซึ่งกัน และกัน ถือเปนการชวยดึงดูดสมาชิกให มารวมตัวกันใหมากทีส่ ดุ ในงานครบรอบ 15 ป ของการประชุมใหญสามัญประจํา ป ของสามคมฯ ในวันที่ 28 พฤศจิกายน ศกนี้ดวย
สมาคมขนสงภาคตะวันออก
คุ ณ ภาราดา จั น ทร ขํ า นายกสมาคมขนสงภาค ตะวั น ออก เป ด เผยว า หลังจากที่ ไดรับตําแหนง เปนนายกสมาคมขนสงภาคตะวันออก และมีคณะกรรมการชุดใหมขึ้นมา ได มีจุดประสงคการทํางานที่จะใหบริษัท ต า ง ๆ ภายในจั ง หวั ด ระยองและ จังหวัดใกลเคียงไดรูจักกับสมาคมฯ มากยิ่งขึ้น โดย บรรดา ส ม า ชิ ก ทั้ ง หมดจะ ทําการขนสง อยางมีระบบ ระเบียบและ มี ม าตรฐาน ทั้งนี้ เพราะ ทุก ๆ เดือน จะมีการประชุมยอยให ความรู ไ ม ว า จะเป น ในเรื�อ งกฎการ จราจร การดูแลรักษาเครื�องยนต กฏ ระเบียบอื�น ๆ ที่ทางราชการไดมีการ ปรั บ เปลี่ ย นใหม รวมทั้ ง การแลก เปลีย่ นความคิดเห็นถึงอุปสรรคตาง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น รวมไปถึ ง การสร า งความ แข็งแกรงการขนสงในภาคตะวันออก เพิ่มมากขึ้น สวนการประชุมสามัญประจําป นั้น คาดวาจะรวมกับสมาคมขนสง อื�น ๆ เพราะในแตละสมาคมขนสงตาง ต อ งร ว มมื อ กั น เพื�อ ทํ า ให ก ารขนส ง ภายในประเทศมีความแข็งแกรง จน ขนสงตางชาติไมสามารถเขามาแยง ตลาดขนสงในประเทศไทยไปได
จอดพั ก
สมาคมขนสงสินคาภาคอีสาน
คุณพันธุศักดิ์ ศรีสกุล อุปนายกสมาคมขนสง สินคาภาคอีสาน กลาว วา เมื�อชวงปลายเดือนพฤษภาคม 2558 ที่ ผ า นมานั้ น ทางสมาคมฯ ได มี ก าร ประชุมสามัญประจําป ซึ่งถือวาเปนการ
Green Logistics
GOSSIP • BUS&TRUCK 19
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
ชุมทางขนส่ง
สวั ส ดี ค รั บ เพื�อ น ๆ สมาชิ ก นิตยสาร BUS & TRUCK ทุกทาน มา พบกันอีกแลวใน ฉบับที่ 271 ปกษแรก เดือนมิถุนายน 2558 เปนอยางไรกัน บาง หวังวาทุกทานคงจะสบายดี ไมมี เรื�องหนักใจเทาไรนัก ตอไปนี้จะมีทั้ง เรื�องที่มีสาระและไมมีสาระของวงการ ขนสงมาเลาใหฟง เพื�อที่จะไดเปนการ สรางสีสัน รูเขารูเรามากขึ้น เริ่มจากกระทวงการคลังที่ เตรียมออกพันธบัตร เพื�อสะสางหนี้ที่ รัฐบาลชุดที่แลวสรางไวจากการรับจํานํา ขาว เปนเงินกวา 5 แสนลาน พรอมของ ขสมก. อีกประมาณ 1 แสนลานบาท และ หนี้ของรัฐวิสาหกิจอื�น ๆ อีกกวา 1 แสน ลานบาทดวยกัน รวมแลวมีหนี้รวมกัน ทัง้ หมดกวา 7 แสนลานบาท ทีร่ ฐั บาลชุด นี้ ไดเตรียมแผนการเปนระยะเวลา 3 ป 5 ป และ 12 ป โดยรายละเอียดทั้งหมด ใกลจะไดบทสรุปแลว เมื�อ คิ ด ถึ ง รายละเอี ย ดของหนี้ สะสมที่รัฐบาลชุดนี้ตองทําคือ ตองรับ ภาระที่ ท างรั ฐ บาลชุ ด ที่ แ ล ว ทํ า ไว ใ ห มากกวา 5 แสนลานบาท สาเหตุที่ตอง ทําก็เพื�อประชาชนทัง้ ประเทศ แลวทําไม ถึงไมใหรฐั บาลชุดทีแ่ ลวทีเ่ ปนผูก ระทํารับ ผิดชอบ แมวาจะเปนรัฐบาลทหาร ที่ ชวยฟน ภาวะเศรษฐกิจไดลา ชา แตกย็ งั มี ใจรักประชาชน ดวยการจัดงบประมาณ พิเศษ เพื�อใหกรมทางหลวงชนบทได ทําการกอสรางถนนเพิม่ จากเดิมทีต่ อ เติม ถนนปละ 500 กิโลเมตร ไดปรับขึ้นมา เปน ปละ 1,000 กิเมตร เพื�อใหการ คมนาคมมี ค วามคล อ งตั ว มากขึ้ น สามารถเดินทางไดสะดวก หากมองอีก แง ห นึ่ ง แล ว เป น การเพิ่ ม รายได ใ ห กั บ ประชาชนทั่ ว ประเทศและยั ง มี เ งิ น หมุนเวียนเพิ่มมากขึ้นอีกดวย ทางดาน ขสมก. ก็ทําตามที่ รัฐมนตรีวาการคมนาคมต องการ คือ ใหหาขอมูลวารถเมล เครื�องยนตดีเซล เครื�องยนต NGV และแบบไฟฟานัน้ ชนิด ไหนจะคุมทุนมากกวากัน ก็เลยลองนํา รถเมล ไฟฟามาทําการทดสอบวิง่ บนทอง ถนน ซึ่งมีอยูดวยกันทั้งหมด 3 คัน และ จะมีรายงานผลการใชงานตอไปวาคุมคา หรือไม รวมทั้งรายละเอียดของรถเมล เครื�องยนต NGV จํานวน 489 คัน ที่ทาง ช.ทวี ดอลลาเซียน เปนผูประมูลได แต ยั ง ติ ด ขั ด เรื�อ งบริ ก ารซ อ มแซมว า ผล สุดทายจะสรุปผลออกมาวาอยางไร ดวย คุณอํานวย พงษวจ ิ ารณ ไดรับตําแหนงใหม คือ รองกรรมการผู จัดการใหญของคาย ฮีโน ก็ตองทํางาน อยางหนัก เดินทางไปประชุมที่ประเทศ ญี่ ปุ น บ อ ยครั้ ง และต อ งตรวจเยี่ ย ม ดีลเลอรที่ตางจังหวัดอีก ทั้งนี้ เพื�อที่จะ
ปตท. มอบเงินสนับสนุนการจัดสรางอุทยานราชภักดิ์
ดร.ไพรินทร ชูโชติถาวร ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) มอบเงินสนับสนุนนํ้ามันเชื้อเพลิงมูลคา 10,000,000 บาท เพื�อใช ใน การดําเนินงานกอสรางอุทยานประวัติศาสตร ในพื้นที่ประมาณ 222 ไร บริเวณพื้นที่ของ กองทัพบก อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ โดยการกอสรางอุทยานฯ มีวตั ถุประสงคเพื�อ เปนการเทิดทูนและประกาศเกียรติคุณสมเด็จพระมหากษัตริยแหงสยาม ตั้งแตอดีตจนถึง ปจจุบัน นอกจากนี้ยังใชเปนสถานที่ประกอบกิจกรรมตาง ๆ ของกองทัพบก รวมถึงรับรอง บุคคลสําคัญจากตางประเทศ และเปนแหลงทองเที่ยวและเรียนรูทางประวัติศาสตร
ทําใหเปาหมายที่วางไวตั้งแตตนป 58 ที่ ผานมา คือจะตองทํายอดขายให ไดมาก ถึง 15,000 คัน แตดว ยภาวะเศรษฐกิจยัง ตกตํ่าอยูทําให ใน 4 เดือนแรกมียอดขาย เพียงแค 3,000 กวาคันเทานั้น จึงตอง ทํางานหนัก เพื�อที่จะดันยอดขายใหเปน ไปตามเปาให ได จึงขอกําลังใจและเอาใจ ชวยนะครับ
กูดเยียร ประเทศไทย คาดยอดขายป 2558 เติบโตอยางแข็งแกรง
บริษัท กูดเยียร (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) จัดประชุมใหญสามัญประจําปของผู ถือหุน ครั้งที่ 47 โดย มร.ฟนบาร โอคอนเนอร กรรมการผูจัดการ ไดแถลงผลการดําเนินงาน ที่โดดเดนของกูดเยียรประเทศไทยในป 2557 พรอมทั้งคาดการณวา บริษัทฯ จะยังคงมียอด ขายที่เติบโตอยางแข็งแกรงในป 2558 ซึ่งการเติบโตของกูดเยียร ประเทศไทยในป 2557 สะทอนใหเห็นวา บริษทั มีทงั้ ความชํานาญการและมากดวยประสบการณ ในการมอบการบริการ และสินคาตาง ๆ ที่มีคุณภาพใหกับลูกคาทุกคน
มาสดา ดันไทยขึ้นเปนศูนยกลางกระจายอะไหล ในภูมิภาคอาเซียน
เมื�อวันที่ 26-29 พฤษภาคม ที่ ผ า นมา “พี่ เ อ” หรื อ คุ ณ ธนภั ท ร อินทวิพันธุ บอสใหญคาย ฟูโซ ไดลงทุน พานักขาวสายรถใหญไปเยีย่ มชมโรงงาน ประกอบรถใหญของเดมเลอร ประเทศ อิ น เดี ย เพื�อ ให ดู เ ทคโนโลยี ใ นการ ประกอบขั้ น สู ง เหมื อ นกั บ บริ ษั ท แม ประเทศเยอรมนี ทุ ก ประการ โดย มาตรฐานตาง ๆ เหลานี้ จะมีอยูในยี่หอ ฟูโซ เพราะทางเดมเลอร ไดติดตรา ฟูโซ ไวทหี่ นารถทีป่ ระกอบมาจากโรงงานแหง นี้ ลูกคาจึงมั่นใจไดวา เปนเจาของรถ ฟูโซ ก็เทากับเปนเจาของรถเมอรเซเดสเบนซ ดวยเหมือนกัน เพราะเดมเลอร คือ เจาของเมอรเซเดส-เบนซ ดวยบริษัท ตันจง อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด เปนผูจําหนายรถใหญ
มาสดา มอเตอร คอรปอเรชั่น ประเทศญี่ปุน รวมมือกับ บริษัท มาสดา เซลส (ประเทศไทย) จํากัด เปดศูนยกลางกระจายอะไหลมาสดาแหงใหมบนถนนบางนา-ตราด ภาย ใตชื�อ บริษัท ออโตอัลลายแอนซ (ประเทศไทย) จํากัด เพื�อทําการผลิตรถกระบะเพื�อการ พาณิชยและรถยนตนงั่ สวนบุคคลสําหรับจําหนายในประเทศไทยและเพื�อการสงออกไปจําหนาย กวา 140 ประเทศ ซึ่งโรงงานออโตอัลลายแอนซ ตั้งอยูนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิรนซีบอรด จ.ระยอง ประเทศไทย และมีพนักงานกวา 9,000 คน มีกําลังการผลิต 270,000 คันตอ
8 ผูจัดจําหนายเชฟโรเลต ควารางวัลแกรนมาสเตอรสจากจีเอ็มไอ
ผูจัดจําหนายเชฟโรเลต ประเทศไทย 8 ราย ไดรับรางวัลจีเอ็ม อินเตอรเนชั่นแนล แกรนดมาสเตอรส ประจําป พ.ศ. 2558 ทีน่ ครซานฟรานซิโก แคลิฟอรเนีย ซึง่ ถือเปนเกียรติยศ สูงสุดที่จีเอ็มมอบใหแกผูจัดจําหนาย 167 แหงในภูมิภาคตาง ๆ ซึ่งจัดขึ้นเปนปที่ 12 ผูชนะ เลิศไดรับการคัดเลือกบนพื้นฐานของการจัดจําหนายยานยนตและชิ้นสวน การบริการ ความ พึงพอใจของลูกคา และมาตรฐานการจัดการ โดยมีการประเมินทั้งดานปริมาณและคุณภาพ ในการดําเนินงาน
20 BUS&TRUCK • GOSSIP
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
ชุมทางขนส่ง
หลายยี่ ห อ รวมทั้ ง โฟตอนด ว ย ซึ่ ง ผู บริหารตางใหความยอมรับนับถือ “พีเ่ อ” หรือ คุณธนภัทร อินทวิพันธุ เปนอยาง มาก ไมวาจะเปนการวางแผนการติดตอ ประสานงานกับลูกคา การนํารถรุนใหม ที่ตลาดมีความตองการสูง การตัดสินใจ ไดอยางรวดเร็ว ทําใหคา ยฟูโซ มียอดขาย เปนผูน าํ รถใหญคา ยอื�น ๆ ในตันจงตลอด มา และในเร็ววันนี้ คายโฟตอน จะแตง ตัง้ ผูจ ดั การทัว่ ไป 2 ตําแหนง โดยคนหนึง่ จะดูแลการพัฒนาผลิตภัณฑและอะไหล สวนอีกตําแหนงหนึ่งจะรับผิดชอบงาน ขายและการตลาด เรียกวานําแบบอยาง มาจากคาย ฟูโซ แทบทุกประการ แบบ นีถ้ อื วา เปนการบริหารการตลาดรูปแบบ ใหม ซึ่งนําสิ่งที่ดีของบริษัทในเครือมา ประยุกษใช ใหม เพื�อพัฒนาบริษัทให โต ขึ้นไดอยางรวดเร็ว เมื�อ พู ด ถึ ง ค า ย อาร ซี เ ค รุงเจริญ ที่ ไดออกตัวถังบรรทุกนํ้ามัน แบบอัลลอยดใหม ก็มีโปรโมชั่นพิเศษ ไมวาจะเปนการลดราคาให พรอมทั้งติด
GPS ใหดวย โดยไดเนนใหเห็นถึงความ สําคัญวาระบบ GPS จะใหการชวยเหลือ ลูกคาเปนอยางมากเพราะเมื�อรถติดไป รับนํ้ามันไมทันหรือไปสงนํ้ามันลาชาก็มี GPS เปนตัวยืนยันวา สาเหตุไมไดเกิด จากคนขับแตเกิดจากสภาพรถติดอื�น ๆ กลุมผูวาจางก็จะไมติดใจ ใหทํางานและ
วาจางขนสงนํ้ามันตอไป และในเร็ววันนี้ ก็เตรียมที่จะมีการเปดตัวรถรุนใหมออก มาอีก สวนรายละเอียดจะเปนอยางไรนัน้ คอยติดตามชมได ในตอนตอไป เมื�อพูดถึงเสี่ยขนสง คือ คุณ ป ญ ญา เศรษฐโภคิ น เจ า ของค า ย บลูแอนด ไวท กรุป แมวาการขนสงจะ สามารถประคองตัวใหอยูเ ทาเดิมไดแตมี อยูวันหนึ่งไดเดินทางไปหาลูกคาก็พบวา การจราจรติดขัดมาก บนถนน 3 เลน ซาย สุดเปนเลนของรถใหญ เลนกลางเปนรถ ที่ใชความเร็วธรรมดา สวนเลนขวาสุด เปนรถที่ใชความเร็วมาก ก็แปลกใจมาก วา ทําไมบายวันนี้รถติดมากไมสามารถ ขับแซงกันไดเลย เมื�อขับมาไดระยะนึงก็ พบวา ความจริงทีท่ าํ ใหรถติด ก็เนื�องจาก มีรถที่ขับเลนกลางและเลนขวาขับคูกัน ในความเร็วไมมากนัก ไมมีคันไหนขับ แซงหรือหลีกทางใหเลย สรางความหัว เสียใหเปนอยางมากถือวา เปนคนเห็นแก ตัวไมมวี นิ ยั ในการขับรถและไมยอมใหรถ คันหลังแซงหนาไดเลย สวนวิธีการแก ไข ตองใหตํารวจ
จรารจรลงทุนซื้อเฮลิคอปเตอร เพื�อหา สาเหตุ ว า ที่ ก ารจราจรติ ด ขั ด มาจาก สาเหตุใดเพื�อจะไดหาทางออกไดถูกจุด อย างสาเหตุขางต นที่ ได กล าวมา ที่มี รถยนตขบั คูก นั นัน้ ก็ใหถา ยรูปบันทึกปาย ทะเบียนรถไว เพื�อทําการปรับที่ สน.เลย สวนคาปรับนั้นก็ตอง 50,000 บาท เปน
ปกษแรก มิถุนายน 2558
เครือบริษัทดํารงศิลป กรุป เริ่มกอตั้งเมื�อป พ.ศ. 2519 โดย คุณธํารงกุล และ คุณวิภา ภูอัครนันท เริ่มจากการเปดรานรับซอมเบาะเล็ก ๆ ริมถนน จน กระทั่งมีบริษัทรถยนตเขามาเปดในเมืองไทย ทําใหมีโอกาสไดทําเบาะสําหรับ รถยนต ซึ่งทําใหมีจํานวนการผลิตเพิ่มมากขึ้น แตขนาดของรานและจํานวน พนั ก งานไม เ พี ย งพอต อ การผลิ ต จึ ง เป น สาเหตุ ใ ห ย า ยมาสร า งโรงงานที่ อ. สองพี่นอง จ. สุพรรณบุรี แตเมื�อยายมาได ไมนานก็พบกับปญหาวิกฤต เศรษฐกิจใน ป พ.ศ. 2540 จึงทําใหดาํ รงศิลปไดมีโอาสขายใหกบั ตลาดตางประเทศ เนื�องจากผูบริหารคิดวาคาเงิน US แข็งตัว จึงเปนโอาสที่ดีกวาที่จะขายในเมือง ไทย เนื�องจากเศรษฐกิจในประเทศตกตํ่า ซึ่งทําใหเปนจุดเริ่มตนของการสงออก ของบริษทั ดํารงศิลป จนถึงปจจุบนั บริษทั ดํารงศิลป มีการสงออกไปยังประเทศ ตาง ๆ เชน กลุมประเทศอาเซียน, บังคลาเทศ, ไตหวัน, ญี่ปุน, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด, เคนยา ฯลฯ
สาว ALPINE
GOSSIP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
21
“สปข. 30 RALLY Touring and Sharing 2015” กระชับสัมพันธ 2 สมาคมฯ
สมาคมผูป ระกอบการรถขนสงทัว่ ไทย นําโดย ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร นายกสมาคม พาคณะแรลลี่ของสมาคมฯ รวมกิจกรรมการประชุมใหญสามัญประจําป 2558 ของสมาคม ผูประกอบการขนสงแหลมฉบังชลบุรี โดยกิจกรรมแรลลี่ สปข. 30 RALLY Touring and Sharing 2015 จัดขึน้ เปนปแรก มีวตั ถุประสงคหลักเพื�อเปนจุดเริม่ ตนในการจัดหางบประมาณ ใช ในโครงการ “พัฒนานักขับรถโดยสารเพื�อการทองเที่ยวมืออาชีพ” พรอมทั้งกระชับความ สัมพันธอันดีระหวางสมาชิกของสมาคม หนวยงานหรือองคกรตาง ๆ และหางรานที่ใหการ สนับสนุนสมาคมฯ ดวยดีตลอดระยะเวลาที่ผานมา
อยางนอย เพื�อไมใหทําผิดอีกเปนหนที่ สอง และเพื�อไมใหผูอื�นเลียนแบบดวย มัน่ ใจวาจะชวยแกปญ หารถติดเปนอยาง มาก และเพื�อ ยื น ยั น ว า ค า ยรถ ใหญ ยูทง เปนเจาตลาดรถโดยสารใน
ประเทศจีนจึงไดนําตัวเลขการขายแตละ ยี่หอในป 2557 มายืนยันวาคายใดมีสวน แบ ง ทางการตลาดเท า ใดบ า ง ราย ละเอียด ดังนี้ ฉบับหนาพบกันใหม สวัสดีครับ
อีซูซุมอบรางวัลแชมปวาดภาพโครงการ “อีซูซุเยาวชนสัมพันธ” ครั้งที่ 22
มร.ฮิโรชิ นาคางาวะ กรรมการผูจัดการ บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด และคุณ พินิจ สุขะสันติ์ นักวิชาการชางศิลป ชํานาญการพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พรอมดวยคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ รวมเปนประธาน ในพิธีมอบรางวัล “อีซูซุพานอง ๆ ทองญี่ปุน” พรอมโลประกาศเกียรติคุณและทุนการศึกษา ใหแกเยาวชนที่ชนะการประกวดวาดภาพโปสเตอรพรอมคําขวัญในโครงการ “อีซูซุเยาวชน สัมพันธ” ครั้งที่ 22 ดวยหัวขอรอบชิงชนะเลิศ คือ “เศรษฐกิจไทยกาวไกล กับ AEC” ณ หอง ประชุมชั้น 20 อาคารสํานักงานใหญ บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด
เชลลแหงประเทศไทย จัดกิจกรรมวันแหงความปลอดภัยประจําป
บริษัทเชลลแหงประเทศไทย จัดกิจกรรมวันแหงความปลอดภัยประจําป โดยผูบริหาร และพนักงานของเชลลจงึ ไดรว มกันสนับสนุนโครงการ #SaveKidsLives โดยเขียนความตัง้ ใจ ถึงวิธกี ารทีจ่ ะชวยใหเด็กเดินทางกลับบานอยางปลอดภัยลงในแผนกระดาษ เพื�อแสดงถึงความ มุง มัน่ ทีจ่ ะรวมเปนสวนหนึง่ ของโครงการกิจกรรมวันแหงความปลอดภัยของเชลลทวั่ ภูมภิ าคนี้ มุงเนนเรื�องการเสริมสรางความรูความเขาใจในการใชรถใชถนนเพื�อความปลอดภัยของชุมชน
ปตท. มอบรางวัล Eco-Driving Award ชวยโลกลดรอน
คุณสรัญ รังคสิริ ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) เปนประธานในพิธีมอบรางวัล Eco-Driving Award ในโครงการลด การใชพลังงานเชื้อเพลิงของผูรับจางขนสงผลิตภัณฑเชื้อเพลิงทางรถยนต ซึ่ง กลุม ปตท. ริเริ่มตั้งแตป 2556 มีรถขนสงกวา 1,300 คัน เขารวมโครงการ สามารถลดการใชเชื้อเพลิงลง ไดถึง 1.15 ลานลิตรตอป และลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกสูบรรยากาศไดกวา 3,100 ตัน ตอป หรือเทียบเทาการปลูกตนไมกวา 1.86 ลานตน
22 BUS&TRUCK • VITSIT
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
แวะเวียน
“สีเขียวของเขา มาจากสีเล็บภรรยา” จากการไดอานบทความเรื่องสั้นที่ลงใน “SAWASDEE VOLVO” ก็อดอมยิ้มไมไดเพราะเปนเรื่องที่แปลกใจกับ ความตองการเรื่องสีรถบรรทุกและก็อดดีใจแทนลูกคาของ วอลโว ทรัคส ที่มีตัวอยางสีที่ไมเหมือนใครโดยเรื่อง ราวนี้เกิดขึ้นใน Umeå โรงงานหองโดยสารและพนสีของวอลโว ทรัคส ที่ประเทศสวีเดน
โรงงานห อ งโดยสารของ วอลโว ทรัคส ใน Umeํ สามารถนํา เสนอกวา 850 สี ใหลูกคาไดเลือก
สรร อยางไรก็ตามสิ่งที่ โรงงานภูมิใจ ทีส่ ดุ ก็คอื ทีน่ มี่ ีโรงงานทําสีทปี่ รับปรุงให เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมที่สุดในโลกที่
โรงงานใน Umeํ ทุกอยางเปนไปได เสมอเมื�อลูกคาอยากจะเลือกสี “เรามีลูกคาที่พาภรรยามาดวย” เดนนี เวสเตอรลันด กลาวจากแผนก สื�อมวลชนของโรงงาน “เธอเปนคนขับรถ บรรทุก เมื�อเราถามลูกคาวาอยากไดสี อะไร เขาก็ หั น ไปถามภรรยา เธอ ประหลาดใจกับคําถาม แตหลังจากคิดดู สักครู เธอก็ยื�นมือใหเราดูสีเล็บของเธอ แล ว บอกว า “ฉั น เอาสี นี้ แ หละ” ไม มี ปญหาพวกเขาก็เอาตัวอยางสีเล็บไปเพื�อ ทดสอบหาผลลัพธลา สุด เดนนี เวสเตอร ลันด กลาว “แล ว เธอก็ ไ ด ห อ งโดยสารที่ มี สี เดียวกับเล็บของเธอ ตัวอยางนี้ดูออกจะ สุดโตงไปหนอย แตถึงกระนั้นก็แสดงให เห็นวาเราทําอะไรไดบาง” เขากลาว อยางไรก็ตาม สิ่งที่ โรงงานภูมิใจ ที่ สุ ด ก็ คื อ การทํ า งานที่ คํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดลอม เปนเวลาหลายปแลว ปจจุบัน ได มี ค วามมุ ง มั่ น อย า งแรงกล า ในการ สรางโรงงานทําสีระดับโลกทีม่ กี ารระเหย ของตัวทําละลายตํา่ แตมปี ระสิทธิภาพสูง ในดานการใชพลังงาน ทุกขั้นตอนของ กระบวนการจะไดรบั การตรวจสอบแม ใน รายละเอียดที่เล็กที่สุด ทุกคนไดรับการ สนับสนุนใหเสนอแนวคิดและคําแนะนํา ตลอดจนมีการลงทุนที่สําคัญตางๆ ซึ่งทั้งหมดนี้ตางนํามาซึ่งผลลัพธ ระหวางป 1999 ถึง 2008 การใชพลังงาน ลดลงถึง 30 เปอรเซ็นต แมวาความ สํ า เร็ จ นี้ จ ะน า ทึ่ ง ก็ ต าม แต มั น น า ประหลาดใจกว า เดิ ม เมื�อ พิ จ ารณาดู วาการปฏิบัติงานของโรงงานทําสีเติบโต ขึ้ น มากในระหว า งช ว งเวลาเดี ย วกั น สาเหตุหนึ่งก็คือชิ้นสวนตัวถังพลาสติกที่
เคยทําสีในโรงงานที่เบลเยี่ยมไดถูก ยายมาทําที่ Umeํ แลวตอนนี้ “ถ า ไม ได ทํ า สี ใ นโรงงาน เดียวกัน ก็คงเปนเรื�องยากมาก ๆ ที่ จะใหสีตรงกับสวนที่เหลือของหอง โดยสารพอดี นั่นจึงเปนสาเหตุที่เรา เอาขั้ น ตอนการทํ า สี ก ลั บ มาที่ นี่ ” ฮานส เวินนแกรน ผูจัดการฝาย กระบวนการฝ า ยจั ด การผิ ว ตั ว ถั ง อธิบาย นอกเหนือจากนั้นขอตัดบทมา ในสวนของผลลัพธที่เกิดขึ้น สําหรับ สิ่ ง ที่ ไ ด ป รั บ ปรุ ง โรงงานแล ว มี ก าร พัฒนาและเปนความภาคภูมิใจเกี่ยว กั บ สิ่ ง แวดล อ มที่ ส ามารถช ว ยลด มลพิษ โรงงานทําสีไดรับการปรับปรุง ใ ห ทั น ส มั ย แ ล ะ ก า ร ผ ลิ ต ก็ มี ประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ในเรื�องของลําดับ ขัน้ ตอน และผลลัพธที่ไดกค็ อื ปริมาณ การใช สีและตัวทําละลายตลอดจน การระเหยสูอากาศก็ลดลงอยางเห็น ไดชัด ในป 1998 การระเหยของสาร เหลานีม้ ปี ระมาณ 70 กรัมตอพืน้ ทีผ่ วิ หองโดยสารหนึ่งตารางเมตร “วันนี้ตัวเลขนอยกวา 10 กรัม ซึง่ ตํา่ กวาสหภาพยุโรปกําหนดไวที่ 55 กรัมตอตารางเมตร แมวายังคงมีอีก หลายเรื�องที่ตองทํา แตเราก็ดีใจกับ สิ่งที่ทําสําเร็จแลว” ฮานส เวิ น น แกรน กลาว เป น เรื�อ งที่ ดี อ ย า งยิ่ ง สํ า หรั บ คุ ณ ภาพโรงงานพ น สี ข อง วอลโว ทรัคส ที่ Umeํ ในประเทศสวีเดน โดยสําหรับผูที่สนใจอยากอานเรื�อง ราวที่ดีของวอลโว ทรัคส สามารถ ติดตามไดในนิตยสาร “SAWASDEE VOLVO ที่ที่คุณจะไดพบเรื�องราว ดี ๆ เกี่ยวกับรถบรรทุก”
YUTONG
¦· µ¦ oª¥¤µ ¦ µ ¸nn¦° ¦´ ªµ¤ o° µ¦ µ ¨¼ oµ ´ªn ¦³Á «
¡ ´ o°Á °¡·Á«¬» ª´ ¸o n¸
YUTONG THAILAND HOTLINE
China’s No.1 Bus Brand
à ¦ ¨³ °¸Á¤¨ QLH[W#\XWRQJ FRP ZHLWDRE#\XWRQJ FRP ÁªÈ Å r KWWS \XWRQJ FRP ZK6729D SPECIFICATION
£µ¥Ä ®¦¼®¦µ ¡¦o°¤°» ¦ rÁ ¢ ¸ o ¸ n ´ ¤´¥ Á¦µ ¹ ¤´ n Ä Ä ªµ¤ ¨° £´¥
âùĒôāĔõĔ PP [ PP [ PP äćĒāĊęçĀĒĂğù PP ĜäăėĤčçĂùõĨăĘĤù <& ' ĂęĞă
õēĝċùĤçĜäăėĤčçĂùõĨ ćĒçċùĥĒ čđõăĒáĒăĜüĒüąĒíĜêėĥčĜþąĔç õĤčąĔõă ĜþąĒâđúċùĥĒ ċąđçĝúú <XWRQJ ĜþąĒ ôăđāĜúăá ăĐúúáđùĊĐĜ÷ėčù /HDI VSULQJ èēùćù÷ùç èēùćù÷ĕĤùđĤç ăĐúúûăúčĒáĒĈ û ú đ čĒáĒĈ Ĝäăė Ĉ ăĐúúûăđ ĤčçûăđúčĒáĒĈ <XWRQJ ăĐúĒĂäćĒāăĥčù NFDO K %RFN &RPSUHVVRU
n YUTO NG o ¨· ¥µ ¥ r ¼ à ¥Ä oÁ ¦º° n ¤º°°´ ´ ¤´¥ ¸nÄ®o ªµ¤Â¤n ¥¶
o ¡¦o°¤ oª¥ ´ ° µ¦ ¦ª ° » n £µ¡ 4& ¦ª¤ ¹ µ¦°°  à ¦ ¦oµ o ¡º µ ¸ nnÁ È ¤µ ¦ µ ¨³ ¨° £´¥ Å o¦´ µ¦¥°¤¦´ Å ´ª » ¤»¤Ã¨
24 BUS&TRUCK • COMPARISON
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
เปรียบเทียบรถเด่น
รถบรรทุก 6 ลอ สมรรถนะสูง
ELF 6 ลอ แกรงสุดคุม
HINO 300 คุมคานาใชงาน บริ ษั ท ฮี โ น ม อเตอร ส เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ผูนําแหงยนตร กรรมรถบรรทุกเพื�อการพาณิชย มา พรอมรถบรรทุกขนาด 2-3 ตัน Hino 300 ประหยัดเหนือชั้นอยางมืออาชีพ สุดยอดรถบรรทุกขนาดเล็ก ที่ ไดรบั การ พัฒนาใหมเพื�อใหมปี ระสิทธิภาพในการ ใชงานสูงสุด และตอบสนองการใชงาน ของลู ก ค า เป น หลั ก ภายใต แ นวคิ ด QDR (คุณภาพ ทนทาน มั่นใจได)
เครื่องยนตประหยัดนํ้ามัน
รถบรรทุก 6 ลอ ในรุน XZU650R ออกแบบโฉบเฉี่ยวลงตัว สําหรับการใช งานในเมืองทีต่ อ งการความคลองตัวโดย เฉพาะ พรอมการบรรทุกไดอยางเต็ม พิกดั แตประหยัดนํา้ มันสูงสุด ใหความคุม คาทุกการลงทุน ดวยเครื�องยนต รุน N04C-VB เครื�อ งยนต ดี เ ซลขนาด 4 จังหวะ 4 สูบ เรียงแนวตรง ระบายความ รอนดวยนํ้า เทอร โบอินเตอรคูลเลอร คอมมอนเรล ควบคุมดวยคอมพิวเตอร แบบไดเร็กอินเจ็คชั่น 4,009 ซีซี. 150 แรงมา กําลังสูงสุดอยูที่ 110 กิโลวัตต ที่ 2,800 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุดอยูที่ 420 นิวตันเมตร ที่ 1,400 รอบตอนาที ความเร็วสูงสุด 127 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทอไอเสียเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ยูโร 3
การขับเคลื่อนมั่นคง
ระบบเกี ย ร 5 เกี ย ร เดิ น หน า โอเวอร ไดรฟ 1-5 ซินโครเมซ คลัตชแบบ แหงแผนเดียว ระบบไฮโดรลิก ปรับตั้ง อั ต โนมั ติ ระบบเบรกแบบไฮโดรลิ ค ประกอบด ว ยก า มเบรกแบบตั ว นํ า คู กระทําทุกลอ 2 วงจรอิสระ หมอลม สูญญากาศชวยเบรก
รูปโฉมภายนอก
ออกแบบหัวเกงใหมหมด ขยาย ขนาดหั ว เก ง ให ใ หญ ม ากยิ่ ง ขึ้ น มี รู ป ลั ก ษณ ส วยงาม แต เ ต็ ม ไปด ว ยความ แข็งแกรง สามารถรองรับนํา้ หนักบรรทุก รวม 4,500 กิ โ ลกรั ม และยั ง เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการลูลมชวยประหยัด พลั ง งานตามหลั ก อากาศพลศาสตร (Aerodynamic) เพิ่มความคลองตัวใน การขึ้ น ลงหั ว เก ง ทั้ ง ของผู ขั บ ขี่ แ ละผู โดยสาร เสริมความปลอดภัยดวย ไฟหนา ดี ไ ซน ใ หม แ บบฮาโลเจนพร อ มไฟตั ด หมอก ทําใหสอ งสวางไดในระยะไกล เพิม่ ความปลอดภัยในทุกการขับขี่
ความปลอดภัยเปนเลิศ
ระบบความปลอดภัยสูงสุดทั้งคาน เหล็กนิรภัยบริเวณประตูชวยลดความ เสียหายเมื�อเกิดอุบัติเหตุ ขนาดของเสา A มีขนาดเล็กลงเพื�อทัศนวิสยั ในการมอง
ที่ดียิ่งขึ้น และระบบถุงลมนิรภัย SRS ทํางานรวมกับเข็มขัดนิรภัยปองกันการ กระแทกเมื�อ เกิ ด อุ บั ติ เ หตุ สิ่ ง อํ า นวย ความสะดวกอื�น ๆ ไดแก เครื�องปรับ อากาศคุ ณ ภาพสู ง ยี่ ห อ เด็ น โซ เป น มาตรฐานจากโรงงาน ใหความเย็นฉํ่าได ทัว่ ทัง้ หองโดยสาร, วิทยุพรอมเครื�องเลน CD และ MP3 ใหคุณเพลิดเพลินอยาง มีระดับในทุกการเดินทาง, ชองเก็บของ อเนกประสงคหลายจุด ออกแบบใหหยิบ ใชงานไดสะดวก
บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด มาพรอมรถบรรทุกในแบบคนเมือง อีซซู ุ เอลฟ ซูเปอรคอมมอนเรล เครื�องยนต ไดเร็คอินเจ็คชั่น มัลติวาลว เทอร โบ อินเตอรคูลเลอร เพิ่มแรงมา เพิ่มพลัง ใหแรงบิดมหาศาล ใหกําลังฉุดกระชาก ลากดี เ ยี่ ย ม เร ง แซงทั น ใจ เพื�อ งาน บรรทุกที่เหนือกวา ทนทานเปนเยี่ยม แตประหยัดนํา้ มันกวาเดิมตามแบบฉบับ อีซูซุ พรอมผานมาตรฐานไอเสีย ยูโร 3
สูตรสําเร็จ
อี ซู ซุ เ อลฟ ซู เ ปอร ค อมมอนเรล ซูเปอรพลังรถบรรทุกคันนี้ เครื�องยนต
SPECIFICATION รายละเอียด ลักษณะ เครื่องยนต แรงมาสูงสุด กําลังสูงสุด kW/rpm แรงบิดสูงสุด Nm/rpm ความจุกระบอกสูบ (ซีซี.) ความเร็วสูงสุด กม./ชม. นํ้าหนักรวมสูงสุด (กก.) มาตรฐานไอเสีย รายละเอียดเพิ่มเติม
HINO 300 ISUZU ELF รถบรรทุก 6 ลอ ดีเซล N04C-VB 4HK1-TCN 150 150 110/2,800 110/2,600 420/1,400 404/1,500-2,600 4,009 5,193 127 111 8,500 8,500 ยูโร 3 ยูโร 3
บริษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2900-5000 บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลล จํากัด โทร.0-2966-2111
SHOWROOM • BUS&TRUCK
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
25
Showroom
Hilux REVO
Toyota Hilux REVO รุน Standard Cab 4x4 2.8J ขับเคลื�อน 4 ลอ มาพรอม เครื�องยนตดีเซล 2.8 ลิตร รหัส 1GD-FTV (High) เปนเครื�องดีเซลแบบแถวเรียง 4 กระบอก สูบ 16 วาลว ดับเบิ้ลโอเวอรเฮดแคมชารป DOHC ปริมาตรความจุ 2,755 ซีซี. อัดอากาศดวย เทอรโบแปรผัน VN Turbo กับชุดลดอุณหภูมิไอดีอินเตอรคูลเลอร กําลังสูงสุด 130 กิโลวัตต หรือ 177 แรงมาที่ 3,400 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุดจัดมาให ในระดับรถหัวลากจอมพลังที่ 420 นิวตันเมตรในยาน 1,400-2,600 รอบตอนาที ระบบจายเชื้อเพลิงใชหัวฉีดดีเซลคอมมอนเรล ไดเรคอินเจคชั่น ระบบขับเคลื�อน 4 ลอ พรอม Differential Lock ที่เฟองทาย ระบบสงกําลัง เกียรธรรมดา 6 สปด ชวงลางดานหนาแบบอิสระปกนกคู คอยลสปริงและเหล็กกันโคลง ชวง ลางดานหลังแบบแหนบซอน รายละเอียดเพิ่มเติม : www.toyota.co.th
ม
NP300 Navara
ไดเร็คอินเจคชั่น มัลติวาลว รุน 4HK1TCN ในรุน NPR เครื�องยนตขนาด 5,139 ซีซ.ี ไดเร็คอินเจคชัน่ เทอรโบอินเตอรคลู เลอร โอเวอรเฮดแคมชาฟท ใหกําลัง สูงสุด 150 แรงมา ที่ 2,600 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุดถึง 404 นิวตัน-เมตร ที่ 1,500-2,600 รอบตอนาที ใหกําลังสูงตอ เนื�องอยางแทจริง ระบบฉีดจายนํ้ามันเชื้อเพลิงแรง ดั น สู ง เป น เทคโนโลยี ลํ้ า ยุ ค ทํ า งาน สั ม พั น ธ กั บ ทุ ก รอบของเครื�อ งยนต สามารถควบคุมแรงดันนํ้ามันใหสูงคงที่ ตลอดเวลา ประสิทธิภาพสูงกวา ประหยัด นํา้ มันกวาสามารถฉีดจายนํา้ มันเชือ้ เพลิง ใหเปนละออง เพื�อเผาไหม ไดอยางมี ประสิทธิภาพ หมดจดกวา
ทุกรายละเอียดคือความสบาย
สําหรับเอลฟคนั นี้ ไดเพิม่ ทัศนะวิสยั ในการขับขี่ใหดีขึ้น ดวยการออกแบบหัว เกงใหม ดีไซนกระจกหนาและติดตั้งชุด กระจกมองขางขนาดใหญ เพิม่ มุมมองที่ กวางมากขึน้ สามารถมองเห็นไดรอบคัน ระบบไฟส อ งสว า งยามกลางคื น ครบคันดวยชุดไฟตาเพชร สวางและไกล พรอมไฟตัดหมอกที่กันชนหนา และไฟ สองดานขาง ซึ่งเปนเอกลักษณความ ปลอดภัย สําหรับอีซูซุเอลฟเทานั้น
ทุกสไตล คือ ความลงตัว
ระบบเกียรสมบูรณแบบทีเ่ พิม่ ใหมี ขนาดใหญขึ้น เปนสไตลรถบรรทุกขนาด ใหญ ให อั ต ราทดสั ม พั น ธ ต อ เนื�อ งทุ ก อัตราเรง กําลังไมตก สามารถรับแรงบิด ไดสูง แข็งแกรงทนทาน เหมาะสําหรับ งานบรรทุกหนัก เกียรรนุ MYY6S 6 เกียร เดินหนา ในรุน NPR ชวงยาวพิเศษ สําหรับวิง่ ระยะทางไกล ใหกาํ ลังตอเนื�อง ประหยัดนํ้ามันเปนเยี่ยม เฟองทายขนาดใหญ อัตราทดให รับกับแรงบิดของเครื�องยนตทมี่ ากขึน้ สง ผลใหออกตัวเรงแซงรวดเร็ว ระบบเบรก ไฮโดรลิกที่สั้นกวาตอบสนองรวดเร็วยิ่ง ขึน้ พรอมระบบหมอลมเบรกสุญญากาศ 2 ชั้น ใหความมั่นใจตลอดการเดินทาง ตอบสนองสําหรับงานบรรทุกโดยเฉพาะ
สมรรถนะ แกรง ทนทานเหนือชั้น
เสริมเหล็กกันโคลงหนา ชวยใน เรื�องการเขาโคง สามารถยึดเกาะถนนได ดี ม าก โช ค กั น สะบั ด ช ว ยลดการสั่ น สะเทือนของพวงมาลัย ทําใหควบคุมการ ขับขี่ไดงา ย ระบบลมไลฝา ทีก่ ระจกบังลม หนาและกระจกประตูทงั้ สองขาง แชสซีส ออกแบบใหม ขนาดใหญกวาเดิม พรอม สมรรถนะแกรง ทรหดของเพลาหนาและ เพลาหลัง
Nissan NP300 Navara Single Cab มาพรอมเครื�องยนต 2 รุน เครื�องยนตดีเซล ขนาด 2.5 ลิตร 4 กําลังสูงสุด 163 แรงมา ที่ 3,600 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 403 นิวตันเมตร และเครื�องยนตเบนซินขนาด 2.5 ลิตร 4 สูบ ระบบหัวฉีดมัลติพอยท ใหกําลังแรงสูงสุด 169 แรงมาที่ 6,000 รอบตอนาที แรงบิด 241 นิวตันเมตร โดยทั้งสองเครื�องยนตมาพรอมกับระบบ เกียรธรรมดา 6 สปด และไดรับการพัฒนาใหประหยัดนํ้ามันเพิ่มขึ้นกวาเดิมสูงสุดถึง 22% โครงสรางเหล็กกลาไรรอยตอ รองรับนํา้ หนักบรรทุกไดในปริมาณมากและเปนครัง้ แรกของกลุม ตลาดกระบะตอนเดียวและเปนเจาแรกทีม่ กี ารติดตัง้ กลองมองหลัง และติดตัง้ ทีเ่ หยียบขึน้ กระบะ ดานขาง ใหเปนอุปกรณมาตรฐานทุกรุน (ยกเวน Chassis Cab) รายละเอียดเพิ่มเติม : www.nissan.co.th
All new TTriton riiton
All-New Mitsubishi Triton Single Cab หรือกระบะแบบตอนเดียว เปดตัวไปเมื�อปลาย ป จุดเดนตรงทีก่ ระบะทายทีใ่ หญขนึ้ เพมาะสําหรับการบรรทุกไดมากพรอมผนังกระบะแบบสอง ชั้น ทนทาน ตอการขนสงหนัก โดยมีซุมลอขนาดเล็กเพื�อเพิ่มพื้นที่บรรทุกไดเปนพิเศษ แถม คลองตัวดวยรัศมีวงเลี้ยวแคบสุดเพียง 5.7 เมตร และ 5.9 เมตร และสิ่งอํานวยความสะดวก ไมวาจะเปนกระจกไฟฟา พรอมเซ็นทรัลล็อค เครื�องปรับอากาศ วิทยุ CD MP3 โดยในรุนนี้ Single Cab มีเครื�องยนตดีเซล VG เทอรโบแปรผัน 178 แรงมาที่ 4,000 รอบตอนาที แรงบิด 400 นิวตันเมตรที่ 2,000 รอบตอนาที ในรุนขับสี่ 4WD และเครื�องยนต ดีเซลเทอร โบ อินเตอรคูลเลอร 2.5 ลิตร 128 แรงมา รายละเอียดเพิ่มเติม : www.mitsubishimotors-triton.com
26 BUS&TRUCK • LOGISTICS FOCUS
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
Logistics Focus
ไทย-ลาว-เมียนมาร-เวียดนาม รวมหารือ
แกไขอุปสรรค การขนสงขามพรมแดน ไทยเปนเจาภาพจัดการประชุมระดับรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศ เกี่ยวกับการพัฒนาแนว พื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก–ตะวันตก ครั้งที่ 3
คุ ณ ด อ น ป ร มั ต ถ วิ นั ย รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงการตาง ประเทศ ประธานการประชุมระดับ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตาง ประเทศเกี่ยวกับการพัฒนาแนวพื้นที่ เศรษฐกิจตะวันออก–ตะวันตก ครัง้ ที่ 3 ซึ่ ง ไทยเป น เจ า ภาพจั ด ขึ้ น ที่ โ รงแรม The St. Regis กรุงเทพฯ โดยมี นาย สะเหลิมไซ กมมะสิด (Mr.Saleumxay Kommasith) รัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงการตางประเทศ สปป.ลาว นายตัน จอ (Mr. Thant Kyaw) รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงการตาง ประเทศเมียนมาร และนายโห ซวน เซิน (Ho Xuan Son) รัฐมนตรีชวย ว า การกระทรวงการต า งประเทศ เวียดนาม เขารวม สํ า หรั บ การประชุ ม หารื อ ใน ประเด็นการอํานวยความสะดวก และ แก ไขอุปสรรคการขนสงขามพรมแดน ไทย สปป.ลาว เวียดนาม และเมียนมาร ตามแนวเขตพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจตะวัน ออก–ตะวันตก (East–West Economic Corridor : EWEC) เพื�อประโยชนดาน การคา การลงทุน การทองเทีย่ ว ความ เป น อยู และการไปมาหาสู ร ะดั บ ประชาชนในอนุภูมิภาค ซึ่งจะสงเสริม การเปนประชาคมอาเซียนในสิ้นปนี้ ที่ ป ระชุ ม เห็ น ว า การพั ฒ นา โครงสรางพื้นฐานตามแนว EWEC มี ความคืบหนาเปนอยางมาก ทั้งการ
พัฒนาถนน สะพาน และจุดผานแดน ระหวาง 4 ประเทศ และเห็นชอบใหผลัก ดั น การบั ง คั บ ใช ก ฎระเบี ย บและการ ดําเนินการตาง ๆ เพื�อใหการขนสงสินคา และผู โ ดยสารข า มพรมแดนมี ค วาม สะดวกมากขึ้น ในส ว นของไทย รั ฐ มนตรี ช ว ย ว า การกระทรวงการต า งประเทศได รายงานความคืบหนา อาทิ การบูรณะ ซอมแซมสะพานมิตรภาพไทย - เมียน มาร แหงที่ 1 (แมสอด - เมียวดี) การ ปรับปรุงถนนเสนทางเมียวดี - เชิงเขา ตะนาวศรี และการกอสรางถนนจากเชิง เขาตะนาวศรี - กอกะเร็ก ตลอดจนการ พัฒนาทางหลวงตาก - แมสอด และการ
กอสรางสะพานมิตรภาพไทย - เมียนมาร แหงที่ 2 นอกจากนี้ ไทยแจ ง ว า ได ให สัตยาบันภาคผนวกแนบทายความตกลง ว า ด ว ยการขนส ง ข า มพรมแดนใน อนุ ภู มิ ภ าคลุ ม นํ้ า โขง (GMS CrossBorder Transport Agreement – CBTA) แลวเมื�อวันที่ 30 มีนาคม 2558 ทัง้ นี้ ไทย เสนอแนวทางการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ พิ เ ศษข า มพรมแดนระหว า งไทยกั บ ประเทศเพื�อนบาน เพื�อสงเสริมฐานการ ผลิตเดียวและหวงโซอุปทานในอาเซียน อีกทัง้ ทีป่ ระชุมเห็นชอบใหไทยเปน เจาภาพจัดการประชุมคณะทํางาน 3 ฝาย ไทย - สปป.ลาว - เวียดนาม เพื�อ
หารื อ และผลั ก ดั น การพั ฒ นากฎ ระเบี ย บและความร ว มมื อ ระหว า ง หนวยงานทีเ่ กีย่ วของเพื�ออํานวยความ สะดวก ณ จุดผานแดน ไดแก การ ขยายเสนทางหมายเลข 9 ใหครอบ คลุมกรุงเทพฯ ฮานอย เวียงจันทน ทาเรือแหลมฉบัง และทาเรือไฮฟอง ของเวี ย ดนาม การรวมเส น ทาง หมายเลข 12 เชื�อมโยงไทย - สปป. ลาว - เวียดนาม ในความตกลง GMS CBTA การเปดเดินรถโดยสารประจํา ทางระหวางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของไทย - สปป. ลาว - เวียดนาม และ การตรวจปลอยจุดเดียว (Single Stop Inspection) ทีด่ า นมุกดาหาร - สะหวัน นะเขต นอกจากนี้ ทีป่ ระชุมเห็นควรให มีการหารือแนวทางแกไขปญหาทีเ่ ปน ข อ กั ง วลของ สปป. ลาว ในฐานะ ประเทศทางผาน อาทิ คาใชจา ยในการ ซ อ มแซมถนน และภาระการรั ก ษา พยาบาลกรณี เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ ในการ ประชุมคณะทํางานฯ 3 ฝายที่ ไทยจะ จัดขึ้น นอกจากนี้ ที่ ป ระชุ ม ได ห ารื อ เรื�องการขยายความร วมมือดานกฎ ระเบี ย บไปยั ง เมี ย นมาร ผ า นด า น แมสอด – เมียวดี การสงเสริมกิจกรรม ทางเศรษฐกิจและการทองเที่ยวตาม แนว EWEC เพื�อสงเสริมใหเปนแนว พื้นที่เศรษฐกิจอยางแทจริง ตลอดจน การเพิ่มบทบาทภาคเอกชน ธนาคาร พั ฒ นาเอเชี ย และหุ น ส ว นเพื�อ การ พัฒนาอื�น ในการพัฒนาเศรษฐกิจตาม แนว EWEC
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
MATERIAL HANDLING • BUS&TRUCK 27
Material Handling
รถสกูดเตอรไฟฟา Robstep
Material-Lift
รถสกูดเตอร ไฟฟาขนาดเล็ก 2 ลอ สามารถทรงตัว อยูไดดวยตัวเอง สําหรับรถไฟฟานี้มีชื�อวา Robstep รุน M1 และ M2 ขับงายเพียงขึ้นไปยืนเทานั้น สามารถขับดู งานโกดังสินคาใหญ ๆ ได แตละรุนมีรีโมทไวปรับหรือปด เครื�องไดเพียงกดปุมเทานั้น สวนการชารจไฟนั้นทําการ ชารจแตละครั้ง 4 ชั่วโมง ใชกําลังไฟ 110-240 โวลต โดย แบตเตอรี่ทําจากลิเธี่ยม บริษัท รอบสเตตป จํากัด 650 โทร.0-2736-1650
เหมาะสําหรับงานเคลื�อนยายลําเลียงขนสงสิ่งของ ที่ ตองการความสะดวกรวดเร็วเบาแรงมาก ไมเปลืองเนือ้ ทีม่ าก ในการทํางานระบบการทํางานนิ่มนวล พรอมบันไดดานหลัง สามารถขึ้นไปหยิบสินคาไดอยางสะดวก สบาย ปลอดภัย บริษัท เรนท (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2652-1188
SWG Non Real Time Tracking
อุปกรณทําความสะอาด Hako
SWG Non Real Time Tracking เปนอุปกรณ สําหรับบันทึกการใชงานยานพาหนะโดยใชระบบดาวเทียม บอกพิกดั GPS มีความสามารถรายงานเสนทางการเดินรถ, เวลาทีม่ กี ารใชงาน, หยุดหรือจอดรถ, ความเร็วขณะใชงาน รถ, ตําแหนงของรถในชวงเวลาตาง ๆ ฯลฯ ไดอยางแมนยํา บริษัท ดี.ที.ซี เอ็นเตอร ไพรส จํากัด โทร.0-2759-4999
อุ ป กรณ ทํ า ความสะอาด Hako เป น แบรนด จ าก ประเทศเยอรมนี โดยตัวเครื�องประกอบขึน้ ทีเ่ ยอรมนีทงั้ หมด คุณภาพดีเยี่ยม มีบริการเปลี่ยนอะไหลแทถึงที่ เปนจุดเดน หลังการขายจากบริษัท MATERIAL WORLD ที่เปนผูนําเขา มาจัดจําหนายเจาแรกเพียงแหงเดียวในประเทศไทย บริษัท แมททีเรียล เวิลด จํากัด โทร.0-2501-6300
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
28 BUS&TRUCK • LOGISTICS NEWS
Logistics News
ไทคอน-SSIA-มิตซุย ผนึกกําลังจัดตั้ง SLP รุกธุรกิจคลังสินคา และโรงงานในอินโดนีเซีย
ไทคอน SSIA และมิตซุย รุกธุรกิจคลังสินคาและโรงงานในอินโดนีเซีย กอตั้งบริษัทรวมทุนในอินโดนีเซีย ภาย ใตชื่อ “PT SLP SURYA TICON INTERNUSA” (SLP) เนนกลุมลูกคาหลักจากหลากหลายอุตสาหกรรม อาทิ ยานยนต อิเล็คทรอนิคส สินคาอุปโภคบริโภค ผูใหบริการดานโลจิสติกส เปนตน
คุณวีรพันธ พูลเกษ กรรมการผู จัดการ บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จํากัด (มหาชน) หรือ TICON เปดเผยรายละเอียดการรวม ทุ น ระหว า งบริ ษั ท พี ที เซอร ย า ซี เ มสตา อิ น เตอร นู ซ า ที บี เ ค (PT Surya Semesta Internusa Tbk SSIA) และบริษทั มิตซุย แอนด คัมปนี ในการจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ใหม ใ นประเทศ อินโดนีเซีย ภายใตชื�อวา “PT SLP SURYA TICON INTERNUSA” หรือ SLP ดวยทุนจดทะเบียนขั้นตน 46.4 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ หรื อ ประมาณ 1,500 ลานบาท โดย SSIA ถือหุน รอยละ 50 ขณะทีม่ ติ ซุยและไทคอนถือ หุนรอยละ 25 ทัง้ นี้ SLP มีเปาหมายในการเปน ผูพัฒนาและบริหารจัดการคลังสินคา และโรงงานเพื�อใหเชาระดับสากลใน ประเทศอิ น โดนี เ ซี ย โดยโครงการ นํ า ร อ งในเฟสแรกครอบคลุ ม คลั ง สินคา 16 ยูนิต ขนาดพื้นที่อาคาร 2,160 ตารางเมตร รวมพื้นที่ใหเชาทั้ง สิ้น 34,560 ตารางเมตร ซึ่งปจจุบันได ดําเนินการแลวเสร็จและมีผูเชาคลัง สินคาแลวกวา 81 เปอรเซนต โดย SLP
วางแผนพัฒนาโครงการ ในระยะตอไป ในไตรมาสที่ 3 ของปนี้ ซึ่งเมื�อพัฒนา โครงการแลวเสร็จ จะทําให SLP มีพื้นที่ คลังสินคาและโรงงานใหเชาภายในโครง การเทคโนปารค (Technopark) รวมทั้ง สิ้น 146,195 ตารางเมตร คุ ณ โจแฮนนาส ซู เ รี ย ดาจา ประธานอํานวยการ บริษัท พีที เซอร ยา ซีเมสตา อินเตอรนซู า ทีบเี ค (SSIA) กลาววา “ปจจุบนั ประเทศอินโดนีเซียเปน จุ ด หมายปลายทางการลงทุ น ที่ สํ า คั ญ เนื�องจากรัฐบาลอินโดนีเซียอยูระหวาง การเพิ่มงบประมาณ 2.2 หมื�นลานบาท ในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานขนาด
ใหญที่ ไดวางแผนไวแลวในปนี้ ซึ่งจะมี การเบิกจายประจําปเพื�อการบํารุงรักษา
ดีเอชแอล ลงทุนกวา 180 ลาน ป 58
ขยายโครงสรางพื้นฐาน เทคโนโลยี บริการในไทย
ดีเอชแอล เอ็กซเพรส ขยายการลงทุนดานโครงสรางขั้นพื้นฐานและการบริการในประเทศไทยรวมมูล ู คากวา รเติบโตและเพิ่มคุณภาพการบริการ การลงทุนใหมนี้รวมทั้งดาน 180 ลานบาท ในป 2558 เพื่อผลักดันใหเกิดการเติ บริหารประสบการณของลูกคา เพื่อพัฒนาคุณภาพการบริการ โครงสรางขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยีและสงเสริมการบริ อยางตอเนื่อง
คุ ณ ชนั ญ ญารั ก ษ เพ็ ช ร รั ต น กรรมการผูจัดการ ดีเอชแอล เอ็กซ เพรส ประเทศไทยและภาคพืน้ อินโดจีน กลาววา “ดีเอชแอล เอ็กซเพรสยังคงมุง มั่นคนหาธุรกิจใหม ๆ โดยการเรงพัฒนา โซลูชั่นดานโลจิสติกสที่ลํ้าสมัยเพื�อลูกคา และมองหาชองทางลงทุนดานเครือขาย และเทคโนโลยี เพื�ออํานวยความสะดวก ใหกบั ลูกคา และสรางความเจริญรุง เรือง ในระยะยาวในประเทศไทย ทั้งนี้ เพราะ เรามีความมุงมั่นที่จะเปนผูนําที่เปนเลิศ
ทั้ ง นี้ ผนวกกั บ กิ จ กรรมที่ ช ว ยส ง เสริ ม คุ ณ ภาพการให บ ริ ก ารที่ มี อ ยู ยิ่ ง ทํ า ให ดีเอชแอลสามารถผลักดันใหเกิดแนวความ คิ ด และพฤติ ก รรมของการทํ า งานที่ เ ห็ น ‘ลูกคาเปนหัวใจสําคัญอยางแทจริง’ ลาสุด ดีเอชแอล เอ็กซเพรส ประเทศไทยไดแนะนํา โครงการการบริหารประสบการณของลูกคา ให กั บ ลู ก ค า ทั้ ง หลาย ซึ่ ง เป น โครงการที่ ออกแบบมาเพื�อสนับสนุนโครงการสราง ความไววางใจใหกบั ลูกคาปจจุบนั เพื�อสราง ความพอใจแกลูกคาใหดียิ่งขึ้น
สวนหนึ่งในการลงทุน รวมถึงการ ยายสํานักงานใหญของดีเอชแอล เอ็กซ เพรส ประเทศไทย การเพิ่มจุดใหบริการ (SERVICE POINT) และศูนยใหบริการ ลูกคา (Service Center) ในประเทศไทย
ในช ว ง 4 เดื อ นแรกของป 2558 ดีเอชแอล เอ็กซเพรส ยังสามารถสรางความ กาวหนาในทุกภาคธุรกิจ รวมถึงในภาคธุรกิจ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อ มหรื อ เอสเอ็มอี และอุตสาหกรรมดานอิเล็คทรอ นิกส ซึ่งดีเอชแอล เอ็กซเพรส คาดหวังวา
การลงทุนตอโครงสราง ขั้นพื้นฐานและผูคน
ภาคธุรกิจตาง ๆ ที่กําลังเติบโต
และยกระดับเครือขายโลจิสติกสและ บริการสาธารณะของประเทศ ดวยเหตุ นี้ จึ ง เห็ น ค อ นข า งชั ด เจนว า ความ ตองการคลังสินคาและโรงงานใหเชา ในอิ น โดนี เ ซี ย จะเพิ่ ม ขึ้ น อย า งมี นั ย สําคัญ” ดานคุณเออิชิ ทานาเบ ผูจ ดั การ ทัว่ ไป แผนกพัฒนาธุรกิจตางประเทศ ที่ 2 ฝาย Urban Development บริษัท มิตซุย แอนด คัมปนี กลาว เสริ ม ว า “อิ น โดนี เ ซี ย ได ก ลายเป น ศูนยกลางการลงทุนสําหรับบริษทั ตาง ชาติ ที่ ท วี ค วามสํ า คั ญ เพิ่ ม ขึ้ น จึ ง มี ความมั่นใจวา มิตซุย รวมถึงพันธมิตร มืออาชีพของเรา คือ SSIA และไทคอน จะสามารถผลักดันให SLP กลายเปน ผู นํ า ด า นการพั ฒ นาคลั ง สิ น ค า และ โรงงานใหเชาที่ใหญที่สุดในประเทศ อินโดนีเซียในอนาคต”
จะยังคงเติบโตตอไปเรื�อย ๆ ทัง้ นี้ เห็นไดจาก การที่มีลูกคารายใหมเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ บริษัทยังคงรักษากลุมลูกคาปจจุบัน ดีเอชแอล เอ็กซเพรส ยังคงมุงมั่น ขยายสาขาใหกวางไกลทั่วเอเชีย เปนการ เสริมสรางเครือขายและขีดความสามารถ เพื�อมอบโซลูชั่นที่ดีที่สุดใหกับลูกคา ซึ่งสวน หนึ่งในการลงทุนที่เกิดขึ้นเมื�อไมนานมานี้ รวมถึ ง การลงทุ น มู ล ค า 85 ล า นยู โ รใน ศูนยกลางภูมิภาคเอเชียใต ในสิงคโปร การ ลงทุ น มู ล ค า 153 ลานยูโรในศูนยกลาง เอเชี ย เหนื อ ในกรุ ง เซี่ยงไฮ การลงทุน มูลคา 67 ลานยูโรใน เกตท เ วย ในกรุ ง โตเกียว และการลงทุนมูลคา 8.9 ลานยูโร สําหรับศูนยใหบริการทางใตและสํานักงาน
ประจําในกรุงโฮจิมินหซิตี้ เครือขายของ ดีเอชแอลนัน้ ดําเนินงานโดยเครือขายทาง อากาศ มีเครื�องบินประจํากวา 40 ลําให บริการครอบคลุมกวา 40 ประเทศและ พื้ น ที่ ใ กล เ คี ย ง รองรั บ เที่ ย วบิ น ทาง พาณิชยกวา 690 เที่ยวบินในหนึ่งวันทั่ว ภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ก โดยได รั บ การ ประสานงานจากศูนยกลางภาคพืน้ ดินทัง้ 4 แหง และกวา 500 ศูนยปฏิบัติการทั่ว ภูมิภาค
30 BUS&TRUCK • LAST MONTH CIRCULATION
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
วัดรอบ
ยอดจดทะเบียนรถบรรทุกและรถโดยสารรวมทั่วประเทศ ประจําเดือน เมษายน 2558 รถบรรทุก รถโดยสาร
รายงานสถิติจํานวนรถใหม (ปายแดง) ที่จดทะเบียนโดยแยกยี่หอรถ ประเภทรถบรรทุกและรถโดยสารทัว่ ประเทศ ประจําเดือนเมษายน 2558 ทีท่ าง กลุมสถิติการขนสง กองแผนงาน กรมการขนสงทางบก ไดรวบรวมไว เริม่ จากสถิตจิ าํ นวนรถใหม (ปายแดง) ทีจ่ ดทะเบียนโดยแยกยีห่ อ รถ ประเภท รถบรรทุกรวมทั่วประเทศ ประจําเดือนเมษายน 2558 โดย 3 อันดับแรกจากคาย รถญี่ปุน HINO พลิกขึ้นมาเปนอันดับที่ 1 มียอดจดทะเบียนอยูที่ 1,021 คัน จาก เดือนมีนาคม อยูที่ จํานวน 1,038 คัน ลดลง 17 คัน ตามมาดวย ISUZU มีจํานวน 934 คัน จากเดือนมีนาคม อยูท ี่ 1,130 คัน ลดลง 196 คัน และคาย FUSO มีจาํ นวน 72 คัน จากเดือนมีนาคม อยูที่ 82 คัน ลดลง 10 คัน ดานคายรถจากยุโรป VOLVO ยังนําเปนที่ 1 มียอดจดทะเบียน จํานวน 120 คัน จากเดือนมีนาคม อยูที่ จํานวน 51 คัน เพิ่มขึ้น 69 คัน ตามมาดวย SCANIA
หมายเหตุ แหลงที่มา : ยอดรถจดทะเบียน ฝายสถิติ กลุมวิชาการและวางแผน สํานักจัดระบบการขนสง ทางบก ขออธิบายเพิ่มเติม : ประเภทนํา้ หนักรถบรรทุกและรถโดยสารตามขอมูลของกรมการขนสงทางบก เทียบเทาลักษณะ รถบรรทุกและรถโดยสาร ดังนี้
จํานวน 16 คัน จากเดือนมีนาคมอยูที่ จํานวน 18 คัน ลดลง 2 คัน และคาย IVECO จํานวน 6 คัน จากเดือนมีนาคม อยูที่ จํานวน 8 คัน ลดลง 2 คัน ทางฟากคายรถจากจีน SINOTRUK หวนกลับมาเปนที่ 1 มียอดจดทะเบียน จํานวน 31 คัน จากเดือนมีนาคม อยูที่ จํานวน 7 คัน เพิ่มขึ้น 24 คัน ตามมาดวย SANY จํานวน 10 คัน จากเดือนมีนาคม อยูที่ จํานวน 8 คัน เพิ่มขึ้น 2 คัน และ คาย FOTON จํานวน 8 คัน จากเดือนมีนาคม อยูที่ จํานวน 11 คัน ลดลง 3 คัน ในสวนของสถิติจํานวนรถใหม (ปายแดง) ที่จดทะเบียนโดยแยกยี่หอรถ ประเภทรถโดยสารรวมทัว่ ประเทศ โดยคายทีม่ ยี อดจดทะเบียนประจําเดือนเมษายน 2558 มากที่สุด คือ คาย SUNLONG สรางยอดจดทะเบียนได จํานวน 120 คัน จาก เดือนมีนาคม อยูที่ จํานวน 59 คัน ตามมาดวย คาย HINO สรางยอดจดทะเบียน ได จํานวน 24 คัน และคาย SCANIA สรางยอดจดทะเบียนได จํานวน 9 คัน
ประเภทนํ้าหนัก 1. 2,001-4,000 กก. 2. 4,001-5,000 กก. 3. 5,001-6,000 กก. 4. 6,001-7,000 กก. 5. 7,001 กก. ขึ้นไป
ลักษณะรถ รถบรรทุก รถโดยสาร รถตู, รถสองแถว ไมเกิน 12 ที่นั่ง 4 ลอ (ชวงยาว), 6 ลอ (4x2) มินิบัส 6 เมตร,รถสองแถว 13-24 ที่นั่ง 6 ลอ ตัวถังยาว 6-7 เมตร 6 ลอ (หัวลาก) ตัวถังยาว 8 เมตร/ที่นั่งเกิน 30 ที่ 10 ลอ (6x2) ตัวถังยาว 10 เมตรและ 12 เมตร บรรทุก 12 ลอ (8x4) ที่นั่งเกิน 30 ที่นั่ง หัวลาก 10 ลอ (6x4)
32 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK AEC
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
BUS&TRUCK AEC
การเชือ ่ มโยงโครงขายคมนาคมขนสงกับประเทศเพือ ่ นบานในเสนทางแนวระเบียงเศรษฐกิจดานใต จะมีความ สําคัญเพิ่มมากยิ่งขึ้นเมื่อมีการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อเชื่อม ตอระหวางประเทศจึงถือเปนเรื่องจําเปน
ลาสุด กระทรวงคมนาคม และ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสง และจราจร หรือ สนข. ไดเดินทางไป ศึกษาการพัฒนาการเชื�อมโยงโครงขาย กับประเทศเพื�อนบานในเสนทางแนว ระเบี ย งเศรษฐกิ จ ด า นใต และการ พั ฒ นาระบบขนส ง และจราจรของ ประเทศเพื�อบาน เพื�อรองรับการเขาสู AEC ณ ราชอาณาจักรกัมพูชา และ สาธารณรัฐสังมนิยมเวียดนาม คุณสรอยทิพย ไตรสุทธิ์ ปลัด กระทรวงคมนาคม เปดเผยวา ดาน คลองลึก เปนดานพรมแดนที่สําคัญ ของเสนทางจากอําเภออรัญประเทศ จั ง หวั ด สระแก ว ของไทยไปเมื อ ง ปอยเปต ราชอาณาจักรกัมพูชา เชื�อม ตอถึงสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เนื�องจากอัตราการเติบโตของปริมาณ สินคาและคนที่ผานเขาออกเพิ่มสูงขึ้น มาก อยางไรก็ดี รัฐบาลไดกําหนดให จ.สระแกว เปนหนึ่งในพื้นที่จัดตั้งเขต เศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งหลังจากลงพื้นที่ ตรวจสอบพบวา ดานคลองลึกมีความ แออัดมาก สภาพจราจรติดขัดยาว 3 กม.ดังนั้น จึงจะมีการจัดสรางจุดผาน แดนแห ง ใหม ที่ บ า นป า ไร อ.อรั ญ ประเทศ จ.สระแกว เพื�อแยกคน และ สิ น ค า ออกจากกั น โดยเตรี ย มพื้ น ที่ สําหรับกอสรางดานใหมประมาณ 500 ไร พืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรม 1,600 ไร ซึง่ จะอยู ต รงข า มบ า นโอเนี ย ง นิ ค ม อุตสาหกรรมปอยเปต ของกัมพูชา อยู ห า งจากด า นคลองลึ ก ประมาณ 10 กิ โ ลเมตร เชื�อ มกั น โดยถนนศรี เ พ็ ญ หรือถนนความมั่นคง ทัง้ นี้ กรมทางหลวงชนบทเตรียม แผนที่จะพัฒนาโครงขายเชื�อมโยงเขต เศรษฐกิจพิเศษ จ.สระแกว จํานวน 3 เส น ทาง ประกอบด ว ย 1.โครงการ กอสรางถนนออมเมืองอรัญประเทศ ดานทิศใต สายแยก 33 - ดานผานแดน บานคลองลึก ระยะทาง 15.425 กม. วงเงินกอสราง 935 ลานบาท คาเวนคืน 230 ลานบาท 2.โครงการกอสรางถนน สายแยก 33 - อรัญประเทศ วงเงิน กอสราง 1,000 ลานบาท และ 3. โครง การกอสรางถนนสายแยก 348 - บานไร อรัญประเทศ ระยะทาง 12.5 กม. คุณสุเทพ ตั้งเทียนทอง รอง ประธานหอการคา จ.สระแกว กลาววา ตองยอมรับวา ปจจุบันไทยสงออกไป แถบยุโรปติดลบ แตการคาการสงออก
กับประเทศเพื�อนบานขยายตัวอยางมาก จากขอมูลการคาระหวางไทย-กัมพูชา ป 2557 มีมูลคากวา 8 หมื�นลานบาท โดย ไทยไดดุลการคาถึงประมาณ 5 หมื�นลาน บาท แตจดุ ผานแดนเล็กตองเรงขยายหรือ เปดใหมใหทันกับอัตราเติบโตของสินคา และท อ งเที่ ย ว ซึ่ ง มี นั ก ท อ งเที่ ย วผ า น ประมาณ 8,000-10,000 คนตอวัน โดย สนับสนุนเปดจุดผานแดนบานปาไร เพราะ สามารถกอสรางและพัฒนาไดเร็ว ดาน คุณพีระพล ถาวรสุภเจริญ ผูอํานวยการ สนข. กลาววา สําหรับทาง รถไฟเชื�อมตอประเทศเพื�อนบานนั้น ขณะ นี้การรถไฟแหงประเทศไทย หรือ ร.ฟ.ท. ไดลงนามในสัญญาจางบริษัท อิตาเลียน
ไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) ดําเนิน งานปรั บ ปรุ ง ทางรถไฟเดิ ม เสริ ม ความ มั่นคงโครงสรางทาง เปลี่ยนรางปจจุบัน 60 ปอนด เปนขนาด 100 ปอนด เปลี่ยน หมอนไมเปนหมอนคอนกรีตและหมอน เหล็กบริเวณสะพาน รวมทั้งปรับปรุงทาง หลี ก และระบบอาณั ติ สั ญ ญาณในย า น สถานี 17 สถานีชว งชุมทางคลองสิบเกาไป สุ ด สะพานคลองลึ ก ระยะทาง 170 กิโลเมตร วงเงิน 2,808 ลานบาท ระยะ เวลาดําเนินการ 900 วัน โดยสั ญ ญาจะแล ว เสร็ จ วั น ที่ 9 กุมภาพันธ 2559 และกอสรางทางรถไฟ
สายใหม ระยะทาง 6 กิโลเมตร จาก สถานีอรัญประเทศสุดชายแดนไทยที่ บริ เ วณด า นคลองลึ ก อ.คลองลึ ก จ.สระแกว รวมถึงสรางสะพานขาม แดนคลองลึ ก ที่ มี ค ลองกั้ น อยู กั บ ชายแดนประเทศกัมพูชาที่ดานปอย เปต ระยะทาง 43 เมตร วงเงิ น ประมาณ 30 ลานบาท สวนกัมพูชานัน้ กําลังกอสรางฟนฟูแนวเสนทางใหม จากศรีโสภณ-ปอยเปต ระยะทาง 48 กิโลเมตร แตยังขาดอีกประมาณ 6 กิ โ ลเมตร จากปอยเปตมาเชื�อ มกั บ ชายแดนประเทศไทย ขณะที่ คุณเตชิษฐ อุนวิจิตร ผู จัดการ บริษัท SCG โลจิสติกส สาขา กัมพูชา กลาววา SCG ไดตั้งบริษัท โลจิสติกสในกัมพูชาเมื�อป 2557 โดยมี ยอดขายที่ 500 ลานบาทและตั้งเปา ยอดขายป 2558 ที่ 610 ลานบาท โดย รับขนสงสินคาของบริษทั คือปูนซีเมนต และสิ น ค า เกษตร ภายในประเทศ กั ม พู ช า โดยการขนส ง สิ น ค า และ วัตถุดิบจากไทยไปกัมพูชานั้นถึงดาน พรมแดนจะตองขนถายขึ้นรถบรรทุก กั ม พู ช าซึ่ ง มี ค า ใช จ า ยและค า ขนส ง ภายในประเทศกัมพูชาคอนขางสูง แต ถ า หากเส น ทางรถไฟระหว า งไทยกัมพูชาแลวเสร็จจะชวยใหลดตนทุน โลจิสติกส ไดมากถึง 10-15%
SET UP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
ติดตั้งลําเลียง
ซูโมตา I-JUMBO 250 3 ลอขวัญใจชาวเกษตร
บริษัท กุศมัยมอเตอร จํากัด เปน ผู ริ เริ่ ม ผลิ ต และประกอบรถป ก อั พ 3 ลออเนกประสงค โดยใชเทคโนโลยี จากญีป่ นุ เปนเจาแรกของประเทศไทย ภายใตแบรนด “ซูโมตา” ในปลายป 2552 บริ ษั ท ฯ ได ท ดลองนํ า เข า รถป ก อั พ ตั ว อย า ง เพื�อ มาทํ า การ ประชาสั ม พั น ธ และเป ด โอกาสให ตัวแทนจําหนายไดทดลองขับที่สนาม ทดสอบของบริษทั ฯ ซึง่ อยูร ะหวางเขต บางขุนเทียนและสมุทรสาคร แตในปลายป 2552 ไดนําเขามาใน รูปชิ้นสวนและอะไหลรถยนต เพื�อมา ประกอบในประเทศไทย ประโยชนของ การตั้งโรงงานประกอบรถยนตในไทย มี อะไหลพรอมใชและสามารถจําหนายชิ้น สวนตาง ๆ พรอมอะไหล ไปดวยทั้งที่ โชวรูมของบริษัท และสํานักงานตัวแทน จําหนายทั่วประเทศ “ติดตัง้ ลําเลียง” ฉบับนี้ ขอแนะนํา ให รู จั ก “ซู โ มต า I-JUMBO 250” เครื�องยนต 250 ซีซ.ี เปนรถ 3 ลอ หลังคา หนาตาเหยี่ยว 3 ที่นั่ง เพิ่มเฟองทดเกียร เพิ่มกําลังขนาดใหญสามารถบรรทุกได มากถึ ง 2 ตั น เหมาะมากในภาค การเกษตร “ซูโมตา I-JUMBO 250” มา พรอมเครื�องยนตระบบ CDI ลูกสูบเดี่ยว 4 จั ง หวะ ระบายความร อ นด ว ยนํ้ า เครื�องยนต Sumota Plus ขนาด 250 ซีซี. 16.32 แรงมา กําลังสูงสุด 12 กิโล วัตต ที่ 6,500 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด
18 นิวตันเมตร ที่ 5,000 รอบตอนาที ระบบสงกําลังเปนแบบเกียรมือ 5 เกียร และถอยหลัง 1 เกียร ความเร็วสูงสุดอยู ที่ 80 กิ โ ลเมตรต อ ชั่ ว โมง และ 60 กิโลเมตรตอชั่วโมงเมื�อมีนํ้าหนักบรรทุก สามารถเติมนํา้ มันเบนซิน 91 แกสโซฮอล 91 อัตราการใชนํ้ามัน 25 กิโลเมตรตอ ลิตร ความจุถังนํ้ามัน 10 ลิตร + 1ลิตร สําหรับในภาคการเกษตรนั้น ตอง บอกว า เหมาะมากที่ จ ะเลื อ กใช ร ถ ประเภทนี้ อ ย า งเช น ฤดู ที่ เ ก็ บ เกี่ ย ว ผลผลิตของเกษตรกรที่ปลูกผลไม ไว ใน สวนที่มีพื้นที่ ไมเอื้ออํานวยใหรถขนาด ใหญเขาไปบรรทุกเกษตรกรจึงตองใชรถ เข็นแทน แตก็ ไมสามารถจะบรรทุกได มากนัก ซูโมตา I-JUMBO 250 เปนรถ 3 ลอทีม่ พี นื้ ทีบ่ รรทุกกวางขวางและรองรับ ไดถงึ 2 ตัน มีกาํ ลังเครื�องยนตสงู จึงหมด หวงเรื�องพละกําลังของเครื�องยนต ไปเลย ไม ว า จะเป น เนิ น ร อ งสวนหรื อ คั น นาก็ สามารถไปไดทุกที่ และที่สําคัญที่สุดคือ เรื�องของความประหยัดเชื้อเพลิง ที่ตอบ โจทย ไดอยางแนนอน เพราะจุดประสงค ของ บริษัท กุศมัยมอเตอร จํากัด นั้น สร า งรถ 3 ล อ ขึ้ น เพื�อ ให ก ลุ ม ภาค การเกษตร สามารถลดตนทุนคาขนสงลง นัน้ เอง และนอกจากนี้ การใชงานก็หลาก หลายเป น รถอเนกประสงค ไม ว า จะ เปนการขนเครื�องมือการเกษตร ขนปุย หรือเครื�องสูบนํ้าก็สบายมาก
33
34 BUS&TRUCK • LOGISTICS
Logistics
ปกษแรก • มิถุนายน 2558 ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
RFID กับการจัดการซัพพลายเชน ในกระบวนการจัดการซัพพลายเชนนั้น สารสนเทศนับวาเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดการสะดุด เพราะวาหลาย องคกรอยากนําไปใชแตไมสามารถดําเนินการได เนื่องจากขอมูลที่สง มาไมเชื่อมตอกันได เชน รับขอมูลใบสั่งซื้อ มาเปน EDI แตขอมูล EDI ไมสามารถนําไปใชประโยชนอะไรไดเลย กลับกลายเปนวาจะตอง print เอกสารออกมา แลวมานั่งคียกันใหมอีกรอบ หรือปรากฏการณตางคนตางทําหวงขอมูลเอกสารของตน โดยไมยอมใหอีกฝาย หนึง ่ นําขอมูลไปใช จึงทําใหขอ มูลเหลานัน ้ ไมสามารถแปลงเปนสารสนเทศนําไปใชประโยชนในองคกรธุรกิจลักษณะ การสื่อสารแบบวงกลมได
อี ก ประการหนึ่ ง ข อ บ ง ชี้ บ อก อาการของโรคซัพพลายเชนทีม่ กี าํ ลัง มีปญหา ไมวาจะเปนการเก็บสินคา คงคลังที่สูง สินคาขาดสต็อก ตนทุน การดําเนินการเพิ่มสูงขึ้น ระบบการ จั ด เก็ บ ไม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ การคี ย ข อ มู ล มี ก ารใช เ วลาเพิ่ ม มากขึ้ น พนักงานขาดความรูดานมาตรฐาน สินคาหมดลาสมัยไปแลว มีการเสีย หายระหวางการขนสง ประสิทธิภาพ ในการคาดคะเนการขายอยูในระดับ ตํ่า และระดับการใหบริการที่ ไมมี ความสมํ่าเสมอ สําหรับหลักการเบื้องตนของ การจัดการซัพพลายเชน เปนการใช ระบบสื�อ สารสมั ย ใหม เ ป น ตั ว ขั บ เคลื�อ นการไหลเวี ย นของสิ น ค า / บริการเพื�อลดระยะเวลาใหสั้นที่สุด รวมทั้งพยายามลดสินคาคงคลังรวม กันทุกคูคาใหนอยที่สุดและบริการได รวดเร็ว สงผลทําใหเกิดคุณภาพและ คุณคาใหกับลูกคาคนสุดทาย (End User) ทําไมตองมีการเชื�อมโยงขอมูล
ในซัพพลายเชน เหตุผลก็คือ ชวยลด ตนทุนปฏิบัติการ เพิ่มระดับการบริการ แกลูกคา ลดเวลานําสงสินคา (Lead Time) เพิม่ โอกาสในการทํากําไร ยกระดับ คุณภาพสินคาและบริการ รวมทั้งเปน การบูรณาการเทคโนโลยีในซัพพลายเชน ให เ กิ ด ประโยชน ประสิ ท ธิ ภ าพ และ ประสิทธิผลสูงสุด อย า งไรก็ ดี เทคโนโลยี ที่ ห ลาย องคกรธุรกิจเริ่มนํามาใช ในการจัดการ ซัพพลายเชนที่ถือวาเปนดาวรุงขณะนี้ ก็
คือ RFID แลว RFID คืออะไร คําตอบก็ คื อ RFID (Radio Frequency Identification) หรือทีเ่ รียกวา เทคโนโลยี การระบุสินคาดวยคลื�นความถี่วิทยุ เปน เครื�อ งมื อ ที่ ส ามารถเพิ่ ม ความถู ก ต อ ง ความรวดเร็วในการจัดการขอมูล และ สามารถติดตามการเคลื�อนทีข่ องสินคาได อยางเปนปจจุบัน ( Real-time) RFID ประกอบดวยสวนสําคัญ 3 สวน คือ IC Chip เก็บขอมูลเพื�อระบุ หนวยสินคาที่ tag ติดอยู Antenna ทํา
หนาที่รับและสะทอนคลื�นวิทยุกลับ ไปยั ง เครื�อ งอ า นพร อ มกั บ ข อ มู ล ที่ บั น ทึ ก อยู ใ นไมโครชิ พ กลั บ ไปยั ง เครื�องอาน และ Substrate หอหุม และปกปอง chip และ antenna ซึ่ง ใชติดกับหนวยสินคา จุดเดนของ RFID มีอยูห ลายประการ อาทิ อาน/ เขียนโดยไมตองสัมผัส อานไดอยาง สะดวก รวดเร็ว ไดระยะไกลพรอม ๆ กัน อานโดยไมตองเห็นตัว RFID ซึ่ง สามารถทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางได อานในสภาพแวดลอมที่คนอยูไมได มีความปลอดภัยสูง มีหนวยความจํา ขนาดใหญ อานไดขณะที่วัตถุกําลัง เคลื�อนไหว และสามารถนํา Tag กลับ มาใชงานใหมได กรณีศกึ ษา RFID ของเบทาโกร ที่ นํ า เทคโนโลยี RFID มาใช ใ น อุตสาหกรรมดาน Food ซึ่งเรียกวา e-Traceability เปนระบบการตรวจ สอบย อ นกลั บ ทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เพื�อใหผูบริโภคสามารถทราบแหลง ที่มาของผลิตภัณฑ ได เริ่มตั้งแต การนําสุกรจากฟารมเขาสู โรงงาน ชําแหละซึ่งจะมี RFID Tag จากนั้น เขาสูกระบวนการผลิตแปรรูปโดยมี การติด Tag ในตระกรา ผานไปจนถึง แพ็ค ขั้นตอนสุดทายจะถูกเปลี่ยน เปนบาร โคด และคิวอาร โคด แลว กระจายตอไปยังซูเปอรมารเก็ต โดย ผูบริโภคสามารถติดตามตรวจสอบ ข อ มู ล ย อ นกลั บ จากผลิ ต ภั ณ ฑ ดั ง กล า วว า มาจากฟาร ม ไหน ถู ก ชําแหละเมื�อใด เปนตน โดยใชความ พยายามตั้งแตป 2003 ซึ่งกวาจะ สําเร็จเปนรูปเปนรางที่ชัดเจนในป 2015 นับวาเปนความกาวหนาใน อุตสาหกรรมอาหารอีกกาวหนึง่ ทีก่ อ ใหเกิดความสามารถทางการแขงขัน ในตลาดโลก อยางไรก็ดี หากถามถึงความ คุมคาในการนํา RFID ควรนํามาใช เมื�อใด คําตอบก็คือวา ถาบริษัทมี ปญหามาก ก็ควรวางระบบและนํา เทคโนโลยี RFID มาใช แตถาบริษัท มีระบบเทคโนโลยีเดิมที่ดีอยูแลว ก็ ลองพิจารณาดูวาปรากฏ Human Error เกิดขึน้ บอยครัง้ เพียงใด ดังนัน้ การนําเทคโนโลยี RFID มาใช ในการ แก ไขปญหานาจะเปนเรื�องที่ดีกวา ซึ่ ง ผู ป ระกอบการยุ ค เศรษฐกิ จ ดิจิตอลจะตองสรางภูมิคุมกันในการ พัฒนาระบบการเพิ่มประสิทธิภาพ การทํางานใหเพิ่มขึ้น ความเปนมือ อาชีพ และความเขมแข็งในดานการ จั ด การ เทคโนโลยี บุ ค ลากร เปนตน
36 BUS&TRUCK • TEST & REPORT
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
Test & Report
สแกนเนีย 16 สุดยอดนักขับทักษะสูง เตรียมชิงชัยสนามสุดทาย กทม.
สแกนเนีย เปดสนามที่เชียงใหมคัดแลวได 16 สุดยอดนักขับ สูการชิงชัยรายการ สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น ไทยแลนด 2015 การแขงขันทักษะการขับรถบรรทุกและรถโดยสารรายการใหญในประเทศ สูรอบชิง ชนะเลิศที่สนามกรุงเทพฯ
คุณภูริวัทน รักอินทร ผูอํานวย การฝ า ยปฎิ บั ติ ก ารประจํ า ภู มิ ภ าค บริษัท สแกนเนีย สยาม จํากัด กลาว ถึงความสําคัญของตลาดรถขนสงเพื�อ การพาณิชยขนาดใหญในภาคเหนือและ การจัดการแขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชนั่ ไทยแลนด 2015 ทีจ่ งั หวัด เชียงใหม วา สแกนเนีย มองตลาดรถ ขนสงและรถโดยสารในภาคเหนือเปน ขนสงและรถโดยสารในภาคเหนอเปน ตลาดที่มีศักยภาพสูง โดยในกลุุมรถ ขนส ง สิ น ค า สามารถวิ่ ง ในเส น ทางที่ เชื�อมตอกับประเทศเพื�อนบานไดหลาย ประเทศ ซึง่ หลังจากการเปด AEC อยาง เปปนทางการจะทํําให เป ใหการขนสงในภาค ในภาค เหนือมีความคึกคักและปริมาณรถขนสง มากขึ้ น ส ว นในกลุ ม รถโดยสารนั้ น
เชียงใหมนับเปนจังหวัดสําคัญของการ ทองเที่ยวดวยเชนกัน ดังจะเห็นไดจาก ปริมาณของนักทองเที่ยวที่เขามาในภาค เหนือและจังหวัดเชียงใหมมปี ริมาณสูงขึน้
ทุกป จึงทําใหตลาดรถโดยสารมีการเติบโต ขึ้นตามไปดวย จากปจจัยดังกลาวจึงทําให เชียงใหมเปนจังหวัดศูนยกลางการขนสง ของภาคเหนืออยางแทจริง การจัดการ แขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น ไทยแลนด 2015 ที่ศูนยบริการ สแกนเนีย ที่จังหวัดเชียงใหม จึงเปนเหมือนการที่ สแกนเนี ย เป ด ประตู บ า นสร า งความ สัมพันธ เพื�อตอนรับกลุมลูกค าจากภาค เหนือและจังหวัดเชียงใหมใหมีความใกล ชิดกับเรามากขึน้ และ ยังเปนการแสดงถึง ความจริงใจและความตั้งใจที่จะเปนสวน หนึ่ ง ในการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ขนส ง และ โลจิ ส ติ ก ส ข องภาคเหนื อ ให มี ขี ด ความ สามารถในการแขงขันและรวมผลักดันให เชียงใหมเปนศูนยกลางในการขนสงทาง ภาคเหนือของไทยอยางแทจริง คุ ณ ทั ศ นั น ท ป ย ะอั ก ษรศั ก ดิ์ ผู จัดการฝายสื�อสารและการตลาด บริษัท สแกนเนีย สยาม จํากัด กลาวถึงการ จัดการแขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น ไทยแลนด 2015 ซึ่งเปนการ แขงขันทักษะการขับขี่รถบรรทุกและรถ โดยสารรายการใหญทสี่ ดุ รายการหนึง่ ของ ไทยว า การแข ง ขั น รายการนี้ เ ป น การ แขงขันดานทักษะความสามารถในการ ขับขี่ที่เนนเรื�องความปลอดภัย การใชเชื้อ เพลิงอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการ ขับแบบลดมลภาวะตอสิง่ แวดลอม ในทวีป ยุโรปไดมีการจัดการแขงขันนี้มาอยางตอ เนื�องมากวา 10 ป ซึง่ ในปนมี้ ปี ระเทศทีเ่ ขา รวมการจัดการแขงขันรายการนี้ถึง 50 ประเทศ และมีผสู มัครเขารวมแขงขันรวม กวา 2 แสนคน
สําหรับประเทศไทยการจัดการ แขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพท ทิชั่น ไทยแลนด 2015 ครั้งที่ 3 ไดรับ การสนับสนุนจากกรมการขนสงทางบก สถาบันยานยนต กองทุนงวงอยาขับ ใน พระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจ า ฟ า กั ล ยานิ วั ฒ นา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร มูลนิธริ ามาธิบดี บริษทั มิชลินสยาม จํากัด และ สถาบัน สอนขับรถไอดี ไดรฟเวอร ซึง่ ใชมาตรฐานการแขงขัน กฎและกติกาเดียวกับ ทีจ่ ดั ในทวีปยุโรป โดย สแกนเนีย สยาม ตั้ ง ใจพร อ มทุ ม งบประมาณในการ จัดการแขงขันกวา 10 ลานบาท เพื�อ ใหการแขงขันรายการนี้มีความยิ่งใหญ กวาครั้งที่ผานมา เพื�อดึงดูดและคัด เลือกสุดยอดนักขับรถขนสงมืออาชีพ ทัง้ ประเภทนักขับรถบัสโดยสารและนัก ขับรถบรรทุกที่มีความสามารถเขามา ร ว มการแข ง ขั น และชิ ง รางวั ล รวม มูลคากวา 1,900,000 บาท สําหรับผล ตอบรั บ ในการรั บ สมั ค รถื อ วา ประสบ ความสําเร็จและนาพอใจเปนอยางมาก เพราะมีผูนักขับรถขนสงใบสมัครเขา รวมการแขงขันกวา 1,500 คน และผาน เขาสูรอบรองชนะเลิศ 64 คน ซึ่งการ แขงขันจัดขึน้ ณ ศูนยบริการ สแกนเนีย จั ง หวั ด เชี ย งใหม เมื�อ วั น ที่ 16 พฤษภาคม 2558 เพื�อคัด 16 สุดยอด นักขับมืออาชีพ โดยแบงเปนประเภท นักขับรถโดยสาร 8 คน และ นักขับรถ บรรทุก 8 คน และ ทั้งหมดจะตองเขา ชิ ง ชั ย รอบชิ ง ชนะเลิ ศ ในวั น ที่ 13 มิถุนายน 2558 ตอไป ณ เมโทร ไลฟ ปารค (ถนนพระราม9) กรุงเทพฯ
6$9( (1(5*< 6$9( <2856(/)
3: ?M5H Ċ =L ŴŴ
9L/#+8D 0
38 BUS&TRUCK • COVERS’ STORY
จากปก
ปกษแรก • มิถุนายน 2558 ตอจากหนา 1
ยักษใหญรถการพาณิชย วางแผนรอตลาดฟน
กลับมาฟนตัวอีกครั้ง
สามมิตร วางแผนรอตลาดตื่นตัว คาดป 58 ขาย 3 หมื่นคัน
คุณสุรยิ า โพธิศ์ ริ สิ ขุ รองกรรมการ ผูจัดการ บริษัท สามมิตรมอเตอรส แมนูแฟคเจอริง จํากัด (มหาชน) เปด เผยวา จากการประเมินสถานการณทาง เศรษฐกิจในปจจุบัน และตามโครงการที่ รัฐบาลไดวางไว ในป 58 นี้ ทําใหมั่นใจ วายอดการจําหนายรถใหญทุกยี่หอจะ ตองเกิน 3 หมื�นคัน โดยรถใหญมีอยูหลายประเภท ไม ว า จะเป น รถขนส ง สิ น ค า อุ ป โภคและ บริโภค รถบรรทุกนํ้ามันเชื้อเพลิง ซึ่ง จําเปนตองใชงานทุกวัน รถดัมพ และรถ ขนวัสดุกอสราง จําเปนตองใชงานเมื�อมี การลงทุนเพื�อกอสราง ซึ่งรถประเภทนี้ จะขายดีเมื�อเศรษฐกิจโตเพราะตองเดิน หนาทําการกอสรางกอน ดวยสิ่งที่รัฐบาลไดวางแผนไวจะ เริม่ ตนพัฒนาพืน้ ฐานการคมนาคมตาง ๆ ตัง้ แตครึง่ ปหลังนี้ และจะขยายตอไปเพื�อ ที่จะใหเมืองไทยเปนเมืองเชื�อมตอของ ประเทศในกลุมอาเซียน ดังนั้น รถใหญ ในทุกประเภทก็ตองเติบโตขึ้น เริ่มจากป นี้เติบโตไปเรื�อยๆ และพรอมที่จะเปน ศูนยกลางของธุรกิจรถใหญ สามมิตร มอเตอรฯ เองก็ไดเตรียม การรองรับเพื�อเพิ่มการผลิตไวเรียบรอย แลว ไมวาจะเปนการเตรียมเพิ่มกําลัง การผลิ ต ชิ้ น ส ว น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ บุ ค ลากรให มี ค วามชํ า นาญมากขึ้ น สามารถดูแลงานไดทั้งระบบ การเพิ่ม เครื�องจักรเพื�อเพิ่มกําลังการผลิตกระบะ ดัมพใหมซงึ่ ใชวสั ดุเหล็กอยางดี มีนาํ้ หนัก เบา แข็งแกรง สามารถบรรทุกสินคาได มากขึน้ ทัง้ นีเ้ พื�อทีจ่ ะไดผลิตกระบะดัมพ ไดเกินปละ 1 หมื�นคัน ตามกําลังการผลิต ปจจุบันเมื�อผานมาได 4 เดือนแรก ของป 58 จะเห็นไดวายอดจําหนายรถ ใหญเพิ่มมากขึ้นกวาชวงเดียวกันในปที่ แลวไมมากนัก แตคาดวาในอนาคตตอไป จะต อ งมี ย อดจํ า หน า ยเพิ่ ม ขึ้ น เรื�อ ยๆ
เพราะยอดจําหนายรวมในป 57 มีเพียง ประมาณ 2.6 หมื�นคันเทานั้น ซึ่งถือวา ตกตํ่าเปนอยางมาก แตในขณะนี้สภาพ เศรษฐกิจจะเริ่มฟนตัวขึ้นไปเรื�อย ๆ
อารซีเค เผยแผนตั้งโรงงานใหม หลังประสบความสําเร็จที่เวียดนาม
คุณสุรชัย ชัยตระกูลทอง ประธาน กรรมการ บริษัท อารซีเค รุงเจริญ จํากัด เปดเผยวา ทางบริษัทไดวางแผน ยกระดับใหเปนอูที่ทําธุรกิจดานรถใหญ ใหคลอบคลุมมากขึ้น จึงไดเตรียมการที่ จะตัง้ โรงงานแหงใหมทนี่ คิ มอุตสาหกรรม อีสเทิรน ซีบอรด ระยอง บนเนื้อที่กวา 40 ไร ซึ่งจะมีการประกอบทั้งรถบรรทุก กึ่งพวงพื้นเรียบและแบบกางปลา ตัวถัง รถบรรทุ ก สิ บ ล อ รถดั ม พ และตั ว ถั ง บรรทุกนํ้ามันแบบอลูมิเนียม ซึ่งจะเริ่ม ดําเนินการไดตนป 2559 ขณะนี้ ไดเริ่มดําเนินการออกแบบ โรงงาน โดยการประกอบไดแยกเปน ไลน เพื�อความสะดวกในการทํางาน สวนดาน เครื�องจักร ชิ้นสวนและคนงานนั้น จะ คอย ๆ ทําการยายไป และจะดําเนินการ เสร็จสิ้น 100 เปอรเซ็นตภายใน ป 2559 สวนโรงงานเดิมทัง้ ทีศ่ รีราชา 2 แหง และ ในตัวเมืองชลบุรีอีก 1 แหง ก็จะเปลี่ยน มาเปนธุรกิจอสังหาริมทรัพย ซึง่ มีบริษัท ในเครือดูแล ทางดานโรงงานประกอบแชสซีสท ี่ ประเทศเวียดนาม ซึ่งไดรับมาตรฐาน สากลจนเป น ที่ ย อมรั บ ของอู ป ระกอบ ภายในประเทศเวี ย ดนาม สามารถ จํ า หน า ยให ต ามอู ป ระกอบรถใหญ ใ น เวียดนามไดถึงเดือนละ 100 ยูนิต ทาง บริษัทก็มีแผนที่จะใหทางโรงงานผลิต แชสซีส สงมาใหอปู ระกอบทีอ่ ยูเ มืองไทย เดือนละ 100 ยูนติ ดวย รวมทัง้ ในอนาคต ตอไป หากตลาดมีความการตองการรถ ใหญ เ พิ่ ม มากขึ้ น ทางบริ ษั ท ก็ จ ะสั่ ง แชสซีสเพิ่มขึ้นตามไปดวย ซึ่งโรงงานที่ เวียดนามยังมีกาํ ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ ไดอกี จํานวนมาก สวนแผนการตลาดในป 58 นี้ ทาง
บริษัทจะทําการเปดตัวสินคาใหม 3 รุน คือ ตัวถังบรรทุกนํ้ามันแบบอลูมิเนียม ตัวถังรถบรรทุกทีม่ นี าํ้ หนักเบาแตมคี วาม ทนทานมากยิ่งขึ้น และตัวถังรถดัมพ ที่ เปนผูผลิตไฮโดรลิคเอง ซึ่งสามารถใช ได กับรถดัมพสิบลอและรถดัมพพวง โดย ทัง้ หมดจะมีโปรโมชัน่ ทีด่ งึ ดูดความสนใจ จากลูกคาไดเปนอยางมาก
พนัส วางเปา ตองได 2,000 ลานบาท
คุณทัศนะ กันรัตน รองกรรมการ ผูจัดการ หนวยธุรกิจโลจิสติกส บริษัท พนัส แอสเซมบลีย จํากัด เปดเผยวา ในป 2558 ทางบริษัทสามารถทํายอด จําหนายไดตามทีค่ าดไว รวมทัง้ ยังไดออก รถรุน ใหมใหเหมาะกับความตองการของ ตลาดมากยิ่ ง ขึ้ น โดยป นี้ ค าดว า จะ สามารถทํายอดขายไดมากถึง 2,000 ลาน บาท โดยนําประสบการณจากปทผี่ า นมา ซึง่ ทําใหไดยอดขายไดเพียงครึง่ หนึง่ ของ เปาหมายที่วางไว คือ 1,000 ลานบาท เนื�อ งจากเศรษฐกิ จ โดยรวมของธุ ร กิ จ ชะลอตัวลงไปอยางมาก สําหรับสินคาใหมในปนคี้ อื รถดัมพ 6 ลอ ซึ่งมีทั้งหมด 3 ขนาด มีความยาว ใหเลือกตั้งแต 3 เมตร ถึง 4 เมตร มุง เจาะตลาดกอสราง ที่ตองเดินทางในตัว เมืองหรืองานกอสรางขนาดกลาง ในสวน ของรถดัมพนั้นมีใหเลือกตั้งแต รถดัมพ 10 ลอ รถดัมพพวง และรุนใหมคือรถ ดัมพ 6 ลอ พรอมทัง้ ยังมีโปรโมชัน่ พิเศษ คือ ซือ้ 2 ดัมพ จะไดตวั๋ เรื�องบินฟรีภายใน ประเทศ ซึ้อ 6 ดัมพ จะไดเดินทางไปดู งานที่ประเทศญี่ปุน ซึ่งถือเปนการคืน กําไรใหกลุมลูกคา สําหรับสินคาทีท่ างพนัสฯ สามารถ ทําตลาดไดเปนอยางมากคือ รถบรรทุก กึง่ พวงพืน้ เรียบและกางปลา โดยใชวสั ดุ ที่มีคุณภาพสูงและนํ้าหนักเบาเพื�อที่จะ บรรทุกสินคาไดเพิ่มมากขึ้น คุมทุนใน เวลาทีร่ วดเร็วเกินคาด นอกจากนีย้ งั มีรถ กิจการพิเศษอีกหลายรุนที่ผลิตเพื�อสง ออกไปตางประเทศโดยมีมาตรฐานสากล
รับรอง ดวยชื�อเสียงของ พนัส แอสเซมบลีย ที่ ไดทําตลาดรถเชิงพาณิชยมาเปน เวลานานจนเปนที่ยอมรับของลูกคาทั้ง เรื�องคุณภาพและราคาจําหนาย เมื�อเอย ชื�อวาตัวถังนีต้ อ มาจาก พนัสฯ จะไดความ เชื�อมั่นเปนอยางดี
ช.ทวี ดอลลาเซียน เนนคุณภาพ มาตรฐานสากล
คุ ณ สุ ร เดช ทวี แ สงสกุ ล ไทย ประธานเจาหนาบริหาร บริษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน) เปดเผย วา ดวยภาวะเศรษฐกิจในปนยี้ งั ไมเติบโต มากนัก ทําใหเปาหมายที่จะทํารายได ใน ป นี้ สู ง เที ย บกั บ ป ที่ แ ล ว ที่ ทํ า ได โดย ประมาณ 1,400 ลานบาท ซึ่งมีทั้งรถ ประกอบที่จําหน ายในประเทศและส ง ออกไปยั ง ต า งประเทศ แต ยั ง คงเน น คุณภาพที่ทางบริษัทเปนผูตอ ซึ่งทั้งนี้ ราคาจําหนายก็ถอื วาอยูใ นระดับสูง เนื�อง มาจากทางบริษัท ไดวาจางพนักงานที่มี ความชํานาญและมีประสบการณสูง ดวยการคาดการณวาในอนาคตรถ เพื�อ การพาณิ ช ย ที่ ผ ลิ ต ในเมื อ งไทยจะ ตองมีความตองการมากขึ้นไมวาจะเปน ในประเทศและตางประเทศ ทางบริษัท จึงจะยายโรงงานประกอบจากจังหวัด ขอนแกนที่มีพื้นที่ประมาณ 70 ไร มายัง ภาคกลางจังหวัดที่อยูใกลกรุงเทพฯบน พื้นที่กวา 200 ไร เพื�อที่จะไดเพิ่มการ ประกอบไดสูงขึ้น พรอมทั้งยังมีพื้นที่ใน การเก็บชิน้ สวนในการประกอบไดมากขึน้ ตามไปดวย สิง่ หนึง่ ทีเ่ ปนความภูมใิ จของ ช.ทวี มากที่สุดก็คือ การประกอบรถลําเลียง อาหารให กั บ สนามบิ น ต า ง ๆ หลาย ประเทศเปนจํานวนมาก โดยมีจํานวน เกือบถึง 1,000 คัน เปนการรับประกันวา ุ ภาพ สินคาทีป่ ระกอบโดย ช.ทวี ตองมีคณ มาตรฐานสากลเป นที่ยอมรับในหลาย ประเทศนั่นเอง
WORLD NEWS • BUS&TRUCK 39
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
วงการต่างแดน ตอจากหนา 1
ไทยซัน ปลื้ม มิกเซอร SANY โต ตั้งเปาปนี้ขายได 250 คัน คุณอรรถพล วงษพิทักษโรจน รอง กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด เปดเผยวา ปนวี้ งการกอสราง กาวขึ้นมาติด 5 อันดับที่นาจับตามองที่สุด ในเมืองไทย และมีแนวโนมเติบโตขึ้นตาม เมกะโปรเจกตของรัฐบาล ที่กําลังเรงรัด โครงการโครงสรางพืน้ ฐาน ไมวา จะเปนการ ก อ สร า งรถไฟฟ า หลากสี รถไฟทางคู มอเตอร เ วย เป น ต น ทั้ ง นี้ ยั ง มี ด า น อสังหาริมทรัพยทกี่ าํ ลังเติบโตทัง้ บานจัดสรร และคอนโด ซึ่ ง ส ง ผลดี ต อ รถโม ปู น ผสม คอนกรีต หรือรถมิกเซอร เปนอยางมาก อยางไรก็ดี ทางบริษัทไดเปดตัวรถ มิกเซอรรุนใหม SANY ขนาด 10 ลอ 6 คิว เครื�องยนตฮีโน 325 แรงมาในงาน BUS & TRUCK ’14 ชวงเดือนพ.ย. ปที่ผานมา ได รับการตอบรับจากลูกคาเปนที่นาพอใจ จน สงผลให ไตรมาส 1 และ 2 ของปนี้ สามารถ สรางยอดขายไดจํานวน 107 คัน ทั้งนี้ เมื�อวันที่ 23 มกราคม 2558 ที่ ผานมา บริษัทไดเปดตัวรถมิกเซอรรุนใหม SANY ขนาด 6 ลอ 3 คิว เครื�องยนตคมั มินส 140 แรงมา ซึ่งไดรับการตอบรับอยางดีเชน กัน โดยมียอดจองมากกวา 40-50 คัน โดย จุดเดนของรุนนี้จะเปนสเปครถที่ยังไมมีคู แขงในตลาด คือใชเครื�องยนตทปี่ ระหยัดแต ตัวถังมิกเซอรใหญถงึ 3 คิว ขณะทีค่ แู ขงอาจ จะมีขนาดบรรทุกเพียง 2-2.5 คิว รวมถึง ปจจุบันรถที่ใช ในการขนสงบรรทุกปูนผสม เสร็จนั้นที่ผานมาจะเปนรถมือสอง
“ทางบริษัทจะใชรถมิกเซอร 3 คิว และ 6 คิว เปนตัวธงในการทําตลาดในปนี้ เนื�องจากวงการกอสรางกําลังเปนทีต่ อ งการ และจากการศึ ก ษาพบว า ตลาดมี ค วาม ตองการรถมิกเซอรใหมจาํ นวนกวา 600-800 คัน ถารวมทัง้ รถมิกเซอรใหมและเกา ตลาด มีความตองการกวา 2,000 คัน ดังนั้น ทาง บริ ษั ท จึ ง ตั้ ง เป า ยอดขายป 2558 นี้ ไ ว ที่ จํานวน 250 คัน หรือประมาณ 15-20% ของ สวนแบงตลาดรถมิกเซอร” สวนรถหัวลาก ยี่หอ SHACMAN นั้น บริษัทเปนตัวแทนจําหนายแตเพียงผูเดียว ในประเทศไทย ยังทําตลาดเชนเดิมและจะ มีโปรโมชั่นออกมากระตุนตลาดขนสง ถึง แมวาตลาดขนสงตั้งแตป 2557 จนมาถึงป 2558 จะยังไมเติบโตเทาที่ควร เพื�อใหลูกคา ไดมั่นใจวา ทางบริษัทจะไมทิ้งลูกคา ทั้งนี้ ยั ง พร อ มรั บ ดู แ ลลู ก ค า ที่ ใ ช ร ถหั ว ลาก SHACMAN ทัง้ หมด ถึงแมวา จะไมไดซอื้ รถ จากทางบริษัทก็ตาม และสามารถเขาศูนย บริการของบริษัทไดทุกแหง สํ า หรั บ ศู น ย บ ริ ก ารของบริ ษั ท นั้ น ปจจุบันมีทั้งหมด 5 แหง ซึ่งครอบคลุมทั้ง หัวเมืองภาคกลาง เหนือ อีสาน และใต โดย ใชศูนยบริการที่ จ.ราชบุรี เปนศูนยกลาง สต็อกอะไหล หรือฮับ และพรอมจะขยาย เพิ่มอีก 3 แหง หากตลาดเติบโตขึ้น ในสวน ของดีลเลอรนั้น ปจจุบันมีจํานวน 17 แหง ซึ่งครอบคลุมทุกพื้นที่ของประเทศไทยแลว เชนกัน
ตอจากหนา 1
ไฮเกอร รวมกลยุทธสูตลาดบัส หลังเปด AEC สงผลดีหลายดาน คุณชัยพฤกษ ชัยวิเศษ กรรมการ ผูจัดการ บริษัท ดองแฟง แยงซี มอเตอร วูฮั่น (ไทยแลนด) จํากัด ตัวแทนจําหนาย รถโดยสาร “แยงซี” แชสซีสร ถโดยสาร ยีห่ อ “ยาซิง” และรถโดยสารสําเร็จรูป “ไฮเกอร” ประเทศจีน เปดเผยวา ขณะนีท้ างบริษทั ได เนนการขายรถโดยสาร “ไฮเกอร” เปนหลัก ด ว ยตลาดรถโดยสารมี ค วามต อ งการรถ สํ า เร็ จ รู ป สู ง วางเป า หมายการขายในป 2558 นี้ ไวที่ 100 คัน ดวยมีกลุม ลูกคาหลัก 2 กลุม คือ กลุม รถโดยสารไม ป ระจํ า ทาง และรถรั บ ส ง พนักงาน รถโดยสาร ไฮเกอร ที่เคยนําเขา มาจําหนายแลวครัง้ หนึง่ และดวยทางบริษทั ที่จําหนายไมรับผิดชอบการบริการหลังการ ขายทํ า ใหภ าพพจนเ สี ย ไป แตเ นื�อ งดว ย มาตรฐานและคุณถาพของตัวรถ ทําใหทาง ลูกคาเชื�อมั่นและยังใชงานตอ เมื�อบริษัท ดองแฟง มารั บ ผิ ด ชอบทํ า การตลาดรถ โดยสาร ไฮเกอร ดวยความมุงมั่นในการ ทําการตลาดอยางจริงจังทําใหเรียกความ มัน่ ใจจากลูกคาไดอกี ครัง้ หนึง่ และมีการตอบ รับที่ดีมาก โดยผลที่ ต ามมาทํ า ให ธ นาคารและ บริษัทไฟแนนซ ตางใหสินเชื�อแกลูกคาเพื�อ นํารถโดยสาร ไฮเกอร ไปใชงาน รวมทัง้ ทาง บริษัทจะเปดศูนยบริการภายในป 2558 นี้
ให ได 5 แหง คือที่ กรุงเทพฯ เชียงใหม นนทบุรี สมุทรปราการ และชลบุรี พรอม ทัง้ จะมีศนู ยบริการไวรองรับในพืน้ ทีท่ อี่ ยูต ดิ กับบริษัทลูกคาที่ซื้อรถเปนล็อตใหญดวย สําหรับรถรุน ใหมทจี่ ะเปนกลยุทธเด็ด ในการเสนอขายใหกับลูกคา คือ รถโดยสาร ขนาด 9 เมตร และขนาด 12 เมตร เครื�องยนต NGV ซึ่งมีอุปกรณทั้งภายนอก และภายใน ทั้งมีระบบชวงลางระดับสูง ซึ่ง เสนอขายในราคาพิเศษ แตหากลูกคาซือ้ เปน ล็อตตั้งแต 5 คันขึ้นไป ก็จะไดรับโปรโมชั่น พิเศษตาง ๆ อีกมากมาย จึงมั่นใจไดวา ภายในป 2558 นี้จะตองทํายอดขายไดเกิน เปาอยางแนนอน และตั้งแตวันที่ 31 ธันวาคม 2558 นี้ จะเริม่ เปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC อยางจริงจังทําใหการขนสงในอาเซียน เป ด อย า งเสรี จํ า นวนรถโดยสารที่ วิ่ ง ใน อาเซียนจะตองเพิ่มขึ้นอยางแนนอน และ เมื�อทางบริษัทแมประเทศจีนไดทําการแตง ตัง้ ใหประเทศมาเลเซียเปนศูนยการการผลิต รถไฮเกอร ทางบริษัทก็จะไดรับผลดีหลาย ดาน ทั้งดานภาษีนําเขา 0% การสงมอบรถ ใหลกู คาทําไดรวดเร็วมากขึน้ เพราะเนนการ ประกอบรถพวงมาลัยขวาเหมือนกัน แตมี คุณภาพเดียวกันกับนําเขาจากประเทศจีน ลูกคาจึงเชื�อมั่นในคุณภาพได
ยานยนต
ญี่ปุน : มาสดาจับมือโตโยตารวมกันพัฒนายานยนตแหงอนาคต โตโยตา มอเตอร คอปอรเรชัน่ รวมมือกับมาสดา มอเตอร คอปอรเรชัน่ ประเทศญี่ปุน ทําขอตกลงเปนพันธมิตรรวมกันอยางยั่งยืนดวยการใช ทรัพยากรจากทั้งสองบริษัทในการสงเสริมพัฒนาผลิตภัณฑและเทคโนโลยี ระหวางกัน การรวมมือกันครัง้ นีจ้ ะกอใหเกิดรถยนตทสี่ วยดึงดูดใจและตอบโจทย ความตองการและรสนิยมของลูกคาทั่วโลกใหดียิ่งขึ้น หลังจากนี้จะมีการแตง ตั้งคณะกรรมการรวมจากทั้ง 2 องคกร เพื�อประเมินวิธีการที่ดีที่สุด เพื�อนําเอา จุดแข็งของแตละบริษทั ใหเกิดประโยชนสงู สุด ซึง่ คณะกรรมทีก่ าํ ลังจะตัง้ ขึน้ มา ใหมนี้จะสงเสริมใหเกิดความรวมมือระหวางกันในสาขาตาง ๆ รวมทั้งดาน สิ่งแวดลอมและเทคโนโลยีดานความปลอดภัย
โลจิสติกส
เยอรมนี : Holcim ปรับบริการโลจิสติกสแบบอัตโนมัติ โดยใชซอฟตแวร LOGiQ ของ Schenck Process โฮลซิม (Holcim) บริษัท ผลิตปูนซีเมนตรายใหญที่สุดแหง ห นึ่ ง ข อ ง โ ล ก ไ ด ป รั บ ป รุ ง กระบวนการขนสงอัตโนมัติและ เทคโนโลยี ก ารชั่ ง นํ้ า หนั ก ใน โรงงานหลายแหงในยุโรปตะวัน ออก เพื�อ มุ ง สู ก ารเป น โรงงาน อั จ ฉริ ย ะ โดยนั บ ตั้ ง แต ต น ป นี้ โฮลซิมได ใชซอฟตแวร โลจิสติกส “LOGiQ” ของเชนค โพรเซส (Schenck Process) ในการจัดการ ข อ มู ล และกระบวนการทั้ ง หมด แบบอัตโนมัติ ในสวนที่เกี่ยวของ กับการขนสงในโรงงาน 14 แหง ของบริษัท จากสโลวาเกียไปจนถึง บัลแกเรีย ขณะเดียวกันโรงงานอีก 4 แหงก็กําลังอยูระหวางการเชื�อม ตอกับระบบอัตโนมัติดังกลาว ซึ่ง ครอบคลุมถึงการขนสงขาเขา-ขา ออก และการขนสงแบบ ARF ทั้ง ทางรถบรรทุ ก รถไฟ หรื อ เรื อ LOGiQ ชวยรนระยะเวลาที่ตองรอ สรางความไดเปรียบดานเวลา ทั้ง ยังชวยประหยัดวัตถุดบิ ไดอกี ดวย โดย LOGiQ จะทําหนาทีค่ วบคุมระบบบริหาร จัดการเวิรกโฟลว ตั้งแตการรับออรเดอร ไปจนถึงการออกใบสงสินคาโดย อัตโนมัติในภาษาที่ลูกคาของโฮลซิมใช การดําเนินงานทั้งหมดตั้งแตจุดรับสง จุดผสมและชั่งนํ้าหนักปูนซีเมนต เทอรมินัลควบคุม และพื้นที่โหลดนั้น จะถูก บันทึก จัดเก็บ และรักษาขอมูลไวเปนอยางดี โดยออรเดอรทั้งหมดจะถูกสงไป ยังระบบ ERP (SAP) อยางราบรื�นโดยไมสูญหาย
ปฎิทินขาว วัน-เดือน-ป
รายละเอียดงาน
ติดตอ
24-28 มิ.ย.2558
Bangkok International Auto Salon 2015 ณ ฮอลล 2-3 อาคารชาเลนเจอร เมืองทองธานี
บจก. อินสไพร เอ็นเตอรเทนเมนท โทร.0-2508-8100 www. bangkokinternationalautosalon.com
1-5 ก.ค. 2558
FAST Auto Show Thailand 2015 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ
บจก. อินสไพร เอ็นเตอรเทนเมนท โทร.0-2508-8100 www.bangkok internationalautosalon.com
16-22 ก.ค.2558
Grand motor show 2015 ณ เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี
Be work media organizer โทร.09-2583-8138 คุณโอ
30 ก.ค.- 3 ส.ค. 58 NORTH EASTERN GRAND MOTOR EXPO 2015 ณ เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี 1-9 ส.ค. 2558
BIG Motor Sale 2015 ณ ศูนยนิทรรศการ ไบเทค บางนา
Be work media organizer โทร.09-2583-8138 คุณโอ ยานยนตสแควร กรุป โทร.0-2691-8130-41
40 BUS&TRUCK • DIRECTORY
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
Directory ISUZU บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด โทร. 0-2966-2111
SUNLONG บริษัท เบสทริน กรุป จํากัด โทร.0-2750-3901, 0-2750-0227, 08-5999-9499 SLK6752CNG SLK6852D SLK6102D SLK6102CNG SLK6120D SLK6126CNGB SLK6145D ราคาดังกลาวเปนราคานําเขารถสําเร็จรูปทั้งคัน
Coach 7.5 m. Coach 8.5 m. Coach 10 m. Coach 10 m. Coach 12 m. Coach 12 m. Coach 14.5 m.
YUTONG บริษัท ไทยคูชัย จํากัด โทร. 0-2393-9831-2
YUTONG มินิบัส 6 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 8 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 12 เมตร
มินิบัส รถธรรมดา รถปรับอากาศ
CNG ดีเซล ดีเซล CNG ดีเซล CNG ดีเซล
-
-
-
2,950,000 4,000,000 4,600,000 4,900,000 6,000,000 6,500,000 7,500,000
1,500,000 2,500,000 4,850,000
HINO บริษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2900-5000 Hotline 0-2900-5260 Series 3 XZU600R-4W ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-6W ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU650R (T&S) ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU710R (T&S) ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU720R ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-4W Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-6W Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU650R (T&S) Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 5 FC9JEKA (T&S) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JJKA 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JELA (T&S) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JJLA (Radial Tube) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JLLA (Radial Tube) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FG8JGLD 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JJLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JMLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JPLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JRLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JPLG (Air-Sus 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JGLE 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JJLB 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FL8JNKA 10 ลอ 6x2 Series 5 FL8JTKA 10 ลอ 6x2 Series 5 FL8JNLA 10 ลอ 6x2 Series 5 FM8JNKD 10 ลอ 6x4 Series 5 FM8JNLD 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANKD (T Bias) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANKD (T&S Radial) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANLD (T&S Radial) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNLD (T&S) 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNLD (SPA) ABS 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1AKKM E/G Retarder (Mixer) 10 ลอ 6x4 Series 5 GY2PSLA (S) 12 ลอ 8x4 Series 5 GY2PSLA (T&S 380 Ps) PTO 12 ลอ 8x4 Series 5 FG8JGLT หัวลาก 6 ลอ Series 5 FM8JKKA หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKKA (S) E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKKA (S) PTO E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (S) E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (S) PTO E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (SPA) ABS หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (T&S) หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (S) PTO หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (SPA) ABS หัวลาก 10 ลอ Series 5 RK8JSLA รถบัส Series 5 RM1ESKU รถบัส Series 5 FC4JLNA NGV 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FG1JPKA NGV 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FG1JPKA NGV - Car Carrier 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FL1JTKA-BGT NGV 10 ลอ 6x2 Series 5 FM1JNKD-BGT NGV 10 ลอ 6x2 Series 5 FM1JKKA NGV 10 ลอ NGV Series 5 FM2PNMD NGV 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNMD- A NGV 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PKMA NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-PA NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-P NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-A NGV หัวลาก 10 ลอ NGV
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
136 150 150 150 150 136 150 150 145 145 175 175 175 212 212 212 212 212 212 212 212 212 212 251 212 251 330 330 344 380 380 330 380 380 212 251 330 330 344 344 344 380 380 380 251 380 175 220 220 260 260 260 360 360 360 360 360 360
948,000 978,000 1,035,000 1,190,000 1,206,000 938,000 968,000 1,025,000 1,350,000 1,360,000 1,410,000 1,430,000 1,440,000 1,750,000 1,770,000 1,780,000 1,790,000 1,810,000 1,915,000 1,650,000 1,660,000 2,345,000 2,385,000 2,415,000 2,485,000 2,535,000 2,820,000 2,850,000 2,905,000 2,965,000 3,035,000 2,575,000 3,130,000 3,170,000 1,865,000 2,650,000 2,945,000 2,985,000 2,975,000 3,015,000 3,085,000 3,055,000 3,095,000 3,165,000 2,145,000 3,605,000 1,890,000 2,555,000 2,945,000 3,265,000 3,315,000 3,440,000 3,755,000 3,825,000 3,850,000 3,960,000 3,890,000 3,920,000
MAN บริษัท เอ็ม เอ เอ็น คอมเมอรเชียล วีฮีเคิลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-0070-5 MAN-CLA 26.280 6x4 Tractor MAN-CLA 26.280 6x4 Mixer
รถหัวลาก 10 ลอ รถผสมปูน 10 ลอ
-
280 280
2,780,000 2,700,000
รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
FOTON บริษัท โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2882
BJ4257SMFCB-R1 BJ4257MFJB-R1 BJ5257GJB-RA BJ3257DLPJE-R1
10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG
9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 2,999 2,999 2,999 2,999 9,839 7,790 7,790 9,839 7,790 7,790 7,790 4,570 4,570 4,570
360 360 360 360 360 360 300 300 360 360 360 360 360 360 360 360 360 300 300 300 300 300 300 300 300 300 240 240 240 240 210 210 210 190 190 175 175 150 150 130 130 130 130 354 245 245 354 245 245 220 130 130 130
3,347,000 3,177,000 3,177,000 3,317,000 3,147,000 3,147,000 2,582,000 2,559,000 3,294,000 3,294,000 3,044,000 3,044,000 2,694,000 2,727,000 2,680,000 2,680,000 2,580,000 2,565,000 2,544,000 2,662,000 2,642,000 2,621,000 2,504,000 2,432,000 2,412,000 2,391,000 1,875,000 1,854,000 1,844,000 1,818,000 1,536,000 1,526,000 1,484,000 1,486,000 1,476,000 1,350,000 1,334,000 1,225,000 1,209,000 1,029,000 1,024,000 967,000 937,000 3,957,000 3,754,000 3,394,000 3,844,000 3,456,000 3,375,000 2,580,000 1,627,000 1,617,000 1,432,000
2,977 CC 2,977 CC 2,899 CC 2,899 CC 2,899 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 12,882 CC 12,882 CC
125 125 150 150 150 240 240 240 270 240 270 380 380
934,000 985,000 1,069,000 1,207,000 1,217,000 1,770,000 1,785,000 1,830,000 2,525,000 2,475,000 2,635,000 3,150,000 3,220,000
FUSO บริษัท ฟูโซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-2897
FE71BB8SRDH1 FE73BE6SRDH1 FE84DE6SRDH1 FE85DE7SRDH1 FE85DG7SRDH1 FM65F F1RDH1 FM65F H1RDH1 FM65F M1RDH1 FN61FR2RDH1 FN62FM1RDH1 FN61FM2RDH1 FV51JHR3RDH1 FV51JHR3RDH1
รถบรรทุก 4 ลอ รถบรรทุก 6 ลอ รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชางยาว รถบรรทุก 6 ลอ ชวงสั้น รถบรรทุก 6 ลอ ชวงกลาง รถบรรทุก 6 ลอ ชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ ชวงยาวพิเศษ รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถหัวลาก 10 ลอ
DONGFENG บริษัท ดีเอฟ มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด โทร.0-2637-5041-3
DONGFENG CNG DONGFENG 8x4 CNG
รถหัวลาก NGV 100% TRACTOR Engine Yuchai
YC 340HP YC 340HP
340 340
3,150,000 3,250,000
BEIBEN บริษัท เอ็ม.ซี.ซี. ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.08-1698-1934, 0-7423-0258 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 1827 SY 4x2 V3 2534 BY 6x4 V3 2534 KV 6x4 V3 (chassis )
Tractor (CNG) Tractor (CNG) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Mixcer (Diesel) Dumper(Diesel)
11,596 CC 11,596 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC
380 380 375 375 270 336 336
2,950,000 3,250,000 2,550,000 2,700,000 2,150,000 2,800,000 2,750,000
SHACMAN บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188-9 Hotline 08-6302-1778
SCANIA P 360 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MNA P 410 LA6x2MSZ K 410 IB6x2NB K 410 EB6x2NI K 460 EB6x2NI
GXZ77NXJFQ (Aero-Max) GXZ77NXFQ (Aero-Max) GXZ77NXXTQ (Aero-Max) GXZ77NXJFQ GXZ77NXXFQ GXZ77NXXTQ GVR34JXXXQ (Aero-Max) GVR34JXXXQ FYH77SXDFQ FYH77SXTDQ FXZ77QXDFQ FXZ77QXDTQ FXZ77PXDXQ FXZ77NXFXQ FXZ34PSDFQ FXZ34PSDTQ FXZ34PNDXQ FVM34TSXXQ FVM34QSXXQ FVM34TNAXQ FVM34RNAXQ FVM34QNAXQ FVM34WNXXQ FVM34TNXXQ FVM34RNXXQ FVM34QNXXQ FTR34QXXXQ FTR34PXXXQ FTR34LXXXQ FTR34JXXXQ FRR90NSXXQ FRR90LSXXQ FRR90HSXXQ FRR90NNXXQ FRR90LNXXQ NQR75LXXXQ NQR75HXXXQ NPR75KXXXQ NPR75HXXXQ NMR85HXXFQ NMR85HXXTQ NMR85EXXXQ NLR85EXXXQ GXZ78NXCFQ (AMAX-A) GVR86KXCXQ (10W 6x2) GVR86KXCXQ (6W 4x2) FXZ78QXBFQ FVM86WXCXQ FVM86TXCXQ FTR86QXCFQ NPR82KXCXQ NPR82HXCXQ NMR82HXCXQ
รถหัวลาก 10 ลอ CNG รถหัวลาก 10 ลอ Diesel รถมิกเซอร 10 ลอ Diesel รถ 10 ลอ Diesel
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 460 แรงมา
3,600,000 3,900,000 4,100,000 4,350,000 4,500,000 4,700,000 5,200,000
380 375 375 375
2,900,000 2,850,000 2,900,000 2,825,000
F2000 WP12NG350 F2000 WP12NG380 F2000 WP12NG380 F2000 WP12NG350 F2000 WP 10.336 F2000 WP 10.375 M3000 WP10NG.330 M3000 WP10.330 M3000 WP10.330
รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV (Retarder) รถหัวลาก 12 ลอ (8x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถโมคอนกรีต 10 ลอ (6x4) DIESEL
350 380 380 350 336 375 330 330 330
2,725,000 2,825,000 2,945,000 2,925,000 2,425,000 2,525,000 2,775,000 2,475,000 2,670,000
SANY บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188-9 Hotline 08-6302-1778
SANY MIXER 6M3 SANY MIXER 6M3 SANY MIXER 3M3
รถโมคอนกรีต 10 ลอ (6x4) DIESEL (Hino P11C-UH) รถโมคอนกรีต 10 ลอ (6x4)รุนใหม DIESEL (Hino P11C-UH) รถโมคอนกรีต 6 ลอ (4x2) DIESEL (Cummins)
325 325 140
2,850,000 2,900,000 1,850,000
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
BUS&TRUCK Mart
BUS&TRUCK MART • BUS&TRUCK 41
42 BUS&TRUCK • Q & A
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
เสียงจากผู้อ่าน
ถามทาง วอลโว FMX ปลอดภัยสุด
ธุ ร กิ จ ของผมมี ง านขนส ง จาก ประเทศเพื�อนบานเขามาจึงตอง มีการขยายงาน อยากทราบวารถ ใหญยี่หอใดที่ใหความปลอดภัยสูงสุด ใน การดูแลสินคาทีร่ บั จางขนสง หากชวยให คนขับทํางานลดนอยลงดวยก็ดี ต อ งยอมรั บ ว า ธุ ร กิ จ ขนส ง ในป 2558 นี้ ตางมีงานลดนอยลงมาก เนื�อ งจากภาวะเศรษฐกิ จ ยั ง ไม เติบโต ความตองการสินคาตาง ๆ ของ ประชาชนทั้งประเทศก็ลดนอยลงไปดวย แตในประเทศเพื�อนบานตางก็มกี ารขยาย ตัวทางเศรษฐกิจกันเปนจํานวนมาก เมื�อ ไดรบั การวาจางขนสงจากประเทศในกลุม อาเซียนก็ถือวาเปนผลดีอยางมาก ในกลุมประเทศยุโรปตางใหความ สําคัญกับรถใหญเปนอยางมาก ทุกยี่หอ ตางมีเทคโนโลยีระดับสูง เพื�อปองกัน อุบัติเหตุ รวมทั้งระบบการทํางานตาง ๆ ก็สามารถปฏิบัติการไดดวยตัวเอง โดย หนาที่ของคนขับเพียงแคบังคับทิศทาง ผานทางพวงมาลัยเทานั้น คาย วอลโว ที่บริษัทแมตั้งอยูใน ประเทศสวีเดน ไดนาํ รุน FMX ซึง่ เปนรุน
ที่ขายดีในเมืองไทยและในกลุมประเทศ อาเซียน มาติดตั้งเทคโนโลยีระดับสูง เพื�อปองกันอุบตั เิ หตุทงั้ จากตัวรถหรือ คน ขับเอง แมวาจะมีราคาจําหนายสูงแตก็ ชวยทําใหลูกคาที่ใชงานคุมทุนรอบดาน มากยิ่งขึ้น เริ่มจากตัวรถที่มีระบบเซ็นเซอร เครื�องยนต ทําการชะลอความเร็วเอง หากขั บ รถตามหลั ง คั น หน า แล ว อยู ใ น ระยะใกลเกินไป โดยเครื�องยนตจะลด ความเร็วลงโดยอัตโนมัตปิ อ งกันไมใหเกิด อุบตั เิ หตุ สวนระบบเกียรนนั้ ก็จะบิดตัวลง ตามความเร็วนั้น ระบบควบคุมอุปกรณ ทั้ ง ภายในและภายนอกรถจะมี ปุ ม กด บังคับใหทงั้ หมด ชวยอํานวยความสะดวก ใหกับคนขับทําหนาที่เพียงบังคับทิศทาง เทานั้น ในส ว นของตั ว คนขั บ จะมี เ ครื�อ ง ชวยเตือนปองกันไมใหคนขับหลับใน เมื�อ คนขับมีอาการการเตนของหัวใจทีอ่ อ นลง และจังหวะการเตนของหัวใจเบาลงคลาย วากําลังหลับก็จะมีเสียงสัญญาณเตือน เพื�อใหตื�นตัว หากสนใจก็ตดิ ตอไปไดทคี่ า ยวอลโว รับรองวามีโปรโมชัน่ เด็ด ๆ นําเสนออยาง แนนอน
คุณณรงค รักการงาน นครศรีธรรมราช
ธุรกิจที่ผมทําอยู คือ ดีลเลอรคาย ฟูโซ รับผิดชอบในจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง กระบี่ พัทลุง และบางสวนของ สงขลา เริ่ ม แรกทางบริ ษั ท แม ไ ด ส ง นิตยสาร BUS & TRUCK ใหอานกอน พอไดอานแลว พบวามีประโยชนมาก มี การตลาดของคายรถใหญยหี่ อ อื�นใหอา น สามารถนํามาพัฒนาปรับปรุงในบริษัท ตนเองไดจึงสนใจและสมัครเปนสมาชิก นิตยสาร BUS & TRUCK เอง และก็ เปนสมาชิกมาได 2 ปแลว คาดวาจะตอ อายุเปนสมาชิกไปเรื�อย ๆ ส ว นเรื�อ งที่ อ ยากรู ม ากที่ สุ ด คื อ ทําไมบริษทั ไฟแนนซตา ง ๆ จึงใหเงื�อนไข ในการซื้ อ รถใหญ ข องค า ยต า ง ๆ ไม เหมือนกัน อยางคาย ฟูโซ คิดเงินดาวน ถึง 25% แตคายอื�นที่เปนเจาตลาดคิด เพียงแค 0-5 % เทานั้น
กองบรรณาธการ
ขอขอบคุณมากที่ใหกําลังใจชวย ผลักดันใหทํางานในการหาขอมูลตาง ๆ ในวงการรถใหญทั้งในและตางประเทศ เพื�อ นํ า เสนอข อ มู ล ให กั บ สมาชิ ก ได รั บ
ทราบ รวมทั้งความเคลื�อนไหวของคาย รถใหญที่จะใชกลยุทธการตลาดอยางไร เพื�อผลักดันใหสามารถทํายอดขายตาม เป า หมายที่ ว างไว ใ นสถานการณ ที่ เศรษฐกิจยังซบเซาอยู สวนเรื�องรายละเอียดของไฟแนนซ ที่คายรถใหญยี่หอตาง ๆ ไดนํามาเปน โปรโมชั่นในการขายตั้งแตการดาวน 0% ผอนนาน 72 เดือน เพื�อเปนแรงจูงใจให กับกลุมลูกคาไดนําไปใชงาน ทาง บก. รับปากวา จะสืบหารายละเอียดตาง ๆ มา นําเสนอใหรับทราบตอไป ไมวาจะเปน บริษัทไฟแนนซทวั่ ไป หรือ ตามธนาคาร ที่ ไ ด ตั้ ง บริ ษั ท ไฟแนนซ เ ป น บริ ษั ท ลู ก ดวย No. ............./..............
44 BUS&TRUCK • POWER SAVING
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
Power Saving
ทดลองรถเมลไฟฟา ฝนที่จับตองได?
หลังจากที่ “ล็อกซเลย” เปดตัว รถบัสและรถยนตนั่งไฟฟา เพื�อเปน อี ก หนึ่ ง ทางเลื อ กของของการ ประหยัดพลังงาน ทําใหมหี ลายหนวย งานทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนให ค วาม สนใจ แตก็ติดที่เรื�องภาษีการนําเขา รถไฟฟายังสูงที่ 40% จึงตองคิดกัน ใหดี แต ก็ มี องค ก ารขนส ง มวลชน กรุงเทพ (ขสมก.) ตัดสินใจทดสอบ ประสิทธิภาพรถเมล ไฟฟาเซ็นเอ็มโอยู กับ “ล็อกซเลย” วิ่งรับสงประชาชนไม เก็บคาตัว๋ ฟรี 18 วัน ประเดิมใหบริการ สาย 511 วัดธาตุทอง-ประตูนํ้า กอนวิ่ง สาย 141 และสาย 63 ตามนโยบาย รั ฐ บาลที่ ส นั บ สนุ น ให ห น ว ยงานที่ เกี่ ย วข อ งกั บ ระบบขนส ง นํ า รถใช
พลังงานไฟฟา มาใชแทนรถที่ใชนํ้ามัน ดีเซล เพื�อลดการใชพลังงานทีเ่ ปนพิษตอ สิ่งแวดลอม และเปนการพัฒนาใหเกิด นวัตกรรมใหม ๆ ทั้งนี้ ล็อกซเลย ไดนํารถโดยสารใช พลังงานไฟฟา ขนาด 12 เมตร 29 ที่นั่ง จํ า นวน 1 คั น ทํ า การวิ่ ง ทดสอบ ประสิทธิภาพการทํางานและสมรรถภาพ ของรถโดยสารไฟฟ า โดยไม เ ก็ บ ค า โดยสาร ตั้งแตวันที่ 2, 3, 4, 5, 8-11, 15-19, 22, 23, 26, 29 และ 30 มิ.ย. 2558
เวลา 09.00-15.00 น. รวมระยะเวลา 18 วัน สําหรับเสนทางแรก สาย 511 จุด เริ่มตนที่วัดธาตุทอง สุดเสนทางที่ประตู นํ้า เสนทางที่ 2 สาย 141 จุดเริ่มตนที่ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สุดเสนทางที่ ตลาดโพธิ์ทอง เสนทางที่ 3 สาย 63 จุด เริ่มตนที่แคราย สุดเสนทางที่อนุสาวรีย ชัยสมรภูมิ โดย ขสมก.จะจัดเจาหนาที่ ประจําในรถโดยสารไฟฟาที่วิ่งทดสอบ เพื�อทําการจัดเก็บขอมูลนําไปวิเคราะห
รางวัลกวา 5 ลานบาท ตั้งแตบัดนี้ถึง 15 ก.ค. ศกนี้ ชมรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ https://www.facebook.com/SUSCO. Fanpage
Navara Day” อัดรางวัลทองคํา 190 รางวัล ใหผู โชคดีที่ซื้อรถปกอัพ เอ็นพี 300 นาวารา เพียงลูกคาที่จองรถกระบะ นิสสัน เอ็นพี 300 นาวารา ตั้งแตวันนี้ ถึง 30 มิถุนายน 2558 และรับรถภายใน วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 จํานวน 1 คัน ตอ 1 สิทธิ์ (เขียนชื�อ-นามสกุล ทีอ่ ยู เบอร โทรศัพทที่สามารถติดตอได ใหชัดเจนลง ในคูปองชิงโชค หยอนลงกลองชิงโชคที่ โชวรูม) จะไดลุนโชคทอง 190 รางวัล รวมมูลคากวา 9 ลานบาท พรอมรับขอ เสนอเงื�อนไขสุดพิเศษ ดาวนตํ่าสุดเพียง 29,999 บาท ฟรีประกันภัยชั้น 1 และ เลือกรับเงื�อนไขพิเศษหลากหลาย โดยจะ มีการจับรางวัลหาผู โชคดีจํานวน 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 จํานวน 80 รางวัล และครั้ง ที่ 2 จํานวน 110 รางวัล โดยรางวัลที่ 1 เปนทองคําหนัก 10 บาท มูลคา 188,000 บาท จํานวน 10 รางวัล รางวัลที่ 2 เปน ทองคําหนัก 5 บาท มูลคา 94,000 บาท จํานวน 50 รางวัล รางวัลที่ 3 ทองคํา หนัก 1 บาท มูลคา 18,800 บาท จํานวน 130 รางวัล ประกาศรายชื�อผู โชคดีทาง
ผลดี รวมถึงขอจํากัดตาง ๆ หากมี การนํ า รถโดยสารไฟฟ า เข า มาใช ใ น ประเทศไทยในอนาคต ความรวมมือ ของทั้ง 2 องคกร จะนําไปสูการพัฒนา ระบบขนสงสาธารณะ เพื�อเปนอีกทาง เลือกของการสัญจรทีป่ ระหยัดพลังงาน และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ตองรอดูวาการทดลองวิ่งรถเมล ไฟฟาของขสมก. จะประสบความสําเร็จ และพัฒนาระบบขนสงสาธารณะไทย ใหประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมไดแคไหน
พั กเครื่อง
บริ ษั ท ซั ส โก จํ า กั ด (มหาชน) เปดตัวแคมเปญสุดคุม ลาสุด “ซัสโก ใจดี๊ดี เติม 500 ลุนรวม 5 ลาน!!!” เพื�อคืนกําไรใหแกลูกคาซัสโก ทัว่ ประเทศ งาย ๆ เพียงเติมนํา้ มันครบ 500 บาท รับฟรีคูปองชิงโชค 1 ใบ เขียนชื�อ-ทีอ่ ยูบ นคูปองสงชิงโชครางวัล ต า ง ๆ ส ง ลงในกล อ งรั บ ชิ้ น ส ว น ณ สถานีบริการนํา้ มันซัสโก สาขาทีร่ ว ม รายการทั่ ว ประเทศ ก็ มี สิ ท ธิ์ เ ป น เจาของรถยนต BMW รุน X1, รถ จักรยานยนต Ducati รุน Monster 821, สรอยคอทองคําหนัก 1 บาท และ บัตรเติมนํ้ามันซัสโก รวมมูลคาของ
บริ ษั ท นิ ส สั น มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด เดินเครื�องตลาด ป ค อั พ เต็ ม สู บ จั ด กิ จ กรรม “NP300
www.nissan.co.th ในวั น ที่ 22 มิถนุ ายน 2558 และวันที่ 22 กรกฎาคม 2558
ฟอรด ประเทศไทย จัด กิจกรรม “Start the Fiesta, Start the Green life” เพื�อทดสอบสมรรถนะ อันโดดเดนและเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ของฟอรด เฟยสตา อีโคบูสท เทอรโบ บนเสนทางสาทร – พุทธมณฑล ศาลายา โดยมีนกั แสดงชื�อดัง ฌอหณ จินดา โชติ และบล็อกเกอรหนาใหมไฟแรง เฟ�องลดา สราณี สงวนเรือง นางฟา ไอทีมารวมกิจกรรมและทําเวิรคช็อป เปดประสบการณสีเขียวดวยการจัด สวนขวดเทอรราเรียมขนาดจิว๋ กับ Tiny Tree Garden
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
เกาะติดพาณิชย์น้อย
เกาะติดพาณิชยนอย • BUS&TRUCK 45
HILUX REVO
ขุมพลังใหม แรงกวาเดิม โตโยตา ไฮลักซ รีโว 2015 (Toyata Hilux Revo 2015) ใหม ถูกเปดตัวอยางเปนทางการครั้งแรกของโลกที่ ประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 พ.ค. ที่ผานมา เผยโฉมใหมหมดจดทั้งภายนอก-ภายใน พรอมขุมพลังดีเซล 2 บล็อกใหม แรงกวาเดิม
โตโยตา ไฮลักซ รีโว 2015 ใหม ถือเปนกระบะขนาด 1 ตัน เจเนอเรชัน่ ที่ 8 โดยเครื�องยนตมีใหเลือก 3 ขนาด ไดแก ดีเซล 2.4 ลิตร, ดีเซล 2.8 ลิตร และเบนซิน 2.7 ลิตร แบงออกได ดังนี้ เครื�องยนตดีเซล 2.4 ลิตร รหัส 2GDFTV (High) ให กํ า ลั ง สู ง สุ ด 150 แรงมา/3,400 รอบตอนาที แรงบิด สูงสุด 400 นิวตัน-เมตร/1,600-2,000 รอบตอนาที (เฉพาะรุน 4WD และ Prerunner) เครื�องยนตดีเซล 2.8 ลิตร รหัส 1GD-FTV (High) ใหกําลังสูงสุด 177 แรงมา/3,400 รอบตอนาที แรง บิดสูงสุด 420 นิวตัน-เมตร/1,4002,600 รอบตอนาที (เฉพาะรุน 4WD และ Prerunner) เครื�องยนตดีเซล 2.4 ลิตร รหัส 2GD-FTV ใหกาํ ลังสูงสุด 150 แรงมา/ 3,400 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 343 นิวตัน-เมตร/1,400-2,800 รอบตอ นาที (เฉพาะรุ น ขั บ เคลื�อ น 2 ล อ ) เครื�องยนตดีเซล 2.8 ลิตร รหัส 1GDFTV ใหกาํ ลังสูงสุด 170 แรงมา/3,800 รอบต อ นาที แรงบิ ด สู ง สุ ด 343 นิวตัน-เมตร/1,200-3,400 รอบตอ นาที (เฉพาะรุนขับเคลื�อน 2 ลอ) และเครื�องยนตเบนซิน 2.7 ลิตร รหั ส 2TR-FE ให กํ า ลั ง สู ง สุ ด 166
แรงมา/5,200 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 245 นิวตัน-เมตร/4,000 รอบตอนาที ระบบสงกําลังมีใหเลือกทั้งเกียรธรรมดา อัจฉริยะ iMT 6 สปด และเกียรอัตโนมัติ 6 สปด พรอมสวิตชปรับรูปแบบการขับขี่ (Drive Mode Switch), สวิตชปรับระบบ ขับเคลื�อน 4 ลอไฟฟา Shift-On-The-Fly, ระบบป อ งกัน ล อ หมุ น ฟรี แ บบแอคที ฟ (A-TRC - Active Traction Control) และ ระบบล็อคเฟองทาย Diff Lock ภายนอกของ รีโว ใหมนี้ ติดตั้งไฟ หนาแบบ LED โปรเจคเตอร พรอมไฟ Daytime Running Light แบบ
LEDไฟหนาสามารถเปด-ปดไดอัตโนมัติ พรอมระบบ Follow-me-home ออกแบบ รับกับกระจังหนาแบบโครเมี่ยม พรอม ไฟเลี้ยวที่กระจกมองขาง ไฟทายพรอม ไฟตัดหมอก บันไดขาง เสาอากาศแบบ สั้น และลออัลลอยขนาด 17 นิ้ว พรอม ยางแบบ All-terrain หองโดยสารภายใน มีขนาดใหญ เพิ่มความโอโถง กวางสบาย พวงมาลัย สามารถปรับได 4 ทิศทาง, ระบบควบคุม ความเร็วอัตโนมัติ (Cruise Control), จอแสดงผลการขับขีข่ นาด 4.2 นิว้ , เครื�อง เสียงมาพรอมเนวิเกเตอรแบบหนาจอ
สัมผัสขนาด 7 นิ้ว รองรับการเชื�อมตอ Bluetooth/USB พร อ มลํ า โพง 6 ตําแหนง, ระบบกุญแจสตารทอัจฉริยะ, ระบบ Smart Entry เขา-ออกโดยไมตอง
ใชกุญแจ, ติดตั้งวัสดุซับเสียงคุณภาพ สูง, ชองจายไฟ 220 โวลต, กลองเก็บ ความเย็นบริเวณคอนโซลหนา และ ชองแอรสําหรับผู โดยสารหลัง ฯลฯ ตั ว ถั ง ยั ง คงมี ใ ห เ ลื อ กทั้ ง แบบ มาตรฐาน 2 ประตู (B Cab), 2 ประตู สมารทแค็บ (C Cab) และ 4 ประตู (D Cab) พรอมระบบขับเคลื�อน 2 ลอ, 4 ลอ และ 2 ลอยกสูง (Prerunner) รวมทั้งหมด 33 แบบ ติดตั้งชวงลางแบบ Dynamic Control Suspension พรอมระบบกัน สะเทื อ นใหมที่ ใ หค วามนุ ม นวลกว า เดิม, โครงสรางแชสซีส ใหม FIRM (Frame with Integrated Rigidity Mechanism) ออกแบบใหแข็งแกรง ทนทานยิ่ ง ขึ้ น เพิ่ ม สมรรถนะการ ทรงตัว, ระบบควบคุมเสถียรภาพหอง โดยสาร (Body Control with Torque Demand) ชวยควบคุมแรงบิดรองรับ สภาพถนนขรุขระ ระบบความปลอดภั ย ติ ด ตั้ ง ถุงลมนิรภัย 7 ตําแหนง (คูหนา, ดาน ขาง, มานถุงลม และหัวเขา)ระบบ ควบคุมการทรงตัว VSC, ระบบปองกัน ลอล็อค ABS, ระบบกระจายแรงเบรก EBD, เสริ ม แรงเบรก BA, ระบบ ควบคุมการสายของสวนพวงทาย TSC (Trailer Sway Control) ระบบชวย ออกตั ว บนทางลาดชั ด HAC และ ควบคุมความเร็วขณะลงทางลาดชัน DAC รวมถึงกลองมองหลังขณะถอย จอด โตโยตา ไฮลักซ รีโว 2015 ใหม นี้ วางจําหนายราคา รุนมาตรฐาน 569,000-675,000บาท รุน สมารทแค็บ 619,000-899,000บาท และรุน ดับเบิล้ แค็บ 725,000-1,139,000 บาท
46 BUS&TRUCK • B&T PRODUCTS
ปกษแรก • มิถุนายน 2558
BUS&TRUCK Products NOSTRA Logistics
ADTRAX FTS 5
แว็กซี่นํ้ายาบํารุงรักษาเครื่องหนัง
OBD II รุนใหมลาสุด อุปกรณติดตามรถขนสงแบบ Real Time รองรับสัญญาณ GSM/GPS และสามารถเคลื�อนยาย ไดดวยระบบติดตามผานเว็บสามารถรายงานตําแหนงรถได ตลอด 24 ชม. บนแผนทีท่ มี่ รี ายละเอียดและความแมนยําสูง จาก NOSTRA มีขนาดเล็ก ติดตั้งงาย สะดวกในการปรับ เปลี่ยนใชงานกับรถหลาย ๆ คัน พัฒนาระดับการใหบริการ และความพึงพอใจของลูกคา และปองกันการถูกโจรกรรม รถขนสง
เทคโนโลยี ลํ้ า สมั ย A-GPS (Assisted Global Positioning System) ที่สามารถ รั บ ส ง สั ญ ญาณได เ ร็ ว ดี ก ว า GPS แบบ ธรรมดา มากกวา 5-10 เทา ทําใหการ ประมวลผลหาตําแหนงทําไดอยางรวดเร็ว และมีความละเอียดถูกตอง ความแมนยําสูง
สูตร ยูวี ไพรเทคแตนท พรอมไปกับคุณ ทุ ก เส น ทางกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ สู ต รพิ เ ศษ ปองกันรังสียวู ี ชวยบํารุงรักษาเครื�องหนัง และพื้นผิววัสดุทุกชนิดให คงทน สดใส เปนประกาย และเงางามเหมือนใหมอยู เสมอ ชวยยืดอายุการใชงานของพื้นผิว วัสดุตา ง ๆ ปองกันการแหงกรอบ แตกราว สีซีดจาง โดยไมเหนียวเหนอะหนะ และมีกลิ่นหอม
บจก.โกลบเทค โทร.0-2266-9940
บจก.ฟอรท แทร็คกิ้ง ซีสเต็ม โทร.0-2615-0808
บจก.สยามแว็กซี่ สแตนดดารด โทร.0-2917-0566
บางจาก ซินเธติก ซีวีที
ULTRA PREMIUM
ดิสกเบรกคอมแพ็ค รุนNano Infinity
นํา้ มันเกียรอตั โนมัตคิ ณ ุ ภาพสูงสูตรสังเคราะห สําหรับระบบ เกียรอัตโนมัติแบบ CVT ผลิตจากนํ้ามันหลอลื�นพื้นฐาน สังเคราะหทมี่ คี ณ ุ ภาพสูง มีดชั นีความหนืดสูงมีคา สัมประสิทธิ์ ความฝ ดตํ่า จึงให การส งกําลังที่ สมํ่าเสมอ ผสมสารเพิ่มคุณภาพ พิเศษ ตอบสนองตอการใชงานของ ระบบเกียร CVT แบบสายพาน ได ดีเยี่ยม
ผาเบรกเบ็นดิกซ มีผา เบรกหลายสูตร ที่ ผลิตจากสวนผสมทีค่ ดั สรรแลว เพื�อตอบ สนองรูปแบบการขับขี่ที่แตกตางกัน ซึ่ง แตละรูปแบบยอมตองการประสิทธิภาพ ของผ า เบรกที่ แ ตกต า งกั น หรื อ แม กระทัง่ รูปแบบการใชงานรถที่ไมเหมือน กัน เบ็นดิกซก็พรอมตอบสนองการใช งานทุกรูปแบบ
เบรกเหนือชั้น ดวยเทคโนโลยีนาโนอันเดอร เลเยอร หยุดอยางมั่นใจดวย คุณสมบัติ พิเศษ เทคโนโลยีลา สุดสําหรับผาเบรกทีเ่ พิม่ ความยืดหยุน และตอบสนอง ได ดี ใ นทุ ก สภาวะการขั บ ขี่ ประสิ ท ธิ ภ าพในการเบรก สูงสุดโดยไมตอง Run-in
บมจ.บางจากปโตรเลียม (มหาชน) โทร. 0-2335-4478
บจก.เอฟ เอ็ม พี ดิสทริบิวชั่น โทร.0-2717-0919
บจก.เอเซียคอมแพ็ค โทร.0-2235-8311
ABS Sheet
พลาสติก อะไครโลไนไตร บิวตะไดอีน สไต รีน (Acrylonitrite Butadiene Styrene, ABS) ที่มีจุดเดนเรื�อง การรับแรงกระแทก มีความมันเงา ขึ้นรูปดวยความรอนไดงาย ดัดแตงไดงาย และสามารถนํากลับผาน กระบวนการซํ้าได
บจก.แมททีเรียล พลาสท โทร.0-2861-6172
ยางบังโคลนรถ 10 ลอ คุณภาพ
ขาไก (พวงมาลัย)
ขนาด 2’ SAE มาตรฐาน DIN 74081, ISO 3842 หนาจาน เหล็กหลอรับแรงบิดสูง ระบบล็อคอัตโนมัติ 3 ชั้น สมรรถนะ 36 ตัน สลักคิงพิน MAGNUM “แม็กนั่ม” ขนาด 2’ และ 3 1/2’ SAE วัสดุ เหล็ก FORGED ขึ้นรูป มีทั้งชนิดเชื�อมและแบบ ยึดน็อต
บจก.ยงกี่ โทร.0-2225-0071
บจก.ทรานสเทคเอ็นจิเนียริ่ง โทร.0-2512-3646
ยาง BluEarth AE01
รับผลิตยางบังโคลนรถ 10 ลอ ตามแบบ ลูกคา ตัวเรียบ ตัวนูน สีสันตามตองการ มีมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 สินคาขาย ดี อันดับ 1 ทีผ่ ปู ระกอบการรถบรรทุกนิยม ใช
สวนผสมเนื้อยาง “Nano Blend” สูตร ใหมล า สุ ด เฉพาะของยาง BluEarth AE01 ซึ่งประกอบดวยโพลิเมอรหลาย ชนิด ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพสูงสุดในการ ประหยั ด นํ้ า มั น และทนทานต อ การ สึกหรอ ผสานสวนผสมของนํ้ามันสม ชวยใหสมรรถนะในการยึดเกาะถนนดี ยิ่งขึ้น
บจก.ไซเกนไฮมาค โทร.0-2431-0895
บจก.ชัยโชติรวมยาง โทร.0-3446-6680
Pneumatic Tools
ผลิตและจําหนายอุปกรณ ไฟฟา อุตสาหกรรมและรับเขียนระบบ PLC โดยมี ทีมงานวิศวกร และ ทีมงานชางที่มีความชํานาญใน การออกแบบติดตั้งระบบไฟฟา พรอมทั้งบริการหลังการขาย
หจก.เลิศบุศย โทร.0-3446-0843
จานลากรถกึ่งพวง MAGNUM
ระบบชวงลางกันสะเทือนและบังคับเลี้ยว ขาไก (พวงมาลัย) สินคาดี มีคณ ุ ภาพ วางใจ ได เพื�อ สมรรถนะที่ ดี ใ นการขั บ ขี่ อ ย า ง ปลอดภัยทั้งของคุณและคนในครอบครัว
บริการชุบโครเมี่ยม ชิ้นสวนยานยนต
บริการชุบโลหะ ชุบซิ้งคนิเกิล ชุบนิเกิล ชุบโครเมีย่ ม ชุบทองแดง รับจางชุบ บริการ งานชุบ โรงงานชุบ และเคลือบผิวโลหะ
บจก.เจนเนอรัล เพลตติ้ง อินดัสทรี โทร.0-2897-2735
แบตเตอรี่รถยนต YUASA
รุน YUASA- N50Z แบตเตอรี่รถยนต แบบ เติมนํา้ กลัน่ (แบตเปยก) Conventional Car Battery 12 โวลด 60Ah ขนาด L 26 x W 17.3 x H 22.5 cm.
บมจ.ยัวซาแบตเตอรี่ ประเทศไทย (มหาชน) โทร.0-2769-7300
RX 7620
รถฟารมแทรกเตอร ยี่หอ ไคโอติ รุน RX7620 ขนาด 76 แรงมา ขับเคลื�อน 4 ลอ เครื�องยนต ดีเซลคอมมอนเรล 4 สูบ ขนาด 76 แรงมา ที่รอบเครื�อง 2,800 รอบ/นาที
บจก.แองโกล-ไทย โทร.0-2793-9500