# 1 เ พื่ อ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ถ พ า ณิ ช ย
กาวสูปที่ 12
ฉบับที่ 272
www.BusAndTruckMedia.com
ปกษหลัง มิถุนายน 2558 40 บาท
รุกตลาด GPS Tracking ชิงสวนแบงเคก
คําถามสังคม
มีโอกาสเห็นหรือไม ระบบขนสงสินคา ทางรางไทย? ดับเครื่องชม
Wright รถโรงเรียนแดนภารตะ 04 เปรียบเทียบรถเดน
ปจจุบันเทคโนโลยี GPS มีแนว โนมการเติบโตสูงขึน้ อยางตอเนื�อง โดย เฉพาะระบบ GPS Tracking ที่สามารถ บริหารจัดการระบบการขนสงยิ่งไดรับ
ความสนใจมากตามไปดวย เพราะระบบ GPS Tracking จะมาชวยใหผูประกอบ การขนสงไทยเตรียมความพรอมในการ รุกและรับการเปดประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน หรือ AEC ปลายปนี้ไดอยาง มั่นใจ ทั้งนี้ ทําใหตลาด GPS Tracking มี การแขงขันที่สูงขึ้น โดยบริษัทตาง ๆ ที่ อานตอหนา 38
FUSO เขาแน 6 รุน เสริมทัพจัดหนักปนี้
LOGISTICS NEWS
ไปรษณียไ ทยดิสตริบวิ ชัน่ POWER SAVING
24
พันธมิตรแท BUS&TRUCK’15 ยูดี ทรัคส พรอมรุกตลาด 100% ดํารงคศิลปเสนอเบาะนั่งรุนใหม เตรียมเปดตัวรุนใหม ก.ย.58
28
ปตท.ขยายสถานี NGV 7 แหง 44
เบาะดํารงศิลป ประกาศตัวเปนพันธมิตรแทรวมงาน BUS & TRUCK ’15 เตรียมอวดโฉมเบาะนั่งรถโดยสาร 2 รุน ใหม ทัง้ แบบพรีเมีย่ ม และแบบมาตรฐาน เนนคุณสมบัติ เลื�อนที่พิงศีรษะได และเปนสวนตัวเหมือนนั่งเครื�องบิน ระดับ FIRST CLASS ลูกคาทัง้ ใหมและเการอพบโปรโมชัน่
รถใหญยูดี ทรัคส ผานการพิสูจนจากลูกคาฉลุย ชี้รุน เควสเตอร ไดรบั ความนิยมมากขึน้ ตอเนื�อง เผยเดือนกันยายน 58 เตรียมพบกับรถรุนใหมบุกตลาดทั่วประเทศ ทั้งแบบ 6 ลอ 10 ลอ และ 12 ลอ หากลูกคารายใดตองการครบชุด ทั้งตัวถังกระบะ ดัมพ มิกเซอร ทําใหหมดไมวาจะเปนทั้งใน
อานตอหนา 39
อานตอหนา 39
04 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK SHOW
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
ดับเครื่องชม
Wright รถโรงเรียนแดนภารตะ
Wright รถโรงเรียนแดนภารตะแทที่จริงแลวเปนรถโดยสารยี่หอ BharatBenz ซึ่งทางเดมเลอรไดจับมือ รวมพัฒนารถโรงเรียนรวมกันกับ บริษัท ยักษใหญ จากไอรแลนดเหนือ Wright Group ซึ่งมีความเชี่ยวชาญดาน รถโดยสารมากวา 50 ป และมีโรงงานผลิตอยูที่ Ballymena ซึ่งใชเปนสํานักงานใหญดวย
รถโดยสารรุ น นี้ ถู ก ผลิ ต ขึ้ น ที่ โรงงานเดมเลอร DICV ในเมืองเจนไน ประเทศอินเดีย ซึ่งมีเทคโนโลยีที่ลํ้า สมัยเพราะเดมเลอร เยอรมนี เขามา ลงทุนถือหุนเปนบริษัทลูก 100% ทาง เดมเลอรเล็งเห็นตลาดรถโดยสารใน ประเทศอินเดียมีการเติบโตสูงมากจึง ขยายไลนประกอบรถโดยสารขึน้ เมื�อไม นานมานี้โดยลงทุนสูงถึง 11,000 ลาน บาท เพื�อเนรมิตดานกําลังการผลิต และความพรอมรองรับการจําหนาย รวมถึงการสงออกอีกดวย เนื�องจาก โรงงานแหงนีส้ ง ออกรถบรรทุกแบรนด BharatBenz นับหมื�นคันตอป และคาด วาในอนาคตรถโดยสารของเดมเลอรที่ ผลิตขึ้นมาจะไดการตอบรับจากตลาด เชนกัน จึงเปนเรื�องไมยากดวยตาม ถนนหนทางในอินเดียหันซายแลขวาก็ จะพบแบรนด BharatBenz อยูทั่วไป Wright รถโรงเรี ย นคั น นี้ ม า พรอมสมรรถนะเครื�องยนตและความ ปลอดภัยเปนหลักเนื�องจากเปนรถที่ ตองคํานึงถึงความปลอดภัยของเด็ก ๆ เมื�อโดยสารจะตองมีความปลอดภัยสูง กวาเปนพิเศษเนื�องจากอยูในวัยซุกซน ไดมีการออกแบบที่นั่งสําหรับเด็ก ๆ
โดยแตละทีน่ งั่ จะมีเข็มขัดนิรภัยไวรองรับ เด็ ก ๆ ทั้ ง สองที่ ข า งใต เ บาะไว ว าง สัมภาระไมวาจะเปน กระเปานักเรียน อุปกรณการกีฬาตาง ๆ โดยรองรับผู โดยสารไดถึง 49+1 ที่นั่ง ในการรับสงเด็กนักเรียนเมื�อมีการ หยุดรถรับสงจะมีปายที่เขียนวา STOP
เปนสัญลักษณอยางเดนชัดเพื�อแสดงให เห็นวาหยุดและระวัง โดยประเทศอินเดีย ต อ งบอกเลยว า เป น ประเทศที่ มี ก าร จราจรคับคั่งและมีผู ใชรถจักรยานยนต เปนจํานวนมาก สัญลักษณนี้จะชวยให เห็ น ได ชั ด เจนและให ผู ใ ช ร ถยนต แ ละ จักรยานยนตสังเกตและระวังมากยิ่งขึ้น
พรอมรองรับเด็กเล็กดวยบันไดรองรับ อีกขั้น เพื�อลดการเกิดอุบัติเหตุกาว พลาดที่อาจเกิดขึ้นไดสําหรับเด็กเล็ก ทุกคน ภายในมีการเตรียมถังดับเพลิง ไวดานหลังหองโดยสารพรอมกลอง ปฐมพยาบาลเมื�อเกิดอุบตั เิ หตุขนึ้ ดาน ทายรถเพิ่มประตูฉุกเฉิน โครงแชสซีส มี ค วามแข็ ง แกร ง เป น พิ เ ศษเพื�อ ป อ งกั น ความเสี ย หายไปยั ง ห อ ง โดยสาร Wright รถโรงเรี ย นมาพร อ ม เครื�อ งยนต 4d34i ขนาด 4 สู บ อินเตอรคูลเลอร เทอรโบชารจ ขนาด 3,907 ซี ซี . กํ า ลั ง เครื�อ งยนต 140 แรงมา 100 กิโลวัตต ที่ 2,500 รอบตอ นาที แรงบิดสูงสุด 420 นิวตันเมตร ที่ 1,500 รอบตอนาที ระบบขับเคลื�อน เกียรซนิ โครเมซ เดินหนา 6 เกียร ถอย หลัง 1 เกียร โอเวอร ไดรฟ พรอม รองรับเบรก ABS เพิ่มความปลอดภัย สูงสุด Wright ถือวาเปนทางเลือกหนึง่ สําหรับโรงเรียนตาง ๆ ทีต่ อ งการความ ปลอดภัยดานการบริการรับสงนักเรียน ให เ พิ่ ม มากขึ้ น และเป น มาตรฐาน สําหรับโรงเรียนอื�น ๆ อีกดวย สําหรับ ประเทศไทยก็สามารถนํารถโดยสารรุน นี้ ไปใช ไดเชนกัน
06 BUS&TRUCK • SPECIAL PURPOSE VEHICLE
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
รถเพื่ อกิจการพิ เศษ
อาร ซ เ ี ค สงมอบการทาเรือฯ กึ่งพวงล็อตใหญ 88 คัน
อารซีเค ไดรับความไวใจจาก การทาเรือแหงประเทศไทย (กทท.) ใหเปนผูออกแบบและผลิตรถบรรทุกกึ่งพวง บรรทุกตูส น ิ คาจํานวน 88 คัน โดยรถบรรทุกไดรบ ั การออกแบบพิเศษเพือ ่ ใชงานภายในทาเรือกรุงเทพ ถือเปนหัวใจ หลักสําคัญในการรับตูสินคาขึ้นและลงจากเรือบรรทุกตูสินคา
คุณฐานิศร โทณะพงษ ผูจัดการ ทั่วไปฝายการตลาด บริษัท อาร ซี เค รุ ง เจริ ญ จํ า กั ด เป ด เผยวา แชสซี ส บรรทุกตูส นิ คา (CONTAINER CHASSIS) หรือรถกึ่งพวงบรรทุกตูสินคาของการ ทาเรือแหงประเทศไทย (กทท.) ที่ใชงาน ภายในทาเรือกรุงเทพ ถือเปนหัวใจหลัก สําคัญในการรับตูส นิ คาขึน้ และลงจากเรือ บรรทุกตูส นิ คา รวมถึงการจัดเก็บขนยาย ภายในทาเรือ การรับตูสินคาขึ้นและลง จากเรือบรรทุกตูสินคาจะตองทํางาน 24 ชั่วโมงตอวัน มีสมรรถนะที่เพียงพอใน การรับตูสินคาไดทุกขนาดนํ้าหนัก ที่ขน ถายขึ้นลงจากเรือบรรทุกตูสินคา และ ตองมีอายุการใชงานที่ยาวนาน ดังนั้น ตองเลือกใชแชสซีสบ รรทุกตูส นิ คารวมทัง้ อุปกรณเพลาลอ ชวงลาง ทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง ออกแบบและผลิ ต จากโรงงานที่ มี มาตรฐาน มีความนาเชื�อถือ เปนมืออาชีพ มีผลงานการออกแบบและการผลิตเปนที่ ประจั ก ษ ได รั บ การยอมรั บ จากส ว น ราชการ และผู ป ระกอบการขนส ง ทั่ ว ประเทศไทย โดยไดรับความไววางใจจากการ ทาเรือแหงประเทศไทย ใหเปนผูอ อกแบบ และผลิตแชสซีสบรรทุกตูสินคานํ้าหนัก บรรทุกไมนอ ยกวา 45 ตัน จํานวน 88 คัน โดยตองประกอบเชื�อมขึ้นรูปเมนเฟรม หรือโครงแชสซีสจากเหล็กที่ใชประกอบ รถยนตเกรด HIGH TENSILE ที่มีคา TENSILE STRENGTH 55 กิโลกรัมตอ ตารางมิลลิเมตร มีคาความปลอดภัยไม ตํ่ากวา 4 เทา และใหมีนํ้าหนักรถเปลา ตํ่าที่สุด คุ ณ ฐานิ ศ ร กล า วเสริ ม การ
ออกแบบและการผลิ ต แชสซี ส บ รรทุ ก ตู สินคา หรือรถกึ่งพวงบรรทุกตูสินคาของ อารซีเค อางอิงการออกแบบตามมาตรฐาน MARINE CONTAINER CHASSIS ของ ABS (AMERICAN BUREAU OF SHIPPING) และมาตรฐานของกรมการขนส งทางบก แหงประเทศไทย ซึง่ บริษทั ฯ ไดนาํ มาเปนตัว กําหนดคามาตรฐานการออกแบบรวมทัง้ คา ความปลอดภัย (SAFETY FACTOR) ซึง่ กรม การขนสงทางบกยอมรับคาความปลอดภัย ที่คํานวณออกแบบตองมีคาไมนอยกวา 4 เทา โดยทางเราไดกาํ หนดคาความปลอดภัย มาตรฐานที่ไดจากการคํานวณความแข็งแรง ของโครงสรางแชสซีสที่จุดรับภาระสูงสุด
ตองไมตาํ่ กวา 6 เทา ซึง่ วิศวกรออกแบบตอง ออกแบบใหไดไมตาํ่ กวาคานี้โดยมีเงื�อนไขให มีน้ําหนักรถเปลาตํ่าที่สุดคาความปลอดภัย นี้จะเปนคาที่บงบอกถึงความแข็งแรงและ อายุการใชงานของโครงแชสซีส คาทีส่ งู กวา แสดงวาโครงแชสซีสจ ะมีความแข็งแรงและ อายุการใชงานยาวนานมากกวาคาที่ตํ่ากวา สําหรับแชสซีสบ รรทุกตูส นิ คาของการ ทาเรือแหงประเทศไทย เปนโครงแชสซีสที่ ออกแบบตามหลักมาตรฐานของบริษัทฯ ที่ ไดกลาวถึงในเบื้องตน และเลือกใชเพลา ยี่หอ RCK-KUYAMA ซึ่งเปนยี่หอบริษัทฯ เอง มีสมรรถนะรับนํ้าหนักบรรทุกได ไมตํ่า กวา 20 เมตริกตันตอเสนที่ความเร็ว 30 กิโลเมตรตอชัว่ โมง สําหรับชวงลางเปนแบบ แหนบหงาย 2 ชวงยีห่ อ RCK-KUYAMA เชน กัน มีสมรรถนะรับนํ้าหนักได ไมนอยกวา 45 เมตริกตันตอชุด มีคานิจสปริงไมนอยกวา 3,679 นิวตันตอตารางมิลลิเมตร สวนควบ อื�น ๆ ไดออกแบบโครงสรางที่แข็งแรงมี ความปลอดภัยสูงเพื�อรองรับการทํางานที่ ต อ งใช ค วามเร็ ว สู ง ในการรั บ ตู สิ น ค า ทุ ก ขนาดนํ้าหนักขึ้นและลงจากเรือ โดยการผลิ ต โครงแชสซี ส บ รรทุ ก ตู
สินคาจํานวน 88 คัน ใหกับการทาเรือ แหงประเทศไทย บริษทั ฯทําการประกอบ เชื�อมขึ้นรูปจากเหล็ก HIGH TENSILE SS540 ที่ ผ า นการทดสอบค า แรงดึ ง TENSILE TEST ไมตํ่ากวา 55 กิโลกรัม ตอตารางมิลลิเมตร ทําการประกอบขึ้น รู ป ภายในจิ๊ ก ประกอบ และเชื�อ มด ว ย เครื�องเชื�อม AUTOMETIC WELDING MACHINE ดวยกระบวนการเชื�อมแบบ ซับเมิรจ (SUBMERGE ARC WELDING – SAW) ซึ่งกระบวนผลิตดังกลาวนี้เปน กระบวนการผลิ ต เดี ย วกั น กั บ การผลิ ต โครงแชสซีส สําหรับสินคามาตรฐานของ บริษัทฯ ทําใหการทาเรือกรุงเทพซึ่งเปน ลูกคามีความพึงพอใจเปนอยางยิ่งทั้งใน เรื�องการออกแบบคํานวณความแข็งแรง และการผลิตที่สามารถควบคุมคุณภาพ ไดอยางสมํ่าเสมอ การสงมอบงานใหกับ การทาเรือแหงประเทศไทยกอนกําหนด สัญญา รวมทั้งพนักงานขับมีความพึง พอใจและมีความมัน่ ใจในการขับขีล่ ากจูง อยางปลอดภัย เปนอยางสูงอีกดวย บริ ษั ท ฯ ทุ ม เทการออกแบบ คํานวณความแข็งแรง พัฒนากระบวน การผลิต และพัฒนาปรับเปลีย่ นชนิดของ เหล็กที่ใชผลิตประกอบเชื�อมขึ้นรูปโครง แชสซีส ในกลุมสินคารถกึ่งพวงบรรทุกตู สินคาทุกรุน และรถกึ่งพวงพื้นเรียบทุก รุน โดยเลือกใชเหล็กกลาทนแรงดึงสูง SM490YA (HIGH TENSILE STEEL: SM490YA) ซึ่งมีคาทนแรงดึงมากกวา เหล็กธรรมดา หรือ SS400 ทําใหสินคา ของ RCK ยิ่งมีความแข็งแรง ทนทาน อายุ ก ารใช ง านยาวนาน คุ ณ ภาพ สมํ่าเสมอ รถใชงานแลวยังอยูในสภาพ ดี งายตอเปลี่ยนมือ ราคาขายตอสูง จึง ไดรับความเชื�อถือเปนที่ยอมรับจากทั้ง ภาคราชการและลู ก ค า ผู ป ระกอบการ ขนสงทั่วประเทศเปนอยางมาก
6$9( (1(5*< 6$9( <2856(/)
3: ?M5H Ċ =L ŴŴ
9L/#+8D 0
08 BUS&TRUCK • BUSINESS CATALYST
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
คันเร่งธุรกิจ
ใชเครื่องยนตใหเปน
รถใหญ มี เ ครื�อ งยนต อ ยู 2 ประเภท คือ เครื�องยนตดีเซลและ เอ็นจีวี ซึ่งใหกําลังขับเคลื�อนที่แตก ต า งกั น หากต อ งการใช ง านหนั ก ก็ เลือกเครื�องยนตดีเซล หากสินคาที่ ขนสงมีนํ้าหนักไมมากและระยะทาง ใกล ๆ ก็เลือกเครื�องยนตเอ็นจีวี แตหากอยากใหทงั้ 2 เครื�องยนต ชวยประหยัดพลังงานเพื�อลดตนทุน มากทีส่ ดุ ก็ตอ งเพิม่ ทักษะความรูใหกบั คนขับรถใหญ เพราะหากรูเทคนิคการ ใชเครื�องยนตอยางถูกวิธพี รอมทัง้ ดูแล รักษาเครื�องยนตตามที่แตละคายรถ ใหญกาํ หนดมา ก็จะชวยใหสามารถลด ตนทุนไดตามที่ตองการ หากคนขับใชเครื�องยนตอยางถูก ตองและดูแลรักษาตามระยะทางการ โอเวอรฮอลลก็จะไมเกิดขึ้น ไมวาจะใช ไปถึง 1 ลานกิโลเมตร หรือ ถึง 2 ลาน กิโลเมตรก็ตาม หรือหากยี่หอใดใช ได ถึง 3 ลานกิโลเมตร โดยไมตองซอม ใหญ ก็ถือเปนคุณภาพของเครื�องยนต ยี่หอนั้นบวกกับฝมือของคนขับดวย นี่เปนเทคนิคงาย ๆ ของการ รักษาตนทุน บรรณาธิการอาวุโส นิตยสาร BUS & TRUCK คณะผูจัดทําฝายบริหาร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 คณะที่ปรึกษา ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา, ชยาวุธ จิรธันท, ยู เจียรยืนยง พงศ, บุนเอี้ยน ศรีแสนสุชาติ, วรพจน แสงทวีสิน, เถลิง พลวรรณาภา, ชูชาติ สวางสําลี, ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร, คุณวรวิทย เจริญวัฒนพันธ, คุณสมชาย ทองคําคูณ ทีมงานฝายบริหาร กรรมการผูจัดการ คุณชาตรี มรรคา รองกรรมการผูจัดการ คุณศุภแมน มรรคา รองกรรมการผูจัดการ คุณศุภวาร มรรคา Publishing Director คุณปยะนุช มีเมือง ฝายขายโฆษณา Sales Director คุณศุภแมน มรรคา supaman@ttfintl.com ผูจัดการโฆษณา สุจิตรา สงครามรอด แผนกโฆษณา นัฐพล วณิชกูร ชญานิน มาศเมธา ณัฑฏดนัย ฐิติระอานนท อนรรฆวี หาญอยูคุม นิภาพร ทุมสอน เลขาแผนกโฆษณา บุตรตรี สงางาม ฝายกองบรรณาธิการ บรรณาธิการอาวุโส เสกสรรค ไชยเผือก หัวหนากองบรรณาธิการ พฤกษ ดานจิตรตรง ผูชวยหัวหนากองบรรณาธิการ ธัญพร ขันธสิทธิ์ กองบรรณาธิการ จักรพรรดิ์ โสภา เลขากองบรรณาธิการ มณีรัตน วัฒตะนะมงคล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ อรุณ เหลาวัฒนกุล สมาชิก วิวรมาศ แกวศิริ เว็บไซต BusAndTruckMedia.com การเงิน แสงอรุณ มงคล ศิลปกรรม ธีระ พุมขํา BIP GROUP พิมพ กรังดปรีซ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด มหาชน จัดจําหนาย เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น โทร. 0-2744-6888 ติดตอฝายขายโฆษณา โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดตอฝายสมาชิก โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดตอฝายกองบรรณาธิการ โทรศัพท (66) 2717-2477
ตลาดรถใหญป 58 ยังซบ ฟูโซ-จงทง ปรับแผนกระตุนยอดขาย ตลาดรถใหญป 58 ไมขยายตัว คายฟูโซเนนรุนใหมเปดตลาดเพิ่มเปา ให ได 7% เพราะมีดลี เลอรใหมชว ยหนุน หลัง ฟากรถโดยสารจงทงปูพื้นเปน เบอร 2 เหมือนตลาดจีน มุงบริการ ลู ก ค า เก า อย า งเต็ ม ที่ หวั ง ให เ ป น กระบอกเสียงในการดึงลูกคาใหม คุ ณ ธนภั ท ร อิ น ทวิ พั น ธุ รอง ประธานบริษทั ฟูโซทรัค (ประเทศ ไทย) จํากัด เปดเผยวา จากขอมูลตัวเลขยอด การจําหนายรถใหญในชวง 4 เดือนแรก ของป 2558 ที่ผานมา คือ ตั้งแตเดือน มกราคม-เมษายนมียอดจําหนายอยูที่ ประมาณ 3,800 คัน เพิ่มมากขึ้นกวาปที่ แลวประมาณ 200 คัน ซึ่งจําหนายได ประมาณ 3,600 คัน ถือไดวาเปนการ เติ บ โตที่ น อ ยมาก เนื�อ งจากภาวะ เศรษฐกิจยังตกตํ่าไมมีธุรกิจใหม ๆ ให ดําเนินการเลย จากสถิตขิ อ มูลเมื�อหลาย ๆ ปทผี่ า น มา ยอดขายใน 3 เดือนแรก จะเติบโต มาก พอกาวเขาสู 3 เดือนหนาฝนยอด ขายจะลดลง เนื�องจากทั้งในภาคอีสาน และภาคเหนื อ จะไม มี พื ช ผลให ทํ า การ ขนสงนั้นเอง ซึ่งก็ยังคงเหมือนกับปนี้ที่ ในไตรมาสที่ 2 ยอดขายรถใหญจะตอง ตกลงเปนอยางมากแน แตสาํ หรับบริษทั ฯนัน้ มีความตัง้ ใจ ที่จะตองการสวนแบงการตลาดเพิ่มมาก ขึน้ จากปทแี่ ลว ซึง่ ทําไดประมาณ 5% มา ในป 2558 นี้ ตองเพิม่ ขึน้ เปน 7% เพราะ นอกจากจะมีรถรุนใหมมาเปดตลาดเพิ่ม มากขึ้นแลว อยางรถมิกเซอรที่ทํายอด ขายในกลุมไดมากถึง 20% และที่สําคัญ ยังจะมีดีลเลอรเพิ่มมากขึ้นจากปที่แลว 15 แหง มาในปนี้มีเพิ่มอีก 12 แหง รวม เปน 27 แหง ซึ่งมั่นใจวา ในแตละแหง จะสามารถเจาะกลุมลูกคาไดจนทํายอด ขายมาเปนอันดับตน ๆ แน สวนคุณบุรินทร โอภาสเศรษฐกุล กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท ออโต ไลเนอร บิซ จํากัด ผูแทนจําหนายรถ โดยสารยี่หอ “จงทง” ประเทศจีน เปด เผยวา สําหรับในชวง 4 เดือนแรกที่ผาน มานี้ พบวาตลาดรถโดยสารยังเงียบอยู โดยเฉพาะรถรับ-สงพนักงานไดมีการ ชะลอรับรถ จากในปนี้ ไปเปนปหนาแทน เนื�องจากยอดการผลิตสินคานอยลงทําให บริ ษั ท ต อ งประหยั ด ต น ทุ น จึ ง ขอให พนักงานใชบริการรถรับ-สงคันเกาเชน เดิม สวนทางดานตลาดรถทัวรนั้น ยัง มองวามีโอกาสที่จะเติบโตได เนื�องจาก ตลาดการทองเที่ยวยังมีนักทองเที่ยวทั้ง ในและต า งประเทศมาท อ งเที่ ย วเป น
จํานวนมาก ทางบริษทั ฯจึงมุง เจาะตลาด รถใหญเปนหลัก โดยเนนคุณภาพของรถ ที่สามารถมัดใจตลาดนักทองเที่ยวเมือง จีนได กลยุทธหลักในปนที้ างบริษทั ฯไดมงุ เนนการบริการหลังการขายแกกลุม ลูกคา
เดิมที่มีมากกวา 100 คัน ไมใหรถตอง หยุ ด วิ่ ง จากสาเหตุ ข องรถเสี ย เพราะ ลูกคาจะเสียรายได พรอมทั้งยังหวังวา ลูกคาเกาจะชวยบอกตอถึงคุณภาพให ลู ก ค า ใหม ไ ด รั บ ทราบ เป น การขยาย ตลาดดวยวิธีปากตอปากนั่นเอง
รถใหญ 5 เดือนขาย 10,445 คัน
ยอดรถใหญ 5 เดือน ป 58 ขาย ได 10,445 คัน สูงกวาชวงเดียวกัน ของปที่แลวขายได 10,292 คัน คาย อีซูซุเปนผูนํา 5,025 คัน ตามมาดวย ฮีโนขายได 4,337 คัน อันดับสามฟูโซ 521 คัน และอันดับสี่ ยูดี ทรัคส 169 คัน สวนคายยุโรปทางวอลโวขายได 301 คัน อันดับสองสแกนเนียขายได 77 คัน รายงานจากบริษัท ฮี โน มอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด ผูร วบรวมยอดขายรถใหญทกุ ยีห่ อ เปด เผยว า ใน 5 เดื อ น คื อ ตั้ ง แต เ ดื อ น มกราคมถึงเดือนพฤษภาคม ป 2558 มี ย อดขายรถใหญ ทุ ก ยี่ ห อ จํ า นวน 10,445 คัน ซึ่งในชวงเดียวกันของปที่ แลวขายได 10,292 คัน และเดือน พฤษภาคม ป 2558 ขายได 2,100 คัน โดยยี่หออีซูซุขายไดมากที่สุด 5 เดือน แรกขายได 5,025 คัน ในชวงเดียวกัน ของปที่แลวขายได 4,875 คัน และใน เดือนพฤษภาคม ป 2558 ขายได 1,089 คัน อันดับสองคือฮีโน 5 เดือนแรกขาย ได 4,337 คัน ในชวงเดียวกันของปที่ แลวขายได 4,281 คัน และในเดือน พฤษภาคม ป 2558 ขายได 811 คัน อันดับทีส่ ามคือฟูโซ 5 เดือนแรกขายได 521 คัน ในชวงเดียวกันของปที่แลว ขายได 519 คัน และในเดือนพฤษภาคม ป 2558 ขายได 100 คัน อันดับสี่ ยูดี ทรัคส 5 เดือนแรก ขายได 169 คัน ใน ชวงเดียวกันของปที่แลวขายได 128
คัน และเดือนพฤษภาคมขายได 40 คัน สวนคายยุโรปใน 5 เดือนแรก ยีห่ อ ทีข่ ายไดมากสุดคือวอลโว 301 คัน ในชวงเดียวกันของปทแี่ ลวขายได 314 คัน และในเดือนพฤษภาคม ป 2558 ขายได 40 คัน อันดับสองสแกนเนีย 5 เดื อ นแรกขายได 77 คั น ในช ว ง เดียวกันของปที่แลวขายได 143 คัน และพฤษภาคม ป 2558 ขายได 20 คัน สวนรถโดยสาร 5 เดือนแรกยีห่ อ ที่ขายไดมากที่สุดคือวอลโวขายได 61 คัน ในชวงเวลาเดียวกันของปที่แลว ขายได 63 คัน และเดือนพฤษภาคมป 2558 ขายได 8 คั น อั น ดั บ ที่ ส อง สแกนเนีย 5 เดือนแรกขายได 24 คัน ในชวงเวลาเดียวกันของปที่แลว 81 คัน และเดือนพฤษภาคมป 2558 ขาย ได 5 คัน และรถบรรทุก 2-3 ตัน 5 เดือน แรกยีห่ อ ทีข่ ายไดมากสุดคืออีซซู ขุ ายได 1,135 คัน ในชวงเวลาเดียวกันของปที่ แล ว ขายได 1,163 คั น และเดื อ น พฤษภาคมป 2558 ขายได 272 คัน อันดับที่สองฮีโน 5 เดือนแรกขายได 477 คัน ในชวงเวลาเดียวกันของปที่ แล ว ขายได 402 คั น และเดื อ น พฤษภาคม ป 2558 ขายได 92 คัน อันดับสามฟูโซ 5 เดือนแรกขายได 32 คัน ในชวงเวลาเดียวกันของปที่แลว ขายได 62 คัน และเดือนพฤษภาคมป 2558 ขายได 9 คัน
BUSINESS CATALYST • BUS&TRUCK 09
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
คันเร่งธุรกิจ
คายไบเบน...รถใหญจีนตัวจริง ลงทุนสรางโชวรูม เสริมมั่นใจลูกคา ป 2558 ถือเปนปแหงประวัติศาสตร ที่เศรษฐกิจทั่วโลกอยูในภาวะที่ตกตํ่า ภาวะการเงินไมคลองตัว ไม วาจะดําเนินธุรกิจใด ๆ ก็เปนการยากที่ไดทุนคืนมาโดยเร็ว อยางธุรกิจรถใหญในเมืองไทยก็เชนเดียวกัน ใน ภาวะที่ธุรกิจทุกอยางถดถอยยังไมมีการลงทุนเพิ่ม ความตองการในการใชรถใหญจึงลดนอยลงตามไป ดวย
ถึงแมวาทุกคายรถใหญจะมีสต็อก รถแทบทุกรุนแมจะมี โปรโมชั่นตาง ๆ ออกมาอย างมากมาย แต ในเมื�อกลุม ลูกคารถใหญไมมคี วามตองการซือ้ ซึง่ ถือ เปนบทพิสจู นตวั จริงวาคายรถใหญทหี่ วัง เขามาบุกตลาดในเมืองไทยจะอยูรอด หรือไมไดเห็นกัน คุ ณ ฤธิ ก ร เทพทวี ประธาน กรรมการบริหาร บริษัท เอ็ม.ซี.ซี.ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ผูแทนจําหนายรถใหญ ไบเบน และรถ บรรทุกเล็กชินเล ประเทศจีน เปดเผยวา เพื�อเปนการพิสูจนวาคายรถจีนที่ ไดเขา มาเปดตลาดใหมในไทยจะมีคายไหนที่มี ความตองการทําการตลาดอยางจริงจัง ในสถานการณที่มียอดจําหนายนอยไม เปนอยางที่คาดหวังไวตั้งแตเริ่มตน ในสวนของบริษทั แลวขอยืนหยัดวา จะยังทําการตลาดตอไป เพราะไดเปนผู แทนจํ า หน า ยอย า งเป น ทางการใน ประเทศไทย ทั้ ง ของรถใหญ ไ บเบน พรอมรถบรรทุกเล็กชินเล ประเทศจีน
และการดูแลรักษาใหบริการหลังการขาย แกลูกคาทุกคนที่ซื้อรถของบริษัทไป “แมจะรูด วี า ในปนสี้ ามารถจําหนาย ไดนอยมากไมเปนไปตามที่คาดไว ตั้งแต ตนป 2558 แตก็ถือเปนโอกาสอันดีที่ ไม เนนทางดานการขาย เพราะลูกคาไม ต อ งการจึ ง ได หั น มาเน น ทางด า นการ สรางความมัน่ ใจใหกบั กลุม ลูกคาดวยการ ลุงทุนตั้งโชวรูมและศูนยบริการ เดิมทีมี อยูแลว 1 แหง คือ ที่อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา และภายในปนี้จะเปดอีก 3 แหง โดย 2 แหงไดซื้อที่ดินเอาไวแลว คื อ ที่ แ หลมฉบั ง จั ง หวั ด ชลบุ รี และ แมกลอง จังหวัดสมุทรสงคราม โดย แตละแหงจะลงทุน 15-20 ลานบาท สวน อีกแหงหนึ่งจะตั้งเปนสํานักงานใหญ ซึ่ง กําลังมองหาพื้นที่อยู มีที่ใหเลือกอยูที่ ลาดกระบัง จังหวัดสมุทรปราการ และ กรุงเทพฯ คาดวาทุกอยางจะลงตัวภายใน สิ้นป 2558 นี้แนนอน” สวนสาเหตุสําคัญที่มองวา เปน โอกาสอันดีที่จะลงทุนสรางโชวรูมและ
ใต้ท้องรถ ไมตองแปลกใจวาทําไมถึงไมเห็นรถหัวลากยี่หอเบนซ เปดตลาด ในเมืองไทยเสียที ทัง้ ๆ ทีต่ วั แทนจําหนายของเบนซมคี วามพรอมทีจ่ ะจําหนาย อยูแ ลว และไดตระเวนหากลุม ลูกคาไวบา งบางสวนแลว แตดว ยทางผูบ ริหาร ของเบนซ ที่ ดู แ ลในประเทศไทยไดมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นใหม จึ ง ต อ งใช เ วลา ประมาณ 2 เดือนเพื�อศึกษาตลาดกอน สาเหตุที่ตองใชเวลายาวนาน ก็เพราะ รถเล็กเปนตลาดใหญ สวนหัวลากเปนตลาดใหม ประกอบกับในปนี้ถือเปนป ที่มีภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า จึงมีคนในวงการรถใหญมองวาคงจะเปนการยากที่ จะเห็นรถหัวลากเบนซเปดตลาดในปนี้แน คงตองใชเวลารอดูกัน มีคนบอกวา การกอสรางถนนพรอมกฎจราจรในประเทศเวียดนาม จะทําใหระบบโลจิสติกสเจริญกาวหนาเปนอยางมาก จนบางครั้งโอกาสที่จะ แซงหนาเมืองไทยมีอยูเยอะ แตดวยการบริหารประเทศยังเปนเผด็จการอยู การบริหารธุรกิจตาง ๆ จึงไมเปดเปนไปแบบเสรี ดวยเหตุนี้เองเมื�อทหารยัง คุมธุรกิจอยูโอกาสทีจ่ ะแซงหนาเมืองไทยและเปนหนึง่ ในอาเซียนจึงมีนอ ยมาก แตหากโลกยังคงหมุนเวียนไปโอกาสตาง ๆ ก็ยังคงเกิดขึ้นไดเสมอ “การเปน แชมปถอื วายากแลว แตการรักษาแชมปนนั้ ยากยิง่ กวา” นักธุรกิจของเมือง ไทยควรจําไว ใหดี ใครวาในป 2558 คายรถใหญจากจีนจะลมหายตายจากไป เพราะ มีสต็อกรถไวมากแตจําหนายไมออกตองเสียดอกเบี้ยเดือนละหลายลานบาท แตก็นา แปลกใจทีม่ รี ถใหญจากจีนยีห่ อ อื�น ๆ เขามาเสริมตลาดอีก โดยจะเปด เผยใหทราบตอไปวามียี่หอใดบาง เรียกวา พอยี่หอเกาไปยี่หอใหมก็มา ซึ่งก็ แสดงวาในตลาดขนสงยังมีความตองการรถใหญที่มีราคาถูกอยู อาจเปน เพราะตองการใชงานเพียงระยะสั้น ๆ เทานั้น หรืออาจจะไดทุนคืนมาก็เปน ไปได การทําตลาดรถใหญตองศึกษาถึงพฤติกรรมของกลุมลูกคาใหดี เพราะ สามารถปรับเปลี่ยนไดทุกทาง
ศูนยบริการ พรอมโกดังสต็อกอะไหล เพื�อ สรางความเชื�อมัน่ ใหกบั กลุม ลูกคาเพราะ ถึงแมวาจะยังไมซื้อรถไปใชงาน แตเมื�อ เศรษฐกิ จ ดี ขึ้ น และเห็ น โชว รู ม ศู น ย บริ ก ารของบริ ษั ท เป ด ดํ า เนิ น การ เรียบรอยแลว ก็จะทําการตัดสินใจซื้อได โดยทันที ไมตองมีการลังเล เนื�องจาก บริษทั ทีจ่ าํ หนายมีศนู ยรบั สต็อกอะไหลไว รองรับอยูแลว “ทางบริษัทแม ที่ประเทศจีน ก็ได แสดงความชื�น ชมการบริ ห ารประเทศ ของทหาร ซึ่ ง จะเป น รากฐานในการ พัฒนาประเทศตอไป จึงไมมีการเรงให ทางบริษัทใหทํายอดขายแตอยางใด” นอกจากนี้ ทางบริษัทยังไดเตรียม การขายไวพรอมเสมอหากมีกลุมลูกคา รายใดที่ตองการใชรถใหญในเวลาเรง ดวน ทางบริษทั ก็มพี รอมใหในทันทีไมวา
จะเปนรถมิกเซอร 336 แรงมา รถหัวลาก เครื�อ งยนต ดี เ ซล 375 แรงม า และ เครื�องยนตเอ็นจีวี 380 แรงมา และในตน ไตรมาส 3 จะนํารถมิกเซิอร 3.3 คิว เครื�องยนต 150 แรงมา เขามาสนองตอ ความตองการของลูกคา เพราะสามารถ ใช ได ในถนนทีแ่ คบลงตามตัวเมืองตาง ๆ นั่นเอง สวนรถบรรทุกเล็กชินเล ประเทศ จีน มีใหเลือกตั้งแตเครื�องยนต 1.1-1.3 ลิตร สามารถใชนํ้ามัน E20 ได ชวย ประหยั ด เชื้ อ เพลิ ง ได เ ป น อย า งมาก เหมาะแกกลุมขนสงที่ใชขนสงสินคาใน พื้ น ที่ เ ล็ ก ที่ ข นส ง สิ น ค า ในจํ า นวนน อ ย และระยะทางไมไกล และที่สําคัญที่สุดคือ งาน BUS & TRUCK ’15 วันที่ 5 - 7 พฤศจิกายน ศกนี้ จัดที่ ไบเทค กรุงเทพฯ ทางบริษัท ยืนยันวาจะเขารวมงานเหมือนปทผี่ า นมา โดยจะนํารถใหญ ไบเบนและรถบรรทุก เล็กชินเล ประเทศจีน เขามาโชวในงาน อยางแนนอน
10 BUS&TRUCK • ROAD and LAW
สัญญาณ
จอดป้ายหมอชิต
คมนาคมจอสรางมอเตอรเวย 2 สาย นครปฐม-ชะอํา/บางปะอิน-นครสวรรค
กระทรวงคมนาคมเตรียมทุมงบ 1.2 แสนล า น ผุ ด มอเตอร เ วย 2 เส น ทาง นคร ปฐม-ชะอํา และบางปะอิน-นครสวรรค แกปญ หาจราจรคับคัง่ คาดลงทุนแบบพีพพี ี คุณชูศักดิ์ เกวี อธิบดีกรมทางหลวง (ทล.) เปดเผยวา ขณะนี้ ทล.กําลังเรงผลัก ดันโครงการทางหลวงพิเศษระหวางเมือง (มอเตอรเวย) 2 เสนทาง วงเงินลงทุนรวม ทัง้ สิน้ 120,600 ลานบาท คือ 1.เสนทางสาย นครปฐม-ชะอํา ระยะทาง 119 ก.ม. วงเงิน ลงทุน 80,600 ลานบาท และ 2.เสนทางสาย บางปะอิน-นครสวรรค (มอเตอรเวยเก็บคา ผานทาง ขนาด 4-8 ชองจราจร) ระยะทาง 206 กิโลเมตร (เขตทางเดิมของ ทล.32 136 ก.ม.) วงเงินลงทุน 40,000 ลานบาท แบง ออกเปน คากอสราง 37,500 ลานบาท คา จัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน 2,500 ลานบาท เสนทางแรกขณะนี้ ไดผานการจัดทํา รายงานผลกระทบดานสิ่งแวดลอม (อีไอเอ) เรียบรอยแลว โดยอยูร ะหวางรอ พ.ร.ฎ. เวนคืน และอยูร ะหวางชีแ้ จงผูท ี่ไดรบั ผลกระทบ สวน เสนทางที่ 2 อยูระหวางศึกษาอีไอเอ สําหรับ แนวทางในการดําเนินการกอสรางหากรัฐบาล ไมมีงบประมาณก็พรอมที่จะเปดใหเอกชน รวมลงทุน (พีพีพี) คาดวาจะเสนอแผนการ ดําเนินโครงการมอเตอรเวยทงั้ 2 เสนใหครม. พิจารณาไดในป 2559 หากครม.เห็นชอบรูป แบบการลงทุนเปนพีพีพี กรมจะตองเสนอ
โครงการเขาทีป่ ระชุมคณะกรรมการนโยบาย ใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐ (พีพีพี) ทีม่ มี .ร.ว.ปรีดยิ าธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรี เปนประธานพิจารณาอีกครั้ง แลวกลับมา เสนอขอมติ ครม. อีกครั้ง จากนั้นจึงจะนําไป สูขั้นตอนการเปดประมูลโครงการ ซึ่งตองใช ระยะเวลาพอสมควร “สํ า หรั บ มอเตอร เ วย เ ส น สาย นครปฐม-ชะอํา เปนเสนทางที่จะสรางตอ เนื�องจากเสนทางบางใหญ-กาญจนบุรี เปน แนวเสนทางไปภาคตะวันตก ผานนครปฐมบานโปง ไปถึงกาญจนบุรี เมื�อถึงนครปฐม ซึ่งจะมีเสนทางเชื�อมไปถึงชะอํา โดยปกติ เสนทางสายหลักมุง สูภ าคใตมเี สนทางเดียว คือ เสนทางสาย 4-เพชรเกษม มี 7 เลน แต บางชวงเวลาพบวามีการจราจรคับคัง่ ดังนัน้ เมื�อมอเตอรเวยเสนดังกลาวเกิดขึ้นจะเปน ทางเลือก จะชวยแบงเบารองรับการจราจร สูเสนทางภาคใตเปนอยางดี” อย า งไรก็ ต าม ขณะนี้ มี โ ครงการ มอเตอรเวย 3 สายทีอ่ ยูร ะหวางรอเขาสูก าร พิจารณาของ ครม.เร็ว ๆ นี้ คือ เสนทางสาย บางปะอิน-สระบุรี-นครราชสีมา ระยะทาง 196 ก.ม. วง เงิน 84,600 ลานบาท, เสนทาง บางใหญ-บานโปง-กาญจนบุรี ระยะทาง 96 ก.ม. วงเงิน 55,600 ลานบาท และเสนทาง พัทยา-มาบตาพุด ระยะทาง 32 ก.ม. วงเงิน 14,000 ลานบาท
กทม.เตรียมเปดถนนใหม เชื่อมพหลฯ-สุขาภิบาล 5 ปลายป 58 กทม.แจงความคืบหนาการกอสราง ถนนตัดใหมพหลโยธินรัตนโกสินทรสมโภช ระยะทาง 5.25 กิโลเมตร ขณะนี้ แลวเสร็จ ไปกวารอยละ 95 คาดจะกอสรางเสร็จ สมบูรณ และเปดใหประชาชนใชงานได ภายในปลายปนี้ คุณวสันต เจือวัฒนา ผูอํานวยการ กองควบคุมการกอสราง สํานักการโยธา กรุงเทพมหานคร (กทม.) กลาวถึงโครงการ ก อ สร า งถนนถนนตั ด ใหม ” พหลโยธิ น รัตนโกสินทรสมโภช” วา ถนนดังกลาวมี ระยะทางทัง้ สิน้ 5.25 กิโลเมตร เปนโครงการ สร า งเครื อ ข า ยถนนให ค ลอบคลุ ม และ สามารถเชื�อมตอที่สมบูรณ ได โดยโครงการ ดังกลาวไดเริ่มดําเนินการกอสรางมาตั้งแต ป 53 แตติดปญหาตาง ๆ ทั้งปญหาอุทกภัย เมื�อป 54 ปญหาการติดเวนคืนทีด่ นิ และการ รื้ อ ย า ยสาธารณู ป โภคใต ดิ น ทํ า ให ก าร กอสรางเกิดการลาชาอยางมาก จนผูรับ เหมาตองมีการขยายเวลาการกอสรางออก ไป ซึง่ จากกําหนดเดิมควรจะตองดําเนินการ กอสรางเสร็จสิ้นตั้งแตเดือนก.ค.ป 55 แต ขณะนี้ถนนพหลโยธิน-รัตนโกสินทรสมโภช กทม.ไดเรงดําเนินการกอสรางแลวเสร็จไป กวา 95เปอรเซ็นตเหลือเพียงสวนปลายของ ถนนที่จะบรรจบกับถนนสุขาภิบาล 5 พื้นที่ เขตสายไหม ซึ่งตองรอการแก ไขแนวการ วางท อ ประปาจากการประปานครหลวง
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
(กทม.)ทีด่ าํ เนินการมาควบคูก บั การกอสราง ถนนใหเสร็จสิน้ เสียกอน จึงจะดําเนินการตอ เนื�องไปได ถนนดังกลาวจะสามารถกอสรางเสร็จ สมบู ร ณ แ ละเป ด ให ป ระชาชนใช ง านได ภายในปลายป 58 นี้ ซึ่งจะเปนถนนขนาด 6 ชองจราจรโดยแนวเสนทางจะเริ่มตนจาก บริเวณปากทางถนนพหลโยธินซอย 50 ผาน คลองลําผักชี คลองลําหนองจอก คลอง กะเฉด ผ า นคลองบั ว ไปบรรจบถนน รั ต นโกสิ น ทร ส มโภชบริ เ วณโรงเรี ย น รัตนโกสินทรสมโภชและบริเวณซอยวัชรพล และสิ้นสุดแนวสายทางที่ถนนสุขาภิบาล 5 บริเวณคลองหนองบัวมล ทั้งนี้ ถนนดังกลาวเมื�อเปดใชงานจะ ชวยในการระบายรถถนนรามอินทราถนน พหลโยธิน และถนนใกลเคียงไดเปนอยางดี ที่ สํ า คั ญ จะชว ยแกป ญ หาการจราจรย า น บางเขนสายไหม หลักสี่ และรามอินทรากม. 1-8 เสริมโครงขายการคมนาคมใหมในพืน้ ที่ ตอนเหนือและตะวันออกของกรุงเทพฯให สมบูรณมากยิ่งขึ้น ซึ่งคาดวาถนนตัดใหม เสนนี้จะมีปริมาณการจราจรอยูที่ 26,000 คันตอวัน นอกจากนี้กทม.ยังมีโครงการตอ ขยายถนนจากถนนรัตนโกสินทรสมโภชนิมิตใหมระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตรที่ จะดําเนินการตอไป
โดย กรมการขนสงทางบก
ขบ.คุมเขมขนสงวัตถุอันตราย
กรมการขนส ง ทางบกคุ ม เข ม ผู ประกอบการขนส ง วั ต ถุ อั น ตรายและ พนักงานขับรถ ตองปฏิบัติตามขอกําหนด ความปลอดภัยการขนสงวัตถุอนั ตรายทาง ถนนอยางเครงครัด ทั้งนี้ เพื�อใหการขนสงวัตถุอันตราย ทางถนนทั้งการขนสงภายในประเทศและ การขนสงระหวางประเทศมีความปลอดภัย และเปนไปตามความตกลงระหวางประเทศ ดานการขนสงวัตถุอันตรายที่ประเทศไทย เปนภาคี กรมการขนสงทางบกไดดําเนิน มาตรการปองกันอุบัติเหตุในการขนสงวัตถุ อันตราย โดยกําหนดใหมีการติดตั้งเครื�อง บั น ทึ ก ข อ มู ล การเดิ น ทางของรถ (GPS Tracking) เพื�อติดตามควบคุมไมใหขับเร็ว เกินกําหนดและควบคุมชัว่ โมงการทํางานมา อยางตอเนื�อง และเพื�อเปนการยกระดับ ความปลอดภัยในการขนสงวัตถุอันตราย ทางถนนให เ ป น ไปตามมาตรฐานสากล กระทรวงคมนาคมจึงไดกาํ หนดกฎกระทรวง วาดวย ความปลอดภัยในการขนสงวัตถุ อันตรายทางถนนซึ่งมีผลบังคับใชอยางเปน ทางการแลว เพื�อใหผูประกอบการขนสง วัตถุอันตรายและพนักงานขับรถมีแนวทาง ปฏิบัติชัดเจนและเปนมาตรฐานเดียวกัน โดยผู ไดรับใบอนุญาตประกอบการ
ขนส ง มี ห น า ที่ ต อ งจั ด หาและควบคุ ม ดู แ ลรถที่ นํ า มาใช ใ นการขนส ง ต อ งติ ด ตั้ ง อุปกรณสวนควบ เครื�องมือที่จําเปนสําหรับ ป อ งกั น อั น ตรายเมื�อ มี อุ บั ติ เ หตุ ห รื อ เหตุ ฉุ ก เฉิ น เกิ ด ขึ้ น รวมถึ ง จั ด ให มี เ อกสารที่ เกีย่ วของกับความปลอดภัย ขอปฏิบตั แิ ละคํา แนะนําเกี่ยวกับวัตถุอันตราย ติดปายอักษร ภาพ หรือเครื�องหมายแสดงการบรรทุกวัตถุ อันตรายไวกับตัวรถ ตรวจสอบภาชนะบรรจุ หรือหีบหอบรรจุวัตถุอันตรายใหอยูในสภาพ มั่นคงแข็งแรงและตองใชภาชนะบรรจุให ตรงตามประเภทของวัตถุอันตราย รวมถึง ตองตรวจสอบความถูกตองของการขนถาย จัดวาง ผูกรัด ติดตรึง และการบรรทุกใหเปน ไปตามหลักเกณฑทกี่ าํ หนด โดยเฉพาะอยาง ยิง่ ตองกําหนดคุณสมบัตขิ องพนักงานขับรถ และควบคุมใหพนักงานขับรถปฏิบัติตามขอ กําหนดวาดวยความปลอดภัยอยางเครงครัด โดยพนักงานขับรถขนสงวัตถุอันตรายตอง เปนผู ไดรับใบอนุญาตเปนผูขับรถชนิดที่ 4 เทานั้น เนื�องจากผู ไดรับใบอนุญาตขับรถ ชนิดดังกลาวจะตองผานการรับรองวาเปนผู มีคุณสมบัติและประสบการณ ในการขับรถ บรรทุก และผานการอบรมความรูเกี่ยวกับ การบรรทุ ก วั ต ถุ อั น ตรายตามมาตรฐาน UN
BUS&TRUCK FAQ
พ.ต.อ.ยอดชาย ผูสันติ ผกก.ฝอ.3, บก.อก.บช.น.ฝายประชาสัมพันธ, บก.02
ภาพถายใบขับขี่ในมือถือใชแทนของจริง? สอบถามครับ ถาผมไมไดพกใบ ขับขี่ แตไดถา ยรูปไวในโทรศัพท มือถือ เมื�อเจาหนาที่ขอดูผมจะ มีความผิดหรือไม อีกเรื�องครับทะเบียน รถถาไมไดถายเอกสารสําเนาทะเบียน รถไวแตมีขอมูลในโทรศัพทมือถือจะมี ความผิดหรือไม ขอบคุณครับ จากคุณ : สราวุธ หากไดรับใบอนุญาตขับขี่แลว แตไมสามารถแสดงใบอนุญาต ขับขี่ตอเจาหนาที่เมื�อเรียกดูได ทันที ก็มคี วามผิดโทษปรับไมเกิน 1,000 บาทครับ ส ว นสํ า เนาภาพถ า ยใบคู มื อ จด ทะเบียนรถ ถาสามารถใชแสดงไดทนั ที ตอนเจาหนาทีเ่ รียกตรวจก็ไมมคี วามผิด
ครับ
ตาม พ.ร.บ.รถยนต พ.ศ.2522 มาตรา 42 ผูข บั รถตองไดรบั ใบอนุญาต ขับรถและตองมีใบอนุญาตขับรถและ สําเนาภาพถายใบคูมือจดทะเบียนรถ ในขณะขับหรือควบคุมผูฝกหัดขับรถ เพื�อแสดงตอเจาพนักงานไดทันที เวน แตผถู อื ฝกหัดขับรถยนตตามมาตรา 57 มาตรา 64 ผูใดขับรถโดยไมไดรบั ใบอนุญาตขับรถ ตองระวางโทษจําคุก ไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่ง พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 66 ผู ใ ดขั บ รถโดยไม แสดงใบอนุ ญ าตขั บ รถ และสํ า เนา ภาพถายใบคูมือจดทะเบียนรถ ตาม มาตรา 42 ตองระวางโทษปรับไมเกิน 1,000 บาท
PROTEST • BUS&TRUCK 11
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
กดแตร
พั กรถ
หลอกใหดีใจ
ในช ว งที่ ภ าวะเศรษฐกิ จ ยั ง ไม ลงตัว ถือเปนขาวดีของผูผลิตสินคา ไม ว า จะเป น ทั้ ง อุ ป โภค บริ โ ภค พื ช ผล ทางการเกษตร วั ส ดุ ก อ สร า ง และ อื�น ๆ อีกมากมายที่สามารถวาจางใหผู ประกอบการขนสงทําการขนสงไดครั้ง ละมาก ๆ นํ้าหนักเกินกวาที่กฎหมาย กําหนด โดยเสียคาจางในราคาตํ่า ตรง ตามที่กฎหมายกําหนดไว ทั้ ง นี้ เป น เพราะผู ป ระกอบการ ขนสงสินคามีรถบรรทุกทั่วประเทศอยู มากกวา 10 ลานคัน ในขณะทีจ่ าํ นวนวา จางการขนสงมีจริงไมถึงครึ่งหนึ่ง ทําให มีกลยุทธตา ง ๆ ออกมาเพื�อแยงลูกคากัน หากมองลึก ๆ แลว เมื�อป 2555 มีจาํ นวน รถบรรทุกใหมออกมาสูตลาดมากกวา 40,000 คัน และทั้งหมดตางซื้อในระบบ เงินผอน บางราย 4 ป บางรายมากถึง 7 ปก็มี การมีรายไดเพื�อนํามาเปนเงินผอน ไมใหถูกยึดรถคืนจึงเกิดขึ้นเปนธรรมดา ดังนั้นไมตองแปลกใจเลยวา รถบรรทุก ที่วิ่งอยูบนทองถนนนั้นมีทั้งทําถูกตอง ตามกฎหมายและไมถูกตองปะปนกันไป ดังนั้น สวยจึงไมมีวันที่จะหมดลง ไปได เจาหนาที่ของทางราชการที่ดูแล การจราจรทางบกก็สามารถรับสวยได เพราะยังมีผูที่ทําผิดกฎหมายมาเสนอ ผลประโยชนใหเอง ไมวาจะเปนทั้งราย วัน รายสัปดาห รายเดือน และทราบมา วา เพียงแคจา ยสวยเปนรายเดือนวิง่ งาน ขนสงเพียงเที่ยวเดียวก็ถือวาคุมตอการ จายเงินเพียงครั้งเดียวแลว ทําใหการหา รายไดอยางผิดกฎหมายสามารถหาเงิน ผอนรถใหญไดอยางสบาย การขนสงในภาคเหนือถือวามีรถ ใหญนอกกฎหมายวิ่งอยูมากที่สุด โดยใช ทัง้ เสนทางหลักและเสนทางรองวิง่ อยูใ น ชวงเวลากลางคืนเปนประจําแทบทุกวัน และเปนทีน่ า แปลกใจวา ทําไมถึงไมมกี าร จับกุมรถใหญที่วิ่งผิดกฎหมายใหกับศาล ในจั ง หวั ด นครสวรรค และจั ง หวั ด กําแพงเพชรพิจารณาเลย แตเมื�อชวงตนเดือนพฤษภาคมที่ ผานมา ไมเห็นมีรถใหญที่บรรทุกเกินวิ่ง บนทองถนนเลย โดยเริม่ แรกนัน้ นึกวาจะ ทํากันเปนเวลานาน แตจริง ๆ แลว เปน แคชวงเวลา 2 วันเทานั้นเอง และยัง ทราบขอมูลมาวาทางสมาคมขนสงทาง บกแหงประเทศไทยไดเปนผูยื�นเอกสาร
ชี้แจงรายละเอียดตาง ๆ ของสวยใหกับ ทางอธิ บ ดี ก รมทางหลวงได รั บ ทราบ ขอมูล เริม่ แรกเมื�อไมเห็นรถผิดกฎหมาย ออกมาวิ่ ง งานบนถนนเลยก็ ดี ใ จคิ ด ว า บานเมืองจะกลับมาอยูใ นกรอบกฎหมาย เสี ย ที แต เ มื�อ กลั บ มาเป น เช น เดิ ม ก็ เทากับเปนการหลอกใหดีใจ ตองกลับมา เข ม งวดกั น สํ า หรั บ รถใหญ ที่ ทํ า ตาม กฎหมายกําหนดก็ตองทนทุกขลําบาก เชนเดิม สวนสาเหตุที่ทําใหเกิดสวยก็คือ ผู วาจางเมื�อเห็นวาในชวงนีเ้ งินตรามีความ จําเปนมากสําหรับทุก ๆ ธุรกิจ เมื�อมี ขนส ง รายหนึ่ ง ที่ บ รรทุ ก ตามกฎหมาย ต อ งการได ค า จ า งขนส ง เพิ่ ม มากขึ้ น เพราะรายจายจากเงินเฟอเริ่มเขามา เบียดเบียนรายได แตนายจางบอกวา ยัง มีขนสงรายอื�นที่ตองการเขามาแทนที่ พรอมทั้งยังบรรทุกสินคาเพิ่มมากขึ้นอีก โดยจํ า นวนค า จ า งเท า เดิ ม ไม เ ปลี่ ย น แปลง แบบนี้จะทําตอไปหรือไม จึงตอง ตัดสินใจทําตอเพราะถือเปนรายไดหลัก ที่ใชประกอบธุรกิจใหอยูรอด ประกอบกับในชวง 4 เดือนนี้เปน หนาฝน พืชผลทางการเกษตรก็หมดไป การหาสินคาเพื�อมาทําการขนสงแทนนัน้ ก็ทาํ ไดยากมาก อยางโรงสีทรี่ บั จํานําขาว ตางก็ทําการปดตัวลงไปเปนจํานวนมาก แมวาจะมีขาวเปลือกอยูในโกดังก็ตาม แตการว าจางก็นอยลง ดังนั้นจึงตอง พึง่ พาเพื�อนพันธมิตรหากมีผวู า จางใหขน สินคาเกินกําลังก็สามารถหาซับขนสงได โดยมีความรับผิดชอบทํางานไมดอยไป กวาเพื�อพันธมิตรเลย ในวงการขนสงทางบกมีผปู ระกอบ การขนสงอยู 2 ประเภท คือ พวกที่ทํา ตามที่ทางกฎหมายกําหนดไมเสียราย จายที่ ไมสามารถลงบัญชีได กลุมที่ 2 คือ พวกขนสงนอกรีตยอมจายคาสวยใหเจา หนาทีเ่ พื�อจะไดมรี ายไดเขามามาก ๆ โดย ไมสนใจเพื�อนพันธมิตรที่ประกอบอาชีพ เดียวกัน แตตนตอที่แทจริงก็คือ ผูวาจาง ขนสงที่มีโรงงานผลิตสินคาหลายแบบ ไมวาจะเปนอุปโภคบริโภค วัสดุกอสราง เครื�องจักร และอื�น ๆ ที่ตองใช ในชีวิต ประจําวัน การประหยัดตนทุนแตมรี ายได มากทีส่ ดุ คือสิง่ ทีต่ อ งการ ทําไมรัฐบาลจึง ไมมองถึงจุดนี้บาง
ที่ปดนํ้าฝนชวยลดอุบัติเหตุ ในชวงฤดูกาลหนาฝนแบบนีค้ บขับรถ ตองใหความสําคัญกับสิ่งที่ตองเจอ กับฝนมากที่สุด ไมวาจะเปน ยาง รถยนตรวมถึงใบปดนํ้าฝน เพราะ สามารถลดอุบัติเหตุไมใหเกิดขึ้นได ในระหวางทีต่ อ งขับรถบนถนนทีม่ ฝี น ตกหนัก ตองยอมรับวาในชวง 1 - 2 ป ที่ ผานมา ฤดูกาลตาง ๆ ของโลกไดเปลีย่ นไปหมดแลว จากเดิมทีเ่ มืองไทยมีหนา ฝนอยู 4 เดือน ก็เพิ่มแทรกเขามาอีก โดยมีมรสุมจากประเทศเพื�อนบานพัด เขามาชวงไหนบางมิอาจคาดเดาได หากสังเกตใหดีมักจะมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น ชวงฝนตก บางรายบอกวาเกิดจากถนนลื�น บางรายก็บอกวามองไมเห็นทาง เพราะใบปดนํ้าฝนไมทํางาน หากกันไวกอนแกจะมีประโยขนเปนอยางมาก ใบปดนํ้าฝนจะมีประโยชนทั้งชวยปดนํ้าฝนหรือนํ้าคางบนกระจกหนา เพื�อที่คนขับรถจะไดมองเห็นทางอยางชัดเจน เทคนิคในการใช ใบปดนํ้าฝนมี ความเร็วอยู 3 ระดับ ระดับแรกเปนแบบเบาทําหนาทีเ่ มื�อฝนโปรยปราย ระดับ กลางจะมีความเร็วแรงขึ้นสําหรับเมื�อฝนตกแรงขึ้นและเม็ดหนาขึ้น ระดับ 3 มีความเร็วแรงสุด ใชเวลามีฝนตกหนักมาก แตทั้ง 3 แบบ ก็ชวยใหกระจก หนาชัดเจนมองเห็นถนนลดการเกิดอุบัติเหตุได สวนอายุของใบปดนํา้ ฝนนัน้ ก็ไมควรใชเกิน 1 ป เพราะทัง้ เจอแดดรอน ซึ่งทําใหยางเสื�อมสภาพไป แถมยังเจอนํ้าฝนที่ ไมสามารถปดใหหมดไปจาก กระจกหนาได ดังนั้นการเสียเงินเปลี่ยนใหมไมเกิน 300 บาท แตสามารถ ปองกันอุบตั เิ หตุทอี่ าจทําใหมผี ูไดรบั บาดเจ็บและเสียชีวติ ลงได ยอมคุม คากวา กันมากทีเดียว
12 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK CARE
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
รักษ์รถ
รถเกา ดูแลไมยาก
รถเกาเมือ ่ มีอายุการใชงานเยอะเขาหนอย ก็ตอ งเอาใจใสกน ั เปนพิเศษมากกวาเดิม ไมอยางนัน ้ อาจเกิดอาการ นอยใจไมออกวิ่งก็เปนได โดยตองหมั่นตรวจเช็กความพรอมของชิ้นสวนรถเปนประจํา อะไรที่ควรเปลี่ยนเมื่อถึง เวลาก็ตองเปลี่ยน และยิ่งถามีสัญญาณเตือนดวยอาการตาง ๆ ยิ่งไมควรมองขามเด็ดขาด
เปลี่ยนตามวาระเสื่อมสภาพ
เมื�อรถผานการใชงานมาระยะ หนึ่ง จะเกิดการเสื�อมสภาพหรือหมด อายุ ก ารใช ง าน ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปทาง บริษทั ผูผ ลิตก็รแู ละรับทราบดีอยูแ ลว จึงมีการกําหนดระยะเวลาในการใช งานหรือเปลี่ยนอะไหลเอาไว อยาง เชนพวกสายพาน หัวเทียน ไสกรอง ปมนํ้า ฯลฯ อะไรเหลานี้ เมื�อถึงเวลา เปลีย่ นก็ควรเปลีย่ นถึงแมหนาตาของ มันจะยังดูดีอยูก็ตาม อยาเสียดาย และหากสภาพมั น ยั ง ดี ก็ เ ก็ บ เอาไว ทายรถ สําหรับใชเปนอะไหลสํารอง เผื�อในกรณีฉุกเฉินก็ได ลองดูในสมุดคูมือประจํารถมี บอกวาอะไรสมควรเปลีย่ นเมื�อไร โดย จะแบงเปนกําหนดระยะทางหรือเวลา แลวแตวา อยางไรจะถึงกอน นอกจาก นี้ยังตองพิจารณาควบคูไปกับการใช งานดวย อยางพวกที่ใชงานในเมือง เป น ประจํ า ถ า กํ า หนดให เ ปลี่ ย น สายพานไทมิ่งทุก 100,000 กม. แบบ นี้ไมตอ งรอใหครบ 100,000 กม.เพราะ การใชงานในเมืองระยะทางทีร่ ถวิง่ ถึง จะนอยก็ตาม แตระยะเวลาในการใช รถคอนขางเยอะ อีกทัง้ ความรอนและ ความสกปรกจะบั่นทอนอายุการใช งานของสายพานไทมิ่งใหหดสั้นลง ควรรนระยะเวลาการเปลีย่ นใหเร็วขึน้ หนอยเพื�อความชัวรชัก 80,000 – 90,000 กม. นาจะเปลีย่ นสายพานกัน ไดแลว หรือพวกใชรถนอยทีส่ ว นใหญ ซื้อมาเช็ดมาลางมากกวาเอามาขับ อยางกําหนดเปลีย่ นถายนํา้ มันเครื�อง
10,000 กม. หากรอใหครอบ 10,000 กม. รถใชเวลาวิ่งกันเปนปกวา แบบนี้ ไมตอง รอใหครบ 10,000 กม. แค 6 เดือนก็ สมควรเปลี่ยนถายนํ้ามันเครื�องไดแลว เนื�องจากนํ้ามันเครื�องถึงไมได ใชก็มีการ เสื�อมสภาพจากการทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ ยกเวนจะใชพวกนํ้ามัน เครื�องสังเคราะหอันนี้ก็อยูไดนานหนอย แตก็ไมควรเกิน 1 ป
เปลี่ยนเพื่อปองกันเปนเรื่อง
บางอยางเราตองเปลี่ยนถายตาม กําหนดเพื�อปองกันการเสียหาย เชน การ เปลี่ยนถายนํ้ามันเกียร นํ้ามันเฟองทาย นํ้ามันเพาเวอรพวงมาลัย นํ้ามันคลัทซ นํ้ามันเบรก หรือการเปลี่ยนถายนํ้าใน หมอนํา้ อยางเจาพวกนํา้ มันคลัทซ นํา้ มัน เบรกนี้ จ ะมี คุ ณ สมบั ติ เ ดน เรื�อ งการดู ด ความชื้นในอากาศ และเกิดความชื้นขึ้น ไดจาการทํางาน เจาความชื้นหรือนํ้าที่ ปะปนในนํ้ามันคลัทซ นํ้ามันเบรก จะ ทําใหกระบอกสูบของแมปมเปนสนิม หรื อ เป น สนิ ม ขุ ม แบบที่ เ รี ย กวั น ว า ตามด ซึ่งจะทําใหผิวของกระบอกแมปม สึกหรอเสียหาย และยางแมปม ชํารุดเกิด
การรัว่ ในระบบเบรก อีกทัง้ ประสิทธิภาพ ในการหยุดรถก็นอยลงดวย นํ้าในระบบ ระบายความรอนก็เชนเดียวกัน มันมีอายุ การใชงานมิฉะนั้นประสิทธิภาพในการ ปองกันการตางศักยการปองกันสนิมจะ ลดลง ซึ่งอาจจะสรางปญหาสึกกรอนให กับหัวเสียบทอยางนํา้ ตัวปม นํา้ ตลอดจน ชิ้นสวนเครื�องยนต
เปลี่ยนเมื่อมีสัญญาณเตือน
พวกรถทีจ่ ะเกิดการเสียขึน้ มา สวน ใหญแลวจะมีสญ ั ญาณเตือนกันลวงหนา ใหรบั ทราบจึงตองคอยสังเกต เชน นํา้ มัน เบรกในกระปุกเติมยุบตัวลงไปมาก แบบ นีแ้ สดงวาอาจมีการรัว่ ในระบบเบรก หรือ ผาเบรกเริ่มบางแลว และเวลาเหยียบ เบรกมีความรูสึกวาเหยียบเบรกแลวรถ ไมคอยหยุด ตองกดแรงเหยียบลึกกวา ปกติ แบบนี้แสดงวาผาเบรกหลังหาง หรือใกลหมด นํ้าในถังพักนํ้าหายเยอะ ตองเติมกันบอยกวาปกติแสดงวามีการ รั่วในระบบนํ้าหลอเย็น ฝาปดหมอนํ้า ชํารุดเสื�อมสภาพ หรือปะเก็นฝาสูบแตก ความรอนขึ้นสูงกวาปกติควรตรวจเช็ค การทํางานของพัดลม ไมวา จะเปนพัดลม
เครื�องที่ฟรีคลัทซเสื�อม หรือพัดลม ไฟฟาทีม่ อเตอรเสื�อมทําใหหมุนชาลง จนไมเ พี ย งพอตอ การระบายความ รอน หรือมอเตอรเสีย เซ็นเซอรเสีย สายไฟหลุดเลยไมยอมหมุน บางทีก็ เกิดขึน้ จากตัววาลวนํา้ ลมยางลอใดลอ หนึ่งมีแรงดันตํ่ากวาลออื�นมากเกิน กวา 2 ปอนด แบบนี้แสดงวาเกิดการ รั่วซึมในยางเสนนั้นแลว เวลาขับรถ พบว า มี ป ญ หาเรื�อ งการควบคุ ม ทิศทางของรถ การทรงตัว และมี เสียงดัง แสดงวามีปญหากับระบบ พวงมาลัย ศูนยลอ ตลอดจนระบบ ช ว งล า ง ควรรี บ ตรวจเช็ ค โดยเร็ ว เวลาสตารทเครื�องยนตตอนเชาที่มี อากาศเย็น มีความรูส กึ วาหลังจากบิด หรือกดปุมสตารทแลว ตัวมอเตอร สตาร ท ไม ค อ ยอยากหมุ น อย า งนี้ ป ญ หาน า จะเกิ ด ขึ้ น จากแบตเตอรี่ หรือตัวมอเตอรสตารทเอง มีไฟเตือน ติ ด โชว บ นแผงหน า ป ด เมื�อ ไรอย า วางใจ ให รี บ ขั บ รถไปพบช า งทั น ที เพื�อตรวจเช็คแก ไขกอนจะลามเปน เรื�องใหญ สังเกตรองรอยการรั่วซึม ของนํ้ามันตาง ๆ ทั้งในหองเครื�อง และใตทองรถ รอยรอยของการั่วซึม เหลานีจ้ ะเปนสัญญาณเตือนใหทราบ วามีการชํารุดของอุปกรณบางอยาง แลว การดูแลรักษารถที่มีอายุเยอะ ตองคอยตรวจเช็คถี่และเร็วขึ้น รวม ทั้งเพิ่มความเอาใจใสใหมากกวาเดิม เพราะรถอายุเยอะระบบการทํางาน เสื�อมถอย มีการสึกหรอสูง จึงตอง ดู แ ลกั น ใกล ชิ ด เป น พิ เ ศษ เวลามี ปญหาขึน้ มากจะไดรกู อ นจะเปนเรื�อง ใหญ
14 BUS&TRUCK • INTERVIEW
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
จอดคุย
บริษท ั ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด ดําเนินธุรกิจนําเขาและตัวแทนจําหนายเครือ ่ งจักรและรถยนต เพือ ่ ตอบ สนองการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และตอบสนองการเจริญเติบโตทางธุรกิจของลูกคา ปจจุบน ั ไดรบ ั การแตงตัง ้ ใหเปน ผูแ ทนจําหนายสินคาและบริการอยางเปนทางการในประเทศไทย ภายใตแบรนดทม ี ช ี อ ื่ เสียงระดับโลก ไดแก แบรนด SANY รถโมผสมคอนกรีต นําเขาสําเร็จรูปทัง ้ คัน และรถบรรทุกหัวลากภายใตแบรนด SHACMAN
คุณอรรถพล วงษพิทักษ โรจน รองกรรมการผูจัดการ บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด เปดบริษัทให ทีมขาว “BUS & TRUCK” เขา “จอด คุย” ถึงแผนการบริหารงาน ทิศทางการ ตลาด รวมถึงจุดเดนของสินคา ใหพี่นอง สมาชิกไดทราบทั่วกัน
นโยบายการบริหารงาน
การดําเนินงานธุรกิจดานการนํา เขาและตัวแทนจําหนายนั้น เราใหความ สําคัญในเรื�องความซื�อสัตยกับลูกคา ทั้ง ตัวผลิตภัณฑของบริษทั ฯ จากทางผูผ ลิต สินคาทีก่ อ ตัง้ มายาวนาน มีความชํานาญ มีมาตรฐานใชเทคโนโลยีชั้นสูงและจัด จําหนายสินคาไปทั่วโลก การบริการหลัง การขายและการรับประกันสินคา ซึ่งเรา ใหความสําคัญควบคูก นั ภายใต สโลแกน ที่วา “สิ่งที่ลูกคาตองการคือสิ่งที่เรา ตองทํา” เพื�อใหลูกคาเกิดความเชื�อมั่น และมัน่ ใจวาจะไดรบั ประโยชนและคุม คา จากการลงทุ น สู ง สุ ด ภายใต สิ น ค า ที่ มี คุณภาพและมีประสิทธิภาพ ในราคาที่ เหมาะสม
จะดีไซนรูปลักษณที่สวยงาม แลวยังพัฒนา มาตรวัดตาง ๆ ใหหนาปดเปนแบบดิจิตอล หัวเกงออกแบบตามหลักพลศาสตรลดแรง ตานลม และมลภาวะเรื�องเสียง บํารุงรักษา งายประหยัดเชือ้ เพลิง ซึง่ ถือเปนเอกลักษณ เดนของ SANY ซึ่งปจจุบัน มีทั้งรถโมขนาด 12 ลอ ความจุ 8 คิว, ขนาด 10 ลอ ความจุ 6 คิว และขนาด 6 ลอ ความจุ 3 คิว
เลือกสินคาคุณภาพเกรด A
มีผูนําเขารถโมจากประเทศจีนหลาย บริษัท ผูบริโภคควรพิจารณา และคํานึงถึง คุณภาพที่เหมาะสมกับราคา และควรตรวจ สอบสเปคเครื�องยนตหรือเกียรที่ใช อยูใน ระดับไหน ขนาดแชสซีสเปนอยางไร ตลอด จนชนิดของวัสดุและอุปกรณตาง ๆ ที่ติดมา
คุณอรรถพล วงษพิทักษโรจน มั่นใจ SANY-SHACMAN คุณภาพเกรด A
ตลาดรถใหญแขงขันเดือด
ตลาดปจจุบันถือวามีการแขงขัน คอนขางสูง บริษัทจึงวางกลยุทธการ ทํางานในเชิงรุก โดยการปรับเปลี่ยนมุม มองการทํ า งานให มี ค วามคล อ งตั ว สามารถปรับใชงานไดทนั ที มีการติดตาม ผลงาน การลงพืน้ ที่ รวมทัง้ ผูบ ริหารและ พนักงานรวมมือกันทํางานอยางรวดเร็ว จริงจัง เขาถึงกลุมเปาหมายโดยตรง ซึ่ง ที่ผานมาเราไดมีการจัดงานคาราวาน เพื�อเขาถึงกลุมลูกคาทั่วประเทศ โดยได รั บ ผลการตอบรั บ ที่ น า พอใจ ขณะ เดียวกันเรามีการสํารวจความตองการ ของลูกคาเพื�อนํามาพัฒนาผลิตภัณฑ
รถโม SANY จุดเดนเพียบ
ตนปที่ผานมาบริษัทมีการแนะนํา ผลิตภัณฑใหม เปนรถโม SANY (ซานี่) คุมคากวาดวยขนาดความจุคอนกรีต 3 คิว เปนรถ 6 ลอเล็ก (4x2) จุดเดนก็คือ ใชเครื�องยนต CUMMINS EURO 3, 4 สูบ 140 แรงมา แรงบิดสูงเชนเดียวกับ รุน พี่ ใชเพลาขับตรงจากเครื�องยนตไปยัง ปมไฮดรอลิค (Engine PTO) ขนาดยาง 8.25 ขอบ 16 คลองตัว เหมาะสําหรับเขา ตรอก ซอกซอยที่มีขนาดเล็กหรืออาคาร ตํ่า ๆ เพียบพรอมดวยอุปกรณอํานวย ความสะดวกของพนั ก งานควบคุ ม รถ ผานการรับรองแบบวิศวกรรมจากสํานัก วิศวกรรมยานยนต กรมการขนสงทางบก ไทย ซัน จึงพรอมทีจ่ ะตอบสนองทุกความ ตองการของผูประกอบธุรกิจคอนกรีต ผสมเสร็จ สําหรับประสิทธิภาพของรถโม 6 คิว SANY หัวเกงแบบรุนใหม นอกจาก
หยุดไมได ตองคิดให ไว ทําให ไว หากมองจากลั ก ษณะทางกายภาพ และภู มิ ศ าสตร ประเทศไทยจะเป น ศูนยกลางในการขนสง พาดผานประเทศ รอบบานในหลาย ๆ ประเทศ ซึ่งประเทศ เพื�อนบานโดยสวนใหญ ก็ลวนแตใชสินคา ของจีนอยูแลว ทางไทย ซัน จึงมีการเตรียม ความพรอมในเรื�อง ศูนยบริการ อะไหล ซึ่ง มีสํานักงานใหญ และโชวรูม ตั้งอยูบนถนน เพชรเกษม กม.ที่ 119 กอนถึงสามแยกถนน ถ.พระราม 2 และสํานักงานแหงนี้ ก็เปนที่ เก็บสต็อครถ ที่นําเขามา พรอมทั้งเปนศูนย บริการขนาดใหญ และคลังอะไหลที่เพียบ พรอม รองรับการบริการหลังการขาย ตลอด จนมีตวั แทนจําหนาย อีกไมนอ ยกวา 15 ราย
ในอนาคต และยังจะมีแผนที่จะเปดศูนย บริการในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื�อดูแลในพื้นที่ภาคเหนือ เขตจังหวัด สระบุรี เพื�อดูและภาคตะวันออกเฉียง เหนือ รวมถึงเขตบางนา-ตราด เพื�อดูแล พืน้ ทีภ่ าคตะวันออก ซึง่ จะครอบคลุมการ ใหบริการในจังหวัดใหญ ๆ ทั่วประเทศ บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน มีพันธมิตรทางการคาที่ดีมีคุณภาพ มี ครอบครัวดีลเลอรที่ใหความจริงใจ รวม มือและจริงจังในการใหบริการกับลูกคา อยางดีเสมอมา ผมในฐานะตัวแทนของ บริษัทฯ ขอใหสัญญามั่นวา จะรวมมือ รวมใจกัน พัฒนาสินคาใหมีคุณภาพ และมี ค วามทั น สมั ย ยึ ด มั่ น ในการ ดําเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล และ ตอบสนองความตองการของลูกคาใน ทุกรูปแบบ ใหสมกับสโลแกนของไทย ซัน ทีว่ า “สิง่ ทีล่ กู คาตองการคือสิง่ ทีเ่ รา ตองทํา”
กับตัวรถมาตรฐานอยางไร อยามองแตเรื�อง ของราคาเพียงอยางเดียว ในสวนของรถโม SANY ถือเปนสินคา คุณภาพเกรด A มาตรฐานยุโรปเทียบเทา Putzmeister ของเยอรมัน ชิ้นสวนที่ใช ใน การประกอบตาง ๆ ของรถเปนชิ้นสวนที่มี แบรนดเนม จึงไมอยากใหมองแคเปนรถนํา เขาจากประเทศจีนอยางเดียว บริษัทยัง ศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ ความตองการ ของตลาด เพื�อใหเหมาะสมและตรงตาม ลั ก ษณะการใช ง านของลู ก ค า ตลอดจน บริการหลังการขาย ทีส่ ามารถจัดหาชิน้ สวน อะไหลและทดแทนได ในประเทศ เชนเดียว กับรถญี่ปุนที่ประสบความสําเร็จในตลาด เมืองไทย
AEC ดีตอภาคการขนสง
การเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เปนเรื�องที่ทาทายในหลายมิติ เชน ดานการบริการ ตองครอบคลุมและรองรับ ความตางดานวัฒนธรรมและความตางทาง เชือ้ ชาติ ดานการใชภาษาตองพัฒนาความรู ความเข า ใจพั ฒ นาการสื�อ สารให ชั ด เจน เขาใจ และทั่วถึง ซึ่งทั้งหมดนี้เราจึงจําเปน ตองพัฒนาศักยภาพทัง้ สินคาและบุคคลากร ใหมีความพรอม นอกจากนี้ การเคลื�อนไหว ของแรงงาน นักธุรกิจ นักการคาการลงทุน ย อ มเอื้ อ อํ า นวยต อ การค า ขายและการ พัฒนาอสังหาริมทรัพยในระยะยาว เราจึง
LAW KNOWLEDGE • BUS&TRUCK 15
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
รู้กฎก่อนขับ
ผมเขียนตนฉบับนี้เมื�อเชาวันที่ 9 มิถุนายน ไดแนวคิดของเรื�องจากขาว เช า ทางโทรทั ศ น ร ายงานข า วรถบั ส โดยสารสายหนึ่ง บรรทุกผู โดยสาร 12 คนจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือเดิน ทางเขากรุงเทพมหานคร พอรถวิง่ มาถึง สนามบินดอนเมืองรถก็พงุ ออกดานขาง ถนน ชนกับกําแพงสนามบิน มีผูบาด เจ็บหลายรายและหนึง่ ในจํานวนนัน้ ก็ ได รับความรุนแรงนิ้วมือขาดทั้ง 5 นิ้ว จากขาว คนขับรถใหการวา “เพราะ ฝนตก ถนนลื�น ควบคุมรถไมอยู รถเสีย หลัก” ดังนั้นบทความในวันนี้ผมก็จะพูด ถึงเทคนิคการขับรถเมื�อเจอะเจอถนน เปยก ฝนตก นั้นควรจะปฏิบัติอยางไร เพื�อจะหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ “เปนเทคนิค ในเชิ ง ป อ งกั น เพื�อ ไม ใ ห เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ เพราะอุบตั เิ หตุกอ ใหเกิดความสูญเสีย” – รถพัง ตองจอดซอม ไมมีรถวิ่งทําเงิน ผู โดยสารบาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะ เสีย ขวัญกระทบกระเทือนจิตใจ – เกิดปญหา การจราจรรถติด เพราะกีดขวางเสนทาง เดินรถ ประชาชนคนใชรถใชถนนไดรับ ความเดือดรอน และปญหาอื�น ๆ อีก มากมาย เชน ผู โดยสารเดินทางไปถึงจุด หมายปลายทางลาชา ญาติผูโดยสารตอง สูญเสียเงิน สูญเสียเวลาในการเดินทาง ไปเยีย่ ม สูญเสียเงินคาติดตอสื�อสาร สรุป วามีแตเสียกับเสียและเสียทุกคน กอนจะเขารายละเอียดของเทคนิค การขับรถผานถนนเปยก ก็ขอเกริ่นโปรย หลักคิดเกีย่ วกับอุบตั เิ หตุ ประสบการณที่ เกิ ด ขึ้ น กั บ ผมนี่ แ หละ หลั ก คิ ด เริ่ ม เปลี่ยนแปลงเมื�อป 2543 ที่ผมมีโอกาส ไดรวมงานกับบริษัทบรรทุกขนสงนํ้ามัน ขามชาติจากประเทศออสเตรเลียบรรทุก ขนสงนํ้ามันให ESSO กอนหนานั้น “มี หลักคิดวาอุบัติเหตุไมสามารถปองกันได จะเกิดขึน้ เมื�อไหรไมร”ู เมื�อไดรว มงานกับ บริษทั ชัน้ นําเขาก็ไดสรางกระบวนการคิด หลักคิดใหมใหเรา โดยพยายามสงเสริม ความคิดของเราวา “อุบัติเหตุสามารถ ป อ งกั น ได ” ผมอยู ใ นบรรยากาศและ สภาพแวดล อ มที่ เ ข า ใจเหมื อ นกั น ว า “อุบตั เิ หตุสามารถปองกันได” ในทีส่ ดุ เรา ก็ยอมรับในหลักคิดนีพ้ รอมทัง้ ไดหลักการ วาเราจะปองกันอุบัติเหตุไดอยางไร ยิ่ง พอไดมีโอกาสทดลองปฏิบัติแลวบังเกิด ผลก็ยิ่งเกิดความเขาใจ ยอมรับ เชื�อวา สามารถปองกันไดจริงตั้งแตบัดนั้นถึง บัดนี้ หากถามวาแลวการสรางหลักคิด สรางงายหรือสรางยาก คําตอบคือ “ไม ยากและไมงายครับ เพราะตองใชระยะ เวลา ความเชื�อ การยอมรับ แตก็ไมเกิน ความสามารถของมนุษยเราครับ ถนนเป ย กขั บ ไม ใ ห เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ ไมใชเรื�องยากเลยครับ หลักการงาย ๆ
ขับถนนเปยก
ก อ นหน า นั้ น “มี หลั ก คิ ด ว า อุ บั ติ เ ห ตุ ไ ม ส า ม า ร ถ ปองกันได จะเกิด ขึ้ น เมื่ อ ไหร ไ ม รู ” เมื่อไดรวมงานกับ บ ริ ษั ท ชั้ น นํ า เ ข า ก็ไดสรางกระบวน ก า ร คิ ด ห ลั ก คิ ด ใหมใหเรา
ประการแรก คือ เมื�อรับรู (เห็น สัมผัส รับรู) ไดวาถนนเปยก ฝนตก ก็ตองรีบ “ลดความเร็ ว ลง” ให เ พี ย งพอที่ จ ะ สามารถควบคุมรถใหหยุดได ถารถเสีย หลัก รถเสียการทรงตัว หรือตองหยุดรถ กะทันหัน ความเร็วทีจ่ ะพอชวยใหควบคุม รถไดนั้นก็ไมนาจะเกิน 50 กิโลเมตรตอ ชั่วโมง ขึ้นอยูกับสภาพรถ สภาพถนนใน ขณะนั้น ซึ่งผูขับสามารถประเมินได รถ บางคันอาจตํ่ากวา ที่ความเร็วตํ่า ๆ อาจ จะมีคําถามตามมาวา อาว....วิ่งชาลด ความเร็วก็เสียเวลา...แนนอนครับ “ได อย า งเสี ย อย า งคื อ ความจริ ง ” เมื�อ ตองการความปลอดภัยก็ตองชา ความ ปลอดภัยไมไดควบคูกับความเร็วเลย... เร็วดวยและปลอดภัยดวยไมนาจะเปน ความจริ ง ที่ ก ล า วมาคื อ หลั ก การหรื อ
เทคนิค แตจะอยางไรก็ตามตัวผลักหัวใจ คนขับใหยอมลดความเร็วก็คือ “หลักคิด ทีเ่ กิดจากจิตสํานึกหรือทัศนะคติของคน ขับครับ ตระหนักเสมอวา การแก ไข
สถานการณเมื�อรถเสียหลัก รถเสียการ ทรงตัว เมื�อคนขับงวงวูบหลับนัน้ ทําการ แก ไ ขได ย ากมากครั บ .....เพราะถนน ไมใชลานปูนโลง ๆ ”
16 BUS&TRUCK • ติดเบรก
ติดเบรก
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558 เฉลิมศักดิ์ หุนนาครินทร อุปสรรคที่สงผลใหการขนสงทางบกไมเปนหนึ่งในอาเซียน
มุมมองผลกระทบจากการขาดดุลการคา ยางเขาสูเดือนทีส ่ องของไตรมาสที่สองในป 2558 รูสึกเปนอยางไรกันบางครับกับธุรกิจขนสงบานเรา ยังพอ ไปไดสําหรับบริษัทที่มีงานประจํา และก็คงจะไมสบายเทาไรสําหรับบริษัทที่อาศัยจมูกของคนอื่นหายใจ
สั ง เกตจากการสรุ ป ตั ว เลขของ กระทรวงพาณิชยที่เปดเผยออกมาตามนี้ เลยครับ กระทรวงพาณิชย แถลงขาว ตัวเลขสงออกเดือน เม.ย.58 สงออก มูลคา 16,900.42 ลาน (US$) ลดลง 1.70% นําเขามูลคา 17,423.34 ลาน (US$) ลดลง 6.84% สงผลให ไทยขาด ดุลการคา 522.92 ลาน (US$) ดูราย ละเอียดของขอมูลไดที่ : http://www2. ops3.moc.go.th/ สรุ ป ได ว า ตอนนี้ ประเทศเราขาดดุลการคาแคเดือนเมษา เดือนเดียว คิดงาย ๆ เอาตัวเลขกลม ๆ 522.92x33 = 17,256 ลานบาท โอแมเจา นี่แคเดือนเดียวนะขาดดุลขนาดนี้ แลวไม อยากจะคิดเลยวาตอไปประชาชนจะอยูก นั อยางไร จากการสรุปยอดสงออกและนําเขา ลดลงอยางเห็นไดชัดเจน ยอมสงผลกระ ทบตอบริษัทขนสงอยางหลีกเลี่ยงไม ได โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก ลุ ม บ ริ ษั ท ที่ ข น ส ง ตู คอนเทนเนอรจะหนักหนอย ทุกวันนี้เห็น
รถแตละลานจอดมากกวาวิ่ง สวนกลุม บริษัทที่เนนการขนสงภายในประเทศก็ไม เทาไร ยังพอประคองตัวไปได สวนกลุม บริษัทที่ขนสงปโตรเลียมก็เริ่มจะมีปญหา เนื�องจากบริษทั ขนสงบางบริษทั เริม่ หันมา เปลี่ยนแนวทางมาวิ่งงานป โตรเลียมกัน มากขึ้น นั้นหมายถึงการประมูลตัดราคา กันก็หลีกเลีย่ งไมได เมื�อไดงานมาถูก ๆ แต ก็จาํ เปนตองวิง่ ดีกวารถจอดอยูเ ฉย ๆ ตอน นี้ แ หละจะมาวั ด กึ๋ น การบริ ห ารจั ด การ หนวยงานขนสงกันละวาใครจะอยูห รือใคร จะไป ใครจะมีฝมือการบริหารมากกวากัน ถ า มองกั น แบบลู ก ทุ ง ๆ ในการ บริหารก็หนีไมพน การลดคาใชจา ยโดยการ ลดคาเที่ยวหรือตัดสวัสดิการอื�น ๆ ของคน ขับรถเปนอันดับแรก อยางหลีกเลี่ยงไมได ในเมื�อสิ่งที่คนขับรถเคยไดกลับไมไดสิ่งที่ ตามมายอมหลีกหนีไมพนคือการทุจริตลัก ขโมย หรือทําใหเกิดอุบตั เิ หตุอาํ พราง แลว แตจะมีโอกาส ผมเคยคุยกับเจาของบริษทั ที่วิ่งตูคอนเทนเนอร ทุกวันนี้จําเปนตอง
ประกันรายได ใหกับคนขับรถของตัวเอง เดือนละ 25,000 บาท ถาไมทําอยางนี้คน ขับรถก็หนีออกหมด บางเดือนงานนอยวิ่ง ไดหมื�นกวาบาทก็ตอ งจายเพิม่ ยอมขาดทุน เหมือนวิง่ ฟรี เพื�อเลีย้ งลูกนองประวิงเวลา ไวเผื�อมีงานดี ๆ เขามา บางบริษทั ก็เอาคน ขับรถไปทํางานอื�น ๆ ในวันที่ ไมมีงานวิ่ง ปลายปนี้จะเปดเขตการคาเสรีใน กลุม AEC ถาผมคาดการณ ไมผิดบอกได คําเดียวเลยวาไมมที าง และผมก็เชื�อวาอีก หลาย ๆ คนที่มีความคิดแบบเดียวกันกับ ผม ดวยปจจัยหลาย ๆ อยางที่ยังไมไดทํา อะไรเลย ขอตกลงตาง ๆ ก็ยังไมเห็นมี ความคืบหนาอะไร ไอทมี่ คี วามคืบหนาและ ชัดเจนทํากันทุกวันก็ตามไรยดึ ปาตัดตนไม ทีเ่ ขาปลูกไวจนใหญแลว หาทีอ่ ยูข า วนํา้ ให พวกอพยพ ย า ยข า ราชการที่ ไ ม ส นอง นโยบายของเจากระทรวงตามแนวทางคืน ความสุขใหประชาชนแคนั้น ขอกลับมาฝากขาวประชาสัมพันธให ทราบ ตอนนีก้ รมการขนสงทางบกไดจดั ให
เอาเลขทะเบียนรถเลขสวย ออกประมูล หารายไดเขากองทุนของ กปถ. ในสวน ของรถกระบะบรรทุก และรถยนตนั่ง เกิน 7 คนแตไมเกิน 12 คน (รถตู) ก็ขอ เรียนเชิญนะครับ ปายนีป้ ระมูลไดแลวก็ เปนสมบัตหิ รือมรดกตกทอดได หรือใคร มีเงินเหลือใชจะไปประมูลมาเก็บไวขาย เก็ ง กํ า ไรก็ ไ ด เมื�อ สองป ก อ นผมไป ประมู ล เลข 5353 กั บ 3535 ของ ขอนแกน ปายหนึ่งที่ประมูลไดราคา 38,000 บาท เมื�อปที่แลวมีคนมาขอซื้อ ไปปายหนึ่งขายไป 50,000 บาท ปกวา ผมลงทุน 38,000บาท ไดกาํ ไรมา 12,000 บาท ดีกวาดอกเบีย้ แบงคอกี ชวย ๆ กัน นะครับ และที่สําคัญไมตองเดินทางไป ป ร ะ มู ล ค รั บ เ ข า ไ ป ป ร ะ มู ล ท า ง อินเทอรเนตไดเลย โดยไปกรอกราย ละเอียดเลขที่ตองการและราคาที่เรา ตองการการประมูล เริ่มจากราคาตั้ง ครับขึน้ มาครัง้ ละ1,000 บาท ถาราคาไม ถึงที่เราตองการเราก็ได แตถาราคาเลย ทีเ่ ราตัง้ ไวกอ็ ด ลองเขาไปดูครับเขาไปที่ www.tabienrod.com
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
SPECIAL REPORT • BUS&TRUCK 17
Special Report
ทีทีเอฟมั่นใจ ตลาดรถใหญยังไปไดสวย
เดินหนางาน BUS & TRUCK ’15 ชูแนวคิด Next Step, AEC บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ผูจัดงาน BUS & TRUCK ประกาศเดินหนาจัดงาน BUS & TRUCK ’15 ปลายปนี้ ดวยแนวคิด Next Stop, AEC เพื่อตอนรับการขยายตัวของตลาดขนสงที่จะเติบโตขึ้นเมื่อกาวสูประชาคม อาเซียน พรอมพัฒนารูปแบบการจัดงานเพือ ่ ยกระดับสูน านาชาติ ทีต ่ อบสนองความตองการของผูช มงานแบบครบ วงจร
คุณศุภแมน มรรคา ผูจัดการ ทั่ ว ไป บริ ษั ท ที ที เ อฟ อิ น เตอร เนชั่นแนล จํากัด กลาวถึงที่มาของ แนวคิดการจัดงานในปนี้วา “จากการ ที่ประเทศไทยกําลังเดินหนาเขาสูการ คาเสรีในประชาคมอาเซียนอยางเต็ม รูปแบบในปลายป 2558 ทําใหประเทศ ไทยเปนประเทศทีม่ ยี ทุ ธศาสตรสาํ คัญ ในดานการขนสง ทีจ่ ะเชื�อมเสนทางไป ยังประเทศอื�น ๆ ในแถบภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต รวมถึงยักษ ใหญ อยางประเทศจีน ผนวกกับขอมูลสถิติ ซื้ อ -ขายรถเพื�อ การพาณิ ช ย ข อง นิตยสาร BUS & TRUCK Builder : East Asia ที่ระบุวา ประเทศไทยยัง ครองตําแหนงทํายอดซื้อ-ขายรถเพื�อ การพาณิชยเปนอันดับหนึ่งในภูมิภาค เอเชียตะวันออก ซึ่งมากกวาประเทศ เพื�อนบานอยาง อินโดนีเซีย สิงคโปร เวียดนาม ฟลิปปนส รวมถึงประเทศผู ผลิตรถอยางญี่ปุน หรือเกาหลีใต ซึ่ง ทางทีทีเอฟมองเห็นโอกาสในการทํา ตลาดจึงไดจัดงาน BUS & TRUCK ตอ เนื�องเปนปที่ 12 โดยมีวัตถุประสงค เพื�อเปนศูนยรวมเทคโนโลยีสําหรับรถ
เพื�อ การพาณิ ช ย และเป น เวที แ ลก เปลี่ ย นแนวคิ ด ทางธุ ร กิ จ ระหว า ง ผูผ ลิต-ผูจ ดั จําหนายยานยนต, ชิน้ สวน, อะไหล, อุปกรณติดตั้งตาง ๆ ของรถ เพื�อ การพาณิ ช ย รวมถึ ง ผู ป ระกอบ กิจการขนสง เรียกวาเปนการสราง โอกาสทางธุรกิจของตลาดรถเพื�อการ พาณิชยใหขยายกวางขึ้น นอกจากนี้ทางทีทีเอฟยังไดยก ระดับการจัดงาน BUS & TRUCK ให เทียบเทาการจัดงานแสดงสินคาระดับ นานาชาติ โดยล า สุ ด ทางสมาคม อุตสาหกรรมการจัดงานแสดงสินคา โลก หรื อ UFI ได ใ ห ก ารรั บ รอง มาตรฐานการจัดงาน BUS & TRUCK ใหเปน “UFI Approved Event” ซึ่ง เป น เครื�อ งยื น ยั น ได ว า งาน BUS & TRUCK คืองานแสดงสินคาชั้นนําใน อุตสาหกรรมยานยนต ที่พรอมเปด ประตู สู โ อกาสทางธุ ร กิ จ ในระดั บ ภูมิภาคอาเซียนอยางแทจริง” มารวมเรงพลังขับเคลื�อนธุรกิจ รถขนาดใหญ ข องประเทศเข า สู ยุ ค AEC พรอมกัน ในงาน BUS & TRUCK ’15 มอเตอรโชวเพื�อการพาณิชยและ กิจการพิเศษ ครัง้ ที่ 12 ภายใตแนวคิด Next Stop, AEC วันที่ 5-7 พฤศจิกายน 2558 นี้ ที่ ไบเทค กรุงเทพฯ
18 BUS&TRUCK • ASSOCIATION NEWS
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
คบหาสมาคม
สหพันธการขนสงทางบก แหงประเทศไทย
คุ ณ ชุ ม พล สายเชื้ อ เลขาธิการสหพันธการ ขนสงทางบกแหง ประเทศไทย เปดเผยวา หลังจากที่ ไดประชุมกับ บริษัท ลาว โลจิสติกส กรุป จํากัด ซึ่งเปนบริษัท เอกชนนําเขาและสงออกสินคาของ สปป.ลาว สรุปวาจะใหทางสหพันธฯ รั บ ผิ ด ชอบเจ า หน า ที่ ส ง สิ น ค า จาก สปป.ลาว มาสงใหกับลูกคาในเมือง ไทย พรอมทั้งมีหนาที่สงสินคาไปยัง ทาเรือแหลมฉบังอีกดวย โดยการขนสงสินคาในเมืองไทย นัน้ จะแบงปน 2 ประเภท คือใชรถใหญ ขนสงจากจุดเริ่มตนไปยังปลายทาง หรื อ ใช ก ารขนส ง ทางรถไฟ และ สมาคมขนสงทีอ่ ยูใ นภูมภิ าครับชวงตอ ในการสงสินคาถึงปลายทาง สําหรับจุดเริ่มตนที่ทําการขนสง ก็ จ ะอยู ที่ ห นองคายเพราะอยู ติ ด กั บ เมื อ งเวี ย งจั น ทน สปป.ลาว และ สมาคมขนสงสินคาภาคอีสานจะเปน ผูขนสงเริ่มตน ทําการกระจายสินคา สงตอไปยังสมาคมขนสงสินคาอื�น ๆ เพื�อใหถึงเปาหมายตอไป บริษัท ลาว โลจิสติกส กรุป จํากัด เปนผูน าํ เขาและ ส ง ออกรายใหญ ที่ สุ ด ใน สปป.ลาว เพราะมีบริษทั ทีน่ าํ เขาและสงออกกวา 30 บริษัทรวมทุนดวย ซึ่งการมารวม เปนพันธมิตรกันนั้นถือวามาถูกทาง แลวเพราะเมื�อทางสินคามาจับมือกับ ขนสงก็สามารถจะประสานงานตอกัน ได เ ลย ผิ ด กั บ ที่ ผ า นมาที่ ข นส ง กั บ ขนสงมารวมมือกัน ทําใหไมมคี วามคืบ หน า เพราะ ไม มี ต น ทาง และปลาย ทางนั่นเอง ระยะ เวลาในการ ดําเนินงานนัน้ คาดว า คงจะ เปนชวงปลาย ปนี้ ตอนนี้ ได มีวางขัน้ ตอนไวคราว ๆ แลว หากมีการ ประชุมสรุปกันอีก 2-3 ครั้งก็นาจะมี การดํ า เนิ น การได และเพื�อ ให ก าร ดําเนินงานสามารถผสานกันไดทั้ง 2 ฝาย ทางลาว โลจิสติกส กรุป ก็จะจัด สงคนฝมือดี เขามาฝกฝนเรียนรูงาน ในเมืองไทยกับทางสหพันธฯ สวนทาง สหพันธฯ เอง ก็จะรับหนาที่เปนที่ ปรึกษาการขนสงใน สปป.ลาว รวมทัง้ อาจจะมีการรวมทุนเพื�อดําเนินงาน โลจิสติกสใน สปป.ลาว ตอไปดวย
ในอดีตที่ผานมาการขนสงทางบก ได รั บ การยอมรั บ จากภาครั ฐ บาลน อ ย มาก เพราะยั ง ไม มี ก ารใช ป ระชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC อยางเต็ม ตัว มุงแตใหความสําคัญกับการขนสง ทางเรือและทางอากาศมากกวา ซึ่งตอง ใชเงินทุนเปนจํานวนมาก แตเมื�อมีการใช AEC โดยภาคเอกชนเปนผูด าํ เนินการเอง ก็สามารถมุงพัฒนาเศรษฐกิจได ในเวลา อันรวดเร็ว ไมตองรอพึ่งพาความชวย เหลือจากหนวยงานภาครัฐบาลเพราะจะ ทําใหการวางแผนตาง ๆ ตองลาชา หรือ อาจจะไมประสบผลสําเร็จเลย สําหรับสิ่งที่อยากเสนอแนะใหกับ หนาวยงานรัฐบาลใหปรับปรุงและแก ไข โดยดวน เพื�อใหการนําสินคาและรถใหญ ข า มชายแดนของแต ล ะประเทศใน อาเซียนไดอยางรวดเร็วนั้น ตองแกที่ ขัน้ ตอนตาง ๆ รวมทัง้ เอกสารไมใหสบั สน และเขาใจไดงาย เพื�อภาคเอกชนจะได ทํางานไดตามระยะเวลาทีว่ างแผนไวลว ง หนา
สมาคมขนสงทางบก แหงประเทศไทย
คุณกําพล เพชรกําแพง เลขาธิการสมาคมขนสง ทางบกแหงประเทศไทย กล า วว า เพื�อ เป น การ เตรียมความพรอมในการเปดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ทางคณะกรรมการ บริหารของสมาคมฯ จึงไดเดินทางไปที่ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เพื�อ ขามไปประชุมกับขนสงของ สปป.ลาว ที่ หวยทราย เนื้ อ หาการพู ด คุ ย เป น การแลก เ ป ลี่ ย น ค ว า ม เห็นตาง ๆ ใน เ รื�อ ง ก า ร นํ า สินคาของทั้ง 2 ฝายมาแลก เปลี่ยนกัน รวม ทั้งกระบวนการ ขนส ง ที่ จ ะใช เ ป น สื�อ ก ล า ง ด ว ย แต ทั้ ง นี้ คาดวาการขนสงทางภาคเหนือของไทย ทีอ่ ยูต ดิ กับทาง สปป.ลาว จะเริม่ มองเห็น เปนรูปรางในอีก 2 - 3 ปขางหนา เพราะ ปจจุบันนี้ยังมีปญหาอีกหลายเรื�องที่ทาง รัฐบาลตองแก ไข สวนปญหาหลักของสมาคมฯ ทีเ่ กิด ขึน้ ในปจจุบนั นี้ คือ บรรดาสมาชิกจะไมมี สินคาใหทาํ การขนสงในชวง 4 เดือนหนา ฝนนี้ เพราะสิ น ค า หลั ก ก็ คื อ พื ช ผล ทางการเกษตร ทีอ่ ยูร ะหวางการผลิต จึง ขอใหบรรดาสมาชิกใชจา ยอยางประหยัด
สํ า หรั บ สมาชิ ก ที่ มี ร ถใหญ ติ ด ไฟแนนซ หากไมมกี าํ ลังเงินจายได ก็ตอ ง พูดคุยปรึกษากับทางบริษทั ไฟแนนซเพื�อ หาทางออกในชวง 4 เดือนนีใ้ หได ซึง่ คาด ว า จะได รั บ ผลสรุ ป ที่ ดี เพราะคงไม มี ไฟแนนซที่ ไหนอยากยึดรถเกาไป เนื�อง จากนํ า ไปประมู ล ขายยาก เพราะผู ประกอบการขนสงที่มีความตองการรถ เกามือสองมีนอย
สมาคมพัฒนา รถรวมบริการเอกชน
คุณวิทยา เปรมจิตร นายกสมาคม พัฒนารถรวมบริการเอกชน กลาววา ใน อีกไมชานี้รถรวม ขสมก. ทั้งหมดก็ถึง คราวตองปดบริษัทไปและจะไมมีรถรวม ขสมก. จํานวนกวา 3,000 คันอีกตอไป ดวยทั้งภาครัฐบาลและบอรด ขสมก. ไม สนับสนุนใหบรรดารถรวมทํางานไดอีก เริ่มจากการใชเอ็นจีวีที่รถรวมทุก คันสามารถเติมไดเพียง 30,000 บาท ใน ราคาลิตรละ 10.50 บาท หากใชเกินกวา นั้นก็ตองเติมลิตรละ 13 บาทเทากับ ประชาชนทั่วไป ซึ่งเอ็นจีวีราคา 30,000 บาท ใชงานไดเพียง 20 วันเทานั้น อีก 10 วัน ตองใชราคาตลาด ถือวาไมคมุ เลย จึงไมสามารถใหบริการได เมื�อยื�นเรื�องไป ถึ ง รั ฐ บาลให ต อ อายุ อ อกไปอี ก เป น 60,000 บาท ในราคาลิตรละ 10.50 บาท พรอมผลกระทบตาง ๆ อยางละเอียด เรื�องก็หายเขากลีบเมฆไป สวนเรื�องที่ 2 คืออัตราคาโดยสาร ของรถรวมเอ็นจีวี ที่ทาง ขสมก. ปรับให เปน 9 บาท ตลอดสายนั้น ถือวาเปนการ โหดรายมากเพราะไมคุมกับเงินลงทุน เลย แถมยังถูกแยงผู โดยสารไปอีก ไมวา จะเปนรถเมลฟรี และรถเมลของ ข ส ม ก . ที่ มี ค า โดยสารถู ก กว า รวมถึ ง รถสอง แ ถ ว ที่ วิ่ ง ใ ห บริ ก ารบนถนน หลั ก อี ก คิ ด ค า บริการ 5 บาท ตลอดสาย เมื�อ เปนแบบนี้แลวจะมีผู โดยสารรายใดที่ ตองการนั่งรถที่แพงกวา ส ว นอี ก เรื�อ งหนึ่ ง ก็ คื อ รถร ว ม ขสมก. ถูกแยงคนขับรถไป ดวยรถทัวร และรถตู ดวยอัตราคาจางสูงกวาทําใหมี รถหลายคันที่ ไมสามารถวิ่งงานได ปจจุบันนี้ หากสังเกตใหดีรถรวม ขสมก. ทีต่ ดิ แอร คันสีเหลือง ไดถกู บริษทั ไฟแนนซยดึ ไปเกือบ 50% แลว เนื�องจาก ไมสามารถหารายไดมาจายไฟแนนซราย เดือนได พรอมทั้งคาดวาในอนาคตอัน
ใกลนี้รถรวม ขสมก. รายอื�นก็จะตอง ถูกไฟแนนซทยอยยึดไปเปนแน สําหรับผูท จี่ ะแกไขปญหาตาง ๆ ของรถร ว มได ก็ ยั ง มองไม เ ห็ น ใคร เพราะได ยื�น เรื�อ งไปทั้ ง ทางรั ฐ บาล คณะรักษาความสงบแหงชาติ หรือ คสช. กรมการขนสงทางบก และบอรด ของ สขมก.แลว ก็ยังไมไดรับความ สนใจแตอยางใดเลย
สมาคมผูประกอบการ รถขนสงทั่วไทย
คุณวสุเชษฐ โสภณเสถียร นายกสมาคม ผู ป ระกอบการรถ ขนส ง ทั่ ว ไทย เป ด เผยวา หลังจากทีท่ าง กทม. ได ใหบรรดารถทัวรที่วิ่งรับ-สงผู โดยสารที่เดินทางมาทองเที่ยว ไมวา จะเปนวัดพระแกวหรือสถานที่ทอง เที่ยวอื�น ๆ ที่อยูรอบสนามหลวง ตอง นําไปจอดทีส่ ถานีสายใตเกา ถือวาเปน เรื�องที่ดีเพราะชวยใหสภาพบานเมือง นามองกวาที่ผานมา เปนการกระตุน ใหนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและตาง ประเทศอยากมาเที่ยวเพิ่มมากขึ้น สวนสถานีหมอชิตเกานั้น ถือวา อยู ไ ม ห า งจากสนามหลวง ไม สิ้ น เปลืองนํ้ามันเชื้อเพลิงมากนัก พรอม ทั้งยังมีสถานที่ใหจอดรถเปนจํานวน มาก โดยสวนหนึง่ ไดแบงใหเปนทีจ่ อด ของรถตู และอีกสวนเปนทีจ่ อดของรถ โดยสารที่มาสงนักทองเที่ยวที่สนาม หลวงมีเฉลี่ยวันละ 500 คัน ซึ่งเพียง พอตอการจอดรถ ในการนํ า นั ก ท อ งเที่ ย วเยี่ ย ม แตละสถานที่ นั้น ทางไกด จ ะ เ ป น ผู กํ า หนดเวลา ไว เ รี ย บร อ ย แลว บางคันก็ 1 ชั่วโมง บาง คนก็ 2 ชัว่ โมง เมื�อ ทางคน ขั บ รู เ วลาที่ แนนอน ก็จะนํารถไปจอดที่สถานีสาย ใตเกา เมื�อใกลถึงเวลานัดก็จะนํารถ ออกมารอรับนักทองเที่ยวไดเลย และที่ สํ า คั ญ คื อ ทางบริ ษั ท ขนสง จํากัด หรือ บขส. เตรียมที่จะ ทําการเรียกเก็บคาที่จอดรถซึ่งอยูใน ชวงพิจารณาราคาที่เหมาะสม ซึ่งใน เรื�องนี้ตองมีหลักการและเหตุผลมาดู กันอยางละเอียดเพื�อผลประโยชนของ ทุกฝายจะไดเทาเทียมกัน
GOSSIP • BUS&TRUCK 19
ปกษืหลัง • มิถุนายน 2558
ชุมทางขนส่ง
สวั ส ดี ค รั บ เพื�อ นๆ สมาชิ ก นิตยสาร BUS & TRUCK ทุกทาน มา พบกันอีกแลวใน ฉบับที่ 272 ปกษหลัง เดือนมิถุนายน 2558 เปนอยางไรกัน บาง หวังวาทุกทานคงจะสบายดี ไมมี เรื�องหนักใจเทาไหรนัก ตอไปนี้จะมีทั้ง เรื�องที่มีสาระและไมมีสาระของวงการ ขนสงมาเลาใหฟงเพื�อที่จะไดเปนการ สรางสีสัน รูเขารูเรามากขึ้น ก อ นอื�น ขอเริ่ ม ด ว ยเรื�อ ง “แท็ ก ซี่ ” จะปรั บ ราคาขึ้ น อี ก โดย พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รัฐมนตรีวาการ กระทรวงคมนาคม ยืนยันชัดเจนแลววา จะปรั บ โครงสร า งราคาค า โดยสารรถ แท็กซี่ระยะที่ 2 โดยปรับเพิ่มคาโดยสาร อีก 5% จากกอนหนานี้ที่อนุมัติปรับเพิ่ม คาโดยสารแท็กซี่ระยะที่ 1 ในอัตรา 8% ขณะที่การปรับเพิ่มคาโดยสารระยะที่ 2 จะมีขึ้นในเดือน ก.ค.นี้ หลังครบกําหนด ระยะเวลาประเมิน 6 เดือน นับตัง้ แตการ ปรับเพิ่มคาโดยสารรถแท็กซี่ระยะที่ 1 เมื�อปลายเดือน ธ.ค. 2557 สําหรับการปรับคาธรรมเนียมการ ใหบริการแท็กซี่สนามบิน (เซอรชารจ) นัน้ หนวยงานทีเ่ กีย่ วของจะสรุปขอเสนอ มายังกระทรวงคมนาคม จากนั้นจะนํา เขาหารือกับ ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรีตอไป ซึ่งกอนหนานี้ คณะกรรมการทีพ่ จิ ารณาเรื�องนีท้ งั้ 3 ชุด คือคณะทํางานที่ศึกษาตนทุนแท็กซี่ การ ปรับเซอรชารจ และความพึงพอใจในการ ใหบริการ สรุปวาจะปรับคาเซอรชารจรถ แท็กซี่ปกติจาก 50 บาท เปน 75 บาท และรถแท็กซีข่ นาดใหญปรับจาก 50 บาท เปน 95 บาท แตมีแนวโนมคงไมไดปรับคาเซอร ชารจตามที่คณะทํางานเสนอมา คือ 75 บาท และ 95 บาท แตจะปรับนอยกวา อาจอยูท ี่ 60 และ 80 บาท แตสรุปสุดทาย ต อ งรอข อ มู ล ข อ เสนอจากทุ ก ฝ า ยที่ เกี่ยวของสรุปมากอน โดยจะทําใหเกิด ผลกระทบนอยที่สุด เนนไมใหประชาชน เดือดรอน เรื�องนี้ ทานนายกรัฐมนตรี “พล.อ. ประยุ ท ธ จั น ทร โ อชา” ระบุ ว า ค า ธรรมเนียมรถแท็กซี่สนามบิน หรือ คา เซอรชารจ ที่คิดจากผู โดยสารเพิ่มจาก ราคาจริง ผมเดินทางไปทั่วโลกยังไมเคย เห็นมีสนามบินที่ ไหนมีกฎระเบียบใหรถ แท็กซี่สนามบินคิดคาธรรมเนียมจากผู โดยสาร เพราะเปนหนาที่ของสนามบิน พาณิชยที่จะตองจัดใหมีบริการรถแท็กซี่ หรือรถโดยสาร เพื�ออํานวยความสะดวก สงผู โดยสารเขาเมือง ไมวาสนามบินจะ อยูไกลจากตัวเมืองแคไหนก็ตาม ประเทศที่เจริญแลว หรือประเทศ ที่ยังดอยพัฒนา เชน ฮองกง ญี่ปุน จีน หรือ กัมพูชา ก็ไมมกี ารเก็บคาธรรมเนียม
รถแท็กซี่สนามบินจากผู โดยสาร ก็มีแต สนามบินไทยแลนด นีแ่ หละ ทีม่ กี ฎบังคับ ใหผู โดยสารตองจายคาธรรมเนียมรถ แท็กซี่เพิ่มจากคาโดยสารปกติ บอยครั้ง ที่ ไมยอมเปดมิเตอรอีกตางหาก จะคิดใน ราคาเหมาแพงลิ่ว จนวันกอนมีนักทอง เที่ยวญี่ปุน โวยผานเฟซบุกเปนเรื�องราว ใหญโต แตเมื�อเหตุการณผา นไปแลว ทุก อยางก็เหมือนเดิม ยิ่งเปนสนามบินสุวรรณภูมิ และ สนามบิ น ดอนเมื อ ง ยิ่ ง ไม ค วรมี ค า ธรรมเนียมอะไรอีก สนามบินของการทา อากาศยานไทยทุ ก แห ง เก็ บ ค า ธรรม เนียมผูโดยสารเปนคาบริการใชสนามบิน ไปแลวคนละ 700 บาทตอคนทุกเทีย่ วบิน สนามบินยังมีรายไดจากคาบริการของ สายการบินอีกตางหาก ถือเปนหนาทีข่ อง สนามบินที่จะตองใหบริการผู โดยสาร ไมใชไปเก็บคาธรรมเนียมการใชรถแท็กซี่ สนามบินอีก ทั้งที่รถแท็กซี่ก็มีรายไดจาก คาโดยสารอยูแลว และในชวง 6 เดือน แรกของการปรับเพิ่มคาธรรมเนียม จะ ให บริ ษั ท ท า อากาศยานไทย จํ า กั ด (มหาชน) หรือ ทอท. รับภาระสวนตางที่ เพิ่ ม ขึ้ น ไปก อ น เพื�อ ไม ใ ห ก ระทบกั บ ประชาชน ตรงนี้ขอปรับมือรัว ๆ ที่ทาน นายกรัฐมนตรีรูจริง ยังไงก็ขอใหสู ๆ นะ ครับ
DEESTONE จัดกิจกรรมรวมแบงปนนํ้าใจสูสังคม
กลุมบริษัท ดีสโตน ผูสนับสนุนภาพยนตรเรื�อง Fast & Furious 7 จัดกิจกรรมรวม แบงปนนํ้าใจสูสังคมผานทางแฟนเพจดีสโตน เพื�อบริจาคสื�อการเรียนการสอนใหกับนอง ๆ มูลนิธิสรางสรรคเด็ก ดวยนโยบายที่ชัดเจนของผูบริหารกลุมบริษัท ดีสโตน ได ใหความสําคัญ กับอนาคตของเยาวชนไทยในเรื�องการพัฒนาดานการศึกษา จึงมอบหมายใหคณ ุ จิรภาส หิรญ ั วัชรพฤกษ ผูจัดการฝายการตลาด เปนตัวแทนผูบริหารไปมอบสื�อการเรียนการสอนใหกับผู แทนของ มูลนิธิฯ เมื�อวันที่ 29 พ.ค. ที่ผานมา ติดตามเรื�องราวดี ๆ ไดที่ www.deestone.com www.facebook.com/DeestoneTyre
อีซูซุมอบรางวัล สุดยอดนักวางแผนการตลาดระดับอุดมศึกษา
บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด มอบรางวัลการประกวดการวางแผนกลยุทธทางการ ตลาด โครงการ “Isuzu Marketing Brains Challenge” หรือ อีซูซุ...การตลาดรอบทิศ แนวคิดใหม เพื�อใหนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาได ใชเวทีในการแสดงออกดานความรูและ ไอเดียสรางสรรคทางการตลาดในแบบของคนรุน ใหม ตอเนื�องเปนปที่ 4 มูลคารวมทัง้ สิน้ กวา 1 ลานบาท โดยทีม 99 Production จาก มหาวิทยาลัยศิลปากร ควารางวัลชนะเลิศ พรอม รับเงินรางวัล 200,000 บาท
สะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ ไดรางวัลจาก JPCI ประเทศญี่ปุน
สุ ด ท า ยเรื�อ งแท็ ก ซี่ มาดู ก าร ประเมิ น คุ ณ ภาพผ า นแอพพลิ เ คชั่ น “DLT Check in” ของกรมการขนสง ทางบก ที่ปลอยใหประชาชนดาวนโหลด ไป มีคนดาวน โหลดกวา 30,000 ครั้ง (ระหวางวันที่ 2 กุมภาพันธ-29 พฤษภาคม 2558) โดยมีการประเมินคุณภาพ 12,022 ครัง้ ความพึงพอใจการใชบริการรถแท็กซี่ ลดลงจากสองเดือนแรก เหลือเพียงรอย ละ 62 จากรอยละ 70 และความพึงพอใจ การให บ ริ ก ารตํ่ า กว า เกณฑ ม าตรฐาน รอยละ 25 เทานั้น ตรงนี้กรมการขนสงฯ เตรียมเรียกผูประกอบการและผูขับรถ แท็กซี่ที่ตํ่ากวาเกณฑมาตรฐานมาสอบ สวนทุกราย พรอมสงตัวเขารับการอบรม เพื�อปรับทัศนคติและสรางจิตสํานึกการ ให บ ริ ก ารที่ ดี และได มี ก ารพั ก ใช ใ บ อนุญาตผูขับรถแท็กซี่ที่ถูกรองเรียนผาน
คุณดรุณ แสงฉาย อธิบดีกรมทางหลวงชนบท และคุณปฐม เฉลยวาเรศ ผูอํานวย การสํานักกอสรางสะพาน ใหการตอนรับผูแทนจาก Japan Prestressed Concrete Institute (JPCI) ซึ่งไดเขามอบรางวัล Outstanding prestressed concrete structure award ใหแกกรมทางหลวงชนบท เนื�องจากในป 2014 JPCI เปดโอกาสใหเสนอผลงานเพื�อ พิจารณาการใหคะแนน พิจารณาดานการบริการสถานะ การทํางาน เทคโนโลยี อินโนเวชั่น วิธกี ารทํางาน จึงทําใหสะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ (สะพานขามแมนาํ้ เจาพระยา บริเวณ ถนนนนทบุรี 1 อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี) ไดรับรางวัลดังกลาว
เปดตัวแรง! MOTOR EXPO 2015 บริษัทรถแหจองพื้นที่ สวนกระแสตลาด
“สื�อสากล” เปดจองพื้นที่ “มหกรรมยานยนต ครั้งที่ 32” หรือ MOTOR EXPO 2015 บริษัทรถยนต รถจักรยานยนต อุปกรณเกี่ยวเนื�อง รวมจองคับคั่ง มั่นใจมาตรฐานการ จัดงานระดับสากล สงสัญญาณอุตสาหกรรมยานยนต ไทยปลายปคึกคักแนนอน อยาพลาด.. งาน “มหกรรมยานยนต ครัง้ ที่ 32” ณ อาคารชาเลนเจอร 1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี ระหวาง วันที่ 2 - 13 ธันวาคม 2558 สามารถติดตามขาวสารงาน MOTOR EXPO 2015 ไดทาง http://www.motorexpo.co.th
20 BUS&TRUCK • GOSSIP
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
ชุมทางขนส่ง
แอพพลิเคชั่นและมีประวัติการกระทํา ความผิดซํา้ ซากแลว 11 ราย ซึง่ จะดําเนิน มาตรการลงโทษอยางตอเนื�องจริงจัง มาที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ บริหารกิจการ (บอรด) องคการขนสง มวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) มีมติอนุมัติ วงเงินจัดซื้อรถโดยสารใชกาซธรรมชาติ เปนเชื้อเพลิง (NGV) จํานวน 489 คัน วงเงิน 1,784.85 ลานบาท โดยมีการลง นามในสั ญ ญา กั บ กลุ ม บริ ษั ท ร ว มค า JVCC ที่มี บริษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน) เปนแกนนํา เปนผูชนะ ในการเสนอราคาทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (อี-ออคชั่น) ได หลังจากลงนามสัญญา ช.ทวีฯ จะตองสงมอบรถครบภายใน 90 วันโดยล็อตแรก จํานวน 50 คัน จะสง มอบภายในเดือนก.ค. 58 และจะทยอย สงมอบรถครบจํานวน 489 คันไดทนั กอน 90 วัน
สวนกรณีที่ บริษัท เบสทรินกรุป จํ า กั ด ได ยื�น หนั ง สื อ กรณี ถึ ง นายก รั ฐ มนตรี และหั ว หน า คสช.ว า การ ประมูลครัง้ นี้ ไมโปรงใส โดยจากทีข่ สมก. เปดประมูล มีบริษัทสนใจซื้อซองไปกวา 10 ราย ปรากฏวาเอกสารของทุกบริษัท ไมผานเงื�อนไข ขสมก. เปดประมูลครั้งที่ 2 เบสทรนิ กรุป ไดสง เอกสารรวมประมูล ปรากฏวา ไมผา นอีก จนมีการประมูลเปน ครั้งที่ 3 ซึ่งในครั้งนี้มี ช.ทวีฯ มารวมยื�น ดวย ซึ่ง ช.ทวีฯ ไมเคยยื�นใน 2 ครั้งแรก โดยผานคุณสมบัตมิ ารวมเสนอราคาผาน ระบบอี-ออคชั่น กับ เบสทริน กรุป ซึ่ง ปรากฏวา เบสทริน กรุป เสนอราคาสูง กวา ช.ทวีฯ เพียงไมกี่ลานบาท โดยตองการใหมกี ารตรวจสอบการ ประมูลครั้งนี้ โดยเฉพาะการเจรจาตอ รองราคาค า ซ อ มบํ า รุ ง ป ที่ 6-10 นั้ น ขสมก.ไมไดเปดโอกาสให ผูเ สนอราคาอีก รายเขารวมเจรจาตอรองทําใหการจัดซือ้ ไมโปรงใส ซึง่ อาจจะทําใหราคาจัดซือ้ ครัง้ นี้ ไมใชราคาที่ตํ่าสุด อีกทั้งผูชนะไดเสนอ วา จะดําเนินการประกอบรถโดยสารใน ประเทศ แตไดรบั ขอมูลยืนยันวาเปนการ นําเขารถสําเร็จรูปทัง้ คันจากตางประเทศ จากขอมูลทัง้ หมดอาจเปนเหตุใหเกิดการ หลีกเลีย่ งภาษีนาํ เขาได นอกจากนี้ ลาสุด
ทราบวามีคณะกรรมการที่แตงตั้งจาก คณะกรรมการตอตานการคอรรปั ชัน่ แหง ชาติ หรือ คตช.จํานวน 2 ทาน เปนนัก วิชาการดานขนสง เขามาสังเกตการณใน การประมู ล โครงการนี้ ล าออกไปแล ว เนื�องจากทนเห็นสภาพการประมูลที่ ไม โปรงใสไมไหว และไมอยากมีสวนรวมใน การกระทําความผิดดวย กรณีนี้ คุณสุทธิรตั น รัตนโชติ รอง ประธานคณะกรรมการบอรด คนที่ 1 เปนผูชี้แจงโดย ยืนยันวา ขสมก.ดําเนิน การประกวดราคาตามระเบียบวิธกี ารของ กรมบัญชีกลางทุกขั้นตอน ซึ่งกอนที่จะมี การเปดประกวดราคา กรมบัญชีกลางได แจงขัน้ ตอน ซึง่ ฝายบริหารก็ไดทาํ ตามขัน้ ตอนทุกอยาง สําหรับกรณีการเปดซอง ขอเสนอราคาคาซอมบํารุงเนื�องจากใช การประกวดวิธีพิเศษ ดังนั้นจะตองเปด ซองขอเสนอคาซอมบํารุงพรอมกันทั้ง สองราย ซึ่ ง เมื�อ เป ด แล ว ก็ ป รากฎว า ช.ทวีฯ เสนอราคาตํ่ากวา เบสทริน กรุป ทําให ช.ทวีฯ มีราคารวมทั้งตัวรถและคา ซอมบํารุงตํ่ากวา จึงชนะการประกวด ราคา ส ว นกรณี ก ารลาออกของผู สังเกตการณ นั้นเนื�องจากขบวนการราง ที โออารเสร็จสิ้นหมดภาระกิจก็ตองลา ออกตามขั้นตอน ยืนยันวาขบวนการจัด ซื้ อ รถเมล เ อ็ น จี วี จํ า นวน 489 คั น จะ สามารถเดินตอไปไดตามแผนที่กําหนด อยางไรก็ตาม ราคาคารถเมล NGV ที่ ช.ทวี เสนอตอคันที่ 3.55 ลานบาท ตํ่า กวาราคากลางประมาณคันละ 1 แสน บาท สวนคาซอมบํารุงปที่ 6-10 เสนอที่ 1,850 บาทตอคันตอวัน ขณะทีร่ าคากลาง กําหนดไวที่ 1,636 บาทตอคันตอวัน ซึ่ง ไดตอ รองลงมาเทากับราคากลาง คาซอม บํารุงรวมระยะ 5 ป ประมาณ 1,460 ลาน บาท ตองติดตามดูตอวาเหตุการณจะจบ ดวยดี หรือบานปลายตอไป
คุณชารค มิชเชล ประธาน ค า ยวอลโว ถื อ ได ว า เป น แหล ง ข า วที่ พรอมใหขอ มูลกับนักขาวตลอดเวลา ใคร
สังสัยเรื�องใดสามารถตอบไดหมด ยกเวน เรื�องที่ใหคาดการณวาป 58 นี้ จะขาย วอลโวไดกคี่ นั และขาย ยูดี ทรัคส ไดมาก นอยแคไหน ตองรอใหมีตัวเลขจริงออก มากอนจึงจะตอบได สวนเรื�องที่ไมมเี วลา วางใหสัมภาษณ ไดก็มาจากตองทํางาน อยางหนัก เพราะใกลจะถึงชวงพักรอน ตองพาภรรยาและลูกนอยอีก 3 คนไปพัก ผ อ นที่ ป ระเทศบ า นเกิ ด เมื อ งนอนคื อ ฝรัง่ เศส คนเราทํางานหนักก็ตอ งมีการไป พักผอนกันบาง เพื�อที่จะไดกลับมาสูกับ งานหนักอีกครั้ง เพราะทางโรงงานยัง สามารถประกอบรถใหญวอลโวและยูดี ทรัคส ไดอีกมาก ตองทําการขายให ได อยางเต็มที่ เพราะการขายและโรงงาน ผลิตตองเดินหนาไปดวยกัน “คุณตุกตา” หรือ คุณวิลาวัลย วิศปาแพว ผูจัดการฝายการตลาด ของคายวอลโว รูสึกดีใจเปนอยางมาก เพราะหลังจากไดรับตําแหนงใหมก็เพิ่ง จะมีโอกาสไดพบเจอกับนักขาวรถใหญ เสี ย ที มาคราวนี้ ไ ด เ ปลี่ ย นเวลาการ ทํางานแบบใหมจากเดิมที่ทํางานหนัก งานไมเสร็จไมยอมกลับบาน แตพอมี
“นองวินซ” ลูกชายสุดรักสุดโปรด ถึง เวลาเลิกงานก็รีบกลับบานเลยทันที
ตองขอชื�นชม “พี่เอ” หรือ คุณธนภัทร อินทวิพันธุ บอสสใหญของ คายฟูโซ ในขณะที่พาผูสื�อขาวรถใหญไป ชมโรงงานของเดมเลอรทปี่ ระเทศอินเดีย เพื�อใหไดชมประสิทธิภาพในการประกอบ รถใหญของคายเดมเลอรวา มีคุณภาพ
ปกษหลัง มิถุนายน 2558
สาว SONY
GOSSIP • BUS&TRUCK
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
ระดับสูงใชเครื�องมือทีท่ นั สมัย เพราะเมื�อ สงมายังเมืองไทยจะเปลีย่ นเปนยีห่ อ ฟูโซ ในระหวางที่พาเยี่ยมชมโรงงานนั้น ก็ให นักขาวพักที่โรงแรม 5 ดาวมีสิ่งอํานวย ความสะดวกทุกอยาง ตอนแรกผูสื�อขาว ก็บอกวาคุมคากับการเดินทางมาทํางาน แลว แตในระหวางขากลับ “พี่เอ” ก็ทํา หนาทีเ่ ปนผูด แู ลผูส ื�อขาวทานใดตองการ อะไรก็ไดรับความสะดวกทุกอยาง เรียก วาคืนที่เดินทางมาที่เมืองไทยแทบไมได หลับไมไดนอนกันเลยทีเดียว ผูสื�อขาวที่ เดินทางไปดวยในครั้งนี้ฝากขอบคุณมา อยางจริงใจครับ และตองขอแสดงความยินดีกบั “พี่ เอ” ดวย เพราะภายในระยะเวลาอันสั้น หลังจากเปดตัวรถโมปนู รุน ใหม FJ 2528 ก็มีทั้งยอดสงมอบและจองทะลักทะลน เลยทีเดียว จากเดิมที่ตั้งเปาไว 250 คัน นาจะใกลเคียงขึ้นทุกทีแลว โดยขณะสง มอบ หจก.ลําปางนิพนธบริการ, หจก.โนน คู ณ ค อ น ก รี ต , บ จ ก . เ พ ช ร อิ น ท รี ทรานสปอรต , บจก.หา แยกสุ ข ภั ณ ฑ , บจก.พีพเี อส คอนกรีต, บจก.นาวา ซีแพค และอีกมากมาย ขณะนี้ทั้งยอดจองและ ยอดสงมอบรวมทัง้ สิน้ 180 คัน สวนยอด สงมอบนั้น เทาที่ทราบมาเกินรอยคันไป แลว ถามองสวนแบงการตลาดในรถ ประเภทรถโมปนู นั้น จะอยูที่ 1,200 คัน ถาคิดเปน 25% ที่ ฟูโซ วางไวก็จะอยูที่ 300 คัน คาดปนี้ถึงเปาแนนอน สวน ดีลเลอรศักยภาพสูงอยางอุบลราชธานี นําโดงไปแลว ตามดวยสมุทรปราการ และขอนแกน โดย FJ2528 รุนนี้ถือวามี เสียงตอบรับแรงมาก เนื�องจากทัง้ โมและ รถบรรทุกมีศักยภาพสูงทั้งสิ้น จึงไมตอง แปลกวาทําไมผูป ระกอบการตางเลือกใช กัน ใครวาภาวะเศรษฐกิจตกแลว ยอดขายรถใหญตกตาม คายรถใหญจะ ไมมแี รงสูท าํ การตลาดตองขอแยงเพราะ ในการประชุมสัญจรของสมาคมขนสง ภาคอีสาน ที่จังหวัดอุบลราชธานี เมื�อ ตนเดือนพฤษภาคมที่ผานมา มีทั้งคาย ไอวีโก คายอีซซู ุ คานฮีโน คายวอลโว และ คายไซโนทรัค ตางยกขบวนไปออกบูธ แสดงกันหมด ถึงแมวาจะไมมีการวาง เปาการขายไวสําหรับในงานนี้ แตก็ยัง สรางความมั่นใจวา ยังอยูคูทําการตลาด ตอไป ไมวากลุมลูกคาจะตองการรถเมื�อ ใดก็จะสามารถรับรถไดทันที แมวายอดขายรถใหญ FAW จะไมคอยดีแต คุณชัยวัฒน ตั้งสุรกิจ ผู บ ริ ห ารหนุ ม ไฟแรงของค า ยเอเชี ย วี ฮิ เ คิ ล ก็ สู ทุ ก รู ป แบบในการเจาะทุ ก ตลาด ลาสุดประกอบรถมิกเซอรขนาด เล็ก 3-4 คิว ออกมา เพื�อใหลูกคาธุรกิจ กอสรางรายเล็กไดนําไปใช พรอมทั้ง มั่นใจประกาศลดยอดขายที่ ไดตั้งเปาไว
21
นิปปอนเพนต จัดสัมนารอบรูเรื่องสีพนซอมรถยนต
คุณแสนคม ไมจตุรัส (ที่ 2 จากซาย) ผูชวยผูจัดการแผนกเทคนิคบริการ บริษัท เอ็นพี ออโต รีฟนิช จํากัด ในเครือนิปปอนเพนต และ คุณกําพล เซียงหวอง (ที่ 3 จากซาย) เจาของบริษทั เอ็มแอนดบี โคทติง้ จํากัด จัดงานสัมมนา “นวัตกรรมสีพน รถยนตจากนิปปอน เพนต” เพื�อใหความรูเกี่ยวกับผลิตภัณฑสีพนรถยนตแนกซพรีมิลา 2K และเทคนิคการพนสี รถยนตในทุกขั้นตอนแบบมืออาชีพ แกรานคาตัวแทนจําหนายและชางพนสีรถยนต เพื�อเพิ่ม ทักษะและยกระดับฝมือของชางไทยกาวสูมาตรฐานสากล ณ โรงแรมรอยเกาะ จ.สุราษฎธานี
ตั้งแตตนปลงมา แหม! ทํางานหนักแบบ นี้ แลวชีวิตครอบครัวจะมีความสุขเหรอ เพราะไมมีเวลา แตคําตอบที่ ไดรับก็ตอง แปลกใจอยางมาก เพราะไมวาจะมีงาน ที่ ไ หน หรื อ ไปเที่ ย วที่ ใ ดก็ จ ะมี “คุ ณ เอมมี่” ภรรยาสุดที่รักไปดวยตลอด เปน กําลังใจที่ดี พรอมทั้งวางแผนวา ภายใน ปหนาจะตองมีนองออกมาใหอุมอยาง แนนอน ชักอยากเห็นเจาตัวนอยแลวสิ
มาสดานัดรวมพลสาวกมาสดา2 ทาพิสูจนเทคโนโลยีสกายแอคทีฟ
บริษัท มาสดา เซลส (ประเทศไทย) จํากัด เดินหนาจัดกิจกรรมเอาใจสาวกสายพันธุ สปอรตสรางความสัมพันธอันดีกับลูกคาอยางตอเนื�อง เพื�อกาวสูความเปนเลิศดานการบริการ หลังการขาย โดยนัดรวมพลคนรักมาสดา 2 สกายแอคทีฟ เขารวมกิจกรรมสุดเอ็กซคลูซฟี ภาย ใตชื�องาน “ALL NEW MAZDA2 SKYACTIV CHALLENGE” เชื�อมความสัมพันธอนั เหนีย่ ว แนนกับลูกคา เพื�อยกระดับแบรนดใหเปนทีร่ จู กั อยางแพรหลายมากยิง่ ขึน้ และทีส่ าํ คัญยังเปด โอกาสใหลูกคาไดมีโอกาสพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณการขับขี่และความประทับใจ หลังจากเปนเจาของรถยนตมาสดา
กองทุนฮอนดาเคียงขางไทย นําอาสาสมัครรวมพัฒนาแหลงนํ้าตามแนวพระราชดําริ
มี ก ระแสฝากมาถึ ง “เฮี ย ดอน” หรือ คุณสุขสมเกียรติ เสือกลิ่น ศักดิ์ ประธานคายไอวีโก หลังจากที่ ได บวชกทีป่ ระเทศเนปาลกอนทีจ่ ะเกิดแผน ดินไหวครั้งใหญ ก็รูสึกดีใจวาพระรักษา ทําใหเดินทางกลับมากอนที่จะเกิดวิกฤต ใหญ แตตอ งมาเจอภาวะเศรษฐกิจตกตํา่ ยอดจองทีล่ กู คาเตรียมจายเงินถูกยกเลิก จนมีรถแทบลนสต็อก ดอกเบีย้ ก็เริม่ เพิ่ม ขึ้ น โชคดี ที่ บ รรดาสมาชิ ก ของสมาคม ขนสงเห็นวาไอวีโกมีความเหมาะสมกับ การใชงาน เริ่มมีคําสั่งซื้อสมาคมขนสง ละ 10-20 คัน แบบนี้สินะ “คนดีตกนํ้า ไม ไหล ตกไฟไม ไหม” พระชวยรักษา ให สามารถอยูรอดได ตอจากนี้หากมีความ เคลื�อนไหวก็ชวยติดตอสงขาวคราวบาง นะครับ พบกันฉบับหนา สวัสดีครับ
กองทุนฮอนดาเคียงขางไทย ภายใตมลู นิธฮิ อนดาประเทศไทย ตระหนักถึงความสําคัญ ของการบริหารจัดการนํ้าเพื�อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกสวนรวม และแกปญหาภัยแลงและนํ้า หลากในพืน้ ทีท่ ปี่ ระสบภัย จึงไดประสานความรวมมือกับมูลนิธอิ ทุ กพัฒน ในพระบรมราชูปถัมภ ดําเนินงานโครงการพัฒนาแหลงนํา้ ตามแนวพระราชดําริ ดวยกิจกรรมสรางฝายหิน ปลูกหญา แฝกและพันธุ ไมทองถิ่น ณ อางหนองแสง ตําบลนาแขม อําเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี
เหมราชฯ และมูลนิธิหอการคาอเมริกัน จัดสอนภาษาอังกฤษใหครู
บริ ษั ท เหมราชพั ฒ นาที่ ดิ น จํ า กั ด (มหาชน) และมูล นิ ธิ ห อการคา อเมริ กั น ใน ประเทศไทย จัดอบรมหลักสูตรการฝกทักษะภาษาอังกฤษ ระยะเวลา 4 วันเต็ม ใหแกครูประถม ศึกษาจากโรงเรียน 15 แหง กวา 40 ทาน ในจังหวัดระยองและชลบุรี พัฒนาทักษะการสื�อสาร และการใชภาษาอังกฤษของคุณครู เพื�อสอนใหกับนักเรียนในชุมชน โดยมีคุณศิญาภัสร จันท ไชยโรจน (ที่ 3 จากขวา แถวหนา) ผูอ าํ นวยการฝายการตลาด และฝายลูกคาสัมพันธโครงการ อสังหาริมทรัพย บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จํากัด (มหาชน) และมร. แดเนียล คอรริแกน (ที่ 3 จากซายแถวนั่ง) ผูอํานวยการอาวุโส สถาบันภาษาอิงลิช โซลูชั่น รวมถายภาพหลังการ อบรม
22 BUS&TRUCK • VITSIT
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
แวะเวียน
ฟูโซ พาชมตนนํ้ารถบรรทุกรุนใหม DICV เดมเลอรยํ้าคุณภาพเหมือนกันทั่วโลก
ฟูโซ เชิญทัพสื่อสายรถใหญรวมชมโรงงาน เดมเลอร อินเดีย คอมเมอรเชี่ยล วีฮิเคิล หรือ (DICV) เมือง เจนไน ประเทศอินเดีย ซึ่งเปนโรงงานที่ประกอบรถแบรนด BharatBenz ที่จําหนายในประเทศและสงออก การเดิน ทางเยี่ยมชมในครั้งนี้ เพื่อจะใหเห็นถึงศักยภาพความพรอมและมาตรฐานของเดมเลอรเยอรมันที่กลาการันตีวา “โรงงานของเดมเลอรมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก”
คุ ณ ธนภั ท ร อิ น ทวิ พั น ธุ รอง ประธาน บริษทั ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด และเปนผูบ รรยายถึงความพรอม และกําลังการผลิตของโรงงานเดมเลอร อินเดีย คอมเมอรเชี่ยล วีฮิเคิล หรือ (DICV) ซึง่ เดมเลอร เอจี เยอรมันนี เปน ผูถือหุน 100% จึงไมตองกังวลแตอยาง ใดในเรื�อ งนโยบายและมาตรฐานการ
บริ ห ารงานด า นการผลิ ต เพราะทาง บริ ษั ท แม เ ป น ผู ค วบคุ ม ดู แ ลถื อ เป น บริษัทลูกของเดมเลอรเยอรมันนี จากการทีเ่ ลือกลงทุนสรางโรงงาน DICV ที่เมืองเจนไน ประเทศอินเดีย ดวยงบประมาณการลงทุนสูงถึง 47,000 ลานบาท และพื้นที่ใชสอยราว ๆ 1,000 ไร อันเนื�องมากทางภาครัฐบาลประเทศ อิ น เ ดี ย ไ ด ใ ห ก า ร ส นั บ ส นุ น ด า น
อุตสาหกรรมยานยนตภายในประเทศมาก ขึ้นใหเทียบเทาสินคาประเภทไอทีในขณะนี้ และพรอมใหการสนับสนุนเรื�องแรงงาน จึง เปนสาเหตุหลักใหเดมเลอรตัดสินใจลงทุน สรางโรงงาน DICV ที่นี่ ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยของ DICV จึงมีกําลังการผลิตมหาศาล เนื�องจากเปน โรงงานที่ มี ย อดการส ง ออกรถบรรทุ ก BharatBenz ทั้งสิ้น 14 ประเทศทั่วโลก สําหรับกําลังการประกอบนั้นในไลนเดียว 1 คัน จะใชเวลาเพียง 50 นาที เทานั้น โดย จะทําการผลิตได วันละ 50 คัน เดือนละ 1,500 คัน ตอป 18,000 คัน แตสําหรับ เดมเลอรอินเดียไดมีการวางแผนการผลิตที่ สู ง ขึ้ น เมื�อ ตลาดมี ค วามต อ งการสู ง ซึ่ ง สามารถขยายกําลังการผลิตไดถึงเดือนละ 4,000 คัน หรือ 48,000 คันตอป ในความ ยาวของไลนการผลิตกวาครึ่งกิโลเมตร นอกเหนือจากนัน้ ทางเดมเลอร ไดเปด ไลนการผลิตรถโดยสารเพิ่มขึ้นอีกโดยใชงบ ประมาณการลงทุนครั้งนี้จํานวน 11,000 ลานบาท พรอมกับเปดตัวรถบรรทุกและ โดยสารอีก 8 รุน เพื�อตอกยํ้าศักยภาพและ เทคโนโลยีดานการผลิตรถบรรทุกและรถ โดยสารของเดมเลอร โดยแบงเปน รถโรงเรียนที่รวมจับมือ กั บ บ ริ ษั ท ยั ก ษ ใ ห ญ ร ถ โ ด ย ส า ร จ า ก ไอรแลนดเหนือ โดยใชชื�อวา Wright จํานวน 3 รุน รถโดยสาร MercedezBenz 15 เมตร 1 รุน และรถบรรทุก BharatBenz 4 รุน
คุณธนภัทร กลาวอีกวา สําหรับรถ บรรทุกรุนใหมของทางฟูโซนั้น จะถูกนํา มาประกอบทีนใี่ นสองรุน รหัสคือ FI และ FZ ซึ่งรุนที่จะนําเข ามานั้นอย าง FZ 4928 ซึง่ เปนรถบรรทุกเมอรเซเดสเบนซ AXOR โดยไมมกี ารนํามา R&D วิจยั และ พัฒนาใหมแตอยางใด แตจะเปนการนํา มาเปลี่ ย นกระจั ง หน า และตี ต ราเป น FUSO ส ว นอี ก รุ น เป น การนํ า เข า มา ประกอบจากญี่ปุนคือ FI 1217 เปน CANTER รุนใหมจํานวน 2 รุน โดยทั้ง 3 รุ น นี้ จ อ เขา ไทยแนน อนและพร อ ม จําหนายเดือนสิงหาคมปนี้ สํ า หรั บ โรงงาน DICV ทาง เดมเลอรเยอรมันไดการรันตีแลววาเปน มาตรฐานเดี ย วกั น ทั่ ว โลก ซึ่ ง การพา สื�อมวลชนมาเยี่ยมชมความพรอมของ โรงงานในครั้งนี้ทางเดมเลอรอินเดียมี ความจริ ง จั ง มากที่ จ ะแสดงให เ ห็ น ว า มาตรฐานเดมเลอรนนั้ เหมือนกันทัว่ โลก และรถบรรทุกของฟูโซนั้นจะเปน “ฟูโซ เมด บาย เดมเลอร” ที่มีมาตรฐานสูง ดานการประกอบและคุณภาพเนื�องจาก โรงงานแหงนีม้ ขี นั้ ตอนในการตรวจสอบ 100% ทุกจุดไมวาจะเปนเครื�องยนตที่ ผานการทดสอบ การวัดขนาดของสวน ตาง ๆ โดยใชเลเซอร ตรวจสอบคุณภาพ หัวเกงเรื�องการผุกรอนดวยสารเคมี มี การตรวจสอบการรั่วซึมในสวนตาง ๆ ของรถที่ ไมใหนํ้าซึมเขาไปได ในระดับ การทดสอบแบบมรสุม ทางฟูโซ จึงกลาการันตีไดวารถ บรรทุกที่มาจากโรงงาน DICV อินเดีย มีคุณภาพสูงเทาเทียมกับการผลิตโดย มาตรฐานเดมเลอรทั่วโลก
24 BUS&TRUCK • SPECIAL REPORT
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
Special Report
ฟูโซ จอเขาไทย 6 รุน เสริมทัพปนี้ เดมเลอร เผยกลยุทธดันฟูโซขึ้น 25%
เมื่อเร็ว ๆ นี้ เดมเลอร ประเทศเยอรมนี เชิญผูบริหารและดีลเลอรพรอมลูกคาเขารวมงานเปดตัวรถบรรทุก และรถโดยสารรุน ใหม 8 รุน กับการเปดตัวอยางยิง ่ ใหญ ณ โรงงาน เดมเลอร อินเดีย คอมเมอรเชีย ่ ล วีฮเิ คิล (DICV) เมืองเจนไน ประเทศอินเดีย ซึง ่ โรงงานแหงนีจ ้ ะเปนศูนยกลางผลิตเพือ ่ จําหนายและสงออก รถบรรทุก BharatBenz และ บริษัท ฟูโซ ทรัคส (ประเทศไทย) จํากัด จะเปนผูจําหนายภายใตแบรนด FUSO ในประเทศไทย โดยทางเดมเลอร เยอรมนีพรอมสนับสนุนดานการขยายตลาดแบรนด FUSO ในประเทศไทยใหไดสวนแบงการตลาดเพิ่มมากขึ้นผุด กลยุทธ T425 โรดแมประยะยาวเพิ่มสินคา ฟูโซ ประเทศไทย จอนําเขาไทยรถบรรทุกรุนใหม 6 รุน การันตีโดย โรงงานเดมเลอร อินเดีย มาตรฐานเดียวกันทั่วโลก
วูฟ กัง เบิรนฮารด กรรมการ บริหาร เดมเลอร เอจี เยอรมนี ผูรับ ผิ ด ชอบสายงานรถบรรทุ ก และรถ โดยสาร กล า วว า กลยุ ท ธ T425 (Thailand for 25% Market Share) สํ า หรั บ เดมเลอร กั บ การเสริ ม ด า น โปรดั ก ส ใ หม เ ข า ไปเพื�อ ช ว ยกระตุ น ตลาดและความตองการของลูกคาตอ โปรดักส ฟูโซ ใหเพิม่ มากขึน้ ในประเทศ ไทย โดยตอจากนี้จะเพิ่มสวนแบงการ ตลาดของฟูโซ จากเดิม 5% ใหสูงขึ้น ถึง 25% เพื�อใหเปนไปตามกลยุทธ T425 อย า งเช น รถบรรทุ ก 6 ล อ CANTER รุนใหม ที่ทําการตลาดทั่ว โลกขณะนีส้ ามารถทํายอดขายไดสงู ถึง 60,000 คันตอป แตประเทศไทยยังไม ไดนําเขามาจําหนาย CANTER จึงจะ เปนโปรดักสอีกรุนที่จอเขามาทําการ
ตลาดในไทยปนี้อยางแนนอน ทางเดมเลอร ไ ด ม องเห็ น ความ สําคัญสําหรับตลาดทีม่ กี ารเติบโตในกลุม ตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต อยางใน ประเทศอินโดนีเซียสามารถสรางยอด ขายไดถึงปละ 2 หมื�นคัน สวนตลาดใน ประเทศไทยถึงแมวามีอัตราการเติบโต ขึ้นแตยังมีสวนแบงการตลาดเพียง 5% ของตลาดรวมภายในประเทศจึงใหความ สนใจและสนับสนุนเพื�อกระตุนยอดขาย ใหสูงขึ้นในอีกไมชา ยกตัวอยางของประเทศตุรกีสวน แบงการตลาดของรถเบนซเมื�อป 1982 ยอดขายตํ่ากวา 10 % จนถึงปจจุบันสวน แบงการตลาดอยูประมาณ 50% โดย กลยุทธการเพิม่ สินคาใหมเขาไปทําตลาด จะเปนกลยุทธทจี่ ะใชกบั ประเทศไทยเชน กันผานทาง ฟูโซ ประเทศไทย
เปาหมายหลักของทางเดมเลอรใน แตละตลาดจะตองไดสวนแบงการตลาด 25% เปนมาตรฐาน ซึง่ จะบริหารเปนราย ตลาดใหมีความชัดเจนมากขึ้นเมื�อมีบาง ตลาดที่ออนตัวลงก็จะใชกลยุทธเสริม สินคาเขาไปเพื�อใหมีสวนแบงสูงขึ้นสวน ตลาดไหนมีสว นแบงการตลาดทีด่ อี ยูแ ลว ก็จะคงความแข็งแกรงไวเชนเดิม โดยรถบรรทุกรุน ใหมทนี่ าํ เขา มาทํา ตลาดจะมี 2 สวนหลักที่เปนจุดเดน คือ 1.ขายสินคาที่ราคายอมเยาแตคุณภาพ สูง 2. เทคโนโลยีดานการประหยัดนํ้ามัน ที่เหนือกวา คุ ณ ธนภั ท ร อิ น ทวิ พั น ธุ รอง ประธาน บริษทั ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา เดมเลอร ไดทําการ เขียนแผนโรดแมปสําหรับประเทศไทย ภายใตกลยุทธ T425 ภายในป 2020 ประเทศไทยจะมีสวนแบงการตลาดเพิ่ม ขึ้นเปน 25% โดยภายใตกลยุทธดังกลาว นี้ทาง ฟูโซ ประเทศไทย จะตองเพิ่ม ความแข็ ง แกร ง 2 ส ว น ด ว ยกั น คื อ 1. ตองเพิม่ ดีลเลอรเน็ตเวิรค และเซอรวสิ เน็ตเวิรคให ได 35-40 จังหวัดหลักใน ประเทศไทย 2. เพิ่มโปรดักส ไลนอัพโดย จากเดิมนั้น 15 รุน จะเพิ่มอีก 17 รุน ให
SPECIAL REPORT • BUS&TRUCK 25
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
ประเทศอินโดนีเซีย ทางประเทศไทย สามารถทีจ่ ะเพิม่ ศักยภาพและยอดขาย ใหเพิม่ มากขึน้ ไดจงึ เห็นความสําคัญกับ ตลาดรถบรรทุกในประเทศไทย ซึ่งใน การเดินทางในครัง้ นีท้ าง ฟูโซ ประเทศ ไทยมองเห็นวาการที่จะใหลูกคาเชื�อใจ เรื�องคุณภาพรถฟูโซ ตองเชิญมาเยี่ยม ชมโรงงานผลิตรถของเดมเลอร อินเดีย วามีความจริงจังมากขนาดไหนเปนอีก กลยุ ท ธ เ พื�อ สร า งความเชื�อ มั่ น ในรถ บรรทุกฟูโซวามีคุณภาพสูง “เดมเลอร ที่ อิ น เดี ย นั้ น เป น มาตรฐานเดียวกันทั่วโลกโดยเดมเลอร ถือหุน100% ลูกคาไมตองกังวลเรื�อง คุณภาพดานการผลิตวารถบรรทุกฟูโซ ผลิตที่อินเดีย แตจะใหมองเปน “ฟูโซ เมด บาย เดมเลอร” ซึ่งทางเดมเลอร เองก็ไดการันตีไปแลววาเดมเลอร ไมวา จะอยู ที่ ไ หนก็ อ ยู ภ ายใต ม าตรฐาน เดียวกันทั่วโลก ไมวาจะเปนน็อตหรือ สกรู ยั ง เป น ดาวสามแฉก สิ่ ง อํ า นวย ความสะดวกตาง ๆ เหมือนกันหมดทุก อยางเปลี่ยนแคกระจังหนาเปน ฟูโซ เทานั้น”
ได 32 รุน ภายในป 2016 ซึง่ ถือวาการนํา เขารถบรรทุกรุน ใหมทงั้ หมดนีม้ กี ารปรับ เปลี่ยนแผนจากเดิม กําหนดไวที่สองป ขางหนา แตเลื�อนกําหนดการใหเร็วขึ้น เพื�อจะพรอมรองรับความตองการของ ลูกคาและตอบสนองตามแผนกลยุทธ T425 ที่ ไดดําเนินการแลวขณะนี้ สําหรับการเสริมรถบรรทุกรุนใหม เขาไปนั้นมีการเริ่มดําเนินการแลวโดยป นี้โปรดักสใหมอยาง FJ2528 ซึ่งเปนรถ มิกเซอรวางเปาไว 25% เชนเดียวกันกับ กลยุ ท ธ ดั ง กล า ว ถ า คิ ด แล ว ตลาดรถ มิ ก เซอร ใ นประเทศไทยโดยการคาด การณจะอยูท ี่ 1,200 คัน ถาคิดเปอรเซ็นต ที่วางไวก็อยูที่ 300 คัน ขณะนี้จําหนาย ไปแลว 80 คัน ยอดจองที่จอทยอยผาน ไฟแนนซอีก 150 คัน สวนแบงการตลาด
เฉพาะรถรุน FJ2528 ซึ่งเปนรถมิกเซอร จึงเปนไปได ไมยากตามกลยุทธที่วางเอา ไว และในเดือน ก.ค.จะมีสินคาซึ่งเปนรถ มิกเซอรขนาดเล็กขนาด 4 คิว เขามาทํา ตลาดปดยอดขายใหไดชัดเจนมากขึ้นอีก ดวย ในปนถี้ า นับรวมทัง้ หมดรถบรรทุก รุนใหมของฟูโซที่เขามาทําการตลาดใน ประเทศไทยที่พรอมจําหนายในวันที่ 14 สิงหาคม 2558 จะมีทั้งสิ้น 6 รุน ดวย กันไมวาจะเปน รถดัมพ 6 ลอ, รถคารโก 6 ลอ, รถมิกเซอร ขนาด 4 คิว, รถบรรทุก 10 ลอ, รถหัวลาก 10 ลอ 400 แรงมา และรถหัวลาก 10 ลอ 280 แรงมา คุ ณ ธนภั ท ร เผยอีกวา โรงงาน DICV จะทําการประกอบรถบรรทุกยี่หอ BharatBenz “บาแรดเบนซ” ถาจะให
เรียกอีกอยางก็คอื “ภารตะเบนซ” แตเมื�อ เขามาประเทศไทยจะเปนภายใตแบรนด FUSO โดยสินคาที่จะนํามาที่นี่จะมีรุน CANTER จากญี่ปุน และเมอรเซเดส เบ็นซรุน AXOR ซึ่งจะตีตราเปน FUSO เพื�อนําเขามายังประเทศไทยโดยจะไมมี การ R&D ทําการพัฒนาและวิจยั เพิม่ เติม แตจะเปนรถบรรทุกที่ ไดการยอมรับจาก ตลาดทั่ ว โลกว า เป น รถบรรทุ ก ที่ มี ประสิทธิภาพและคุณภาพเพียงแตเมื�อ สงออกจะเปนรถบรรทุก FUSO นั่นเอง ซึง่ สินคาในรุน ใหมดงั กลาวนีท้ างลูกคาจะ ไดสัมผัสรถบรรทุกคุณภาพอยางแทจริง สําหรับแนวคิดหลักของเดมเลอร กับโรงงาน DICV ทีป่ ระเทศอินเดียเมือง เจนไน นัน้ ตองมองวาตลาดในแถบนีม้ อี ยู 2 ตลาดหลั ก คื อ ประเทศไทยและ
สํ า หรั บ การตั้ ง โรงงานของ เดมเลอรที่ประเทศอินเดียทางรัฐบาล ใหการสนับสนุนอุตสาหกรรมรถยนต เปนอยางมากและดวยความพรอมของ เดมเลอรจึงตัดสินใจลงทุนโรงงานนี้ โดยจะมี ข อ ดี เ รื�อ งราคาขายที่ มี ก าร คํานวณใหเกิดประโยชนสงู สุดกับลูกคา และราคาขายจะถู ก กว า คู แ ข ง ใน เซกเมนเดียวกัน 5-10% โดยมีหลักการ คิดเพื�อใหลูกคา FUSO มีตนทุนคา ขนส ง รวม TCO (Total Cost of Ownership) ที่ตํ่าที่สุดคือ 1.ราคาที่คุม คากับเงินที่จาย 2. อัตราสิ้นเปลือง นํ้ามันที่ดีกวา 3. คาบํารุงรักษาตลอด อายุการใชงานที่ตํ่ากวา 4.ราคาขายตอ ที่สูงกวา โดยทั้งหมดนี้คือสิ่งที่ลูกคาจะ ไดจากการใชรถบรรทุก FUSO
26 BUS&TRUCK • LOGISTICS FOCUS
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
Logistics Focus
“เขตเศรษฐกิจพิเศษ”
ตองพัฒนาอยางไร? สรางประโยชนจริง ประเทศไทยกําลังเดินหนาการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone: SEZ) ตามที่คณะ กรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) เห็นชอบ โดยมีพื้นที่เปาหมายระยะที่ 1 และ 2 ใน 10 จังหวัด ชายแดน และมีการกําหนดอุตสาหกรรมเปาหมาย 13 สาขา สําหรับระยะที่ 1 ซึ่งสวนหนึ่งเปนอุตสาหกรรมที่ใช แรงงานเขมขน
ที ดี อ าร ไอ เสนอรั ฐ บาลวาง ยุ ท ธศาสตร ที่ ชั ด เจนในการพั ฒ นาเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ควรเนนตอยอด เปน “เขตนวัตกรรมพิเศษ” เพื�อยกระดับ การผลิตในประเทศ ดร.เสาวรัจ รัตนคําฟู นักวิชาการ อาวุโสทีดีอาร ไอ กลาววา การใชเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เปนเครื�องมือใน การยกระดับความสามารถในการแขงขัน และพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนนั้น เปน เรื�องทีด่ ี แตกม็ หี ลายอยางทีค่ วรปรับปรุง โดยจะเห็นไดวา รัฐบาลพยายามสงเสริม เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยการใหสทิ ธิ ประโยชนอยางเต็มที่ แต คําถามคือ การมีเขตพัฒนา เศรษฐกิ จ พิ เ ศษจะทํ า ให ป ระเทศไทย สามารถยกระดับความสามารถในการ แขงขันไดจริงหรือ เนื�องจาก เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษไมไดถูกออกแบบอยางมี ยุทธศาสตรที่ชัดเจนวา จะชวยเชื�อมโยง หวงโซคุณคา (value chain) ในประเทศ ไทยและประเทศเพื�อนบานใหหนุนเสริม กั น ได อ ย า งไร โดยประเทศไทยและ ประเทศเพื�อนบานควรหารือเพื�อพัฒนา รวมกัน “สิทธิประโยชนสูงสุดของภาครัฐที่ ใหแกกิจการเปาหมายซึ่งสวนหนึ่งอยูใน อุตสาหกรรมทีใ่ ชแรงงานเขมขน และการ อนุญาตใหใชแรงงานตางดาวไรฝม อื อาจ เปนการสงสัญญาณที่ไมสอดคลองกับเปา หมายของประเทศที่ตองการหลุดพันจาก กับดักประเทศรายไดปานกลาง ซึง่ จําเปน
ตองยกระดับความสามารถในการแขงขัน โดยเนนการผลิตที่มีมูลคาเพิ่มสูง เพราะจะ ทําใหผปู ระกอบการไทยไมมแี รงจูงใจในการ ปรั บ ตั ว ไปสู กิ จ กรรมที่ มี มู ล ค า เพิ่ ม สู ง ขึ้ น นอกจากนี้ การที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ถู ก ออกแบบมาเพื�อ ให แ ก ป ญ หาแรงงาน ตางดาว ก็จะไมสามารถตอบโจทยปญหา แรงงานต า งด า วได ตราบใดที่ น โยบาย แรงงานตางดาวในระดับชาติยังไมมีความ ชัดเจนและไมมีการบังคับใชกฎหมายอยาง จริงจัง” ในข อ เท็ จ จริ ง การใช เ ขตพั ฒ นา เศรษฐกิ จ พิ เ ศษเป น ฐานการผลิ ต ของ อุตสาหกรรมที่ใชแรงงานเขมขนนาจะไม ประสบความสําเร็จ เนื�องจากถึงอยางไร ประเทศไทยจะมีคาแรงที่สูงกวาประเทศ เพื�อนบานและการสงออกจากประเทศไทย จะไมไดสิทธิพิเศษทางการคา (GSP) ไปยัง ตลาดหลัก การศึ ก ษาของที ดี อ าร ไ อเกี่ ย วกั บ ตนทุนการผลิตเครื�องนุงหมในประเทศไทย ลาวและกัมพูชา พบวา ตนทุนการผลิตใน ไทยสูงกวาลาวและกัมพูชาถึงรอยละ 15 เนื�องจากตนทุนคาแรงในไทยสูงกวา และ ไทยไมไดสิทธิพิเศษทางการคา (GSP) จาก ประเทศคูคาหลัก เชน สหรัฐอเมริกา และ สหภาพยุโรป ดังนัน้ จะมีเพียงผูป ระกอบการ ที่ ผ ลิ ต เพื�อ ขายในประเทศที่ จ ะได รั บ สิ ท ธิ ประโยชน จ ากการตั้ ง อยู ใ นเขตพั ฒ นา เศรษฐกิจพิเศษ หากประเทศไทยตองการเพิ่มความ สามารถในการแข ง ขั น แทนที่ จ ะใช เ ขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเพื�อเนนการสงเสริม อุตสาหกรรมที่ใชแรงงานเขมขน ประเทศ ไทยควรใหความสําคัญกับการพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษเพื�อเปนฐานการผลิตสินคา และบริการที่มีมูลคาเพิ่มสูง ซึ่งหมายความ วา รัฐบาลควรแปลงเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษใหเปน “เขตนวัตกรรมพิเศษ” (Special Innovation Zone : SIZ) โดยเนนอุตสาหกรรม ที่อยูบนฐานความรู (knowledge-based sector) เชน ซอฟตแวร การออกแบบ การ วิ จั ย และพั ฒ นา โดยต อ งเน น แรงงานมี ทักษะสูงตางชาติ เชน โปรแกรมเมอร หรือ นักวิชาชีพตางชาติทํางานในไทยได โดยงาย แทนการใช แ รงงานทั ก ษะตํ่ า จากต า ง ประเทศ เปนตน อย า งไรก็ ต าม สิ่ ง ที่ ดี แ ละเป น ประโยชนซึ่งรัฐบาลควรดําเนินการตอไปคือ การให ค วามสํ า คั ญ กั บ การพั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดนในฐานะเปนประตู (gateway) สู ประเทศเพื�อ นบ า น โดยเข า ไปลงทุ น โครงสรางพื้นฐานที่สําคัญ เชน ถนน และ การปรับปรุงดานชายแดนใหมปี ระสิทธิภาพ มากขึ้นและสามารถรองรับการขนสงสินคา ผานแดนจํานวนมากได โดยแยกกันชัดเจน ระหวางดานตรวจคนเขาเมือง และดาน ตรวจสิ น ค า และการสร า งศู น ย บ ริ ก าร เบ็ดเสร็จเพื�ออํานวยความสะดวกทางการคา และการลงทุน ตลอดจน สงเสริมกิจกรรม ทางเศรษฐกิ จ ที่ ทํ า ให เ กิ ด มู ล ค า เพิ่ ม ทาง เศรษฐกิจแกประชาชนในทองถิน่ อยางยัง่ ยืน เชน การสงเสริมบริการทางการคาชายแดน ที่ สํ า คั ญ ด ว ยการจั ด ตั้ ง ศู น ย โ ลจิ ส ติ ก ส
กระจายสินคาเพื�อเชื�อมโยงการขนสง สินคาระหวางไทยและประเทศเพื�อน บานในพืน้ ทีท่ มี่ มี ลู คาการคาชายแดนสูง และการสงเสริมอุตสาหกรรมที่นําเขา วัตถุดบิ จากประเทศเพื�อนบานเพื�อนํามา แปรรูปเปนสินคาที่มีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น เพื�อใชประโยชนจากการลดอัตราภาษี สินคาเปนศูนยของประเทศเพื�อนบาน ภายในป 2561 จากการเปนประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเปน เพียงเครื�องมือในการบรรลุเปาหมาย ทางนโยบาย ดังนั้น ลําพังการมีเขต พั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษจึ ง ไม ส ามารถ ทดแทนการมีนโยบายอุตสาหกรรมและ นโยบายแรงงานที่ดีเพื�อทําใหประเทศ ไทยมีความสามารถในการแขงขันเพิ่ม ขึ้นได การจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษชายแดนจะไมประสบความสําเร็จ ในการยกระดั บ ความสามารถในการ แขงขันและทําใหเกิดการเชื�อมโยงกับ ประเทศเพื�อนบาน หากไมไดออกแบบ โดยมียุทธศาสตรที่ชัดเจน ที่ สํ า คั ญ เขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิเศษไมควรถูกใชเปนเครื�องมือในการ สงเสริมอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานเขม ข น เนื�อ งจากการดํ า เนิ น นโยบายดั ง กลาวจะทําใหประเทศไทยติดอยูก บั การ ผลิตทีม่ มี ลู คาเพิม่ ตํา่ สิง่ ทีร่ ฐั บาลควรทํา คื อ การส ง เสริ ม ให ย า ยการผลิ ต ที่ ใ ช แรงงานมากไปยังประเทศเพื�อนบานที่ มีคาแรงถูกกวา และยกระดับการผลิต ในไทยใหมีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น โดยการ สรางเขตนวัตกรรมพิเศษ (SIZ) ที่เนน การเปนฐานการผลิตสินคาและบริการที่ มีมูลคาเพิ่มสูง
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
MATERIAL HANDLING • BUS&TRUCK 27
Material Handling
ลิฟทยกของ Stacker และ Pallet Truck
ลิฟทยกของ Stacker และ Pallet Truck ภายใต แบรนดของ Back Bon ชวยยกและเคลื�อนยายสินคา ตาง ๆ ในคลังเก็บสินคาใหสะดวกยิง่ ขึน้ และจุดเดนสําคัญ ของ Pallet Truck แบรนด Back Bone คือการติดตัง้ เครื�อง ชั่งนํ้าหนักไวดวย ซึ่งจะชวยในการยกสินคาพรอมบอกนํ้า หนักของสินคาได ในขณะเดียวกัน บริษัท แมททีเรียล เวิลด จํากัด โทร.0-2501-6300
Micro Rack with Mezzanine floor System
สามารถขยายตอเติมในแนวตั้งเปน 2-3 ชั้น ซึ่งจะมีอุปกรณอื�น เขามาชวยเสริมเพิม่ เติม เชน บันได แผนปูทางเดินและราวกันตก ซึง่ ในแตละชองยังสามารถแบงความกวางของชองได โดยใชแผนกัน้ ชอง เปนอุปกรณเสริม ทําใหเกิดความสะดวกในการใชงานในการแบงชอง ใสสิ่งของตาง ๆ Micro Rack with Mezzanine floor System นี้ ทางลูกคาสามารถออกแบบเองหรือใหเจาหนาที่ Designer ของเรา เปนผูออกแบบให พรอมใหคําปรึกษา แนะนําและสามารถสั่งทําใหมี ลักษณะที่แตกตาง มีสีสันสวยงาม โดยขอดีของ Micro Rack with Mezzanine floor System คือ มีขนาดเล็กแตแข็งแรง ทนทาน อายุ การใชงานยาวนานถึง 5-10 ป (ขึ้นอยูกับการดูแลและใชงาน) บริษัท เอส.ซี. อินดัสทรี โปรดักส จํากัด โทร.0-2989-2700
อุปกรณเคลือ่ นยายรถยนต GOJAK อุปกรณเคลื�อนยายรถยนต GOJAK รุน 6200 (160.0395/7) ออกแบบมาสําหรับอุตสาหกรรมรถยนตโดยเฉพาะ สามารถชวย คุณยกและเคลื�อนยายรถที่มีขนาดหนายางกวาง 13 นิ้ว และสูง 36 นิ้ว มีลูกกลิ้งเหล็กเพลากวาง มีลอแข็งแรงทนทานขนาดเสน ผาศูนยกลาง 5 นิ้ว/4 นิ้ว อยางละ 2 ลอ เปนรุนที่แข็งแกรงที่สุด โดยสามารถรองรับนํ้าหนักสูงสุดถึง 2,820 กก. (4 ลอ) ไดอยาง รวดเร็วงายดาย โดยสอดแกน 2 ขางเขาไปที่ลอรถ ปรับใหเขากับ ขนาดลอ และกดคันโยกเพื�อยกลอใหลอยอยูบนแกน 2 ขางของ อุปกรณ เมื�อใสครบทัง้ 4 ลอ คุณก็สามารถเคลื�อนยายรถไปในทุก ทิศทาง (360 องศา) ไดอยางสะดวกสบาย รวดเร็ว และปลอดภัย บริษัท ศรีอนันตโชติ จํากัด โทร.09-1954-6961
ระบบลําเลียงแบบสายพาน
ระบบลําเลียงแบบสายพาน สามารถใชกับการลําเลียง ได ในแบบแนวนอน แนวลาดขึ้น แนวลาดลง หรือแนวตั้ง เหมาะกับงานลําเลียงกลองสินคาทัว่ ไป หรือสินคารูปแบบชนิด อื�น ๆ บริษัท เอส.เอ.บี.เอ็นจิเนียริ่ง แอนด เทคโนโลยี จํากัด โทร.08-9811-7843
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
28 BUS&TRUCK • LOGISTICS NEWS
Logistics News
“ไปรษณียไทยดิสตริบิวชั่น”
บริการครบวงจร มั่นใจผูนําขนสงอินโดจีน ป 62 บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด (ปณท) เปดบริษัทในเครือ “ไปรษณียไทยดิสทริบิวชั่น” (ปณท.ดบ.) เพิ่มศักยภาพ ใหบริการขนสงและกระจายสินคา รวมทั้งบริหารจัดการคลังสินคาครบวงจรตามมาตรฐานสากล เจาะกลุมลูกคา ภาครัฐบาล ธุรกิจเอกชน e-Commerce กลุมยาและเวชภัณฑ พรอมเปนทางเลือกที่สําคัญของธุรกิจโลจิสติกสใน ประเทศกลุมอินโดนจีนภายในป 2562
คุณปยะวัตร มหาเปารยะ รอง กรรมการผูจ ดั การใหญ อาวุโส รักษาการ ในตํ า แหน ง กรรมการผู จั ด การใหญ บริษทั ไปรษณีย ไทย จํากัด (ปณท) กลาว ถึงนโยบายในการจัดตั้งบริษัทในเครือวา ดวยประสบการณในการบริการไปรษณีย แกคนไทยมายาวนานกวา 130 ป ซึ่งจาก การขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางตอเนื�อง ในชวงทีผ่ า นมา และพฤติกรรมการซือ้ ขาย ผาน e-Commerce สงผลใหมีปริมาณ ความตองการใชบริการในกลุม ธุรกิจขนสง เพิม่ มากขึน้ ไปรษณีย ไทยจึงมีนโยบายใน การจัดตัง้ บริษทั ไปรษณียไทยดิสทริบวิ ชัน่ ขึ้น เพื�อกาวไปสูการใหบริการดานโลจิสติกสแบบครบวงจรเพื�อคนไทย ดาน คุณอานุสรา จิตตมิตรภาพ ประธานกรรมการ บริษัท ไปรษณีย ไทย ดิสทริบิวชั่น จํากัด กลาววา การเขามา ดําเนินธุรกิจขนสงและกระจายสินคาของ ไปรษณีย ไทยดิสทริบิวชั่นนั้น เชื�อวาจะมี โอกาสเติบโตไดเปนอยางดี และยังทําให การใหบริการของบริษัทแมคือไปรษณีย ไทยเองครบวงจรมากยิ่งขึ้น ดวยการให บริการแบบหนวยงานรัฐตอหนวยงานรัฐ (G2G) ธุรกิจตอธุรกิจ (B2B) และธุรกิจ ตอลูกคา (B2C) โดยมีกลุมลูกคาเปา หมาย คือ กลุมยาและเวชภัณฑ อุปกรณ
สื�อสาร อิเล็กทรอนิกสและไอที และกลุม เ ค รื�อ ง ใ ช ไ ฟ ฟ า ใ น ค รั ว เ รื อ น ก ลุ ม e-Commerce และ Mail order นอกจากนี้ ยังมีการใหบริการลูกคาผานหนวยไปรษณีย ไทยดิสทริบวิ ชัน่ ในลักษณะการขนสงสินคา แบบเหมาคัน การขนสงสินคาในรูปแบบ Milk Run, Consolidate สินคา วัตถุดิบจาก แหลงผลิต เชน การรับเสนหมี่จากจันทบุรี นํ้าผัดจากโคราช ไปสงโรงงานผูผลิตสินคา สําเร็จรูป และกระจายไปยังรานคา หรือ ตัวแทนจําหนายทั่วประเทศ และยังจะเนน การบริ ห ารจั ด การขนส ง ที่ สั ม พั น ธ กั น ระหวางเทีย่ วไปและเทีย่ วกลับ เพื�อชวยเพิม่ รายไดของไปรษณีย ไทยดิสทริบิวชั่น และ
สามารถลดตนทุนคาใชจายใหไปรษณีย ไทย ไดอีกทางหนึ่งดวย” คุณวรการ ศรีนวลนัด กรรมการผู จัดการ บริษัท ไปรษณีย ไทยดิสทริบิวชั่น จํากัด (ปณท.ดบ.) เปดเผยถึงการดําเนิน งานวา ไปรษณีย ไทยดิสทริบิวชั่น ตั้งเปา หมายสู ก ารเป น ผู ใ ห บ ริ ก ารขนส ง และ กระจายสิ น ค า แบบครบวงจร (Total Logistics Solution) ที่จะเปนผูขับเคลื�อน เศรษฐกิจที่สําคัญในภูมิภาคอินโดจีน เพื�อ ประโยชน แ ละสนั บ สนุ น นโยบายของ ประเทศไทยในการเปนศูนยกลางโลจิสติกส ตอไป พรอมใหบริการทางดานบริการคลัง สิ น ค า การจั ด เก็ บ รั ก ษาสิ น ค า ภายใต
โอกาสของประเทศไทย?
พัฒนาขนสงทางราง สูศูนยกลางอาเซียน
สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ จัดแถลงขาวงานประชุม วิชาการระบบขนสงทางรางแหงประเทศไทย ครั้งที่ 2 และเสวนาในหัวขอ”ประเทศไทยกับโอกาสและความทาทายใน การเปนศูนยกลางระบบขนสงทางรางแหงภูมิภาคอาเซียน”
โดยในการเสวนา “ประเทศไทยกับ โอกาสและความท า ทายในการเป น ศู น ย ก ลางระบบขนส ง ทางรางแห ง ภูมภิ าคอาเซียน” นักวิชาการแนะพัฒนา ระบบรางตองไมเพียงแคซื้อเทคโนโลยี ปลายนํ้า ตองเรงสรางวางแผนพัฒนา องคความรู ชี้แม ไทยเสียโอกาสไป 60 ป เชื�อมัน่ กลับมายืนได ขอเพียงเริม่ ตนอยาง จริงจังสนับสนุนการวิจัยและไมมองการ พัฒนาแยกสวน
ดร.รัฐภูมิ ปริชาตปรีชา ผูอ าํ นวยการ สถานวิจยั เพื�อความเปนเลิศดานนวัตกรรม ถนนและระบบราง มหาวิทยาลัยนเรศวร และประธานในการจัดงานประชุมวิชาการ กลาววา ประเทศไทยเปนประเทศที่มีความ พรอมทีส่ ดุ ประเทศหนึง่ ในภูมภิ าค เนื�องจาก มีความเหมาะสมดานที่ตั้งทําใหยุทธศาสตร การขนสงและโลจิสติกสของหลายประเทศ ตองพึง่ พาเรา มีแผนการลงทุนทีช่ ดั เจนดาน โครงสรางพื้นฐานทําใหเรามีขอไดเปรียบ
เพิม่ ขึน้ ในการดึงดูดประเทศมหาอํานาจดาน ระบบราง อยางไรก็ตามการวางแผนรองรับ ดานการพัฒนาเทคโนโลยีและองคความรูถ อื เปนเรื�องสําคัญ รวมทัง้ ประเทศไทยเองตอง ชัดเจนวา ในอนาคตเราจะไมเปนเพียงผูซื้อ เทคโนโลยีที่ปลายนํ้าเทานั้น ดาน ดร.จินยู ชอย ผูอํานวยการ สถาบันการวิจัยระบบรางเกาหลี (KRRI) กลาวถึงตําแหนงที่ตั้งประเทศไทยมีความ เหมาะสมที่จะเปนศูนยกลางในการสราง ทางเชื�อมโยง แตหากมีการนําเทคโนโลยี จากตางประเทศเขามาประเทศไทยจําเปนที่ ตองคํานึงถึง 4 สวน 1.การนําเทคโนโลยีตางประเทศเขา มาใชผรู บั ผิดชอบจะตองเขาไปมีสว นรวมใน การทํางานและเรียนรูการใชเทคโนโลยีนั้น 2 . ก า ร ส ร า ง บุ ค ล า ก ร ที่ มี ค ว า ม เชี่ยวชาญเรื�องระบบรางจะตองไมมีเพียง สถานที่เดียว แตตองมีหลายสถาบัน 3.จะต อ งมี ค วามรู ทุ ก อย า งอยู ใ น
มาตรฐานการควบคุ ม ที่ ต รงตามความ ตองการของผูรับบริการ การรับคําสั่งซื้อ การบรรจุ หี บ ห อ /การจ า หน า ถึ ง ผู รั บ ตลอดจนกระบวนการจัดสง และการกระ จายใหถึงมือผูรับ ที่ ไดมาตรฐานอยางมี คุณภาพตลอดทุกขั้นตอน ดวยระบบงาน ที่ น า เชื�อ ถื อ ประกอบด ว ย ระบบการ ควบคุ ม /การบริ ห ารจั ด การคลั ง สิ น ค า WMS-Warehouse Management System, ระบบการควบคุม ออกแบบ บริ ห ารจั ด การเส น ทางการขนส ง ด ว ย TMS-Transportation Management System การจัดการคําสั่งซื้อแบบ Real time และการควบคุ ม คุ ณ ภาพตาม มาตรฐาน GDP/GSP และ มาตรฐาน ISO เพื�อการสรางระบบงานแบบ Total Logistics Solution และ One stop Service ที่ ส ามารถให บ ริ ก ารในระดั บ World Class ตอไปในอนาคต อยางไร ก็ตาม ไปรษณีย ไทยดิสทริบวิ ชัน่ คาดหวัง วาจะมีรายไดจากการดําเนินงานไมตาํ่ กวา 400 ลานบาท และตั้งเปาเติบโตที่ 10% ของรายไดทั้งหมด
สถาบันเดียว การแยกความรูอื�น ๆ ออก ไปแยกยอยนั้นจะทําใหการทํางานเปนไป อยางลาชา 4. ตองมีการวางแผนลวงหนาและ ตองเริม่ วางแผนตัง้ แตวนั นี้ แมในอนาคต แผนยุทธศาสตรจะเปลี่ยนไปบาง แตก็ สามารถนํามาแก ไขบางสวนและดําเนิน กิจการตอไปได โดยไมมีความขัดของ ขณะที่ ดร.นคร จันทศร ที่ปรึกษา ผู อํ า น ว ย ก า ร สํ า นั ก ง า น พั ฒ น า วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาวถึงการจะพัฒนาระบบราง ของไทยอยางแทจริงนั้น ตองมองภาพ รวมร ว มกั บ อุ ต สาหกรรมให ไ ด เ หมื อ น อย า งประเทศเกาหลี ถึ ง จะสํ า เร็ จ และ เปนการทํางานแบบบูรณาการ แมตลอด ระยะเวลากวา 60 ป ที่ระบบราง ระบบ รถไฟไทยไมไดรับการพัฒนา แตก็ ไมใช อุปสรรค เพราะไมมีใครเริ่ม ดังนั้น วันนี้ ขอใหเราไดเริ่มตน ตั้งใจจริง คํานึงถึง ประโยชน ข องประเทศ มี ก ารวิ จั ย ที่ ดี อยางไรระบบรางตองพัฒนาไดแน ขอ เพียงมีการเริ่มตน สํ า หรั บ งานประชุ ม วิ ช าการด า น ระบบขนสงทางรางแหงประเทศไทยจะ จั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 26-28 สิ ง หาคม 2558 ณ จังหวัดพิษณุโลก
30 BUS&TRUCK • STATISTIC UPDATE
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
Startistic Update
สถิติจํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 รายงานจํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงและจํานวนผูประกอบ การขนสง ทั้งรถโดยสารและรถบรรทุกประจําเดือนพฤษภาคม 2558 โดยกลุม สถิติการขนสง กองแผนงาน กรมการขนสงทางบก ไดรายงานสถิติจํานวนใบ อนุญาตประกอบการขนสงไว เริม่ กันทีป่ ระเภทการขนสงรถโดยสาร มีจาํ นวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 39,205 ฉบับ จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 38,770 ฉบับ เพิ่มขึ้น 435 ฉบับ และมีจํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 36,179 ราย จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 35,761ราย เพิ่มขึ้น 418 ราย โดยแบงเปนรถโดยสารประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 5,920 ฉบับ จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 5,902 ฉบับ เพิ่ม ขึน้ 18 ฉบับ ดานจํานวนผูป ระกอบการขนสง มีจาํ นวน 2,924 ราย จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 2,924 ราย ยังคงที่เทาเดิม ในสวนของรถโดยสารไมประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 26,768 ฉบับ จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 26,358 ฉบับ เพิม่ ขึน้ 410 ฉบับ ดานจํานวนผูป ระกอบการขนสง มีจาํ นวน 26,768 ราย จากเดือน เมษายน อยูที่ จํานวน 26,358 ราย เพิ่มขึ้น 410 ราย ดานรถโดยสารสวนบุคคล จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวมทัง้ สิน้ จํานวน 6,462 ฉบับ จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 6,451 ฉบับ เพิ่มขึ้น 11 ฉบับ
ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 6,462 ราย จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 6,451 รายจากเดือนมีนาคม อยูที่ จํานวน 6,450 ราย เพิ่มขึ้น 11 ราย ทั้งนี้ ยังมีรถโดยสารขนาดเล็ก จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 55 ฉบับ จากเดือนเมษายน อยูที่ 59 ฉบับ ลดลง 4 ฉบับ โดยมี จํานวนผูประกอบการขนสง จํานวน 25 ราย จากเดือนเมษายน อยูที่ 28 ราย ลด ลง 3 ราย สวนประเภทขนสงรถบรรทุกนัน้ มีจาํ นวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 385,162 ฉบับ จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 385,265 ฉบับ ลด ลง 103 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 385,162 ราย จากเดือน เมษายน อยูที่ จํานวน 385,265 ราย ลดลง 103 ราย แบงเปนรถบรรทุกไมประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 18,721 ฉบับ จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 18,638 ฉบับ เพิ่มขึ้น 83 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 18,721 ราย จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 18,638 ราย เพิ่มขึ้น 83 ราย สวนรถบรรทุกสวนบุคคล จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 366,441 ฉบับ จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 366,627 ฉบับ ลดลง 186 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 366,441 ราย จากเดือนเมษายน อยูที่ จํานวน 366,627 ราย ลดลง 186 ราย
สถิติจํานวนใบอนุญาตประกอบการขนสง (สะสม) ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 ลักษณะรถ รถโดยสาร ประจําทาง • หมวด 1 • หมวด 2 • หมวด 3 • หมวด 4 • ประจําทางระหวางประเทศ รวม ไมประจําทาง • รถโดยสารไมประจําทาง • ไมประจําทางระหวางประเทศ รวม สวนบุคคล • รถโดยสารสวนบุคคล • สวนบุคคลระหวางประเทศ รวม โดยรถขนาดเล็ก รวมรถโดยสารทั้งสิ้น รถบรรทุก ไมประจําทาง • ไมประจําทาง • ไมประจําทางระหวางประเทศ รวม สวนบุคคล • สวนบุคคล • สวนบุคคลระหวางประเทศ รวม รวมรถบรรทุกทั้งสิ้น
จํานวนใบอนุญาต จํานวนใบอนุญาต ผูประกอบการ ผูประกอบการ ขนสง (ราย) ขนสง (ฉบับ) 2,960 617 204 529 1,596 14 5,920
1,464 185 1 321 956 1 2,924
26,409 359 26,768
26,409 359 26,768
6,458 4 6,462 55 39,205
4 6,462 25 36,179
17,710 1,011 18,721
18,721
366,285 156 366,441 385,162
156 366,441 -
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงรถโดยสาร
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงรถบรรทุก
32 BUS&TRUCK • TRANSPORTATION SERVICES
เทียบท่า
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
เอทีพี 30
มิติใหมรถ-รับสงพนักงาน
ธุรกิจใหบริการขนสงมวลชนจากแหลงทีพ ่ ก ั อาศัยในเขตชุมชนไปยังโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบ การ โดยเฉพาะรอบเขตนิคมอุตสาหกรรมในภาคตะวันออก (Eastern Seaboard) คงไมมีใครไมรูจัก บริษัท อมตะ ทรานสปอรต 30 จํากัด กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 ต.ค. 2548 และในป 2555 ไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท เอทีพี 30 คอรปอเรชั่น จํากัด กอนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชน หรือ บริษัท เอทีพี 30 จํากัด (มหาชน) (ATP30)
ของสถานี บ ริ ก ารที่ ค รอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศ หากมีเหตุไมชอบมาพากล ทางทีมงานของเชลลก็จะแจงมายัง บริษัท ซึ่งก็สามารถปองกันไดทัน
โอกาสนี้ ที ม ข า ว “BUS & TRUCK” จึงขอ “เทียบทา” บริษัท เอทีพี 30 จํากัด (มหาชน) (ATP30) โดยมี คุณปยะ เตชากูล กรรมการผู จั ด การ มาให ข อ มู ล ในเชิ ง ลึ ก ถึ ง ประเด็นตาง ๆ ไมวา จะเปนแผนบริหาร งาน การดําเนินงาน และการใหบริการ
บริษทั ดําเนินกิจการใหบริการแก บริษัทที่ตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรมใน เขตพื้นที่ภาคตะวันออก ไดแก จังหวัด ชลบุรี อาทิ นิคมอุตสาหกรรมเหมราช ชลบุ รี นิ ค มอุ ต สาหกรรมอมตะนคร นิ ค มอุ ต สาหกรรมป น ทอง นิ ค ม อุ ต สาหกรรมแหลมฉบั ง เป น ต น จังหวัดระยอง อาทิ นิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิรน ซีบอรด นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) เปนตน จังหวัดปราจีนบุรี อ า ทิ นิ ค ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ฮ เ ท ค กบินทรบุรี และ จังหวัดฉะเชิงเทรา อาทิ นิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว นิคม อุตสาหกรรมเกตเวย นิคมอุตสาหกรรม ที เอฟ ดี นิ ค มอุ ต สาหกรรม 304 อินดัสเตรียล ปารค 2 เปนตน และมี ลูกคาชั้นดีจํานวน 21 บริษัท และได วางแผนไววาจะเพิ่มลูกคาอีกปละ 2 รายเปนอยางนอย
วัตถุประสงคของการระดมทุน
เ พื�อ เ พิ่ ม จํ า น ว น ร ถ ข น ส ง พนั ก งาน ขยายธุ ร กิ จ -บริ ก ารให ครอบคลุ ม เขตพื้ น ที่ ภ าคตะวั น ออก ตลอดจนพัฒนาระบบบริหารจัดการ บุ ค ลากร ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ทํางานมากยิ่งขึ้น เพื�อกาวสูการเปน ผู นํ า บริ ก ารรถขนส ง พนั ก งานที่ มี
มาตรฐานด า นการบริ ก ารและความ ปลอดภัยสูงสุดของประเทศ ทั้งนี้ ธุรกิจรถขนสงพนักงานในเขต ภาคตะวันออกมีการขยายตัวเปนอยางมาก ตามการเพิ่มขึ้นของโรงงานอุตสาหกรรม การขยายกําลังการผลิต สงผลใหบคุ ลากร ในองคกรแตละแหงมีการปรับตัวเพิ่มขึ้น ตลอดจนความตองการที่เปลี่ยนไปของ กลุม ลูกคา โดยปจจุบนั รถขนสงพนักงานที่ มีมาตรฐานในการบริหารจัดการ มีความ ปลอดภัยสูง มีความตองการเพิ่มขึ้นจาก องคกรและโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ เนื�องจากหลายองคกรตระหนักถึงความ สําคัญของการดูแลพนักงานใหถึงพื้นที่ ทํางานอยางปลอดภัย ตรงเวลา เพื�อลด
ความสูญเสียในการดําเนินงาน “เชื�อวาแนวโนมธุรกิจของ ATP30 จะมีการขยายตัวไดอีกมาก ดวยกลยุทธ การดําเนินงานที่ดี ทั้งจากการรักษาฐาน ลูกคาเดิมจํานวน 21 รายใหมกี ารใชบริการ อยางตอเนื�อง การขยายฐานลูกคาใหม มี การพัฒนาระบบปฏิบัติการและมาตรฐาน บริการรับสงพนักงานอยางสมํา่ เสมอ เพื�อ ควบคุมตนทุน ลดการสูญเสีย อีกทั้งมีการ พัฒนาศักยภาพทีมงานดานการปฏิบตั กิ าร และผูขับขี่ให ไดมาตรฐาน เพื�อเสริมสราง ความพึงพอใจสูงสุดแกผู ใชบริการ”
ปจจุบันมีรถใหบริการกี่คัน
ปจจุบันบริษัทมีรถบัสและรถตู ให บริการมากกวา 120 คัน และยังมีรถผูรวม ใหบริการอีกกวา 100 คัน ภายใตการ บริหารจัดการของบริษทั ทัง้ นี้ ในการจัดหา รถบั ส เพื�อ การขนส ง บริ ษั ท ได ร ว มกั บ ผู จําหนายรถชั้นนําและโรงงานประกอบตัว ถังทําการออกแบบโครงสรางรถ บั ส ให มี ค วามปลอดภั ย และ สะดวกสบาย เหมาะสมกับการใช งานเพื�อการขนสงบุคลากรใหแก โรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ อีกทัง้ บริษัทยังไดนําระบบสารสนเทศ มาใชในการบริหารการเดินรถ จึง ทําใหสามารถควบคุมคาใชจาย และพฤติ ก รรมการขั บ ขี่ ข อง พนั ก งานขั บ รถ เส น ทางการ เดินรถ เวลาในการเดินรถ เพื�อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การเดิ น รถตลอดจนเพิ่ ม มาตรฐานการบริการและความ ปลอดภัยใหกับผู โดยสาร นอกจากนี้ บริษทั ยังเตรียม เพิ่มรถบัสใหบริการอีก 200 คัน ตามแผน 3 ป (2558-2560) โดย ปนี้กําหนดเพิ่ม 20 คัน สวนป 2559 จํานวน 30 คันและป 2560 อีก 30 คันเพื�อใหบริการอยาง ครอบคลุมมากขึ้น อยางไรก็ดี บริษัทไดวาง มาตรการป อ งกั น การทุ จ ริ ต ใน เรื�องการเติมนํ้ามัน จึงเลือกใช เชลลคารด ของบริษทั เชลลแหง ประเทศไทย จํากัด ทุกคัน ซึ่งก็ ชวยลดตนทุนใหกับบริษัทได และสามารถ ควบคุมการใชจายไดดีขึ้น ทั้งนี้ ยังมีความ สะดวกสบาย แถมยังปลอดภัยดวย เพราะ ทางเชลลมีความเชี่ยวชาญดานบัตรเติม นํ้ามันมานานกวา 50 ป และมีเครือขาย
กลุมลูกคาและกลุมเปาหมาย
ผลการดําเนินงานป 57
รายไดร วมของบริ ษั ท ป 2556 มูลคารวมเทากับ 2.6 ลานบาท ขณะที่ กําไรสุทธิในป 2556 เทากับ 6.04 ลาน บาท ป 2557 มูลคารวม 234 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้นคิดเปน 13.59% กําไรสุทธิ เทากับ 8.86 ลานบาท โดยมีกําไรเพิ่ม ขึ้น 46.69% สวนป 2558 นี้คาดวาราย ไดรวมจะเพิ่มขึ้นไมตํ่ากวา 10%
แผนการดําเนินงานในอนาคต
มี น โยบายลงทุ น ตั้ ง ศู น ย ซ อ ม บํ า รุ ง รถบั ส ขนาดใหญ ขึ้ น ในพื้ น ที่ จังหวัดชลบุรี เพื�อใหบริการผูประกอบ การรถบัสขนาดใหญในโซนภาคตะวัน ออกรู ป แบบครบวงจร เนื�อ งจาก ปจจุบนั แมวา บริษทั ผูผ ลิตรถยนตชนั้ นํา จะเปดใหบริการแลวก็ตาม แตก็ยังไม เพียงพอโดยอยูระหวางการหารือรวม กับผูประกอบการนําเขารถยนตยี่หอ ฮีโนและสแกนเนีย ตลอดจนนักลงทุน จากจีนรวมเปนพันธมิตรรุกธุรกิจให บริการดังกลาว ทั้ ง นี้ บริ ษั ท เล็ ง เห็ น ถึ ง โอกาส ของการใหบริการงานซอมบํารุงรถบัส ขนาดใหญ โดยเฉพาะเขตพื้นที่ภาค ตะวันออกนั้น ยังมี โอกาสขยายการ เติบโต ประกอบกับบริษัทมีพื้นที่และ ช า งซ อ มบํ า รุ ง ที่ มี ป ระสบการณ จึ ง พรอมรุกธุรกิจประเภทนี้
SET UP • BUS&TRUCK
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
33
ติดตั้งลําเลียง
ROBSTEB รุน Robin M1
คลองตัว สะดวกสบาย ปลอดภัย โฉบเฉี่ยวและทันสมัย จนกาวขึ้น เป น ผู นํ า ทางแฟชั่ น ด ว ยรู ป ลั ก ษณ ภายนอกที่สวยงามและนวัตกรรมการ ออกแบบ ที่ทันสมัย ทําใหรถ Robin กลายเป น จุ ด สนใจ ไม ว า จะอยู ที่ ไ หน ก็ตาม นํ้าหนักเบา และเคลื�อนที่ ไดอยาง อิสระ ดวยนํ้าหนักเพียง 18.5 กิโลกรัม ทําให Robin เปนพาหนะทีเ่ บาและพกพา สะดวก ด ว ยการควบคุ ม ที่ ช าญฉลาด สามารถเคลื�อ นที่ ไ ปได ทุ ก ทิ ศ ทางและ เลีย้ วไดทกุ องศา ทําใหเดินทางไปไดทกุ ที่ ไมวา จะอยูใ นชวงทีค่ บั แคบเพียงใดก็ตาม ปลอยสารคารบอนไดอ็อกไซดตํ่า และเป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม ด ว ย พลังงานจากแบตเตอรี่ลิเทียม Robin ใช เวลาชารตแบตเตอรี่เพียง 3 ชั่วโมงตอ ครั้ง สามารถเดินทางไดถึง 20 กิโลเมตร อีกทั้งยังใชพลังงานเพียง 0.03 RMB ตอ กิ โ ลเมตรเท า นั้ น ทํ า ให Robin เป น พาหนะที่ ไมปลอยมลพิษสูสิ่งแวดลอม สําหรับการเคลื�อนทีน่ นั้ ก็เพียงจับที่ คันบังคับและโนมตัวเอนไปขางหนาเพียง
การตรวจตราดู ง านคลั ง สิ น ค า ขนาดใหญ ถือเปนกิจวัตรประจําของผู บริหารบริษัท ความเมื�อยลาจึงเกิดขึ้น ไดงา ย “ติดตัง้ ลําเลียง” ฉบับนี้ จึงอยาก แนะนําใหรูจัก “รถสกูดเตอร ไฟฟา” ที่ สามารถขับเคลื�อนดูงานภายในโกดัง สินคาไดอยางคลองตัว สะดวกสบาย และปลอดภัย “รถสกูด เตอร ไฟฟา” ไดสรางสีสนั ในงาน “สถาปนิก ’15” จนมีผูสนใจ อยางลนหลาม โดยรถสกูดเตอร ไฟฟานี้ ชื�อวา ROBSTEP รุน Robin M1 มี ขนาดเล็ก 2 ลอ ที่นําเขาโดย บริษัท
รอบสเตป จํากัด แนนอนวา การเดินดูงานในโกดัง ใหญ ๆ นั้นผูบริหารอาจเกิดความเมื�อย ลาได ROBSTEP รุน Robin M1 จึงตอบ โจทยเรื�องความสะดวกสบายของการดู งาน ซึ่งจะชวยใหการเดินทางไปที่ไหน ๆ ไดอยางคลองตัว ดวยหลักการควบคุม สมดุ ล ของร า งกายในการเคลื�อ นที่ ประกอบกับรูปลักษณที่ทันสมัย รวมถึง การควบคุมทีส่ ะดวกและปลอดภัย ทําให Robin M1 คือหนึ่งในรถรุน Robin ที่มี นํา้ หนักเบา พกพาสะดวก และเคลื�อนไหว ไดดั่งใจ
เล็กนอยหรือถายนํ้าหนักไปดานหนาก็ สามารถเคลื�อนที่ ไปได ถาอยากจะใช ความเร็วขึ้นบางก็สามารถเอนตัวไปขาง เพิ่มอีกความเร็วก็จะเพิ่มขึ้น หรือชะลอ ความเร็วก็สามารถเอนตัวกลับเขามาอยู ในตําแหนงตรงก็สามารถอยูรถได หรือ เอนไปขางหลังก็จะถอยหลังไดเชนกัน สวนการบังคับเลี้ยวที่คันบังคับนั้น สามารถจั บ เอนไปซ า ยหรื อ ขวาเพื�อ ทําการเลี้ยวไดเลยโดยมีรัศมีบังคับเลี้ยว หมุนไดรอบตัว โดยแตละรุนมีรีโมทไว ปรับหรือปดเครื�องไดเพียงกดปุมเทานั้น สวนการชารจไฟนั้นทําการชารจแตละ ครั้ง 3-4 ชั่วโมง ใชกําลังไฟ 110-240 โวลต โดยแบตเตอรี่ทําจากลิเธี่ยม โดยลักษณะการใชงานสามารถพก พาไปขับได ในสวนสาธารณะหรือใชงาน ในสํานักงานก็ไดเนื�องจากมีความคลอง ตัวสูง หรืออาจจะนํามาใชสนามกอลฟ ก็ได หรืออาจจะนํามาขับชมสินคาในงาน แสดงสินคาตาง ๆ ที่มีพื้นที่กวางอยาง งาน “สถาปนิก” หรืองาน “BUS & TRUCK” ก็ได
34 BUS&TRUCK • LOGISTICS
Logistics
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558 ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
เกร็ดการจัดการโลจิสติกสในงาน HR. ผูเ ขียนไดมโี อกาสเขาไปเปนทีป ่ รึกษาบริษท ั ธุรกิจครอบครัวแหงหนึง ่ ซึง ่ กําลังมีปญ หารุมเราอยูห ลายประการ หลังจากผูบริหารประชุมรวมกันก็ไดลงมติกันวาจะตองนําทุกแผนก/ฝาย มาฝกอบรมใหเกิดการทํางานหรือการ สงตองานกันแบบไมสะดุด โดยฝายบุคคลและธุรการจะตองดําเนินกิจกรรมตาง ๆ เองทัง ้ หมดเพือ ่ เปนการประหยัด งบประมาณ โดยจะไมใหมีการดําเนินการแบบในอดีต คือ เมื่อมีความประสงคแบบนี้ ก็ใชวิธีการจัดหาบริษัทฝก อบรมจากภายนอก (Outsource) เขามาฝกอบรม
เมื�อฝายบุคคลและธุรการถูกให ดําเนินการทั้งหมดก็เลยนําเรื�องดัง กล า วเข า มาพู ด คุ ย ปรึ ก ษา โดย อธิบายวาในฝายของตนไมไดมคี นจบ การศึกษาทางดานนี้เลย มีทั้งคนจบ คอมพิวเตอรธุรกิจ การตลาด โลจิสติกส และบัญชี ซึ่งก็ไดแนะนําไปวา “ใหนําหลักการ Outsource มาใช ใน การดําเนินการแก ไขปญหา และที่ สําคัญคนทีจ่ บทางดานโลจิสติกสกน็ า จะมองภาพงานนี้ออก โดยจัดลําดับ กิจกรรมกอน-หลัง และอะไรที่เราไม ถนัด หากทําไปแลวเกิดความสูญเสีย หรือเสียหาย ไมตรงตามวัตถุประสงค ข อ ง บ ริ ษั ท ก็ ใ ห ดํ า เ นิ น ก า ร (Outsource) อีกทั้งงานบางอยางใน ทีมงานฝายบุคคลก็มีความสามารถ ทุกุ คน นนาจะมการประชุ าจะมีการประชุมุ ระดมความ คิ ด เห็ น เพื�อ ให ง านประสบความ สํ า เร็ จ ได ปรากฏว า ที ม งานฝ า ย บุคคลและธุรการดังกลาว ไดแบงงาน กั น ทํ า จนทุ ก อยา งลงตั ว จนประสบ ความสําเร็จ ทําใหฝายบริหารเกิด ความพึงพอใจเปนอยางมาก สําหรับเบือ้ งหลังความสําเร็จผผูู เขียนไดเขาไปพูดคุยสอบถาม กก็็พบ วา ททีีมฝฝายยบุบุคคคลและธุ ลและธุรกการ าร โโดยมี ดยมีี
การแบงงานเปน 4 สวน ซึ่งมีการดําเนิน การ ดังนี้ 1. ประชุมเรียกหัวหนาแผนก/ฝาย เขามาพู ระดมความคดเหนและให เข ามาพููดคุุยระดมความคิ ดเห็นและให บอกถึงสภาพปญหาที่เกิดขึ้นจะตองได รับการแก ไข รวมทั้งกําหนดวันเวลาที่ ตองการหรือสะดวกเขารวมอบรมสัมมนา 2. หาขอมููลวิทยากรมา 3 ราย โดย ติดตอนัดพบวิทยากรทัง้ 3 ราย ใหเขามา พู ด คุุ ย ถึึ ง ววัั ต ถุุ ป ระ ะ ส ง ค ปป ญ หหาในการ าในการ ระสงค ททํํางาน และสิ่งที่อยากจะไดจากการจัด อบรมครั้งนี้ ทีมงานลงมติวาวิิทยากร ทานใ ใดทีี่สามารถตอบโ โจทยในนการแก การแก ไข นใดที ามารถตอบโจทย
ปญหาดังกลาวไดดีที่สุด หลังจากนั้นก็ ตกลงวันเวลาในการที่จะจัดสัมมนา 3. ติดตอหาแหลงสถานที่ที่จะจัด สัมมนา โดยเลอกมา โดยเลือกมา 3 แหลง แหลง หลงจาก หลังจาก สมมนา นัน้ เดินทางไปสํารวจแหลงดังกลาว และ นําขอมูลดังกลาวลงมติวา จะเปนสถานที่ ใด 4. จัดทํางานเอกสารไมวาจะเปน หนังสือเชิญวิทยากร ปายไวนิล รถบัส เสอ้ื ทีทมี พนั พนกั งานของบริ งานขของบรษิ ทั แบบประเมิ แบบประเมนิ เสื ผลการสมั มนา การสรุปรายงานเปนรูป ผลการสั เลม ฯลฯ หลงั จากนั จากน้นั ก็กม็ าทํ าทาํ กํกาํ หนดการว หนดการวา หลั
แต ล ะช ว งควรจะมี กิ จ กรรมอะไร แทรกเพื�อใหเกิดความสามัคคี ความ คิดสรางสรรค และการแกไขปญหา อยางมีหลักการ โดยมีการกําหนด เกมสซึ่งจะมีรางวัลเปนสิ่งจูงใจให พนักงานเกิดความรวมมือในกิจกรรม ครั้งนี้ หากวิ เ คราะห จ ากกิ จ กรรม ต า ง ๆ ที่ ที ม งานฝ า ยบุ ค คลและ ธุรการไดดาํ เนินการมานัน้ จะเห็นได วา กิจกรรมดังกลาวนั้น คลายกับ กิ จ กรรมต า ง ๆ ของการจั ด การ โลจิสติกสที่ตองมีความตอเนื�องใน แตละขั้นตอนมีการสงผานการไหล ของขอมูล ซึ่งบางกิจกรรมสามารถ ทําไปพรอม ๆ กันได โดยไมตองรอ อีกกิจกรรมหนึ่ง ทั้ง ๆ ที่ทีมงานฝาย บุคคลและธุรการไมมีประสบการณ หรือความชํานาญดานนีเ้ ลย อยางไร ก็ดี เรื�องนี้ก็สอนใหเราไดรูวา หากมี ความรู ค วามเข า ใจในศาสตร ก าร จัดการทรัพยากรมนุษยกับศาสตร การจัดการโลจิสติกสนาํ มาผสมผสาน กั น ก็ ส ามารถดํ า เนิ น การต อ ไปได อยางมั่นใจ อีกทั้งยังสามารถพูดคุยุ กับฝายอื�น ๆ หรือฝายโลจิสติกส คลัง สินคา ขนสง ไดอยางเขาใจเพิ่มมาก ยิง่ ขึน้ โดยไมไดมองเพียงมุมเดียวแต การมองหลายมุ ม ก็ ทํ า ให ง านเกิ ด ความส ส ะดวกก ร ว ด เ ร็ ว แและเกิ ล ะ เ กิ ด กการ าร ความสะดวกรวดเร็ ปประสานงานกั ระสานงานกับฝายตาง ๆ ไดอยาง ลงตัวครับ
36 BUS&TRUCK • TEST & REPORT
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
Test & Report
สแกนเนีย เผยโฉยผูชนะเลิศสุดยอดนักขับในรายการ “สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น ไทยแลนด 2015” การแขงขันทักษะนักขับรถบรรทุกและรถโดยสารทีใ่ หญทส ี่ ด ุ ของไทย ชิงเงินและของรางวัลรวมมูลคากวา 1.9 ลาน บาท ยกระดับนักขับไทยสูมาตรฐานสากล
คอมเพททิชั่น ไทยแลนด 2015 รอบสุดทาย ทั้งประเภทรถบรรทุกและรถบัสโดยสาร โดยการจัดการแขงขัน สแกนเนีย ไดร เวอร คอมเพททิชั่น ไทยแลนด 2015 ไดรับ ความรวมมือในการจัดการแขงขันจากทุก ภาคสวน ทั้งภาครัฐ คือ กรมการขนสง ทางบก องคกรภาคเอกชน คือ สถาบันยาน ยนต องคกรทางสังคม คือ กองทุนงวงอยา ขับ ในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส
บริษทั สแกนเนีย สยาม จํากัด จับ มือภาครัฐและเอกชน พัฒนาพรอมยก ระดับนักขับรถบรรทุกและรถโดยสารไทย สูระดับมาตรฐานสากล เปดโอกาสใหนัก ขับรถบรรทุกและรถโดยสารสแกนเนียทัว่ ประเทศไดพสิ จู นฝม อื ดานทักษะการขับขี่ ในการแขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอม เพททิชั่น ไทยแลนด 2015 (Scania Driver Competitions Thailand 2015) การแขงขันทักษะนักขับรถบรรทุกและรถ โดยสารมืออาชีพที่ใหญที่สุดของไทยขึ้น ชิงเงินและของรางวัลรวมมูลคากวา 1.9 ลานบาท คุณมารติน นีลสัน ผูอํานวยการ ฝ า ยพั ฒ นาธุ ร กิ จ บริ ษั ท สแกนเนี ย สยาม จํากัด กลาวถึง การจัดการแขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น ไทย แลนด 2015 การแขงขันรายการนี้ถือ เปนการแขงขันทักษะนักขับรถบรรทุก และรถโดยสารมืออาชีพที่ใหญที่สุดของ ประเทศไทย โดยเปนสวนหนึ่งของการ แขงขันสแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชนั่ ที่สแกนเนีย สวีเดน จัดขึ้นทั่วโลก โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค ก ารจั ด การแข ง ขั น เพื� อ ตองการยกระดับความสามารถของผูมี อาชี พ ขั บ รถขนส ง พร อ มทั้ ง เป น การ พฒนาเพมทกษะการขบขใหแกนกขบรถ พัฒนาเพิ่มทักษะการขับขี่ใหแกนักขับรถ ขนสงมืออาชีพ จากการเริม่ ตนในป 2003 มีผู ใหความสนใจเขารวม 18,000 คน ถึง วันนี้เรามีนักขับสนใจเข สนใใจเขา รว มการแขง ขันั มากกวา 100,000 คน จากทั่วโลก การแขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร วอรร คอมเพททิ คอมเพททชิ ั่น ไทยแลนด ไทยแลนด 2015 2015 นอกจาก นอกกจาก
เปนการแขงขันเพื�อคนหาสุดยอดนักขับรถ ขนส ง มื อ อาชี พ ของไทยแล ว ยั ง ให ค วาม สําคัญตอการพัฒนาทักษะฝมือในการขับขี่ ใหแกนักขับนักขับไทยใหมีความสามารถ ทั ด เที ย มมาตรฐานนั ก ขั บ ระดั บ โลก ซึ่ ง สแกนเนีย มองวานักขับรถที่มีทักษะเปน หนึง่ ในปจจัยสําคัญของทัง้ ภาคอุตสาหกรรม ขนสงและโลจิสติกส ภาคธุรกิจขนสง และ ภาคสังคม นักขับมืออาชีพทีม่ คี วามสามารถ จะชวยใหการดําเนินการขนสงเปนไปอยาง มีประสิทธิภาพ ตรงเวลา ประหยัดเชือ้ เพลิง เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และที่สําคัญคือ สรางความปลอดภัยบนทองถนน ลดการสูญ เสียในชีวิตและทรัพยสินลงได คุณภูริวัทน รักอินทร ผูอํานวยการ ฝ า ยปฏิ บั ติ ก ารประจํ า ภู มิ ภ าค บริ ษั ท สแกนเนีย สยาม จํากัด กลาวถึงความ พิเศษของการจัดการแขงขัน สแกนเนีย ไดร เวอร คอมเพททิชั่น ไทยแลนด 2015 ครั้งนี้ วา การจัดการแขงขันฯ ครั้งนี้เปนครั้งที่ 3 ซึ่ง สแกนเนีย ตองการเพิ่มความเขมขนใน การแข ง ขั น ให ม ากขึ้ น ทั้ ง เรื� อ งของการ ทดสอบทีใ่ ชมาตรฐานเดียวกันกับ สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น ระดับโลก พรอมทั้ง ทุมงบการจัดการแขงขันกวา 10 ลานบาท จนมีผูสนใจเขาสมัครเขารวมการแขงขันถึง คนจากทั่วประเทศ โดยคดเลอกนก โดยคัดเลือกนัก 1,500 คนจากทวประเทศ ขับ 64 คนจากผูท่ผี านการทดสอบขอเขียน เขารวมทดสอบทักษะการขับขีจ่ ริงในรอบคัด เลืือก ณ ศศููนยยบรริิกาารร สสแกนเนี แกนเนีย จจัังหหวัวัด เชียงใหม ซึ่งเราได 16 นักขับฝมือดีเขารวม ชชิิงชชััยใในการแข นการแขงขขััน สสแกนเนี แกนเนีย ไไดร ดรเววอร อร
ราชนครินทร พันธมิตรทางธุรกิจ อยาง บริษัท สยามมิชลิน จํากัด และโรงเรียน สอนขับรถ ไอดี ไดรฟเวอร ซึ่งจากรอบ คัดเลือกที่ผานมาความนาสนใจของการ แขงขันครั้งนี้ คือ ความสามารถของนัก ขับรถขนสงไทยที่มีทักษะความสามารถ สูงขึ้น ครั้งนี้เราไดเห็นนักขับหนาใหมที่ มากความสามารถแตอายุนอยลง สวน หนึ่งเกิดขึ้นจากการฝกอบรม ความมี ระเบียบวินัย การเคารพกฎจราจร และ ความรับผิดชอบตอความปลอดภัยบน ทองถนน ซึ่งเปนสิ่งที่ สแกนเนีย เนนย้ํา ในการอบรมนักขับตลอดมา
ผูชนะเลิศการแขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น ไทยแลนด 2015
ประเภทรถบรรทุก
1. นายรุงทวีชัย สอนรอด บริษัท ทีเอ็นที เอ็กซเพรส เวิลด ไวด (ประเทศไทย) จํากัด 2. นายธวัชชัย พรหมนอย บริษัท ทีเอ็นที เอ็กซเพรส เวิลด ไวด (ประเทศไทย) จํากัด 3. นายเดชา ปนสุภา บริษัท ทรีทรานส (1995) จํากัด รองชนะเลิศ นายภัสภณ เย็นเหลือ บริษัท พงษระวี จํากัด
ประเภทรถบัสโดยสาร
1. นายวีระนัน อูอรุณ บริษัท เทพสมบัติ จํากัด 2. นายเฉลิมศักดิ์ อิสโม บริษัท ลิกไนททัวร จํากัด 3. นายสมทรง ยังมี หจก. ทรัพยเจริญ แทรเวล (2007) รองชนะเลิศ นายพนมพร ลุผล บริษัท เพชรประเสริฐ จํากัด
38 BUS&TRUCK • COVERS’ STORY
จากปก
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558 ตอจากหนา 1
รุกตลาด GPS Tracking ชิงสวนแบงเคก ทําธุรกิจดานนี้ตางก็เรงพัฒนาผลิตภัณฑ และระบบตาง ๆ มารองรับความตองการ ของผูใชใหครอบคลุมมากทีส่ ดุ เพื�อชิง่ สวน แบ ง ทางการตลาดให ม ากสุ ด เท า ที่ จ ะ ทําได
โกลบเทค ตั้งเปา เปนศูนยกลาง ASEAN Map เพื่อบริการทุกภาคธุรกิจ
คุณวิชัย แสงหิรัญวัฒนา ผูจัดการ ทั่วไป บริษัท โกลบเทค จํากัด กลาววา โดยรวมธุรกิจโตขึน้ 10-20% จากการขยาย ตลาดทั้งสองทิศทาง คือ ขยายตลาดไปยัง กลุม ลูกคาใหมในประเทศอาเซียน และการ เจาะตลาดเดิมโดยการพัฒนาผลิตภัณฑ และโซลูชนั่ ใหมใหสอดรับกับความตองการ ของผู ใ ช ง านเฉพาะกลุ ม จากป ที่ แ ล ว โกลบเทคไดเปดตัวผลิตภัณฑขอ มูลแผนที่ อาเซียน 10 ประเทศ ตลอดจนพัฒนา โซลู ชั่ น และบริ ก ารให ส อดคล อ งกั บ การ ขยายตลาด ดังนั้น เปาหมายของเราคือ การเปนศูนยกลางของ ASEAN Map เพื�อ ใหบริการกับทุกภาคธุรกิจ ในการชวยเพิ่ม ศักยภาพการขยายตลาดของคูคาอยาง แมนยําและมีประสิทธิภาพ ซึ่งกลุมเปา หมายเปนองคกรธุรกิจทั้งในประเทศไทย และตางประเทศ โดยปจจุบนั บริษทั มีลกู คา ตางประเทศที่ใชบริการระบบ NOSTRA Logistics แลว สําหรับป 2558 โกลบเทคพรอมนํา เสนอโซลูชั่น NOSTRA Logistics Mobile Tracking ซึ่งเปนระบบบริหารติดตามรถ และพนักงานไดจาก smartphone เหมาะ สําหรับการทํางานที่พนักงานจําเปนตอง ปฏิบัติงานภายนอกรถ โดยระบบจะสง ตําแหนงพิกดั จาก smartphone ไปยังศูนย ควบคุม พรอมทั้งมีฟงกชั่นบน NOSTRA Dispatcher application ที่ ติ ด ตั้ ง บน smartphone โดยโซลูชั่นนี้จะชวยตอบ โจทยธุรกิจที่มีการสงสินคากระจายไปยัง รานคาตาง ๆ ไดเปนอยางดี รวมถึงธุรกิจ เดลิเวอรีท่ พี่ นักงานจะตองออกไปสงสินคา ตามบาน โดยมีอปุ กรณ smartphone เปน เครื�องมือทีส่ ะดวกในการบันทึกขอมูลและ สามารถรั บ -ส ง ข อ มู ล อั พ เดทได แ บบ เรี ย ลไทม ลดเวลาการทํ า งานซํ้ า ซ อ น ประหยัดตนทุนคาใชจาย “ด า นการตลาดโกลบเทคมี แ ผน ขยายตลาดระบบ GPS Tracking ไปยังกลุม ธุรกิจทั้งในไทยและตางประเทศ ดวยเปา หมายในการรักษามาตรฐานของระบบและ การใหบริการ โดยจะเจาะกลุมลูกคาทั้ง ขนาดกลางและขนาดใหญ ดวยความที่ โกลบเทคเปนบริษัทผูนําดานการบริการ ขอมูลแผนที่อยางครบวงจร ดังนั้นการนํา
แผนที่ไปใชในระบบติดตามรถขนสง ลูกคา จะมั่นใจได ในขอมูลที่แมนยํา นอกจากนี้ หากลูกคาไมตองการระบบแบบมาตรฐาน ทีใ่ หบริการ บริษทั ฯยังมีความพรอมในการ พัฒนาปรับแตงระบบเพิ่มเติมเพื�อใหตรง กับรูปแบบการทํางานและความตองการ ของลูกคาเฉพาะ และบริษัทฯยังมีความ ชํานาญในการนําเอา GIS หรือ ระบบการ วิเคราะหขอ มูลเชิงแผนที่ ไปใชประยุกตใน ธุ ร กิ จ จึ ง ทํ า ให ลู ก ค า สามารถนํ า เอา เทคโนโลยีของบริษทั ฯไปใชงานไดทงั้ ระบบ อยางครบวงจรการบริหารธุรกิจ” ส ว นการเป ด ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน หรือ AEC ในปลายปนี้ บริษัทฯมี บริการขอมูลแผนทีใ่ น 10 ประเทศอาเซียน และพัฒนาอุปกรณ ระบบใหรองรับการ ทํางานขามประเทศได และเนื�องจากระบบ NOSTRA Logistics เปนระบบคลาวด ทําให โปรแกรมและระบบสามารถนําไปใช ที่ไหนก็ไดตลอดเวลา 24x7 สะดวกและงาย โดยไมตอ งมีการติดตัง้ ซอฟตแวรบนเครื�อง คอมพิ ว เตอร ใ ด ๆ จึ ง มั่ น ใจว า จะช ว ย สนับสนุนทุกธุรกิจขยายตลาดไปสู AEC ได เปนอยางดี “การเลื อ กบริ ก ารจากผู ใ ห บ ริ ก าร ระบบ GPS Tracking นอกจากจะพิจารณา จากราคาของอุปกรณติดตามและระบบ แลว ผูซื้อควรจะพิจารณาคุณภาพของ อุปกรณและระบบ เชน อุปกรณทใี่ ชตดิ ตัง้ ในรถควรจะไดรับมาตรฐานและผานการ ตรวจสอบคุณภาพมาอยางดี ขอมูลแผนที่ ที่ใช ในระบบติดตามมีความถูกตองนาเชื�อ ถือ ระบบทํางานไดครบตามความตองการ ใชงาน นอกจากนี้ ควรจะมีทีมงานพัฒนา ขอมูลและระบบใหทนั สมัยและตอบสนอง การใชงานใหม ๆ ตลอดเวลา มีทีมงานที่ ใหบริการแนะนํา ตอบคําถาม หรือแก ปญหาใหอยางรวดเร็วเพื�อใหทา นมัน่ ใจใน การใช ง าน และที่ สํ า คั ญ ระบบจะต อ ง สามารถขยายและตอยอดเพื�อใหรองรับ การเติบโตและความตองการทีเ่ พิม่ ขึน้ ของ ธุรกิจในอนาคต”
ฟอรท แทร็คกิ้ง เนนพัฒนา ผลิตภัณฑตอบความตองการ ลูกคามากสุด
คุ ณ ชาญเรื อ ง เหลื อ งนิ มิ ต รมาศ Sales Director บริษัท ฟอรท แทร็คกิ้ง ซีสเต็ม จํากัด กลาววา ธุรกิจของฟอรท แทร็คกิ้งเติบโตขึ้นพอสมควรตามสภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งปจจัยหลักที่สง ผลทําใหเกิดการเติบโตของธุรกิจเนื�องจาก การผลิตสินคารุนใหม ๆ คือ FTS3G และ FTS3GS ที่ ส ามารถตอบสนองความ ตองการของลูกคาไดมากขึน้ และในปนตี้ งั้
เปาการเติบโตไว 20% เพราะมีสินคาตัว ใหมทอี่ อกสูต ลาดและมีระบบรายงานแบบ ใหม ที่ ส ามารถสรุ ป การใช ง านให ง า ย สําหรับการตรวจสอบโดยเฉพาะกลุมการ ใชงานที่เปน Fleet ใหญ ๆ ทําใหประหยัด เวลาและการเขาถึงขอมูลทีส่ าํ คัญไดอยาง ครอบคลุม ในเรื�อ งของการบริ ก าร ฟอร ท แทร็คกิง้ เนนการใหบริการ และการเขาถึง ขอมูลที่รวดเร็ว โดยใหความสําคัญเรื�อง ความปลอดภัยของขอมูลลูกคา ซึ่งฟอรท แทร็คกิ้งลงทุนไปกับ Data Center เพื�อ ใหเกิดเสถียรภาพความเร็วสูงทําใหลูกคา สามารถเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็ว ไม ตองกังวลในเรื�องของความปลอดภัยซึ่ง ทางบริษทั ฯเปนผูด แู ลใหทงั้ สิน้ และปนยี้ งั มีนวัตกรรมใหมคือ ระบบ 3G Tracking ที่ สามารถเชื�อมตอกับอุปกรณเสริมตาง ๆ ได หลากหลายตามกลุมธุรกิจของลูกคา ซึ่ง เนนเรื�องของประโยชนทลี่ กู คาจะไดรบั เปน สําคัญ เชน การใชงานตัวรายงานสรุป จะ เนนในสวนที่สําคัญและทําใหเขาใจงาย สําหรับผูบ ริหารในการตรวจสอบขอมูลการ ใชงานตาง ๆ เพื�อใหงายตอการตัดสินใจ ทําใหประหยัดเวลา “ดานการตลาด เราเนนการตลาด เปน 2 สวนใหญ ๆ คือ กลุมตลาดที่เปน แบบเฉพาะ ทาง Fleet Management เรา ปรับปรุงระบบใหผูที่ดูแลและควบคุมรถ จํานวนมากสามารถใชงานไดงายขึ้น และ กลุมผู ใชที่เปน SMEs รายยอยทั่วไป เรา เนนในเรื�องของการใชงาน Software ที่ สะดวกรวดเร็วผานทาง Website หรือ Web Applications นอกจากนี้เรายังมี ศู น ย ก ลางข อ มู ล ที่ ใ ห บ ริ ก ารอยู ภ ายใต ระบบ Data Center ที่ ไดมาตราฐานมี เสถี ย รภาพในการเก็ บ ข อ มู ล ได อ ย า ง ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง ลูกคาจึง มันใจในผลิตภัณฑและบริการของเราได เปนอยางดี” “การเลือกใชงาน GPS Tracking กอนตัดสินใจซื้ออุปกรณลูกคาควรศึกษา ข อ มู ล และพิ จ ารณาในหลาย ๆ เรื�อ ง ดวย เชน มี โรงงานผลิตเปนของตัวเอง และไดรบั รองมาตราฐานการผลิต ISO มี การใชงานโปรแกรมที่สะดวกรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ มีชอ งสัญญาณเฉพาะผูใช งานระบบ Tracking มี ศู น ย ข อ มู ล ที่ ปลอดภัยไดมาตราฐาน ผลิตภัณฑควรได รับการรับรองจาก กสทช.”
อีสทอนิ โนเวชั่น พัฒนาระบบ แบบเจาะจงแตละธุรกิจ เพื่อขยายกลุมลูกคา
คุณโอฬาร กลองชิต ผูอํานวยการ
สายพัฒนาธุรกิจ บริษัท อีสทอินโนเวชั่น จํากัด กลาววา ในปนี้เราวางแผนเติบโต ราว 20-30% จากสินคารุน ใหม และบริการ ใหม ทั้งในสวนของอุปกรณพกพา ความ สามารถรองรับ 3G ทุกเครือขาย การ บันทึกภาพ และระบบ VDO ออนไลน และ ความสามารถของซอฟตแวรในการบริหาร งานรถไดงายขึ้น โดยอีสทอินโนเวชั่นเปน เจ า เดี ย วในตลาดที่ ต อกยํ้ า ในเรื�อ งของ ความเสถียรของระบบและอุปกรณในการ ใหบริการ โดยระบบแทบไมมีปญหาเลย และมีการพัฒนามาอยางตอเนื�องยาวนาน จึงเปนสวนหนึ่งใหลูกคาหลายรายเปลี่ยน มาใชอีสทอินโนเวชั่น “เรามี บ ริ ก ารติ ด ตามข อ มู ล พร อ ม ระบบโปรแกรมที่ใชงานงาย และมีการ พัฒนาการจัดการขอมูลอยูตลอดเวลา จน เปนสวนหนึงที่ทําใหลูกคารับรูและบอก ตอ ๆ กัน พรอมกันนี้ยังมีระบบจัดการ สําหรับบริหารงานขนสง ที่เขาเรียกกันวา TMS เพิ่มเขามา ซึ่งทําใหผู ใชงานทํางาน ไดงา ยขึน้ ลดการใช Excel หรือขัน้ ตอนการ ทํางานเดิมลง สรุปขอมูลไดมากขึ้น งาย ขึ้น ระบบลูกเลนจาดอุปกรณ 3G ตาง ๆ ของเรา” ดานแผนการตลาดในปนี้จะเนนการ ขยายกลุมสินคาใหตรงตามกลุมเปาหมาย มากขึน้ มีระบบทีเ่ ฉพาะเจาะจงไปในแตละ ธุรกิจ นอกจากนี้อีสทอินโนเวชั่นยังเปนผู พั ฒ นารายเดี ย วในตลาดที่ พั ฒ นาด า น ซอฟตแวรจริง ๆ โดยไดรับรางวัลจากการ แขงขันซอฟตแวรและนวัตกรรมตาง ๆ ทัง้ ในและตางประเทศมากมาย ชนะเลิศระดับ ประเทศด า นระบบ ICT และสํ า หรั บ อุตสาหกรรม เปนที่ 3 ของอาเซียนเรื�อง งานวิจัยนวัตกรรมซอฟตแวร ผานเขา แขงขันรอบสุดทายที่ฮองกงระดับ Asia Pacific เปนแชมปในงานพัฒนาซอฟตแวร ใหมีประสิทธิภาพสูงบนระบบของ intel โดยพัฒนาไดสูงขึ้นถึง 521% พรอมกันนี้ เมื�อเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทาง บริษัทฯก็มีระบบ Multisim ใครที่ตองการ ขยายการวิ่งเขาสูประเทศเพื�อนบานทุก ประเทศติดตออิสทอินโนเวชั่นได “สํ า หรั บ การลงทุ น ไอที แ ละระบบ GPS สามารถปรึกษาอีสทอินโนเวชั่นได ตลอด ทัง้ ในเรื�องของการลดตนทุนดําเนิน งาน ตองการพัฒนาระบบจาก GPS เดิม ยีห่ อ อื�นทีใ่ ชอยู หรืออยากลงทุนใหม เพราะ เราการรั น ตี ไ ด ว า เราพั ฒ นาระบบและ สินคาของเราใหเปนการลงทุนทีค่ มุ คามาก ที่ สุ ด เ มื�อ เ ที ย บ กั บ ต ล า ด อ ยู ต ล อ ด เวลา”
WORLD NEWS • BUS&TRUCK 39
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
วงการต่างแดน ตอจากหนา 1
พันธมิตรแท BUS & TRUCK ’15 ดํารงคศิลปเสนอเบาะนั่งรุนใหม เด็ด ๆ ภายในงานนี้งานดียวเทานั้น คุณเกียรติศักดิ์ ภูอัครนันท กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ดํารงศิลป พารท ซีท เซ็นเตอร จํากัด ผูผลิตและจําหนายเบาะ นั่งรถโดยสาร “เบาะดํารงศิลป” เปดเผย วา ดวยเริ่มแรกที่เขารวมงาน BUS & TRUCK ตัง้ แตปแ รกพบวามีกลุม ลูกคารถ โดยสารเขารวมชมงานเปนจํานวนมาก สง ผลให ท างบริ ษั ท ฯทํ า ยอดจํ า หน า ยได มากกวาที่คาดไวจึงไดเขารวมงาน BUS & TRUCK ตลอดมา รวมถึงงาน BUS & TRUCK ’15 ในปนี้ดวย สวนงาน BUS & TRUCK ’15 จะมี ขึน้ ในวันที่ 5 - 7 พฤศจิกายนศกนี้ ที่ไบเทค กรุงเทพฯ ถือเปนการจัดงานครั้งที่ 12 ติดตอกันมาอยางตอเนื�อง และเพื�อใหการ เขารวมงาน BUS & TRUCK ’15 สราง สีสนั ใหกบั ผูเ ขาชมงานจึงไดเตรียมนําเบาะ รุน ใหม 2 รุน คือ รุน พรีเมีย่ มแบบ Cocoon (รังไหม) ซึ่งเหมาะกับลูกคาระดับ วี.ไอ.พี. และแบบมาตรฐานซึ่งเหมาะกับผู โดยสาร ทุกระดับ จุดเดนของเบาะนั่งทั้ง 2 รุนนี้ คือ ที่พิงศีรษะสามารถเลื�อนระดับได และ มีฉากกั้นครอบทั้งที่นั่งเหมือนกับเบาะนั่ง บนเครื�องบิน เพื�อความเปนสวนตัวและ
ชวยใหผู โดยสารไดพักผอนอยางเต็มที่ ไม เกิดอาการเมื�อยลา “เบาะนัง่ ดํารงศิลปถอื วาสามารถทํา ยอดจําหนายไดเปนเบอร 1 ของตลาดเบาะ นั่ ง รถโดยสาร มี ก ารพั ฒ นาเบาะนั่ ง รุ น ใหม ๆ ออกมาเปนประจํา เพื�อใหมคี ณ ุ ภาพ ที่สามารถใชงานไดนานขึ้น และตรงกับ ความตองการของผูโดยสารอยางตอเนื�อง” สวนอีกจุดประสงคหนึ่งของการเขา รวมงาน BUS & TRUCK ’15 ก็คอื การสราง ภาพพจนใหลูกคาไดเห็นวาทางบริษัทฯยัง มีการทําการตลาดอยูอ ยางตอเนื�องและสง เสริมภาพลักษณ เมื�อตองการเลือกเบาะ โดยสารที่มีคุณภาพ แข็งแรง นํ้าหนักเบา ผานมาตรฐานขนสง เลือกเบาะดํารงศิลป พร อ มทั้ ง ยั ง มี โ อกาสได ทั ก ทายทั้ ง กลุ ม ลูกคาเดิมและกลุม เปาหมายใหม ๆ เพื�อให นึกถึงเบาะนั่งดํารงศิลป เมื�อจะประกอบ รถโดยสารคั น ใหม หรื อ เมื�อ ต อ งการ ซอมแซมเปลี่ยนเบาะนั่งรถโดยสาร “อีกกลยุทธหนึ่งที่ ไดวางไวเพื�อที่จะ ไดกระตุนยอดขาย ก็คือ ไดเตรียมโปรโมชัน่ พิเศษตาง ๆ ไวมากมายใหลกู คาไดเลือก ตรงตอความตองการมากที่สุด”
สหรัฐอเมริกา : รีไซเคิลแบตเตอรี่ Camry Hybrid เปนระบบสํารอง พลังงานไฟฟาให Yellowstone โตโยตา USA นําเสนอวิธรี ีไซเคิลแบตเตอรีข่ อง Camry Hybrid แทนที่ จะปลอยใหกลายเปนขยะอันตราย ดวยการใชเปนชุดระบบสํารองพลังงาน ไฟฟาใหกับ Lamar Ranger Station ภายในอุทยานแหงชาติ Yellowstone แผนงาน The Lamar Buffalo Ranch project เริ่มขึ้นในชวงเดือนมิถุนายน 2014 โดยความรวมมือของ Toyota USA, Indy Power Systems, Sharp USA SolarWorld, Patriot Solar, National Park Service และ Yellowstone Park Foundation ตัวระบบประกอบดวยแผงโซลาร และแบตเตอรีใ่ ชแลวของ Toyota Camry Hybrid จากดีลเลอรทั่วสหรัฐฯ จํานวน 208 ลูก ทั้งหมดเปนแบตเตอรี่ แบบ นิคเกิล เมทัล ไฮไดรด นอกจากนี้ในป 2016 โตโยตา ยังมีแผนงานที่จะ ติดตั้งกังหันนํ้าผลิตไฟฟาขนาดเล็ก หรือ micro-hydro turbine systems พวง เขาไปในระบบอีกดวย จีน : Baidu เตรียมเปดตัวรถยนตไรคนขับปลายปนี้ วงการยานตยนต ไฮเทคเริม่ คึกคัก เมื�อ Baidu ยักษใหญดา นการคนหา จากจีนขยับตัว เตรียมเปดตัวรถยนต ไรคนขับในครึ่งปหลังของปนี้ เว็บไซต จากจีนรายงานวา Baidu เตรียมเปดตัวรถยนต ไรคนขับออกมาแขงกับกูเกิล โดยไปจับมือกับผูผลิตรถยนตคายหนึ่งที่ยังไมเปดเผยยี่หอ ซึ่งกอนหนานี้ทาง Baidu เคยรวมมือกับ BMW รวมพัฒนารถยนตกึ่งอัตโนมัติ นอกจากนี้ Yu Kai หัวหนาแผนกของ learning lab เคยใหสัมภาษณกับสื�อวา ทางบริษัทไมเห็น ดวยกับรถยนต ไรคนขับแบบ 100% แตจะมองหาวิธที จี่ ะผสมผสานกับการขับขี่ แบบเดิม ๆ เพื�อใหคนขับมีอิสระในการขับขี่อยางเต็มที่ กุญแจสําคัญในการ แขงขันก็คือ ระบบปญญาประดิษฐ ซึ่งรถยนต ไรคนขับเปนหนึ่งผลิตภัณฑที่นํา เทคโนโลยีนี้มาประยุกตใช ซึ่ง Baidu เตรียมเปดตัวรถไรคนขับภายในครึ่งหลัง ของป 2015
ยานยนต
ตอจากหนา 1
ยูดี ทรัคส พรอมบุกตลาด 100% เตรียมเปดตัวรุนใหม ก.ย. 58 ประเทศ หรือตลาดสงออกทั่วโลก คุณชารค มิเชล ประธานกรรมการ บริษัท วอลโว กรุป (ประเทศไทย) จํากัด ผูแทนจําหนายรถใหญวอลโว และยูดี ทรัคส เปดเผยวา จากการทีท่ างบริษทั ฯได เริม่ พัฒนารถใหญยดู ี ทรัคส รุน เควสเตอร จากเดิมที่ ไมมีพื้นฐานอะไรเลย จนมาเปน ที่ พึ ง พอใจของกลุ ม ลู ก ค า เพิ่ ม มากขึ้ น เรื�อย ๆ เพราะสามารถใชประโยชน ได สูงสุด เห็นไดจากยอดจําหนายใน 3 เดือน แรกของป 2558 สามารถทํายอดจําหนาย ไดมากกวา 100 คัน ในสถานการณ ที่ เศรษฐกิจยังซบเซาอยู และดวยเงินทุนทีบ่ ริษทั ฯไดลงทุนไป กวา 3 พันลานบาท เพื�อทําการพัฒนา เทคโนโลยีตา ง ๆ เครื�องจักร เพิม่ มาตรฐาน การผลิต พรอมทัง้ ยังเพิม่ กําลังการผลิตได ตามความตองการของตลาด คือ รถใหญ วอลโวสามารถผลิตไดปล ะ 4,500 คัน และ รถใหญยูดี ทรัคส ผลิตไดปละ 20,000 คัน ทั้งนี้ เพื�อสงจําหนายภายในประเทศและ นําสงออกไปยังตางประเทศดวย ดวยเหตุนเี้ อง ทางบริษทั ฯจํามีความ พรอมทีจ่ ะเปดตัวรถใหญยดู ี ทรัคส รุน ใหม ในเดือนกันยายน 2558 ซึ่งจะครอบคลุม ตลาดขนส ง แทบทั้ ง หมด รวมทั้ ง ยั ง มี เครื�องยนตขนาด 8 ลิตร ที่มุงเจาะตลาด
นวัตกรรม
ขนสงขนาดกลางดวย โดยรถรุนใหมนี้ จะมีทั้งแบบรถ 6 ลอ 10 ลอ และ 12 ลอ สามารถทําเปนรถ ขนสงไดทุกประเภท ไม วาจะปนขนสง สินคาอุปโภคและบริโภค รถดัมพ รถขนสง วัสดุกอสราง และสินคาอื�น ๆ อีกมากมาย นอกจากนี้ ทางบริษทั ฯยังมีโปรโมชัน่ พิเศษใหกลุมลูกคาอีกดวย คือสามารถ เลือกซื้อไดทั้งแบบเครื�องยนตและแชสซีส เพื�อนําไปประกอบตัวถังเอง หรือสามารถ ซือ้ ในแบบสําเร็จรูปมีตวั ถังใหพรอมเลย ไม ว า จะเป น แบบกระบะ แบบดั ม พ หรื อ มิกเซอร รวมทั้งแบบที่ตองการเปนการ เฉพาะอีกดวย ซึ่งมาตรฐานของตัวถังอยู ในระดับสากล เพราะสามารถจําหนายได ทั้งในประเทศและสงออกไปตางประเทศ สวนในป 2559 จะเริม่ เปดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC อยางเต็มตัว ทางบริษทั ฯคาดวาจะเห็นรถใหญทงั้ วอลโว และยูดี ทรัคส วิ่งเพิ่มมากขึ้น เพราะมี คุณภาพและเทคโนโลยีระดับสูง สามารถ วิ่ ง บนถนนได น านและไกล และใน 4 ประเทศ คือ สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม และเมียนมาร ไดมตี วั แทนจําหนายดูแลรถ ใหญวอลโว และยูดี ทรัคส ภายในโชวรูม เดียวกัน ซึง่ จะเพิม่ ยอดการจําหนายไดเปน อยางมากแน
จีน : ยอดขายรถเดือน พ.ค.รวลง 0.4% ตอป มาอยูที่ 1.90 ลานคัน สมาคมผูผลิตรถยนตจีน (ซีเอเอเอ็ม) เผยยอดขายรถยนตในจีน เมื�อ เดือนที่แลว รวงลง 0.4% ตอป มาอยูที่ 1.90 ลานคัน ทั้งการผลิต และยอด ขายตางลดลงจากระดับที่ทําไวเมื�อปที่แลว ครั้งนี้ถือเปนครั้งแรก ในรอบป นี้ ที่ทั้งการผลิต และราคาลดลงพรอม ๆ กัน ขอมูลจากซีเอเอเอ็ม ยังแสดง ใหเห็นวา ในเดือน พ.ค.ที่ผานมา การผลิตภายในอุตสาหกรรมรถยนตทองถิ่น ลดลง 0.58% มาอยูที่ 1.96 ลานคัน โดยในชวง 5 เดือนแรกของปนี้ ยอดขาย ของอุตสาหกรรมรถยนตโดยรวม ถือวาดีขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปที่แลว โดยปรับตัวขึน้ 2.11% ตอป มาอยูท ี่ 10.05 ลานคัน เหตุเศรษฐกิจชะลอตัว ทําให ผูผ ลิตพากันลดราคาจําหนาย และลดจํานวนการผลิต ในตลาดรถยนตทมี่ ขี นาด ใหญสุดของโลกแหงนี้
ปฎิทินขาว วัน-เดือน-ป
รายละเอียดงาน
ติดตอ
24-28 มิ.ย.2558
Bangkok International Auto Salon 2015 ณ ฮอลล 2-3 อาคารชาเลนเจอร เมืองทองธานี
บจก. อินสไพร เอ็นเตอรเทนเมนท โทร.0-2508-8100 www. bangkokinternationalautosalon.com
1-5 ก.ค. 2558
FAST Auto Show Thailand 2015 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ
บจก. อินสไพร เอ็นเตอรเทนเมนท โทร.0-2508-8100 www.bangkok internationalautosalon.com
13-19 ก.ค. 2558
Mini Motor Show 2015 ณ เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา
บริษัท บีเวิรค มีเดีย จํากัด โทร.09-2583-8138
16-22 ก.ค.2558
Grand motor show 2015 ณ เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี
Be work media organizer โทร.09-2583-8138 คุณโอ
30 ก.ค.- 3 ส.ค. 58 NORTH EASTERN GRAND MOTOR EXPO 2015 ณ เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี 1-9 ส.ค. 2558
BIG Motor Sale 2015 ณ ศูนยนิทรรศการ ไบเทค บางนา
Be work media organizer โทร.09-2583-8138 คุณโอ ยานยนตสแควร กรุป โทร.0-2691-8130-41
40 BUS&TRUCK • DIRECTORY
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
Directory ISUZU บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด โทร. 0-2966-2111
SUNLONG บริษัท เบสทริน กรุป จํากัด โทร.0-2750-3901, 0-2750-0227, 08-5999-9499 SLK6752CNG SLK6852D SLK6102D SLK6102CNG SLK6120D SLK6126CNGB SLK6145D ราคาดังกลาวเปนราคานําเขารถสําเร็จรูปทั้งคัน
Coach 7.5 m. Coach 8.5 m. Coach 10 m. Coach 10 m. Coach 12 m. Coach 12 m. Coach 14.5 m.
YUTONG บริษัท ไทยคูชัย จํากัด โทร. 0-2393-9831-2
YUTONG มินิบัส 6 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 8 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 12 เมตร
มินิบัส รถธรรมดา รถปรับอากาศ
CNG ดีเซล ดีเซล CNG ดีเซล CNG ดีเซล
-
-
-
2,950,000 4,000,000 4,600,000 4,900,000 6,000,000 6,500,000 7,500,000
1,500,000 2,500,000 4,850,000
HINO บริษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2900-5000 Hotline 0-2900-5260 Series 3 XZU600R-4W ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-6W ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU650R (T&S) ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU710R (T&S) ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU720R ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-4W Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-6W Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU650R (T&S) Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 5 FC9JEKA (T&S) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JJKA 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JELA (T&S) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JJLA (Radial Tube) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JLLA (Radial Tube) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FG8JGLD 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JJLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JMLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JPLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JRLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JPLG (Air-Sus 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JGLE 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JJLB 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FL8JNKA 10 ลอ 6x2 Series 5 FL8JTKA 10 ลอ 6x2 Series 5 FL8JNLA 10 ลอ 6x2 Series 5 FM8JNKD 10 ลอ 6x4 Series 5 FM8JNLD 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANKD (T Bias) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANKD (T&S Radial) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANLD (T&S Radial) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNLD (T&S) 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNLD (SPA) ABS 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1AKKM E/G Retarder (Mixer) 10 ลอ 6x4 Series 5 GY2PSLA (S) 12 ลอ 8x4 Series 5 GY2PSLA (T&S 380 Ps) PTO 12 ลอ 8x4 Series 5 FG8JGLT หัวลาก 6 ลอ Series 5 FM8JKKA หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKKA (S) E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKKA (S) PTO E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (S) E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (S) PTO E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (SPA) ABS หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (T&S) หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (S) PTO หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (SPA) ABS หัวลาก 10 ลอ Series 5 RK8JSLA รถบัส Series 5 RM1ESKU รถบัส Series 5 FC4JLNA NGV 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FG1JPKA NGV 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FG1JPKA NGV - Car Carrier 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FL1JTKA-BGT NGV 10 ลอ 6x2 Series 5 FM1JNKD-BGT NGV 10 ลอ 6x2 Series 5 FM1JKKA NGV 10 ลอ NGV Series 5 FM2PNMD NGV 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNMD- A NGV 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PKMA NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-PA NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-P NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-A NGV หัวลาก 10 ลอ NGV
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
136 150 150 150 150 136 150 150 145 145 175 175 175 212 212 212 212 212 212 212 212 212 212 251 212 251 330 330 344 380 380 330 380 380 212 251 330 330 344 344 344 380 380 380 251 380 175 220 220 260 260 260 360 360 360 360 360 360
948,000 978,000 1,035,000 1,190,000 1,206,000 938,000 968,000 1,025,000 1,350,000 1,360,000 1,410,000 1,430,000 1,440,000 1,750,000 1,770,000 1,780,000 1,790,000 1,810,000 1,915,000 1,650,000 1,660,000 2,345,000 2,385,000 2,415,000 2,485,000 2,535,000 2,820,000 2,850,000 2,905,000 2,965,000 3,035,000 2,575,000 3,130,000 3,170,000 1,865,000 2,650,000 2,945,000 2,985,000 2,975,000 3,015,000 3,085,000 3,055,000 3,095,000 3,165,000 2,145,000 3,605,000 1,890,000 2,555,000 2,945,000 3,265,000 3,315,000 3,440,000 3,755,000 3,825,000 3,850,000 3,960,000 3,890,000 3,920,000
MAN บริษัท เอ็ม เอ เอ็น คอมเมอรเชียล วีฮีเคิลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-0070-5 MAN-CLA 26.280 6x4 Tractor MAN-CLA 26.280 6x4 Mixer
รถหัวลาก 10 ลอ รถผสมปูน 10 ลอ
-
280 280
2,780,000 2,700,000
รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
FOTON บริษัท โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2882
BJ4257SMFCB-R1 BJ4257MFJB-R1 BJ5257GJB-RA BJ3257DLPJE-R1
10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG
9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 2,999 2,999 2,999 2,999 9,839 7,790 7,790 9,839 7,790 7,790 7,790 4,570 4,570 4,570
360 360 360 360 360 360 300 300 360 360 360 360 360 360 360 360 360 300 300 300 300 300 300 300 300 300 240 240 240 240 210 210 210 190 190 175 175 150 150 130 130 130 130 354 245 245 354 245 245 220 130 130 130
3,347,000 3,177,000 3,177,000 3,317,000 3,147,000 3,147,000 2,582,000 2,559,000 3,294,000 3,294,000 3,044,000 3,044,000 2,694,000 2,727,000 2,680,000 2,680,000 2,580,000 2,565,000 2,544,000 2,662,000 2,642,000 2,621,000 2,504,000 2,432,000 2,412,000 2,391,000 1,875,000 1,854,000 1,844,000 1,818,000 1,536,000 1,526,000 1,484,000 1,486,000 1,476,000 1,350,000 1,334,000 1,225,000 1,209,000 1,029,000 1,024,000 967,000 937,000 3,957,000 3,754,000 3,394,000 3,844,000 3,456,000 3,375,000 2,580,000 1,627,000 1,617,000 1,432,000
2,977 CC 2,977 CC 2,899 CC 2,899 CC 2,899 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 12,882 CC 12,882 CC
125 125 150 150 150 240 240 240 270 240 270 380 380
934,000 985,000 1,069,000 1,207,000 1,217,000 1,770,000 1,785,000 1,830,000 2,525,000 2,475,000 2,635,000 3,150,000 3,220,000
FUSO บริษัท ฟูโซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-2897
FE71BB8SRDH1 FE73BE6SRDH1 FE84DE6SRDH1 FE85DE7SRDH1 FE85DG7SRDH1 FM65F F1RDH1 FM65F H1RDH1 FM65F M1RDH1 FN61FR2RDH1 FN62FM1RDH1 FN61FM2RDH1 FV51JHR3RDH1 FV51JHR3RDH1
รถบรรทุก 4 ลอ รถบรรทุก 6 ลอ รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชางยาว รถบรรทุก 6 ลอ ชวงสั้น รถบรรทุก 6 ลอ ชวงกลาง รถบรรทุก 6 ลอ ชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ ชวงยาวพิเศษ รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถหัวลาก 10 ลอ
DONGFENG บริษัท ดีเอฟ มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด โทร.0-2637-5041-3
DONGFENG CNG DONGFENG 8x4 CNG
รถหัวลาก NGV 100% TRACTOR Engine Yuchai
YC 340HP YC 340HP
340 340
3,150,000 3,250,000
BEIBEN บริษัท เอ็ม.ซี.ซี. ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.08-1698-1934, 0-7423-0258 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 1827 SY 4x2 V3 2534 BY 6x4 V3 2534 KV 6x4 V3 (chassis )
Tractor (CNG) Tractor (CNG) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Mixcer (Diesel) Dumper(Diesel)
11,596 CC 11,596 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC
380 380 375 375 270 336 336
2,950,000 3,250,000 2,550,000 2,700,000 2,150,000 2,800,000 2,750,000
SHACMAN บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188-9 Hotline 08-6302-1778
SCANIA P 360 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MNA P 410 LA6x2MSZ K 410 IB6x2NB K 410 EB6x2NI K 460 EB6x2NI
GXZ77NXJFQ (Aero-Max) GXZ77NXFQ (Aero-Max) GXZ77NXXTQ (Aero-Max) GXZ77NXJFQ GXZ77NXXFQ GXZ77NXXTQ GVR34JXXXQ (Aero-Max) GVR34JXXXQ FYH77SXDFQ FYH77SXTDQ FXZ77QXDFQ FXZ77QXDTQ FXZ77PXDXQ FXZ77NXFXQ FXZ34PSDFQ FXZ34PSDTQ FXZ34PNDXQ FVM34TSXXQ FVM34QSXXQ FVM34TNAXQ FVM34RNAXQ FVM34QNAXQ FVM34WNXXQ FVM34TNXXQ FVM34RNXXQ FVM34QNXXQ FTR34QXXXQ FTR34PXXXQ FTR34LXXXQ FTR34JXXXQ FRR90NSXXQ FRR90LSXXQ FRR90HSXXQ FRR90NNXXQ FRR90LNXXQ NQR75LXXXQ NQR75HXXXQ NPR75KXXXQ NPR75HXXXQ NMR85HXXFQ NMR85HXXTQ NMR85EXXXQ NLR85EXXXQ GXZ78NXCFQ (AMAX-A) GVR86KXCXQ (10W 6x2) GVR86KXCXQ (6W 4x2) FXZ78QXBFQ FVM86WXCXQ FVM86TXCXQ FTR86QXCFQ NPR82KXCXQ NPR82HXCXQ NMR82HXCXQ
รถหัวลาก 10 ลอ CNG รถหัวลาก 10 ลอ Diesel รถมิกเซอร 10 ลอ Diesel รถ 10 ลอ Diesel
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 460 แรงมา
3,600,000 3,900,000 4,100,000 4,350,000 4,500,000 4,700,000 5,200,000
380 375 375 375
2,900,000 2,850,000 2,900,000 2,825,000
F2000 WP12NG350 F2000 WP12NG380 F2000 WP12NG380 F2000 WP12NG350 F2000 WP 10.336 F2000 WP 10.375 M3000 WP10NG.330 M3000 WP10.330 M3000 WP10.330
รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV (Retarder) รถหัวลาก 12 ลอ (8x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถโมคอนกรีต 10 ลอ (6x4) DIESEL
350 380 380 350 336 375 330 330 330
2,725,000 2,825,000 2,945,000 2,925,000 2,425,000 2,525,000 2,775,000 2,475,000 2,670,000
SANY บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188-9 Hotline 08-6302-1778
SANY MIXER 6M3 SANY MIXER 6M3 SANY MIXER 3M3
รถโมคอนกรีต 10 ลอ (6x4) DIESEL (Hino P11C-UH) รถโมคอนกรีต 10 ลอ (6x4)รุนใหม DIESEL (Hino P11C-UH) รถโมคอนกรีต 6 ลอ (4x2) DIESEL (Cummins)
325 325 140
2,850,000 2,900,000 1,850,000
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
BUS&TRUCK Mart
BUS&TRUCK MART • BUS&TRUCK 41
42 BUS&TRUCK • Q & A
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
เสียงจากผู้อ่าน
ถามทาง
คุณชาญชัย ชาติศิริ ภูเก็ต
พนัส ฯ ออกรถดัมพใหม
หลังจากเมื�อตนป 58 ที่ผานมา งานรับเหมากอสรางแทบจะไมมี เลย แตพอมาครึ่งปหลังก็เริ่มมี งานเขามาเรื�อย ๆ จนลาสุดไดมผี รู บั เหมา รายหนึ่งใหงานขนดินเพื�อไปกอสรางใน เขตใกลเคียง โดยรถดัมพตองมี 6 ลอ เนื�องจากพืน้ ทีม่ ขี นาดเล็ก จึงอยากทราบ วาจะใชรถดัมพจากที่ ไหนดี รถดัมพถือวา เปนรถที่นักลงทุน ต อ งใช ใ นการก อ สร า งอาคาร สํานักงาน ถนนหนทางและสิ่ง กอสรางอื�น ๆ กอนที่ภาวะเศรษฐกิจจะ เติ บ โต จึ ง ถื อ ว า เป น แนวหน า ที่ ต อ ง ทํางานกอน ดังนั้น ในตลาดรถใหญยอด จําหนายรถดัมพจะเปนตัวกําหนดไดวา เศรษฐกิจจะเปนอยางไร หากยอดขายรถ ดัมพอยูในเกณฑที่ดีถือวาเศรษฐกิจก็ดี ตามไปดวย ในตลาดรถดัมพมีอยูหลายปะเภท เริ่มตั้งแตรถดัมพพวงที่จะมีการกอสราง ขนาดใหญตอ งใชรถดัมพขนทัง้ ดิน ทราย และกอนหิน สวนการกอสรางขนาดกลาง ก็จะใชรถดัมพสิบลอในการใชงานเพราะ เหมาะสมกับจํานวนงาน สวนรถดัมพ 6
ลอ จะใชงานในการกอสรางขนาดเล็ก ถนนวิ่งงานเล็กซับซอน เพื�อใหการเดิน ทางสะดวกการกอสรางเปนไปตามเวลา ที่กําหนด สําหรับอูประกอบรถดัมพ 6 ลอ ที่ ขอแนะนําก็คือ “อูพนัส แอสเซมบลีย” ที่ จ.ชลบุรี ไดเปดตัวรถดัมพใหม มีให เลือก ตั้งแต 3-4 เมตร แลวแตผูรับเหมา จะเลือกใชงาน ซึ่งวัสดุที่ใชจะแข็งแรง แถมมีนํ้าหนักเบาสามารถบรรทุกสินคา ไดมาก รวมทั้งยังมีรถดัมพ 10 ลอ รถพวง ดัมพเปนตัวรับประกันคุณภาพอีก และ ยังมี โปรโมชั่นพิเศษ ซื้อ 2 พวงไดตั๋ว เครื�องบินไป-กลับภายในประเทศฟรี ซื้อ 6 พวง ได ไปเที่ยวและดูงานที่ญี่ปุนฟรี หากใครสนใจก็สามารถติดตอที่ พนัส แอสเซมบลีย ไดเลย
ผมทํ า งานอยู ที่ สํ า นั ก งานขนส ง จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต รั บ ผิ ด ชอบหน า ที่ ต รวจ สภาพของรถยนตทุกประเภท พอไดเห็น คอลัมนสัญญาณ ก็ถูกใจมากมองวามี ประโยชนสําหรับเจาหนาที่และเจาของ รถใหญทกุ ประเภทใหไดรบั ทราบขาวสาร ของหนวยงานราชการทุกหนวยงาน มี บางเรื�องที่ลืมบางก็มี จึงไดสมัครเปน สมาชิกมาโดยตลอด สําหรับเรื�องทีอ่ ยากใหนาํ เสนอเพิม่ เติมคือกฎระเบียบตาง ๆ ของหนวยงาน ราชการ ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงใหม ตลอดเวลา เพื�อ ให เ ข า กั บ ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC จึงอยากให มีการนําเสนออยางตอเนื�อง อยางเรื�อง ฟลมกรองแสงที่กอนหนานี้ใหมีแสงเขา ได 40% แตในขณะนี้ก็ตองรอใหอธิบดี กรมขนสงทางบกประกาศออกมาอีกทีวา ตองใชเทาไรกันแน จึงอยากใหนําเสนอ ขาวสารอยางตอเนื�อง ขอบคุณครับ
กองบรรณาธิการ
ต อ งขอขอบคุ ณ มาก ที่ ช ว ยเป น กําลังใจใหกองบรรณาธิการ สามารถ ทํางานได โดยไมรูจักเหน็ดเหนื�อย จัดหา
แตเรื�องราวที่มีประโยชน มีเทคโนโลยี สมัยใหม พรอมทั้งกลยุทธใหม ๆ รวมถึง กฎระเบียบในสวนราชการเพื�อใหสมาชิก ไดรับทราบ และสามารถนําไปประยุกษ ใชในธุรกิจของตัวเองได อยาลืมมาสมัคร เปนสมาชิกกันเยอะ ๆ นะครับ อยางเรื�องที่บอกมาใหฟงวา ขณะ นี้ ก ฎระเบี ย บต า ง ๆ ของหน ว ยงาน ราชการมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นกั น บ อ ยครั้ ง มาก เรื�องทีย่ งั สับสนกันอยู ตํารวจจราจร ยังเขาใจวา รถใหญทุกคันตองมีคูมือไว ประจํารถตลอดเวลา แตใน พรบ.ไมได ระบุไวเชนนั้น ทําใหตํารวจจราจรสับสน สุดทายศาลจึงตัดสินวา ใหใช พรบ.ขนสง นอกจากนีย้ งั มีอกี หลายเรื�องทีย่ งั เกิดการ สับสนอยู หากมีสมาชิกสอบถามเขามา จะหาขอมูลตอบกลับไปนะครับ ลาสุดมติ ครม.ไดแถลงรางกฏหมาย ออกมาเมือ� วันที่ 9 มิ.ย. 2558 วา ราง กฎกระทรวงกําหนดประเภทผู ไดรับใบ อนุญาตประกอบการขนสงที่ตองจัดใหมี สมุดประจํารถ ประวัตผิ ปู ระจํารถ รายงาน การขนสงและรายงานอุบัติเหตุที่เกิดจาก การขนสงหลักเกณฑและวิธีการในการ ดําเนินการ พ.ศ. …. ยังไงก็เตรียมรับมือ กับการเปลี่ยนแปลงดวยนะครับ No. ............./..............
«t ¨ · ¤ ¨ · « u z ± Õ Ó o¦| j o 2FC LCU 4MJTM $& ¨|Ó i i¥ Ò o ~ ~ ¤ ¬ § Ó¨|Ó Ó o¦| ¬ | ¬ |¤ Ò ¬¤l Ò | i r } x j o ¤| s ¬o¤ Ú } x i | ¬| ¬ ||Ó ¥ oi| ol ± i } ¥ ¥ or Ó j | i ¦ p¡ l { ¬ §p ¨|Ó Ò | ¤ ¥ Ó¤i |i r l { ¬ §p¨|Ó Ò l { ¡Ò§ Ó o¦| ¬ i¥ ¤ ¬ l | ¡o |¤ ¬ l {
44 BUS&TRUCK • POWER SAVING
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
Power Saving
ปตท.เพิ่มประสิสทธภาพบรการ ปตท.เพมปร ทธิภาพบริการ NGV
ขยายสถานีบริการ 7 แหงในปนี้
จากกรณีปญ หาของผูใ ชกา ซธรรมชาติ NGV เปนพลังงานทางเลือกในการขนสง ตองเผชิญกับการเขาคิวรอ เติมกาซทีค ่ อ นขางนาน เนือ ่ งจากสถานีบริการกาซ NGV มีนอ ย ลาสุด บริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน) ในฐานะผูจ ด ั การ กาซ NGV ในประเทศไทย เรงเพิ่มสถานีบริการ NGVเพื่ออํานวยความสะดวกแกผูใชบริการ
คุณสมเกียรติ เมสันธสุวรรณ ผู ช ว ยกรรมการผู จั ด การใหญ ก า ซ ธรรมชาติ สํ า หรั บ ยานยนต บริ ษั ท ปตท. จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา ขณะ นี้ ปตท.กําลังดําเนินการขยายสถานี บริการ NGV อยางตอเนื�อง โดยจะเปด สถานีใหมเพิ่มอีกจํานวน 7 แหงในป 2558 นี้ รวมทั้ ง การก อ สร า งสถานี บริการ NGV สําหรับรถโดยสาร ขสมก. ณ อู ขสมก. พระประแดง โดยคาดวา จะก อสร างแล วเสร็จประมาณเดือน ธันวาคมศกนี้ เพิม่ เติมจากสถานีบริการ NGV สําหรับรถโดยสาร ขสมก. โดย เฉพาะอีก 3 แหง ไดแก อู ขสมก. รังสิต บางเขน และแสมดํา ซึ่งได ใหบริการ แลว ซึ่งหลังจากแลวเสร็จจะสามารถ รองรับรถโดยสาร ขสมก. ไดเปนอยาง ดี และไมสงผลกระทบตอผู ใชรถ NGV ทั่วไป สํ า หรั บ การขยายสถานี บ ริ ก าร NGV ในปถัดไปเพื�อรองรับรถโดยสาร สาธารณะและรถบรรทุ ก ในส ว น ภูมิภาคนั้น ปจจุบัน ปตท. อยูระหวาง เรงดําเนินการขยายสถานีฯ บนเสน ทางหลักในพื้นที่ อ.แกงคอย จ.สระบุรี
อ.นํ้าพอง จ.ขอนแกน และ อ.โกรกพระ จ.นครสวรรค จํานวนอีก 4 สถานี โดยอยู ระหวางการออกแบบวิศวกรรมระบบทอ สงกาซฯ และจัดทํา EIA ซึ่งเมื�อการกอ สร า งสถานี ฯ ดั ง กล า วแล ว เสร็ จ จะ สามารถรองรับการใหบริการรถ NGV
ขนาดใหญไดอกี จํานวนมาก สวนในพืน้ ที่ ทางภาคใต ปตท. อยูร ะหวางเตรียมขยาย สถานี บ ริ ก าร NGV ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ป ต ตานี อี ก หนึ่ ง สถานี เพื�อ สนั บ สนุ น นโยบายความมั่นคงดานพลังงานใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตของรัฐบาล ซึ่ง
นั ก เรี ย นผู ส มควรได รั บ โอกาสและ บกพรองทางรางกายและการเคลื�อนไหว สําหรับโรงเรียนในพื้นที่ชนบททั้งหมด 4 แหงไดแก โรงเรียนราชประชานุเคราะห 51 จังหวัดบุรีรัมย โรงเรียนราชประชา นุเคราะห 27 จังหวัดหนองคาย โรงเรียน ศรีสงั วาลย จังหวัดขอนแกน โรงเรียนศรี สังวาลย จังหวัดเชียงใหม กรุ ง ศรี ออโต ” เดิ น หน า พัฒนาผลิตภัณฑและการบริการ เพื�อ ความพึงพอใจสูงสุดของลูกคา ลาสุดได
เป ด ตั ว บริ ก ารใหม ‘กรุ ง ศรี ออโต ออนไลน ’ ผ า นเว็ บ ไซต www. krungsriauto.com อี ก หนึ่ ง ช อ งทาง บริการและชวยอํานวยความสะดวกแก ลูกคาปจจุบันของกรุงศรี ออโต ในการ ตรวจสอบขอมูลสินเชื�อยานยนต ตลอด จนบริการดานอื�น ๆ ในทุกที่ ทุกเวลา ที่ ลูกคาตองการ โดยลูกคาสามารถสมัคร รับบริการไดที่ www.krungsriauto.com และคลิ ก เลื อ กเมนู ‘กรุ ง ศรี ออโต ออนไลน’ บริ ษั ท ไดเร็ ค เอเชี ย (ประเทศไทย) จํากัด หรือ DirectAsia. com เผยแคมเปญสื�อ สารการตลาด ประสบความสําเร็จเขาถึงผูบริโภคเกิน
คาดวาจะแลวเสร็จและเปดใหบริการได ประมาณตนป 2559 “ปตท. ตระหนักดีถึงการอํานวย ประโยชน แ ก ป ระชาชนผู ใช ร ถ สาธารณะและมุง มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาการให บริการของสถานีบริการ NGV ใหดียิ่ง ขึ้นในทุกดาน เพื�อใหประชาชนผู ใช บริการไดรับความสะดวกมากขึ้น และ สอดคลองกับนโยบายของภาครัฐ”
พั กเครื่อง
บริษัท เชลลแหงประเทศ ไทย จํ า กั ด ขอบคุ ณ ลู ก ค า ที่ ร ว ม สนับสนุนกิจกรรม “วันเชลลเติมสุข” คุณเติม 1 ลิตร เชลลบริจาค 1 บาท ดวยการเติมนํา้ มันเชือ้ เพลิงชนิดใดก็ได ณ สถานีบริการนํา้ มันเชลล ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2558 ที่ผานมา สงผลให เชลลบริจาคให โรงเรียนมีชัยพัฒนาได สูงถึง 9 ลานบาท เพื�อให โรงเรียนมี ชัยพัฒนานําไปดําเนินโครงการพัฒนา คุณภาพชีวิตและทักษะอาชีพสําหรับ
คาดแมวาในชวงตั้งแตตนปที่ผานมา การเติบโตของอุตสาหกรรมประกันภัย รถยนต โ ดยรวมจะยั ง ไม โ ดดเด น นั ก ก็ตาม ผูขับขี่รถยนตจํานวนมากใหการ ตอบรับรูปแบบการบริการทีต่ รงไปตรง มาผานระบบออนไลนของ DirectAsia. com ภายหลังจากที่บริษัทฯ ไดเปดตัว แคมเปญสื�อ สารการตลาดแบบครบ วงจรเมื�อตนเดือนมกราคมที่ผานมา ปจจุบัน มียอดผูเขาเยี่ยมชมเว็บไซต DirectAsia.com มากกวา 1.5 ลานคน และยังมีการออกใบเสนอราคาใหกับ ลูกคาโดยเฉลี่ยมากกวา 10,000 ฉบับ ตอเดือนในปนี้
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
เกาะติดพาณิชยนอย • BUS&TRUCK 45
เกาะติดพาณิชย์น้อย
DFSK ตงฟง มอเตอรส ผูนํารถดัดแปลง รานอาหารเคลื่อนที่
การคาการขายในยุคปจจุบน ั หากเขาถึงหนาประตูบา นของลูกคาตามตรอก ซอก ซอย ได ถือไดวา มีชย ั ไปกวา ครึ่ง ธุรกิจรายอาหารเคลื่อนที่จึงเติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว
ดวยเหตุนี้ผูประกอบการรถเพื�อ การพาณิชย จึงหันมาเอาใจกลุมธุรกิจ การคาเคลื�อนที่มากขึ้น เชนเดียวกับ บริษทั ตงฟง มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด ผูนําเขาและจัดจําหนายรถยนต เชิงพาณิชยขนาดเล็ก ภายใตแบรนด DFSK ตงฟง มอเตอรส ที่สบชองนํา รถมาดัดแปลงเปนรานอาหารเคลื�อนที่ ดวยราคาที่สบายกระเปา เปนเวลากวา 5 ปที่ บริษัท ตงฟง มอเตอรส ขึ้นแท นรถอเนกประสงค แบรนดอนั ดับตน ๆ ของเมืองไทย ทีแ่ ม บริษัทแมจะอยูที่ประเทศจีนแผนดิน ใหญ แตปจ จุบนั ผลิตในประเทศไทย ดัง นั้นมั่นใจในเรื�องคุณภาพไดเต็มที่ แถม ยั ง สามารถออกแบบรถมิ นิ ท รั ค ตอบ โจทยผูประกอบการไทยไดเปนอยางดี รถแบรนด ตงฟง เปนที่รูจักกันดี ในหมูของรถบรรทุกขนาดเล็ก หรือมินิ ทรัค ซึ่งบริษัทฯ มีความเชี่ยวชาญใน การผลิตรถลักษณะนี้เปนอยางดี และ จากความโดดเดนในเรื�องขนาด และ ความคลองตัวในการใชงาน ทําใหทผี่ า น
มามี ผู ป ระกอบการหลายรายนํ า รถไป ดั ด แปลงเพื�อ การค า อย า ง ร า นกาแฟ เครื�องดื�มเพื�อสุขภาพ ทําให ตงฟง เกิด ไอเดียนํารถอเนกประสงคสัญชาติจีนมา ดัดแปลงใหลกู คาโดยตรงเพื�อการคาทุกรูป แบบ แบงรถออกเปน 2 ลักษณะใหญ ๆ คือ รถแบบเปด 2 ดาน ภายในตกแตงเปน ชั้นวางสินคา เหมาะสําหรับเปดรานขาย เครื�องดื�ม และแบบเปด 3 ดาน สําหรับ
ขายของชํา และสินคาโอทอป จุดเดนรถมินิทรัค ตงฟง นอกจาก การดัดแปลงเพื�อการคาใหใชงานไดสะดวก แลว ความคุม คาก็เปนอีกหนึง่ ปจจัยสําคัญ ที่ครองใจบรรดาผูประกอบการรายเล็ก ของไทย เพราะโดดเด น ในเรื�อ งการ ประหยัดนํา้ มัน มีระบบกาซแอลพีจี (LPG) โดยรถมินิทรัคขนาดเครื�องยนต 1,100 ซีซี มีพื้นที่ใชสอยกวาง 1.50 เมตร ยาว 2.30
เมตร นํ้าหนักบรรทุก 700 กิโลกรัม ขณะที่เครื�องยนต 1,300 ซีซี นํ้าหนัก บรรทุก 1 ตัน ซึ่งรถทั้ง 2 รุนเหมาะ สําหรับการประกอบธุรกิจเอสเอ็มอีได เปนอยางดีในราคาเริ่มตนที่ 290,000 บาท รับประกัน 3 ป หรือ 50,000 กม. ซึ่งมีการติดตั้งถังแกสมาจากโรงงาน ผลิ ต โดยตรง ทํ า ให มั่ น ใจในความ ปลอดภัยได สวนรถที่มีการดัดแปลงตกแตง ภายในเรียบรอยพรอมนําสินคาเขาไป จํ า หน า ยได เ ลย ราคาจะเริ่ ม ต น ที่ 360,000 บาท สามารถผอนชําระได ผอนเฉลี่ยเดือนละ 4,000 บาท หรือ ประมาณ 100 บาท/วันเทานั้น โดย ลู ก ค า ไม จํ า เป น ต อ งนํ า รถมิ นิ ท รั ค ไป จําหนายเครื�องดื�มเทานั้น แตยังนําไป ขายบัวลอย ผัดไทย หรืออาหารประเภท อื�น ๆ ได ตามทําเลที่ตองการ ไม เ พี ย งแต ร ถมิ นิ ท รั ค จะนํ า ไป เปดรานขายของ หรือบรรทุกของหนัก เทานั้น แตยังสามารถนําไปดัดแปลง เปดธุรกิจบริการไดอีกดวย เชน รับติด ตัง้ ปม ลม แอร จานดาวเทียม งานไฟฟา ประปา เพราะมีความคลองตัวสูง
46 BUS&TRUCK • B&T PRODUCTS
ปกษหลัง • มิถุนายน 2558
BUS&TRUCK Products เฟองเกียร ไสเกียร
แหลงรวมอะไหลทั้งใหมและเกา ทั้งอะไหลรถญี่ปุนและรถยุโรป สําหรับลูกคาที่ตองการลดคาใช จายในการซื้ออะไหล โดยการ เลือกใชอะไหลเกาแทนการซื้อ อะไหล ใ หม ห รื อ อะไหล แ ท ที่ มี ราคาสูงเกินไป ประกอบกับการ ไมมั่นใจในอะไหลเทียมที่มีขาย ตามทองตลาดทั่วไป บจก.ซี แอล อะไหลยนต โทร.0-2237-9670
เครื่องดัดคานหนา เสื้อเพลา แชสซีส
ล็อคพวงมาลัย
ชุดดูดลูกปนรถบรรทุก
รุน T2400 (R/L) ผลิตจากเหล็กกลาชั้นดี มีความแข็งแรง ทนทานตอการโจรกรรม วัสดุภายนอกหอหุมดวยยางอยางดี เพื�อ ปองกันการขีดขวนภายในตัวรถ
ดูดลูกปนปลายเกียร และดุมลอหนา-หลัง ใช ไดกับรถบรรทุกทุกยี่หอ ไมวาจะเปน ฮีโน อีซูซุ มิตซูบิชิ
บจก.โซเล็กซ อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) โทร.0-2897-3914
บจก.เอ็ม ซี สายไฮดรอลิค โทร.0-3875-0071
กลอง SWR
Max View 5MCC
VRY-Attempt-03 สามารถดัดได โดยไม ถอดชิ้นงาน เปนระบบไฮดรอลิกดึงและ ดันใชสลิงเปนตัวกระทํา ควบคุมดวยรีโมท ไรสาย สามารถดัดรถบรรทุกใหญ สิบลอ หางพวง เทรเลอร 3 เพลาได
อุปกรณจีพีเอส (GPS Tracking) ติดตามและบันทึกทั้งขอมูล การใชงานรถและพฤติกรรมการขับขี่ของพนักงานขับรถได อยางถูกตองและแมนยํา สงขอมูลที่ ได สามารถนํามาประมวลผลบน Application (SWR-Monitor) และ Web Application ทําใหสามารถดูสถานะปจจุบันและดูขอมูล ประวัติการใชงานยอนหลังได
Max View 5MCC เปนสุดยอดกลองติด รถยนตคุณภาพสูงที่มาพรอมหนาจอขนาด 2 นิ้ว กลองมีความละเอียดสูงถึง 5 ลาน พิกเซลใหภาพถายคมชัดทุกมิติ รองรับการ บั น ทึ ก ภาพนิ่ ง และวี ดี โ อ (ความละเอี ย ด 1920 x 1080P, 1280 x 720P, 720 x480P) 30f/s
บจก.วิริยะยนต ออโตเซอรวิส โทร.08-1807-6651
บจก.ดี.ที.ซี. เอ็นเตอร ไพรส โทร.0-2759-4999
บจก.ดิจิตอล โฟกัส โทร.0-2733-9071
Glasso 1 ลิตร
นํ้ามันเบรกและคลัทช
Advance
สีพนรถยนต “นกแกว” เปนสีพน ร ถ ย น ต ที่ ผ ลิ ต ขึ้ น ม า อ ย า ง มี ประสิทธิภาพสูง ใหความทนทาน ตอสภาพ ดิน ฟา อากาศทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะอยางยิ่งในภูมิประเทศ ที่มีอากาศรอน สีจะไมซีดหรือดาน สามารถรักษาสภาพของรถยนตให เงา สงางามเปนเวลานานป
นํ้ า มั น เบรกสํ า หรั บ ใช ง านหนั ก คุ ณ สมบั ติ ต ามมาตราฐาน SAE J 1703 และ DOT 3 นํ้ามันเครื�อง สีเหลืองผลิตจากสารเคมีสังเคราะห ไมทําอันตรายตอสวนตาง ๆ ในระบบ หามลอไฮดรอลิคไมวายางหรือโลหะ เหมาะสําหรับระบบหามลอรถบรรทุก และรถบัสทั้งแบบดรัมเบรกและดิสค เบรก รวมถึงระบบคลัทช
แบตเตอรี่ชนิด Maintenance Free ที่ ไมตองเติมนํ้ากลั่น ตลอดอายุการใชงาน ออกแบบเปนพิเศษโดยใชตะกั่วผสม แคลเซียม ดีบุกและเงิน และมีแผนกั้น Envelope และ Glass Mat ปองกันการช็อตที่จะเกิดภายในแบตเตอรี่ ไดอยางมี ประสิ ท ธิ ภ าพและยั ง ท น ท า น ต อ ก า ร สั่ น สะเทือนสูงดวยใยแกว ชนิดพิเศษ สําหรับ 3K เทานั้น
บจก.แจคสเพนทส (ไทยแลนด) โทร.0-2322-6019
บจก.เชลลแหงประเทศไทย โทร.0-2262-6000
บจก.ผลิตภัณฑ 3 เค โทร.0-2393-3333
ยาง BluEarth AE01
สวนผสมเนื้อยาง “Nano Blend” สู ต รใหม ล า สุ ด เฉพาะของยาง BluEarth AE01 ซึ่งประกอบดวย โพลิ เ มอร ห ลายชนิ ด ช ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพสูงสุดในการประหยัด นํ้ามัน และทนทานตอการสึกหรอ ผสานสวนผสมของนํ้ามันสมชวยให สมรรถนะในการยึดเกาะถนนดียงิ่ ขึน้ บจก.ไทรพลัส ไทรมารทแอทแวนเทจ ทวีสิน โทร.0-2738-9433
รถกึ่งพวงพื้นเรียบ
รถกึง่ พวงพืน้ เรียบ ยาว 12.40 ม. 3 เพลา Extra แข็งแรง ทนทาน อะไหลแท นํ้าหนักเบา นอยกวา 7.7 ตัน
บจก.มีโชครุงเรืองกิจ โทร.08-1877-5223
ชุดหุมเบาะหนัง
PVC High Grade Paradise มีความ หนาทนทานและมีความยืดหยุนสูง รองรั บ นํ้ า หนั ก ได อ ย า งดี นุ ม นวล สบายตลอดการเดินทาง ไมทําให เมื�อยลา
บจก.ดารายุทธเอ็นเตอรไพรส โทร.0-2457-4303
Yutong Coach
ชุดลําโพงสามมิตร
ปองกันหวงหลุด ดวยระบบ Double Lock นํ้าหนักเบา ทนตอแรงกระแทก ปลดล็อค ดวยระบบ Auto ปากลําโพงมีความทนทาน gh Tensile สูง ผลิตจากเหล็ก High
บมจ.สามมิตรมอเตอรส แมนูแฟคเจอริง (มหาชน) น) โทร.0-2023-4955
Hino Serie 3 XZU600R
Yutong Coach ZK6122H9 (HN9) ขนาด 12 เมตร รถโคชทีเ่ หมาะกับการเดินทางไกล ทองเทีย่ ว หรือไปสัมมนาเปนอยางมากดวย รูปลักษณที่สวยงาม และหองโดยสารที่ ได รับออกแบบเพื�อความ สะดวกสบาย อยางแทจริง
รถยนตบรรทุกและรถยนตโดยสารฮีโนทุกรุน ไดรับการคิดคน และพัฒนาเพื�อให ไดผลิตภัณฑที่เต็มเปยมดวยประสิทธิภาพ และสมรรถนะ ควบคูไปกับความตองการของสังคม และการ ใสใจสภาพแวดลอม เพื�อตอบสนองทุกการใชงานของทุกธุรกิจ ทั้งภายในประเทศ และตางประเทศ ซึ่งแสดงถึงคุณภาพ ระดับสากลของฮีโน
บจก.ไทยคูชัย โทร.0-2376-9123
บจก.ฮีโน มอเตอรส แมนูแฟคเจอรริ่ง (ประเทศไทย) โทร.0-2384-2900