)Ŵ
++):(<":-
D +=*)&9 !:&?M! =L G Ċ : ĉ/! Q:D#đ!&?M! =L2=D =*/ G3Ċ :/ +@ D &7
+: : b` ":
@ (:& =/<
2++3: #Ŵ#Ŵ Ŵ H)ĉ 5"):&: )+)2?L5-Q:#: E 5 č +$=F$-ĉ
2
8
3!Ċ:
3!Ċ:
D 1 +!Q:H *
2& Ŵ *:* D +?5 ĉ:* AĊ =& G! 5# Ŵ D&<L) ßa AĊ =& a Q:"-à G3Ċ +5" -@) !&Ŵ5!@ : D0+1 D2 =*+
16
3!Ċ:
29! <2@ :*E !G Ċ
D ĉ!G! "9"
#ā =L g "9" =L aff #ď 1č3-9 D ?5!)< @!:*! /9! =L af ų c` )< @!:*! beef
!9" 5*3-9 Ċ:/2Aĉ #+8 : )5:D =*! D+ĉ #A /:)+AĊD 1 + : Ċ!!QM: > #-:*!QM: -5 D &/< 9 1č <
3!Ċ:
21
ß+ĉ/) < +ĉ/) Q: 5*ĉ: 2+Ċ: 2++ čà
E!/ < E-83-9 :+ 5 ß5@ <0 A ĉ/*à
QZ =[. :!Q ¤ : Z =WDO
Ċ:< /¤ …
…
5@ <0 A ĉ/*
3K L=W;QG" 8 G L %LA3L 9 /@ < G2*D ?M5
"@ + D +<*:(<+)*č
Ċ!E"" :+ 9 :+ Ċ:!2@ 5!:)9* F * 5" Ŵ
3!@!F5 5# :/D ĉ!2Aĉ -: 2: #ďĔ)*5 E 8 a E2!-Ċ:! +9"D55= =
Ŵ D < /! D-?5 9M Ċ5 <L! D ?5!)< @!:*! beef 5ĉ:!3!Ċ:
8
!&&+ +@ :
2ĉ5 -> #ď 3:3-9 #+8D)<! :+0> 1:H * 2)0Ŵ)9L!G :+ Q: :! ĉ:) -: D2=* Ċ:!
ac #ā :+ Q: :! Ċ:! :+#+8D)<!$- :+ 9 :+0> 1:
5 2Q:!9 :!+9"+5 ): + :!E-8#+8D)<! @ (:& :+ 0> 1:3+?5 2)0Ŵ D&?5L G3Ċ) = :+ +/ 25" @ (:& 5 2 :!0> 1: D#đ! H# : ) =L Q:3! H/ĊG! 3):*/ĉ: Ċ/* :+0> 1:E3ĉ : < F *G3Ċ)= :+#+8D)<! @ (:&(:*!5 5 2 :!0> 1: @ E3ĉ 5*ĉ: !Ċ5*3!> L
+9 M G! @ e #ā 0Ŵ +Ŵ : + č &++@ĉ F+ !č
5ĉ:! ĉ53!Ċ: 24
29)(:1 č&<D01 -:*D#đ! *@ 0:2 +č +83!Q:L +9 ":-&++ D&?5L H *5*ĉ: H)ĉ* 9M +8 9 L ": !": -@)ĉ : H# > != L 8D#đ! @ D#+:8": =5L : 2ĉ $G3Ċ+ 9 ":--Ċ) +?!- H Ċ D)?5L )= :+#A 9/D- :+ : @!G!F + :++9" Q:!Q: Ċ:/)=): > bŴf E2!-Ċ:!": 8 = L 5Ċ *E - 5 +9 )! += =+L "9 $< 5" KH ĊE ĉD&=* 5Q:M J 5> L J # <D2 H)ĉ2 A > D&=* !9!M E-8 K )<G ĉ /9 D- =EL Ċ +< å E ĉ =L!:ĉ < E-8!ĉ: :)G3Ċ- > - H# /ĉ:!9!M K 5? - E-Ċ/29 ) 9! E& *č3 < @ =+: 9! <+9 2= H * Ċ5 :+ ĉ/* :/!: +< 3+?5 ŴŴŴħ D&+:8 =$L :ĉ !): D)?5L #+8 : ! A )9 )?5 55 3):*D =* (:1=D Ċ:H#5@)Ċ !:*E" č 5@)Ċ &ĉ5 Ċ:!9 2-: <!E"ĉ +9 ":- 9" :! īĻĺ +@ < =L :Q D ċ D5 D&+:8-8F)"F-(): D <! K2 A D#-ĉ:J -9"D#đ! ß ?M5 /:)3/9 9M *9 H Ċ @0- ĉ/*29 )à D+?5L =2L 9 )D =*" +<" 3:E)Ċ +8 9 L ! Q:$< H)ĉH Ċ 5ĉ:! ĉ53!Ċ: 2 5ĉ:!3!Ċ: 19
ß0A!*č&9 !:D K D-K )-:à Ŵ(AD K
Q:!/! abb E3ĉ
D)?L5H)ĉ /=L 9! =$L ĉ:!): 3!9 2?5&<)&č 5# Ŵ !</2č H ĊD Ċ:&"E-829)(:1 č!:*5@ <0 A ĉ/* ĉ5! :+#+8 :0-:55 : Q:E3!ĉ !:* 5 č :+"+<3:+2ĉ/! 9 3/9 2 -:D&=* H)ĉ =L /9! "+<D/ "Ċ:! 5 !:*5@ <0 A ĉ/* D+=* +:* H# Ċ/*F ċ8+9"E )=E D3+?L5): ):* :E'
!) !)D!* 5ĉ:! ĉ53!Ċ: 7
5ĉ:!3!Ċ: 14
*<L -9 1 č <!/9 +
ļĬĺı E!8 +9 G Ċ /:)+5" 5" 5@ 3!@!+: :&-9 :! 3ĉ/ G Ċ 9!5*ĉ: '@Ą) D'ă5*
#ď 3: ĉ: J : Ċ:! &-9 :! =LD < >M! -Ċ/!D#đ! =L!ĉ: 9" :)5 9!5*ĉ: ): 9M #ď 3: :+$-< H''ą:F * :+2+Ċ: F+ H''ą:D&?5L /:) )9L! 5 #+8D 0 :+!Q: &-9 :!H#G Ċ G !(:
+9 / D+? 5 ! +/) > :+5@ 3!@ ! $A Ċ )= + :*H Ċ ! Ċ 5 * > Q : G3Ċ 2 :"9!/< 9* D&?L5 :+&9 !: #+8 D 0 H * Ů = 5= :+čH 5ů
:+&9 !:F + :+3!>L Q:"-3!>L $-< (9 č ŮF5 5#ů D#đ!3!>L G!!F*":* D+ĉ ĉ/! 5 +9 ":- =GL 3Ċ /:)2Q: 9 9" :+ &9 !:D0+1 < :!+: 5 #+8D 0 D&?5L 2ĉ D2+<)G3ĊD < :+2+Ċ: :! 2+Ċ: 5: =& 2+Ċ: +:*H ĊG3Ċ "9 @) ! Ċ5 <!L H Ċ) = @ (:& =/< =L = >M! 9M !=M 8 Ċ5 )= :+2!9"2!@!G3Ċ @) !H Ċ)F= 5 :2D Ċ: > 5 č /:)+A2Ċ )9*G3)ĉ E3-ĉ D <! @! :+&9 !: = /:)2:):+ :+"+<3:+ 9 :+ 5ĉ:! ĉ53!Ċ: 17
+Ŵ5 <0+č 5<0+: A+ 5*@ *:
5ĉ:!3!Ċ: 10
ทองถิ่นไทย
2
จํานําขาว
ใครได ?... ใครเสีย…? นักการเมือง-พอคา-ชาวนา
(ตอจากหนา 1) <<<
โครงการรับจํานําขาวไดกลายเปนหนึง่ ในโครงการหลัก ทีม่ เี ปาหมายเพือ่ ชวยยกระดับ ชาวนาไทยเปนนโยบายจากพรรคไทยรักไทยมา สูพ รรคพลังประชาชน จนมาถึงมือพรรคเพือ่ ไทย ในปจจุบนั ขณะทีอ่ กี ฟากหนึง่ ชูนโยบายประกัน ราคาขาวเขาขับเคีย่ ว กลายเปนวิวาทะใหสงั คม ถกเถียงกันมาตอเนื่อง แบบไหนมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพมากกวากัน ภายใตเงือ่ นไข ชวย ชาวนา ชวยราคาขาวใหดขี นึ้ และปจจุบนั ก็ยงั รวมไปถึงโรงสี และพอคาขาวสงออก ทีเ่ ขามามี อิทธิพลตอการกําหนดราคาขาวอยางสูง แตพลันที่ รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร เปดนโยบายจํานําขาวทุกเม็ดทีใ่ หราคา สูงถึง 15,000 บาทตอตัน ทีส่ งู กวาราคาตลาด ขณะที่ ต ลาดโลกซบเซา โดยมี น ายบุ ญ ทรง เตริยาภิรมย รัฐมนตรีวา การกระทรวงพาณิชย เปนผูรับผิดชอบ เสียงคัดคานจึงดังขึ้นเปน นโยบายทีผ่ ดิ พลาด พรอมขอกลาวหากอใหเกิด การทุจริตคอรรปั ชัน่ อยางไรก็ตาม ดานหนึง่ มองวา การรับ จํานําขาวคือการทีร่ ฐั เขามารับภาระเปนตัวกลาง ในขัน้ ตนยอมจายเงินในราคาอันเปนทีน่ า พอใจ คุมกับตนทุนใหในระดับหนึ่งกับชาวนา พรอม เก็บสต็อกขาวไวเอง เพื่อพรอมระบายใหกับ พอคาทีใ่ หราคาเปนทีน่ า พอใจกับรัฐ อีกสวนรัฐ สามารถใชสต็อกขาวที่มีอยูขายออกในรูปแบบ แลกสินคา หรือแมกระทัง่ การขายแบบใหราคา รัฐตอรัฐ
อคส.แจงสตอกขาว 15 ลานตัน
ลาสุด เมือ่ วันที่ 6 มิ.ย.ทีผ่ า นมา นาย สมศักดิ์ วงศวฒ ั นศานต รองผูอ าํ นวยการองคการ คลังสินคา (อคส.) เปดปริมาณสต็อกขาวสาร ในโครงการรับจํานําขาวทุกเมล็ด มีประมาณ 17-18 ลานตัน โดยเปนขาวในโครงการรับจํานํา นาป 2554/55 ประมาณ 2.3 ลานตัน โครงการ รับจํานํานาปรัง ป 2555 ประมาณ 7.2 ลานตัน
และโครงการรับจํานํานาป ป 2555/56 ประมาณ 8 ลานตัน โดยมีภาระผูกพันตองขายใหกรม ราชทัณฑ และนํามาผลิตเปนขาวถุงออกขาย ประมาณ 2 ลานตัน ทําใหเหลือสต็อกประมาณ 15 ลานตัน รองผูอํานวยการ อคส.ยังระบุดวยวา โครงการรับจํานํามีมาตัง้ แตป 2544 ถึงปจจุบนั ถือวาขณะนี้เก็บสต็อกมากพอสมควร โดยป 2544-2550 มีสต็อกคาง 12 ลานตัน โดยรัฐบาล ประชาธิปตยชวงป 2551 ที่มีนายกอรปศักดิ์ สภาวสุ เปนรองนายกฯ ไมไดระบายออกไปเลย ตอมาในสมัยนายไตรรงค สุวรรณคีรี เปนรองนา ยกฯ ระบายไปประมาณ 4-5 ลานตัน แตสมัย รัฐบาลนีเ้ พียง 3 โครงการ แตมสี ต็อกถึง 17-18 ลานตัน เพราะรับจํานําขาวทุกเมล็ด ผิดกับรัฐ บาลกอนๆ ทีก่ าํ หนดปริมาณรับจํานําไวที่ 4-5 ลานตันเทานัน้ ทําใหตวั เลขสต็อกมีสงู นอกจากนี้ นายณั ฐ วุ ฒิ ใสยเกื้ อ รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงพาณิชย ออกมา เปดเผยในการสัญจรเพือ่ ชีแ้ จงโครงการรับจํานํา ขาวทีพ่ ษิ ณุโลกวา โครงการทุกชนิดทีร่ ฐั บาลทํา เพื่อยกระดับความเปนอยูของเกษตรกร ไมวา จํานําขาวหรือแทรกแซงราคา เปนโครงการทีไ่ ม ประสงคกาํ ไร คือ ควักเงินของรัฐอุดหนุนเกษตร เปนหลัก ทัง้ นี้ หลังรัฐบาลเดินหนาโครงการรับ จํานําขาว สามารถดึงดูดใหชาวนานําขาวมาเก็บ ไวกบั รัฐ เมือ่ ขาวถูกดูดออกจากตลาดมาอยูใ น มือรัฐ ขณะทีค่ วามตองการขาวในประเทศและ ตลาดตางประเทศยังมีอยู สงผลใหราคาขาวถูก ยกตัวสูงขึน้ ชาวนาทีร่ ว มจํานําขาว ก็ไดเงินเพิม่ ตามสภาพความเปนจริงของคุณภาพขาวและ ความชืน้ ชาวนาทีไ่ มไดจาํ นําขาว ก็ไดประโยชน จากราคารับซือ้ ทีส่ งู ขึน้ “ถามวาขาดทุนไหม ขาดทุนแนนอน โครงการรับจํานําขาว มีคณะอนุกรรมการปด บัญชี ที่ปลัดกระทรวงการคลังเปนประธาน โดยมอบหมายใหรองปลัดทําขอมูลการปดบัญชี ตัวเลขเหลานี้ ขาดทุนเทาไหร จะเสร็จสมบูรณ ก็ตอ เมือ่ ผานทีป่ ระชุมคณะกรรมการขาว หรือ กขช. ที่มีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน แตที่นา ประหลาดใจคือ วันที่ 23 พ.ค. 56 ไดประชุม คณะอนุกรรมการปดบัญชี และสรุปเปนเอกสาร ลับ แตกลับมาโผลขอมูลในเฟซบุคของรองนา ยกฯ สมัยที่แลววา ปแรกของการจํานําขาว รัฐขาดทุน 2.6 แสนลานบาท”
ปที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
ยันเงินถึงมือเกษตรกร 6 แสนลาน
เงือ่ นไขของรัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ สงผลใหมี นายณัฐวุฒิ ยังนํารายงานตัวเลขจาก การเขามาประกอบอาชีพปลูกขาวเพิม่ ขึน้ ตอนหนึง่ นิรมล ระบุวา แนนอนวาการ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ (ธกส.) หาชาวนาไดเบ็ดเสร็จ แต มาเปดเผยใหเห็นดวยวา มีเม็ดเงินเขาถึงมือ จํานําขาวไมไดแกปญ เกษตรกรชาวนา ในปแรกของโครงการฯ ขาว ก็ถอื วาเปนจุดเริม่ ตนของภาครัฐทีจ่ ะหันมาสนใจ นาปฤดูการผลิต 2554/2555 มีขา วเปลือกเขา เรือ่ งรายไดและปญหาของชาวนา แมการรับจํานําขาว ซึ่งทําใหชาวนามี รวมโครงการ 6.95 ลานตัน โอนเงินเขาบัญชี เกษตรกร 118,000 ลานบาท ขาวนาปรังฤดูการ รายไดเพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจากราคาขายขาวเพิม่ สูง ผลิต 2555 มีขา วเขาโครงการ 14.7 ลานตัน โอน ขึน้ จะทําใหเกิดความวิตกกังวลในหมูน กั วิชาการ เงินเขาบัญชีเกษตรกร 218,000 ลานบาท รวมป และนักวิเคราะหหนาจอทีวีวา จะทําใหตนทุน แรก มีขา วเขาโครงการ 21.65 ลานตัน โอนเงิน การผลิตของชาวนาเพิ่มขึ้น เนื่องจากชาวนา ตองการจะผลิตขาวใหไดมากๆ เพื่อนํามาเขา เขาบัญชีเกษตรกร 337,000 ลานบาท ในปที่สองของโครงการฯ ฤดูการผลิต โครงการรับจํานํา อยางไรก็ดี ตนทุนการผลิตขาวที่เพิ่ม 2556 รอบแรก มีขา วเขาโครงการ 14.02 ลานตัน โอนเงินเขาเกษตรกร 228,000 ลานบาท รอบที่ ขึ้นในขณะนั้น เกิดขึ้นตามเงื่อนไขของตลาด สอง ขาวเขาโครงการ 3.45 ลานตัน โอนเงินเขา เสียมากกวา เพราะเอาเขาจริงแมราคาขาวจะ บัญชีเกษตรกร 52,000 ลานบาท รวมโครงการ ไมเพิม่ ขึน้ (โดยการจํานําขาว) ราคาปุย -ยาก็มี รับจํานําขาว 2 ป โอนเงินเขาบัญชีเกษตรกรแลว แนวโนมเพิม่ ขึน้ อยูแ ลว ชาวนาไมไดใชปยุ หรือ ยาเพิ่มขึ้นเพื่อเพิ่มผลผลิตอยางไมลืมหูลืมตา 618,000 ลานบาท อยางไรก็ตาม ประเด็นโครงการรับจํานํา แตพวกเขาใชปจ จัยการผลิตเหลานีค้ วบคูไ ปกับ ขาว การวิพากษวิจารณขยายวงมากขึ้น อาทิ การประเมินความคุม ทุนของเขาดวย นอกจาก นิรมล ยุวนบุณย นักเขียน นักวิชาการ ไดเขียน นัน้ ตนทุนการผลิตก็ยงั เกีย่ วของกับคาแรง ซึง่ บทความเชิงวิชาการหลายตอนลงในเว็บไซต แรงงานเปนปจจัยการผลิตทีห่ าไดยากขึน้ ทุกวัน “ความเปลีย่ นแปลงทีส่ าํ คัญทีก่ าํ ลังเกิด ประชาไท (www.prachatai.com) ทีอ่ ธิบายถึง สภาพการทํานาในภาคกลางในปจจุบนั และใน จากนโยบายการจํานําขาวทุกเม็ด ไดแก การ เมือ่ รัฐนําโครงการรับจํานําขาวมาใช โดยเฉพาะ ขยายตัวอยางมากของการปลูกขาวในฤดูกาลที่ หลายคนเปนหวงเรื่องจํานําขาวทําใหรัฐบาลขาดทุน 100,000 ลานบาท จริงๆ แลวไมมี เปนการคํานวณผิดพลาด หากคิดจากงบประมาณที่ใชในการรับจํานําปกอน 370,000 ลานบาท แตมีของที่ขายไดอยู ไมใชวาปนี้จะขาดทุนเทานี้ ปหนาจะขาดทุนเทานี้ เอามาคูณกันเขาไปเลย รอบบัญชีกับรอบโครงการจะไมเหมือนกัน เคยมีขาวบางสมัยยังขายไมหมดก็มี แตคนอาจจะมี ความรูสึกวาซื้อๆ มาแลวขาย เราอยากใหมองเปาหมายของการรับจํานํา ไมใชการซื้อมาขาย ไป เจตนารมณของรัฐบาล คือ ตองการสรางรายไดที่ดีใหเกษตรกร ใหหลุดพนจากวงจรหนี้สิน แตคงไมใชนโยบายระยะยาว เปนเพียงการลดภาระของเกษตรกรใหสามารถลืมตาอาปาก ยืน บนขาของตัวเองได เรามีเสนทางที่วางไว และมีกรอบ ระยะเวลา หากไมชวยใหเกษตรกรมีรายไดเทียบเทากับ คาแรงงานขั้นตํ่า 300 บาทตอวัน อาจทําใหเกษตรกร เลิกอาชีพนี้ไปหมด โครงการสามารถยกระดับราคาขาวเปลือกหอม มะลิใหสงู ขึน้ จากปกอ น 9% และราคาขาวเปลือกเจา 5% ปรับสูงขึ้นกวาปกอน 16.1% เพราะราคาจํานําสูงทําให เกษตรกรผูปลูกขาว 37 ลานครัวเรือน เขารวมโครงการ แลว 1.7 ลานครัวเรือน ไดรับประโยชนมีรายไดและเม็ด วิบูลยลักษณ รวมรักษ เงินหมุนเวียนเขาสูร ะบบเศรษฐกิจ และชาวนาปลดหนีไ้ ด อธิบดีกรมการคาภายใน
ผานมา และจะขยายตัวมากขึน้ ในการปลูกขาว นาปรังทีก่ าํ ลังจะมาถึง เหตุผลงายๆ ก็คอื เมือ่ ไมมีความเสี่ยงดานราคา การลงทุน/ลงแรง ปลูกขาวก็ไดกําไรเห็นๆ อยูแลว ยกเวนวาจะ เจอกับภัยธรรมชาติจนไมไดผลผลิตเลย แตนนั้ แหละก็ยังไดโอกาสรับคาชดเชยความเสียหาย นัน้ ๆ จากรัฐ”
เปรียบเทียบ ปรส.-โฮปเวลล
ขณะทีอ่ กี ดานหนึง่ บนโลกไซเบอร หลาย ความคิดเห็นไดมองเปรียบเทียบกลับมาโจมตี การขาดทุนในโครงการรับจํานําขาว ทัง้ ทีช่ าวนา พอใจ กับหลายๆ โครงการทีผ่ า นมาและทําใหรฐั สูญเสียไปอยางมโหฬาร แตเสียงโจมตีกลับนอย เพิม่ ผลผลิตไมใชคาํ ตอบ นั ก วิ ช าการผู นี้ ระบุ ด ว ยว า นั ก และแผวเบา อาทิ ป 2540 เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตรฝายคานโครงการจํานําขาว มัก ฟองสบูแตก สงผลใหสถาบันการเงินของไทย บอกวาควรใหชาวนาเพิม่ ผลผลิต/ไร ใหมากขึน้ จํานวนมากลมไมเปนทา และรัฐบาลในขณะนัน้ เพื่อใหชาวนามีรายไดมากขึ้น ซึ่งจึงมีคําถาม ไดนาํ 56 สถาบันการเงินไปเรขายใหกบั ตางชาติ วา ในภาพรวมถาชาวนาทัง้ ประเทศทํานา 10 ในราคาถูก (ปรส.) จากมูลคา 851,000 ลานบาท ลานไร เคยไดผลผลิต 10 ลานตัน แตเมือ่ เพิม่ ขายไปเพียง 190,000 ลานบาท ขาดทุนยับไปถึง ประสิทธิภาพมากขึ้นจนชาวนาทั้งประเทศได กวา 6 แสนลานบาท คดีลากยาวมาปจจุบนั ยัง ขาวเพิม่ ขึน้ เปน 12-15 ลานตัน หรือไดผลผลิต หาคนกระทําผิดไมได หรืออยางโครงการโฮปเวลลที่เหลือให เพิม่ ขึน้ มา 2-5 ลานตัน ราคาขาวทีพ่ วกพอคารับ ซือ้ จะถูกขึน้ เทาเดิม หรือวา แพงขึน้ (ถาไมมี เห็นแตตอมอเปนอนุสรณ ที่ไมสําเร็จแถมเสีย โครงการรับจํานํา) ในหลักดีมาน-ซับพลาย ราคา คาโงไปไมตาํ่ กวา 1.2 หมืน่ ลานบาท ไมนบั รวม โครงการอีกหลายโครงการทีส่ อ เคาชัดวามีการ ขาว 12-15 ตัน มันนาจะถูกลงใชไหม? ถาผลผลิตมันเพิ่มขึ้นอยางที่วานั้น ก็มี ทุจริตงบประมาณรวมการขาดทุนหลายแสนลาน แนวโนมวาราคาขาวจะถูกลง มันนาจะเปนขอ บาท พวกเขาถามวา หากรัฐจะขาดทุนเปนหลัก เสนอเพือ่ สรางตลาดเทียมใหชาวนาเชือ่ อยางนัน้ แสนลานบาทบาง จากทีย่ งั มีสต็อกขาวทีพ่ รอม ใชหรือไม? เพราะเมือ่ ชาวนาเพิม่ ประสิทธิภาพ ขาย ซึ่งก็อาจลดการขาดทุนไดในอนาคต กับ ไดเมือ่ ไหร ชาวนาทีท่ นุ นอยกวาและตองขายใน สามารถยกระดับชาวนาทีส่ งั คมพรํา่ บนเปนกระ เพดานราคาทีก่ ดตํา่ ไมเกิน 10,000 บ./ตัน กอน ดูกสันหลังของชาติใหมฐี านะทีด่ ขี นึ้ ได มันจะแย หนาโครงการจํานําขาวของ รัฐบาลยิ่งลักษณ ไปกวาโครงการทีล่ ม ระเนระนาดจนขาดทุนอยาง ก็จะตองลมหายตายจากไปจากระบบการผลิต สูญเปลาในอดีตทีผ่ า นมากระนัน้ หรือ หรือจะเปนดังที่ นิรมล สรุปในบทความ ขาวขาย นิรมล ยังนําบทสัมภาษณชาวนามา ชิ้นหนึ่งวา “มันยากที่ชาวนาและเครือขาย ลงในบทความดวย เชน ชาวนาขาราชการครู ในหวงโซอุตสาหกรรมการผลิตขาว (ที่ไมได อยาง สําราญ มวงศรีทอง อายุ 58 ป ซึง่ ทํา สัมพันธกันกับอุตสาหกรรมเคมีการเกษตร นาควบคูไปกับขาราชการครูที่สอนวิชาเกษตร และปโตรเคมี) อาทิ ชาวนารับจาง ผูมีรถ ในโรงเรียนขยายโอกาส เปนคนหนึง่ ทีท่ าํ นามา รับจางไถนา เกีย่ วขาว เหลานีจ้ ะออกมาพูดตอ ตั้งแตเด็กมาจนถึงปจจุบัน กลาวไวชวงหนึ่งวา สาธารณะเพือ่ ปกปองผลประโยชนทพี่ วกเขาได “ทํานาตนทุนเฉลีย่ ประมาณกวา 4,000 บาท/ จากโครงการจํานําขาว” “เพราะอยางไรเสีย เสียงของพวกเขา ไร ถาขาวราคาตันละกวาหมื่นบาท ชาวนา จะไดกําไร 6,000-7,000 บาท/ไร อยูที่ราคา ก็ไมมที างดังพอ ไมทรงภูมมิ ากพอ เทากับเสียง ดวย สมัยทักษิณดี สมัยอภิสทิ ธิไ์ มดี พอสมัยยิง่ ของพวกพอคา ผูส ง ออก นักวิชาการ และนัก ลักษณดี สมัยอภิสิทธิ์ ไดตันละ 6,500-8,500 วิเคราะหหนาจอ ทีไ่ มเคยผานความเสีย่ งของ บาท บวกคาชดเชยแลวอยางมากที่สุดก็ตัน ดินฟาอากาศ และกลไกตลาดที่ใชกดราคา ละ 10,000 บาท สมัยทักษิณไดตนั ละ 14,000 ขาว ดังทีช่ าวนาตองเจออยางจําเจซํา้ ซากอยู บาท ยิ่งลักษณไดตันละกวา 12,000-14,000 ชัว่ นาตาป” บาท มันก็ดี ชาวนาตอนนีล้ มื ตาอาปากได สมัย
เตรียมพัฒนาพื้นที่ใตทางดวน ทําเปนพื้นที่สีเขียวใหชาวกรุงเทพฯ
นายสั ญ ญา ชี นิ มิ ต ร รองปลั ด กรุงเทพมหานคร เปนประธานการประชุม คณะกรรมการประสานความร ว มมื อ การ ใช พื้ น ที่ ก ารทางพิ เ ศษแห ง ประเทศไทย เพื่อพิจารณาการตอสัญญาการใชพื้นที่ใต ทางดวน และขอใชพื้นที่เพิ่มเติมกับการทาง พิเศษแหงประเทศไทย ณ หองนพรัตน ศาลา วาการกทม. โดยสํานักผังเมืองไดรับมอบพื้นที่ใต ทางดวนจากการทางพิเศษแหงประเทศไทย มาตั้งแตป พ.ศ. 2550 เพื่อพัฒนาพื้นที่ให เกิดประโยชนตอ สาธารณะและสรางสภาวะ แวดลอมเมืองใหมีความนาอยู รวมทั้งสิ้น 137 บริเวณ โดยไดพัฒนาเปนลานกีฬา ลานอเนกประสงค กอสรางสาธารณูปโภค อืน่ ๆ สวนสาธารณะ สวนหยอม ทางเดินเทา ถนนทางลัด ฯลฯ และ กรุงเทพมหานครได ขอตอสัญญาการใชพนื้ ทีท่ จี่ ะสิน้ สุดสัญญาใน ป 2556 อีกจํานวน 77 บริเวณ ซึ่งการทาง พิเศษฯ ยังคงตอสัญญาใหใชพนื้ ทีไ่ ดอยางตอ เนื่อง รวมถึงไดเสนอขอใชพื้นที่เพิ่มเติมอีก
นีท้ าํ 2 ป 30 ไรกวา ชาวนาเดีย๋ วนีม้ รี ถกันทุก คนแลว ดูรเู ลย”
1 บริเวณ คือ พื้นที่เชิงสะพานเฉลิมหลา 56 (สะพานหั ว ช า ง) ซึ่ ง การทางพิ เ ศษฯ อยู ระหวางพิจารณา นายเกรียงพล พัฒนรัฐ ผูอํานวย การสํานักผังเมือง กลาววา นอกจากจะ พิจารณาการตอสัญญาการใชพื้นที่และขอ ใชพื้นที่เพิ่มเติมแลว ยังไดหารือรวมกันใน เรื่องของการใชพื้นที่ที่การทางพิเศษฯ ให กรุ ง เทพมหานครดู แ ลรั ก ษาและใช พื้ น ที่ ให เ ป น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค โดยเฉพาะ บริเวณแยกตางระดับคลองเตย เนื้อที่ 8 ไร เพื่อใหจัดทําเปนสวนสาธารณะ “สวน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จยา” นั้น ขณะนี้ยัง ไมไดพัฒนาพื้นที่ใหเปนไปตามวัตถุประสงค ซึ่งกรุงเทพมหานครจะเรงดําเนินการพัฒนา พื้นที่ในบริเวณดังกลาวและในบริเวณอื่นๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหกับกรุงเทพมหานคร ตามนโยบายการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสวน สาธารณะขนาดใหญของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ตอไป
กรุงเทพฯ นครแหงความสุข ของผูสูงอายุและคนทุกวัย
นางผุสดี ตามไท รองผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เปนประธานการเสวนา “กรุงเทพฯ....มหานครแหงความสุข” ซึ่งคณะผูเขาอบรมหลักสูตรนักบริหารมหานคร ระดับสูง รุนที่ 8 จัดขึ้น ณ หองรัตนโกสินทร ศาลาวาการกทม. นางผุสดี ตามไท กลาววา กรุงเทพฯ มีประชากรกวา 10 ลานคน หากไมมีการ ดูแลจัดการที่ดีก็จะเต็มไปดวยปญหา จึงไดจัดทําหลักสูตรเพื่อพัฒนา นักบริหารระดับ สูงใหเปนนักบริหารมหานครมืออาชีพ กาวทันตอสถานการณทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงตลอด เวลา อีกทัง้ ยังเปนการเสริมสรางศักยภาพดานการบริหารบนพืน้ ฐานของหลักคุณธรรม จริยธรรมอยางมีประสิทธิภาพ พรอมขับเคลื่อนยุทธศาสตรของกรุงเทพมหานครไปสู การพัฒนาอยางยั่งยืน ทั้งนี้ปญหาในขณะนี้มีหลายดาน อาทิ การกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ ปญหาดาน สิง่ แวดลอม โดยเฉพาะการจัดการขยะในชุมชน และปญหาจราจร ซึง่ ตองเพิม่ คุณภาพ ชีวติ ของผูส งู อายุดว ยการสงเสริมปจจัยพืน้ ฐานการดํารงชีวติ การสงเสริมคุณภาพชีวติ การสงเสริมใหสังคมตระหนักถึงคุณคาของผูสูงอายุ ความสัมพันธระหวางวัย และการ จัดสภาพแวดลอมทีเ่ หมาะสมสําหรับผูส งู อายุ สวนการนํารถไฟฟารางเดีย่ ว (Monorail) มาใชในกรุงเทพฯ จึงตองออกแบบโครงสรางสิง่ อํานวยความสะดวกใหเหมาะสมกับผูส งู อายุและคนทุกวัย เพื่อใหไดรับความสะดวกในการเดินทาง
โครงการ คลองสวยใส
ใสใจสิ่งแวดลอม
เมื่อเร็วๆ นี้ ณ มัสยิดอิมารอตุดดิน เขตห ว ยขวาง กรุ ง เทพมหานคร นายอมร กิจเชวงกุล รองผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เปนประธานเปดกิจกรรมรณรงครกั ษสงิ่ แวดลอม โครงการคลองสวยใส ใสใจสิ่งแวดลอม เนื่องดวยวันที่ 5 มิ.ย.ของทุกป เปนวัน สิ่งแวดลอมโลก เปนวันที่ทุกคนควรแสดงถึง ความตระหนักตอภาวะสภาพแวดลอมที่กําลัง เขาสูชวงวิกฤติ ดังนั้นเพื่อเปนการกระตุนเตือน ให ป ระชาชนทุ ก คนในฐานะที่ เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของสังคมไทย ไดมีสวนรวมในการดูแลรักษา
และพัฒนาสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร โดย สํานักการระบายนํ้า สํานักงานเขตหวยขวาง สํานักงานเขตวังทองหลาง รวมกับภาคีเครือขาย ไดแก พนักงานจิตอาสา ดีแทค รวมดวยชวยกัน และอาสาสมาชิกรวมดวยชวยกัน กําลังพลทหาร จากกองทัพภาคที่ 1 โดยมณฑลทหารบกที่ 11 กําลังพลจากกองพลที่ 1 รักษาพระองค และ ประชาชนในชุมชนริมคลองลาดพราว 80 รวม ทัง้ หมด 700 คน รวมกิจกรรมโครงการคลองสวย ใส ใสใจสิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิดความชวยเหลือ เอื้อเฟอระหวางประชาชนในชุมชน กําลังพล ทหาร พนักงานจิตอาสา และเจาหนาที่ของรัฐ รวมทํากิจกรรมยกระดับคุณภาพชีวติ ของชุมชน ลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม มีความรับผิดชอบ คํานึงถึงสภาพแวดลอม ตลอดจนมีสวนรวมใน การดูแลรักษาและพัฒนาสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน สําหรับกิจกรรมโครงการคลองสวยใส ใสใจสิง่ แวดลอม ประกอบดวย กิจกรรมในคลอง ไดแก ลงเรือเก็บขยะตามแนวคลอง ลงเรือ เก็บผักตบชวา และวางแนวไมไผดักขยะ และ กิจกรรมทางบก ไดแก เก็บขยะ ผักตบชวาใน ชุมชนตามแนวคลอง ทาสีรั้วตามแนวริมคลอง และกิจกรรมเด็กรณรงครักษสิ่งแวดลอม
สมาชิกสภาการหนังสือพิมพแหงชาติ หนังสือพิมพรายปกษ “ขาวสารเพื่อสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น” กอตั้งเมื่อ : กรกฎาคม 2549 ผูกอตั้ง : นายสมพงษ สระกวี เจาของ : บริษัท อปท.นิวส จํากัด กองบรรณาธิการ : 315/576 ชั้น 13 อาคารชุดฟอรจูน คอนโดทาวน 5 ถนนสาธุประดิษฐ แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท : 0-2674-0084 โทรสาร : 0-2674-0085 อีเมล : apt.news@yahoo.com เว็บไซต : www.opt-news.com ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ : ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาล บรรณาธิการที่ปรึกษา : บุญกลม ดงบังสถาน บรรณาธิการบริหาร : ชาญวิทยา ชัยกูล ที่ปรึกษาฝายการตลาด : อุดม จีระวิวิธพร, ประเวศน จันทรหลา บรรณาธิการขาว : ภาณุวัฒน หาญสมบูรณ ผูสื่อขาว : ปานเพชร ดอนมวงไพร, ไหมทอง ศรีพิกุล, สินีนาฏ พรปติธรรม, ทัศนวิมน สิงหะไชย บรรณาธิการภูมิภาค : ธนพล ปยสิรานนท ฝายศิลปกรรม : รังสรรค อินทรศาสตร บริหารงานขายโดย : บริษัท เบสท โฟร มีเดีย จํากัด โทร. 0-2689-9120-1, แฟกซ 0-2689-9122 บริษัท สื่อปญญาไทย จํากัด โทร. 0-2561-4993 ตอ 336, 086-3550132, 086-3550131 แฟกซ 0-2941-5801 ฝายโฆษณา : มารีญา โยธานัก, บุษยา สิตวงษ ฝายสมาชิกสัมพันธ : อิงอร วิเชียรชัยยะ โทร. 0-2674-0084, แฟกซ 0-2674-0085 บรรณาธิการผูพิมพ/ผูโฆษณา : จารึก รัตนบูรณ แยกสี / พิมพ : บริษัท โบนัส พรีเพรส จํากัด โทร. 0-2561-4993 (อัตโนมัติ) จัดจําหนาย : โอเชี่ยนกรุป สนใจสมัครเปนสมาชิก ติดตอ : อิงอร วิเชียรชัยยะ โทร. 0-2674-0084, แฟกซ 0-2674-0085
ท้องถิ่นไทย
ปีที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
ก้มหน้าก้มตารับใช้ประชาชน สมทรง พันธ์เจริญวรกุล
นายกอบจ.พระนครศรีอยุธยา .....หลั งจากที่ ไ ด้ รั บ ความไว้ ว างใจจากชาว พระนครศรี อ ยุ ธ ยาให้ ก ลั บ มาเป็ น นายกองค์ ก ารบริ ห าร ส่วนจังห วัดพระนครศรีอยุธยาเป็นสมัยที่ 3 นางสมทรง พั น ธ์ เ จริ ญ วรกุ ล ก็ เ ร่ ง เดิ น หน้ า แก้ ป ั ญ หาต่ า งๆให้ กั บ ประชาชนในพื้นที่ อย่างไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย เพราะหลัง จากที่เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ จนบัดนี้ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดูเหมือนว่าจะ ต้องเข้าไปซ่อมบ�ำรุงอีกมากมาย อีกทั้งยังต้องเดินหน้าพัฒนาเมืองให้งดงามทันสมัย ก้าวทันกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซีย หรือ AEC ในปี 2558 ที่ก�ำลังจะมาถึง ภารกิจเหล่านี้ล้วนท้าทายยิ่ง
ในสมัยที่ 3 จะเร่งพัฒนาจังหวัดอย่างไรบ้าง
ต้องขอบคุ ณทุกคะแนนเสียงจากพี่น้องประชาชนที่ เลือกเข้า มาท�ำงานต่อในสมัยที่ 3 ซึ่งเราจะต้องเร่งด�ำเนิน
งบประมาณของ อบจ. พระนครศรีอยุธยา ปีละ ประมาณ 1 พันกว่าล้านบาท แต่ยังไม่เพียงพอ เนื่องจาก เราประสพภัยธรรมชาติ เมื่อปี 2554 น�้ำท่วมเสียหาย ทั้งจังหวัด ถนนหนทาง ทุกสายได้รับความเสียหาย อย่างหนัก
“ผมเป็นคนไม่มีพรรคมีแต่พวก”
กิตติ เป้าเปี่ยมทรัพย์
นายกอบจ.ฉะเชิงเทรา 3 สมัย จังหวัดฉะเชิงเทรา อยูไ่ ม่หา่ งจากกรุงเทพมหานคร มีโรงงานอุตสาหกรรมเข้าไปตัง้ อยู่ ในพื้นที่มากมาย แต่โรงงานส่วนใหญ่จะจ่ายภาษีที่กรุงเทพฯ ขณะที่โรงงานเหล่านั้นเข้าไปใช้ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และระบบสาธารณูปโภคพื้นที่ฐาน ของจังหวัดฉะเชิงเทรา นายกิตติ เป้าเปี่ยมทรัพย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา จึงต้องออกมา ร้องขอให้ผปู้ ระกอบการพันกว่าแห่งช่วยเสียภาษีในพืน้ ที่ เพือ่ รายได้ภาษีสว่ นหนึง่ จะได้ไหลเข้าไป ยัง อบจ.ฉะเชิงเทรา จะได้น�ำเงินไปพัฒนาและแก้ไขปัญหา รวมถึงการซ่อมแซมสาธารณูปโภค สาธารณูปการที่โรงงานเหล่านั้นมีส่วนท�ำให้ทรุดโทรมและสึกหรอ
ชนะเลือกตั้ง 3 สมัยมีนโยบายอะไร
ในการหาเสียง ทุกครั้งที่ได้รับความไว้วางใจจากพี่น้องประชาชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา จะเน้นเรื่อง การศึกษาเยาวชนจะต้องมาก่อนเพราะ การศึกษาเป็นเรื่องจ�ำเป็นอย่างมาก ของ เรามีโรงเรีย นในสังกัดจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 โรงเรียน นอกจากนี้ยังท�ำ MOU ให้กับโรงเรียน ต�ำรวจตระเวนชายแดนคือเราอุดหนุนตามภารกิจ และตั้งใจที่จะต้องท�ำอย่างเร่งด่วนในสมัยนี้ คือ เรื่องการศึกษา โดยเฉพาะเรื่อง ภาษาอังกฤษ ยิ่งประเทศเราจะย่างเข้าสู่ AEC ในปี 2558 ยิ่งต้องใช้ภาษาในการสื่อสารเป็นหลัก นอกจากนี้ยังสนับสนุนโครงการด้านพื้นฐานต่างๆ เรียก ว่า ครบวงจร หรืออาจจะมีสิ่งดีๆ ให้พี่น้องประชาชนเสริมไปอีก
โรงงานอุตสาหกรรม ตั้งอยู่ในพื้นที่ ฉะเชิงเทรา พันกว่าโรงงาน ในขณะนี้ แต่ร้อยละ 90% จะไปเสียภาษี ในส่วนกลางกันหมด งบประมาณในการบริหารจัดการพอหรือไม่
อบจ.ฉะเชิงเทราอยูต่ ดิ กทม. มีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึน้ เป็นจ�ำนวนมาก แต่การจัดเก็บ ภาษีนนั้ ยากล�ำบาก และผูป้ ระกอบการต่างๆ จะไปช�ำระภาษีในพืน้ ที่ กทม.แทน โดยมีขอ้ อ้าง ไม่ สะดวกบ้าง หรือติดขัดต่างๆนาๆ ซึง่ หลายคนมองว่า งบประมาณอบจ.ฉะเชิงเทรา น่าจะมี เป็น พันล้าน แต่จริงมีงบประมาณเพียง 500 กว่าล้านบาทเท่านั้น และยังไงๆก็ไม่พอในการบริหาร จัดการ แต่เราก็ต้องบริหารจัดการให้ดีที่สุดสมดังเจตนารมณ์ที่พ่อแม่พี่น้องให้ความไว้วางใจ ผมในฐานะนายกอบจ.ก็วิ่งเต้นหางบประมาณมาจากส่วนกลางบ้าง จากส.ส.หลายท่านบ้าง จากเลขารัฐมนตรีในหลายกระทรวงลงมาช่วยบ้าง
อยากจะบอกอะไรกับภาคเอกชนบ้าง
ส�ำหรับโรงงานในพื้นที่ฉะเชิงเทรา อยากให้มาเสียภาษีในพื้นที่กันบ้าง ที่ผ่านมาโรงงาน อุตสาหกรรมมักจะไปเสียภาษีในกทม.เป็นส่วนใหญ่ โดยอ้างว่า ส�ำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในส่วน กลาง ทั้งที่โรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่ในพื้นที่ฉะเชิงเทราพันกว่าโรงงานในขณะนี้ แต่ร้อยละ 90% จะไปเสียภาษีในส่วนกลางกันหมด ซึ่งเราได้พยายามเชิญบรรดาผู้ประกอบการมาหารือ ท�ำความเข้าใจกัน ขอความร่วมมือหลายครั้ง แต่เจ้าของและผู้จัดการใหญ่ๆ จะไม่ค่อยมา เมื่อ เร็วๆ นี้ ผมก็ได้พดู เรือ่ งนีอ้ อกโทรทัศน์ฝากไปถึงรัฐบาล ในกรณีโรงงานอุตสาหกรรมเข้ามาท�ำให้ สภาพแวดล้อม ถนนหนทางหลายสายเสียหาย แต่พอถึงเวลากลับไม่มาช�ำระภาษีในพืน้ ทีท่ ตี่ วั เอง มาลงทุน เพื่อจะได้นำ� เงินภาษีมาพัฒนาในพื้นที่ได้หมุนเวียนต่อไป และผมก็ไม่ได้เรียกร้องเกิน ขอบเขต แต่เรียกร้องในสิ่งที่ถูกต้อง ขอฝากเรื่องนี้ไปถึงส.ส.ช่วยเสนอด้วย เพื่อเป็นประโยชน์ ต่อพี่น้องประชาชนทั่วประเทศ ไม่ใช่เฉพาะฉะเชิงเทราเท่านั้น
มีปัญหาการท�ำงานในพื้นที่กับส.ส.หรือไม่
ที่ผ่านๆ มาในการบริหารงานผมไม่มีปัญหากับใคร หรือแม้แต่ฝ่ายการเมือง ไม่ว่า ส.ส. เทศบาล อบต. ทุกฝ่ายประสานการท�ำงาน มุ่งให้ท้องถิ่นเจริญก้าวหน้า ผมมีหลักการท�ำงาน ว่าไม่ว่าฝ่ายใดมาขอให้ช่วยเหลือ หาไม่มีปัญหาข้อกฎหมาย หรือระเบียบราชการ ผมยินดีช่วย ทั้งหมด พูดตรงๆ เลยว่า “ไม่มีพรรค มีแต่พวก” ยกตัวอย่างหากดึงงบประมาณมาสร้างความ เจริญได้ เราก็สนับสนุน แต่หากยังไม่ได้ หรือ งบไม่พอก็ต้องรอกัน และไม่เคยขัดแย้งกับใคร
ในวัย 67 คาดหวังอย่างไรกับงานพัฒนา
ก้าวขึ้นมาสมัยที่ 3 ต้องขอบคุณพ่อ แม่ พี่น้อง ชาวฉะเชิงเทรา ที่ให้ความไว้วางใจและ สนับสนุนให้ทำ� งานพัฒนาต่อไป ถึงแม้จะเข้าวัย 67 ปี แต่พร้อมเพือ่ พัฒนาบ้านเกิดเราให้มคี วาม เจริญก้าวหน้า ตอนนีป้ ระเทศไทยเปลีย่ นแปลงไปเรือ่ ยๆ คนรุน่ ใหม่ มีความรูค้ วามสามารถทีจ่ ะ น�ำพาท้องถิน่ ประเทศชาติไปในทิศทางทีด่ เี หมือนนานาประเทศ ส่วนอนาคตสมัยหน้านัน้ ผมไม่ คิดครับ แต่ทุกอย่างประชาชนต้องมาก่อน และต้องตอบแทนคุณแผ่นดิน เทิดทูลชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เหนือสิ่งอื่นใด
การสะสางโครงการต่างๆทีใ่ ช้งบประมาณเพือ่ ความ เจริญของพี่น้องประชาชน รวมไปถึงการพัฒนาใน ทุกๆ ด้าน ร่วมไปถึงสภาพแวดล้อม และปัญหาภัย แล้งที่ชาวไร่ ชาวนา ชาวสวนได้ประสพอยู่ ซึ่งทาง อบจ.พระนค รศรีอยุธยาได้จัดเครื่องไม้เครื่องมือ และเจ้าหน้าทีล่ งไปให้ความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ในทุกๆ พืน้ ที่ นอกนีย้ งั ออกลงทีใ่ นงานประชาคมทัง้ 16 อ�ำเภอ ตอนนี้ดำ� เนินไปแล้ว 4 อ�ำเภอ โดยเชิญ
3 ผู้เกี่ยวข้องในแต่ละอ�ำเภอมาพุดคุยว่าอ�ำเภอไหนเดือดร้อน อบรมให้ทวั้ ถึงไปแล้ว ซึง่ ถือว่าพร้อมในการรับ AEC ทุกภาค ต้องการควา มช่วยเหลืออะไรบ้าง เราจะได้น�ำมาหารือเพื่อ ส่วนเดินไปพร้อมๆกัน หาทางช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
งบประมาณเพียงพอหรือไม่
ส�ำหรับงบปร ะมาณของอบจ.พระนครศรีอยุธยาปี ละประมาณ 1 พันกว่าล้านบาท ก็ไม่น้อย แต่ยังไม่เพียงพอ เนื่องจากอบจ.พระนครศรีอยุธยาประสพภัยธรรมชาติ เมื่อ ปี 2554 น�ำ้ ท่วมเสียหายทั้งจังหวัด ถนนหนทางทุกสายได้ รับความเสียห ายอย่างหนัก ตลอดจนพืชผลทางการเกษตร สัตว์เศรษฐกิ จล้วนได้รับผลกระทบอย่างมาก ตอนนี้อบจ. ได้จัดสรรเงิ นงบประมาณลงไปแก้ปัญหาเป็นระยะ ซึ่งต้อง ขอบคุณไปยังรัฐบาล ที่จัดสรรงบฉุกเฉินลงมาสมทบ เพื่อ ช่วยเหลือพี่น้องประชาชนอีกทางหนึ่ง
มีความพร้อมรับ AEC มากน้อยแค่ไหน
เราเตรียมพร้ อมบรรดาเจ้าหน้าที่ทุกฝ่าย เราเร่งจัด อบรมให้ความรู้ด้านภาษาในเบื้องต้น และมีการอบรมเป็น ระยะๆ ซึ่งเราจัดอบมรมตั้งแต่ พนักงาน ผู้เกี่ยวข้อง ตลอด จนนักเรียนนั กศึกษา อีกทั้งยังได้ประสานไปยังโรงเรียนที่ อยู่ในการดูแ ลของอบจ. ซึ่งส่วนใหญ่จะเน้นย�้ำเรื่องภาษา อังกฤษ เป็นห ลัก นอกจากนี้ยังได้จัดอบรมต�ำรวจบ้าน อพปร.อาสาสมั ครสาธารณภัย ซึ่งที่พระนครศรีอยุธยา มี อาสาสมัครอพปร. จ�ำนวนมาก ก็จดั สรรงบประมาณในการจัด
การประสานงานส.ส.และพรรคการเมือง
การท�ำงานการเมืองในพื้นที่ ตั้งแต่ได้รับเลือกเป็น นายกอบจ.ครัง้ แรก และได้กลับเข้ามาเป็นนายกอบจ.อีกครัง้ เป็นสมัยที่ 3 ไม่เคยมีปัญหาแต่อย่างใด เนื่องจาก ส.ส. และ ส.ว.เรานับถือกันมาก หรือแม้แต่ท้องถิ่นต่างๆ เช่น อบต. เทศบาล ทุกอย่า งเราพูดคุยหารือกันอยู่ตลอดเวลา เหมือน พี่เหมือนน้อง ขาดเหลือเกื้อกูลต่อกันมาโดยตลอดเวลา ดัง นัน้ การพูดจาพบปะกันจึงเกิดขึน้ บ่อยๆ ใครติดขัดปัญหาอะไร ก็ยกหูมาพูดคุยกัน
การพัฒนาพื้นที่มรดกโลกอย่างไร
เราส่งเสริมปรั บปรุงโบราณสถานเพราะถือว่าเป็น แหล่งวัฒนธรรม และมรกดโลก มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้า มายังพระนครศรี อยุธยาปีๆหนึ่งจ�ำนวนมาก ท�ำให้เม็ดเงิน ไหลเข้ามาในประ เทศและท้องถิ่นเราจ�ำนวนมาก นอกจาก นี้ยังจัดอบรม มัคคุเทศก์น้อย และส่งเสริมอาชีพทั้งหมด นอกจากนี้เรื่อ งการจัดเก็บภาษีของอบจ.พระนครศรีอยุธยา นั้นต้องขอบคุณ ผู้ประกอบการ โรงงาน บริษัท ห้างร้าน ที่ เสียภาษีให้กับอบจ. เพราะเงินเหล่านี้ จะกลับมาสร้างความ เจริญให้กับท้องถิ่นของเรา ซึ่งจะต้องส่งต่อไปยังเยาวชนรุ่น หลังต่อไปด้วย
สังคม/บุคคล
4
ปีที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
มอบหนังสือการ์ตูน
เปิดงานแสดงสินค้าอาหาร
ณัฐวุฒิ ใสยเกือ้ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นประธานพิธเี ปิดงานแสดงสินค้าอาหาร2556 (THAIFEX World of Food ASIA 2013) พร้อมเป็นสักขีพยานในพิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างThaitrade.com กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ และ Tradeindia.comโดยมี ศรีรตั น์ รัษฐปานะ อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เป็นผู้ลงนามร่วมกับ Mr.Bikky Khosla ผู้ ก่อตั้งและประธานกรรมการบริหาร Tradeindia.com
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับหน่วยงานในสังกัด ได้แก่ กรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และภาคเอกชน ประกอบด้วย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย และบริษัทผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) จัดกิจกรรมมอบหนังสือการ์ตูน “อีเด็น น้อยกับทะเลแห่งความสุข”(Little Eden and Happy Sea) ฉบับอักษรเบรลล์ 2 ภาษา และตุ๊กตาวาฬ บรูด้า ให้แก่โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ โดยมี ดร.เกษมสันต์ จิณณวาโส หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธาน รวมทั้งมอบเงินบริจาคจากการจ�ำหน่ายตุ๊กตา วาฬบรูด้า 129,272 บาท โดยจะน�ำเงินดังกล่าวไปใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการสอนส�ำหรับใช้ประโยชน์ ใน โรงเรียนต่อไป
ให้การต้อนรับ
ดร.โชติชัย สุวรรณาภรณ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่นโยบายและเศรษฐกิจพลังงาน บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และ ก�ำพล มหานุกูล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ ให้การ ต้อนรับ ฐิติมา อภิธรรมวงศ์ ประธานบริหาร บริษัท เอ็น.ที.อาร์.มีเดีย แอนด์ คอนซัลแทนท์ จ�ำกัด และ ธิดาแรงงาน ประจ�ำปี 2556
บริการ AIS mPAY MasterCard
ฌอง มาร์ค ดาแลร์ (ที่ 1 จากซ้าย) ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์บัตรเครดิตและ สินเชือ่ ส่วนบุคคล ธนาคารธนชาต จ�ำกัด (มหาชน) จับมือพันธมิตรยักษ์ใหญ่เมืองไทย เพือ่ ร่วมกันพัฒนา บริการ “AIS mPAY MasterCard” เพิ่มความสะดวกสบายในการช้อปปิ้งออนไลน์อย่างไร้ขีดจ�ำกัด ให้กับลูกค้าเอไอเอสทุกกลุ่มโดยไม่ต้องมีบัตรเครดิต โดยมี สุปรีชา ลิมปิกาญจนโกวิท (ที่ 2 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการ บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จ�ำกัด และ แอนโทนิโอ คอร์โร (ที่ 3 จากซ้าย) ผู้จัดการ ประจ�ำประเทศไทยและพม่า มาสเตอร์การ์ด เวิลด์วายด์ พร้อมด้วย ปิยชาติ รัตน์ประสาทพร (ที่ 4 จากซ้าย) กรรมการบริหาร บริษัท ทูซีทูพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมพัฒนาระบบครั้งนี้
บสส.เข้าร่วมประชุม IPAF
นิตยา พิบูลย์รัตนกิจ ประธานกรรมการ บริษัท บริหารสินทรัพย์สุขุมวิท จ�ำกัด (บสส.) หรือ SAM (คนแรกจากซ้ายมือ) พร้อมคณะ ประกอบด้วย ชูเกียรติ จิตติไมตรีสกุล กรรมการผู้จัดการ และ นิยต มาศะวิสุทธิ์ รองกรรมการผู้จัดการ เป็นตัวแทน AMC จากประเทศไทยในการเข้าร่วมประชุม และลง นามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในเวทีระดับภูมิภาคเอเซีย “The 1st International Public AMC Forum” (IPAF) ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ ระหว่างวันที่ 27-28 พฤษภาคม 2556 ซึ่งเป็นการจัด ประชุมระดับภูมิภาคครั้งแรก โดยมี “KAMCO” (Korea Asset Management Cooperation) เป็นเจ้า ภาพการจัดงาน และมี ADB (Asian Development Bank) เป็นผู้สนับสนุนหลัก
เลาะรั้วท้องถิ่นไทย ค บไฟ
OOOผ่านลมร้อนมาหลายวันย่าง เข้าฤดูฝน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ไร้ เ ยื่ อ ใยไมตรี กั บ รั ฐ บาล “ยิ่งลักษณ์” เสียแล้ว ชัยมงคล ไชยรบ นายกอบจ.สลกนคร แกนน�ำ ประกาศ จะชุมนุมกดดันรัฐบาลถึงขัน้ “แตกหัก” หลังงบอุดหนุน ของรัฐตามมติของคณะ อนุกรรมการที่ต้องให้กับ อปท. 30% ชัยมงคล ไชยรบ หายวับ OOO…ล่าสุด จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รมว.มหาดไทย เตรียมเพิ่มงบประมาณท้องถิ่นเป็น 28 % ปี 2557 ก่อนเพิ่มขึ้นในปีต่อๆ ไป จะขยับขึ้นตามล�ำดับ จาก นัน้ กลุม่ ผูช้ มุ นุมได้ทยอยเดินทางกลับ OOO…เร่งสปีดกันเต็มที่ ก�ำพล มหานุกูล บอสใหญ่ค่าย อปท.นิวส์ ลุยงานใน 9 จังหวัด
เปิดอบรม สมทรง พันธ์เจริญวรกุล นายกอบจ.พระนครศรีอยุธยาให้การต้อนรับ พร้อม ผูบ้ ริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัด 27 จังหวัด คณะตัวแทน ผูน้ ำ� ชุมชน จ�ำนวนกว่า 500 คน เข้าร่วม ที่ ห้องประชุมโรงแรมกรุงศรีริเวอร์ อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โดยมี วิทยา ผิวผ่อง ผวจ. พระนครศรีอยุธยา ประธานเปิดงานเมื่อเร็วๆ นี้
ช�ำระค่าตั๋ว บางกอกแอร์เวย์ ผ่าน 3 ช่องทาง พรต เสตสุวรรณ รองผู้อ�ำนวยการใหญ่ฝ่ายการตลาด บมจ. การบินกรุงเทพ และ วีระพงศ์ ศุภเศรษฐ์ศกั ดิ์ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ธนาคารกรุงไทย ร่วมเปิดบริการรับช�ำระค่าตัว๋ เครือ่ งบิน บางกอกแอร์เวย์ ผ่าน ATM บริการ KTB Online หรือ KTB Online @ Mobile เพียงใช้รหัส Code ช�ำระเงินจากการจองตั๋วผ่าน Call Center 1771 ฟรีค่าธรรมเนียมระหว่าง 1 มิ.ย. - 31 ก.ค. 2556
ออกสลากสัญจรเมืองหนองคาย
ส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ออกสลากสัญจร งวดประจ�ำวันที่ 1 มิถุนายน 2556 ณ ห้อง รอยัลคอนเวนชั่น ฮอลล์ โรงแรมรอยัล แม่โขง หนองคาย ต�ำบลกวนวัน อ�ำเภอเมืองหนองคาย จังหวัด หนองคาย โดยมี วิเชียร ปิยะวรากร รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดหนองคาย เป็นประธานในการออกรางวัล
สนับสนุนโครงการ “รวมพลังศรัทธาไทย ใต้ร่มเย็น”
วารีย์ โตวัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานปฏิบัติการสินเชื่อ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ หรือ ธอส. (ที่ 3 จากซ้าย) เป็นประธานในพิธฉี ลองสมโภช พระบรมสารีรกิ ธาตุในโครงการ “รวมพลังศรัทธา ไทย ใต้ร่มเย็น” พร้อมมอบเงินสนับสนุนในการจัดสร้าง “พระพุทธนิรสรรพภัย” และ “พระไพรี พินาศ” เพือ่ น�ำไปประดิษฐานยังศาลากลาง 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และอ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อเป็นสิริมงคล สร้างขวัญก�ำลังใจ และเป็นที่ยึดเหนี่ยว จิตใจของพระภิกษุสงฆ์ ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน เจ้าหน้าทีท่ หาร ต�ำรวจ ครู และอาสาสมัครผูป้ ฏิบตั ิ หน้าที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยกิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้น ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง เมื่อเร็วๆ นี้
แจก แนะน�ำตัวหนังสือพิมพ์ อปท.ฉบับ พิเศษ ที่อยู่ระหว่างจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ 2 หลังออกมาให้เห็นเป็นที่ถูกใจนายกอบจ. ทัว่ ประเทศไปแล้ว OOO…งานนี้ สมทรง พั น ธ์ เ จริ ญ วรกุ ล “เจ้ ใ หญ่ ” นายกอบจ. พระนครศรีอยุธยา เป็นแม่งาน คราวนี้ “เจ้” จัดหนักเปิดห้องประชุมโรงแรมกรุง สมทรง พันธ์เจริญวรกุล ศรีริเวอร์ บรรดา นายกชาย นายกหญิง ควบรถมาร่วมงานกันแน่น OOO…อรพิน จิระพันธุ์วาณิชย์ นายก อบจ.ลพบุรี ให้เวลาคณะกองบก.อปท.นิวส์ ที่เดินทางเข้าพบ จนต้องลุก จากเก้าอีต้ รี ถด่วนมาร่วมงานทีพ่ ระนครศรีอยุธยา คงให้ อุมาพร คลังผา รองนายกอบจ.ลพบุรี ลูกสาวคนโปรดของ ประธานวิปรัฐบาล อ�ำนวย คลังผา ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี OOO…วันชัย ธีระสัตยกุล นายอบจ.ราชบุรี สมัย 2 บอกยังเสียดายไม่ได้เข้าร่วมงานของอบจ. 27 จังหวัดภาคกลาง เพราะติดราชการหลายแห่งในพื้นที่ แต่ก็เห็นด้วยกับ การจัดงานในครัง้ นี้ OOO…พิสฐิ เสือสมิง นายกอบจ.สมุทรสงคราม ป้ายแดงสมัยแรก เข้ามาบริหารงานแบบประหยัดเงินงบประมาณทุกๆ รูปแบบ ประหยัดจริงๆ OOO…ชนาธิป โคกมณี ปลัดอาวุโส อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จ จริง หนึ่งสกล อดีตนายกในคลองบางปลากด พร้อมคณะกรรมการ มี ละเอียด สนั่นทุ่ง ปลัดอ�ำเภอ งานปกครองอ�ำเภอพระสมุทร์เจดีย์ วรพจน์ ศรีใย ปลัดอ�ำเภอหัวหน้าฝ่ายความมั่นคง พระสมุทรเจดีย์ ตามค�ำสั่งวรทัศน์ วานิชอังกูล นายอ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ นอกจากนี้ ทางคณะกรรมการได้เรียก มงคล เขียวสวาท หัวหน้าส�ำนักงานปลัด อบต.ในคลองบางปลากด มาให้ ปากค�ำที่เแจ้งความกับต�ำรวจ สภ.พระสมุทรเจดีย์ หลังไม่ยอม เซ็นตรวจรับถนน และถูกข่มขู่ OOO…สุ ด ท้ า ย ประชา ประสพดี มท.3 ระเบิดอารมณ์ ไม่เคยไปสัง่ คณิต เอีย่ มระหงษ์ ผู้ว่าฯสมุทรปราการ วรทัศน์ วานิ ช อั ง กู ล นายอ� ำ เภอพระ อรพิน จิระพันธุ์วาณิชย์ สมุ ท ร์ เ จดี ย ์ กรณี ธนภั ท ร์
เยี่ยมโหร ทบ.
โดยเมื่อไม่นานมานี้ ก�ำพล มหานุกูล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ มีโอกาสได้ เข้าเยี่ยมคารวะ อาจารย์หนึ่ง ไพรัตน์ ส�ำเภาทอง หรือ “โหร ทบ.” ณ ส�ำนักงาน โดยได้รับการ ต้อนรับเป็นอย่างดียิ่ง
เปิดด่าน เฉลิมชัย เฟือ่ งคอน ผูว้ า่ ฯ อุตรดิตถ์ มฤมล ศิรวิ ฒ ั น์ ส.ว. จังหวัดอุตรดิตถ์ พล.ต.ต.พิเชษฐ วัฒนลักษณ์ ผบก.ภ.จว.อุตรดิตถ์ ร่วมเปิดป้ายจุดผ่านแดน ถาวรภูดู่ และ เปิดที่ท�ำการออกเอกสารผ่านแดนอ�ำเภอบ้านโคก เพื่อความเป็น สิรมิ งคล เพือ่ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนน�ำสูก่ าร เปิดประตูสหู่ ลวงพระ บาง มรดกโลก และก้าว สู่ AEC เทพทอง รองนายกอบต.ทีถ่ กู ปลดจากต�ำแหน่ง “ประชา”พูดอย่างหัวเสีย กรณี หนึ่งสกล ออกมาแถลงข่าว สุดท้าย โยนบอก “สื่อ” ไป เขียนเองไม่เคยให้ท�ำให้ “นายเสีย” แปลก ดี เ น่ อ ะ OOO…ป.ป.ช.กลางลงพื้ น ที่ ตรวจสอบการใช้จ่ายเงินดูงานของอบต.ห้วย โจด หลังมีชาวบ้านร้องเรียน บริษัท ดีจัง มงคล เขียวสวาท บ๊อกซิ่งทัวร์ จ.อุดรธานี โดยผู้ประกอบการ ต้องจ่ายเงินส่วนต่าง 6 หมื่นบาท ให้กับ สุรศักดิ์ หยุยลือ ปลัด อบต. ห้ว ยโจด เที่ยวนี้ พิทักษ์ ตามบุญ นายก อบต. พ่วง กันทิมา รินทะรักษ์ เจ้าหน้าที่คลัง ต้องจัดตัวเลขให้ดๆี ขนาดเงินแผ่นดินขาดหาย ไม่กรี่ อ้ ยบาทยังถูกออกจากราชการ หากเทีย่ วนี้ รอดไปทั้งคณะยอมยกนิ้วให้ ส่วน นายอ�ำเภอ (หญิง)กระนวน และ สมศักดิ์ สุวรรณสุจริต ผู้ว่าฯ ขอนแก่นรู้ทั้งรู้อ�ำนาจจัดการปัญหา ประชา ประสพดี ทุ จ ริ ต ผู ้ น� ำ ท้ อ งถิ่ น แต่ ยั ง ไม่ มี ข ้ า ราชการ
คนไหน “ธรรมาภิบาล”ชาวบ้านปล่อย ให้ ทุจริต เป็นเรื่องเคยชิน เอาเข้าจริงๆ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนพอเป็นพิธี พอ จวนตัวกลัวตัวเองเจอ “ละเว้น” ก็ย้าย ดีกว่าเหมือนกับ ไกรสร กองฉลาด ได้ดิบ ได้ดีเป็นปลัดเมืองเพชรบูรณ์ ไปเรียบร้อย OOO…อส.ร้องทุกข์ มาหลายรอบ สมศักดิ์ สุวรรณสุจริต ล่ า สุ ด ขอเรื่ อ งค่ า การพยาบาลรั ก ษา กระทรวงมหาดไทย มีเงินเย่อะแต่ไม่แจงให้กบั อส.ทัว่ ไทยให้ชดั เจน ว่า เรื่องนี้หลายคนเห็นว่าไม่เกี่ยว ทุกอย่างขึ้นอยูที่ สวัสดิการ ประกันสังคม ฝาก ชวน ศิรินันทพร อธิบดีกรมการปกครอง ช่วยที OOO...อุทศิ ชูชว่ ย นายกอบจ.สงขลา เหลือเวลาท�ำงานอีกไม่นาน ทีส่ ดุ “ไขก๊อก” ลาออกเตรียมเลือกตัง้ ใหม่ ส่วนเรือ่ งกรณีพวั พันกับคดีความ เจ้าตัวยืนยันในความบริสุทธิ์ คดีลอบสังหาร พีระ ตันติเศรณี อดีต นายกเทศมนตรีนครสงขลา และจะเดินหน้าโครงการก่อสร้าง กระเช้าลอยฟ้าข้ามทะเลสาบสงขลา ถึงจะมีเสียงคัดค้านว่าท�ำลาย แนวต้นสน อาจได้รบั ผลกระทบ ส่วนจะได้สร้างหรือไม่และคดีความ ที่ยังอยู่ในศาล ประชาชนยังให้ความสนใจอยู่OOO
ส่งเสริมประเพณี กิตติภทั ร์ รุง่ ธนเกียรติ์ นายกอบจ.สุรนิ ทร์ เปิดงานประเพณีบวชนาคช้าง เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินนี าถ และ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ปี 2556 เพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่ประเพณีบวชนาคช้างวัฒนธรรมการ เลี้ยงช้างของชาวกวย
มหาดไทยวั น นี้
ปีที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
มหาดไทยวันนี้
มท.ถกปรั บ รู ป ที ด ่ น ิ รับลงทุนรถไฟฟ้าความเร็วสูง เมื่ อ มี ร ถไฟความเร็ ว สู ง เกิ ด ขึ้ น บริเวณรอบสถานีย่อมมีการพัฒนาเป็น ชุมชนใหม่เกิดขึ้น ดังนั้น อาจจ�ำเป็นต้อง มีการขยายผังเมืองรวมออกมาบังคับใช้ ในพื้นที่รอบสถานีเพื่อให้เกิดการพัฒนา โดยกรมฯ จะวางผังรอบสถานีในรัศมี 2 กิโลเมตร หรือ 2,500 - 3,000 ไร่ เป็นธรรมดาเมื่อรัฐบาลริเริ่มโครงการขนาดใหญ่ๆ ขึ้นมา ความเปลี่ยนแปลงของอาณาบริเวณพื้นที่รอบข้าง จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ ย่อมเกิดขึ้นเป็นเงาตามตัว โดยเฉพาะต่อการพัฒนาพื้นที่ เพื่อรองรับความเจริญที่เกิดขึ้น อันมีผลท�ำให้ราคาที่ดินใน ละแวกนั้นๆ ขยับตัวสูงขึ้นอย่างอยากจะหลีกเลี่ยงได้ แต่ นั่นก็มิใช่เป็นข้อกล่าวอ้างที่รัฐบาลจะเพิกเฉย ไม่ลงมือลง ไม้ควบคุม ยิ่งกับโครงการรถไฟฟ้าความเร็วสูงที่พาดผ่าน มณฑล สุดประเสริฐ ไปยังพื้นที่หลายจังหวัด ดังนั้น เมื่อไม่นานมานี้เอง กระทรวงมหาดไทย โดย นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการฯ ในฐานะคณะ กรรมการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ฯ จึงได้เรียกผู้บริหาร ระดับสูงจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเข้าร่วมประชุม อาทิ ปลัด กระทรวงมหาดไทย, ปลัดกระทรวงคมนาคม, ปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์, ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม, ปลัดกระทรวงการคลัง, อธิบดีกรมที่ดิน และอัยการสูงสุด ฯลฯ อยู่นอกผังเมืองรวม จะต้องขยายผังเมืองรวมออกมาให้ครอบคลุมเพื่อให้การ โดยมีวาระการพิจารณาหลักการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนา และแนวทางวิธีจัดรูป พัฒนาท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านนายจารุพงศ์ กล่าวว่า เป็นธรรมดาที่การจัดรูปที่ดินจะท�ำให้ที่ดิน ที่ดินมาใช้พัฒนาพื้นที่บริเวณสถานีรถไฟฟ้าความเร็วสูง รายงานข่าวแจ้งว่า นายมณฑล สุดประเสริฐ อธิบดีกรมโยธาธิการและ โดยรอบพื้นที่มีราคาที่ดินปรับตัวสูงขึ้น 2-3 เท่า แม้จะเสียที่ดินร้อยละ 20 แต่ ผังเมือง (ยผ.) อธิบายสรุปแนวทางการจัดรูปที่ดินใกล้สถานีรถไฟฟ้าความเร็ว จะได้ความเจริญกลับคืนมา ส�ำหรับแนวทางทีม่ อบให้กรมโยธาธิการฯ พิจารณา สูง โดยมีความเห็นว่า เมื่อมีรถไฟความเร็วสูงเกิดขึ้นบริเวณรอบสถานีย่อมมี นอกจากการจัดรูปทีท่ ดลองท�ำเบือ้ งต้นแล้ว คือการปรับการจัดรูปพืน้ ทีร่ อบรัศมี การพัฒนาเป็นชุมชนใหม่เกิดขึน้ ดังนัน้ อาจจ�ำเป็นต้องมีการขยายผังเมืองรวม 2 กิโลเมตรได้รบั ประโยชน์เพิม่ เติม โดยขอให้จดั รูปเป็นพืน้ ทีว่ งกลมแทนจากจัด ออกมาบังคับใช้ในพืน้ ทีร่ อบสถานีเพือ่ ให้เกิดการพัฒนา โดยกรมฯ จะวางผังรอบ ตามผังเมืองปกติ ส่วนการจัดท�ำน่าจะใช้เวลาประมาณ 2-3 ปี โดยต้องมีขั้นตอนรับฟัง สถานีในรัศมี 2 กิโลเมตร หรือ 2,500 - 3,000 ไร่ ทั้งนี้ การจัดรูปที่ดินจะเป็นวิธีที่รัฐไม่ต้องเสียงบประมาณในการเวนคืน ความเห็นประชาชนจนกว่าจะเป็นที่พอใจของผู้ร่วมโครงการทุกคน แนวทาง ทีด่ นิ แต่ใช้วธิ กี ารพัฒนาพืน้ ทีโ่ ดยรอบ โดยวิธนี จี้ ะท�ำให้เจ้าของทีด่ นิ ในรัศมีตอ้ ง ดังกล่าว จะเป็นประโยชน์ในการจัดการที่ดินราชพัสดุุและการจัดการที่ดิน เสียพืน้ ทีป่ ระมาณร้อยละ 20 เพือ่ ท�ำถนนและพืน้ ทีส่ าธารณูปโภค อย่างไรก็ตาม สาธารณะให้มีเอกภาพเนื่องจากพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ที่ใช้จะมีอ�ำนาจให้ ก่อนการจัดพื้นที่จะมีการท�ำประชาพิจารณ์ก่อนด�ำเนินการ และหากตัวสถานี น�ำที่ดินเหล่านี้มาจัดรูปแบบใหม่ได้
5
จับตาก้าวต่อไปของสถ.เมื่อลูกหม้อคืนรัง “วัลลภ พริ้งพงษ์” อธิบดีท้องถิ่นคนที่ 12
อีกครัง้ หนึง่ ทีค่ นท้องถิน่ ต้องจับตามอง เมือ่ การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ในวัน ที่ 4 มิถนุ ายน 2556 ครม.มีมติตามทีก่ ระทรวงมหาดไทยเสนอให้นายวัลลภ พริง้ พงษ์ รอง ปลัดกระทรวงมหาดไทย ย้ายไปด�ำรงต�ำแหน่งอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ “คน ใหม่” ส่วนนายแก่นเพชร ช่วงรังษี อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ “เดิม” ให้ยา้ ยไป ด�ำรงต�ำแหน่งรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ก่อนหน้าที่ ครม.อนุมตั ใิ ห้มกี ารโยกย้ายในครัง้ นี้ ได้เกิดปรากฏการณ์สำ� คัญเกิดขึน้ เมือ่ คนท้องถิน่ ออกมาชุมนุมเรียกร้องรัฐบาลทีห่ น้าท�ำเนียบรัฐบาล ถึง 2 ครัง้ 2 ครา เพือ่ ขอ ให้รฐั บาลจัดสรรงบประมาณให้กบั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ 30-35% จากรายได้สทุ ธิของ รัฐบาล ท่ามกลางกระแสข่าวว่านายแก่นเพชร ช่วงรังสี ได้พยายามทีจ่ ะล็อบบีแ้ กนน�ำของ คนท้องถิ่นให้ยกเลิกการชุมนุม แต่ไม่มีผล อีกทั้งยังมีปัญหาถูกตรวจสอบการใช้จ่ายเงินใน บางโครงการสมัยทีเ่ ป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัดในพืน้ ทีภ่ าคอีสาน แต่ทงั้ สองกรณีนกี้ ไ็ ม่ชดั เจนว่า บกพร่องหรือมีความผิด การโยกย้ายในครัง้ นีจ้ งึ เกิดค�ำถามมากมายว่าเพราะเหตุใด และท�ำไมในช่วงหลังผูท้ ี่ เข้ามานัง่ อยูใ่ นต�ำแหน่งอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ถึงอยูไ่ ด้ไม่นาน แทบจะเรียก ได้วา่ มีการโยกย้ายกันปีละครัง้ ท�ำให้การท�ำงานต่างๆ ไม่ตอ่ เนือ่ ง ขณะทีม่ ปี ญ ั หาของท้องถิน่ มากมายรอให้แก้ไข ส�ำหรับนายวัลลภ พริ้งพงษ์ สมัยที่นั่งอยู่ใน ต�ำแหน่งรองปลัดกระทรวงมหาดไทย รับหน้าทีก่ ำ� กับดูแล งานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิน่ โดยตรง เป็นหัวหน้า กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาชุมชนและส่งเสริมการปกครอง ท้องถิน่ กล่าวได้วา่ ผูบ้ ริหารงานท้องถิน่ ทัว่ ไปรูจ้ กั มักคุน้ กับนายวัลลภเป็นอย่างดี เนือ่ งจากชีวติ ราชการเติบโตอยู่ ในกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ มาช้านาน จนก้าวขึน้ มาเป็นรองอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ในช่วง ปี พ.ศ. 2547 - 2552 ก่อนจะถูกโยกย้ายออกไปเป็นผูว้ า่ วัลลภ พริ้งพงษ์ ราชการจังหวัดสมุทรสาคร นายวัลลภ พริง้ พงษ์ เกิดเมือ่ วันที่ 10 ตุลาคม 2497 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตรี B.A. (University of Delhi. India) และ ปริญญาโท M.A. (Bowling Green State University, Ohio U.S.A) ผ่านการอบรมในโรงเรียนนายอ�ำเภอ (นอ. รุน่ ที่ 31) และนักปกครอง ระดับสูง (นปส. รุน่ ที่ 32) เริม่ รับราชการครัง้ แรกเมือ่ วันที่ 5 ก.พ. 2522 ต่อมาเมือ่ วันที่ 2 พ.ย. 2541 - 21 พ.ย. 2542 เป็นนายอ�ำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด และย้ายไปเป็นนายอ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัด ระยอง เมือ่ วันที่ 22 พ.ย. 2542 -15 ต.ค. 2543 เป็นผูอ้ ำ� นวยการส่วนการคลังท้องถิน่ ส�ำนัก บริหารราชการส่วนท้องถิน่ เมือ่ วันที่ 16 ต.ค. 2543 - 8 ต.ค. 2545 เป็นข้าราชการพลเรือน สามัญระดับ 8 และรักษาราชการแทนผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักบริหารการคลังท้องถิน่ เมือ่ วันที่ 9 ต.ค. 2545 - 20 ม.ค. 2546 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักบริหารการคลังท้องถิน่ (เจ้าหน้าทีว่ เิ คราะห์นโยบายและแผน 9) เมือ่ วันที่ 21 ม.ค. 2546 - 20 ก.ค. 2547 และเป็น รองอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ เมือ่ วันที่ 21 ก.ค. 2547 - 17 พ.ค. 2552 จากนัน้ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัดแพร่ จนถึงวันที่ 30 ก.ย. 2552 และโยกย้ายไปเป็นผู้ ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร เมือ่ วันที่ 1 ต.ค. 2552 ก่อนจะย้ายอีกครัง้ ในปี 2553 เป็นรอง ปลัดกระทรวงมหาดไทย หัวหน้ากลุม่ ภารกิจด้านพัฒนาชุมชนและส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ล่าสุดได้รบั การแต่งตัง้ เป็นอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ นับเป็นอธิบดีกรม ส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ คนที่ 12 ทีจ่ ะต้องมาขับเคลือ่ นบทบาทในการประสานงานและ ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิน่ ให้เติบโตเข้มแข็งยิง่ ๆ ขึน้ ไป
สันติสุขชายแดนใต
6
สันติสุข
ชายแดนใต
ปที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
การแกปญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตอยางยั่งยืน จําเปนตองใชกระบวนการยุติธรรม การคืนความเปนธรรม ใหกับประชาชน และใชกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาค สวน เปนพลังการเขาถึงประชาชน เพื่อสรางความเขาใจตอ สถานการณความเปนจริงตอสังคม สรางความตระหนักของ การอยูร วมกันอยางสันติ บนพืน้ ฐานของความหลากหลาย ทัง้ ในวิธีคิด วิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา
พันตํารวจเอกทวี สอดสอง
เลขาธิการศูนยอํานวยการบริหาร จังหวัดชายแดนภาคใต
เมื่อวันศุกรที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ชมรมกอลฟ ๑,๐๐๐ Tips ไดจัดทำโครงการ “ปนน้ำใจใหพี่นองทหาร พราน ๓ จชต.” นำคณะผูแทนชมรมกอลฟ ๑,๐๐๐ Tips มามอบสิ่งของเครื่องอุปโภคและบริโภคใหกับทหารพราน กรมทหารพรานที่ ๔๘ ค า ยกรมหลวงนราธิ ว าสราช นครินทร โดย พลตรี นักรบ บุญบัวทอง รอง ผอ.ศปป.๕ กอ.รมน. เป น ผู แ ทนรั บ มอบ ณ ห อ งประชุ ม ศปป.๕ กอ.รมน. โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่ อ ส ง มอบกำลั ง ใจให กั บ กำลังพลที่ปฏิบัติหนาที่ในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต
เมื่อวันศุกร ที่ ๓๑ พ.ค. ๕๖ ณ กองบัญชาการกองทัพบก พลโท อักษรา เกิดผล รองเลขาธิการกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร เป น ผู แทนรั บ มอบ เสื้ อ เกราะ จำนวน ๑๐๓ ตั ว จากคณะผู แทน บริ ษั ท เซ็นทรัล ฟูด รีเทล จำกัด ในโครงการชวยเหลือทหารในพื้นที่ ๓ จชต. ในชื่อ โครงการ “ท็อปส สงตอความสุขไมมีที่สิ้นสุดใหกับทหารใน ๓ จชต.” ใหกับ กำลังพลที่ปฏิบัติหนาที่ในพื้นที่ จชต. ซึ่งเปนความรวมมือของภาคเอกชนโดย
การเข า มามี ส ว นร ว มในการแก ไ ขป ญ หาในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต สอดคล อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร ของกองอำนวยการรั ก ษาความมั่ น คงภายใน ราชอาณาจั ก ร แต สิ่ ง ที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด ที่ ไ ด รั บ จาก ประชาชน และบริ ษั ท ฯ ที่ ม อบให ก ำลั ง พลไม ใ ช เสื้อเกราะแตเปนน้ำใจ กำลังใจ ความรวมมือและ การสนับสนุนจากประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่ง จาก ทางบริษัทฯ ซึ่งถือวาเปนกำลังใจ และเปนเกราะที่ สำคั ญ ที่ สุ ด ในการสร า งความมั่ น ใจต อ กำลั ง พลว า พวกเขาเหลานี้ไมไดปฏิบัติหนาที่อยางโดดเดี่ยว แต ยังมีประชาชนอยูเคียงขาง การจัดทำโครงการของ ภาคเอกชนดังกลาว นับไดวาเปนผลสำเร็จจากการ ดำเนินงานตามยุทธศาสตรเสริมสรางความเขาใจกับ กลุมเปาหมายประชาชนทั่วไป จนนำไปสูการเขามามี สวนรวมของภาคเอกชนในการใหการสนับสนุนการ ดำเนินการแกไขปญหาความไมสงบในพื้นที่ จชต.
High School Band Contest 2013 สานฝนตนกลาสูดวงดาวเพื่อสันติสุข ครั้งที่ 7
หนังสือพิมพ อปท.นิวส รวมกับ บริษัท เบสท โฟร มีเดีย จํากัด, ศูนยฝกอบรมเยาวชน 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต สวนสัตวสงขลา จังหวัดสงขลา จัดโครงการ “สาน ฝนตนกลาสูดวงดาวเพื่อสันติสุข ครั้งที่ 7” ประกวดดนตรี ระดับมัธยมศึกษา (High School Band Contest 2013) ชิงถวยรางวัล ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท ประธาน องคมนตรี เพือ่ เวทีกจิ กรรมการแสดงออกของเยาวชน ทีม่ งุ เนน การรวมกิจกรรมเปนหมูคณะ เนนใหรูถึงความสําคัญของ ความสามัคคี การใชเวลาวางใหเปนประโยชนและหารายได สวนหนึง่ มอบใหศนู ยฝก อบรมเยาวชนใน 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต เพือ่ ใชในการฝกอบรมเยาวชนใหเกิด “ภูมคิ มุ กัน” ตอ เยาวชนและสังคมโดยรวมของประเทศ ทัง้ นี้ มีวงดนตรีของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 1-6 จากสถาบันการศึกษาตางๆ ในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาภาคใต เขารวมประกวด จํานวน 20 วง ผลของการประกวดในรอบสุดทาย เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2556 ณ.หองแกรนดบอลรูม ชั้น 8 โรงแรมลี การเดนส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา โดยมีการถายทอด สดทางสถานี วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น แ ห งประเทศไทย ชอง NBT (เวลา 14.30-16.00 น.) ทามกลางสายตาผูเขาชมจํานวน มาก ปรากฏวา ผูชนะเลิศ ไดแก วง จิ๊กโก กุโบแบนด โรงเรียน เทศบาล 5 หาดใหญ ไดรับถวยรางวัล ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท ประธานองคมนตรี โดยนายสมพงษ สระกวี อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสงขลา เปนตัวแทนมอบถวยฯ และเงินรางวัล 20,000 บาท
รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 1 ได แ ก วง บุ ญ เหลื อ แบนด โรงเรียนหาดใหญรัฐประชาสรรค โดยคุณสุทัศน เรืองศรี ผู ชวยผูอํานวยการสวนสัตวสงขลา มอบถวยและเงินรางวัล 10,000 บาท รองชนะเลิศอันดับ 2 ไดแก วง Humble โรงเรียนมหา วชิราวุธ โดยทันตแพทยหญิงกุณฑีรา ตันติรังสี รองผูอํานวย
การสํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล มอบถวยและเงินรางวัล 5,000 บาท รองชนะเลิศอันดับ 3 ไดแก วง Blue Season โรงเรียนเบตง วีระราษฎรประสาน จังหวัดยะลา โดยคุณเอกพงศ นอยสราง สํานักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่ มอบถวยและเงินรางวัล 2,000 บาท
ปีที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
สันติสุขชายแดนใต้
“ร่วมคิด ร่วมท�ำ อย่างสร้างสรรค์” แนวคิดและหลักการ ของ “อุทิศ ชูช่วย”
เมื่ อ ไม่ กี่ วั น ที่ ผ ่ า นมา หนั ง สื อ พิ ม พ์ อปท.นิวส์ ได้เข้าพบและสัมภาษณ์นายอุทิศ ชูช่วย ก่อนการประกาศลาออกจากต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาเพียง ไม่กี่วัน บริเวณบ้านของนายอุทิศ ชูช่วย เรียง รายไปด้วยโต๊ะรับแขก มีแขกเหรื่อมากมาย กาแฟ ขนม นมเนย ถูกทยอยน�ำออกมาต้อนรับ
ผู้ที่จะมารอพบอยู่ภายนอก แม้จะมีผู้กระซิบ บอกว่านี่คือเรื่องปกติที่เกิดขึ้นในทุกๆ เช้า ซึ่ง จะมีบรรดาพรรคพวก หัวคะแนนและเครือ ญาติมาขอพบ แต่ดูเหมือนจะเป็นนัยว่าการ เลือกตั้งนายกอบจ.สงขลา ก�ำลังใกล้เข้ามา ถึงในทุกขณะ “เดินทีละก้าว กินข้าวทีละค�ำ ท�ำความ ส�ำเร็จเป็นขั้น เป็นตอน” เป็นปรัชญาชาวจีนที่ นายอุทิศ ชูช่วย ยึดถือในการท�ำงานมาตั้งแต่ ก่อนจะเข้าสู่สนามการเมือง จนเป็นสมาชิก สภาเทศบาลเมืองสงขลา เมือ่ 25 ปีทแี่ ล้ว และ
ก้าวขึ้นไปเป็นเทศมนตรี และนายกเทศมนตรี เทศบาลนครสงขลาเมื่อปี 2542 ภายใต้หลักการบริหารแบบ “ร่วมคิด ร่วมท�ำอย่างสร้างสรรค์” ท�ำให้การท�ำงานที่ ผ่านมา นายอุทิศ ชูช่วย จะรับฟังเสียงสะท้อน จากชาวบ้ า นผ่ า นเวที ป ระชาคมในหลายๆ พื้นที่ การพัฒนาในด้านต่างๆ จึงตรงกับความ ต้องการของพีน่ อ้ งประชาชนชาวสงขลามาโดย ตลอด แต่อีกไม่เกิน 60 วันข้างหน้านี้ เขาจะ ได้รับเลือกตั้งกลับไปเป็น นายก อบจ.สงขลา อีกหรือไม่ เป็นเรื่องที่จะต้องติดตามกันต่อไป อยากเห็นจังหวัดสงขลาพัฒนาไป ในทิศทางไหน ผมวางยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเอาไว้ ว่า สงขลาจะต้องเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา ของ 8 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ซึ่งประกอบด้วย จังหวัดสงขลา ตรัง พัทลุง นครศรีธรรมราช สตูล ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส เพราะถ้า เราตั้งเป้าหมายเอาเช่นนี้ จะท�ำให้ทิศทางการ พัฒนามีเป้าหมายที่ชัดเจน ท�ำให้เรามองการ พัฒนาในมุมทีก่ ว้างขึน้ โดยมีหลักการว่าเราจะ ท�ำอย่างไรที่จะให้จังหวัดสงขลาเป็นที่รู้จักของ คนทัว่ โลก และสามารถปรากฏอยูใ่ นแผนทีท่ อ่ ง เที่ยวที่คนทั่วโลกรู้จักเช่นเดียวกับจังหวัดภูเก็ต ทีเ่ ป็นศูนย์กลางในการพัฒนาและการท่องเทีย่ ว ของจังหวัดต่างๆ ในฝั่งอันดามัน โดยยึดหลัก “2 ส. 1 ป. 1 ก.” “2 ส. 1 ป. 1 ก.” มีรายละเอียดอย่างไร 2 ส. ก็คอื ส.ที1่ . การส่งเสริมและพัฒนา ให้ ส งขลาเป็ น ศู น ย์ ก ลางด้ า นการคมนาคม และขนส่ง โดยร่วมกับจังหวัดและองค์กรภาค เอกชน ผลักดันให้มีการสร้างถนนมอเตอร์เวย์
อุทิศ ชูช่วย
พัฒนาครูให้เป็น Teacher Tutor หวังยกระดับศึกษาก้าวไกลสู่อาเซียน
เลขาธิการศูนย์อำ� นวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต้ มุง่ มัน่ ส่งเสริมศักยภาพครูหวั ใจ แห่งการศึกษา เพือ่ พัฒนาเยาวชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัด ชายแดนภาคใต้ เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ ที่ ห ้ อ งประชุ ม พิ ม มาดา โรงแรมปาร์ควิว อ�ำเภอเมือง จังหวัดยะลา พัน ต�ำรวจเอกทวี สอดส่อง เลขาธิการศูนย์อำ� นวย การบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นประธาน ปิดการฝึกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร หลักสูตรพัฒนา ครูเพือ่ เป็น Teacher Tutor ให้กบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 – 6 โดยมี พลตรีเสริมศักดิ์ แสนทวีสขุ หัวหน้าคณะท�ำงานบุคลากรครูและ สถานศึกษา กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคง
ภายในภาค 4 ส่วนหน้า ดร.พีรศักดิ์ รัตนะ ผู้ อ�ำนวยการส�ำนักประสานนโยบายการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และการกีฬา เจ้าหน้าทีจ่ าก ส�ำนักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษา
ศอ.บต.จับมือกับทุกภาคส่วน เปิดเวทีพูดคุยเพื่อสร้างสันติภาพชายแดนใต้
การแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ นอกจากการป้องกันและปราบ ปรามผูก้ อ่ เหตุรนุ แรง การช่วยเหลือเยียวยาผูไ้ ด้ รับผลกระทบจากเหตุความไม่สงบ รวมไปถึงการ พัฒนาพืน้ ที่ และพัฒนาคุณภาพชีวติ ประชาชน อย่างทัว่ ถึงแล้ว การเปิดเวทีพดู คุยเพือ่ สันติภาพ ระหว่างสภาความมัน่ คงแห่งชาติ (สมช.) กับ กลุม่ บีอาร์เอ็น โคออร์ดเิ นท ทีป่ ระเทศมาเลเซีย เป็นอีกแนวทางหนึง่ ทีจ่ ะน�ำมาซึง่ หนทางในการ สร้างสันติสขุ อย่างยัง่ ยืน อย่างไรก็ตามเพื่อแสดงออกถึงความ จริงใจในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบที่เกิดขึ้น และเพือ่ ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” ศูนย์อ�ำนวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) จึงได้ เปิดพืน้ ทีร่ บั ฟังความคิดเห็นและสร้างการมีสว่ น ร่วมจากประชาชนทุกภาคส่วน ด้วยการประสาน
ที่ 12 จังหวัดยะลา ข้าราชการ และคณะครูใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้กว่า 200 คน ร่วมให้การต้อนรับ พันต�ำรวจเอกทวี สอดส่อง เลขาธิการ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ กล่าวว่า น�ำอดีตทีผ่ า่ นมาเป็นบทเรียนทีส่ ามารถ เปลีย่ นแปลงปัจจุบนั ด้วยการศึกษา การท�ำงาน เชิงบูรณาการของหน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งใน
5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้มีโอกาสมาแลก เปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนเสนอแนะแนว ทางการแก้ไขปัญหาความไม่สงบที่ยังคงเกิดขึ้น อย่างต่อเนือ่ ง พร้อมทัง้ การเสนอแนวทางในการ พัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้เจริญใน ทุกๆ ด้าน รวมทัง้ ร่วมแสวงหาข้อมูล ข้อเท็จจริง เพื่อรวบรวมเสนอต่อสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และส่งไปยังรัฐบาล ให้น�ำไปพิจารณา แก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาค ใต้อย่างเต็มรูปแบบ “ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมา ศูนย์อ�ำนวย การบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ และสภา ที่ ป รึ ก ษาการบริ ห ารและการพั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ พยายามแสวงหาอุดมการณ์
ความร่วมมือกับหน่วยงานราชการ ภาคประชาชน องค์กรอิสระ และกลุม่ นิสติ นักศึกษา ในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ จัดกิจกรรมเสวนาร่วมกัน เพือ่ ให้ผมู้ คี วามคิดเห็นต่างได้มพี นื้ ทีใ่ นการแสดงออก สะท้อนปัญหา โดยรับเอาข้อเสนอแนะจากเวที ในการสานเสวนาของแต่ละครัง้ ส่งต่อไปยังสภา ความมัน่ คงแห่งชาติ (สมช.) และรัฐบาล เพือ่ ใช้ เป็นประโยชน์ในการเสริมสร้างสันติสขุ ชายแดน ภาคใต้ ด้วยแนวคิดดังกล่าวนี้ สภาที่ปรึกษา การบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาค ใต้ (สปต.) และ ศูนย์อำ� นวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต้ จึงได้จดั กิจกรรมสานเสวนาหา แนวทางการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในหัวข้อเรือ่ ง “เราจะช่วยกันแก้ไขปัญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต้อย่างไร” ณ ห้องโถง ชัน้ 1 อาคาร อเนกประสงค์ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดยะลา ทั้งนี้ นายอาซิส เบ็ญหาวัน ประธาน สภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ได้เชิญสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ แนวทางและเป้าหมายในการแก้ปัญหาจังหวัด ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ศูนย์อ�ำนวยการบริหาร ชายแดนภาคใต้ที่ถูกต้อง มาโดยตลอด เรา ั หาทีด่ ที สี่ ดุ คือ การมีสว่ น จังหวัดชายแดนภาคใต้ หน่วยงานด้านความ ตระหนักดีวา่ การแก้ปญ มัน่ คง สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร สมาชิกวุฒสิ ภา ร่วมของทุกภาคส่วน ทุกองค์กร ทุกหน่วยงาน ที่ ผู้ว่าราชการจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้อง จะต้องร่วมมือกันแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดน ถิน่ ผูน้ ำ� ศาสนา และภาคประชาสังคม ในพืน้ ที่ ภาคใต้ อย่างจริงใจและจริงจัง เพือ่ น�ำไปสูก่ าร 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เข้าร่วมในการเสวนา สร้างสันติสขุ อย่างถาวรได้โดยเร็ว” ทางด้าน พันต�ำรวจเอกทวี สอดส่อง กว่า 200 คน นายอาซิ ส เบ็ ญ หาวั น เปิ ด เผยว่ า เลขาธิการศูนย์อำ� นวยการบริหารจังหวัดชายแดน ส�ำหรับการจัดกิจกรรมเสวนาหาแนวทางการแก้ ภาคใต้ กล่าวว่า การแก้ปัญหาในพื้นที่จังหวัด ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ในครัง้ นี้ เพือ่ เปิด ชายแดนภาคใต้อย่างยั่งยืนนั้น จ�ำเป็นต้องใช้ โอกาสให้ประชาชนทุกภาคส่วนซึ่งอยู่ในพื้นที่ กระบวนการยุตธิ รรมและการคืนความเป็นธรรม
จากชายแดนด่านนอก อ�ำเภอสะเดา มาถึง อ�ำเภอหาดใหญ่ เพื่อให้การเดินทางของนัก ท่องเที่ยวจากสิงคโปร์และมาเลเซียที่เข้ามา กับรถทัวร์ และรถยนต์ส่วนตัวมีความสะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น เพราะทุกวันนี้เส้นทางสายนี้คับ แคบและมีจุดตัดมากมาย นอกจากนี้จะผลัก ดันให้สายการบินต่างประเทศเปิดเส้นทางบิน มาลงที่สนามบินหาดใหญ่มากขึ้น โดยเรามุ่ง ไปที่มาเลเซีย และ เมืองกวางตุ้ง ประเทศจีน ส.ที่ 2. ส่ ง เสริ ม ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว ของจังหวัดสงขลา โดยร่วมกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง สมาคมท่องเที่ยว สมาคมโรงแรม และหอการค้า จังหวัดสงขลา ท�ำเส้นทางท่อง เที่ยวแบบเครือข่าย เชื่อมโยงการท่องเที่ยวไป ยังจังหวัดใกล้เคียง ได้มีการส�ำรวจและการ ท�ำหนังสือคู่มือการท่องเที่ยวแจกจ่ายให้กับ บริษัททัวร์และนักท่องเที่ยวไปบ้างแล้ว รวม ทั้งจะท�ำ MOU เป็นบ้านพี่เมืองน้องระหว่าง เมืองสงขลากับเมืองกวางโจว เพื่อสร้างความ สัมพันธ์ระหว่างกัน ให้นักท่องเที่ยวเดินทางไป เยี่ยมเยียนถึงกันฉันท์พี่น้อง ส่วน 1 ป. คือเรื่องการสร้างความ ปลอดภั ย เราจะท� ำ ให้ ห าดใหญ่ เ ป็ น เมื อ ง ปลอดภัยพิเศษ โดยได้จัดตั้งศูนย์บัญชาการ อบจ.สงขลาส่วนหน้า ขึน้ ทีอ่ ำ� เภอหาดใหญ่ และมี กองก�ำลังอบจ.สงขลาส่วนหน้า ค่อยดูแลความ ปลอดภัยและอ�ำนวยความสะดวกให้นักท่อง เที่ยวในเมืองหาดใหญ่ ซึ่งเจ้าหน้าที่ของเรา จะใช่ยานยนต์เคลื่อนที่ คอยดูแลตามสถานที่ ส�ำคัญๆ กรณีนี้เราท�ำเป็นแหล่งที่ 2 รองจาก เมืองพัทยา นอกจากนี้ได้จัดตั้งศูนย์ควบคุม CCTV ขึ้นที่ศูนย์ฯ อบจ.สงขลาส่วนหน้า เวลา นี้ติดตั้งจอที่วีไว้ จ�ำนวน 54 จอ เชื่อมต่อกับ CCTV ในพืน้ ทีไ่ ข่ขาวรอบเมืองหาดใหญ่ ซึง่ ได้ ส่วนของภาคการศึกษา ภาคเอกชน ภาคท้องถิน่ ที่ต่างร่วมด้วยช่วยกันบูรณาการการปฏิบัติงาน เพือ่ พัฒนายกระดับคุณภาพการศึกษาในพืน้ ทีใ่ ห้ ได้มาตรฐานพร้อมก้าวเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ซึง่ เป็นไปตามแนวนโยบายของรัฐบาลในการเร่งรัด พัฒนาการศึกษาในพืน้ ทีจ่ งั หวัด ชายแดนภาคใต้ “การพั ฒ นาที่ ดี ที่ สุ ด คื อ การพั ฒ นา ทรัพยากรบุคคล และคนที่ส�ำคัญที่สุดในการ พัฒนาการศึกษาก็คอื ครู ครูเปรียบเสมือนพ่อแม่ คนที่สองของเด็กนักเรียนในการที่จะให้โอกาส ให้ความรู้ ให้การศึกษา สอนคนให้เป็นคนดีและ พร้อมทีจ่ ะให้อภัย ครูเป็นผูท้ จี่ ะร่วมสร้างอนาคต เพื่อเปลี่ยนแปลงพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ที่จะน�ำการการศึกษามาแก้ไขปัญหาให้ พืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้เกิดสันติภาพต่อไป” เลขาธิการศูนย์อำ� นวยการบริหารจังหวัดชายแดน ภาคใต้ กล่าว
ให้กบั ประชาชน พร้อมไปกับการใช้กระบวนการ มีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน เพือ่ เป็นพลังในการ เข้าถึงประชาชน ในการเสริมสร้างสันติสขุ การ พัฒนาอย่างยั่งยืน รวมถึงสร้างความเข้าใจต่อ สถานการณ์ความเป็นจริงต่อสังคม สร้างความ ตระหนักของการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขบน พืน้ ฐานของความหลากหลาย ทัง้ ในวิธคี ดิ วิถชี วี ติ วัฒนธรรมและศาสนา “ในการพัฒนาคน พัฒนาสังคมนัน้ เรา จะต้องเริม่ จากการส่งเสริมการศึกษาให้สอดคล้อง กับวิถชี วี ติ ความต้องการของประชาชนในแต่ละ พืน้ ที่ เน้นการสร้างงาน สร้างอาชีพทีม่ นั่ คง สร้าง รายได้ให้ครอบครัว เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ให้กบั ประชาชนในพืน้ ทีด่ ว้ ย” พันต�ำรวจเอกทวี สอดส่อง กล่าวต่อไป อีกว่า การแก้ปญ ั หาในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาค ใต้โดยสันติวธิ ี คือ การเปิดเวทีพดู คุยเพือ่ สันติภาพ กับผูท้ มี่ คี วามคิดต่าง ตามนโยบายการบริหาร การ พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึง่ เป็นเรือ่ งใหม่ที่ ต้องอาศัยพลังการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่ เข้ามาร่วมแสดงความคิดเห็น ในแง่มมุ ต่างๆ ที่ เป็นประโยชน์ รวมถึงการก�ำหนดจุดยืนในการ ท�ำงานของแต่ละฝ่าย เพือ่ ทีจ่ ะได้รว่ มกันก�ำหนด ทิศทางการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ น�ำ มาซึ่งสันติภาพ ความสงบสู่คนในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ อย่างยัง่ ยืนสืบไป
7 ไปติดตัง้ ไว้ในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ เทศบาล เมืองควนลัง เทศบาลเมืองบ้านพรุ และในเขต เทศบาลเมืองหาดใหญ่ นอกจากนี้กำ� ลังด�ำเนิน การติดตัง้ กล้อง CCTV ไว้ในอ�ำเภอเสีย่ งภัยของ จังหวัดสงขลา อีก 4 อ�ำเภอ ด้วยงบประมาณ อ�ำเภอละ 20 ล้าน คือที่ อ�ำเภอจะนะ อ�ำเภอ เทพา อ�ำเภอนาทวี และอ�ำเภอสะบ้าย้อย และ ก�ำลังจะไปติดตั้งที่ อ�ำเภอสะเดา และอ�ำเภอ นาหม่ อ ม รวมถึ ง อ� ำ เภอเมื อ งสงขลา เพื่ อ สร้างมาตรการป้องกันความปลอดภัยให้กับ ประชาชนและนักท่องเที่ยว อีก 1ก. คือ การสร้างกิจกรรมใหม่ๆ ให้ เกิดการท่องเทีย่ วทีห่ ลากหลาย เนือ่ งจากทุกวัน นี้นักท่องเที่ยวจากมาเลเซียและสิงค์โปร์เดิน ทางมาท่องเที่ยวแบบครอบครัวมากขึ้น เราจึง ต้องสร้างจุดขายใหม่ๆ เพิ่มขึ้นมา โดยผมจะ ขับเคลือ่ นต่อเรือ่ งการก่อสร้างกระเช้าลอยฟ้าที่ สงขลา จะเก็บเงินจากนักท่องเที่ยวที่ใช้บริการ แต่ชาวสงขลาทุกคนขึ้นฟรี แม้ว่าตอนนี้จะเจอ ปัญหาหลายอย่าง แต่กเ็ ชือ่ ว่าผมสามารถท�ำให้ ส�ำเร็จได้ เพราะตอนที่สร้างกระเช้าลอยฟ้าขึ้น เขาตังกวน ผมก็เคยโดนขัดขวางมาแล้ว แต่ผม ก็ผลักดันจนส�ำเร็จ การส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ ผมเคยประกาศว่าเราจะใช้งบประมาณ 200 ล้านบาท เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเมือง หาดใหญ่ ก็ ไ ด้ ท� ำ มาแล้ ว หลายอย่ า ง เรื่ อ ง ล่าสุดคือการเปิดลานแสดงและสร้างกิจกรรม ท่องเที่ยวใหม่ขึ้นที่บริเวณตลาดโก้งโค้ง ในตัว เมืองหาดใหญ่ บนพื้นที่ 2 ½ ไร่ เพื่อให้นักท่อง เที่ยวสามารถแวะชมศิลปะประจ�ำถิ่น ศิลปิน พื้นบ้าน โดยจะเริ่มเปิดลานกิจกรรมในกลาง เดือนมิถนุ ายนนี้ มีการแสดงแสง สี เสียง แสดง ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเมืองหาดใหญ่ มีสวนน�้ำ สวนสนุกให้กับเด็กๆ มีบันจี้จัมพ์จาก ประเทศออสเตรเลีย พร้อมทั้งมีการจ�ำลองหัว รถจักรไฟฟ้า จ�ำลองอาคารที่มีสถาปัตยกรรม แบบชิโนโปรตุเกส มาตั้งไว้ โดยภายในอาคาร นี้จะมีพื้นที่ให้เด็กนักเรียนและเยาวชนมาจัด กิจกรรมต่างๆ ได้
นอกจากนี้ผมก�ำลังจะท�ำรถละหมาด เคลื่อนที่ส�ำหรับพี่น้องชาวไทยและชาวต่าง ประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม เพราะทุกวัน นี้ชาวมุสลิมซึ่งเดินทางเข้ามาเที่ยวในสถานที่ ต่างๆ ของจังหวัดสงขลา ต้องการท�ำละหมาด วันละ 5 เวลาแต่การจะไปหามัสยิดที่ใกล้เคียง กับสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วนัน้ ยากล�ำบาก ผมจะน�ำรถ บัสขนาดใหญ่ มาปรับปรุงให้เป็นรถละหมาด เคลื่อนที่ ไปจอดไว้ตามจุดท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อ อ�ำนวยความสะดวก อีกกรณีหนึ่งที่คิดไว้แล้ว คือท�ำบันไดเลือ่ นไฟฟ้าติดตัง้ ไว้กบั สะพานลอย ข้ามถนนตามจุดส�ำคัญๆ ซึง่ เรือ่ งนีผ้ มท�ำต่อแน่ ถ้าชาวบ้านเลือกผมเป็นนายกอบจ. อีกสมัย การส่งเสริมและพัฒนาทะเลสาบสงขลา เราได้ร่วมมือกับชาวบ้านท�ำแนวเขต อภัยทานในทะเลสาบสงขลาบางจุด เช่นที่ ต� ำ บลปากบางภู มี เรากั น พื้ น ที่ ห ้ า มท� ำ การ ประมงไว้ 2 กิโลเมตร เป็นเขตเพาะพันธุ์สัตว์ น�้ำ และร่วมกับชุมชน กลุ่มอาสาสมัครต่างๆ เพื่อท�ำปะการังเทียมในทะเลสาบสงขลาด้วย นอกจากนี้ได้เข้าไปส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ ต�ำบลเกาะใหญ่ อ�ำเภอกระแสสินธุ์ โดยตัดถนน ขึน้ ไปบนควรศรีปาน สร้างจุดชมวิวทีเ่ ห็นไปถึง เกาะ4 เกาะ 5 และเขาอกทะลุ จังหวัดพัทลุง ด้านการศึกษาและความพร้อมที่จะ เข้าสู่อาเซียน ผมสนั บ สนุ น การเรี ย นการสอน 2 ภาษา หรือภาษาที่สอง ส�ำหรับให้กับเด็กและ เยาวชนที่เรียนอยู่ในระบบ โดยสนับสนุนงบ ประมาณให้โรงเรียนและสถานศึกษาได้จา้ งครู ต่างประเทศมาสอนเพิ่มเติม ทั้ง ภาษาอังกฤษ ภาษามาลายูกลาง ภาษาจีน ในช่วง 4 ปีที่ผ่าน มานี้ เราสามารถขยายได้ 12 โรงเรียน ส่วนการ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบนัน้ ผมมีแนวคิดจะ ด�ำเนินการโดยจะจัดอบรมภาษาต่างประเทศ ให้กับพ่อค้าแม่ค้าและจะเริ่มที่ตลาดน�้ำคลอง แดนก่อน จากนั้นค่อยขยายไปยังที่อื่นๆ ทั้งนี้ เพือ่ เตรียมความพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน
“พลเอกดาว์ พ งษ์ ” ติดตามความคืบหน้าและให้ก�ำลังใจก�ำลังพล เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ที่ ผ่านมา ที่กองอ�ำนวยการรักษา ความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วน หน้า ค่ายสิรินธร ต�ำบลเขาตูม อ�ำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี พล เอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รอง ผู้บัญชาการทหารบก / ผู้ช่วยผู้ อ�ำนวยการศูนย์ปฏิบัติการคณะ กรรมการขับเคลือ่ นนโยบายและ ยุทธศาสตร์ การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ และคณะ ลงพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ เพื่อตรวจเยี่ยมและติดตามผลการปฏิบัติงานของหน่วยในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ พร้อมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับเจ้าหน้าทีท่ งั้ 3 ฝ่าย ทีป่ ฏิบตั งิ านในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดน ภาคใต้ โดยมี พลโท สกล ชื่นตระกูล แม่ทัพภาคที่ 4 / ผู้อ�ำนวยการรักษาความมั่นคง ภายในภาค 4, ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส, ผู้แทนจากศูนย์ปฏิบัติ การต�ำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศชต.) และผู้แทนจากศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมให้การต้อนรับและเข้าร่วมการประชุม พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ กล่าวว่าการลงพืน้ ทีใ่ นครัง้ นี้ เพือ่ ติดตามก�ำกับดูแล งานเดิมที่ผู้บัญชาการทหารบกได้สั่งการไว้ ทั้งนโยบายของนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม นอกจากนี้ยังมาในนามต�ำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการศูนย์ปฏิบัติการ คณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาค ใต้ (ผช.ผอ.ศปก.กปต.) ซึ่งมาติดตามดูงานในส่วนล่าง ที่ได้จัดกลุ่มงานในการแก้ปัญหาไว้ โดยมีรฐั มนตรีในแต่ละกระทรวงเป็นหัวหน้าแต่ละกลุม่ งาน จากนัน้ มาติดตามผลความคืบ ั หา หน้าจากการด�ำเนินงานในขณะนี้ และมีการเชือ่ มกับกลุม่ งานส่วนบนหรือไม่ หรือมีปญ ใดติดขัด เพื่อจะได้แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เพราะหน้าที่ของศูนย์ปฏิบัติการคณะกรรมการ ขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศปก.กปต.) คือการขับเคลื่อนงานโดยเฉพาะการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งนายกรัฐมนตรี ได้จัดการประชุมเวิร์กช็อปทุกสัปดาห์ และน�ำค�ำสั่งการของนายกรัฐมนตรี ซึ่งมีหัวหน้า กระทรวงทุกกระทรวงรับโดยตรงอยู่แล้ว เพียงแต่ต้องติดตามผลการด�ำเนินงานในระดับ ล่างเป็นระยะๆ ต่อมา พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ และคณะ ได้เดินทางไปตรวจเยี่ยมและ พบปะก�ำลังพลของหน่วยเฉพาะกิจยะลาที่ 11 จังหวัดยะลา โดยมี พลตรีปราการ ชลยุทธ ผู้บังคับหน่วยเฉพาะกิจยะลา พร้อมด้วย พันโทชลัช ศรีวิเชียร ผู้บังคับหน่วยเฉพาะกิจ ยะลาที่ 11 และก�ำลังพลที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ร่วมให้การต้อนรับ
ให้การต้อนรับ
เมื่อเร็วๆ นี้ ก�ำพล มหานุกูล ประธานบริหารบริษัท เบส โฟร์ มีเดีย จ�ำกัด ให้การต้อนรับ ทันตแพทย์ หญิงกุณฑีรา ตันติรังสี รองผอ.ส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และ เอกพงศ์ น้อยสร้าง ปฎิรูปที่ดิน จังหวัดกระบี่ ที่เดินทางมาร่วมงาน สานฝันต้นกล้า สู่ดวงดาว เพื่อสันติสุข ครั้งที่ 7 ที่อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
ธรรมาภิบาล
8
ปที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
การทุจริตสามารถเกิดขึ้นไดในทุกขั้นตอน ไมใชแคชวงการ ประมูลเทานั้น ดังนั้น องคกรตอตานคอรรัปชั่นจึงเจรจาตกลง กับรัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม โดยเสนอแนวคิดเกีย่ วกับ สัญญาคุณธรรม (INTEGRITY PACT) ซึ่งเปนการเซ็นสัญญา 3 ฝาย คือ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพื่อใหภาค เอกชนเขารวมสังเกตการณการประมูลโครงการยอยตางๆ ใน โปรเจกต 2 ลานลานบาท
สรรหา ป.ป.จ.ไมชอบมาพากล ชมรมสื่อลําปาง แฉ องคกรผีโผล
อนุ ส นธิ ความเป น ห ว งต อ การคั ด เลื อ ก คณะกรรมการสรรหากรรมการปองกันและปราบ ปรามการทุจริตประจําจังหวัด หรือ ป.ป.จ. อาจถูก ครอบงําจากกลุมอิทธิพลในทองถิ่น ที่ อปท.นิวส เคยตั้งขอสังเกตและหวงใยไปกอนหนานี้แลวนั้น ลาสุดเกิดเปนประเด็นขึ้นมาแลว อยางนอยที่สุดก็ ที่จังหวัดลําปาง ทั้งนี้ การดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่ง ป.ป.จ. ที่สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตแหงชาติ หรือ ป.ป.ช.กลาง คาดหวังให เปนมิตใิ หมในการปองการทุจริตคอรรปั ชัน่ ในวงกวาง ครอบคลุมไปทั่วประเทศ โดยกําหนดให 9 องคกร ในแตละจังหวัดเสนอตัวแทนเขารับการคัดเลือก ซึ่ง หากมีองคกรประเภทเดียวกันมากกวาหนึ่งองคกร ก็ ใหทาํ การคัดเลือกกันเองเขามาเปนตัวแทน ซึง่ เมือ่ ได ตามจํานวนที่กําหนดแลว จะตองสงให ป.ป.ช.กลาง พิจารณาคัดเลือกเปนขั้นตอนสุดทายตอไป อย า งไรก็ ต าม เมื่ อ ช ว งกลางเดื อ นที่ ผ า น มา 32 จังหวัดนํารองไดดําเนินการประกาศให 9 องคกรในแตละจังหวัดของตนเองเขาจดทะเบียน และสงตัวแทนเขารับการคัดเลือก ซึ่งขณะนี้หลาย จังหวัดดําเนินการเรียบรอยแลว แตก็มิคาดฝนเมื่อ มีรายงานขาวจากจังหวัดลําปาง เปดเผยออกมาวา ชมรมผูสื่อขาวนครลําปาง ขอถอนตัวจากการขึ้น ทะเบียนเปนกรรมการสรรหา พรอมระบุเหตุความ ไมชอบมาพากลในขบวนการดําเนินงานของ ป.ป.ช.ที่ ผานมา ทําใหประชาชนยังคงเคลือบแคลงสงสัยและ ไมสามารถยอมรับได รายงานข า วระบุ ว า ชมรมผู สื่ อ ข า วนคร ลํ า ปาง ได ทํ า หนั ง สื อ ยื่ น ต อ เจ า หน า ที่ สํ า นั ก งาน ป.ป.ช.จั ง หวั ด โดยระบุ ว า ตามที่ ท างสํ า นั ก งาน ป.ป.ช.ประจําจังหวัดลําปาง ไดประกาศรายชือ่ หนวย งาน หรือองคกรที่ไดรับการขึ้นทะเบียน สงผูแทน เพื่อคัดเลือกกรรมการสรรหากรรมการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตประจําจังหวัดลําปาง และ ทางชมรมผูสื่อขาวนครลําปาง ไดยื่นหนังสือโตแยง คัดคาน และขอใหมีการเปดเผยขอมูลอันเปนสาระ สําคัญของหนวยงานและองคกรทั้งหมดที่ ป.ป.ช.ได
ขณะนี้ มี ป ญ หาเกิ ด ขึ้ น ในทุ ก จั ง หวั ด นํ า ร อ ง จากการทํ า งาน ที่ ยั ง คลุ ม เครื อ โดยเฉพาะการ ตรวจสอบคุณสมบัติของหนวยงาน หรือองคกรที่เสนอเปนกรรมการ สรรหา และยังพบวามีการตั้งกลุม ผีขึ้นมาฮั้วกันเอง ซึ่งจะเห็นไดจาก ภาคประชาชนไดทวงติง เสนอแนะ ป.ป.ช.จังหวัดลําปาง ประเทือง ปรัชญพฤทธิ์ ประธาน ป.ป.ช.ภาคประชาชน รับขึ้นทะเบียนไว เพื่อเปดโอกาสใหผูที่มีสวนไดเสีย และประชาชนไดรว มตรวจสอบ หลังพบรายชือ่ หนวย งาน หรือองคกรที่ขึ้นทะเบียนไวในกลุมสื่อมวลชน รวมถึงหนวยงานและองคกรบางแหง ไมเคยปรากฏ ความมีตัวตนหรือความชัดเจนในกลุมองคกรของ ตนเองมากอน แต ป.ป.ช.ไดตอบกลับมายังชมรมผูสื่อขาว นครลําปางวา คณะกรรมการ ป.ป.ช.ไดพิจารณา วินิจฉัยแลววา หนวยงานหรือองคกรเหลานั้นมี คุณสมบัติและการดําเนินการเปนไปตามหลักเกณฑ ของระเบียบคณะกรรมการ ป.ป.ช.แลว และไมได มีการเปดเผยขอมูลตางๆ ตามที่ไดรองขอ อันเปน สาระสําคัญในการที่จะชวยกันตรวจสอบเพื่อใหได มาซึ่งหนวยงานและองคกรที่แทจริง พรอมกันนี้ ทาง ป.ป.ช.ยังขอใหชมรมผูสื่อ ขาวนครลําปาง เขารวมการเลือกกันเองของผูแทน หนวยงานหรือองคกรใหเหลือองคกรละ 1 คน เปน กรรมการสรรหา ซึง่ ในสวนขององคกรสือ่ มวลชน จะ ตองใชวธิ กี ารจับสลาก เนือ่ งจากมีการขึน้ ทะเบียนไว รวม 2 องคกร ตามที่ไดประกาศแลวนั้น ชมรมผูสื่อขาวนครลําปาง ซึ่งเปนองคกร
สื่อมวลชนวิชาชีพหลักในจังหวัดลําปาง ไดมีการ ประชุมและไดมมี ติเห็นชอบใหถอนชือ่ ชมรมผูส อื่ ขาว นครลําปางออกจากการขึ้นทะเบียนเปนกรรมการ สรรหาในกลุมขององคกรสื่อมวลชน จังหวัดลําปาง เนื่องจากไมเห็นดวยกับหลักเกณฑและขบวนการ ดําเนินงานของ ป.ป.ช.ประจําจังหวัดลําปาง ดังที่ กลาวมาขางตนแลวนั้น ดังนั้น ทางชมรมผูสื่อขาวนครลําปาง ไมขอ มีสวนรวมและไมยอมรับตัวแทนซึ่งไมใชสื่อมวลชน วิชาชีพ ซึง่ ไดเสนอตนเองเขาไปเปนตัวแทนกรรมการ สรรหาในนามขององคกรสือ่ มวลชน พรอมกันนี้ ทาง ชมรมผูสื่อขาวนครลําปาง ขอถอนชื่อออกจากการ ขึ้นทะเบียนเปนกรรมการสรรหากรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริต ประจําจังหวัดลําปาง ซึ่งไดเสนอชื่อไวกอนหนานี้ โดยใหมีผลตั้งแตบัดนี้ เปนตนไป ตอเรื่องนี้ น.ส.รัตนา ธะนะคํา ประธาน ชมรมผูสื่อขาวนครลําปาง เปดเผยวา ขบวนการ สรรหาฯ ซึ่งถือวาเปนหัวใจสําคัญในการที่จะตอง เปนตัวแทนของแตละหนวยงานหรือแตละองคกร เขาไปทําหนาที่ตรวจสอบผูที่จะมาทําหนาที่ในการ
ปราบปรามการทุจริต แตทวาผูที่จะมาเปนกรรมการ สรรหากลับมาดวยความไมโปรงใส ตรวจสอบไม ได และไมใชตัวแทนของหนวยงานหรือองคกรนั้น จริงๆ แตเปนเพียงกลุมที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อจะเขามา ทําหนาที่เลือกคนของตนเองเขามานั่งในตําแหนง ที่สามารถหาประโยชนและชี้ถูกชี้ผิดได ซึ่งหากเปน เชนนี้ ประชาชนจะมั่นใจไดอยางไรวา จะสามารถ ฝากความหวังไวกับคนเหลานี้ได “กอนหนานี้ ทางชมรมฯ ไดขอใหมีการเปด เผยขอมูลที่หนวยงานและองคกรตางๆ นํามาขึ้น ทะเบียน แต ป.ป.ช.ก็ปฏิเสธและไมไดดําเนินการแต อยางใด ซึง่ ก็ไมทราบเหตุผลวาทําไม ทัง้ ๆ ทีว่ ธิ กี ารดัง กลาวถือเปนชองทางในการรวมกันตรวจสอบถึงทีม่ า ของหนวยงานและองคกรตางๆ เหลานัน้ ได ทางชมรมฯ จึงเห็นวาควรถอนตัวออกจากขบวนการดําเนินงาน ดังกลาว เพราะไมตองการไปสรางความชอบธรรม ให” ประธานชมรมผูสื่อขาวนครลําปาง กลาว นอกจากนั้ น ก อ นหน า นี้ นายประเทื อ ง ปรัชญพฤทธิ์ ประธาน ป.ป.ช.ภาคประชาชน ไดเคย ทําหนังสือสงถึง ป.ป.ช. เกี่ยวกับโครงการ ป.ป.จ. โดยระบุวา การดําเนินการสรรหา ป.ป.จ.เพื่อตรวจ สอบความถูกตองโปรงใสนั้น ขณะนี้มีปญหาเกิดขึ้น ในทุกจังหวัดนํารอง จากการทํางานที่ยังคลุมเครือ โดยเฉพาะการตรวจสอบคุณสมบัติของหนวยงาน หรือองคกรทีเ่ สนอเปนกรรมการสรรหา และยังพบวา มีการตั้งกลุมผีขึ้นมาฮั้วกันเอง ซึ่งจะเห็นไดจากภาค ประชาชนไดทวงติง เสนอแนะ ป.ป.ช.จังหวัดลําปาง โดยนายประเทือง กลาววา ดวยเหตุนี้ ป.ป.จ.ที่ จะไดมาอาจเปนสมุนของขาราชการ นักการเมือง ทองถิ่น ซึ่งจะเกิดความเสียหายตองานปราบปราม การทุจริตคอรรัปชั่น ควรตองทบทวน ยับยั้ง และ เรงดําเนินการใหถูกตองเสียใหม หากยังคงทํางาน แบบมักงาย ไมฟงคําทวงติง และปลอยใหเกิดความ เสียหายตามมา ก็เทากับวา ป.ป.ช.มีสวนกระทําผิด ตามมาตรา 157 ซึ่ง ป.ป.ช.ภาคประชาชนจะปรึกษา ทีมทนายความ เพื่อยื่นฟองตอศาลปกครองขอให คุม ครอง และดําเนินการเพือ่ ใหเกิดความถูกตองเปน ธรรมโดยเร็วที่สุดตอไป
สกัดโกงงบปองกันนํ้าทวม
นิวัฒนธํารง บุญทรงไพศาล
โดยภายหลัง สํานักงานปองกันและ ปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) สง รายงานมาตรการปองกันการทุจริตโครงการ บริหารจัดการนํา้ อยางยัง่ ยืนฯ วงเงิน 3.5 แสน ลานบาท ไปยังนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ตอกรณีนเี้ อง เมือ่ วันที่ 6 มิถนุ ายน ทีผ่ า นมา นายนิวัฒนธํารง บุญทรงไพศาล รัฐมนตรี ประจําสํานักนายกรัฐมนตรี พรอม นายธงทอง จันทรางศุ ปลัดประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ใน ฐานะประธานคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือก โครงการเพื่อออกแบบและกอสรางระบบการ บริหารจัดการทรัพยากรนํ้าอยางยั่งยืนและ ระบบแก ไ ขป ญ หาอุ ท กภั ย ของประเทศไทย นายอัชพร จารุจนิ ดา เลขาธิการคณะกรรมการ กฤษฎีกาและผูแ ทนจากอัยการสูงสุด ไดเดินทาง เขาหารือรวมกับนายปานเทพ กลาณรงคราญ ประธาน ป.ป.ช. นายกลานรงค จันทิก กรรมการ ป.ป.ช.และโฆษกคณะกรรมการ ป.ป.ช. นายภักดี โพธิศิริ นายประสาท พงศิวาภัย กรรมการ ป.ป.ช. และนายณรงค รัฐอมฤต เลขาธิการ คณะกรรมการ ป.ป.ช. หลังการหารือ นายนิวฒ ั นธาํ รง กลาววา เปนการสัง่ การจาก น.ส.ยิง่ ลักษณ ชินวัตร นายก รัฐมนตรี ใหมาปรึกษา ป.ป.ช.เพือ่ นําขอเสนอ
ปปง.พบ 8 บริษัทนําเขารถหรู ทําธุรกรรมมีเหตุอันควรสงสัย
ทั้งนี้ พ.ต.อ.สีหนาท ประยูรรัตน เลขาธิการสํานักงาน ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) เปดเผยถึงการติดตาม ธุรกรรมตองสงสัยของขบวนการลักลอบนําเขารถหรูจาํ นวนมากที่ กําลังเปนขาวอือฉาวอยูใ นขณะนีว้ า จากการตรวจสอบพบมีบริษทั ที่จดทะเบียน 7-8 บริษัท มีการนําเขารถหรู และยังพบวา มีการ โอนเงินจํานวนมากกวา 1,000 ลานบาท เพื่อสั่งซื้อสินคาจํานวน มากจากตางประเทศ ซึ่งเปนมูลคาที่มากผิดปกติ ซึ่งยังมีการทํา ธุรกรรมตอเนื่องจนถึงทุกวันนี้ โดย ปปง.พรอมใหขอมูลตรวจสอบเสนทางการเงินของ ผูหลีกเลี่ยงภาษีธุรกิจนําเขารถหรูกับสํานักงานตํารวจแหงชาติ และดีเอสไอ หากมีการประสานขอมา และหากกรณีดังกลาว เปนการลักลอบหนีภาษี สํานักงาน ปปง.ก็จะดําเนินการตาม
พ.ต.อ.สีหนาท ประยูรรัตน
อํานาจหนาที่ตอไป เนื่องจากการลักลอบหนีภาษีศุลกากรถือเปน ความผิดมูลฐานตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปราม การฟอกเงิน เลขาธิการฯ ปปง.กลาวดวยวา ที่ผานมา ปปง.ไดตรวจ สอบธุรกรรมทางการเงินของกลุม ผูป ระกอบการทีด่ าํ เนินธุรกิจนํา เขารถหรู ทัง้ กลุม เลีย่ งภาษีโดยจดประกอบ และกลุม เกรยมารเก็ต ตั้งแตเมื่อครั้งที่กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) สํานักงาน ปองกันและปราบปรามการทําทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.).และ ปปง. ทํางานรวมกัน พบวา ยังมีการทําธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัย จํานวนมาก และที่ผานมา ปปง.เคยสงขอมูลใหกับดีเอสไอ และ ป.ป.ท.ไปแลว อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 10 มิ.ย. ที่ผานมา ดีเอสไอเรียก ประชุม 6 หนวยงาน หลังจากสั่งอายัดรถหรูล็อตแรก 126 คัน และลาสุดพบเขาขายจดประกอบผิดกฎหมายอีก 488 คัน รายงาน ขาวแจงดวยวา จากขอมูลเบื้องตนของกรมการขนสงทางบก มี รถหรูที่จดทะเบียนทั่วประเทศรวมกวา 10,000 คัน และเชื่อวา เปนรถจดประกอบผิดกฎหมายมากถึงรอยละ 85 โดยพบรถหรูที่ เขาขายจดประกอบผิดกฎหมาย 488 คัน เปนรถจดทะเบียนใน กรุงเทพมหานคร 71 คัน ภูมิภาค 417 คัน ซึ่งจะมีการประกาศ รายชื่อ พรอมกับเชิญผูครอบครองรถหรูตองสงสัยมาชี้แจง และ จะเริ่มตรวจรถหรูดังกลาวในวันจันทรที่ 24 มิถุนายนที่จะถึงนี้
กกต. เชิญชวนเลือกตั้งทองถิ่น
รัฐบาลคลอยตาม ป.ป.ช.
แนะที่ ป.ป.ช.นําเสนอใหรฐั บาลไปปฏิบตั ิ เพือ่ ใหโครงการบริหารจัดการนํา้ ฯ มีความโปรงใส และถูกตอง ซึง่ มีหลักๆ 3 ประเด็น ไดแก 1.กฎ เกณฑกติกาในการคัดเลือกผูชนะการประกวด ราคา ซึง่ ป.ป.ช.แนะวามีรายละเอียดในทีโออาร คอนขางสัน้ แตจริงๆ แลวในสวนของคณะทํา งานฯ มีเอกสารซึง่ ระบุรายละเอียดมากกวานัน้ และในวันนีก้ ไ็ ดนาํ มาเสนอตอ ป.ป.ช. 2. การทําสัญญา โครงการนีม้ กี ารรวม กลุม งาน (โมดูล) หลายๆ กลุม ไวดว ยกัน โดย ป.ป.ช.เสนอใหมกี ารแยกสัญญา เพราะเกรงจะ ทําใหเกิดปญหา ซึง่ คณะทํางานฯ เห็นวาเปนขอ แนะนําทีเ่ ปนประโยชนและจะนําไปพิจารณา 3. เรื่องการกํากับโครงการและการตรวจรับงาน ป.ป.ช.มีขอ แนะควรดําเนินการใหรอบคอบ ซึง่ คณะทํางานฯ จะดําเนินการจางบริษทั ทีป่ รึกษา ซึง่ เปนผูเ ชีย่ วชาญจากตางประเทศมาดูแลดาน นี้ พรอมจะเปดโอกาสใหภาคเอกชน โดยเฉพาะ องคกรทีต่ อ ตานการคอรรปั ชัน่ เขามามีสว นรวม “โดยสรุปแลว ขอแนะนําของ ป.ป.ช.ที่ เสนอมายังรัฐบาล เปนความคิดเห็นทีม่ คี ณ ุ คา สอดคล อ งตรงกั บ เจตนารมณ กั บ รั ฐ บาลที่ ตองการใหโครงการนี้ดําเนินไปอยางโปรงใส และถูกตอง” นายนิวฒ ั นธาํ รง กลาว ด า นนายธงทอง กล า วว า ขณะนี้ โครงการบริหารจัดการนํา้ ฯ อยูร ะหวางขัน้ ตอน ที่คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกผูเสนอราคา ที่ไดคะแนนผานเกณฑขั้นตํ่ารอยละ 80 กอน จะดําเนินการเจรจาตอรองราคา โดยรัฐบาลจะ ตั้งคณะกรรมการอีกชุดหนึ่งมาพิจารณาราคา กลางของวัสดุกอ สรางชนิดตางๆ ทีท่ างราชการ กําหนด เพือ่ ประโยชนในการตอรองราคา และ หากเจรจาตอรองแลวพบวา ราคาไมสมเหตุสม ผล ก็ไมมคี วามจําเปนใดๆ ทีจ่ ะไปจัดซือ้ จัดจาง ในราคาทีแ่ พงเกินสมควร โดยคณะทํางานฯ จะ พิจารณาตอรองราคากับผูเ สนอราคารายอืน่ ๆ ที่ ไดคะแนนผานเกณฑตามลําดับ
วิชัย อัศรัสกร รองประธานกรรมการ สภาหอการคาแหงประเทศไทย
กกต.เตือน ไปใชสิทธิเลือกตั้งลวงหนา ส.ส.กทม. เขตเลือกตั้งที่ 12 (เขตดอนเมือง) 9 มิ.ย.นี้
นายประพันธ นัยโกวิท กรรมการการเลือกตัง้ ดานกิจการบริหารงาน เลือกตัง้ กลาวถึงการเลือกตัง้ สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร เขตเลือกตัง้ ที่ 12 (เขต ดอนเมือง) แทนตําแหนงทีว่ า ง ทีก่ าํ หนดใหวนั อาทิตยที่ 16 มิถนุ ายน 2556 เปน วันเลือกตัง้ วา มีประชาชนผูม สี ทิ ธิเลือกตัง้ ในเขตเลือกตัง้ ที่ 12 ลงทะเบียนเพือ่ ขอใชสทิ ธิเลือกตัง้ ลวงหนาในเขตเลือกตัง้ ไว จํานวนทัง้ สิน้ 185 คน จึงขอใหไป ใชสทิ ธิเลือกตัง้ ลวงหนาในเขตเลือกตัง้ ในวันอาทิตยที่ 9 มิถนุ ายน 2556 เวลา 08.00-15.00 น. ณ ทีเ่ ลือกตัง้ กลางทีส่ าํ นักงานเขตดอนเมือง ประพันธ นัยโกวิท อยางไรก็ตาม หากผูม สี ทิ ธิเลือกตัง้ ซึง่ ไดลงทะเบียนขอใชสทิ ธิลงคะแนน ลวงหนาในเขตเลือกตัง้ ไว แตในวันอาทิตยที่ 9 มิถนุ ายน 2556 มีเหตุทไี่ มสามารถไปใชสทิ ธิเลือกตัง้ ได ก็ยงั มีสทิ ธิไปลงคะแนนเลือกตัง้ ในวันที่ 16 มิถนุ ายน 2556 เวลา 08.00-15.00 น. นอกจากนี้ ในวันลงคะแนนเลือกตัง้ ลวงหนาในเขตเลือกตัง้ ในวันอาทิตยที่ 9 มิถนุ ายน 2556 นัน้ กฎหมายยังหามจําหนาย จายแจก หรือจัดเลีย้ งสุราทุกชนิดในเขตเลือกตัง้ ในระหวางเวลา 18.00 น. ของวันเสารที่ 8 มิถนุ ายน 2556 จนถึงวันอาทิตยที่ 9 มิถนุ ายน 2556 เวลา 24.00 น. ผูฝ า ฝนตอง ระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนหรือปรับไมเกินหนึง่ หมืน่ บาทหรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
เดือนมิถุนายน 2556 จํานวน 122 แหง
นายภุชงค นุตราวงศ เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตัง้ เปดเผยวา ในเดือน มิถนุ ายน 2556 สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.) จะตองจัดใหมกี ารเลือกตัง้ สมาชิกสภาทองถิน่ และผูบ ริหารทองถิน่ ทัง้ กรณีครบวาระการดํารงตําแหนงและกรณี แทนตําแหนงทีว่ า ง รวม 122 แหง ดังนี้ องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) 2 แหง เทศบาลเมือง (ทม.) 2 แหง เทศบาล ตําบล (ทต.) 34 แหง และองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) 84 แหง โดยในวันที่ 2 มิถุนายน 2556 ไดจัดใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองคการ บริหารสวนจังหวัด (อบจ.) แทนตําแหนงทีว่ า ง จํานวน 1 แหง ไดแก อบจ.ฉะเชิงเทรา จ.ฉะเชิงเทรา และจัดใหมกี ารเลือกตัง้ นายกและสมาชิกสภาเทศบาลเมือง (ทม.) จํานวน 1 แหง ไดแก ทม.ทาขาม จ.สุราษฎรธานี ในวันที่ 23 มิถนุ ายน 2556 จะจัดใหมกี ารเลือกตัง้ นายกเทศมนตรีเมือง (ทม.) แทนตําแหนงทีว่ า ง จํานวน 1 แหง ไดแก ทม.ตะพานหิน จ.พิจติ ร และวันที่ 30 มิถนุ ายน 2556 จะจัดใหมกี ารเลือกตัง้ นายกองคการบริหารสวน จังหวัด (อบจ.) แทนตําแหนงทีว่ า ง จํานวน 1 แหง ไดแก อบจ.สตูล จ.สตูล นอกจากนี้ ยังจัดใหมกี ารเลือกตัง้ นายกและสมาชิกสภาเทศบาลตําบล ( ทต.) และองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ในจังหวัดอืน่ ๆ อีกดวย จึงขอประชาสัมพันธเชิญ ชวนผูม สี ทิ ธิเลือกตัง้ ทีอ่ ยูใ นพืน้ ที่ ทีม่ กี ารเลือกตัง้ ไดออกไปทํา หนาทีใ่ ชสทิ ธิเลือกตัง้ โดยพรอมเพรียงกัน ผูมีสิทธิเลือกตั้งทุกทานสามารถตรวจสอบราย ละเอียดตางๆ หรือสอบถามขอมูลไดที่สํานักงานคณะ กรรมการการเลือกตัง้ ประจําจังหวัดทีจ่ ดั ใหมกี ารเลือกตัง้ ทุก แหงในพืน้ ที่ และเว็บไซต www.ect.go.th หรือสายดวน เลือกตัง้ 1171 ในเวลาราชการ ภุชงค นุตราวงศ
ศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐแอฟริกาใต
สังเกตการณการเลือกตั้ง “มาเลเชีย”
นายอภิชาต สุขัคคานนท ประธานกรรมการการเลือกตั้ง พรอมดวย รศ.วิสุทธิ์ โพธิแทน กรรมการ การเลือกตั้ง ดานกิจการการมีสวนรวม เดินทางเพื่อไปสังเกตการณการเลือกตั้งเปนการทั่วไป ครั้งที่ 13 ณ เมืองปุตราจายา ประเทศมาเลเซีย ระหวางวันที่ 3-6 พฤษภาคม 2556 ที่ผานมา
นายสมชัย จึงประเสริฐ กรรมการการ เลื อ กตั้ ง ด า นกิ จ การสื บ สวนสอบสวนและ วินจิ ฉัย พรอมคณะ เดินทางเพือ่ ศึกษาดูงาน พรอม แลกเปลี่ยนความเห็นในการจัดการเลือกตั้งและ การสืบสวนสอบสวน ณ สํานักงาน กกต. ประเทศ แอฟริกาใต ระหวางวันที่ 21-30 เมษายน 2556 โดยมี Mr. Derreck Marco, Director of Election Managment of IEC Western Cape office, Republic of south Africa ใหการตอนรับ
ธรรมาภิบาล
ธรรมาภิบาลทองถิน่
ปที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
9
แฉแกงตัดไมพะยูงปาฯ ยโสธร
การลักลอบตัดไมพะยูงดังกลาว เปดเผยขึ้น โดยนายเชิดพงศ ราชปองขันธ ส.ส.บึงกาฬ พรรค เพือ่ ไทย พรอมดวยนายกร ศิรนิ าม รองนายกองคการ บริหารสวนตําบล (อบต.) โนนทราย อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร รวมกันแถลงขาวถึงกรณีที่เจาหนาที่รัฐรวม ขบวนการลักลอบตัดไมพะยูงในเขตปาสาธารณะ ดอนปูตา บานราชมุนี อําเภอโนนทราย โดยระบุวา เนื่องจากมีชาวบานรองเรียนเขามาถึงกระบวนการ ลักลอบตัดไมพะยูงในพื้นที่เขตปาสาธารณะชุมชน ดอนปูตา บานราชมุนี ต.โนนทราย อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร โดยมีเจาหนาที่รัฐ ทั้งปลัดอาวุโส อ.มหาชนะชัย และผูใหญบาน หมู 1 และ 2 รวม ถึง อบต. และตํารวจในพื้นที่ เปนผูอยูเบื้องหลัง เมือ่ ชาวบานมาพบเห็นผูใ หญบา นหมู 1 ก็อา งวาจะนําเงินทีไ่ ดจากการตัดไมขายมาสราง ศาลปูตาหลังใหม แตชาวบานไมเห็นดวยจึงรองเรียนมาผานมายัง ส.ส.เพื่อขอใหชวยประสาน งานเรื่องนี้ เพราะไมพะยูงเปนพันธุไมสงวนที่หามคาขาย
พบพิรุธสรางถนนในคลองบางปลากด จากกรณีที่ นายชนาธิป โคกมณี ปลัดอาวุโสอําเภอพระสมุทรเจดีย จ.สมุทรปราการ นาย ละเอียด สนั่นทุง ปลัดเภองานปกครอง อ.พระสมุทรเจดีย นายวรพจน ศรีใย ปลัดอําเภอหัวหนา ฝายความมั่นคงพระสมุทรเจดีย พรอมคณะกรรมการสอบสวน นายหนึ่งสกล ธเนศตระกูล อดีต นายกอบต.ในคลองบางปลากด ไดเปดเผยเอกสารหลักฐานประกอบการกอสรางถนนสายพระสุด เมรุ หมูที่ 9 ระยะทาง 500 เมตร โดยมีหจก.ลักกี้ เปนผูรับเหมา ทําใหหินขลุกขาดไปถึง 70 ลอ ซึง่ หจก.ดังกลาวเปนเครือญาติของนายหนึง่ สกล กระทัง่ มีการขมขู นายมงคล เขียวสวาท หัวหนา สํานักปลัดอบต. เพือ่ ใหเซ็นรับงาน ซึง่ นายมงคลไดเขาแจงความตอตํารวจ สภ.พระสมุทรเจดียแ ละ เขารองเรียนตอ นายวรทัศน วานิชอังกูล นายอําเภอพระสมุทรเจดีย ซึง่ เรือ่ งอยูร ะหวางสอบสวน นายวรทัศน กลาวกับ อปท.นิวส วา ไดรับเรื่องรองเรียนจากชาวบานหมูที่ 9 ถ.พระเมรุ ต.ในคลองบางปลากด ระยะจากปากทาง 300 เมตร เปนถนนคอนกรีตชวงหนึ่ง สวนที่เหลือเปน ถนนลาดยาง แอสฟลท และทับลํารางสาธารณะ ทัง้ นีจ้ ากการเดินทางพรอมเจาหนาทีเ่ ขาไปตรวจ สอบพบถนนสายดังกลาว มีการใชยางแอสฟลทลาดทับผิดถนนปดลํารางนํา้ ไหลเขามาจากหมูท ี่ 8 ลงมาหมูที่ 9 สงผลกระทบใหชาวนาไมมีนํ้าทําเกษตรกรรม ประกอบกับพื้นที่บริเวณดังกลาวอยู คนละตําบลกลาวคือ หมูที่ 8 ต.นาเกลือ ไมมีสิทธิ์เขามาใชพื้นที่ของ หมูที 9 ต.ในคลองบางปลา กด สอบถามไปยังนายราเมศร แตงอุไร อบต.นาเกลือ ปรากฎวาพื้นที่หมูที่ 8 เปนพื้นที่เอกชน และไมไดยกใหกบั อบต.นาเกลือแตอยางใด และพืน้ ทีก่ อ สรางรานอาหารเปนของ นายบุญรอด กิม๊ เยือ้ น อดีตสจ.สมุทรปรากการ มาปลูกเปนรานจําหนายอาหารทะเล ซึ่งอยูในระหวางการกอสราง โดยขณะนี้ ทางอําเภอไดสงั่ ระงับการกอสรางถนนเสนแหลมพระเมรุ หมูท ี่ ต 9 ต.ในคลอง บางปลากดแลว นอกจากนี้ ถนนสายดังกลาวยังลํ้าออกไปในที่ของเอกชน หมูที่ 8 ต.นาเกลือ ซึ่ง ถือวาผิดกฎหมายเงินงบประมาณแผนดิน และผิดวัตถุประสงคที่อางวาเปนงบจายขาดเรงดวน โดยไมมีบานพักและผูอยูศัยตามจริง ซึ่งถือวาถนนสายดังกลาวไมมีความจําเปนตองใช แตเหตุใด อดีตนายก และสํานักงบประมาณอบต.จึงเรงสรางการกอสราง นอกจากนี้ ทราบดวยวา หจก.นี้ เปนของนายประเสริฐ ทิพยสันติ ซึ่งเปนนาของอดีตนายกหนึ่งสกล จึงสั่งใหยุติหยุดการกอสราง และตรวจพบวาเงินจํานวน 2.4 ลานบาทเศษ มีการเบิกจายไปกอนนี้แลว ซึ่งเรื่องนี้จะตองเปน หนาทีข่ องนายอําเภอคนใหมทกี่ าํ ลังจะเขามารับตําแหนงในสัปดาหพจิ ารณาวาผิดกฎหมายอยางไร
วิชาชีพนิติกร อปท.
ดวยผูเขียนในฐานะประธานชมรมนิติกร องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ป จ จุ บั น ดํ า รง ตําแหนง นิตกิ ร 8 วช องคการบริหารสวนจังหวัด พิษณุโลก ไดอานบทความในหนังสือพิมพมติชน เกีย่ วกับเรือ่ งจริยธรรมในวิชาชีพกฎหมาย ซึง่ นํา มาจากงานวิจยั เรือ่ งจริยธรรมในวิชาชีพกฎหมาย ผมมีความเห็นดวยเปนอยางยิ่ง แตอยาก จะนําเสนอถึงนักกฎหมายภาครัฐกลุมหนึ่ง ซึ่ง ปฏิบัติงานในราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และ สวนทองถิ่นนั้นคือ ตําแหนงนิติกร ซึ่งปจจุบันหาก จะพูดถึงวิชาชีพกฎหมายภาครัฐ คาตอบแทนนัก กฎหมายภาครัฐ ผลกระทบตอสังคมและการให ความยุติธรรม ไมวาจะเปนกระบวนการยุติธรรม ทางอาญา ทางแพง และทางปกครอง มักไมมีผู ใดกลาวถึงตําแหนงนิติกรเลย ผมจึงมีความรูสึก นอยใจวาตําแหนงนิติกรไมมีความสําคัญสําหรับ ภาครัฐหรือไมมีผลกระทบตอสังคมแตใดๆ เลย ใชหรือไม ปจจุบันปญหาความขาดแคลนตําแหนง นิ ติ ก ร ป ญ หาการพั ฒ นาศั ก ยภาพในตํ า แหน ง นิติกร ปญหาจริยธรรมของตําแหนงนิติกร ปญหา ค า ตอบแทนตํ า แหน ง นิ ติ ก ร ป ญ หาการดํ า รง ตําแหนงนิติกร เพื่อเปนบันไดขั้นแรกเพื่อนําไปสู ตําแหนงผูพ พิ ากษา ตุลาการ อัยการ หรือตําแหนง นักกฎหมายในองคกรอิสระ ไมวาจะเปนศาล รัฐธรรมนูญ กกต. ปปช. ปปท. สํานักงานรัฐสภา พนักงานสอบสวน คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย และองคกรอืน่ เปนปญหาใหญทไี่ มมผี ใู ดสนใจ ทัง้ ทีเ่ กิดความเสียหายแกภาครัฐอยางใหญหลวง ไมมี ผูใดสนใจทํางานวิจัยเรื่องนี้เลย การที่ ตํ า แหน ง นิ ติ ก รไม มี ค วามรั ก และ ความเจริญกาวหนาในตําแหนงหนาที่กอใหเกิด ปญหาใหญในภาพรวมของรัฐในการอํานวยความ ยุ ติ ธ รรมแก ป ระชาชนทั้ ง ทางคดี แ พ ง และคดี อาญา ตลอดจนคดีปกครอง ซึ่งไมมีใครทราบวา ปญหาใหญของประเทศในเรื่องการทุจริตในภาค ราชการไมสามารถแกไขไดโดยภาคประชาชน ที่ ยังขาดความรูความเขาใจในกระบวนการทุจริต ภาครัฐขาดความกลาของประชาชน ตรวจสอบ
การทุจริตในภาครัฐ การแก ไ ขป ญ หาทุ จ ริ ต ภาครั ฐ ต อ งใช บุคลากรในภาครัฐเปนผูป ราบ บุคลากรทีม่ คี วาม รู ค วามสามารถและความกล า ก็ คื อ ตํ า แหน ง นิติกร แตภาครัฐกลับละเลยการพัฒนาการสง เสริมบุคลากรกลุมนี้ทําใหบุคลากรกลุมนี้เกิด ความออนแอ ขาดขวัญและกําลังใจในการปฏิบตั ิ หนาที่ คาตอบแทนที่อยูในระดับตํ่าสุดของนัก กฎหมายภาครัฐและเปลี่ยนสายงานและหนวย งานอยูตลอด ปจจุบันมีการกลาวถึงคําวาหลักนิติธรรม
หลักนิตธิ รรม คือหลักทีใ่ ชกาํ กับดูแลตรวจสอบอํานาจอัน ไมชอบธรรมของรัฐสภาและฝายบริหาร และเปนหลักทีใ่ ชตรวจ สอบการปฏิบตั หิ นาทีข่ องผูพ พิ ากษา ตุลาการ อํานาจอธิปไตย ทัง้ 3 รวมทัง้ รัฐธรรมนูญตองอยูภ ายใตหลักนิตธิ รรม กันมากในหมูนักกฎหมายและสังคม โดยทั่วไป หลักนิติธรรมนี้ นิติกรองคกรปกครองสวนทอง ถิ่นเองก็เปนนักกฎหมายวิชาชีพหนึ่งที่จะตองนํา หลักดังกลาวไปปฏิบัติอยางเครงครัด แตในทาง ปฏิบัติไดเกิดปญหาในเรื่องหลักของความอิสระ ในการทํางาน ผมขอนําเสนอความหมายของคํา วา หลักนิตธิ รรมของทีป่ รึกษาชมรมนิตกิ รองคกร ปกครองสวนทองถิ่น ดังนี้ “หลักนิติธรรม หมายถึง “หลักพื้นฐาน แห ง กฎหมาย ที่ ก ฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรมจะตองไมฝาฝน ขัดหรือแยงตอหลัก นิติธรรม และหลักนิติธรรมนี้จะถูกลวงละเมิด ไมได” “ผลของการฝาฝนหลักนิติธรรม คือ ใช บังคับไมได” “สาระสําคัญของหลักนิตธิ รรม ไดแก อาทิ 1. หลักความเปนอิสระของผูพ พิ ากษา 2. กฎหมาย ไมมีผลยอนหลังเปนโทษ 3. กฎหมายตองมีการ
รองเทศมนตรีคลองหลวงกลั่นแกลง ชนะคดี ป.ป.ช.ฟอง/ยังไมยอมรับกลับ
โดยเมื่อตนสัปดาหที่ผานมา น.ส.ชินสุดา วงษถาวรกุล อดีต ผอ.กองการศึกษา 8 สังกัด เทศบาลเมืองคลองหลวง จ.ปทุมธานี นําเรื่อง ดังกลาวเขารองเรียนกับ อปท.นิวส วา เมื่อป 2546 นายประยุทธ ศิริภาพ อดีตสมาชิกเทศบาล คลองหลวง ซึง่ มีความขัดแยงสวนตัว ไดทาํ หนังสือ รองเรียนสํานักงานปองกันและปราบปรามการ ทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) กลาวหาตนทุจริตเงิน สวนตางคาใชจายในการจัดกิจกรรม โครงการ วันสงกรานตและวันกตัญู ประจําป 2544 ของ ชินสุดา วงษถาวรกุล เทศบาลคลองหลวง ซึ่งตอมา ป.ป.ช.ไดชี้มูลความ ผิดทางอาญาและทางวินยั สงผลใหนายประเสริฐ คายทอง นายกเทศมนตรีเมืองคลองหลวง ออกคําสั่งไลตนออกจากราชการ อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 22 ต.ค. 2552 ตนไดยืนอุทธรณคําสั่งลงโทษทางวินัยตอ ประธานคณะกรรมการพนักงานเทศบาลจังหวัดปทุมธานี ขอใหยกเลิกคําสั่งไลออกและ คืนสิทธิ์ประโยชนตางๆ ตาม ตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ลางมลทินฯ 2550 แตคณะ กรรมการฯ ไมไดวินิจฉัยใหแลวเสร็จภาย 90 วัน หรือ 150 วัน กระทั่งตอมา ที่ประชุมคณะ อนุกรรมการพิจารณาอุทธรณและการรองทุกขพนักงานเทศบาลจังหวัดปทุมธานี เมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2554 มีความเห็นวา “เห็นควรใหเทศบาลเมืองคลองหลวง ยกเลิกคําสั่งไลออกจาก ราชการ ตามคําสั่งเทศบาลคลองหลวง ที่ 92/2548 ลงวันที่ 24 ก.พ. 2552 และคืนสิทธิ์ ประโยชนตางๆ ใหกับผูอุทธรณ ตามระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวของ” นอกจากนี้ ทางคดีอาญา หลังพนักงานอัยการจังหวัดธัญบุรเี ปนโจทกยนื่ ฟองตนตาม การคําชี้มูลความผิดของ ป.ป.ช.แลว ตามคดีแดงที่ อ.4414/2554 โดยศาลพิจารณายกฟอง และแมวาโจทกจะยื่นอุทธรณ แตศาลอุทธรณก็พิพากษายืนตามคําพิพากษาของศาลชั้น ตน โดยโจทกไมฎีกาตอ ถือวาคดีถึงที่สุด ซึ่งทําใหนายประเสริฐ คายทอง ไดออกคําสั่งที่ให ลงโทษภาคทัณฑตนเปนโฆษะ อยางไรก็ตาม จนถึงขณะนี้ นายกเทศมนตรีเมืองคลองหลวง ยังไมยอมรับตนกลับ เขาทํางาน และจายเงินพรอมสิทธิ์ประโยชนในระยะเวลาที่ถูกออกจากราชการและตอสูคดี โดยไมมีความผิดเปนเงินที่คํานวณแลวถึง 1.8 ลานบาท จึงเห็นไดวาเปนการะทําของนาย ประเสริฐที่พยายามกลั่นแกลงมาโดยตลอด
โดย พงษ ปยะ ✐✐✐…แวดวงตํ า รวจ ชวงเปลี่ยนถายจากรอนเปน ฝนในรอบเดื อ นพ.ค.2556 แมทพั ปทุมวัน พล.ต.อ.อดุลย แสงสิงหแกว สั่งสอบวินัย ร า ยแรงอดี ต ผบก.ทล 11 พล.ต.อ.อดุลย แสงสิงหแกว นายตํารวจ สมัยเปนผูการ ทางหลวง ภายหลังสตง.เขาไป ตรวจสอบและสรุปพบวา กรณีจัดจางติดตั้งศูนยบริการขอมูล โทรศัพท 1193 กับ บริษทั ทิพพรัตน บิสสิเนส กรุป จํากัด ✐✐✐… พ.ต.ท.สมจิต แกวพรม อดีตรอง ผกก.ป.สภ.ทาเรือ จ.ขอนแกน ตกเปนมือปนสังหาร “สุชาติ โคตรทุม” ปลัด อบจ. ขอนแกน หลังมอบตัวอางวาไมเคยรูจ กั “เหยือ่ ” แลวไมมสี ว น เกี่ยวของ “วันเกิดเหตุ” ปฏิบัติธรรมอยูที่สํานักสงฆแหงหนึ่ง ใน จ.ชัยภูมิ ✐✐✐…ทีป่ รึกษา (สบ 10) ลงพืน้ ทีไ่ ปทําคดี นีเ้ อง เมือ่ ตํารวจจับตํารวจ คงตองงัดหลักฐานมาวากัน ลาสุด พล.ต.ท.กวี สุภานันท ผบช.ภ.4 พ.ต.อ.ยรรยง เวชโอสถ รอง ผบก.สส.ภ.4 และฝายสืบสวนภาค 4 จับกุม ประพันธ หรือขวัญ ศรีพสิ ยั เจาของโรงเลือ่ ยและคาไม เกาในอ.บานเขวา หนึง่ ในมือยิง ปลัด อบจ.ขอนแกน ขณะหลบ หนีบานเชาอ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ประเด็นสังหารไปในทางชูสาว ทดแทน “นาย”✐✐✐… พ.ต.ท.ธนวุฒิ หัสวาที รอง พ.ต.ท.สมจิต แกวพรม ผกก.ป.สภ.เมืองนครราชสีมา
ชาวบานกรุงเกา คานเอกชนตัง้ โรงแรถา นหิน
เมือ่ วันที่ 7 มิ.ย.ทีผ่ า นมา บริเวณทีด่ นิ กลางทุง นา ม. 4 ต.คลองสะแก อ.นครหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา อบต.คลองสะแก อ.นครหลวง ไดจดั ใหมกี ารทําประชาพิจารณหรือ เวทีประชาคม เพือ่ สอบถามความคิดเห็นชาวบาน กรณีบริษทั ไทยพลังงาน ทีพี จํากัด จะ ใชพนื้ ทีจ่ าํ นวน 7 ไร ในการผลิตและเก็บถานหิน โดยมีนายวิเชียร ภูเ สวก นายก อบต. คลองสะแก และ จ.ส.ต.สุนทร ยังอยู ปลัด อบต.เปนผูด าํ เนินการประชุม มีประชาชน จากหมู 2 และ ม. 4 ต.คลองสะแก มารวมฟงจํานวนกวา 200 คน นายรวิ แยมผล ชาวบานผูห นึง่ ทีม่ ารวมประชุมกลาววา อบต.คลองสะแก ได เรียกชาวบานทีม่ คี วามเสีย่ งในเรือ่ งผลกระทบมาเพียงบางสวน ไมไดเรียกทัง้ หมด ซึง่ อางวาเรียกเฉพาะบานทีอ่ ยูร ะยะไมเกิน 500 เมตร ซึง่ ในขอเท็จจริงฝุน จากถานหินจะ ลอยออกไปไกลกวา 500 เมตร ทําใหมปี ระชาชนไดรบั ผลกระทบเปนวงกวาง นอกจาก นี้ ชาวบานยังไมเชือ่ วาทางบริษทั จะปฏิบตั ติ ามทีบ่ อกได เนือ่ งจากทีผ่ า นมามีหลายบริษทั มาตัง้ ในเขต ต.คลองสะแก บางพระครู และแมลา ใน อ.นครหลวง ก็ประสบปญหา อยูใ นปจจุบนั ทําใหชาวบานไมเชือ่ และไมอยากใหเกิดสถานทีเ่ ก็บถานหินอีก ซึง่ หากมี การฝาฝนมาเก็บถานหิน โดยทีช่ าวบานไมยนิ ยอมก็จะดําเนินการรองเรียนจังหวัดตอไป
จับละเมิด
พ.ต.อ.ธีรพล จินดาหลวง รอง ผบก.บก.สส.ภ 2 พ.ต.อ.ชัชวาลย พิสทุ ธิวงส รรท.ผกก.สภ.เมืองพัทยา พ.ต.ท.ไชยดิษฐ ปญญาเหมือนสกุล รอง ผกก.ชวยราชการ ศปลป. พ.ต.ท.กฤศณัฐ ธนศุภณัฐ รรท.รอง ผกก.สส.สภ.เมืองพัทยา จับกุมสินคาละเมิดทรัพยสนิ ทาง ปญญาของกลางเสือ้ ผา กระเปา และนํา้ หอม ทีก่ อ ปปย หี่ อ แบรนดเนม ดัง รวม มูลคากวา 5 ลานบาท ภายใน ศูนยการคาวินดีพ้ ลาซา ปาก ซอย 13 ถ.เลียบชายหาดพัทยา
อบรมตํารวจสูม อื อาชีพ
ประกาศใชใหประชาชนทราบ 4. กฎหมายตองใช บังคับเปนการทั่วไป 5. เจาหนาที่รัฐจะใชอํานาจ ไดภายใตการใชอํานาจโดยชอบ และ 6. หาม ยกเวนความรับผิดใหแกการกระทําในอนาคต” กลาวโดยสรุปก็คือ กฎหมายซึ่งเปนสิ่งที่ มนุษยสรางขึน้ มานัน้ ตองมีหลักไวใหยดึ มีหลักไว ใหพนั หากกฎหมายออกนอกหลักทีป่ ก ไวกไ็ มเปน กฎหมาย ดังนั้น การออกกฎหมาย การใชบังคับ กฎหมาย การตีความกฎหมาย และกระบวนการ ยุติธรรม ตองอยูภายใตหลักยึดนี้ ซึ่งก็คือหลัก นิติธรรม หากออกนอกหลักก็ไมมีผลใชบังคับ หลักนิตธิ รรม คือหลักทีใ่ ชกาํ กับดูแลตรวจ สอบอํานาจอันไมชอบธรรมของรัฐสภาและฝาย บริหาร และเปนหลักที่ใชตรวจสอบการปฏิบัติ หนาทีข่ องผูพ พิ ากษา ตุลาการ อํานาจอธิปไตยทัง้ 3 รวมทั้งรัฐธรรมนูญตองอยูภายใตหลักนิติธรรม หลักนิติธรรม จึงเปนเสาหลักที่ปกไวให กฎหมายยึด เพื่อมุงไปสูความยุติธรรม หลัก นิติธรรม จะชวยปองกันมิใหกฎหมายกลายเปน
เมือ่ เร็วๆ นี้ พล.ต.อ.เฉลิมเกียรติ ศรีวรขาน ทีป่ รึกษาสัญญาบัตร 10 (สืบสวนสอบสวน) สํานักงานตํารวจแหงชาติ เปนประธานในพิธเี ปด การอบรมโครงการพัฒนาบุคลากรสายงานปองกันและปราบปราม อาชญากรรม สูความเปนตํารวจมืออาชีพ โดยมีนายตํารวจระดับ สูงของ บช.ภ.2 รับการอบรม จํานวนมาก ทีห่ อ งประชุมบานสุขาวดี ริมถนนสุขมุ วิท จับ พ.ต.ต.วชิระ โทวรรณา อดีต สว.ก.9 บก.ส.ฝ.บช.ตชด. รั บ ผิ ด ชอบด า นการเงิ น แต เพิ่ ง ถู ก ปลดออกจากราชการ มาเมื่อชวงกลางปที่แลว หลัง ถูกกลาวหาวาทุจริตเบิกจายคา ใชตา ง ๆ จึงตกอยูใ นสภาพคน พล.ต.ท.กวี สุภานันท ตกงาน จึงตัดสินใจนั่งรถไฟ ฟรีจากสถานีรถไฟสุรินทรมาลงที่สถานีรถไฟนครราชสีมา จึง ตัดสินใจวิงราวตูร บั บริจาคภายในธนาคารออมสิน สาขาถนนมุข มนตรี ✐✐✐…ในฝากฝง ตะวันออกเมืองพัทยา กลุม อาสา สมัครตํารวจทางหลวงชลบุรี ยังออกชวยเหลือสังคมไมขาด เริม่ ที่ อภิสทิ ธิ์ สุรยิ ธนกุล นักธุรกิจ เมืองพัทยา วางๆจากธุรกิจ ควัก เงินสวนตัวชวยสังคมเหมือนเดิม มนตรี สัมฤทธิ์ อาสาทล.ชลบุรี ดูแลความเรียบรอยแลวแถวเมืองจําลอง ออกชวยเหลือประชน และนักทองเทีย่ วชาวไทยและตางชาติ สวน สิรวิชญ พิทกั ษจริ กร ยังเปนอาสาสมัครคุม ประพฤติและอาสาสมัครเมืองพัทยาอุทศิ ตัว ชวยเหลือชาวบานเหมือนเดิม ✐✐✐…พ.ต.อ.ธีรพล จินดาหลวง รอง ผบก.บก.สส.ภ 2 พ.ต.อ.ชัชวาลย พิสทุ ธิวงส รรท.ผกก. สภ.เมืองพัทยา พ.ต.ท.ไชยดิษฐ ปญญาเหมือนสกุล รอง ผกก. ชวยราชการ ศปลป. พ.ต.ท.กฤศณัฐ ธนศุภณัฐ รรท.รอง ผกก. สส.สภ.เมืองพัทยา จับกุมสินคาละเมิดทรัพยสนิ ทางปญญาไดผู ตองหา 3 ราย ของกลางเสือ้ ผา กระเปา และนํา้ หอม ทีก่ อ ปปย หี่ อ แบรนดเนมดัง รวม 9,000 ชิน้ มูลคาราคากวา 5 ลานบาท ภายใน ศูนยการคาวินดีพ้ ลาซา ปากซอย 13 ถ.เลียบชายหาดพัทยา จริงๆ แลวสิน้ คาตางๆในเมืองพัทยาหากไมมี “สวย” รายเดือน มีตาํ รวจ หลายหนวยเขาไปเก็บอยางไงๆก็ปราบไมหมด ทีน่ นั้ อูข า ว อูน าํ้ ทรัพยสมบัตผิ ลัดกันชม ✐✐✐…แม รอง”ปวีณา” สมศักดิ์ ขามโนนวัด ลูกชาย เปนคนงานชัว่ คราว โครงการกอสรางสะพาน รถไฟฟา บริษทั อิตาเลีย่ นไทย ถูกตํารวจหนองเสือ จ.ปทุมธานี จับ ขอหาลักทรัพย ซอมจับแกผา ช็อตไฟ ญาติทราบเรือ่ งเดินทางไป เยีย่ ม พบวา สมศักดิ์ พูดดวยนํา้ เสียงแผวเบาวา ถูกซอมบังคับให
เครื่องมือของผูมีอํานาจ ความหมายของหลักนิติธรรมนี้ ผมได นํ า มาจากส ว นหนึ่ ง ของคํ า กล า วรายงานและ ชี้แจงรางขอเสนอของ ศาสตราจารย ดร.กําชัย จงจักรพันธ ประธานคณะอนุกรรมการวิชาการ ว า ด ว ยหลั ก นิ ติ ธ รรมแห ง ชาติ ใ นการประชุ ม สั ม มนาและรั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น เรื่ อ ง “หลั ก นิติธรรม ความหมาย สาระสําคัญ และผลของ การฝาฝน” ของคณะกรรมการอิสระวาดวยการ สงเสริมหลักนิติธรรมแหงชาติ ณ โรงแรมรามา การเดนส วันที่ 22 กุมภาพันธ 2556 ซึ่งทาน อาจารยกําชัยฯ เปนผูสนับสนุนริเริ่มใหมีการ กอตั้งชมรมนิติองคกรปกครองสวนทองถิ่น เมื่อ ป พ.ศ. 2549 ซึ่งขณะนั้นทานดํารงตําแหนง คณบดีคณะนิตศิ าสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เป น สถาบั น ที่ ผู เ ขี ย นจบการศึ ก ษากฎหมายที่ มหาวิทยาลัยแหงนี้
รับสารภาพ ถูกช็อตดวยไฟฟา และ เสียชีวติ ตัง้ กรรมการสอบสวนขอเท็จ จริง สวน พ.ต.อ.บัญชา ติปยานนท ผกก.สภ.หนองเสือ ตองใหความ เปนธรรมกับผูต ายดวย ถึงจะเปน คนงาน อยาคิดวา ชีวิตคนไรคา ซอมเพือ่ เอาผลงาน มีใหเห็นเยอะ อภิสิทธิ์ สุริยธนกุล แตขนึ้ อยูกับขอเท็จจริงวา “ซอม จนกระอักเลือดตาย”จริงหรือเท็จ มันโหดเกินไป ✐✐✐… พ.ต.อ.เสริมพันธ ศิรคิ ง ผกก.สภ.เมืองภูเก็ต พ.ต.ท.ประวิทย เองฉวน สว.สส. สภ.เมืองภูเก็ต แถลงขาวความคืบหนาคนรายปลนราย ทองแลวยิงพลเมืองดีเสียชีวติ ทีห่ า งทองซีพโี กลดมาสเตอรโลตัส เมือ่ วันที่ 8 เม.ย. 2556 คนราย กวาดทองไป 106 บาท ขณะนีต้ าํ วจ คาดวาจะจับคนรายรายนีไ้ ดพรอมตัง้ คาหัว 4 แสนบาทหากใคร พบเห็น ✐✐✐…อบายมุขไมหมด พ.ต.ต.ฉกรรจ เล็กอาราม พ.ต.ต.นรามินทร เทพจักรินทร สว.กก.6 บก.ป. นํากําลังทลายบอน “โปปน ” กลางปาสวนยางพารา ต.คอหงส อ.หาดใหญ จ.สงขลา จับกุมเซียนพนัน 44 คน อุปกรณเลนโปปน เงินสด และชิป เกิด เรือ่ งแมทอ งทีห่ าดใหญจะเขารวม จับ มีคาํ สัง่ เดง 6 เสือโรงพัก ไป ศปก. สงขลา พรอมตั้งกรรมการสอบสวน พ.ต.อ.อดิเรก บือราเฮง ผกก. พ.ต.ท.ธรรมรัตน เพชรหนองชุม รอง ผกก.ป. พ.ต.ท.ภูมนิ พเดช พรศรีภาค รอง ผกก.สส. พ.ต.ท.สุหชั ดํานอย พ.ต.ต.บัณฑูร เทพสุวรรณ และ พ.ต.ต.มาชา แกวทอง กอง ปราบปรามทลาย “บอนโปปน ” พื้นที่ สภ.หาดใหญ พล.ต.ต. สุวทิ ย เชิญศิริ ผบก.ภ.จว.สงขลา เรื่อง สถานบริการ บอนพนัน จาก อธิบดีกรมตํารวจ มาเปน สํานักงานตํารวจแหงชาติ ยัง มีอยูท วั่ ฟาเมืองไทย ✐✐✐ พล.ต.ต.สุวิทย เชิญศิริ
จับผลิตอาวุธปน
พล.ต.ต.รัฐพงษ ยิม้ ใหญ ผบก.ภ.จว.บุรรี มั ย พ.ต.อ.รวีวรรธน เทียนสุวรรณ รอง ผบก.ภ.จว.บุรรี มั ย พ.ต.อ.ณรงคฤฑธิ์ มณีโชติ ผกก.สภ.ลําปลายมาศ จับกุม บุญชู บัตรทอง ผูต อ งหาผลิตอาวุธ ปน ใน ต.โคกกลาง อ.ลําปลายมาศ จ.บุรรี มั ย พรอมอาวุธปน เครือ่ ง กระสุน อุปกรณการผลิต จํานวนมาก
พลังงาน/สิ่งแวดลอม/ทรัพยากรธรรมชาติ
10
พลังงาน/สิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ
ในประเทศไทยมีสัดสวนในการสนับสนุนเงินอุดหนุนพลังงาน ติดอันดับ 20 ประเทศที่มีการสนับสนุนคอนขางสูง การแกปญหา พลังงานนั้นนอกจากลดการพึ่งพาการนําเขาพลังงานใหนอยลง เพิ่มการใชพลังงานทางเลือกที่ผลิตไดเองมากขึ้น และเพื่อใหไดผล ควรทํ า ไปพร อ มกั บ การออกแบบระบบภาษี ใ ห มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ Ms. Tara Laan การอุดหนุนราคาพลังงานเฉพาะที่จําเปนเทานั้น จากสถาบันนานาชาติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (International Institute for Sustainable Development หรือ IISD)
TDRI แนะ รัฐ ใชความรอบคอบ อุดหนุนราคาพลังงาน หวงใชกันอยางฟุมเฟอย
ปญหาตางๆ ทางดานพลังงานที่เกิดขึ้น ลวนเปนที่ นาจับตามองกันอยางมาก ทั้งปญหาการผลิตไฟฟาโดยการ สรางโรงไฟฟาเพือ่ ความมัน่ คงของประเทศ การนําพลังงาน ไปใชในภาคครัวเรือน รวมถึงการอุดหนุนผูมีรายไดนอย จึง ทําใหสถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย(ทีดอี ารไอ)รวม กับ International Institute for Sustainable Development (IISD) จัดการประชุมเชิงปฎิบัติการ “Civil Society Workshop on Fuel and Electricity Subsidies” โดยมีการ ระดมความคิด เห็น เกี่ยวกับ แนวทางการปฎิรูปการอุดหนุน พลังงานของประเทศไทย จากผูทรงคุณวุฒิ ผูเกี่ยวของจาก หนวยงานตางๆ เขารวม ดร.อดิศร อิ ศ รางกู ร ณ อยุธยา ที่ ปรึกษาฝายการวิจยั ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอมทีดีอารไอ กลาววาคณะวิจัยจาก IISD และ ที ดี อ าร ไอ ไดนํา เสนอภาพรวม ความเขาใจตอการอุดหนุนพลังงานโดยระบุ วา ประ เทศ ไทยมี การ ใชพลังงานค อนข าง สูง โดยมีการนําไปใชในภาคครัวเรือน ขนสง อุตสาหกรรม และ การผลิ ต ไฟฟา สําหรั บ โครงสรางราคาพลังงานนั้น จากจุดเริ่มตน ที่ราคาหนา โรงกลั่น ภาคปโตรเคมีจายเพิ่ม เพียงภาษีมูลคาเพิ่ม 1.63% ขณะที่ภาคครัว เรือน ภาคขนสง และภาคอุตสาหกรรม มี ภาระตองที่ตองจายเพิ่มคือภาษีสรรพสามิต ภาษีเทศบาล เงินสมทบ เขา กองทุนนํ้ามัน เชื้อเพลิง ฯลฯ โดยที่ ผ า น ม า ป ร ะ เทศ ไทยมี การ อุดหนุนราคาพลังงานหลายตัวทั้งแอลพีจี เอ็นจีวี ดีเซล คา ไฟฟา และเอทานอล จึงทําใหราคาขายปลีกในแตละภาคการ ใชงานมีความแตกตางกัน และยากทีจ่ ะปลอยใหเปนไปตาม กลไกตลาด เพราะจะกระทบกับผูมีรายไดนอย สําหรับการออกแบบโครงสรางภาษีและเงินอุดหนุน พลังงานตองมีเปาหมายในการออกแบบ 3 เรื่องคือ 1.ลด
การนําเขาพลังงานใหนอยลง เพื่อที่จะไดไมตองพึ่งพาหรือ ผูกติดกับความผันผวนในตลาดโลก 2.หลีกเลี่ยงหรือลดการ ใชพลังงานฟอสซิลฟวดซงึ่ เปนพลังงานทีไ่ มสามารถทดแทน ไปเปนพลังงานหมุนเวียนหรือชีวมวล เพือ่ ลดการปลอยกาซ เรือนกระจก และ3.โครงสรางราคาหรือการสนับสนุนผูมี รายไดนอย เชน การใชไฟฟาฟรีสําหรับบานที่ใชไฟไมเกิน 50 หนวยตอเดือน โดยสวนของเปาในการลดความผันผวนจากราคา นํา้ มันในตลาดโลกนัน้ จากการลดการนําเขานํา้ มันแลวผลิต นํ้ามันเองนั้น จะสงผลใหเราปลอดจากปญหาราคานํ้ามัน
ตลาดโลกผันผวนนั้นมองวาเปนไปไมได เพราะราคานํ้ามัน ภายในประเทศจะผันผวนตามราคานํ้ามันตลาดโลกอยาง หลีกเลีย่ งไมไดอยูแ ลวหากราคาพลังงานในตลาดโลกแพงขึน้ แตเปาหมายทีส่ าํ คัญคือการหลีกเลีย่ งการใชพลังงาน ที่กอใหเกิดกาซเรือนกระจก จึงควรหันมาสนับสนุนพลัง งานจากชีวภาพ หรือชีวมวล แตพลังงานทดแทนเหลานั้น
กฟภ. เดินหนา โครงการพลังงานทดแทน รับอาเซียน ไฟฟา เรื่องที่จําเปน และสําคัญตอชีวิตประจําวันของเราทุกคน และเราไมอาจหลีกเลี่ยงไดหากความตองการใชไฟฟาในประเทศเพิ่ม ขึ้น แตปริมาณของพลังงานลดลงอยางตอเนื่อง แนนอนที่สุดการสรรหา พลังงานทางดานไฟฟาเพื่อนํามาอํานวยความสะดวกใหกับประชาชน ยอมขึ้นอยูกับหนวยงานที่รับผิดชอบในการผลิตกระแสไฟฟา ในเมื่อการกอสรางโรงไฟฟาขนาดใหญจะเกิดขึ้นดวยความยาก ลําบาก แตทางการไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ซึง่ อาจไมใชหนวยงานหลักใน การผลิตกระแสไฟฟาก็ตาม ไดมีแนวคิดที่จะนําพลังงานทดแทนมาใชเพื่อ ลดการนําเขาเชือ้ เพลิงจากตางประเทศและลดการเกิดคารบอนตํา่ รวมถึง เพื่อใหประชาชนไดมีไฟฟาใชอยางพอเพียง นายชาญชัย บัณฑิตเสาวภาคย รองผูว า การการไฟฟาสวนภูมภิ าค ไดกลาวกับทางหนังสือพิมพ อปท.นิวส วา ตามแนวนโยบายของผูว า การการ ไฟฟาสวนภูมภิ าค ไดมแผนพั ี ฒนาระบบไฟฟาดวยการนําพลังงานทดแทน มาใช โดย กฟภ.มี แผนพัฒ นา ใหสอดคลอ งกับ แผนพัฒนา เศรษฐกิจ และ สังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) เกี่ยวกับ การสราง เศรษฐกิจ และสัง คมสี เขียว ในรูป แบบ การ ใชพลังงานที่กอ ให เกิดคาร บอนตํ่าที่สุด โดยแผนงานการประหยัดพลังงานไฟฟาสําหรับไฟถนน และไฟสาธารณะ ปละไมตาํ่ กวา 10% และแผนงานดานจัดการพลังงานใหกบั หนวยงานภาครัฐ (มหาวิ ทยาลัย ) และธุรกิจอุ ตสาหกรรม ซึ่ง จะชว ย ให เกิ ด การ ใช พ ลังงาน ไฟฟ า นอยลง แตมีป ระสิทธิ ภาพปลอดภั ยมากขึ้น และ ทํา ให ก ระบวน การ ผลิตไฟฟานั้นปลอยกาซคารบอนออกมานอยลง โดยไดจัดทําแผนพัฒนา พลังงานทดแทนผาน บริษัท PEA ENCOM International บริษัทในเครือ ซึง่ ไดจดั ตัง้ ขึน้ เมือ่ ป 2552 เชน โครงการลงทุนดานพลังงานทดแทน เปนตน นอกจากนี้ กฟภ.ไดตระหนักและใหความสําคัญ การเตรียมพรอมรับ กับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตซึ่งเปนที่ทราบกันดีวาประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 (AEC) เปนองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีสมาชิก 10 ประเทศ และมีการเติบโต ทางเศรษฐกิจสูงทําใหความตองการใชไฟฟาและพลังงานอื่นๆ โดยเฉพาะ ดานพลังงานทดแทน ซึง่ เปนแหลงพลังงานใหมรองรับกับความตองการใน อนาคต อาทิ เปนพลังงานแสงอาทิตย ลม นํา้ พลังงานชีวภาพและชีวมวล ดังนัน้ ประเทศไทยจึงตองมีการวางแนวทางในการเสริมสรางความ มั่นคง และ เตรียมรับมือดานพลังงาน ไฟฟา อาทิ การขยายเขตระบบ จําหนายไฟฟาและเสริมความมั่นคงไฟฟาตามแนวชายแดน หรือพื้นที่ที่ คาดวาจะเปน แหลงชุมชนและ แหลง เศรษฐกิจ ใหมๆ ใหสามารถรองรับ ความตองการพลังงานไฟฟาที่เพิ่มสูงขึ้น
ปที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
อาจมีขอจํากัด เพราะในสวนของธุรกิจนํ้ามันที่มีการดําเนิน การอยูแลว นักธุรกิจอาจจะอยากทําการคากับนํ้ามันตัวเดิม เนื่องจากมีฐานธุรกิจเดิมอยู สําหรับการใชเงินอุดหนุนพลังงานนัน้ ทีดอี ารไอ เห็น ดวยกับมาตรการชวยเหลือผูม รี ายไดนอ ย เชน การยกเวนคา ไฟฟาและนํ้าประปาใหกับผูที่ใชไมเกินจากที่รัฐบาลกําหนด ไวนนั้ ถือเปนแนวคิดทีด่ ี และควรทําตอไป แตก็จาํ เปนตองหา มาตรการที่ดีเพื่อเปนการชวยเหลือกลุมเปาหมายที่แทจริง โดยการชวยเหลือผูม รี ายไดนอ ยรัฐบาลอาจจะออกนโยบายที่ จะชวยเหลือผูม รี ายไดนอ ยทีแท ่ จริงผานการกรอกแบบฟอรม ภาษี ซึ่งทําไดทั้งนํ้ามัน คาไฟ และเรื่องอื่น ๆ ก็ใหการชวยเหลือไดโดยทําใหอยูใน แบบฟอรม ภาษีกระทรวงการคลัง อยางไรก็ตามในเรื่องของเงินอุดหนุน พลังงานเปนเรือ่ งทีล่ อ แหลม ในทางเศรษฐกิจ อาจจะนําไปสูค วามบิดเบือนเพราะจะจูงใจให คนใชพลังงานตัวนั้นเยอะขึ้น และมีปญหาใน เชิงธุรกิจแอบแฝง ซึง่ ในหลายประเทศนัน้ การ กําหนดนโยบายสาธารณะนั้นจะไมอยากเห็น เงินอุดหนุนเทาไรนัก เพราะเมือ่ มีการอุดหนุน ก็เหมื อ นกั บเป น การกระตุนพลังงานตัวนั้น ทําใหมีการนําเขาและผลิตมากขึ้น นอกจาก นี้ก็จะเกิดขอครหาไดหากคนในภาครัฐเขาไป มีสวนในธุรกิจพลังงานนั้นดวย ก็เปนเหมือน การใหเงินชวยเหลือพวกพองในการทําธุรกิจ นอกจากนี้การใหเงินอุดหนุนอาจเปนหนึ่งใน นโยบายประชานิยมเพือ่ เอาใจคนกลุม ใดกลุม หนึง่ ทําใหการใหเงินอุดหนุนพลังงานตองเปนนโยบายทีต่ อ ง ดําเนินไปดวยความระมัดระวัง สําหรับ การอุ ด หนุน ราคาพลั ง งานของรัฐบาลตัว ลาสุดคือกาซปโตรเลียมเหลว (LPG) ภาคครัวเรือน โดยอยู ระหวางศึกษาแนวทางบรรเทาผลกระทบผูม รี ายไดนอ ยจาก การทยอยปรับขึ้น LPG จากปจจุบันอยูที่ 18.13 บาท/กก.
ปตท. - บีอารที คืนความรูสูชุมชน สงเสริมสํานึกรักษบานเกิด
ปตท.-บีอารที รวมจัดงานคืนความรูสูชุมชน ถายทอดผลวิจัยความหลากหลายทาง ชีวภาพอันอุดมสมบูรณของชายหาดขนอม นครศรีธรรมราช สงเสริมสํานึกรักษบานเกิดให แกเยาวชนและชุมชนทองถิ่น ภายใตหัวขอ “ขนอม..ความรํ่ารวยบนฐานทรัพยากรชีวภาพ” ซึ่ง ปตท. และโครงการพัฒนาองคความรูและศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพ ในประเทศไทย (บีอารที) รวมศึกษาวิจัย มากวา 6 ป เพื่อปลูกจิตสํานึกใหแกเยาวชนและ ชุมชนรอบพื้นที่ ในการชวยกันดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น ใหคงอยูอยางยั่งยืน นายโชคชัย ธนเมธี ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญแยกกาซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กลาววา ปตท. และหนวยงาน บีอารที รวมกันดําเนินโครงการวิจัยความหลากหลาย ทางชีวภาพ ของพื้นที่ชายหาดขนอม จ.นครศรีธรรมราชมาตั้งแตป พ.ศ. 2549 - 2554 โดยมี เปาหมายที่จะใหเปนแหลงคนควาวิจัย สามารถนําผลการศึกษาไปบริหารจัดการใหเกิดการใช ประโยชนในทองถิ่นในรูปแบบการสรางผลิตภัณฑทองถิ่น การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ การสราง หลักสูตรการศึกษาทองถิ่น และสรางกระบวนการเรียนรูรวมกันระหวางนักวิชาการกับชุมชน เพื่อใหเกิดความเขมแข็งในระยะยาว ซึ่งตลอด 6 ปของการศึกษาวิจัย พบสิ่งมีชีวิตมากมายที่ แสดงถึงความหลากหลาย และความอุดมสมบูรณทางธรรมชาติของอําเภอขนอมทีย่ งั คงอยู อาทิ โลมาสีชมพู หญาทะเล สาหรายใบมะกรูด ปะการัง กุงเคย เปนตน จากการวิจยั ดังกลาว ปตท. ไดนาํ ผลการศึกษามาตอยอดองคความรูเ พือ่ ใหเกิดประโยชน อยางยั่งยืน โดยการจัดกิจกรรม“คายเยาวชนขนอมรักษบานเกิด ครั้งที่ 3” และไดคัดเลือก ผูแทนเยาวชนชั้นประถมปลายและมัธยมตน จาก 22 โรงเรียนในอําเภอขนอม เขารวมคาย เยาวชน เรียนรูเรื่องราวทรัพยากรชีวภาพทางทะเลและสถานการณสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ผานกระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตรและการปฏิบัติจริง โดยมีพี่ๆ นักวิจัยจาก BRT และ ปราชญชุมชน เปนวิทยากรถายทอดความรูและประสบการณอยางใกลชิด เพื่อสรางจิตสํานึก รักษบานเกิดใหกับเยาวชน ที่จะเติบโตเปนกําลังสําคัญของประเทศ ในการชวยกันดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติของทองถิ่นใหคงอยูอยางยั่งยืนตลอดไป ทั้งนี้ โครงการคืนความรูสูชุมชน และคายเยาวชนขนอมรักษบานเกิด เปนอีกกิจกรรม ที่ ปตท. เนนกระบวนการศึกษาวิจัย สงเสริมเผยแพรความรูวิชาการ แลกเปลี่ยนองคความรู ความรวมมือ เพื่อรักษาทรัพยากรสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง เพื่อใหเกิดการจัดการทรัพยากร อยางยัง่ ยืนและเขาใจความหลากหลายทางชีวภาพ พรอมกับมีสว นรวมสรางพืน้ ทีท่ มี่ คี วามหลาก หลายทางชีวภาพของโลก
(อาสา สมัครสาธารณสุขประจําหมูบ า น) ไดผลิตถังปฏิกริ ยิ า ตัวอยาง ทีจ่ งั หวัดเลย เดิมเปนโรงรับซือ้ และหีบนํา้ มันปาลม โดยใชชางทําหมอกวยเตี๋ยว นํ้ามันไบโอดีเซลที่ผลิตไดนํา ขนาดเล็ก สามารถนํานํา้ มันปาลมดิบทีห่ บี ไดบางสวนมาผลิต ไปใช แทนนํามันดีเซลทีใ่ ชผสมยาเพือ่ พนควันไลยงุ หรือ ที่ เปนไบโอ ดีเซล ทําใหเพิ่มทางเลือกในการจําหนายอีกทาง ชุมชน นครนายก ยกเลิกการตมไลนาํ้ ดวยไฟฟา แตมาใช นอกจากจํา หนายเปนนํา้ มันปาลมดิบ นอกจากนัน้ ทีเ่ ทศบาล กลองเรือนกระจกรับแดดใหความรอนแกนาํ้ มัน เชนเดียวกับ เมืองขอนแกน ใชรถเก็บขยะทีต่ อ งวิง่ เก็บขยะในชุมชนอยูแ ลว ที่ จ.ประจวบ ใชฟน เปนเชือ้ เพลิงใหความรอนใหความรอนใน ในการรับซือ้ นํา้ มันใชแลวมาเปนวัตถุดบิ นํา้ มันไบโอดีเซลที่ ขบวนการผลิตทําใหลดคาไฟฟาไปไดจาํ นวนมาก หรือที่ จ.เลย ผลิตไดกก็ ลับไปใชกบั รถขนขยะของเทศบาลเอง ไดพัฒนาเครือ่ งผลิตไบโอดีเซลแบบตอเนือ่ ง โดยประยุกตใช เราจะเห็ น ว า ขบวนการผลิ ต ไบโอดี เ ซลที่ เ อื้ อ วัสดุราคาถูกทีห่ าไดในทองที่ ประโยชนกบั สิง่ ทีม่ อี ยู นัน้ ทําใหเกิดการเพิม่ มูลคา เพิม่ ความ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวงพลังงาน การนํ า เทคโนโลยี ม าใช กั บ ชุ ม ชน ควรเลื อ ก มัน่ คง และลดของเสีย ทําใหระบบสามรถเดินไปได ดําเนินงานโดย มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม ทีผ่ ใู ชสามารถดูแลและปรับปรุงพัฒนา ไดในชุมชน ลําพังแคใชงานไดตามขัน้ ตอน ชุมชนยังคงไมได การปรับตัวกอเกิดสายพันธใหม ละครหลังการโหมโรง ชุมชน เราพบวาหลายชุมชนตองหยุดการผลิตเนือ่ ง เปนเจาของเครือ่ งจักรอยางแทจริง มาถึงตอนนีเ้ ราอาจไมมรี ปู แบบไบโอดีเซลชุมชนที่ ยอนหลังไปประมาณ 5-6 ปทผี่ า นมา การ มาจากไมสามารถหาวัตถุดิบ นอกจากนัน้ ชุมชนที่ สมบูรณทสี่ ามารถนํามาใชกบั ทุกชุมชนได แตเราพอจะเห็น ผลิตนํา้ มันไบโอดีเซลนัน้ เปนกระแสทีแ่ รง เกิดความ ผลิตโดยใช “ความเสียสละ” จากผูน าํ ชุมชนเอง โดย เกือ้ กูลกับสิง่ ทีม่ อี ยู เสริมความเขมแข็งของระบบ ภาพของการ ดิน้ รนปรับตัวใหเหมาะสมกับสถานการณและ ตืน่ ตัวในแตละภาคสวนทัง้ ชุมชน หนวยงานราชการ ไมมกี ารบริหารจัดการคาใชจา ยใหผผู ลิต มักเสีย่ ง เราอาจ สรุปไปแลววาการผลิตนํ้ามันไบโอดีเซล สิง่ แวดล อมในหลายกลุม ผูผ ลิตไบโอดีเซลชุมชน ชุมชนอาจ และเอกชน มีการจัดตัง้ โรงผลิตนํา้ มันไบโอดีเซลขึน้ ตอการเลิกผลิตเชนกัน สําหรับการจัดจําหนายหรือ จากสบูดํา หรือการตั้งโรงงานผลิตไบโอดีเซลจากผลปาลม ตองพิจารณาถึงจุดออนและจุดแข็งของตน ในขณะทีก่ ารสง จํานวนมาก สรางนวัตกรรมและเทคนิคการผลิตที่ การนําไปใชยงั คงไมใชปญหามากนัก อาจจะมีบา ง ดิบจนมาเปนนํา้ มันไบโอดีเซลนัน้ ไปไมรอด เนือ่ งจากการไม เสริมก็ควรพิจารณาเสริมดานทีย่ งั ขาดอยูข องชุมชน ไมวา การ หลากหลาย แตอยางไรก็ดเี มือ่ กระแสความตืน่ ตัว เนือ่ งมาจากคุณภาพนํา้ มันทีไ่ มแนนอน ดังนัน้ กอน คุม คาทางเศรษฐศาสตรและความซับซอนทางการเทคนิค แต วางแผนทางธุรกิจ และความรูด า นขบวนการผลิต เพีอ่ สราง เริม่ คลีค่ ลาย เราพบวามีโรงผลิตไบโอดีเซลจํานวน ตัดสินใจดําเนินการจัดตั้งโรงผลิตไบโอดีเซลชุมชน ทีไ่ ดพบกับไมใช ทีส่ หกรณเวียงสา จังหวัดนาน มีการผลิตนํา้ ศักยภาพในการปรับตัวของชุมชน ไมนอ ยทีห่ ยุ ด ดํา เนิ น การผลิต แตขณะเดียวกันก็ ควรทําการวางแผนและประเมิน ความพรอมทัง้ มันไบโอดเซลจากสบูด าํ โดยสหกรณไดขอความรวมมือจาก หากชุมชนแ ละภาครัฐที่ใหการสนับสนุนยังขาด มีโรงผลิต ไบโอดี เ ซลอี ก ไมนอ ยเหมือนกันทีย่ งั คง วัตถุดบิ กําลังคน และพัฒนา ทั ก ษ ะ ค วามรูใ น สมาชิกในการนําตนสบูด าํ ไปปลูกตามหัวไรปลายนา และรับ การปรับตัว เราก็คงจะเห็นไบโอดีเซลชุมชนทีไ่ มมคี วามพรอม ดําเนินการผลิตอยู อะไรคือปญหาทีท่ าํ ใหบางแหง เทคโนโลยีในการผลิตนํา้ มันไบโอดีเซล ซือ้ เม ล็ดกลับจากสมาชิก กากสบูด าํ ทีไ่ ดจากขัน้ ตอนการหีบ ตองปดตั วเองลงอีก และขณะเดียวกันเราก็จะไดเห็นไบโอ เลิกการผลิ ต และอะไรเป น เหตุปจ จัยทีท่ าํ ใหบาง นํา้ มัน จะขายตอใหแผนกทําปุย อินทรียข องสหกรณ ทําให ดีเซลชุมชนทีส่ ามารถปรับตัว พัฒนารูปแบบไบโอดีเซลชุมชน แหงยังคงผลิตอยูไ ด แมการสนับสนุนจะไมไดถาโถม เครือ่ งจักรจากตางดาว เกิดความคุม คาทางเศรษฐศาสตร นอกจากนีย้ งั มีแผนในการ ทีห่ ลากหลาย เกิดขึน้ ตามชุมชนตางๆ ถังปฏิกริ ยิ าสเตนเลสรูปทรงแปลกตา ทอ ทดลองนํากรีเซอรีนทีไ่ ดจากการผลิตไบโอดีเซลไปใชเปนเชือ้ พืน้ ทีแ่ หลงผลิตไบโอดีเซลชุมชน ทีส่ ามารถเขาไปศึกษาดูงาน เหมือนชวงทีผ่ า นมา เป นเรือ่ งทีผ่ ทู าํ การสงเสริม และชุมชนควรทําความเขาใจกอนจะเดินหนาตอไป นําสารเคมีที่ไขวไปมา และตูควบคุมที่มีปุมกด เพลิงรว มกับฟน ในโรงอบอบเมล็ดขาวโพดของสหกรณ อีก “โครงการศูนยเรียนรูก ารผลิตและการใช มากมาย เปนภาพเทคโนโลยีทขี่ ม ขวัญผูใ ชไมนอ ย ไบโอดีเซลชุมชน” ไดรบั การสนับสนุนงบประมาณ หลังการอบรมเพียงวันเดียวจากผูผลิตเครื่องจักร จังหวัด ชื่อกลุม ผลงาน ผูประสานงาน โทรศัพท จาก กองทุนอนุรกั ษพลังงานฯ โดยทําการรวบรวม ราคาหลายแสน ชาวบานกลุม เกษตรกรทําไรปราน สหกรณการเกษตรเวียงสา จํากัด ผลิตไบโอดีเซลจากสบูดํา นางดวงเดือน ขัติยเนตร 081-764-1120 และสรุปรูป แบบกา ร ดํา เ นิน ง า นของไบโอดีเซล บุรี จ.ประจวบคีรขี นั ธ ตองใชเวลาคลําทางอีกหลาย 1 นาน ชุมชนทีม่ ี อยูใ นประเทศ โดยไดดาํ เนินการเขาไป เดือนกวาจะไดเริ่มการผลิตจริง หรือชาวบานที่ 2 เลย พลังงานทดแทนจากพืชพลังงาน พัฒนา นายกองไร นีรมิตร 083-329-2282 เครื่องผลิตไบโอดีเซลแบบตอเนื่อง แลกเปลีย่ นและรวมแกไขปญหากับชุมชนทีเ่ ขารวม มุกดาหารตองหยุดเดินเครือ่ งจักรเกือบปเพราะไม ศู น ย ผ ลิ ต ไบโอดี เ ซลระดั บ ชุ ม ชน รั บ ซื้ อ นํ้ า มั น เก า และใช โ ดยรถขน นายบุญเลี้ยง สุตะชา 089-618-6245 โครงการจํานวน 10 ชุมชนทั่วประเทศ เรือ่ งราวที่ สามารถหาปม มาแทนปม ประหลาดทีใ่ บพัดแตกทัง้ ที่ 3 ขอนแกน ชุมชนมะขาม ขยะเทศบาล พบในชวงดําเนินงานนั้ น หน า สนใจและมีแงมมุ ที่ เราสามารถใชปม นํา้ ทีห่ าไดในพืน้ ทีม่ าทดแทน หรือ ศูนยพัฒนาสังคมที่42 นายสะอาด วุฒิเสลา 088-032-9314 การทีเ่ ทศบาลเมืองนาสาร จ.สุราษฎรธานี ตองหยุด 4 มุกดาหาร เหนือความคาดคิดไมนอ ย อาสาสมัครสาธารณสุข สรางเครื่องผลิตเอง ใชนํ้ามันไบโอ นายคมสัน อดกลั้น 081-062-4224 การผลิตเพราะระบบควบคุมอุณหภูมไิ มทาํ งานทัง้ ที่ 5 ยโสธร ดีเซลในการสรางควันพนไลยุง ความดี ความเสียสละคงยังไมพอ สามารถยกเลิกระบบควบคุมอัตโนมัตมิ าเปนแบบใช 6 นครนายก ศู น ย บ ริ ก ารถ า ยทอดเกษตรและ ไลนํ้าในนํ้ามันไบโอดีเซลดวยแดด นายไสว ศรียา 037-384-093 ตนทุนทางสัง คมของบ า นเรานัน้ คอนขาง คน และยังพบอีกหลายกรณีทาํ นองนี้ เทคโนโลยีประจําตําบล หินตั้ง ดี การเริม่ ตน “ทําความดี” มักไดรบั การสนับสนุน การเปนผูใ ชเทคโนโลยีทไี่ มไดไมเขาใจหลัก 7 ประจวบคีรขี นั ธ เกษตรกรทําไรปรานบุรี ใชไขสัตว รวมกับไขปาลมเปนวัตถุดบิ นายประดิษฐ แสงมา 087-166-7976 ทัง้ ในระดับนโยบาย และการรวมมือในชุมชน โรง การพืน้ ฐานในขบวนการผลิต และการทํางานของ ไบโอดีเซลเพื่อลดการใชนํ้ามันทอด นายพรนรงค วรรณนิยม 086-9441921 ผลิตไบโอดีเซลทีเ่ ริ่มตนจากเหตุผลนี้ มักไดรบั การ เครือ่ งจักร ทําใหไมสามารถซอมแซมหรือประยุกต 8 สุราษฎรธานี เทศบาลเมืองนาสาร ซํ้า ในชุมชน สงเสริมจากภาครัฐ ทีเ่ ปนเครือ่ งจักรทีใ่ ชในการผลิต ดัดแปลงขัน้ ตอนการทํางาน ใหเหมาะสมกับวัตถุดบิ 9 ตรัง ผลิตนํ้ามันไบโอดีเซลชุมชนนาโตะกา นายเผดื่อง รักษศรี 081-978-4679 โดยชุมชนเปนผูด าํ เนินการผลิต อยางไรก็ดมี หี ลาย และสภาพแวดลอม ทัง้ ทีเ่ ทคโนโลยีทนี่ าํ มาใชกไ็ มได 10 นราธิวาส วิสาหกิจชุมชนโก-ลก ไบโอดีเซล พัฒนาระบบผลิตไบโอดีเซลเอง นายธีรพันธ จันทรรัตน 084-758-5055 แหงดําเนินการโดยมิได ป ระเมินความพรอมของ ยากเกินทําความเขาใจ ดังตัวอยางที่ จ.ยโสธร อสม.
บทเรียนจากชุมชน เพื่อทบทวน แนวทางไบโอดีเซลชุมชน
#ā =L g "9" =L aff /9! =L af ų c` )< @!:*! beef
&-9 :!ŵ2<L E/ -Ċ5)ŵ +9&*: + ++) : <
Ü2/!)<L ) -Ý 5= E!/ :
?!&?M! =L2=D =*/2Aĉ29 ) D&?L5&9 !: @) !
3: ĉ:!G H Ċ)=F5 :2D <! : H# "! : 3-/ 2:*)< +(:& :D Ċ: G!D Q:"- 9" /: 9 3/9 2+8"@+= 29 D D3K!2 :! =EL 3ĉ G3)ĉ =L 5?L /ĉ: ß2/!)< L ) D -<)&+8 !)&++1: hd &++1:à >L D#đ! 2/!2: :+ 8E3ĉ G3)ĉ =L : #A!5<! +=H Ċ 2+Ċ: >!M "! = L !< 5 "+<1 9 D5 Ċ/* /:) 9M G =L 8 ĉ5*5 E!/ : :+&9 !:5*ĉ: *9L *?!2Aĉ2<L E/ -Ċ5)E-8 @) ! !5 : !=M*9 D#đ! :+2+Ċ: 5: =& 5 !G! @) ! 9M E ĉ Ċ!!QM: ! > #-:*!QM: E-8D#đ!2/! 2: :+ 8 =L2ĉ D2+<) :+G Ċ&-9 :! : D-?5 D ĉ! &-9 :!-) !QM:E-8E2 5: < *č D#đ!3-9
2: < 2 -9 1 č 5 &+8": 2)D K &+8 Ċ : 5*Aĉ39/ 2A e D) + #+8 <1 :!5*Aĉ(:*G!35 5= 9M *9 )= :+ 9 !< ++0 :+ :/+E2 (:&&+8+: + =* < 5 &+8": 2)D K &+8D Ċ:5*Aĉ39/ 2/!)<L ) - D#đ ! ): /ĉ : 2/! 2: :+ 8D&+:8!5 : 8)=&?M! =L&9 $ĉ5! 3*ĉ 5 !G 2Q : 3+9 " @ ) !E-8 ! 9L / H#E-Ċ / *9 D!Ċ!&?M! =L :+ 9 2/! :)E!/ /:) < :+&9 !:29 ) E-8D#đ ! Ċ ! E""2/! 2: :+ 8 D&?L 5 :+&9 !: @ ) !5*ĉ : *9L *?!E-8D#đ!)< + ĉ52<L E/ -Ċ5) F * :+ G3Ċ /:) ĉ/*D3-?5 @) !G3Ċ)=5: =& 9M E ĉ Ċ!!QM: > #-:*!QM: Ċ/* :+D#Ā &?M! =L2/!G3Ċ
9 39!-)$-< +8E2H''ą:D&?L5G Ċ(:*G!2/! !: 2:/ 9! !: 2@ )@ :!! č =#L +> 1: "+<1 9 #A! =D)! č! +3-/ Q: 9 Ů)3: !ů -ĉ : / > 2/!2: :+ 8)<L ) - D -<) &+8 !)&++1: hd &++1: 3+?5 įŚōōŖ ĸʼnŚœ Ŋš ıĶĻĭĭ D#đ!F + :+ =L Q:D!<! :) E!/ < D&?L52<L E/ -Ċ5)E-8 @) ! =L*9L *?!
9! !: 2@ @):!! č
9" !G! @) !!Q:2<! Ċ: ķļķĸ =L): : /92 @ ++) : <): Q:3!ĉ:* 5: < $9 E-8$-H)Ċ #-5 2:+&<1 7-7 =L#A!5<! +=H ĊD Ċ:): ĉ/*G!D+?L5 :+G! :+ 9 Q:%:*D K"!QM:D&?L5 D#đ!E3-ĉ !QM:G! :+ Q: :+D 1 +2Q:3+9" @) ! +/) > :+55 E""$-< (9 čE-8 :+ -: !5 : !=*M 9 )=2!< Ċ: 5 )A-!< < *9 &9 !:+ĉ/)D#Ā +Ċ:!(9 +&9 !č :Q 3!ĉ:*2<! Ċ: :)F + :+&+8+: Q:+< : Ċ:!2<L E/ -Ċ5) D!Ċ! ĉ52+Ċ: 2/! =LD#đ!)< + ĉ52<L E/ -Ċ5) Ċ/* :+G Ċ &-9 :! =L$9!!QM:): : !QM: -) E-8E2 5: < *č Ċ/*5@# + č ĉ: J H ĊE ĉ 9 39!!QM:
!: G3 ĉ a 9/ 9 39!-) i 9/ E-8&-9 E2 5: < *č E$ F -:D --č $-< H''ą:G Ċ (:*G!2/! !5 : !=M*9 )=3Ċ5 !QM:285: 2/* :)"++*: :0 ++) : < E-8+Ċ : ! :E' 5*G3Ċ"+< :+ 2Q:3+9" :+ 9 :+2/!7E"ĉ 55 D#đ! c Ċ:! ?5
9 39!!QM:)A-!< < 9*&9 !: >L 9 2+Ċ: D&?L5D -<)&+8D =*+ <&+8": 2)D K &+8D Ċ:5*A3ĉ /9 F *H Ċ+"9 &+8+: :! ?L5 : 2)D K &+8D &+9 !+: 2@ :72*:) "+)+: @):+= /ĉ: ß2/!2: :+ 8)<L ) - D -<)&+8 !)&++1: hd &++1:à 9 M 5*A"ĉ ! D!?5M = L /ĉ: b` H+ĉ "! !!)< +(:& <F-D) + =L abe 5Q:D(5E ĉ 5* 9 3/9 2+8"@+= F * )=5: :+D -<)&+8D =*+ <&+8": 2)D K &+8D Ċ:5*A3ĉ /9 2A ab D) + D#đ! @ 0A!*č -:
5 2/!)<L ) -7 E-8)= ( :&&+8"+)
aŴ Ċ:!29 ) D#đ! :+2+Ċ: #+8F* !č G3Ċ D < >M ! E ĉ @ ) !F *+5" G3Ċ )= 2 /! 2: :+ 8D&?L555 Q:-9 :* @ &9 2Q:3+9" !9 D <! : =L+:*-Ċ5)H# Ċ/* Ċ!H)Ċ!Ċ5* G3 ĉG3Ċ /:)2 ?L!2":* : D&?L5$ĉ5! -:* +83/ĉ : :+D < ! : 5= 9M *9 )= 3 Ċ 5 !QM : 285: 2/* :)"++*: :0 ++) : < G 3Ċ "+< :+ E-8)= - :!!9L &9 +< ) 2+8!QM : G3 ĉ &+Ċ5) 9M )=&?M! =L+Ċ:! Ċ:2Q:3+9" @) !G3Ċ!Q: 2<! Ċ:): Q:3!ĉ:* 5: < $9 E-8$-H)Ċ#-5
3Ċ5 !QM:285:
2:+&<1 2<! Ċ: ķļķĸ +/) > ĉ/*D3-?5G! :+55 E"" $-< (9 čE-8 :+ -: D&?5L D#đ!5= 3!> L E+ 2!9"2!@! G3Ċ !G! @) !)=+:*H Ċ 2:):+ ĉ/*D3-?5 9/D5 H Ċ !5 : !=M)A-!< < 9*&9 !:*9 H ĊD Ċ:):+ĉ/)G! :+D#Ā +Ċ:!(9 +&9 !čD&?L5 Q:3!ĉ:*2<! Ċ: :)F + :+&+8 +: Q:+< 5= Ċ/* bŴ Ċ:!2<L E/ -Ċ5) H Ċ+9" :+55 E""):F *
Q:!> > :+G Ċ&-9 :!5*ĉ: @Ċ) ĉ: D-?5 G Ċ&-9 :! : ++) : < 9M !QM: -) E-8E2 5: < *č F *)= 9 39! -) !: G3 ĉD&?L5$-< H''ą: f 9/ E$ F -:D --čD&?L5 $-< H''ą:G Ċ(:*G!2/! +/)H# > :+G Ċ/92 @ ĉ52+Ċ: =LD#đ!)< + ĉ52<L E/ -Ċ5) D ĉ! ıĶĻĭĭ ļŐŚŝŋŚōŜō "! : D <! = L /ĉ *G3Ċ!:QM >)2A$ĉ /< <!F * + ľōŚŜőŋŔō ĪŔŗŋœ 2Q:3+9" 9 2/!E!/ 9M E-8$-< (9 č 5!/A !Q:): E ĉ G3Ċ2/* :) cŴ Ċ:!D0+1 0:2 +č ß"Ċ:!5<! +=à >L D#đ! 5: :+E2 $-< (9 č!/9 ++)G3)ĉ 5 #A!5<! += =L D#đ!)< + ĉ52<L E/ -Ċ5) 55 E""F * 0Ŵ +Ŵ"9 < @-:29* " = 82 :#ď * ++)0:2 +č @4:- + č )3:/< *:-9* D&?L5E2 ĉ52: :+ 8 ! > : D-?5 =L @ !2:):+ Q:H Ċ D&?L5+9 1:2<L E/ -Ċ5) * +8 9" E-8#-A 2+Ċ: < 2Q:!> 5 $AĊ !G3Ċ +:" > #+8F* !č
11
5: :+D -<)&+8D =*+ <&+8": 2)D K &+8D Ċ:5*Aĉ39/
5 &-9 :! : D-?5 2=D =*/ 2/!)< L ) -7 ?5D#đ!2/!2: :+ 8 =5L *A+ĉ /ĉ ) 9" @) !E-82<L E/ -Ċ5) H Ċ5*ĉ: *9L *?! !5 : 8 D#đ! =L3*@ &9 5 $AĊ29 +H#): E ĉ*9 D#đ! :+2ĉ D2+<) 5: =&G3Ċ @) !)=+:*H Ċ$ĉ:! :+ Q:3!ĉ:*2<! Ċ: E-8 D&?L5 /:)D Ċ)E K 5 29 )H * 5*Aĉ AĉF- 2=D =*/!=M ĉ5 H#H Ċ =5= Ċ/*
12
พลังงาน/สิ่งแวดล้อม/ทรัพยากรธรรมชาติ
ยอดใช้เบนซิน 95 พุ่ง หลังยกเลิก 91 เตรียมดึงจยย.หันใช้โซฮอล์
จ ากภ าพรว มของการใช้ น�้ำมันเชื้อ เพลิงเปิดเผยโดยกรมธุรกิจพลังงาน ในเดือน เม.ย.56 พบว่า การใช้น�้ำมันเบนซิน 95 เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 2.5 อยู่ที่วันละ 1.9 ล้านลิตรต่อวัน แก๊สโซฮอล์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 แต่เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปี 2555 เพิม่ สูงถึงร้อยละ 81 เนื่องจากนโยบายการส่งเสริมการใช้พลังงาน ทดแทนของรัฐบาล และแอลพี จีต่อวันเพิ่ม ขึ้น ร้อยละ 1 ส่วนกลุ่ ม ดี เซลและเอ็นจีวี ลด ลงอย่างละร้อยละ 3 นอกจากนี้ ภาพรวมการใช้น�้ำมันเชื้อ เพลิงใน 4 เดือนแรกของปี 2556 พบว่า เพิ่ม ขึ้น จากช่วงเดียวกันของปี 2555 โดยกลุ่ม เบนซิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 9 กลุ่มดีเซลหมุนเร็ว เพิ่ มขึ้ นร้อยละ 5 ขณะที่แอลพีจีต่อวัน เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 8 และเอ็นจีวี เพิ่มขึ้น ร้อยละ11 ทางด้านนายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผู้อ�ำนวย การส�ำนักง านนโยบายแล ะแผน พ ลังงาน ( ส นพ.) ได้กล่าวว่า ยอด ก าร ใช้ น�้ำมันเบนซิน 95 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นเป็น 1.9
ล้านลิตร/วัน จากเดิมที่มีการใช้อยู่ที่ประมาณ 100,000 ลิตร/วัน ซึ่งเป็นผลมาจากรัฐบาลได้ ประกาศยกเลิกก ารจ�ำหน่ายน�ำ้ มันเบนซิน 91 โดยในจ�ำนวนนีเ้ ป็นรถจักรยานยนต์ทใี่ ช้นำ�้ มัน เบนซิน 95 ในสัดส่วน 46% หรือประมาณ 18.6 ล้านคัน ดังนั้น ส น พ . จึงจะส่งเสริมให้รถ จักรยานยนต์ เหล่านั้นหั นมาใช้นำ�้ มันแก๊สโซ ฮอล์เพิ่มขึ้น โดยตั้งเป้าว่าจะส่งเสริมให้กลุ่ม รถจั ก รยานยนต์หัน มาใช้นำ�้ มั นแก๊สโซฮอล์ ให้ได้เกินครึ่งของน�ำ้ มันเบนซิน หรือประมาณ 1 ล้ า นลิ ต ร/วัน ภายในช่วง 6 เดือนที่มี การ รณรงค์ก ารใช้นำ�้ มันแ ก๊สโซฮอล์ และคาดว่าใน ปีนยี้ อดใช้เอทานอลจะเพิม่ ขึน้ เป็นประมาณ 3 ล้านลิตร/วัน จากปัจจุบันประมาณ 2.56 ล้าน ลิตร/วัน หลังจากจบโครงการส่งเสริมการใช้ น�้ำมันแก๊สโซออลคาดว่าจะท�ำให้กลุ่มผู้ขับขี่ รถจัก รยานยนต์ และกลุ่ มผู้ ที่ยัง ไม่ ใ ช้ นำ�้ มัน แก๊สโซฮอล หันมาใช้นำ�้ มันแก๊สโซฮอลเพิม่ ขึน้ อย่างน้อย ร้อยละ 20 หรือประมาณ 2 ล้าน
คัน ซึ่งจะสามารถช่วยลด การน�ำเข้าน�ำ้ มันได้ปีละไม่ น้อยกว่า 1,200 ล้านบาท ส� ำ หรั บ ส าเ ห ตุ ที่ การ ใช้ ป รั บ เพิ่ ม ขึ้ น เรื่ องจากก ารยกเลิกการ จ�ำหน่ายน�ำ้ มันเบนซิน 91 และการส่งเสริมส่วนต่าง ราคาอี 20 และอี 10 ให้ เพิ่ ม สูง ขึ้ น เ ป็ นไม่ เ กิน 3 บาท ขณะที่ ป ระเ ทศไทย มีก�ำลังผลิตเอทานอล 4 ล้านลิตรต่อวัน จาก 20 โ รงงานที่ แ ยกเ ป็นโรงงานที่ผลิตจากกาก น�้ำตาล 11 โรงงาน ผลิตจากมันส�ำปะหลัง 6 โรงงาน และอีก 3 โรงงานสามารถใช้วัตถุดิบ ได้ท ั้ง 2 ประเภท คาดว่าภายในปี 2564 จะเป็นไปตาม เป้าหมายของแผนพลังงานทดแทนที่ 9 ล้าน ลิตร/วั น โ ดยมี ส าเหตุห ลั กมาจากการที่กรม สรรพสามิตออกประกาศภาษีรถยนต์อี 85 จัด
ปีที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
กรมอุทยานฯ ร่วมกับ WWF เปิดตัวโครงการตรวจวัดคาร์บอนป่า
กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่า และ พันธุ์พืช และกองทุนสัตว์ป่าโลก (WWF) ประเทศไทย เปิดตัว “โครงการ TREEMAPS (Tracking Reductions in Emissions through Enhanced (carbon) Monitoring and Project Support) ตรวจวัด คาร์บอนป่า รักษาระบบนิเวศ” โครงการ TREEMAPS เป็นโครงการ ส�ำรวจคาร์บอนของผืนป่าในประเทศไทย เพือ่ ให้ทราบว่าผืนป่ามีความอุดมสมบูรณ์ และมี ความสามารถในการกักเก็บปริมาณคาร์บอน ได้เท่าใด หลักๆ ของโครงการคือ การจัด ท�ำแผนที่คาร์บอนแห่งชาติ ซึ่งจะจัดท�ำโดย เกบ็ ในอัตราต�ำ่ กว่ารถยนต์ทวั่ ไป 5% ซงึ่ ถูกกว่า การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ ทั้งจากภาพถ่ายทาง รถยนต์ทั่วไปอัตราสูงสุดกว่า 100,000 บาท/ อากาศและข้ อ มู ล ทางภาพพื้ น ดิ น ซึ่ ง อยู ่ ใ น คัน และรถยนต์อี 85 ยังสามารถเติมน�ำ้ มัน เขตป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย โดยจะน�ำ ได้ทุกประเภท จึงเชื่อว่าค่ายรถยนต์ต่างๆ จะ เทคโนโลยี LiDAR - Light Detection And หันมาผลิตรถยนต์อี 85 มากขึ้น ประกอบกับ Ranging (ไลดาร์) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีตรวจวัด จะต้องมีแผนส่งเสริมการใช้อี 85 ด้วยมาตร ระยะไกลที่มีความแม่นย�ำสูงสุดในขณะนี้ มา การราคาที่จะต้องจูงใจผู้ใช้ด้วย เพราะอี 85 มีอัตราสิ้นเปลืองกว่าน�ำ้ มันทั่วไป 25% ราคา จึงควรถูกกว่าน�ำ้ มันชนิดอื่นอย่างน้อย 40%
ทางตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของประเทศไทย ซึ่งครอบคลุมอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง และ เป็นผืนป่าที่องค์การ UNESCO ขึ้นทะเบียน เป็นมรดกโลก มีระบบนิเวศป่ามรสุมทีม่ คี วาม ส�ำคัญในระดับโลก และยังเป็นแหล่งที่อยู่ อาศัยของสัตว์ป่ากว่า 800 สายพันธุ์ รวมทั้ง เสือ ช้าง และชะนี ผืนป่าแห่งนีไ้ ด้รบั ผลกระทบ รุนแรงจากการตัดไม้ทำ� ลายป่า และการบุกรุก ผืนป่าที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 20 ปี ที่ ผ ่ า นมา พบว่ า ประเทศไทยสู ญ เสี ย พื้ น ที่ ป่าไม้ไปถึง 577,000 เฮคเตอร์ (ประมาณ 3,606,250 ไร่) คิดเป็นอัตราส่วนโดยเฉลี่ย ประมาณ 0.15% ต่อปี แม้ว่าปัจจุบันยังไม่มี ข้อมูลที่แน่นอนของการเสื่อมโทรมของป่าไม้ เมื่อปี 2554 องค์การ UNESCO ได้ เสนอแนะให้มีการจัดตั้งโครงการ REDD+ เป็น หนึ่งในข้อเสนอแนะหลัก เพื่อแก้ปัญหา นี้ โดยส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วย งานภาครัฐและชุมชนท้องถิ่น การวางแผน
SUMMARIZE
กองทุนอนุรักษ์ฯ อนุมัติกว่า 2 พันล้าน เพิ่มประสิทธิภาพประหยัดพลังงาน
นายพ งษ์ ศั ก ดิ์ รั ก ตพงศ์ไพ ศ า ล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน เผยว่า ที่ ประชุม คณะกรรมการกองทุ นเพื่ อส่งเสริม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ได้อนุ มัติงบประมาณ จ�ำนวน 2,657 ล้ า นบาท เพื่ อ ด�ำเนินการ เพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการประหยั ด พลังงาน 3 โครงการ คือ 1. การติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงาน แสงอา ทิ ต ย์ บ นอาคารภาครัฐวงเงิน 1,187 ล้านบาท ซึ่งเป็นเทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่ มีความเหมาะสมในการสนับสนุนเพือ่ ประหยัด พลังงานไฟฟ้าลดค่าใช้จ่ายและลดการน�ำเข้า เชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้าได้ซงึ่ ปัจจุบนั อาคาร ภาครัฐกระจายอยูท่ วั่ ประเทศประมาณ 5,298 แห่ง มี ก า ร ใ ช้พลังงานในภาพรวมประมาณ 673 ล้า นหน่ วยต่อปี แต่ละปีภาครัฐมีภาระ ค่าใช้จา่ ยส�ำหรับค่าไฟฟ้าในอาคารภาครัฐกว่า 2,500 ล้านบาทต่อปี การด�ำ เนิ น โ ค ร งการดังกล่าวเป็นไป ตามเป้ าหมายการผลิตพลังงานทดแทนจาก แสงอาทิต ย์ ต ามแผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ปี (พ.ศ. 2555-2564) เท่ากับ 2,000 เมกะวัตต์ ซึ่งได้ ก�ำหนดกลยุทธ์ในการด�ำเนินการส่งเสริมระบบ ผลิตไฟฟ้า พลั ง งานแสงอาทิตย์บนหลังคาให้ ได้ 1,000 เมกะวัตต์ใน 10 ปีพิจารณาติดตั้ง ระบบดังกล่าวในอาคารบ้านเรือนบ้านจัดสรร คอนโดมิ เนี ย ม โ ร งงานอุตสาหกรรมอาคาร ส�ำนักงาน และอาคารภาครัฐเป็นต้น ปัจจุบัน อาคารภาครัฐกระจายอยูท่ วั่ ประเทศประมาณ
พลังงานไ ฟฟ้ า ไ ด้ 36.5 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อ ปี คิดเป็นเงินประหยัดได้ปีละ 146 ล้านบาท และลดการใช้นำ�้ มันเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้า ประมาณ 11 ล้านลิตรต่อปีหรือปีละประมาณ 330 ล้านบาท”นายพงษ์ศักดิ์กล่าว ส�ำหรับโครงการที่ 2. คือ ปรับเปลี่ยน หลอดไฟฟ้า เดิ ม เ ป็ น หลอดไฟฟ้าแอลอีดี ของโรงพยาบาลในความดูแลของกระทรวง กลาโหม 400 ล้ า นบาท และ และโครงการ ที่ 3. งบประมาณประชาสัมพันธ์และรณรงค์ ประหยัดพลังงาน 1,070 ล้านบาท ซึ่งทั้งหมด จะใช้เงินของกองทุนฯ นอกจากนี้ ยั ง ก ล่ า ว ถึงความคืบหน้า การปรับโครงสร้างราคาพลังงานของประเทศ ว่า ปัจจุบนั แผนการปรับโครงสร้างราคาน�ำ้ มัน ราคาเดียวทั่ ว ประเทศ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อยู่ระหว่ าง ก า ร ศึ ก ษา คาดว่า จะสามารถ 5,298 แห่ง มีกา ร ใ ช้ พ ลังงานในภาพรวม ความรับผิดชอบของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ด�ำเนินการได้ อี ก ประมาณ 2 ปี เพราะต้อง ประมาณ 673 ล้าน ห น่ ว ย ต่อปีซึ่งภาครัฐมี ทั้ง 74 จังหวัด เช่น อบต. เทศบาลฯลฯ รวม สร้างคลังน�้ำ มั น แ ห่ งใหม่ทั่วประเทศก่อน ภาระค่าใช้จ่ายส�ำ หรั บ ค่าไฟฟ้าในอาคารภาค ทั้งสิ้นประมาณ 25 เมกะวัตต์โดยแบ่งเป็น ส่วนการปรับโค ร ง ส ร้ า งราคาก๊าซธรรมชาติ รัฐกว่า 2,500 ล้านบาทต่อปี การติดตั้งระบบ จังหวัดขนาดใหญ่ที่มีจ�ำนวนต�ำบลมากกว่า ปิโตรเลียมเหลว (แอลพีจี) คาดว่า จะเริ่ม ผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาจะ 180 ต�ำบล จ�ำนวน 8 จังหวัด รวมก�ำลังการ ด�ำเนินการได้ในวันที่ 1 ก.ค.นี้ ส�ำหรับเรือ่ งการปรับแผนพัฒนาก�ำลัง ผลิตไฟฟ้าใช้ในอาคารภาครัฐได้เอง ช่วยตอบ ผลิตติดตั้ง 6 เมกะวัตต์ จังหวัดขนาดกลางที่มี สนองความต้องการใช้ พ ลั ง งานในช่วงกลาง จ�ำนวนต�ำบลระหว่าง 90-180 ต�ำบล จ�ำนวน การผลิตไฟฟ้าระยะยาวของประเทศ ฉบับใหม่ 27 จังหวัดรวมก�ำลังการผลิตติดตัง้ 10.5 เมกะ หรือ พีดีพี 2013 ระหว่างปี 56-73 กระทรวง วันอีกด้วย ส�ำหรับโครงการดังกล่าวตั้งเป้าหมาย วัตต์ และจังหวัดขนาดเล็กที่มีจ�ำนวนต�ำบล พลังงาน ได้มอบหมายให้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต ติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บน น้อยกว่า 90 ต�ำบลจ�ำนวน 39 จังหวัดรวม แห่งประเทศไทย ( ก ฟ ผ . ) และส�ำนักงาน นโยบายและแผนพลั ง งาน (สนพ.) ร่วมกัน หลังคาอาคารศาลากลางจังหวัดในเขตรับผิด ก�ำลังการผลิตติดตั้ง 8.5 เมกะวัตต์ “การด� ำ เนิ น การครั้ ง นี้ ก ระทรวง ศึกษาแผนพีพีดี ฉบั บ ใหม่ 2013 คาดว่า จะ ชอบของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทั้ง74 จังหวัด และหลั ง คาอาคารของรั ฐ ในเขตจั ง หวั ด ใน พลั ง งานเบื้ อ งต้ น คาดว่ า จะช่ ว ยประหยั ด ได้ข้อสรุปในเดือนก.ค.นี้
กฟผ.หนุนสร้างโรงไฟฟ้าภาคใต้ ป้องไฟดับ รองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น 6-7 % ต่อปี
เกิดความโกลาหลกันพอสมควร เมื่อ ปลายเดือนที่ ผ่านมามีเหตุการณ์ไม่คาดฝัน เกิดขึ้น กร ณี กระแสไฟฟ้าดับ เป็นวงกว้าง ในพื้น ที่ภา ค ใ ต้ทั้ง 14 จังหวัด ถึงแม้ว่าจะ มีกระแ สออกม า ว่า คนภาคใต้ไม่ต้องการ ไฟฟ้า ไม่เอาโรงไฟฟ้า แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์ ไฟดับ ทุกคนก็ กรีดร้องขนขวายหาแสงสว่าง กันยกใหญ่ แต่ อย่างไรก็ตาม ตามที่ทราบนั้น เหตุมั นสุดวิ สัย ทางกระทรวงพลังงาน และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.)ก็ได้รุดเข้าแก้ปัญหา โดยเร็ วจนสา ม า รถทยอยจ่ายกระแสไฟฟ้า ได้ทั้ งหมด และจะมีการน�ำบทเรียนครั้งนี้มา ศึกษาที่จะห า แ นวทางป้องกันปัญหาทั้งใน ระยะสั้นและระยะยาว ส�ำหรับสาเหตุไฟฟ้าดับครัง้ นี้ ทางการ ไฟฟ้าฝ่ ายผลิ ต แห่งประเทศไทย(กฟผ.)ได้เข้า ตรวจสอบ ข้อมู ล พ บว่ามีสาเหตุเกิดจากการ ขัดข้อง ของระ บ บ สายส่งไฟฟ้าแรงสูงที่จ่าย
ไฟฟ้าจากภาคกลางไปยังภาคใต้ ซึ่งสายส่ง ที่จ่ายไฟฟ้าไปยังภาคใต้มี 4 วงจร คือ สาย 500 KV จ�ำนวน 2 วงจร และสาย 230 KV จ�ำนวน 2 วงจร โดยในช่วงเช้าของ วันที่ 21 พฤษภาคม 2556 กฟผ. ได้ปลดสายส่ง 500 KV จ�ำนวน 1 เส้น เพื่อท�ำการซ่อมบ�ำรุง ใน ช่วงเย็น สายส่ง 500 KV เส้นที่ 2 เกิดการ ช�ำรุดเนื่องจากฟ้าผ่า ท�ำให้ไม่สามารถจ่าย ไฟฟ้าลงภาคใต้ได้ จึงจ�ำเป็นต้องจ่ายไฟฟ้า ผ่านสายส่งเส้น 230 KV ซึ่งมีขนาดเล็กกว่า จึงท�ำให้สายส่งจ่ายไฟฟ้าเกินพิกัดส่งผลให้ สายส่งหลุดจากระบบ เนื่ อ งจากการที่ ภ าคใต้ ไ ม่ ส ามารถ ผลิตไฟฟ้าได้เพียงพอและต้องพึ่งพาการส่ง ไฟฟ้าจากภาคกลางผ่านสายส่งดังกล่าว โดย ความต้องการใช้ไฟฟ้าที่มีสูงถึง 2200 MW ในขณะที่มีโรงไฟฟ้าภาคใต้มีก�ำลังการผลิต เพียง 1600 MW ท�ำให้โรงไฟฟ้าอื่นในภาคใต้ อาทิ โรงไฟฟ้าขนอม โรงไฟฟ้าจะนะ และโรง
ไฟฟ้าเขื่อนรัชประภา ถูกปลดออกจากระบบ โดยอัตโนมัติเนื่องจากความความถี่ไฟฟ้าลด ลงต�่ำกว่ามาตรฐาน 50Hz (เฮิร์ต) เพื่อความ ปลอดภัยของโรงไฟฟ้า ท� ำให้เกิดไฟฟ้าดับ เป็นวงกว้าง ส�ำหรับการแก้ไขสถานการณ์ กฟผ. ได้ เ ร่ ง การผลิ ต ไฟฟ้ า จากโรงไฟฟ้ า ทุ ก โรง ในภาคใต้ อ ย่ า งเต็ มก� ำลั ง การผลิ ต รวมทั้ ง ยั ง เดิ น เครื่ อ งผลิ ต ไฟฟ้ า จากน�้ ำ มั น ดี เ ซลที่ จ.สุราษฎร์ธานี รวมทั้งทางมาเลเซียได้ส่งไฟ มาช่วยอีก 200 เมกะวัตต์ จะเห็นว่าปัจจุบัน โรงไฟฟ้าในภาคใต้มกี ำ� ลังการผลิตเพียง 2,000 เมกะวัตต์ แต่มีความต้องการใช้สูงถึง 2,500 เมกะวัตต์ ส่วนทีเ่ หลืออีกอย่างน้อย 500 เมกะ วัตต์ที่ขาด จะต้องพึ่งการผลิตไฟฟ้าจากภาค กลางส่งเข้าไป แต่นั่นคือการแก้ปัญหาในระยะแรก เท่านั้น ซึ่งในระยะยาวนั้น ทางการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย มองว่าภาคใต้ จะ
ต้องสร้ างโรง ไ ฟ ฟ้า และสายส่งให้เพียงพอ ต่อความต้องการที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องจาก การเติบ โตของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการ ท่องเที่ยว นายจรรยง วงศ์จันทร์พงษ์ ผู้อำ� นวย การฝ่าย ควบคุมระบบก�ำลังไฟฟ้า การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กล่าวภายหลังการ บรรยาย เรือ่ งการจัดการระบบไฟฟ้า และการ แก้ปญ ั หาในภาวะวิกฤต ว่า ปัญหาไฟฟ้าดับใน 14 จังหวัดภาคใต้ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคมที่ ผ่านมา เกิดขึ้นภายในระยะเวลาประมาณ 8 วินาที ซึง่ เร็วมาก และพนักงานไม่สามารถจะ เข้าไปแ ก้ไขได้ทันในระยะเวลาที่รวดเร็ว แต่ ก็สามาร ถที่จะกลับมาจ่ายไฟฟ้าได้มากกว่า 50% ของพื้นที่ ภายในครึ่งชั่วโมง แต่บริเวณ ที่ไฟฟ้าดับนานที่สุดคิดเป็น 4ชั่วโมงนั้น โดยปกติแล้วระบบ Under Frequency Load Shedding Area ของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ. จะต้องท�ำงานด้วย
ใช้ในพัฒนาการจัดท�ำแผนที่คาร์บอนของผืน ป่าในประเทศไทย โดยน�ำ อุ ป กรณ์ เ ลเซอร์สแกนติดตั้ง บนเครื่องบิน เพื่อบินส�ำรวจผืนป่าและท�ำการ บั นทึก ภาพโครงสร้างของผืนป่าในรูปแบบ ภาพถ่าย 3 มิติ ซึง่ ภาพทีไ่ ด้จาก LiDAR จะช่วย ให้การประเมิ น ปริมาณการกักเก็บคาร์บอน ของผืน ป่ า ได้ อ ย่ างแม่นย�ำ อีกทั้งยังช่วยให้ สา มารถ ต ร ว จ วั ด ร ะ ดับความอุดมสมบูรณ์ ของป่า ไม้ ไ ด้ ดี ยิ่งขึ้น ซึ่งไทยเป็นประเทศแรก ในอาเซี ย นในการน�ำเทคโนโลยีนี้มาใช้ ด้วย ความริเริ่มของ WWF ดร.ทรงธรรม สุ ข สว่าง ผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้ า นการอนุ รักษ์ทรัพยากรป่าไม้และ สัตว์ปา่ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันนวัตกรรมอุทยาน แห่งชา ติ แ ล ะ พื้ น ที่คุ้มครอง กรมอุทยานฯ กล่าวว่ า “โครงการ TREEMAPS ไม่ได้มุ่ง เน้นประเด็นทางวิทยาศาสตร์อย่างเดียว แต่ ใส่ใจก า ร มี ส่ ว น ร่ ว มของชุมชน ซึ่งอยู่รอบ พื้นที่ ด้ ว ย การส่ งเสริมให้คนปลูกป่าเพื่อเป็น ตลาดคาร์ บ อนเครดิ ต ให้พวกเขาได้ ในขณะ เดียวกัน บริการทางด้านนิเวศอื่นๆ เช่น การ จัดการน�ำ้ การท่องเที่ยว การอนุรักษ์สัตว์ป่า ครอบคลุมอยู่ในวัตถุประสงค์ของโครงการ ที่ เราต้องท�ำให้ทุกด้านดีขึ้นด้วย ส�ำหรับโครงการ TREEMAPS จะเริม่ ส�ำรวจน�ำ ร่ อ งในผื น ป่ า ดงพญาเย็น-เขาใหญ่ การตัดไฟฟ้าให้ดับบางพื้นที่ แต่วันที่เกิดเหตุ ระบบเกิดขัดข้องไม่ทำ� งานตามแผนทีว่ างแผน ไว้ ซึ่งขณะนี้ กฟผ. และกฟภ. อยู่ระหว่างหา สาเหตุการที่ระบบ Load Shedding Area ไม่ทำ� งาน รวมทัง้ ด�ำเนินการตามนโยบายของ กระทรวงพลังงานทีใ่ ห้ศกึ ษาเรือ่ งการวางแผน ป้องกันปัญหาทัง้ ระบบแนวทางทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ โครงการก่อสร้างสายส่งขนาด 500 กิโลโวลต์ เพิ่มมากขึ้น และระบบป้องกันอัตโนมัติที่มี ประสิทธิภาพว่าจะมีการสั่งตัดไฟอย่างไรเพื่อ รักษาระบบรวมเอาไว้ ซึ่งจะเป็นการรองรับ โครงการสายส่งไฟฟ้าอาเซียน หรือ อาเซียน กริด ด้วย ส�ำหรับอนาคตทีจ่ ะมีการเชือ่ มสายส่ง ไฟฟ้าระหว่างกันในภูมภิ าคอาเซียน หรือ พาว เวอร์ กริช ซึง่ ขณะนีไ้ ด้เริม่ เชือ่ มต่อกันระหว่าง ประเทศต่อประเทศแล้ว แต่ยังไม่ได้เชื่อมโยง ถึงกันหมด ทั้งนี้หากดูแลเรื่องไฟฟ้าไม่ดีจะมี โอกาสเห็นไฟฟ้าดับระดับภูมิภาคอาเซียนได้ ซึ่งจะเกิดลักษณะคล้ายกับไฟฟ้าดับที่ภาคใต้ แต่ในทางกลับกันการสร้างระบบไฟฟ้าให้เป็น ระบบเดียวกันทั้งอาเซียนจะมีผลดีด้วย เช่น หากไฟฟ้าประเทศใดมีปัญหา จะสามารถดึง ไฟฟ้าจากประเทศอืน่ มาเสริมแทนได้ นอกจาก นี้ จะต้องมีการเพิ่มก�ำลังการผลิตให้เพียงพอ
เพือ่ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน และปกป้อง สัตว์ที่เ สี่ ย งจะสู ญ พั น ธุ์ และแบ่งปันข้อมูล ทั้ง ในระดั บ ประเทศและภู มิภาคเพื่อการใช้ ประโยชน์ต่อไปใน อนาคต ส�ำหรับการ เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้อม โครงการ REDD+ (เรดด์พลัส) ซึ่งย่อมาจาก Reducing Emissions from Deforestation and Forest Degradation and the Role of Conservation, Sustainable Management of Forests and Enhancement of Forest Carbon Stocks in Developing Countries เป็นความริเริ่มของสหประชาชาติเพื่อลดการ ปล่อยก๊าซเรื อ นกระจกอั น เนื่องมาจากการ ท�ำลายป่าและความเสื่ อ มโทรมของป่า เพิ่ม การกัก เก็บคาร์ บ อนด้ ว ยการปลูกป่าเพื่อการ จัดการป่าไม้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ซึ่งได้เสนอโอกาส ให้แก่ประเทศไทย ในการรับความสนับสนุน ทางด้านเงินทุนเพือ่ โครงการอนุรกั ษ์ปา่ ไม้ของ ประเทศต่อไป แต่การจะได้รับประโยชน์จาก REDD+ และการได้รับการสนับสนุนด้านเงิน ทุนจากกลไกนี้ ประเทศไทยต้องมีระบบการวัด และติดตามการเปลีย่ นแปลงปริมาณคาร์บอน ในผืนป่าที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเป็นที่ยอมรับ ตามกฎเกณฑ์ข องคณะกรรมาธิ การระหว่าง ประเทศว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมิ อากาศ (IPCC)
กับความต้องการใช้ในแต่ละพืน้ ที่ รวมทัง้ ให้มี ปริมาณส�ำรองไฟฟ้าในระดับ 15-20%โดยโรง ไฟฟ้าจะต้องกระจายอยูเ่ พียงพอในแต่ละภาค นอกจากนี้ จะต้องทบทวนแผนป้องกัน ปัญหาไฟฟ้าดับทั้งระบบ ให้ท�ำงานอย่างมี ประสิทธิภาพและการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใน พื้นที่ภาคใต้ให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ ไฟฟ้าที่ขยายตัวร้อยละ 6-7 ต่อปี โดยความ ต้องการใช้ไฟฟ้าส่วนใหญ่มาจากการขยาย ตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรม ท่องเทีย่ ว เช่น ภูเก็ตทีม่ คี วามต้องการใช้ไฟฟ้า เติบโตร้อยละ 10-11ส่วนความต้องการใช้ ไฟฟ้าสูงสุดของประเทศ หรือ พีค ในปีนี้อยู่ที่ 26,598 เมกะวัตต์ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคมที่ ผ่านมา ขยายตัวเพียงร้อยละ 1.8 จากเดิมที่ คาดว่า จะขยายตัวร้อยละ 4-5 หรือ คิดเป็น ความต้องการ 27,000 เมกะวัตต์ ซึง่ เรือ่ งนีเ้ กิด จากภาวะเศรษฐกิจของประเทศ และ สภาพ ภูมอิ ากาศทีแ่ ปรปรวน ซึง่ คาดว่า ปี2557 ภาพ รวมความต้องการใช้ไฟฟ้า หรือ พีค จะยังคง ขยายตัวร้อยละ 4-5 โดยกระทรวงพลังงาน จะน�ำไปปรับปรุงแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้า ระยะยาว หรือ พีดีพี ต่อไป
พลังงาน/สิ่งแวดล้อม/ทรัพยากรธรรมชาติ
ปีที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
รายงาน
ส ถ า น ก า ร ณ ์ ด ้ า น พ ลั ง ง า น ข อ ง ประเทศไทยในทุ ก วั น นี้ ได้ ผ ลั ก ดั น ให้ เ รา ต้องค้นคว้าหาแหล่งพลังงานใหม่ๆ เพื่อใช้ ทดแทนพลังงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ท�ำให้เรา พบว่า หญ้าเลี้ยงช้างธรรมดาๆ ก็สามารถเป็น แหล่งพลังงานทีส่ ามารถน�ำมาผลิตได้ ทัง้ แก๊ส ชีวภาพ และกระแสไฟฟ้า หญ้าเลีย้ งช้างในวัน นี้ จึงไม่เป็นเพียงแค่หญ้าธรรมดาๆ แต่กำ� ลัง จะกลายเป็นพลังงานใหม่เพื่ออนาคตที่สดใส ของประเทศ หญ้ า เลี้ ย งช้ า งหรื อ อี ก ชื่ อ หนึ่ ง คื อ “หญ้าเนเปียร์” มีลักษณะล�ำต้นคล้ายต้นอ้อย โตเร็ว มีปริมาณน�้ำตาลสูง ปัจจุบันมีหลาย สายพันธุ์ เช่น พันธุ์จักรพรรดิ์ หรือเนเปียร์ ยักษ์ พันธุ์อัลราฟัล และบาน่า ที่ส�ำคัญยังเป็น หญ้าในตระกูลเดียวกับหญ้าทีป่ ระเทศเยอรมนี น�ำมาผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าด้วย ส�ำนักงาน นโยบายและแผนพลั ง งาน (สนพ.) จึ ง ได้ มอบหมายให้สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน นครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.) จัด ท� ำ “โครงการศึ ก ษาสภาวะที่ เ หมาะสมใน การผลิตก๊าซชีวภาพจากหญ้าชนิดต่างๆ ใน ประเทศไทย” จึงได้พบว่าหญ้าเลี้ยงช้างพันธุ์
13
จากต้นหญ้า...สู่ก๊าซชีวภาพ “หญ้าเนเปียร์” พลังงานใหม่ของประเทศ
เนเปียร์ปากช่อง 1 ที่ปัจจุบันนิยมน�ำไปใช้เป็น อาหารเลีย้ งสัตว์นนั้ มีอตั ราการผลิตก๊าซมีเทน สูงกว่าหญ้าชนิดอื่น โดยมีอัตราการผลิตก๊าซ ชีวภาพประมาณ 6,860 – 7,840 ลูกบาศก์ เมตร/ไร่/ปี สามารถผลิตเป็นก๊าซไบโอมีเทนอัด (CBG) ได้ประมาณ 3,118 – 3,563 กิโลกรัม/ ปี ซึ่งเหมาะสมต่อการน�ำมาผลิตเป็นพลังงาน ทดแทนมากกว่าหญ้าชนิดอื่นๆ จากผลการทดลองพบว่า หญ้าเนเปียร์ สดอายุประมาณ 60 วันหลังการเก็บเกี่ยว จะถูกน�ำมาบดให้มีความยาวประมาณ 2-5 เซนติเมตร จากนั้นน�ำไปใส่ในถังหมัก ซึ่ง ภายในมีน�้ำ และหัวเชื้อจุลินทรีย์ รวมทั้งหญ้า ทีผ่ า่ นการหมักอยูก่ อ่ นแล้ว เพือ่ ให้เกิดการย่อย สลายแบบไม่มีออกซิเจน ผลผลิตที่ได้คือ แก๊ส ชีวภาพ และจะถูกเก็บไปไว้ในบอลลูน เพือ่ น�ำ ไปผ่านเครื่องยนต์ ให้กลายเป็นกระแสไฟฟ้า และบางส่วนน�ำไปอัดลงถังใช้เป็นเชื้อเพลิง ในรถยนต์ ส่วนผลพลอยได้อย่างปุ๋ยหมัก ที่ เกิดจากย่อยสลาย จะถูกกรองแยกเนือ้ และน�ำ้ เพือ่ ให้ไปใช้ในแปลงเกษตรต่อไป ส�ำหรับหญ้า เนเปียร์สด 1 ตัน สามารถผลิตแก๊สชีวภาพได้ 90 ลูกบาศก์เมตร เปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า
ประมาณ 170 กิโลวัตต์ต่อวัน ส�ำหรับประเทศไทยได้มบี ริษทั ยูนเิ วอร์ แซล แอดซอร์บเบ้นท์ แอนด์ เคมิคัลส์ จ�ำกัด มหาชน (UAC) ที่เริ่มด�ำเนินการโครงการ ผลิตก๊าซชีวภาพเชิงพาณิชย์จากการใช้ “หญ้า เนเปียร์” แต่เป็นการน�ำไปใช้เพือ่ การคมนาคม โดยการน�ำมาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพ ซึ่งจาก ข้อมูลที่ได้ บริษัท UAC ได้เริ่มต้นการค้นคว้า วิจัยร่วมกับ ปตท. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และ ส�ำนักงานนโยบายและแผนกระทรวงพลังงาน ในโครงการ “พัฒนาก๊าซชีวภาพจากฟาร์ม สุกรเพื่อการคมนาคม” ตั้งแต่ปี 2554 จาก งบประมาณของกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้ด�ำเนินการ ศึ ก ษาเทคโนโลยี ที่ มี ค วามเหมาะสมด้ า น เทคนิค เศรษฐศาสตร์ในการน�ำก๊าซชีวภาพ มาผลิตเป็นไบโอมีเทนอัด (Compressed Bio-Methane Gas , CBG) และประเมิน ผลกระทบต่อเครื่องยนต์ในสภาพการใช้งาน
สุกรทัง้ สิน้ 30,000 ตัวในแต่ละวันจะได้ Fresh Active Substrate จากมูลสุกรประมาณ 1012 ตันต่อวัน ผสมรวมมากับน�้ำทิ้งจากฟาร์ม ประมาณ 200 ลบ.เมตร ต่อวัน ซึ่งฟาร์มสุกร มีความจ�ำเป็นต้องก�ำจัดน�้ำเสียอยู่แล้ว และ หญ้าเนเปียร์หมัก (Grass Silage) อายุ 30-45 วัน ประมาณ 20-23 ตัน ต่อวัน โดยหญ้าเนเปียร์มผี ลผลิต ไร่ละ 8 ตัน หรือ 40 ตัน/ไร่/ปี ต้องใช้หญ้าประมาณ 7,200 ตัน/ปี หรือประมาณ 180 ไร่ โดยตั้งเป้าไว้ว่า จะสามารถผลิต CBG ได้ 6 ตัน/วัน เทียบ เท่ากับเติมรถขนาดเล็กได้ 500 คัน/วัน เติม รถขนส่งขนาดใหญ่ได้ 40 คัน/วัน ซึ่งสามารถ ทดแทนการน�ำเข้าน�ำ้ มันดีเซลได้ประมาณปีละ 2.2 ล้านลิตร หรือก๊าซ LPG ประมาณปีละ 1.6 ล้านกิโลกรัม โดยจัดส่งก๊าซให้กับ ปตท. เพื่อน�ำไปจ�ำหน่ายเป็นก๊าซส�ำหรับรถยนต์ใน จังหวัดเชียงใหม่ การด�ำเนินงานทีผ่ า่ นมาได้ตดิ ตัง้ ระบบ
จริง
ถังหมักก๊าซชีวภาพ ระบบปรับปรุงคุณภาพ และระบบอัดถังและบรรจุก๊าซแล้วเสร็จใน เดือนตุลาคม 2555 และปัจจุบันอยู่ในขั้น ตอนของการทดสอบการท�ำงานและประเมิน ประสิทธิภาพของระบบปรับปรงคุณภาพและ ระบบอั ด ถั ง และบรรจุ ก ๊ า ซมาวิ เ คราะห์ พ บ ว่า องค์ประกอบก๊าซก่อนเข้าระบบปรับปรุง คุณภาพก๊าซ และองค์ประกอบก๊าซหลังผ่าน ระบบปรับปรุงทางคุณภาพก๊าซ เป็นไปตาม ค่ามาตรฐานของกรมธุรกิจพลังงาน คือน้อย กว่า 0.01 ppm
ไบโอมีเทนอัด หรือ CBG คือก๊าซที่ เกิดจากการน�ำก๊าซชีวภาพมาปรับปรุงคุณภาพ โดยลดก๊าซ CO2 , H2s และความชื้นออก จนมีปริมาณก๊าซมีเทน (GH4) เพิ่มขึ้น โดย มีคุณสมบัติเทียบเท่าก๊าซธรรมชาติส�ำหรับ ยานยนต์ (NGV/CNG)แล้วอัดลงถังที่แรงดัน 250 บาร์เกจเพื่อเป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับรถยนต์ การผลิตก๊าซ CBG ของโครงการ ได้ จากวัตถุดิบ 2 ส่วน ได้แก่ มูลสุกรทั้งหมดจาก ฟาร์มของบริษทั มงคลแอนด์ซนั ฟาร์ม จ�ำกัด มี
เนื่องจากกระทรวงพลังงานมีความ พยายามที่จะสนับสนุนให้เกิดการใช้พลังงาน จากเชื้ อ เพลิ ง ใหม่ ๆ โดยจากการประเมิ น ของกระทรวงพลังงาน ที่พบว่าการปลูกหญ้า เนเปียร์ 1,000 ไร่ สามารถผลิตไฟฟ้าได้ 1 เมกะวัตต์ ใช้เงินลงทุนประมาณ 100 ล้าน บาท กระทรวงพลังงานจึงมีเป้าหมายที่จะตั้ง กองทุน สนับสนุนด้านการเงินให้กับองค์การ บริหารส่วนต�ำบล สหกรณ์การเกษตร และ เกษตรกรรายย่ อ ย เข้ า มาร่ ว มมื อ กั บ ภาค เอกชน ในการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าชุมชน โดย เกษตรกรเป็นผูป้ ลูกหญ้า และโรงไฟฟ้าจะเข้า มารับซือ้ ในราคาประกัน รวมทัง้ เป็นผูเ้ ก็บเกีย่ ว เอง ซึ่งจะเป็นการกระจายผลประโยชน์ให้กับ ทุกฝ่ายอย่างเป็นธรรม ด้านเป้าหมายของการสร้างโรงไฟฟ้า ที่ใช้เชื้อเพลิงก๊าซชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์นั้น ในเบื้องต้นจะส่งเสริมให้ผลิตไฟฟ้าให้ได้ถึง 7,000 เมกะวัตต์ โดยมั่นใจว่าจะท�ำได้ตาม เป้าหมาย เพราะประเทศเยอรมันซึ่งเป็นแม่ แบบในโครงการนี้ มีศกั ยภาพในการปลูกหญ้า ต�่ำกว่าไทย แต่สามารถผลิตไฟฟ้าได้มากกว่า 7,000 เมกะวัตต์ ขณะที่ประเทศไทยมีพื้นที่ และภูมิอากาศที่เหมาะสมกว่า จึงเชื่อว่าจะ สามารถผลิตไฟฟ้าได้มากกว่า นอกจากนี้ ทางกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ มีความสนใจพัฒนาต่อยอดจากพืช เลี้ยงสัตว์ไปเป็นพลังงานทดแทน จึงร่วมกับ กระทรวงพลังงาน เนือ่ งจากปลูกหญ้าเนเปียร์ จะให้ผลตอบแทนที่ดีแต่จ�ำเป็นต้องก�ำหนด โซนนิง่ ในการการปลูกหญ้าเนเปียร์ใน 3 พืน้ ที่
ได้แก่ พื้นที่แล้งน�้ำ พื้นที่ชุ่มน�้ำและพื้นที่ปลูก ข้าวที่ได้ผลผลิตต�่ำ เพื่อน�ำมาคัดเลือกพื้นที่ น�ำร่องในการปลูกหญ้าเนเปียร์และการตัง้ โรง ไฟฟ้าก๊าซชีวภาพผลิตไฟฟ้าเบื้องต้นได้มีการ ก�ำหนดพื้นที่น�ำร่องปลูกหญ้าเนเปียร์ใน 10 ชุมชน ใช้พนื้ ทีป่ ลูกหญ้าชุมชนละ 1 พันไร่ เพือ่ น�ำมาหมักเป็นก๊าซชีวภาพใช้เป็นเชื้อเพลิงใน การผลิตไฟฟ้าขนาด 1 เมกะวัตต์ จ�ำนวน 10 แห่ง หรือผลิตไฟฟ้าได้ 10 เมกะวัตต์ จากที่มี เป้าหมายในช่วง 10 ปี(2556-2565) จะผลิต ไฟฟ้าได้ 1 หมื่นเมกะวัตต์ ที่จะต้องใช้พื้นที่ใน การปลูกหญ้าเนเปียร์ถึง 10 ล้านไร่ อย่างไรก็ตาม ในการจัดท�ำโครงการ ดังกล่าวไม่ได้ก�ำหนดตายตัวว่าหญ้าเนเปียร์ที่ ปลูก จะถูกน�ำมาใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตก๊าซ ชีวภาพเพื่อน�ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า เพียงอย่างเดียว แต่จะพิจารณาว่า พื้นที่ไหน มีความเหมาะสมในการน�ำก๊าซชีวภาพไปใช้ เนื่องจากบางพื้นที่ไม่มีสายส่งรองรับการรับ ซือ้ ไฟฟ้า ก็จะตัง้ โรงไฟฟ้าไม่ได้ แต่จะสามารถ น�ำก๊าซชีวภาพมาอัดในรูปก๊าซซีบีจี ส่งขายให้ กับบริษท ปตท.จ�ำกัด(มหาชน) เพื่อน�ำไปใช้ ในรถยนต์ได้ ซึ่งขณะนี้มีเอกชนแสดงความ สนใจเข้ามามากที่จะตั้งโรงไฟฟ้ าและผลิ ต เป็นก๊าซซีบีจี ระหว่างนี้กรมก�ำลังพิจารณา เลือกเทคโนโลยีที่จะน�ำมาใช้ หากไม่มีข้อผิด พลาด คาดว่าทั้ง 10 แห่ง น่าจะแล้วเสร็จใน ช่วงต้นปี 2557 หญ้ า เนเปี ย ร์ ใ นวั น นี้ จึ ง เป็ น พื ช พลังงานอีกชนิดหนึ่งที่น่าจับตามอง เพราะ นี่คืออีกหนึ่งทางเลือกด้านพลังงาน เพราะ ประเทศไทยถือว่ามีศักยภาพเพียงพอในการ น�ำหญ้าเนเปียร์มาใช้ประโยชน์ ทั้งการผลิต แก๊สชีวภาพ และกระแสไฟฟ้า เหลือเพียงรูป แบบการจัดการจากภาครัฐ ให้เกิดความคุ้ม ค่าอย่างยัง่ ยืนเท่านัน่ และหวังว่าโครงการของ หญ้าเนเปียร์ที่เกิดขึ้นมานั้นจะยั่งยืนไม่เงียบ หายเข้ากลีบเมฆเหมือตอนสบู่ด�ำ ปานเพชร ดอนม่วงไพร/รายงาน
คุณภาพชีวิต
14
ปีที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
หนุน “กาญจนบุรี” แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ คาดสร้างรายได้เข้าประเทศรับอาเซียน
นพ.ชลน่าน ศรีแก้ว
รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือกจัดงาน “มหกรรมรวม พลังแพทย์แผนไทยการแพทย์พื้นบ้านประจ�ำ ปี 2556” ของ 16 จังหวัดภาคกลาง โดยเน้น เรือ่ งภูมปิ ญ ั ญาแพทย์แผนไทย น�ำเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสูอ่ าเซียน ชูกาญจนบุรเี ป็นแหล่งท่อง เที่ยวเชิงสุขภาพของไทย เน้นจุดเด่นที่ความ เป็นธรรมชาติ ผสานการนวดและวิถชี วี ติ แบบ คนเมืองกาญจน์ คาดสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ รับการเปิดอาเซียนได้ นพ.ชลน่าน ศรีแก้ว รัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า จังหวัด กาญจนบุรเี ป็นจังหวัดทีผ่ สมผสานระหว่างความ
เป็นเมืองธรรมชาติ วิถชี วี ติ แบบไทย ซึง่ เป็นจุด ขายทีส่ ำ� คัญในเรือ่ งการท่องเทีย่ ว นักท่องเทีย่ ว ส่วนใหญ่ที่มาเที่ยวที่ประเทศไทยประทับใจใน ภูมิประเทศ สถานที่ท่องเที่ยว และเรื่องที่ขึ้น ชื่อเป็นอย่างมาก คือเรื่องของอาหารไทย ถ้า สามารถสร้างเรือ่ งราวดีๆ บอกกล่าวแก่ทกุ คน ว่าอาหารไทยไม่ได้เป็นแค่อาหาร แต่ยงั เป็นยา บ�ำรุงร่างกาย ส่งเสริมสุขภาพควบคู่ไปกับการ ท่องเทีย่ ว ทัง้ เรือ่ งของการนวด การดูแลสุขภาพ ตามแบบฉบับของแพทย์แผนไทย จะเป็นอีกหนึง่ มิตขิ องการท่องเทีย่ วทีเ่ รียกว่า การท่องเทีย่ วเชิง สุขภาพ ทีจ่ ะได้รบั ความนิยมเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามการสร้างมาตรฐานการ บริการด้านแพทย์แผนไทยเป็นเรื่องที่มีความ จ�ำเป็นอย่างมาก ทางกระทรวงฯ จึงต้องสร้าง มาตรฐานการด�ำเนินงานภายใต้ พ.ร.บ.วิชาชีพ แพทย์แผนไทย เพือ่ สร้างความมัน่ ใจว่าบุคลากร ทางด้านการแพทย์แผนไทยของไทยมีความรู้ ความสามารถ ทัง้ ในเรือ่ งของทักษะและวิชาการ ที่ผ่านมาพบว่าบริการด้านการแพทย์สามารถ สร้างรายได้ให้ประเทศปีหนึง่ กว่า 1.4 แสนล้าน บาท ซึง่ รายได้สว่ นใหญ่ยงั มาจากการแพทย์แผน ปัจจุบนั ดังนัน้ การน�ำเรือ่ งภูมปิ ญ ั ญาเข้ามาร่วม ด้วย ก็จะสามารถสร้างรายได้ให้เกิดขึน้ ได้ “การแพทย์แผนไทยเข้ามาในการท่อง เทีย่ วเชิงสุขภาพจะช่วยให้กาญจนบุรมี จี ดุ ดึงดูด ในการท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น การแข่งขันเรื่อง
“สูความส� ้โรคความดั น และเบาหวาน” ำเร็จกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ นายพิพัฒน์ พันมา นายกเทศมนตรี ต�ำบลปลักแรก อ.บางระก�ำ จ.พิษณุโลก และ กรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เปิดเผย กับ อปท.นิวส์ ถึงเรือ่ งการด�ำเนินงานของกอง ทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นของ ต�ำบลปลัดแรกว่า กองทุนฯ ดังกล่าวเป็นเรือ่ ง ส�ำคัญทีจ่ ะช่วยดูแลสุขภาพของพีน่ อ้ งประชาชน ในเชิงรุก ถือเป็นเรื่องที่มีประโยชน์กับท้องถิ่น มาก รวมทัง้ กองทุนหลักประกันสุขภาพยังเปิด โอกาสให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ ท�ำงาน เริม่ จากการให้ประชาชนเข้ามาเป็นส่วน
สัมภาษณ์
ร่วมของกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพที่ ท�ำหน้าทีบ่ ริหารกองทุนฯ โดยทีต่ ำ� บลปลัดแรก มีกรรมการทีเ่ ป็นตัวแทนจากหลายๆ ภาคส่วน ทีเ่ กีย่ วข้องกับชุมชน รวมทั้งการเปิดโอกาสให้คนในชุมชน ที่ต้องการท�ำงานด้านสุขภาพได้มีโอกาสน�ำ เสนอโครงการต่ า งๆ เข้ า มา เพื่ อ ขอรั บ งบ ประมาณสนั บ สนุ น จากกองทุ น หลั ก ประกั น สุขภาพในระดับท้องถิน่ หากคณะกรรมการร่วม กันพิจารณาว่าโครงการทีเ่ สนอมาเข้าตามหลัก เกณฑ์ทที่ างคณะกรรมการได้รว่ มกันได้กำ� หนด
ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี กล่าวว่า ปัจจุบนั มี การส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพประชาชน ด้วยภูมปิ ญ ั ญาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ พื้นบ้าน และมีการสร้างกระแสตื่นตัวในเรื่อง แพทย์แผนไทยอย่างต่อเนือ่ ง ประกอบกับจังหวัด กาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง ที่มี ผูค้ นนิยมเดินทางมาท่องเทีย่ วปีละหลายล้านคน เนือ่ งจากมีแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติทอี่ ดุ ม สมบูรณ์ มีภเู ขา แม่นำ�้ และป่าไม้นานาพันธุ์ ที่ เป็นแหล่งสมุนไพรไทย ซึง่ มีประโยชน์กบั ร่างกาย อย่างมากมาย นอกจากนี้ สิ่ ง ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ ใ ห้ ความส�ำคัญคือ การท่องเทีย่ วตามแพล่องตาม แม่นำ�้ เพือ่ ชมทัศนียภาพทีส่ วยงามของจังหวัด กาญจนบุรี โดยสิง่ เหล่านีน้ บั เป็นสิง่ ดึงดูดให้นกั ท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติปรารถนา ที่จะมาเที่ยวชม และสัมผัสกับธรรมชาติอัน สวยงามของกาญจนบุรี ดังนั้นเพื่อเป็นการ สนับสนุนและการสร้างกระแสการพึ่งตนเอง ของประชาชน ด้วยการใช้ภมู ปิ ญ ั ญาการแพทย์ ไทย และเพื่อเป็นการสนับสนุนการท่องเที่ยว โดยสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด กาญจนบุรี คือการเป็นศูนย์กลางการท่องเทีย่ ว เชิงอนุรักษ์ และในอนาคตนั้นประเทศไทยจะ เปิดเสรีสอู่ าเซียน การบริการด้านการแพทย์แผน ไทย จึงมีความส�ำคัญและมีแนวโน้มสร้างรายได้ ให้แก่ประเทศอย่างมหาศาล
ไว้ ก็สามารถน�ำโครงการทีเ่ สนอเข้ามาลงไปท�ำงาน ในพืน้ ทีช่ มุ ชนของตัวเองได้ เป็นโอกาสเปิดโอกาส ให้ประชาชนได้เข้าถึงกองทุนฯ อย่างเสมอภาค โดยเฉพาะที่ ต.ปลัดแรกมีการประชาสัมพันธ์เรือ่ ง ของกองทุนฯ และงบประมาณของท้องถิน่ เพือ่ ให้ ประชาชนได้รบั ทราบตลอดเวลา “ถ้าประชาชนมีความคิดทีจ่ ะท�ำ แต่เขียน โครงการไม่เป็นเรามีเจ้าหน้าที่ช่วยเหลือในการ เขียนโครงการให้ได้ ตรงนีน้ า่ จะช่วยประชาชนใน การเข้าถึงงบประมาณได้ ทีป่ ลัดแรกมีประชาชน ถึงกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น จ�ำนวนมาก จากในพืน้ ทีท่ มี่ ถี งึ 7 ชุมชน หลังจาก ที่ชาวบ้านได้ปรึกษาหารือกันมีการน�ำโครงการ เข้ามาปรึกษาเจ้าหน้าที่เป็นจ�ำนวนมาก” นาย พิพฒ ั น์ กล่าว
ปัจจุบนั ต�ำบลปลัดแรกได้นำ� งบประมาณ จากกองทุนฯ ไปดูแลเรือ่ งโรคไม่เรือ้ รัง เช่น เบา หวาน ความดัน โดยในพืน้ ทีต่ ำ� บลปลัดแรกมีกลุม่ ผูป้ ว่ ยด้วยสองโรคดังกล่าวราว 700 คน เกิดเป็น โครงการ “สูโ้ รคความดันและเบาหวาน” เพือ่ ให้ กลุม่ ผูป้ ว่ ยได้มโี อกาสในการออกก�ำลังกายและ ท�ำกิจกรรมร่วมกันอย่างสม�่ำเสมอ ขณะนี้มีผู้ ป่วยเบาหวาน ความดัน เข้าร่วมโครงการแล้ว กว่า 200 คน ส่วนผูป้ ว่ ยทีไ่ ม่ได้มาร่วมออกก�ำลัง กาย จะเป็นผูป้ ว่ ยทีไ่ ม่ได้แข็งแรงมาก แต่ทาง คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพก็ได้บูรณา การความร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบล (รพ.สต.) ในการเข้าไปเยี่ยมผู้ป่วย ซึ่ง ที่ผ่านมาพบว่าการด�ำเนินงานของกิจกรรมดัง กล่าวได้ผลเป็นทีน่ า่ พอใจ
“ศูนย์ต้พนแบบการจั ัฒนาเด็ ก เล็ ก กมลา” จ.ภู เ ก็ ต ดการด้านสุขอนามัย โดย อบต. ในพื้นที่อื่นที่มีงบประมาณมีน้อย เราก็ต้องอาศัยพึ่งพาชุมชน เช่น เรื่อง ของอุปกรณ์การเรียนการสอนให้ชมุ ชน ผู้ประกอบการต่างๆ เข้ามาช่วย สมัย ก่อนที่เราไม่มีงบประมาณมากเราก็ใช้ วิธีนี้เช่นเดียวกัน รวมทั้งการจัดงาน ต่างๆ ขึ้นเพื่อหางบประมาณมาให้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเรา
นพพร กรุณา รองนายก อบต.กระทู้
“ส้ ว ม” เป็ น ปั ญ หาพื้ น ฐานที่ ส�ำคัญทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของ ประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขโดยกรม อนามัย ได้เริม่ ด�ำเนินการมีและใช้สว้ มอย่าง จริงจังตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2503 ในรูปแบบของ โครงการพัฒนาอนามัยท้องถิ่น โดยมีจุด มุง่ หมายในการด�ำเนินการปรับปรุงสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมหมู่บ้านในชนบท เพื่อลดอัตรา การป่วยและการตายของคนในชนบท ในการนีก้ รมอนามัยได้นำ� สือ่ มวลชน ลงพื้นที่ จ.ภูเก็ต เพื่อสัมมนาเรื่อง “ส้วม สาธารณะไทย ใส่ใจสุขภาพ” ในการนี้ได้มี การเยีย่ มชมศูนย์พฒ ั นาด็กเล็กกมลา อ.กระทู้ จ.ภูเก็ต ที่อยู่ภายใต้การดูแลขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลกระทู้ ในฐานะที่สามารถ พัฒนาสุขอนามัยในบริเวณศูนย์เด็กเล็กกมลา โดยเฉพาะการจัดการและพัฒนาส้วมของศูนย์ เด็กเล็กกมลาได้เป็นอย่างดี เห็นได้จากการ ได้รับรางวัลต่างๆ มากมาย และเป็นสถาน ที่ต้นแบบในการจัดการเรื่องส้วมในศูนย์เด็ก เล็ก ให้หลายๆ หน่วยงานทีส่ นใจเข้ามาศึกษา ดูงาน หนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ จึงได้มโี อกาส พูดคุยกับ นายนพพร กรุณา รองนายก อบต. กระทู้ อ.กระทู้ จ.ภูเก็ต ถึงการให้ความส�ำคัญ ในเรือ่ งการพัฒนาส้วมของศูนย์เด็กเล็กกมลา ให้มปี ระสิทธิภาพ
ท่องเทีย่ วในประเทศอาเซียนต่อไปจะมีมลู ค่าสูง ถึง 6 แสนล้านบาทต่อปี ถ้าเพิม่ การท่องเทีย่ ว เชิงสุขภาพเข้าไปก็จะเป็นการดี เป็นแนวทางที่ ไทยจะมีโอกาสแข่งขันกับนานาประเทศ ขณะ เดียวกันการท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพยังต้องค�ำนึงถึง เรือ่ งการดูแลสิง่ แวดล้อม การสร้างส�ำนึกให้แก่ คนในชุมชนในการร่วมกันดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม เพือ่ สร้างเมืองสีเขียวช่วยกัน” นพ.ชลน่าน กล่าว ส่วนการเข้าสู่อาเซียนนั้น กระทรวงฯ ได้วางแผนรองรับไว้ 3 เรื่องหลักๆ เพื่อให้มี ศักยภาพการแข่งขันระดับนานาชาติ ได้แก่ 1.เพิม่ บุคลากรด้านแพทย์แผนไทย ให้มจี ำ� นวน เพียงพอ ในเบื้องต้นจะให้ประจ�ำการที่โรง พยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล หรือ รพ.สต. ทุก แห่ง ซึง่ เป็นบริการด่านหน้าและอยูใ่ กล้ชดิ ชุมชน ทีส่ ดุ 2.การพัฒนาศักยภาพสมุนไพรหรือยาไทย เพิม่ รายการยาสมุนไพรเข้าในบัญชียาหลักแห่ง ชาติใช้ในสถานพยาบาลภาครัฐทัว่ ประเทศ จาก 71 เป็น 87 รายการ รวมทัง้ พัฒนาสมุนไพร ให้ เป็นสมุนไพรยอดนิยม มาตรฐานเป็นทีย่ อมรับใน ระดับสากล สร้างจุดแข็งสินค้าและบริการการ แพทย์แผนไทย และ 3.การพัฒนาบริการการ แพทย์แผนไทย โดยบูรณาการร่วมกับภาคเอกชน เพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว เช่นโครงการล่องแพ ที่ จ.กาญจนบุรี มีบริการนวดแผนไทยขนานแท้ มีอาหารพืน้ บ้านไทยเพือ่ สุขภาพ เบ็ดเสร็จในแพ ด้าน นายกาศพล แก้วประพาฬ รองผู้
การบริหารจัดการดูแลศูนย์เด็กเล็กของ
อบต.กระทู้
นายนพพร : ทาง อบต. กระทู้มีนโย บายที่จะพัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนถือเป็นหนึ่งใน นโยบายของ อบต.กระทู้ หลังจากทีเ่ ราได้รบั โอน มาจากกรมพัฒนาชุมชน เมือ่ ปี พ.ศ. 2545 เรา ก็ได้มาด�ำเนินการต่อร่วมกับชุมชน โดยทุ่มงบ ประมาณเพื่อจัดการเรียนการให้เข้ากับสภาวะ ปัจจุบัน มีการสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยี ใหม่ๆ เข้ามาในเรื่องของอุปกรณ์การเรียนการ สอนที่เป็นนวัตกรรมสมัยใหม่ ซึ่งน�ำมาใช้กับ เด็กในการสร้างเสริมสติปัญญา อันจะช่วย ให้เด็กพัฒนาทั้งทางด้านสังคม ร่างกาย และ จิตใจ นอกจากนีใ้ นเรือ่ งโภชนาการเราได้รบั งบ ประมาณจากท้องถิน่ 13 บ./เด็ก 1 คน ซึง่ ทาง อปท. มองเห็นแล้วว่าไม่เพียงพอต่อการพัฒนา ของเด็กในวัยนี้ จึงได้จดั สรรงบประมาณขึน้ มา เป็น 15 บ./หัว/วัน อปท. เพิม่ งบส่วนนีม้ า เพือ่ ที่ จะพัฒนาในเรือ่ งของโภชนาการ นอกจากนั้นได้จัดสรรงบประมาณใน แต่ละปีเข้ามาดูแลในเรื่องของสุขภาพอนามัย ความปลอดภัยของเด็กที่เข้ามาเรียนในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กแห่งนี้ โดยศูนย์เด็กเล็กของทีน่ ไี่ ด้ รับการยอมรับจากชุมชน โดยชุมชนมีสว่ นร่วม ในการจัดกิจกรรมต่างๆ ซึง่ เรามีหลายกิจกรรม ในแต่ละปี ได้รับความเห็นชอบจากชุมชนและ
มาใหม่ที่นี่ ระบบการดูแลความปลอดภัยของ ครูเรายังน้อยอยู่ ต่อมาเราได้จดั งบประมาณใน แต่ละปีเพื่อรับบรรจุครูและพนักงานฝ่ายต่างๆ รวมทั้งจัดหาสื่อการเรียนการสอน และในช่วง แรกๆ ชุมชนไม่เข้าใจกระบวนการการจัดการ เรียนการสอนของเรา ต่อมาเมื่อเรามีกิจกรรม ต่างๆ มีการเชิญผูป้ กครองมาให้ความรูใ้ นเรือ่ ง กฎ ข้อบังคับ หลายๆ อย่างมีการพัฒนาทีด่ ขี นึ้ อย่างเมื่อก่อนเด็กจะร้องงอแงเพราะเราห้าม ไม่ให้มีการพกขนมหวานเข้ามาในโรงเรียน ผู้ ปกครองก็ไม่เข้าใจ แต่ ณ ปัจจุบนั นีส้ งิ่ เหล่านัน้ ได้หายไปแล้ว เรามีการบริการอาหารให้เด็ก 3 ช่วงเวลา คืออาหารเช้า อาหารกลางวัน และ ช่วงบ่ายเป็นนม ที่ได้รับเสริมมาจากท้องถิ่น
คณะกรรมการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กด้วยดีเสมอมา ทีศ่ นู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กกมลาเปิดสอน
มีกรี่ ะดับชัน้
นายนพพร : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ เราได้จัดการเรียนการสอนออกเป็น 3 ระดับ ด้วยกัน คือระดับเตรียมอนุบาล โดยรับเด็กอายุ ตัง้ แต่ 3 ขวบเข้าเตรียมอนุบาล อนุบาล 1 รับ เด็กตัง้ แต่ 4 ขวบ อนุบาล 2 รับเด็กตัง้ แต่อายุ 5 ปี และอนุบาล 3 รับเด็กอายุ 6 ปี ซึง่ รวมเด็ก นักเรียนทัง้ หมดประมาณ 250 คน มีครูทเี่ ป็นผู้ ดูแลเด็กทีเ่ ป็นข้าราชการ 7 คน ส่วนอีก 7 คน ก�ำลังได้รบั การแต่งตัง้ เป็นข้าราชการ แต่ละปีเรา ได้ใช้งบประมาณในการส่งเสริมครูไปฝึกอบรม ไปหาความรู้ เพือ่ จะได้นำ� ความรูม้ าพัฒนาทาง ด้านสติปญ ั ญาของนักเรียน มีแม่บา้ นทีด่ แู ลเรือ่ ง ความสะอาด 2 คน และมีภารโรง 1 คน เด็กที่มาเรียนส่วนใหญ่เป็นเด็กที่อาศัย อยูใ่ นชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ เด็ก ที่เป็นลูกหลานของประชากรท้องถิ่น และเด็ก ทีเ่ ป็นลูกหลานของคนทีม่ าท�ำงานอยูท่ ี่ ต.กมลา 10 ปีที่ อบต. เข้ามาดูแลศูนย์พฒ ั นา
เด็กเล็กมีปญ ั หาเรือ่ งอะไรบ้าง
นายนพพร : แรกๆ ที่ อบต. เข้ามา ดูแล เรามีปัญหาเรื่องของสถานที่ ซึ่งเราย้าย
ร่วมทอดผ้าป่า 60 ปี
สร้างอาคารผู้ป่วยใหม่ โรงพยาบาลชัยภูมิ นายแพทย์ ณรงศักดิ์ ผดุงถิ่น รอง ผอ.รพ.ชัยภูมิ กล่าวว่า เนื่องจากโรงพยาบาล จังหวัดชัยภูมิ เปิดด�ำเนินการบริการประชาชน มาแล้ว 60 ปี ขณะที่ปัจจุบันสถานที่ไม่สามารถ รองรับผู้ป่วยที่มาใช้บริการไม่น้อยกว่าวันละ 1,500 คน ได้อย่างทั่วถึง จึงมีโครงการก่อสร้าง อาคารผู้ป่วยใหม่ 10 ชั้น ด้วยงบประมาณ 250 ล้านบาท ท�ำพิธีวางศิลาฤกษ์ไปเมื่อวันที่ 24 มี.ค. 2555 อย่างไรก็ตาม เพื่อให้โครงการก่อสร้าง อาคารผู้ป่วยใหม่ส�ำเร็จลุล่วง รองรับบริการให้ แก่ประชาชนในพืน้ ทีไ่ ด้เร็วยิง่ ขึน้ จึงขอรับความ เมตตาจาก “หลวงพ่อสายทอง เตชะธัมโม” และผู้มีจิตศรัทธาร่วมท�ำบุญทอดผ้าป่า เพื่อ หาทุนทรัพย์ก่อสร้างอาคารฯ โดยได้เริ่มด�ำเนิน การมาตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2554 มีจักรินทร์ วงศ์เบญจรัตน์ ประธานมูลนิธสิ ว่างคุณธรรมจังหวัด ชัยภูมิ รับเป็นเจ้าภาพในการก่อสร้างฐานราก ทั้งหมดของอาคารไปแล้ว มูลค่า 21 ล้านบาท แต่ดว้ ยงบประมาณการก่อสร้างทีส่ งู ถึง 250 ล้านบาท รพ.ชัยภูมิยังขาดเงินสนับสนุน การก่อสร้างอีกเป็นจ�ำนวนหนึง่ จึงขอถือโอกาส นี้เชิญชวนผู้มีจิตศรัทธาร่วมท�ำบุญกับ “หลวง พ่อสายทอง” ด้วยการบริจาคทุนทรัพย์สมทบ ทุนตามก�ำลังศรัทธา โดยสามารถบริจาคได้ที่ โรงพยาบาล ชัยภูมิ โรงพยาบาลประจ�ำอ�ำเภอ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลใกล้บ้านได้ทุกแห่ง หรือ
นายแพทย์ ณรงศักดิ์ ผดุงถิน่ รองผอ.รพ.ชัยภูมิ บริจาคผ่านธนาคารกรุงไทย สาขาชัยภูมิ ชื่อ บัญชีเงินบริจาคโครงการสร้างตึกผู้ป่วย 10 ชั้น เลขที่ 307-0-80753-4 หรื อ สั่ ง จองเหรี ย ญ “พุ ท ธทั น ดร” เหรียญแห่งพุทธานุภาพ พลังชีวิต ไร้ทุกข์ ไร้ โศก ท�ำจากแร่หินสเคล่าร์ ปรับสมดุล ชาร์จ พลังชีวิต เจริญพุทธคุณ บูชาเหรียญละ 2,999 บาท โดยหลวงปู่ฤาษี เกศแก้ว หลวงพ่อสาย ทอง เตชะธัมโม รายได้ทั้งหมดสมทบทุนสร้าง อาคารผู้ป่วยใน 10 ชั้น โรงพยาบาลชัยภูมิ (ใบ เสร็จรับเงินการบริจาคสามารถน�ำไปเป็นหลัก ฐานลดหย่อนภาษีได้) รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่งานประชาสัมพันธ์โรงพยาบาลชัยภูมิ 044-811006 ต่อ 1352 นายแพทย์ณรงค์ศักดิ์ บ�ำรุงถิ่น 0885815449 สุชาติ สิมาชัย 08-8718-651
เยี่ยมรพ.ชัยภูมิ
เมื่อเร็วๆ นี้ ก�ำพล มหานุกูล ประธานบริหาร หนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ จ�ำกัด พร้อมคณะเข้า เยีย่ มคาราวะ นายแพทย์สมปอง เจริญวัฒน์ ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลจังหวัดชัยภูมิ พร้อมมอบของ ที่ระลึกและร่วมแสงความยินดีที่ได้รับ ISO พร้อมกับการก่อสร้างตึกผู้ป่วย 10 ชั้น ไว้บริการประชาชน ในพื้นที่และจังหวัดใกล้เคียง สังคมได้อย่างเป็นสุข เราสามารถพัฒนาและ ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้ในทุกๆ ด้าน เพือ่ ให้เขาได้เติบโตไปสูว่ นั เรียนในชัน้ ทีส่ งู ขึน้ ไป นอกจากนี้ ยังมีเรื่องโรคภัยไข้เจ็บที่ อาจจะเกิดขึ้น ที่ภูเก็ตเรามีแรงงานต่างด้าว เยอะ เขาจะตั้งแคมป์ท�ำงานก่อสร้าง เมื่อ ท�ำงานเสร็จก็จะย้ายไปโดยทิง้ สัตว์เลีย้ ง เช่น สุนขั แมว ไว้ ท�ำให้เป็นทีม่ าของความเสีย่ ง ในการเกิดโรคภัยต่างๆ ทาง อบต. เองก็ได้ มีโครงการดูแลในส่วนนี้ เช่นการฉีดพ่นยุง ทิศทางการพัฒนาของศูนย์พฒ ั นา การดูแลเรือ่ งระบบน�้ำเสีย ขยะ ทีพ่ กั อาศัย เด็กเล็ก นายนพพร : ตอนนีเ้ ราวางไว้วา่ จะขยาย ต้องเข้าไปดู เพราะทุกวันนีพ้ นื้ ทีข่ องกมลามี ตัวอาคารระดับ 1 เมือ่ ขยายตัวอาคารอาจจะปรับ แรงงานต่างด้าวเข้ามาอาศัยอยูเ่ กือบ 6 หมืน่ เปลีย่ นศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเป็นโรงเรียนอนุบาล คน ซึ่งอยู่ในความควบคุมดูแลของ อบต. ซึ่งตอน นอกเหนือจากโครงการส้วมสะอาด นี้เรามีข้อจ�ำกัดในการรับเด็ก เพราะเรารับได้ ทาง อบต. มีโครงการอะไรอีกบ้าง แค่ 250 คน ตามข้อก�ำหนดของกรมอนามัย ใน นายนพพร : เรามีโครงการต่างๆ ปี อนาคตเราจะได้มกี ารขยายพืน้ ทีอ่ อกไป เพราะ ว่า อบต.ของเราสามารถดูศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กได้ หนึง่ ประมาณ 30 โครงการในการเสริมสร้าง ทักษะของเด็ก น�ำนักเรียนไปทัศนศึกษาบ้าง วัฒนธรรมประเพณีทอ้ งถิน่ ของชาวภูเก็ต มี การแข่งขันทางด้านทักษะทางความรู้ กีฬา โครงการเหล่านีม้ มี ากมายในศูนย์พฒ ั นาเด็ก เล็กของเรา เฉพาะเรื่องสาธารณสุขมีกว่า 10 โครงการ เราทุม่ งบประมาณปีละกว่า 10 ล้านบาท จาก อบต. เช่น โครงการเด็กไทย ไม่กินหวาน เด็กไทยสมวัย การพัฒนาทาง ด้านอารมณ์ สังคม เพื่อสร้างคุณภาพของ เด็กก่อนวัยเรียนให้สามารถเข้าไปเรียนต่อใน ระดับต่อๆ ไปได้อย่างเหมาะสมและมีคณ ุ ภาพ
ดูแลความสะอาดและสาธารณสุขของเด็ก เรา มีกิจกรรมสร้างเสริมให้เด็กใช้ส้วมอย่างถูกวิธี ครูมหี น้าทีใ่ ห้ความรูข้ นั้ ตอนการใช้สว้ มอย่างถูก วิธใี นแต่ละขัน้ ตอน ใช้เสร็จต้องท�ำยังไง ล้างมือ ให้ถกู วี เป็นต้น มีการตรวจสอบว่าเด็กใช้ถกู ต้อง หรือไม่ ผลทีไ่ ด้รบั กลับมาเป็นเรือ่ งทีด่ มี าก เพราะ เด็กของเราสามารถใช้สว้ มได้อย่างถูกวิธี รวมทัง้ การหมัน่ ตรวจดูความช�ำรุดของห้องส้วมอยูเ่ สมอ
ถ้า อบต. ไหนทีไ่ ม่มงี บประมาณมาก แต่ตอ้ งดูแลศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กควรมี เพียงทีเ่ ดียว จึงคิดทีจ่ ะขยายศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก แนวทางการจัดการอย่างไร
ห้องน�้ำสะอาดถูกสุขอนามัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกมลา เรามีการวัดผลส�ำเร็จจากการจัด
การเรียนการสอนอย่างไร
นายนพพร : เรามีการวัดผลสัมฤทธิข์ อง เด็กทุกรุน่ เราพบว่าเด็กทีจ่ บจากศูนย์พฒ ั นาเด็ก เล็กของเราสามารถที่จะไปสอบเข้าโรงเรียนที่ มีชอื่ เสียงภายในจังหวัดได้ปลี ะหลายๆ คน
ให้เป็นโรงเรียนอนุบาลในอนาคต
ความยากง่ายของ อบต. ในการจัดการ
ของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
นายนพพร : เด็กในชุมชนที่ยังไม่ถึง วัยเรียน เราสามารถน�ำเด็กเหล่านีเ้ ข้ามาสูก่ าร เรียนการสอน ท�ำให้มกี ารพัฒนาด้านต่างๆ ซึง่ ทีม่ าทีไ่ ปของการพัฒนาส้วมสะอาด แตกต่างจากสมัยก่อนทีว่ า่ เด็กอายุ 7 ปีถงึ ได้เริม่ ในศูนย์เด็กเล็ก นายนพพร : เมื่อก่อนเรายังอยู่ที่ศูนย์ เข้าไปเรียนอนุบาล โดยเด็กจะขาดการพัฒนาใน ั ญา การเจริญเติบโตทางร่างกาย พัฒนาเด็กเล็กเดิม เราใช้สว้ มส�ำหรับผูใ้ หญ่ แต่ เรือ่ งของสติปญ เรามาดูแล้วว่าไม่เหมาะสมกับเด็ก เราจึงได้สงั่ และโภชนาการ เราได้นำ� เด็กเหล่านีม้ าจัดการใน ส้วมเล็กๆ ส�ำหรับเด็ก มีแม่บา้ น 2 ท่านทีค่ อย เรือ่ งของสุขอนามัย โภชนาการ ปัญญา การอยูใ่ น
นายนพพร : ในส่วนของศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กกมลาบางส่วนเรามีนโยบายของเรา ว่าเด็กทีเ่ ข้ามาเรียนไม่ตอ้ งจ่ายอะไรเลย โดย ชุดเครือ่ งนอนต่างๆ เราสามารถสนับสนุนให้ กับเด็กได้ ในพื้นที่อื่นที่มีงบประมาณมีน้อย เราก็ต้องอาศัยพึ่งพาชุมชน เช่น เรื่องของ อุปกรณ์การเรียนการสอนให้ชมุ ชน ผูป้ ระกอบ การต่างๆ เข้ามาช่วย สมัยก่อนทีเ่ ราไม่มงี บ ประมาณมากเราก็ใช้วธิ นี เี้ ช่นเดียวกัน รวมทัง้ การจัดงานต่างๆ ขึน้ เพือ่ หางบประมาณมาให้ แก่ศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กของเรา
@ (:& =/<
#ā =L g "9" =L aff /9! =L af ų c` )< @!:*! beef
15
E!8 5# Ŵ ĉ/* Q: 9 -A !QM:*@ -:*5*ĉ: ĉ5D!?L5 !&Ŵ + č 23D) :&9 !č #-9 +8 +/ 2: :+ 2@ G3Ċ29)(:1 čD =L*/ 9"F+ H ĊD-?5 55 /ĉ: 2 :! :+ čF+ H ĊD-?5 55 G! ĉ/ !=M!ĉ:3ĉ/ ): D!?L5 : D Ċ:2Aĉ, A%! >L D#đ!, A :-+8": 5 F+ !=M E)Ċ +8 +/ 2: :+ 2@ H ĊD+ĉ + + č Q: 9 E3-ĉ D&:8&9! @č-A !QM:*@ -:*): 9M E ĉ Ċ!#ā K :) F *)= Q:!/!$AĊ#Ą/*282) 9M E ĉ) +: ) Ú d )< @!:*! +/) ciŲ`bi +:* +Ċ5*-8 e` 2:D3 @ &=L "$A#Ċ /Ą *): D!?5L : )= :Q !/!*@ -:*D < G3)ĉD#đ! Q:!/!): > L *@ !< != M 5"5*AGĉ !"Ċ:!E-8+5"J "Ċ:! 5" 9 A D-?5
!G!D/-: -: /9! E-85: 9 5! -: ?!H ĊD ĉ! 9! Ċ:*9 H)ĉH Ċ <!D-?5 G! 5! -: /9! 9 !9M! /:)D2=L* A *@ 9 > )=): >M! +8 +/ 2: :+ 2@ H Ċ :Q 9" =)E& *č&*:":-G!F+ &*:":- @ E3ĉ G3Ċ :+ AE-+9 1:$A#Ċ /Ą *5*ĉ: )=#+82< (< :& =2L @ 9 M D K E-8$AĊG3 ĉ G3ĊD Ċ:3!Ċ: =LD&<L) :+G3Ċ Ċ5)A- /:)+AĊ 5" Ċ52 29*E ĉ#+8 : ! =L)= Ċ52 29* 3+?5 9 /- 9"5: :+#Ą/* 5 !G!
+5" +9/ E-8 9 )@)G3Ċ /:)+AĊD+?L5 H ĊD-?5 55 !5 : !=MG3Ċ +) :+E& *č " /!): + :! :++9 1: 9 Q:D#đ! Aĉ)?5E ĉE& *č G! :+/<!< 9*E-8G3Ċ :++9 1:$AĊ#Ą/* E-8 9 =)$AĊD =L*/ : 55 G3Ċ Q:#+> 1:E ĉE& *čG!(A)<(: -5 bd 9L/F) D&?L5- :+D2=* =/< G3ĊH Ċ): =L2@ ): + :+ =L 8 Q:G3Ċ Q:!/!$AĊ#Ą/*H ĊD-?5 55 - - 5*ĉ: D3K!$- ?5 Ċ5 +8 ) /:)+ĉ/))?5 ĉ/* 9! Q: 9 E3-ĉ D&:8&9! @č -A !QM:*@ -:* @ =L Ċ5 )@ĉ D!Ċ!): G! ĉ/ i` /9! : !=MH# ?5 F+ D+=*! F+ &*:":- /9 2 :! =L Q: :! E-8 @ "Ċ:!G! @) ! +8 +/ 2: :+ 2@ H Ċ 5 /:)+ĉ/))?5#-9 +8 +/ )3: H * D&?L5+ĉ/)#+8 @)/< =F5 5!D'5D+! č 9"$AĊ/ĉ:+: :+ 9 3/9 9L/ #+8D 0 D&?L5 *:*$-G3Ċ5 č +# +5 2ĉ/! Ċ5 <L!+ĉ/) 9 < ++) Q:-:*-A !QM:*@ -:* @ &?M! =L5*ĉ: ĉ5D!?L5
!&Ŵ + č 23D) :&9 !č #-9 +8 +/ 2: :+ 2@
MPH SUMMARIZE PEOPLE #ą5 9!F+ , A%!
!&Ŵ&+D & 0<+</!:+9 2++ č 5 <" = +) /" @)F+ !&Ŵ&+D & 0< +< / !:+9 2++ č 5 <" = +) /" @)F+ H Ċ55 ):D ?5! #+8 : !G! :+#ą5 9!F+ G!, A%! F * 5G3Ċ#+8 : !55 Q:-9 :*5*ĉ: 2)QL:D2)5 E-8+9 1:+ĉ: :*G3Ċ5"5@ĉ! 5*AĉD2)5D&?L52+Ċ: (A)< Ċ:! :!F+ 3: D#ā* %! 5G3Ċ5:"!QM: 2+8$) D K G3Ċ E3Ċ E-82/)D2?M5$Ċ: =LE3Ċ -Ċ: )?5-Ċ: D Ċ:G3Ċ285: 3-9 -@*!QM:*QL:F -! 3+?5 2/)+5 D Ċ:"Aċ 3-= D-=L* :+D <!G! &?M! =L ?M!E 8 5*ĉ:G3Ċ*@ 9 F *!5!G! )@Ċ 3+?5 :*: 9!*@ Q:-:*-A !QM:*@ :) (: !8D K" 9 !QM:G!"Ċ:!E-8+5""Ċ:! +/) 9M 2/)G2ĉD2?M5$Ċ:2=5ĉ5!J >L D#đ!2= =L *@ H)ĉ 5" 3-= D-=L* :+ -@ -= 9"$AĊ =L D#đ!H Ċ3/9 #+8 :+2Q: 9 5G3Ċ* > 3-9 #-5 (9* ?5 <!+Ċ5! Ċ5! -: E-8-Ċ: )?5 ĉ5! <!5:3:+E-83-9 : G Ċ35Ċ !Q:M 8#ą5 9!H Ċ3-:*F+
Highlight
PEOPLE
9M 8 Q: :!#+9"#+@ Ċ5 Q: 9 :+ Q: ß&='5+č&=à
!&Ŵ#+8 <1 2<! / + č +9 )! +=/:ĉ :+ +8 +/ 2: :+ 2@ G3Ċ2)9 (:1 č(:*3-9 #+8 @) #+> 1:3:+?5+83/ĉ: +8 +/ 2: :+ 2@ 9" -@)ĉ E& *č !" /ĉ: D#đ!+:* :! /:) ?"3!Ċ: 5 $- :+ #+> 1:3:+?5 = L @ %Ą:*D3K! Ċ/* 9"3-9 :+ 5 +8"" ĉ: 5"E ! :)$- :+# <" 9 < :! 3+?5 &='5+č& = Ůĸdĸů /ĉ: 8D#đ! :+ ĉ/*D&<)L #+82< (< :& E-8 @ (:& :+"+< :+ ĉ: J > L 8D#đ!#+8F* !č 5ĉ #+8 : ! D3K! Ċ/*/ĉ: :++9 M "@ -: + : :+E& *čG3Ċ5*AGĉ ! !" > L ): + :+3!> L = L :Q D#đ! ?5): + :+ : :+D <! E-8 D3K! Ċ/*/ĉ: Ċ5 )=): + :+- /:)D3-?5L )-Q:M 5 +:*H Ċ" @ -: + : :+E& *č =)L = /:)E ĉ: 9! 9 M !=M H)ĉH Ċ < 8 > $A Ċ )=L += :*H Ċ2 A - ): E ĉ 83:/< = @ $A Ċ )=L += :*H Ċ!5Ċ * >!M H# > L :+ Q:&='5+č& = D#đ!): + :+ 3!> L = L /ĉ *H Ċ 9 !9!M D)?5L )= /:)D3K! + 9! > H Ċ) = :+ 9 M 8 Q: :! >!M ): a @ D&?5L Q:3!Ċ: = L b #+8 :+ ?5 aŴ #+9"#+@ +8D"=*" Ċ5 Q: 9 ĉ: J =DL #đ!#ď 3:5@#2++ 3+?5H)ĉ25 -Ċ5 E ĉ-8&?!M =3L +?5+8 9"2 :! !&Ŵ#+8 <1 2<! / + č "+< :+G3Ċ 9 D ! D&?5L D#đ!3-9 :+ = L @ ! Ċ5 Q: D&?5L &9 !:&='5+č'Gā 3ĊD3):82) 9""+<" 5 2 :!"+< :+ +9 )! +=/ĉ: :+ +8 +/ 2: :+ 2@
E ĉ-8+8 9" E-8G3Ċ" @ -: + : :+E& *čE-82: :+ 2@ 5*AGĉ !+8""H Ċ bŴ < ): + :+ D * D*=*/*: $AHĊ Ċ+"9 $- +8 " : :+ Q:&='5+č& = > L D#đ!H# :)) < 8+9 )! += H ĊE ĉ$ ĊA 5Ċ :+ 8 Q:&='5+č&E= ĉH)ĉH Ċ :Q 59!D!?5L : /:)H)ĉ&+Ċ5) 5 +8 +/ 2: :+ 2@ =HL )ĉ2:):+ 2!9"2!@! :+ Q:&='5+č&H= Ċ E ĉ): + :+ != M 8H)ĉ +5" -@) > $A Ċ =L 9M G ĉ5 Ċ:!3+?5 8H)ĉ :Q D&+:8 8D#đ!59! +:* : Ċ:! +<* ++)
Measure <@:7>J!4<I$K$2C< K! @K:<R9 ;J 2cK_ :J20F-%cK_ !&Ŵ"@ 9* 2)"A+ č2 @ D- : < :+ 8 ++) :+5:3:+E-8*: Ů5*Ŵů D#Ā D$*/ĉ: : 2 < &< "/ĉ: #ď @"!9 !H *!<*)"+<F( 5:3:+ =#L +@ Ċ/* :+ 5 ): >!M F *)= :+"+<F( !Q:M )9!&? /ĉ: h``Ų``` 9! ĉ5 #ā !Q:M )9! =GL ĊG! :+#+8 5"5:3:+ F *D &:8!Q:M )9! =GL Ċ 5 5:3:+E-Ċ/ 8D < 2:+ -@)ĉ F&-:+č > L D#đ!2:+ =)L $= - ĉ5 :+D < F+ )8D+K F+ 39/G E-83-5 D-?5 E-8F+
/:) 9!F-3< 2A =$L :ĉ !):3!ĉ/*D -?5L ! =DL &?5L
/:)#-5 (9* Ċ:!5:3:+ 5 5*Ŵ E-83!ĉ/*D -?5L ! =7L 2ĉ/!(A)(< : +/) ab 0A!*č H Ċ :Q D!<! :+D%ą:+8/9
/:)#-5 (9* 5 :+G Ċ!:QM )9! 5 5:3:+ $- : :+D%ą:+8/9 D K" 9/5*ĉ: !Q:M )9! 5 5:3:+ : 2 :! =L Q:3!ĉ:*5:3:+ 9/L #+8D 0 E-8 +@ D &7 e #ā*5Ċ !3-9 &"/ĉ: ): + :!D&<)L >!M @ #ā $- :+D%ą:+8/9 #ā beee D K" 9/5*ĉ: 9 M 3) eŲiie 9/5*ĉ: ): + :!+Ċ5*-8 iŴia F *&"/ĉ: ): + :!G! -: 2 E-8 -: !9 D#đ!2ĉ/!G3 ĉ :+#ą5 9!E-82ĉ D2+<)G3Ċ- :+G Ċ!QM:)9! 5 QM: -5 !+AĊD ĉ: 9! :+F 1 :$-< (9 č 2@ (:&3-5 -/ > Q:D#đ! Ċ5 H Ċ+9" /:)+ĉ/))?5 : @ (: 2ĉ/! F *D &:85*ĉ: *<L D +?5 ĉ:* (: #+8 : ! 5*Ŵ > H Ċ+ĉ/) 9" 8 Q: :!(: #+8 : ! 9 5"+)D < # <"9 < :+ D+?L5 ßD2+<) 2+Ċ: /:)+AĊ2AĊ(9*!QM:)9! 5 QM: +AĊ 9!F 1 :$-< (9 č2@ (:& =L -ĉ:/5Ċ: D <! +< à >M! :+ 9 5"+) G! +9M !=M D&?L5+/)&-9 9!D$*E&+ĉ /:)+AĊ /:)D Ċ:G =L A Ċ5 5= 9M +8 @Ċ!G3Ċ$AĊ"+<F( D3K! /:) 2Q: 9 E-8G3Ċ /:)G2ĉG G! :+D-?5 "+<F( 5:3:+ =L#+@ 3+?5 5 Ċ/*!QM:)9! =L2 G3)ĉD&?L52@ (:& 5 !D5 3-= D-=L* :++9"#+8 :!5:3:+ =LG Ċ!QM:)9! 5 QM: E-8G3Ċ$AĊ#+8 5" :+- :+G Ċ!QM:)9! 5 QM: +/) > < 5:/@ : #ď :G3Ċ$"ĊA +<F( +ADĊ ĉ: 9!F 1 :$-< (9 č2 @ (:&3-5 -/ E-8H)ĉ3- D ?5L
2 Ŵ +)Ŵ&< :+ : ßF+ E)#à
- $- +8 " : F+ H''ą: =/)/ : :+#+8 @ ) 8 ++) :+ 2@ (:&E3ĉ : < Ů 2 Ŵů !&Ŵ/< 9* F
/</9 ! #+8 :! =L#+8 @)D#Ā D$*/ĉ: =L #+8 @ ) H Ċ G 3Ċ /:)D3K ! 5"E$! :+ 9 " D -?L 5 !3+? 5 F+ E)# :+#ą 5 9 ! E-8- $- +8 " Ċ : !2@ (:& : F+ H''ą : = / )/- :)) <2)9 :2@ (:&E3ĉ : < +9M e &Ŵ0Ŵ beee >L 2 ŴH Ċ 9 :+#+8 @) D < # <"9 < :+ +8 ) /:)D3K! : 3!ĉ/* :! =LD =L*/ Ċ5 9M (: +9 D5 ! E-8!9 /< : :+ D)?5L /9! = L bc &,1(: ) beef F * 2!9"2!@! :+ 9 Q:E$!&9 !:&-9 :! E-8E$!E)ĉ " &-9 :! = / )/-+8 9 " 9 3/9 !Q:+ĉ5 G! ab 9 3/9 H ĊE ĉ 9 3/9 D& +"A+ č -Q:#: 5@ + < č ! ++: 2=): 9 * (A )< 5@ + :!= : !"@ += +: "@ += 2@ & ++ "@ += ! +0+= ++)+: 2 -: @)&+ &+Ċ5)H# 9"5= ab 9 3/9 =LD +?5
ĉ:*(: #+8 : !)= :+ 9 +8"/! :+ D+= * !+A Ċ 5 *A ĉ E -Ċ / H Ċ E ĉ 9 3/9 +Ċ 5 *D5K 2@+<! +č 5@"-+: :!= D =* +:* #+: =!"@+= 2+8E Ċ/ @)&+ 2@+:1 +č :!= &9 -@ +9 +8"=L E-82 A- &+Ċ5) 9M D+ĉ 3: Ċ52+@# D+?L5 :+ #+9 " #+@ 3):* =L D =L * / Ċ 5 G! :+ 9 F !!<L 2 :! =L ĉ52+Ċ: F+ H''ą: =/)/- G3Ċ )= + 8*83ĉ : =L D 3):82) H)ĉ +8 " ĉ 5 /< = @ ) ! +/) 9M #+9 " #+@ ): + :+ #ą 5 9 ! E-8 < :) +/ 25"$- +8 " ĉ52<L E/ -Ċ5) 2Q:3+9"F+ H''ą: =LH Ċ +9 " :+* D/Ċ ! H)ĉ Ċ 5 9 Q : +:* :! :+ /< D +:83č $ - +8 "2<L E/ -Ċ 5 ) 2 Ŵ *9 G3Ċ /:)2Q: 9 9" :+D+ĉ 3:+?53!ĉ/* :!D =L * / Ċ 5 D&?L 5 - /:) QM : Ċ 5 ! 5 3):* F *D &:85Q:!: G! :+D&< 5! :+#+8 5" < :+F+ H''ą: =LD =L*/ Ċ5 9" 3):*3-:* "9" 9M &Ŵ+Ŵ"Ŵ#+8 5" < :+&-9 :! &Ŵ+Ŵ"Ŵ :+2: :+ 2@ E-8 &Ŵ+Ŵ"ŴF+ :!D&?L52+Ċ: /:))9L!G G! :+ "9 9"G Ċ 3):*G3ĊD Ċ:3!Ċ: =L$AĊ# <"9 < :!
¸ÃÃÁ¹ÙÞÊØ¢ÀÒ¾ μ.¢ÕéàËÅç¡ กติการวมสูชุมชนสุขภาพดี
V7M:^ AJ ;9K7 FC: 2 <3K>-RW>7P2_ 0N ^ 0:
!&Ŵ -!ĉ:! 0+=E Ċ/ +9 )! += /ĉ */ĉ: :+ +8 +/ 2: :+ 2@ G3Ċ2)9 (:1 čD =*L / 9" :+ 9 +8"" :+ AE-2@ (:&#+8 : ! /ĉ: G!&?!M =L +@ D &)3:! + >L D#đ!D)?5 3-/ E-8D#đ! @) !D)?5 !: G3 ĉ 2=L @ 5 #+8D 0 #+8 : + ): /ĉ: e -Ċ:! ! D#đ!E3-ĉ +/) 5 +8""+< :+ 2@ (:&G!+8"""+< :+ <*(A) < 3+?5+8 9"2A =)L = #+82< (< :& )= 5?L D2=* = L 5= *AEĉ -Ċ/ E ĉ"+< :+ 9!M &?!M :!3+?5+8""+< :+# )(A) < 5 !D)?5 3-/ &9 !: :)H)ĉ !9 :+)=2/ĉ !+ĉ/) 5 #+8 : !G! :+ 9 :+2@ (:& E-8&9 !:&, < ++)2@ (:& *9 H)ĉ2 A !9 D!?5L : 2(:&29 )D#đ! !< ĉ: ! ĉ: 5*Aĉ +8 +/ 2: :+ 2@ H Ċ+ĉ/))?5 9! 9"
!&Ŵ&+D & 0<+/< !:+9 2++ č 5 "< = +)
/" @)F+ -ĉ://ĉ: G! :++9")?5 9"F+ < ĉ5 = L 8): >!M G!5= b #ā :Ċ 3!Ċ:!= M +) /" @) F+ H ĊD +=*) /:)&+Ċ5)G! :+#ą5 9!F+ < ĉ5 +ĉ/) 9"#+8D 0D&?L5!"Ċ:!G!5:D =*! =L2Q: 9 )= 9 != M aŴD&<)L = /:)2:):+ G! :+#ą5 9!F+
< ĉ5 9M 5:D =*! /<D +:83č$- +8 "D =L*/ 9" F+ E-8(9*2@ (:& 5 5:D =*!+ĉ/) 9! bŴD!Ċ! :+E Ċ# ď 3:2: :+ 2@ :*E !+ĉ/) 9!G!+A# E"" 9 3/9 A ĉ /:)+ĉ/))?5 3+?5 9 3/9 A ĉ !:!
5 #+8D 0H *E-8#+8D 0D&?L5!"Ċ:! 9 !=M :*E !H *ų-:/ H ĊE ĉ D =* +:*ų"ĉ5E Ċ/ !ĉ:!ų H *8"@+ = )@ :3:+ų283/9!!8D 3!5 :*ų D/=* 9! !č 5@"-+: :!=ų Q:#:29 H *ų 9)&A : H ĊE ĉ 2+8E Ċ/ų"9!D =*)<! D * 9! "@+ų= &+8 8"5 E-8H&-<! +: ųD :8 H *ų&)ĉ: H ĊE ĉ D =* +:*ų ĉ: =MD3-K : ų
+@ D &)3:! + /: -*@ Gč ! :+&9 !: F * 2+Ċ: 5:2:2)9 +2: :+ 2@ ! +":- 3+?552)Ŵ ! +":- >!M ):5= -@)ĉ 3!> L Q:3!Ċ: =DL ?5L )+:1 +č #+82:!+9 9 (9*2@ (:& E-82ĉ D2+<) @ (:& =/ < #+8 : ! D3)?5! 9" 52)Ŵ 9/L JH# D#đ! =&L >L 2@ (:& 9!M Ċ! 5 #+8 : !G!D)?5 3-/ Q: :! #+82:! 9"D Ċ:3!Ċ: =L2: :+ 2@ F *H Ċ)5" 3):*G3Ċ +)2!9"2!@!"+< :+2@ (:& Q:D!<! :+ 9 5"+)&9 !:09 *(:& 52)Ŵ! +":- G! :+ AE-2ĉ D2+<)2@ (:&E-8E ĊH #ď 3: Ċ:!2@ (:& G! @) ! D&?5L G3Ċ )@ !E-8#+8 : !*?!5*A"ĉ ! &?!M :! :+&> L &: !D5 Ċ:!2@ (:& G! :+&9 !:09 *(:& 52)Ŵ! +":-
H Ċ :Q D!<! :+):E-Ċ/ 9 M E ĉ #ā beee Q:!/! e +@!ĉ )=$$ĊA :ĉ ! :+&9 !: = /:)2:):+ dŲdcc
! +8 :* 9!# <" 9 < :!G!&?!M = L e` D 5 +@ D &)3:! + &"/ĉ:H Ċ$- = G!#ā beef !=M 9 5"+)D&<)L 5= b +@!ĉ +/) bŲ``` !G!D ?5! &,1(: ) 8D =*/ 9! 8D&<)L &A! /:)+ADĊ &?5L G3ĊD#đ! 52)ŴD =*L / : D&?5L G3Ċ2:):+ Q: :!H Ċ 25 -Ċ5 9"2(:&#ď 3:G! @) ! = L EA - +/) 9 M :+2+Ċ: /:)D ?5L )9!L G!+8"" :+ /" @)#ą5 9! F+ < ĉ55?L!J >L 8 ĉ/*G3Ċ+8"" :+"+< :+ 2: :+ 2@ G!D D)?5 3-/ )= /:)D Ċ)E K D&<)L
>!M E-8 +8 :* +5" -@) @ @) !
D +=*)#ą5 9!F+ < ĉ5+9"5:D =*! D)=*/ = +8!5 ųD :825 cŴ&9 !: = /:) 2:):+ E-8D +?5 ĉ:* 5 =)25"2/! /" @) F+ D -?L5! =LD+K/ G!&?M! =L :*E ! Ċ:! :+ 5"F Ċ(:/8 @ D <! : 2: :+ 2@ :)D č ): + :! 5!:)9*+83/ĉ: #+8D 0 dŴ &9 !: D +?5 ĉ:* :+%Ă 5"+)+8": /< *:(: 2!:) (:*G Ċ +5"5:D =*!"/ 2:) 2): < #+8 5" Ċ/*5:D =*! a` #+8D 0E-8 =! =#L !Ą@ D :3-=G Ċ F *#+8D 0H *D#đ!#+8D 0!Q: E-8 eŴ 9 9 M 0A!*č :+D+=*!+A Ċ :Ċ !F+ D5 2č 5 5:D =*! >!M G! #+8D 0H * 2Q:3+9" :+D +=*) /:)&+Ċ5)(:*G! #+8D 0!9!M H Ċ) = :+&9 !:D =*L / 9""@ -: +G! Ċ:! :+#ą5 9!F+ G3Ċ)= = /:)2:):+ 2A H Ċ ): + :!2: - 2+Ċ: /:)D Ċ:G G! :+ Q:D!<!
+Ŵ!&Ŵ&+D & 0<+</!:+9 2++ č 5 <" = +) /" @)F+
:!#ą5 9! /" @)F+ +ĉ/) 9"!:!: : < D&<L) 2)++ !8 5 ĉ:! /" @)F+ < ĉ5+83/ĉ: #+8D 0 9 M (:/8# <E-8(:/8 @ D <! : /ĉ: #+8D 0H * 82:):+ +9")?5 9"F+ < ĉ5 ĉ: J = L 8D < >!M H ĊD)?5L Ċ:/D Ċ:2A#ĉ +8 : )5:D =*!
G!2ĉ/! 5 @) ! )=F+ E)#2ĉ D2+<) /:) D Ċ)E K G! :+D%ą:+8/9 E-8 AE- @) ! F *&9 !: Aĉ)?5E-8E!/ : 2Q:3+9"2+Ċ:
/:)D Ċ:G E-8 +8"/! :+)=2ĉ/!+ĉ/) D&?L5#+8D)<!$- +8 " : 2@ (:& : F+ H''ą: =/)/-G!+8 9" @) ! 3-9 : != M 2 Ŵ 8D2!5) <2)9 : 2@ (:&E3ĉ : <E-8E$! :+ 9"D -?L5! D+?L5 :+#ą5 9!E-8- $- +8 " Ċ:! 2@ (:& : F+ H''ą: =/)/- =LH Ċ): :
/:)D3K ! &Ċ 5 Ċ 5 9 ! 5 3!ĉ / * :! =L D =L*/ Ċ5 !=M ĉ5 8+9 )! +=D&?L5&< :+ : G3Ċ /:)D3K! 5"E-8)5"3):* @ 3!ĉ/* :!+9"H## <"9 < ĉ5H#
2 Ŵ*9 H Ċ+9" +:" /:) ?"3!Ċ: E-8#ď 3: 5@#2++
5 :+ 9"D -?L5! ): + :+ Q:G3Ċ29 )H *H+ĊE+ĉG*3<! :) ) <2)9 :2@ (:&E3ĉ : < +9M =L c &Ŵ0Ŵ beec >L 8+9 )! +=H Ċ)=) <D3K! 5"H# E-Ċ/D)?L5/9! =L ab D)1:*! beed F *H Ċ Q:3! D#ą:3):** D-< :+!Q:D Ċ: $-< E-8 Q:3!ĉ:*E+ĉG*3<! E-8$-< (9 č =L)= E+ĉG*3<!D#đ!2ĉ/!#+8 5" @ !< (:*G! #ā beee E ĉ :+ Q:D!<! :!*9 H)ĉ2:):+ "++-@D#ą:3):* =L 9M H/ĊH Ċ 8!=M*9 Ċ5 +5E$! :+* D-< :+!Q:D Ċ: $-< E-8 Q:3!ĉ:*E+ĉG*3<! =L +8 +/ 5@ 2:3 ++) 8D2!5 ĉ 5 8+9 )! += 9M !=M 2 Ŵ G3Ċ < :)D+?L5 !=MF *G -Ċ < E-8!Q:): +:* :!G! :+#+8 @) +9M ĉ5H# 9M !=M 2 ŴH ĊD3K! 5" :+E ĉ 9M
8 ++) :+ " /! ++)!A /ĉ : Ċ / * +8""2@ (:&E3ĉ : < )= !&Ŵ + č09 <P 59 82@/&-: ++) :+ 2 Ŵ D#đ!#+8 :! D&?L5 " /! ++)!A 7G3Ċ 25 -Ċ5 9" 2 :! :+ č : D0+1 < E-829 ) =L D#-=L*!E#- H# >L D#đ!H# :) 3):* =L Q:3! G3Ċ " /! ++)!A 7 5*ĉ: !Ċ5* @ e #ā > L 8 +" Q:3! G!D ?5! !9 /: ) beeg !=M
“ธรรมนู ญ สุ ข ภาพ เป นกติ ก าการอยู ร ว มกั น ใน สังคม หากปฏิบัติไดตามสิ่งที่รวมกันเขียนไว จะเปน เรื่องที่ดีมากๆ เพราะมีทั้งเรื่องการเคารพใหเกียรติซึ่ง กันและกัน เรื่องความสามัคคี การเสียสละ การคำนึง ถึงประโยชนสวนรวม และการดูแลพฤติกรรมสุขภาพ เพื่ อ ให ห า งไกลจากโรคภั ย ” ทวนทอง อ อ นอก ผอ.รพ.สต.ขี้เหล็ก นายทวนทอง ออนอก ผูอำนวยการโรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตำบลขี้เหล็ก อ.ปทุมรัตน จ.รอยเอ็ด กลาว ถึง ธรรมนูญสุขภาพ ต.ขี้เหล็ก วาเกิดจากความตองการ ของชาวขี้เหล็กที่ตองการพัฒนาให ต.ขี้เหล็กเปนชุมชน นาอยู หรือเปน “ชุมชนสุขภาวะ” ซึ่งเกิดจากการรวม กันสรางสุขภาพทั้ง 4 ดาน คือสุขภาพกาย สุขภาพใจ สุ ข ภาพสั ง คม และสุ ข ภาพทางป ญ ญา โดยมี อ งค ก าร บริหารสวนตำบลขี้เหล็ก ใหการสนับสนุนเปนอยางดี ทั้ง ในสวนของการดำเนินการ และงบประมาณ
ในการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ต.ขี้เหล็กนั้น มีการ ตั้งคณะกรรมการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ต.ขี้เหล็ก ซึ่งมี ตั ว แทนจากหลากหลายภาคส ว นที่ เ กี่ ย วข อ งมาร ว ม ดำเนินการ เปดโอกาสใหคนในชุมชนเขามามีสวนรวมใน การสะทอนปญหา ทั้งปญหาสุขภาพ สิ่งแวดลอม สังคม และรวมระดมสมองในการหาทางแกปญหา โดยปญหา สำคั ญ ๆที่ ช าวขี้ เหล็ ก เห็ นตรงกั น ว า ต อ งเร ง แก ได แ ก ปญหาการดื่มสุรา และปญหาเรื่องโรคภัย ขณะนี้ไดราง ธรรมนูญสุขภาพ ต.ขี้เหล็กแลว และอยูระหวางการรับ ฟงความเห็น คาดวาจะประกาศใชอยางเปนทางการได เร็วๆ นี้ การประกาศใชธรรมนูญสุขภาพตำบลขี้เหล็ก อาจ จะมีความสำคัญนอยสำหรับชาว ต.ขี้เหล็ก เมื่อเทียบกับ การเรงสรางความเขาใจ สรางการรับรู และสรางความ ตระหนั ก เกี่ ย วกั บ ธรรมนู ญ สุ ข ภาพ ผ า นการ ประชาสัมพันธในชองทางตางๆ เชน หอกระจายขาว ทั้งนี้เพราะชาว ต.ขี้เหล็กเห็นวา การรวมกันปฏิบัติตาม สิ่งที่เขียนไวในธรรมนูญมีความสำคัญมากที่สุด เพราะ ตองปฏิบัติจริงจึงจะนำไปสูสุขภาพดีอยางยั่งยืนได ทวนทอง กลาวอยางภาคภูมิใจวา “แมธรรมนูญ สุขภาพต.ขี้เหล็กยังไมไดประกาศใช แตเราก็เดินหนากัน ไปแลว มีความสำเร็จใหเห็นกันแลว เชนโครงการงาน ศพปลอดเหลา ไดผลดีมาก เราตกลงกันวา งานบุญ งาน ศพในตำบล จะตองไมมีเหลา ตรงนี้ชวยประหยัดคาใช จาย และสรางสุขภาพดวย นอกจากนี้ยังมีขอตกลงเรื่อง การห า มเล น การพนั น ในหมู บ า น การช ว ยกั น ดู แ ลสิ่ ง แวดลอมในพื้นที่สาธารณะ หากมีผู ใดฝาฝน ก็ตองเสีย คาปรับ นี่เปนการสรางสังคมนาอยู สุขภาพดี ไมมีขาย ชุมชนนาอยูก็ ไมมีขาย หากเรา ปรารถนาความอยูดีมีสุข ก็ตองชวยกันสรางชวยกันทำ ธรรมนูญสุขภาพที่เรารวมกันเขียน เปนขอตกลงรวมของ เรา เปนตัวบอกทิศทางวาเราจะเดินหนาสรางสุขภาพไป ดวยกันไดอยางไร ผมเชื่อวาเราเดินมาถูกทางแลว สิ่ง สำคัญคือ เราตองไมหยุดเดิน แลวเราจะไปถึงเปาหมาย ในที่สุด”
คุณภาพชีวิต
16
ปที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
คุณภาพชีวิต อยูดีมีสุข ปลอดทุกข ปลอดโรค
สพฉ. ขยายเครือขายกูชีพใน อปท. เพิ่ม “1 กูชีพ 1 ตําบล” ใหครอบคลุม
สพฉ. ตัง้ เปาขยายเครือขายกูช พี ในองคกร ปกครองสวนทองถิน่ เผยปจจุบนั มีทอ งถิน่ กวารอย ละ 60 ทีม่ รี ะบบการแพทยฉกุ เฉิน พรอมจัดประชุม ออกแบบกองทุนการแพทยฉุกเฉินในอปท.หวัง สนับสนุนงานใหมปี ระสิทธิภาพและมีความคลอง ตัวในการทํางาน เพิ่มโอกาสรอดชีวิตสําหรับผู ปวยฉุกเฉิน นพ.วิทยา ชาติบญ ั ชาชัย คณะกรรมการ การแพทยฉกุ เฉิน กลาววา ระบบการแพทยฉกุ เฉิน มีเปาหมายหลักคือใหประชาชนไดรบั บริการทางการ แพทยฉกุ เฉินทีไ่ ดมาตรฐาน มีประสิทธิภาพอยาง ทัว่ ถึงและเทาเทียม โดยการปองกันใหการเจ็บปวย ฉุกเฉินเกิดขึ้นนอยที่สุด จัดการใหผูปวยฉุกเฉิน ไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉินที่ไดมาตรฐาน จนพน ภาวะฉุกเฉินหรือไดรบั การบําบัดรักษาเฉพาะอยาง ทันทวงที ซึ่งจะสงผลใหลดการเสียชีวิตและลด ความพิการ จากการบาดเจ็บและเจ็บปวยฉุกเฉิน โดยเปาหมายดังกลาวนี้ตองอาศัยความ รวมมือในการดําเนินงานการแพทยฉุกเฉินจาก องคกรปกครองสวนทองถิน่ (อปท.) ซึง่ มีบทบาท ภารกิจทีบ่ ญ ั ญัตไิ วชดั เจนในพระราชบัญญัตกิ าํ หนด แผนและขัน้ ตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกร ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 ที่ระบุวาองคกร ปกครองสวนทองถิน่ สามารถดําเนินการการรักษา พยาบาลผูป ว ยฉุกเฉินไมวา เปนการรักษาในสถาน พยาบาลหรือนอกสถานพยาบาล และพระราช บัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ.2551 มาตรา 33 วรรคสองที่บัญญัติวา เพื่อสงเสริมการมีบทบาท ตามความพรอม และความจําเปนของประชาชนใน ทองถิน่ ใหคณะกรรมการการแพทยฉกุ เฉิน (กพฉ.)
นพ.อนุชา เศรษฐเสถียร เลขาธิการสถาบันการแพทยฉุกเฉิน แหงชาติ (สพฉ.) และ นพ.วิทยา ชาติบัญชาชัย คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน สนับสนุนและประสานองคกรปกครองสวนทองถิน่ เพือ่ กําหนดหลักเกณฑใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ เปนผู ดําเนินงานและบริหารจัดการระบบการแพทยฉกุ เฉินใน ระดับทองถิน่ หรือพืน้ ที่ “องคกรปกครองสวนทองถิน่ คือกลุม คนทํางาน ที่ถือวาใกลชิดกับประชาชนมากที่สุด ดังนั้นจึงถือวามี ความสําคัญ ซึ่งหากทองถิ่นมีการจัดระบบการแพทย ฉุกเฉินทีด่ ี ก็ยอ มสงผลใหประชาชนในพืน้ ทีไ่ ดรบั โอกาส และเขาถึงการบริการทางการแพทยฉกุ เฉินทีม่ ากขีน้ ดวย ดังนัน้ หากเราสามารถจัดระบบ และมีกองทุนการแพทย ฉุกเฉินเพือ่ สนับสนุนการทํางานใหมปี ระสิทธิภาพ และมี ความคลองตัวมากขึน้ ก็ยอ มสงผลดีดว ย” นพ.วิทยากลาว ดาน นพ.อนุชา เศรษฐเสถียร เลขาธิการสถาบัน การแพทยฉกุ เฉิน แหงชาติ (สพฉ.) กลาววา การจัด ประชุมดังกลาวมีขนึ้ เพือ่ คนหา และรวมกันพิจารณารูป
แบบกองทุนการแพทยฉกุ เฉินองคกรปกครองสวนทอง ถิน่ ระดับจังหวัด และนํามายกรางหลักเกณฑ ใหองคกร ปกครองสวนทองถิน่ สามารถดําเนินงานและบริหารจัด ระบบการแพทยฉกุ เฉินในการใหบริการแกประชาชนได ตามพระราชบัญญัตกิ ารแพทยฉกุ เฉิน พ.ศ.2551 ไดอยาง มีประสิทธิภาพและสอดคลองกับบริบทของแตละพืน้ ที่ สําหรับในอนาคต สพฉ.ตัง้ เปาวาจะตองมีองคกรปกครอง สวนทองถิน่ ทีม่ รี ะบบการแพทยฉกุ เฉินใหครอบคลุมมาก ทีส่ ดุ หรือ “1 กูช พี 1 ตําบล” เพราะการจัดตัง้ ชุดปฏิบตั ิ การที่ใหบริการครอบคลุมพื้นที่ ถือเปนโอกาสพัฒนา คุณภาพชีวติ ประชาชน อยางไรก็ตามปจจุบนั มีองคกรปกครองสวนทอง ถิน่ ทัง้ สิน้ รวม 7,851 แหง จําแนกเปนองคการบริหาร สวนจังหวัด 76 แหง เทศบาล 2,082 แหง องคการ บริหารสวนตําบล 5,693 แหง รูปแบบพิเศษ 2 แหง ใน
หนุน “พลังชุมชน” ฝาวิกฤตความมั่นคงทางอาหาร ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร ถือเปนหนึ่งในการ ทํางานของแผนงานสนับสนุนความมั่นคงทางอาหาร ที่ ดําเนินการโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุข ภาพ (สสส.) ผานการพัฒนาตนแบบระดับชุมชนและการขับ เคลือ่ นนโยบายระดับชาติ พ.ศ. 2553-2556 ทีส่ นับสนุนให เกิดชุมชนตนแบบทีส่ ามารถพึง่ พาตนเองดานอาหาร และเปน ศูนยเรียนรูใ นการขยายผลสูช มุ ชนอืน่ ๆ เพือ่ ขับเคลือ่ นใหเกิด นโยบายทัง้ ระดับชุมชน และระดับชาติวา ดวยเรือ่ งความมัน่ คง ทางอาหารทีเ่ ปนรูปธรรม ตลอดจนสนับสนุนใหเกิดเครือขาย ผูผ ลิต ผูบ ริโภค เพือ่ เปนทางเลือกของระบบกระจายอาหารที่ เกือ้ กูลและเปนธรรม
ในเวที “สานงาน เสริมพลัง รวมสรางประเทศไทยให นาอยู” ซึง่ จัดโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุข ภาพ (สสส.) นายสามารถ สะกวี ผูป ระสานงานเครือขาย กลุม ออมทรัพยคาบสมุทรสทิงพระ จ.สงขลา กลาวถึงความ สําเร็จของของการรวมมือกันระหวางกลุม สตรี กลุม พอเฒา แมเฒา กลุม เยาวชนในพืน้ ทีเ่ ปาหมายกวา 36 ชุมชน ในการ ฟนฟูและสงเสริมผักพื้นบานและวัฒนธรรมอาหารทองถิ่น วา ชุมชนคาบสมุทรสทิงพระเริม่ จัดตัง้ กลุม ออมทรัพยเมือ่ ป พ.ศ. 2533 ถือเปนการกอตัง้ สถาบันทางการเงินแหงแรกของ ชุมชน ผลกําไรทีไ่ ดจากการดําเนินงานของกลุม ออมทรัพยได นํามาดําเนินกิจกรรมตางๆ ในชุมชน หนึง่ ในนัน้ คือการนํามา ทํากิจกรรมในการศึกษาเรือ่ งผักพืน้ บานอาหารทองถิน่ ของชาว คาบสมุทรสทิงพระ มีการนําเรื่องผักพื้นบานและวัฒนธรรมอาหารทอง ถิน่ มาเชือ่ มระหวางคน 2 กลุม ไดแก กลุม เยาวชนและกลุม พอเฒาแมเฒาในพืน้ ที่ โดยใหพอ แกแมเฒาในชุมชนเปนผู ถายทอดความรูต า งๆ ใหแกกลุม ยาวชน มีการรณรงคและ สนับสนุนเมล็ดพันธุผ กั พืน้ บานใหแกโรงเรียน ตลอดจนการสง เสริมศิลปวัฒนธรรมพืน้ บานประยุกตการแสดงใหเขากับเรือ่ ง ผักพืน้ บานและวัฒนธรรมอาหารทองถิน่ จนเกิดเปนทีม่ าของ รานอาหารชุมชนอยาง “ครัวใบโหนด” “ครัวใบโหนด” ถือเปนครัวของชุมชน เพื่อคนใน ชุมชนอยางแทจริง เนื่องจากเปนครัวที่เชื่อมเรื่องของ วัฒนธรรมการกิน วัฒนธรรมทางอาหารทองถิน่ เขากับผูผ ลิต
และผูบ ริโภค ชาวบานในชุมชนเปนผูผ ลิตผักพืน้ บานเขาสูร า น อาหารครัวใบโหนด ขณะเดียวกันผูบริโภคก็ไดรับประทาน อาหารทองถิน่ อยางแทจริง นอกจากนีย้ งั เปนศูนยเรียนรูร ว ม กันของคนในทองถิ่น ตลอดจนมีกลุมคนในพื้นที่ตางๆ เขา มารวมเรียนรูและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงความสําคัญ ของการอนุรกั ษผกั พืน้ บานและอาหารทองถิน่ ซึง่ ถือเปนการ สรางคุณคาและความสําคัญของความมัน่ คงทางอาหารของ คนในชุมชน เชนเดียวกับ นายธีระพล โพธิ์พา เกษตรกรจาก อ.ตระการพืชผล ในฐานะตัวแทนชุมชนตนแบบในการอนุรกั ษ และฟนฟูขาวพื้นบาน จ.อุบลราชธานี ที่ไดแสดงใหเห็นวา กลไกสําคัญอยางชุมชน เปนตัวอยางของความสําเร็จในการ อนุรกั ษและฟน ฟูขา วพืน้ บาน จากเดิมทีใ่ นชุมชนเหลือพันธุ ขาวพืน้ บานเพียง 4 สายพันธุเ ทานัน้ เมือ่ คนในชุมชนตระหนัก วาหากไมรว มกันอนุรกั ษขา วพืน้ บานอยางจริงจัง พันธุข า วพืน้ บานก็จะสูญหายไปจากชุมชน โครงการ “ขาว ปลา อาหาร อีสานมัน่ ยืน” จึงเกิดขึน้ มา เพือ่ ทํางานรวมกับชุมชนตางๆ กวา 150 ชุมชน เพือ่ ปรับปรุงและพัฒนาพันธุข า วพืน้ เมือง ตลอดจนการอนุรักษวังปลาในลํานํ้ามูลและชี เพื่อสราง ชุมชนตนแบบความมั่นคงทางอาหารใหเกิดขึ้น กอนที่จะมี การพัฒนาหลักสูตรทองถิน่ รวมกับโรงเรียนตางๆ ในพืน้ ทีเ่ ปา หมาย เพือ่ สรางภาคเครือขายในการทํางานในการสรางชุมชน ทีส่ ามารถสรางความเขมแข็งและพึง่ พาตนเองเรือ่ งอาหารได ในชวงป พ.ศ. 2555 ทีผ่ า นมาชุมชนตนแบบในการ อนุรกั ษและฟน ฟูขา วพืน้ บาน จ.อุบลราชธานีไดกวา 144 สาย พันธุ มีการคัดเลือก พัฒนา และปรับปรุงสายพันธุข า วพืน้ บาน โดยการมีภาคีเครือขายรวมกันในการทํางาน พันธุข า วพืน้ เมือง ทีไ่ ดรบั การอนุรกั ษมเี ครือขายตามชุมชนตางๆ นําไปปลูก โดย คัดเลือกใหเหมาะสมกับสภาพพืน้ ทีข่ องชุมชนของตัวเอง มี การวางแผนการผลิตตามคุณลักษณะของพันธุข า ว ทัง้ ทีเ่ ปน ขาวเบา ขาวกลาง ขาวหนัก ทีม่ รี ะยะเวลาของการเพาะปลูก การเก็บเกีย่ วทีแ่ ตกตางกัน ดวยจุดเดนของขาวพันธุพ นื้ บาน ทีม่ คี วามทนทานตอเรือ่ งศัตรูพชื โรคแมลงตางๆ จนสามารถ จําหนายทัง้ เมล็ดพันธุข า วพืน้ บาน และขาวสารได พลังชุมชนตางๆ ที่ลุกขึ้นมารวมสรางความมั่นคง ทางอาหาร ลวนเปนความสําเร็จที่เกิดจากการดําเนินงาน ตามยุทธศาสตรความมัน่ คงทางอาหาร ทีส่ าํ นักงานกองทุน สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยแผนงาน สนับสนุนความมัน่ คงทางอาหาร และภาคีเครือขายทีเ่ กีย่ วของ ไดรว มกันสรางระบบอาหารทีย่ งั่ ยืน เกือ้ กูล และเปนธรรม ตามเปาหมายทีช่ มุ ชนไดรว มกันวางไวกวา 439 แหง โดยเปา ดังกลาวจะประสบความสําเร็จไดตองเกิดจากการรวมพลัง ของชุมชน ในการรวมกันสรางชุมชนตนแบบทีส่ ามารถพึง่ พา ตนเองดานอาหาร และพรอมทีจ่ ะขยายผลของความสําเร็จสง ผานไปยังชุมชนอืน่ ๆ เพือ่ สรางความมัน่ คงทางอาหารใหเกิด ขึน้ อยางแทจริงและยัง่ ยืนตอไป
จํานวนนีม้ อี งคกรปกครองสวนทองถิน่ ทีด่ าํ เนินงาน และบริหารจัดการระบบการแพทยฉุกเฉินเฉพาะ ในพืน้ ทีต่ นเอง 4,731 แหง คิดเปนรอยละ 60.03 เมือ่ รวมการดําเนินงานกับภาคีเครือขาย เชน มูลนิธิ และหนวยงานอื่นที่มีสวนรวมในพื้นที่จะมีความ ครอบคลุมจํานวน 6,683 แหง คิดเปนรอยละ 85.12 ในจํานวนนีม้ กี ารปฏิบตั งิ านเพือ่ รับสงผูป ว ยฉุกเฉิน จํานวน 4,026 แหง คิดเปนรอยละของการปฏิบตั ิ งาน 60.24 นอกจากนีย้ งั พรอมบูรณาการการทํางานกับ เครือขายมูลนิธกิ ชู พี โดยเครือขายการแพทยฉกุ เฉิน ภาคเอกชนทีส่ งั กัดมูลนิธติ า งๆ ถือวามีความสําคัญ มากเครือขายหนึ่งในระบบการแพทยฉุกเฉินของ ประเทศไทย รวมทัง้ เปนกําลังหลักในการชวยเหลือ งานดานการแพทยฉกุ เฉินเนือ่ งจากมีการปฏิบตั งิ าน กระจายอยูแ ทบทุกพืน้ ที่ และทีส่ าํ คัญมีจติ อาสาและ พลังใจพรอมที่จะใหความชวยเหลือผูประสบภัย ตลอดเวลาโดยไมหวังผลตอบแทนทําใหเสริมงาน ดานการแพทยฉุกเฉินที่ผานมาใหมีประสิทธิภาพ แตอยางไรก็ตามจําเปนตองมีการพัฒนางานดาน การแพทยฉกุ เฉินไปอยางตอเนือ่ ง เพือ่ รองรับกับผู ปวยฉุกเฉิน ทีน่ บั วันจะยิง่ มีจาํ นวนมากขึน้ เรือ่ ยๆ โดยเปาหมายของการพัฒนาจะเนนใน 5 เรือ่ งหรือ 5 ค. คือ1.ครอบคลุม การบริการผูป ว ย ตองวิกฤตจริงๆ เชน ไดรบั อุบตั เิ หตุบาดเจ็บ หรือ เปนโรคประจําตัว 2.คลองแคลว คือเพิ่มจํานวน หนวยกูชีพใหครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อใหสามารถ ไปถึงผูรับบริการอยางปลอดภัยภายใน 8 นาที จากเดิม 10 นาที 3.คุณภาพ มีการประเมินการ ทํางานตนเองใหไดมาตรฐานแทจริง 4.คุมครอง ปองกันผูปฏิบัติการฉุกเฉินและสังคมรอบขางที่ เกี่ยวของกับเหตุฉุกเฉิน และ 5.ครบ 24 ชั่วโมง โดยเครือขายการแพทยฉุกเฉินตองพรอมทํางาน ตลอดซึ่งจะทําใหการชวยเหลือประชาชนมีความ ถูกตอง มีคณ ุ ภาพ ไดมาตรฐานและเปนทีไ่ ววางใจ ของประชาชนที่จะขอความชวยเหลือมากยิ่งขึ้น
“บานคลองสําโรง”
สรางชุมชนเขมแข็งตานยาเสพติด ผลสํารวจการแพรระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย จากสํานักวิจัยเอแบคโพลสํารวจ พบวา ยาบาเขาถึงเยาวชนทั่ว ประเทศไดงายที่สุด ถึงแมในปจจุบันจะมีการปราบปรามอยาง เขมงวด หมอมหลวงยุพดี ศิริวรรณ ที่ปรึกษาสํานักงานโครงการ ทูบี นัมเบอรวัน กลาววา ชมรม ทูบีนัมเบอรวัน เปนชมรมที่สราง กิจกรรมดีๆ เพื่อตอตานและปองกันปญหา ยาเสพติดรวมกัน สามารถจัดตัง้ ขึน้ ไดในชุมชนเพือ่ รณรงคปอ งกันและแกไขปญหายา เสพติดทีม่ งุ เนนสรางกิจกรรมใหเกิดการชวยเหลือแบบ “เพือ่ นชวย เพื่อน” ซึ่ง ชมรม ทูบีนัมเบอรวัน บานคลองสําโรง อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เปนอีกหนึ่งชมรมประเภทชุมชนภูมิภาค ที่ เปนผูนําทางดานความเขมแข็งสามารถสรางกลยุทธเพื่อดึงความ รวมมือจากประชาชนและเยาวชนในชุมชนสรางเกาะคุมกันใหลูก หลานหางไกลยาเสพติดไดเปนอยางดี นางสาวทิพพรรณ ไชยูปถัมภ หัวหนากลุมงานสารสนเทศ การพัฒนาชุมชน ชมรมทูบี นัมเบอรวนั เลาวา ชมรม ทูบี นัมเบอรวนั บานคลองสําโรง เกิดขึน้ โดยการสนับสนุนของนายธนน เวชกรกานนท ผูว า ราชการจังหวัดสมุทรสงคราม โดยมอบหมายใหสาํ นักงานพัฒนา ชุมชนเปนหนวยดําเนินการพื้นที่เปาหมายคือ บานคลองสําโรง หมูท ี่ 4 ตําบลจอมปลวก เริม่ ดําเนินการในเดือนเมษายน 2555 โดย กรรมการบริหารชมรมฯ มีจาํ นวน 30 คน ประกอบดวยกลุม เยาวชน ในพื้นที่ ผูนําชุมชน คณะกรรมการกองทุนแมของแผนดิน และ เจาหนาที่ภาคราชการที่เกี่ยวของมีสมาชิกจํานวน 72 คน ชมรมทูบี นัมเบอรวัน บานคลองสําโรง มีการดําเนินงานที่ ชัดเจน ภายใตหลักหลอมรวมทิศทาง ประกอบดวย 1. การศึกษาดู งาน ที่ ต.คลองเรือ อ.วิหารแดง จ.สระบุรี 2. รูเขา รูเรา รวมกัน ถอดบทเรียนกันวาไดอะไรจากการศึกษาดูงาน และชวยกันคิด คือ ชมรม ทูบี นัมเบอรวัน ปดทายดวยการคัดเลือกคณะกรรมการชม รมฯ โดยใหผูตองการเปนคณะกรรมการบริหาร ออกมานําเสนอ นโยบายการบริหารชมรมฯ เพื่อใหสมาชิกชมรมฯ ไดตัดสินใจเลือก จากนั้นก็ไดมารวมกันกําหนดวิสัยทัศนชมรม ซึ่งก็คือใสใจ สิ่งแวดลอม นอมนําเศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงยาเสพติด รวม คิดสรางสรรคกาวสูความเปนหนึ่ง สุดทายชวนกันวางแผนดําเนิน การใหชมรมฯ โดยมีกจิ กรรมพัฒนาอาชีพสรางรายได ใหประชาชน และเยาวชนในพื้นที่
แนะวิธีรับมือความเครียดชวงเปดเทอม คนในครอบครัว การนอนหลับพักผอนอยางพอเพียงวันละ 7-8 เริ่มตนยางกาวเขาสูชวงเปดเทอมใหมกันแลว ทั้ง ชัว่ โมงจะทําใหลดความเครียดและความวิตกกังวลได การฝกทํา เด็กๆ และพอแมผปู กครองก็ตอ งปรับตัวกันอีกครัง้ หลังการ สมาธิจะสามารถชวยลดความเครียดไดอยางมหาศาลและตอสู ปดเทอมใหญที่ไดหยุดยาวติดตอกันมาหลายเดือน ปญหา กับปฏิกริ ยิ าในแงลบจากความเครียดและชวยใหรสู กึ ผอนคลาย สําคัญที่พบวามักมากับชวงเปดภาคเทอมใหมอยูเสมอ ก็คือ เมื่อเกิดปญหาจะชวยใหควบคุมอารมณไดดี ซึ่งทั้งหมดนี้เปน ความเครียดของผูเปนพอแม ผูปกครองจากภาระคาใชจาย วิธกี ารจัดการกับความเครียดทีท่ กุ คนสามารถทําไดดว ยตนเอง ตางๆโดยเฉพาะยุคขาวยากหมากแพงแบบนี้ หลายทานถึง ที่ สํ า คั ญ อย า ปล อ ยให ค รอบครั ว ต อ งจมอยู กั บ กลับหัวหมุนเพราะอาจชักหนาไมถึงหลัง จนสงผลใหหลาย ความเครียด ควรรูจ กั ทีจ่ ะจัดการความเครียดใหไดไมหงุดหงิดใส ครอบครัวเครียดถึงขั้น กินไมได นอนไมหลับกันเลยทีเดียว กัน ไมสรางบรรยากาศตึงเครียดใหเพิม่ ขึน้ สมาชิกในครอบครัว พญ.พรรณพิมล วิปุลากร รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต ควรหาเวลาทํากิจกรรมรวมกัน เชน ทานขาวรวมกัน หันหนา กลาววา ในชวงเปดภาคเรียนใหมนี้อาจมีหลายครอบครัวที่ ปรึกษากันอยางตรงไปตรงมา เลาสารทุกขสกุ ดิบใหกนั ฟง ซึง่ จะ พญ.พรรณพิมล วิปุลากร ประสบกับความเครียด เนื่องจากมีปญหาดานการเงินเพราะ รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต เปนการสรางความเขาใจทีถ่ กู ตอง ลูกจะไดเขาใจสถานะทางการ มีอันตองใชจายไปกับคาเสื้อผา คาเลาเรียน คาอุปกรณการ เงินของครอบครัว ในเมือ่ ตางฝายตางพูดภาษาเดียวกันยอมหา เรียนใหมของลูกๆ ยิง่ ถาบุตรหลานตองเปลีย่ นระดับชัน้ เชน ม. 3 เขา ม.4 หรือ ม.6 เขาสูร วั้ มหาวิทยาลัยคาใชจา ยจะยิง่ สูงขึน้ ไปอีกเทาตัว เมือ่ หนทางออกไดไมยาก ถาบานไหนทีเ่ งินฝดเคือง หมุนเงินไมทนั ลูกก็ตอ งชวยกันเปน จํานวนเงินที่จายไมสมดุลกับรายรับความเครียดทั้งหมดจึงตกอยูที่คุณพอคุณแม ธุระเดินเรือ่ งใหพอ แม รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต แนะนําเพิม่ เติมวาการฝกทําบัญชีรายรับรายจายก็ ดังนั้นอยากใหคุณพอคุณแมที่เปนหัวหนาครอบครัวเตรียมรับมือกับ สถานการณ หากมีความตึงเครียดตองรูจักจัดการกับความเครียดดวยตนเอง เปนอีกแนวทางหนึง่ ทีจ่ ะชวยลดความตึงเครียดดานภาระคาใชจา ยใหกบั ครอบครัวได ซึ่งมีหลายวิธีดวยกัน เชน ฝกการหายใจการหายใจเขาลึกๆ เปนการผอน ดังนัน้ แตละครอบครัวควรฝกทําบัญชีรายรับรายจายใหเปนนิสยั จะไดมกี ารวางแผน คลายความเครียดที่งายดาย และมีประโยชนอยางมากตอรางกาย รวมถึง การใชเงินวาจะตองจายในสิง่ ใดเปนอันดับแรก เพือ่ จะไดตดั ทอนสิง่ ทีไ่ มจาํ เปนออก เป น การเติ ม ออกซิ เ จนในเลื อ ดที่ ช ว ยปลุ ก สมองให ตื่ น ตั ว ผ อ นคลายกล า ม ไป เปนการฝกนิสยั ใหรจู กั มัธยัส ไมหรูหราฟุม เฟอยจนเกินกําลังเงิน “นอกจากนีใ้ นสวนของเด็กๆ พอถึงเวลาเปดเทอมทีกจ็ ะตองมีการปรับตัว เนื้ อ และทํ า ให จิ ต ใจความคิ ด สงบ การฝ ก หั ด หายใจสามารถทํ า ได ทุ ก หนทุ ก แห ง และได ผ ลอย า งรวดเร็ ว และสามารถคลายเครี ย ดได ใ นพริ บ ตา เด็กทีป่ รับตัวไมไดจะมีความเครียด เนือ่ งจากเกิดความกังวลในหลายๆ เรือ่ ง หลัง การออกกําลังกายจะชวยหันเหความสนใจไปจากสถานการณอนั ตึงเครียด จากปดเทอมไปนานอาจยังคุน กับการอยูบ า น อยูก บั พอแม และยังไมอยากไปโรงเรียน และทําใหชนื่ บานดวยการหลัง่ ของเอ็นโดรฟน การสรางอารมณขนั ใหกบั ตัวเองดวย หรือมหาวิทยาลัย คุณพอคุณแมคงตองใหเวลาเด็กๆ ไดปรับตัว มีการพูดคุยกับลูก การหัวเราะโดยเฉพาะเมือ่ เวลาเกิดความเครียด เพราะการหัวเราะจะชวยลดความ ใหบอ ย เพือ่ ใหเขาไดกลับไปเรียนใหไดเหมือนเดิม” รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต กลาว ตึงเครียดไดเปนอยางดี หรือจัดเวลาสําหรับงานบันเทิงคุยเรือ่ งตลกหรือดูตลกรวมกับ ทิง้ ทาย
ประชุมมะเร็งเตานม มะเร็งวิทยาสมาคมแหงประเทศไทย รวมกับบริษัท โนวารตีส(ประเทศไทย) จํากัด จัดงานกิจกรรมทาง วิชาการ 2013 Breast Cancer Tours ซึ่งเปนงาน ประชุมวิชาการทางดานความกาวหนาและนวัตกรรม ในการรักษาโรคมะเร็งเตานมระยะลุกลาม เพือ่ ใหความรู แกบุคลากรทางการแพทย ผูปวย และสื่อมวลชน โดย มีวิทยากรรับเชิญไดแก นพ.คารลอส บารริออส จากประเทศบราซิล และนพ.ซูนิล เวอรมา จาก ศูนย มะเร็ง มหาวิทยาลัยโตรอนโต ประเทศแคนาดา รวมกัน กับทีมวิทยากรผูเ ชีย่ วชาญจากมะเร็งวิทยาสมาคมแหง ประเทศไทยนําโดย รศ. คลินกิ พญ.สุดสวาท เลาหวินจิ ใหการบรรยายและรวมอภิปราย ณ โรงแรมพลาซา แอทธินี กรุงเทพฯ
เศรษฐกิจชุมชน
ปีที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
17
เศรษฐกิจชุมชน สร้างคุณภาพชีวิต สร้างเศรษฐกิจพอเพียง
หนุนโอทอปดาวเด่นสู่ตลาดสากล ปั๊มยอดแตะ1แสนล้านรับเออีซี
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร การพั ฒ นาโครงการหนึ่ ง ต� ำ บลหนึ่ ง ผลิตภัณฑ์(โอทอป)เป็นหนึง่ ในนโยบายเร่งด่วน ของรัฐบาล ที่ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา เศรษฐกิจฐานรากของประเทศ เพือ่ ส่งเสริมให้ เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้ กับชุมชนท้องถิน่ ได้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ทัง้ นีจ้ ะ ต้องมีการสนับสนุนให้ชมุ ชนได้มโี อกาสเข้าถึง องค์ความรูส้ มัยใหม่แหล่งเงินทุน การพัฒนาขีด ความสามารถการบริหารจัดการ การผลิตการ ตลาด เพือ่ ให้แต่ละชุมชนสามารถใช้ทรัพยากร และภูมปิ ญ ั ญาในท้องถิน่ มาพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการได้อย่างเต็มที่ และมีคณ ุ ภาพ ตลอด จนพัฒนาจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับ วัฒนธรรมและวิถชี วี ติ ของตนเอง โดยในช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมา น.ส.ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ระบุวา่ ผลิตภัณฑ์สนิ ค้า โอทอปมีการพัฒนาฝีมอื มากขึน้ ซึง่ รัฐบาลให้การ สนับสนุนวิสาหกิจชุมชน และอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดย่อม(เอสเอ็มอี)อย่างต่อ เนือ่ ง รวมถึงการสนับสนุนให้ชมุ ชนมีโอกาสเข้า ถึงองค์ความรูส้ มัยใหม่ แหล่งเงินทุน การพัฒนา ขีดความสามารถในการบริหารจัดการ การผลิต การตลาด
ทัง้ นีส้ นิ ค้าโอทอป จะต้องมีการพัฒนาให้ มีคณ ุ ภาพมากขึน้ เพือ่ ให้กา้ วไปสูส่ ากล ซึง่ ทีผ่ า่ น มารัฐบาลพยายามส่งเสริมจุดจ�ำหน่ายสินค้า โอทอปให้ไปอยู่บนห้างสรรพสินค้า ไม่เพียง เฉพาะในประเทศ แต่ตอ้ งสามารถวางจ�ำหน่าย บนห้างสรรพสินค้าทั่วโลกได้ด้วย ซึ่งขณะนี้มี สินค้าโอทอปกว่า 300 ราย วางจ�ำหน่ายในห้าง สรรพสินค้าภายในประเทศแล้ว โดยมียอดขาย รวมกว่า 100 ล้านบาท นอกจากนี้ ในอนาคตหากมีการลงทุน ขนาดใหญ่ 2 ล้านล้านบาทของรัฐบาลจะเชือ่ ม ต่อให้การคมนาคมขนส่งไปยังประเทศต่างๆ ทั้งในและนอกภูมิภาคได้อย่างสะดวกและมี ประสิทธิภาพจะช่วยเพิม่ โอกาสการส่งออกให้กบั ผูป้ ระกอบการ OTOP ทัง้ การขนส่งวัตถุดบิ และ สินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ OTOP จะถูก จัดจ�ำหน่าย ทัง้ บนรถไฟ และทีส่ ถานีรถไฟ จะ เป็นสินค้าเพือ่ การอุปโภคบริโภค และสินค้าส่ง เสริมการท่องเที่ยว ที่สะท้อนให้เห็นอัตลักษณ์ และวัฒนธรรมของท้องถิน่
ประวัตคิ วามเป็นมาของและต้องสัง่ ผลิตเท่านัน้ กลุ่ม C สินค้าวิสาหกิจชุมชน และ กลุ่ม D สินค้าดาวเด่นชุมชน ทัง้ อุปโภค บริโภค โดยจะ พัฒนาให้มีความน่าสนใจและมีมูลค่าเพิ่ม ซึ่ง ทั้งกลุ่ม C และ D จะเป็นสินค้าหลากหลาย ประเภท คุณภาพปานกลางผลิตได้มากและมี ขายในท้องถิน่ ปั จ จุ บั น สิ น ค้ า โอทอปไทยมี จ� ำ นวน 71,739 ราย แบ่งเป็น สินค้าประเภท A มีจำ� นวน 5,687 สินค้า สินค้าประเภท B จ�ำนวน 15,168 สินค้า สินค้าประเภท C จ�ำนวน 23,489 สินค้า
และสินค้าประเภท D จ�ำนวน 27,395 สินค้า โดยเป้าหมายส�ำคัญต้องการให้สนิ ค้าประเภท C และ D เข้าสูร่ ะดับ B และ A มากขึน้ “ที่ผ่านมาได้มีการขยายช่องทางการ ตลาดในการจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า โอทอปเพิ่ ม ขึ้ น อาทิ ห้างสรรพสินค้าต่างๆ ธนาคาร สนามบิน แอร์พอร์ตลิงค์ห้างโมเดินเทรด ฯลฯ และใน อนาคตจะท�ำเป็นศูนย์กระจายสินค้าบริเวณใต้ ทางด่วน 3 จุด ได้แก่ทางด่วนรามอินทรา สีลม และเพลินจิต เพือ่ เข้าถึงกลุม่ ลูกค้าโดยตรง ได้ ตลอดทัง้ ปี”
• คัดเกรดสินค้า A-D
ด้านนายขวัญชัย วงศ์นติ กิ ร อธิบดีกรม การพัฒนาชุมชน กล่าวว่า การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ได้เริม่ ด�ำเนินการมาตัง้ แต่ปี 2545 และ ในปี 2555 ทีผ่ า่ นมายอดขายโอทอปมีมลู ค่าเกือบ 80,000 ล้านบาท จากผูป้ ระกอบการกว่า 36,000 ราย ทัง้ นี้ กรมการพัฒนาชุมชน มีแผนจะเปลีย่ น แนวทางการพัฒนาสินค้า OTOP ไทยใหม่ จาก การแบ่งสินค้าตามประเภท และให้คะแนน คุณภาพเป็นดาว 1-5 ดาว มาเป็นการแบ่งตาม กลุ่มสินค้าเพื่อให้สามารถวางแผนการตลาดให้ เหมาะสมกับสินค้าแต่ละกลุม่ โดยจะแบ่งเป็นกลุ่ม A สินค้าดาวเด่น สู่สากล มีคุณภาพสูงสุด ส่งออกไปขายในต่าง ประเทศ กลุม่ B สินค้าทีเ่ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ของไทย จากภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้านอย่างแท้จริง มี
• หนุน OTOP เข้าปัม๊ ปตท.
ขณะที่ บริษทั ปตท.จ�ำกัด(มหาชน) ได้ จัดท�ำ โครงการสนับสนุนการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ในสถานีบริการน�ำ้ มัน ปตท. หรือ OTOP by PTT โดยใช้สถานีบริการน�้ำมันของ ปตท. เป็นช่องทางในการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ของชุมชน และยังเป็นสถานทีเ่ จรจาทางการค้า ระหว่างผูซ้ อื้ และผูข้ ายโดยไม่ผา่ นพ่อค้าคนกลาง ท�ำให้ชมุ ชนได้รบั ผลประโยชน์โดยตรงและเต็มที่ สามารถสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ชมุ ชน น�ำไป สูก่ ารพัฒนาผลิตภัณฑ์ตรงตามความต้องการของ ผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งจะเป็นส่วน ส�ำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน และเสริ มสร้ างระบบเศรษฐกิ จโดยรวมของ ประเทศ
เสียงสะท้อนผู้ประกอบการ
นางสายสุณี ไชยหงษา ประธาน กลุม่ ทอผ้าย้อมสีธรรมชาติบา้ นนาเชือก(มูล ควาย)ต.แร่ อ.พังโคน จ.สกลนคร กล่าวว่า ปัญหาค่าขนส่งที่เพิ่มขึ้นท�ำให้ต้นทุนปรับ เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 10-20 บาทต่อตัว จากเดิม ที่ไม่มีต้นทุนมากนัก เนื่องจากผลิตภัณฑ์ ของกลุม่ เป็นชิน้ งานขนาดใหญ่ทำ� ให้เปลือง เนื้อที่ในการขนส่ง นอกจากนี้ อยากให้ หน่วยงานของรัฐบาลเข้ามาสนับสนุนกลุ่ม
ลู่ทางสิ่งทอ-เครื่องนุ่งห่มไทย ในกัมพูชา กัมพูชา เป็นประเทศหนึง่ ทีอ่ ตุ สาหกรรมเครือ่ งนุง่ ห่มเติบโตมากทีส่ ดุ ใน โลก ปัจจุบนั นักลงทุนต่างชาติพงุ่ เป้าการลงทุนในธุรกิจสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มไปยัง กัมพูชาเพิม่ ขึน้ ทุกๆ ปี โดยมีแรงจูงใจหลักมาจากค่าจ้างแรงงานทีย่ งั อยูใ่ นระดับต�ำ่ และการได้รบั สิทธิพเิ ศษต่างๆ ทัง้ จากรัฐบาลกัมพูชาและจากประเทศคูค่ า้ ดังนัน้ ภายใต้สถานการณ์ตน้ ทุนการผลิตในประเทศทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ของไทย กัมพูชาจะเป็น ทางเลือกทีน่ า่ สนใจอยูไ่ ม่นอ้ ย ส�ำหรับผูป้ ระกอบการสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มไทยที่ จะเข้าไปท�ำการค้าการลงทุน ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้วิเคราะห์โอกาสทางธุรกิจ สิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มในกัมพูชา โดยมีประเด็นทีน่ า่ สนใจ ดังนี้ ความได้เปรียบค่าจ้างแรงงาน ... เสมือนเป็นแม่เหล็กดึงดูดนักลงทุน ซึง่ ผลจากการขาดแคลนแรงงาน ประกอบกับการปรับเพิม่ ค่าแรงขัน้ ต�ำ่ 300 บาท ส่ง ผลให้ตน้ ทุนการผลิตในธุรกิจสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่ม ในไทยสูงขึน้ ผูป้ ระกอบการหลายรายจึงเริม่ มองหา แหล่งขยายการผลิตในต่างประเทศ และกัมพูชาก็ เป็นทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ หากพิจารณาถึงจุด เด่นคงต้องยอมรับว่า ปัจจัยหลักยังคงมาจากค่าจ้าง แรงงานทีย่ งั อยูใ่ นระดับต�ำ่ ขณะเดียวกัน แรงสนับสนุนจากทางภาค รัฐและสิทธิประโยชน์ด้านการส่งออก จะช่วย ผลักดันการเติบโตของธุรกิจสิ่งทอและเครื่องนุ่ง ห่มในกัมพูชาเพิ่มสูงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการยกเว้น ภาษีนิติบุคคล การยกเว้นภาษีน�ำเข้าวัตถุดิบและ เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต ตลอดจนการโอนเงิน ออกนอกประเทศได้อย่างเสรี ทีร่ ฐั บาลกัมพูชามอบ ให้แก่นักลงทุนต่างชาติที่เข้าไปลงทุนท�ำการผลิต เพือ่ ส่งออกในกัมพูชา รวมถึงโอกาสทีจ่ ะได้รบั สิทธิ พิเศษทางภาษีศลุ กากร (GSP) ส่งออกไปประเทศที่ พัฒนาแล้วกว่า 26 ประเทศ ในฐานะกลุม่ ประเทศ ด้อยพัฒนา (LDCs) ยังเปรียบเสมือนแต้มต่อส�ำคัญ ทีจ่ ะท�ำให้นกั ลงทุนต่างชาติรวมถึงไทย เพิม่ ขีดความสามารถทางการแข่งขันในตลาด คูค่ า้ หลักอย่าง สหรัฐฯและสหภาพยุโรปได้ นอกจากนี้ พืน้ ทีเ่ หมาะสมในการลงทุน ยังคงเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษและ นิคมอุตสาหกรรม ด้วยแรงจูงใจทางธุรกิจส่งผลให้ผปู้ ระกอบการไทยบางส่วน ต่าง วางแผนขยายฐานการผลิตในกัมพูชามากขึ้น โดยส่วนใหญ่สนใจเข้าไปลงทุนใน บริเวณจังหวัดสวายเรียง (เขตเศรษฐกิจพิเศษแมนฮัตตัน) บันเตียเมียนเจย (นิคม อุตสาหกรรมโอเนียง ศรีโสภณ) สีหนุวลิ ล์ (นิคมอุตสาหกรรมสีหนุวลิ ล์) เกาะกง (นิคมอุตสาหกรรมเกาะกง) และนิคมอุตสาหกรรมอืน่ ๆ รอบกรุงพนมเปญ เนือ่ งจาก บริเวณดังกล่าวไม่อยูไ่ กลจากเมืองหลวงมากนัก ติดต่อกับเจ้าหน้าทีท่ อ้ งถิน่ ท�ำได้งา่ ย ขณะเดียวกันก็มสี าธารณูปโภคพืน้ ฐาน (ระบบไฟฟ้าและระบบน�ำ้ ) และเส้นทาง คมนาคมทีส่ ะดวก ซึง่ เอือ้ ต่อการขนส่งสินค้าวัตถุดบิ และสินค้าส�ำเร็จรูปจากโรงงาน
อย่างไรก็ตาม ในปี2556 กรมการพัฒนา ชุมชนตัง้ เป้ายอดขายโอทอปอยูท่ ี่ 8.5 หมืน่ ล้าน บาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2555 ทีม่ ยี อดขายรวม 7.5 หมืน่ ล้านบาท โดยจะผลักดันให้ยอดขายสินค้า โอทอปเติบโตปีละ 15% และตั้งเป้ายอดขาย แตะ 1 แสนล้านบาทภายในปี 2558 ทัง้ นีใ้ นการ จัดงาน OTOP Midyear 2013 : The Power of Thai Wisdom “พลังภูมปิ ญ ั ญาไทย ก้าวไกล สูส่ ากล” ขึน้ ระหว่างวันที่ 28 พฤษภาคม - 2 มิถนุ ายน 2556 ทีผ่ า่ นมา ณ ศูนย์แสดงสินค้า และการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัด นนทบุรี มีผเู้ ข้าชมงานกว่า 439,519 คน และ มียอดการจ�ำหน่ายสินค้า ยอดสัง่ จองในงาน สูง กว่า 723,761,704 บาท
ไปยังตลาดหรือท่าเรือได้งา่ ย จากการทีก่ มั พูชาเป็นตลาดสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มทีส่ ำ� คัญติด 1 ใน 5 ของ อาเซียน ซึง่ เป็นตลาดส่งออกสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มอันดับ 1 ของไทย ดังนัน้ จาก ปัจจัยสนับสนุนทีก่ ล่าวมาข้างต้น น่าเป็นโอกาสทีด่ ที นี่ กั ลงทุนไทยจะสามารถเข้าไป ท�ำการตลาดสิง่ ทอต้นน�ำ้ โดยอาศัยข้อได้เปรียบในเรือ่ งของท�ำเลทีต่ งั้ ทีอ่ ยูใ่ กล้กมั พูชา (ต้นทุนค่าขนส่งไม่สงู มาก ส่งมอบสินค้าได้รวดเร็ว มีความคล่องตัวด้านบริหารจัดการ สต๊อกวัตถุดบิ ) อีกทัง้ อัตราภาษีนำ� เข้ายังอยูใ่ นระดับต�ำ่ (ร้อยละ 5-20 จากข้อตกลง เขตการค้าเสรีอาเซียน) และคุณภาพ สินค้าทีไ่ ด้มาตรฐาน และเป็นทีย่ อมรับของคูค่ า้ ทัง้ รูปแบบดีไซน์และความสวยงาม จากความเข้มแข็งของอุตสาหกรรมต้นน�ำ้ กลาง น�ำ้ ของสายการผลิตสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มในประเทศของไทย เมือ่ เทียบกับประเท ศอืน่ ๆ ในภูมภิ าคเดียวกัน ศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย คาดว่า การส่งออกสิง่ ทอ ซึง่ เป็นวัตถุดบิ ต้นน�ำ้ ของไทยไปยังกัมพูชาในปี 2556 น่าจะมีโอกาสพุง่ ไปอยูท่ รี่ ะดับ 120 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 25.0 (YoY) โดยสินค้าทีม่ ศี กั ยภาพใน การท�ำตลาด ได้แก่ ผ้าผืน (ทัง้ ในส่วนของผ้าถักและผ้า ทอ) รวมไปถึงเส้นด้ายระดับกลางถึงบน อย่างไรก็ตาม แม้วา่ กัมพูชาจะมีหลากหลาย ปัจจัยทีด่ งึ ดูดนักลงทุน แต่ตอ้ งพึงระวังเรือ่ ง ต้นทุนแฝง ในลักษณะ Informal Law ท�ำให้ผปู้ ระกอบการอาจจะมี ค่าใช้จา่ ยทีเ่ พิม่ ขึน้ นอกเหนือจากค่าจ้างแรงงาน อีกทัง้ ทักษะแรงงานยังต�ำ่ และจ�ำกัดอยูแ่ ค่ระบบการรับจ้าง ผลิต (OEM) ในลักษณะ CUT MAKE AND TRIM (C.M.T) ทีผ่ วู้ า่ จ้างเป็นผูจ้ ดั หาวัตถุดบิ ให้ผผู้ ลิตท�ำการ ตัดและเย็บตามค�ำสัง่ เท่านัน้ เนือ่ งจากยังขาดแคลน แรงงานฝีมอื และช่างเทคนิคระดับกลางขึน้ ไป ส่งผล ให้กระบวนการผลิตทีก่ อ่ ให้เกิดมูลค่าเพิม่ อาทิ ขัน้ ตอน การออกแบบและการท�ำตลาดภายในประเทศยังมีคอ่ น ข้างน้อย และสินค้าทีผ่ ลิตได้สว่ นใหญ่ยงั เป็นสินค้าทีต่ อ้ งแข่งขันด้านราคา เช่น เสือ้ ยืด เสือ้ สเว็ตเตอร์ เป็นต้น นอกจากนี้ จากการที่ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังอยู่ในช่วงของการ พัฒนาและปรับปรุง ทัง้ ระบบไฟฟ้า น�ำ้ คมนาคมขนส่ง (ถนนและท่าเรือ) ปัจจัยเหล่า นีย้ งั เป็นอุปสรรคทีส่ ำ� คัญต่อระบบ Supply Chain ในสายการผลิต ซึง่ ผูป้ ระกอบการ ต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมของสายการผลิตทีจ่ ะเข้าไปลงทุนในธุรกิจสิง่ ทอและ เครือ่ งนุง่ ห่ม รวมไปถึงรูปแบบทางธุรกิจทีจ่ ะเข้าไปลงทุน และประเด็นส�ำคัญทีจ่ ะ ขาดไม่ได้กค็ อื การแสวงหาพันธมิตรทางการค้าทีเ่ ป็นคนท้องถิน่ เพือ่ จะเข้ามาช่วย สนับสนุนและอ�ำนวยความสะดวกทางด้านการลงทุนและการติดต่อกับทางการท้อง ถิน่ ให้มคี วามราบรืน่ มากขึน้ ทีม่ า : บริษทั ศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย จ�ำกัด
สายสุณี ไชยหงษา
จุฬา จันทร์เพ็ง
นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี ประธาน กรรมการ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) กล่าว ว่า ปัจจุบนั นี้ สถานีบริการ ปตท. ทัว่ ประเทศจะมี ส่วนช่วยชุมชนในการกระจายสินค้าไปสูผ่ บู้ ริโภค ซึง่ ภายใน 1 เดือนแรกได้ตงั้ เป้ายอดขายสินค้า โอ ทอป ไว้ที่ 10 ล้านบาท รวมทัง้ จะร่วมมือกับท้อง ถิน่ คัดเลือกและพัฒนาสินค้าการบรรจุหบี ห่อให้ มีคณ ุ ภาพสูงขึน้ โดยสินค้าทีน่ ำ� เข้ามาขายจะเป็น ผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดจากฝีมอื ของชาวบ้านในชุมชนทีม่ ี พืน้ ทีใ่ กล้กบั สถานีบริการมากทีส่ ดุ และในอนาคต จะขยายร้านค้าโอทอป ไปยังสถานีบริการน�ำ้ มัน ของ ปตท.ในต่างประเทศอีกด้วย ในปี 2556 จะจ�ำหน่ายสินค้าโอทอป ผ่าน 50 สถานีบริการน�ำ้ มันทัว่ ประเทศ โดยจะ เริ่มในสถานีบริการที่มียอดขายสูง และมีเส้น ทางเชือ่ มยังแหล่งท่องเทีย่ วจังหวัดต่างๆ ได้แก่ สถานีบริการน�ำ้ มัน ปตท. ร้านสะดวกซือ้ จิฟฟี่ 15 สถานี สถานีบริการน�ำ้ มันที่บริหารโดยตัวแทน จ�ำหน่าย 19 สถานี ถสานีบริการน�ำ้ มันของ ปตท. 15 สถานี และตัง้ สถานีของฝากในสถานีบริการ ปตท. แหลมฉบัง (ขาออก) 1 สถานี
อย่างจริงจังตั้งแต่เริ่มต้นเพราะการรวมกลุ่มชาวบ้านต้องการก�ำลังใจจาก หน่วยงานมาก เนื่องจากไม่มีความรู้ด้านการจัดการต่างๆ “ไม่ใช่ปล่อยให้เขาเดินไปเตาะแตะ แต่พอเขาเริม่ เห็นผลส�ำเร็จถึงได้ ยื่นมือเข้าไปช่วยเหลือ ซึ่งการให้งบประมาณเขาไปเฉยๆ แต่ถ้าเขาบริหาร เงินไม่เป็นเงินก้อนนี้ก็จะหายไป” ด้านนางจุฬา จันทร์เพ็ง ประธานกลุ่มส่งเสริมอาชีพ(รองเท้า) ต.ปลายโพงพาง จ.สมุทรสงคราม กล่าวว่า สินค้าของกลุ่มเป็นรองเท้า กะลามะพร้าวเพื่อสุขภาพ ผ่อนคลายความปวดเมื่อยและกดจุดประสาท ใต้ฝา่ เท้า เป็นงานทีท่ ำ� ด้วยมือ โดยการน�ำกะลามาเจาะเป็นเม็ดกลมๆ ร้อย แล้วเย็บติดบนพืน้ รองเท้า อยากให้หน่วยงานของรัฐเข้ามาช่วยเหลือหรือส่ง เสริมเทคนิคในการเย็บให้มีความสวยงามเพิ่มขึ้น เช่น การเย็บมุมรองเท้า
โครงการการจัดท�ำ ท�ำเนียบนายก อบจ.เล่ม 2 ภายหลัง “ท�ำเนียบนายก อบจ.” จัดท�ำโดย อปท.นิวส์ ออกสูส่ ายตาสาธารณชนไปเมือ่ ไม่นานมานี้ ได้รบั การตอบรับเป็น อย่างดียิ่ง และเพื่อสนองตอบต่อความต้องการที่เพิ่มขึ้น อปท. นิวส์ จึงเตรียมการจัดท�ำ “ท�ำเนียบ นายกอบจ.” เล่ม 2 ในไม่ชา้ นี้ โดยในการนี้ เ อง ก� ำ พล มหานุ กู ล ประธานบริ ห าร
หนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ และผู้บริหารฯ จึงถือโอกาสนี้ เดินสาย เข้าเยี่ยมคารวะนายก อบจ.หลายแห่ง เพื่อขอค�ำแนะน�ำในการ จัดท�ำ โดยรอบที่ผ่านมา ได้รับเกียรติจาก นายกอบจ.ราชบุรี สมุทรสงคราม ปราจีนบุรี ชัยภูมิ พัทลุง และสงขลา ซึ่งต้อง ขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ด้วย
เข้าเยีย่ มคารวะและมอบท�ำเนียบนายกอบจ.ทัว่ ประเทศ เล่ม 1 และหนังสือใน เครือแก่ วันชัย ธีระสัตยกุล นายกอบจ.ราชบุรี ในฐานะนายก 2 สมัย
มอบท�ำเนียบนายกอบจ.ทัว่ ประเทศและหนังสือพิมพ์ในเครือ พร้อมอวยพรแก่ บังอร วิลาวัลย์ นายกอบจ.ปราจีนบุรี ที่รับต�ำแหน่งเป็นสมัยที่ 4
เข้าเยี่ยมคารวะ พิสิฐ เสือสมิง นายกอบจ.สมุทรสงคราม ในฐานะเป็น นายกอบจ.สมัยแรก พร้อมมอบหนังสือ ท�ำเนียบ อปท.นิวส์ เล่ม 1 และหนังสือ ในเครือให้เป็นที่ระลึก
มอบท�ำเนียบนายกอบจ.ทั่วประเทศและหนังสือในเครือ ให้ มนตรี ชาลีเครือ นายกอบจ.ชัยภูมิ สมัยแรก หลังลงพืน้ ทีแ่ จกเครือ่ งอุปโภคบริโภค ร่วมกับจังหวัด เคลื่อนที่ ต.ภูแลคา อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ
ก�ำพล มหานุกูล ประธานบริหารหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ ชาญวิทยา ชัยกูล บก.บริหารอปท.นิวส์ เข้าแสดงความยินดีและมอบหนังสือในเครือให้ แก่ วิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกอบจ.พัทลุง ที่เข้ามาบริหารในสมัยแรก พร้อม สอบถามแนวทางการท�ำงานพัฒนาแบบครบวงจร
เข้าพบ และสัมภาษณ์ อุทิศ ชูช่วย นายกอบจ.สงขลา เพื่อสอบถามความ คืบหน้าการบริหารงานและช่วงใกล้จะหมดวาระในเร็วๆ นี้ โดยคณะผู้บริหาร มอบหนังสือ ท�ำเนียบนายกอบจ.ทั่วประเทศและหนังสือพิมพ์ในเครือ
D0+1 < @) !
18
* +8 9" @ )@2-<) e /Ŵ :*E !G Ċ
G3ĊE ĉ$#ĊA +8 5" :+ D&?5L G3ĊH Ċ @ (:& ): + :!$-< (9 č )@ ! Ů)$ Ŵů F *H Ċ5"+) ļŚʼnőŖ ŜŐō ļŚʼnőŖōŚ E ĉ -@)ĉ 5@ 2:3 ++) 9 3/9 9 M e &+Ċ5)+8 )#ď 3: @ (:&2< L 5G! Ċ5 <!L D&?5L D +=*) 9 Q: A)ĉ 5? @ (:&2< L 5 D$*E&+ĉG3ĊE ĉ$ ĊA D=L Ċ:+ĉ/)F + :+ +/) 9 M 3!ĉ/* :! =DL =*L / Ċ5 ĉ/*&9 !:09 *(:&E ĉ$#ĊA +8 5" :+G3ĊD&<)L
= /:)2:):+ G! :+* +8 9"2< L 5G! e 9 3/9 :*E !(: G Ċ 9M !=M G! :+ Q:D!<! :! 9M c < ++))=$AĊ#+8 5" :+ D Ċ:+ĉ/)F + :+ /ĉ: e` -@)ĉ +/)H)ĉ :QL /ĉ: ce` ! 2:):+ &9 !: 9 18 2+Ċ: :! 2+Ċ: 5: =& Ċ/* :+2+Ċ: )A- ĉ:D&<)L : !/9 ++)2< L 5 $ĉ:! :+55 E""E-8 ĉ:* 5 /:)+A Ċ : =H !č D!5+č)5? 5: =&+8 9"E!/3!Ċ: 5 #+8D 0 +/) 9 M D < :+&9 !: $-< (9 čG3)ĉJ 3-: 3-:*+A#E"" =HL Ċ @ (:&E-8): + :!+/) /ĉ: b` 5-D- 9!L !: 2@ !< *= č -ĉ:/ ĉ5/ĉ: 2 :"9!&9 !:5@ 2:3 ++)2< L 5 > L 5*AGĉ !29 9 +8 +/ 5@ 2:3 ++) )=" ": 3!Ċ: = L :Q D!<! :! 2ĉ D2+<) E-8&9 !:5@ 2:3 ++)2< L 5H * 9 M +8"" 9 M E ĉ !Ċ !Q:M -: !Q:M E-8#-:*!Q:M E-8D3K! > F5 :2 = L 8&9 !:5@ 2:3 ++) 2< L 5G! e 9 3/9 :*E !(: G Ċ Ů2 A- *8-: !+: /< :2 2 -: #ď :!=ů > L D#đ!E3-ĉ $-< $Ċ:)@2-<) =2L :Q 9 5 #+8D 0H * E-8 2:):+ 2ĉ 55 H# :**9 #+8D 0):D-D =*E-8#+8D 0G!E " 8/9!55 -: =L)= /:) Ċ5 :+E-8)= Q:-9 ?M5 =L2A D&?L5$-9 9! G3ĊH *D#đ!0A!*č -: :+2ĉ 55 E-8D#đ! :! :+$-< $Ċ:)@2-<) 9 M G!(A)(< : 5:D =*!E-8+8 9"F- H Ċ F *#ď @"!9 G! ĩĭī 5<!F !=D =*D#đ!D Ċ: -: 5@ 2:3 ++) 2< L 5)@2-<) > L #+8D 0H * Ċ5 2+Ċ: @ :* Ċ/* :+ 9 M D#ą:D#đ! :! :+$-< 5@ 2:3 ++)2< L 5)@2-<) @ (:&2A G! ĩĭī &+Ċ5)D :8 -: -@)ĉ )@2-<) =)L = :Q -9 ?5M 2A G! -: F- > L #ď @"!9 )=#+8 : + 2@ <!=*č &Aĉ$ : )@2-<)+/) 9 M 3) /ĉ: aŴfb &9!-Ċ:! ! 2Q:3+9" G! ĉ/ d D ?5!E+ Ů)Ŵ ŴųD)Ŵ*Ŵů 5 #ā beef :+ /92 @D2Ċ!G* 29"#8+ "9/3-/ %ą:*2=): 5+ĉ/) 9" Ċ:*%ą:* Q:G3Ċ$:Ċ 2ĉ 55 2< L 5H *)=)-A ĉ: cŲbdb -Ċ:! 5--:+č23+9 *:* 9/D&<)L =HL Ċ) = /:)E ĉ: 9 M Ċ:!2= E-8 /:)E K E+ 5 G*$Ċ:D!?5L : >!M +Ċ5*-8 bŴfb D)?5L D =*" 9" ĉ/ D =*/ 9! 5 #ā 5ĉ ! F * -: Ċ:*29"#8+ )= /:)E K E+ 2A $Ċ: /! :!= Ŵ#ď :!= &9 !: :+ 5:D =*! =)L )= -A ĉ: :+2ĉ 55 ): =2L @ > ebdŴh -Ċ:! 5--:+č23+9 55 E""-:* 5 +/) 9 M :+ >!M E""2Q:3+9" @ E ĉ :*2 += E-8!Q: *:* 9/D&<)L >!M +Ċ5*-8 cŴgb D)?5L D =*" 9" ĉ/ D =*/ 9! 5 #ā 5ĉ ! $Ċ:):G Ċ2:Q 3+9" Q: +8D#ć: F *$-< (9 č 2=L ĉ 55 ): =2L @ ?5 $Ċ:$?!)=)-A ĉ: :+2ĉ 55 b`aŴb bŴ -@)ĉ $Ċ:E-8D +?5L E ĉ :*)@2-<) F * :+&9 !:$Ċ: > L -Ċ:! 5--:+č23+9 *:* 9/D&<)L >!M +Ċ5*-8 afŴcd D)?5L D#+=*"D =*" G ĊD2Ċ!G* : ++) : <$2)$2:! 9" :+D !< :+ 5E""G3)ĉ 9" ĉ/ D =*/ 9! 5 #ā 5ĉ ! Q:G3ĊD!?M5$Ċ:)= /:)!@ĉ) 2:):+ ĉ:*D 5: :0H Ċ = H)ĉE!"D!?M5 G!2ĉ/! Ċ5)A-D +?L5 E ĉ :* 5 )@2-<) #+8 : +G!F- > L D3):85*ĉ: ): 9"D +?5L E ĉ :*&< = :+ 5 )@2-<) E-8 :+ )@2-<) =)L = :Q !/!2A > b &9!-Ċ:! ! < D#đ! chū 5 Q:!/! &9 !:D F!F-*=E-8/92 @ =L !9 2)9*$2)$2:! 9"D5 -9 1 čE-8 #+8 : +F- > L )=)-A ĉ: -: 5 D +?5L E ĉ :*)@2-<)+/) = L iŴf /9 ! ++)G!E ĉ-8&?!M = L D ĉ!D !< :+#ď -@ D !< :+&<)&č 3)?!L -Ċ:! 5--:+č23+9 G!5:D =*!)=#+8 : +)@2-<) /ĉ: beh -Ċ:! Ċ/*"-K5 H)ĊE-8"-K5 F-38 7-7
! )=)-A ĉ: -: 5 D +?5L E ĉ :*)@2-<) dŴh 3)?!L -Ċ:! 5--:+č cŴ -@ĉ)$Ċ:": < &9 !:$Ċ:F * :+#+9"#+@ D2Ċ!G* Ċ/* 23+9 G!5<!F !=D =*)=#+8 : +)@2-<) /ĉ: bab -Ċ:! ! )=)-A ĉ: D F!F-*= Q:G3Ċ2 = *=L 5Ċ ) < H Ċ = !>M D!?5M $Ċ:!@)ĉ >!M &+Ċ5)G ĊD !< -: D +?5L E ĉ :*)@2-<) eŴf &9!-Ċ:! 5--:+č23+9 E-8G!H * G! :+D =*!-:* +/) 9 M &9 !:$Ċ:": < G! -@)ĉ 2#:E-8D 382< L 5 )=#+8 : +)@2-<) fŴi -Ċ:! ! )=)-A ĉ: -: 5 D +?5L E ĉ :* < ++) = L c < ++) :+ ĉ:* 5 5 č /:)+A)Ċ : + :! )@2-<) bd` -Ċ:! 5--:+č23+9 $-< (9 č Q:D!<! :+ ĉ:* 5 5 č /:)+A Ċ :Ċ !): + :!$-< (9 č
D :8 -: ):D-*čų 8/9!55 -:
2 :"9!&9 !:5@ 2:3 ++)2< L 5 * +8 9"5@ 2:3 ++) 2< L 5G! e 9 3/9 :*E !(: G Ċ $ĉ:!F + :+&9 !:$-< (9 č 2< L 5E-8D +?5L E ĉ :*)@2-<)E ĉ/2< :3 < @) ! 9 M !: -: E-8 !: *ĉ5)G! e 9 3/9 :*E !(: G Ċ /ĉ: e` -@)ĉ +/) H)ĉ Q:L /ĉ: ce` ! 59!H ĊE ĉ -*@ č > #+8D& =/ 9 ! ++)&9 !: 2+Ċ: 2++ č$-< (9 č2DĉA < &: < *č -*@ 2č +Ċ: !/9 ++) Ċ/* D F!F-*= E-8 -*@ 2č +Ċ: ): + :! @ (:&$-< (9 č&+Ċ5) ĉ:* 5 2A ĉ -@)ĉ D#ą:3):* F *G!D+?L5 !=M !: 2@ <!=*č &Aĉ$ : $AĊ5Q:!/* :+2 :"9! &9 !:5@ 2:3 ++)2<L 5 +8"@/ĉ: 2 :"9!&9 !:5@ 2:3 ++) 2<L 5 H Ċ Q:D!<!F + :+&9 !:$-< (9 č2<L 5E-8D +?L5 E ĉ :*)@2-<)G! 9 3/9 :*E !(: G Ċ ?5 9 3/9 2 -: *8-: #ď :!= 2 A- E-8!+: /< :2 > L H Ċ+"9 :+2!9"2!@! "#+8): : 2Q:!9 :!#-9 +8 +/ 5@ 2:3 ++) F */: -*@ č &9 !: 09 *(:&5@ 2:3 ++)2< L 5 : Ċ!!Q:M 2A#ĉ -:*!Q:M D!Ċ!&9 !:5 č
/:)+A Ċ 9 M Ċ:! :+55 E""&9 !:/9 @ "< $-< (9 č +5" -@) > "++ @( 9 č +/) > *:* ĉ5 : E-8F5 :2 : :+ -: -5 !&9 !:+: :! /:)+AEĊ -8 9 18 5 !9 55 E"" 9 M != M D&?5L G3Ċ$DĊA Ċ:+ĉ/)F + :+2+Ċ: $- :! =)L D= 5 -9 1 č D &:8F *G ĊE!/ < : #+8D& = 0<-#8 /9 ! ++)(: G Ċ =L &9 !:D#đ!-/ -:*$Ċ:59!)=D5 -9 1 čD &:8 9/H Ċ F *3/9 &9 !: 5: =& 2+Ċ: :! 2+Ċ: )A- ĉ:D&<)L E-82+Ċ: "@ -: +D +=*) /:) &+Ċ5)2Aĉ -: ĩĭī E-8 -: 2: - >L H Ċ+9" /:)+ĉ/))?5 : 0A!*č5Q:!/* :+"+<3:+ 9 3/9 :*E !(: G Ċ !: :+5<2-:) E3ĉ #+8D 0H * E-85@ 2:3 ++) 9 3/9 2 A- *8-: #ď :!= !+: /< :2 2 -: E-83!ĉ/* :! ĉ: J G!&?!M = L F *#+8 5"H# Ċ/* c < ++)3-9 ?5 < ++) = L a :+&9 !:$-< (9 č2 <L 5E-8D +?5L E ĉ :* )@2-<)2ADĉ < &: < *č Q:D!<! :+%Ă 5"+) &9 !:$-< (9 č E-8 "++ @( 9 č2:Q 3+9"$-< (9 č2 <L 5E-8D +?5L E ĉ :*)@2-<) (:* G ĊE"+! č ĴʼnşʼnĨļİļı G! īŗŔŔōŋŜőŗŖ "@3 :2-: 9! #+8 5"H# Ċ/* 5 H)Ċ#+8 Q: Ċ5 <!L : e 9 3/9 :*E !G Ċ ?5 5 :)A < 5 5 > 2č 5 ": 5 -=-:/ = E-8 5 +5 D Ċ:!:+= &+Ċ5) $-9 9!2A ĉ -: E-83: ĉ5 : :+ Q:3!ĉ:*G3ĊE ĉ$#ĊA +8 5" :+ < ++) =L b :+ ĉ:* 5 5 č /:)+AĊ Ċ:!D F!F-*= Q:D!<! :+ ĉ:* 5 /:)+AĊ Ċ:!D2Ċ!G* 9M D2Ċ!G* ++) : <E-8 D2Ċ!G*29 D +:83čG3)ĉJ D&?L52+Ċ: : D-?5 E ĉ$AĊ#+8 5" :+ ĉ:* 5 /:)+A Ċ /Ċ *D F!F-*= :Ċ ! :+ E ĉ 2Q:D+K +/)H# > :+ 2+Ċ: 2++ č$-< (9 čG3)ĉ F *E"ĉ $- :! :) -@)ĉ +/) c -@)ĉ 9 !=M aŴ -@)ĉ $Ċ:&?!M D)?5 H ĊE ĉ $Ċ:D :8*5 Ŵ2 -: )= :+!Q:D5:
H#+1 =*čH *D#Ā D/ =
Ċ: 9#+8 9 ! 2 += F /č L/'ą:D)?5 H *G! :!E2 )#ĈF- H#+1 =*čH *D'ą!3:F /čD K 9L/'ą:D)?5 H *
):#+8 9! /:)2:):+ G! :!E2 )#ĈF- +9"2)9 + !D ĉ ű -Ċ: ):+Ċ5 D-ĉ! D Ċ! F /č 2)9 +'+=ŧŧ G +)= =E Ċ D < 9/+č "+<19 H#+1 =*čH * Q: 9 D#Ā +9"2)9 + ! =L )= /:)2:):+ &<D01):+ĉ/)F /č D&?L5D#đ!2ĉ/!3!>L G! :!E2 +:H#+1 =*: +F- ļŐʼnőŔʼnŖŌ b`ac F * (:*G! :!!5 : 8)=!< ++0 :+#+8/9 < /:)D#đ! ): 5 < :+H#+1 =*č E-8H6H- č ĉ: J): ):* 5: < :+ 9 E2 2<L 282)2ĉ/!&+85 čG!2)D K &+8D & +9 !+: 2@ :7 2*:)"+)+: @):+=E-8 9 E2 2<L 282)3:*: )A- ĉ:!9" a`` -Ċ:!E-Ċ/ *9 D#Ā )@)2 += F /č E""'+=2H -č D#Ā F5 :2G3Ċ ! =L)= /:)2:):+ &<D01 H)ĉ/ĉ: 8 +Ċ5 D-ĉ! D Ċ! 3+?5F /č /:)2:):+ G!E""
5 @ 8):D =L*/ D#đ! Aĉ 3+?5D#đ! -@ĉ) KH)ĉD =L* D&=* 2ĉ -<#/< =F5 :+E2 5 ĉ:!): =L%Ą:*2?L52:+ :+ -: "+<19 H#+1 =*čH * Q: 9 ŴE Ċ /9 !8 E / @ĉ 25 3Ċ5 D 3-9 2=L )Ŵ a`ba` 3+?52ĉ -< čH'-č /< =F5 :+E2 ): =LD' "@ċ E'!D& ŜŐʼnőŔʼnŖŌ b`ac şŗŚŔŌśŜʼnŕŘ F *$AĊ =L$ĉ:! :+ 9 D-?5 8H ĊH#E2 G! :!E2 )#ĈF- +83/ĉ: /9! =L bųad 2< 3: ) beef +5*9- &:+: 5!65--č 9M! e 2*:)&:+: 5! &+Ċ5) +9"D <!2!9"2!@! : H#+1 =*Hč * 25" :)+:*-8D5=* D&<L)D <)H Ċ =L%Ą:*2?L52:+ :+ -: "+<19 H#+1 =*čH * Q: 9 `b hca ceaeųf E-8 =L şşşŴŜŐʼnőŔʼnŖŌb`acŴ ŋŗŕ Ų şşşŴŜŐʼnőŔʼnŖŌŘŗśŜŴŋŗŴŜŐ &,1(: ) beef
5 5" @ =L ĉ/*D$*E&+ĉ#+8 :29)&9! č 2ĉ/!2?L52:+ :+ -: %Ą:*2?L52:+ :+ -: F +Ŵ ` bhca ceae ų f
#ā =L g "9" =L aff /9! =L af ų c` )< @!:*! beef
ß/9 3< L 3Ċ 5 * += 2 5+č à Ċ!E"" :+#+8 5" @+ < E""&>L &: @) ! 3-:* +9M =L D Ċ : 5 < :+D-?5 #+8 5" @+ < G! *ĉ : ! @ ) ! E-Ċ / D < #ď 3: &< & : +83/ĉ : $A Ċ # +8 5" :+E-8 :/"Ċ : ! =L 5 :09 * 5*A ĉ G! @ ) ! E ĉ 2Q : 3+9 " -5 +8*8D/-: /ĉ: h #ā 5 :+ Q:D!<! @+ < 5 ß/9 3<L 3Ċ5* += 2 5+č à Ŵ2)@ +2 +:) D#đ ! 5= 3!>L Ċ ! E"" 5 :+ Q:D!<! @+ < E""&>L &: @) ! =L D !Ċ ! :+&>L &:5:09 * 9 ! +83/ĉ : $A Ċ # +8 5" :+E-8 :/"Ċ : ! =L 5 *A ĉ 5 :09 * G! @ ) ! !: 2:/59 :+ 25! : D Ċ: 5 /9 3<L 3Ċ5*+=25+č -ĉ://ĉ: /9 3<L 3Ċ5*+=25+č Q:D!<! @+ < ): D#đ!D/-: /ĉ: h #ā "!&?M! =L 59 :+ 25! : d H+ĉ D < ) &?M ! =L 9 -ĉ : /D#đ ! D Ċ: 5 /9 3<L 3Ċ5*+=25+č 2/!)8&+Ċ:/ > H Ċ&9 !:&?M! =L G3ĊD#đ!+=25+č 8D =*/ 9! K*9 /:)D#đ!2/!)8&+Ċ:/H/Ċ )= @ D ĉ!5*Aĉ =L
/:)D#đ! ++) : < 5*AĉG -Ċ -: !QM: ĉ: ĉ: >L D#đ! -: !QM:E""E Ċ +< E-8 @ D ĉ! =L2Q: 9 5 +=25+č ?5 :+!Q: +9&*: + =L)=5*AĉG! @) !"/ 9" /:) +ĉ/ ))?5 5 !G! @) !):+ĉ /) 9!&9 !: Q:G3Ċ D < :+ ĉ 5 D =L * /E""*9L *? ! *@ 0:2 +č2Q: 9 =L : +=25+č *> ?5): -5 ?5 :+&>L &: 9!+83/ĉ: @) ! E-8$A#Ċ +8 5" :+ G3Ċ )@ !)=+:*H ĊD-=*M 9/D5 F * : +=25+č 8 ĉ/*2!9"2!@! G! :+ ?M5/9 @ <" =LG ĊG! :+#+8 5"5:3:+(:*G!+=25+č : @) ! @) !D Ċ:):)=2ĉ/!+ĉ/) 9M D+?L5 :+ AE-+8""!<D/0!č5*ĉ: -5 :+D Ċ: ):D#đ!2): < G! :+&:*D+?5!Q:!9 ĉ5 D =L*/ : +=25+č H# A3<L 3Ċ5*G! 5! -:
?! 3: )="+<19 ĉ: J ): 9 :!29))!: =L+=25+č !G! @) !)=3!Ċ: =L ĉ/* 9! 9 < ++)F"ċ E+--=L E-8 9 D +=*)5:3:+/ĉ: G! :+ Ċ5!+9" D#đ! Ċ! ß Ċ:D+:D5:G G2ĉD Ċ:H# @ 5*ĉ: Q:H Ċ3) :)/ĉ: 9 M E ĉ :Q ):H ĊD <!): H3) K"5 /ĉ:H)ĉG ĉ E ĉ K*9 85*: Q:5*Aĉ D3)?5! 9"/ĉ:D+:H Ċ58H+): ):* : /:) D#đ!)< + 5 !G! @) ! Ċ:D :):D+: K 8 /!D :):D#đ!D +?5 ĉ:*D+: D5?M5 9" +=25+č +5" Ċ: ": +9M +=25+č Ċ: D =* Ċ5 :+&?M! =L2Q:3+9" 9 3Ċ5 #+8 @) E ĉ &?M! =LH)ĉD&=* &5G3Ċ-A Ċ:&9 D+: K2:):+ ĉ/*D3-?5 9!H Ċ D+: 8D!Ċ!G3Ċ @) !H Ċ #+8F* !čD#đ!2Q: 9 à !: 2:/59 :+ -ĉ:/ : :+#+8 5" @+ < E""&>L &:5:09* 9! 5 !G! @) ! D Ċ: 5 /9 3< L 3Ċ5*+=25+č *?!*9!/ĉ: !5 D3!?5 : /:)D5?5M 5: + = L )@ !E-8$A#Ċ +8 5" :+)= G3Ċ 9!E-Ċ/ 2<L 2Q: 9 ?5 /:)#-5 (9* =L)= @) ! ĉ/*D#đ!3AD#đ! : 59!D < : :+ *5)+9"/ĉ: +=25+č 9 -ĉ:/D#đ!2ĉ/!3!> L 5 @) ! E-8H Ċ)2= /ĉ !2Q: 9 G! :+ ĉ/* 9! AE-2< L E/ -Ċ5) +8""!<D/0!čG3Ċ) = /:)2)"A+ č -5 !)=2/ĉ ! ĉ/* AE-E-8 #+9"#+@ /:)D#đ!5*Aĉ 5 !G!29 )G3Ċ = >M!
+@ < G Ċ$9 @) !E Ċ#ď 3:+5" Ċ:!
Q:"- +@ < 5Ŵ!"&< :Q Ŵ! +! +0+= ++)+: D#đ!&?!M =3L !> L =)L = :+&9 !:G!E!/ : 9 :+ !D5 3-:* Ċ:! D ĉ! 5 @!2/92 < :+ @) ! Q:"- +@ < G Ċ3-9 ßG Ċ !G3Ċ A 9" :! )=#+82" :+ č :/ "Ċ:!D ?5L ?5 D ?5L )D +?5 ĉ:* 9 M (:*G!E-8(:*!5 à ):"+<3:+ 5 @! G ĊD/-:D&=* c #ā &9 !: 5 @!G3ĊD <"F )=2): < /ĉ: bŲb`` ! 2ĉ/! #ď 3:(9*&<" 9 !< :QM #Ą: -ĉ) 2(:5 č + @) !E-8E !!Q:G! Q:"-+ĉ/) 9! 9 9 M ßD +?5 ĉ:*D%ą:+8/9 (9*E-8 ĉ/*D3-?5$A#Ċ +82"(9* Q:"- +@ < à !5 : !=*M 9 G Ċ$ 9 @) !D#đ!D +?5L )?5&9 !: @) !+5" Ċ:! 9 M #ą5 9! *:D2& < (9*&<" 9 < 7-7 9 M != M +@ < D#đ! Q:"- = L 9M 5*AGĉ !3@"D : )=&!?M = L 9M 3) #+8): bbgŲh`e H+ĉ 2(:&&?!M =2L /ĉ !G3 ĉD#đ! =+L :"2A 2-9" 9"(AD : 5@ )2)"A+ č H# Ċ/*#Ą:H)ĊE-8 +9&*: + ++) : < )=!:QM Q:M -Q: -5 3: +:* E-8 E ĉ ĉ: J !H Ċ+"9 :+#+8 :0G3ĊD#đ!D 5@ *:!E3ĉ : <D :3-/ E-8 5@ *:!7 D :!9! > L D#đ! Ċ! Q:D!< 5 E)ĉ!:QM -Q: :+3-:*2:*)=#+8 : + 9 M 3) #+8): iŲb`` ! Q:!/! cŲ`bd +9/D+?5! #+8 5" Ċ/* aa 3)A"ĉ :Ċ ! :/"Ċ:!2ĉ/!G3 ĉ#+8 5"5: =&D 1 + ++) ?5 Q:2/! *: &:+: #-A $-H)Ċ !5 : !=*M 9 +/) -@)ĉ 9! 9 9 M -@)ĉ 5: =& ĉ: J >!M ): D ĉ! -@)ĉ D-=*M $> M F&+ -@)ĉ 2 += -@)ĉ #@*ć 3)9 -@)ĉ D-=*M #-:G! +8 9 -@)ĉ D-=*M E&8 D-=*M 3)A&!?M D)?5 -@)ĉ 5 @! Ċ:/2:+ 7-7 #ď 3: =2L :Q 9 G! Q:"- ?5 #ď 3:D+?5L = L !< Q: <! D!?5L : &?!M =L = L :/"Ċ:!5*A5ĉ :09*E-8 Q: <!2ĉ/!G3 ĉ5*AGĉ !D 5@ *:!E3ĉ : <D :3-/ E-85@ *:!E3ĉ : <D :!9! Q:G3Ċ :/"Ċ:!)=# ď 3:D+?5L D5 2:+2< <P =L !< E-8(9* : ++) : < F *D &:8#ď 3:!Q:M #Ą:H3-3-: E-8 <!F -! -ĉ) =DL < >!M "ĉ5*G! ĉ/ aųb #ā $=L :ĉ !): Q:G3Ċ":Ċ !D+?5! 2/!*: &:+: 2/! $-H)ĊH Ċ+"9 /:)D2=*3:* D2Ċ! : )!: ) A 9 : D#đ! Ċ! 9 !9!M :/"Ċ:!G! Q:"- +@ < D+<)L +/) -@)ĉ 9! Q: < ++)&9 !: @) !G!#ā becd F *)=D Ċ:3!Ċ: = L : +) :+&9 !: @) !D Ċ:):2ĉ D2+<) G3Ċ :/"Ċ:! 9 9 M -@)ĉ 55) +9&*čD&?5L :+$-< >!M ): )=3-:*3)A"ĉ :Ċ ! = L 9 9 M >!M ):E-8 Q:D!<!5*A ĉ ! > #ď @"!9 +/) 9 M -@)ĉ :+D <!5?!L J D ĉ! -@)ĉ 29 855) +9&*č E-8 !: :+3)A"ĉ :Ċ ! E-823 + č2/!*: =!L :Q !Q:M *: ): Q:D#đ!*: E$ĉ!+) /9! G!#ā beci D&?5L +/)$-$-< H# :*D&?5L E Ċ# ď 3: &ĉ5 Ċ:+9" ?5M *: +: : #ď @"!9 23 + č)2= ): < #+8): b`` +:*D01 )=D <! 5 @!#+8): c -Ċ:!": +/) 9 M 5 @!3)A"ĉ :Ċ !E-8 @) !D)?5 Ů "Ŵů 3)A"ĉ :Ċ !-8 a -Ċ:!": 9/L #+8D 0 #ď @"!9 &9 !:D#đ! ßD +?5 ĉ:* 5 @!3)A"ĉ :Ċ ! Q:"- +@ < à D&?5L ĉ/*D3-?5E-8E- D#-=*L ! /:)+A Ċ !9 D ĉ! :+ Q:"9 = :+#Ā "#+8 Q:#ā 7-7 Ċ:!!:* /= #+83*9 D- :!@ :+ 5 @!2/92 < :+ @) ! Q:" +@ < -ĉ://ĉ: )= :+ 9 9 M 5 @!2/92 < :+ @) ! Q:"-G!D ?5!)=!: ) beec +9"2)9 + 9 M E ĉD K E+ D < F *H)ĉ :Q 9 5:*@ 2): < 8 Ċ5 D2=* ĉ: ++)D!=*)E+ D Ċ: !-8 b` ": E-82) "D <!D#đ!+:*D ?5! Ů/9!-8 a ": ů )=2): < +@!ĉ E+ : h 3)A"ĉ :Ċ ! Q:!/! f`h ! )= 8 ++) :+ 3)A"ĉ :Ċ !-8 a ! E-8 8 ++) :+ 8)= :+#+8 @)+ĉ/) 9!D ?5!-8 a
+9 M @ /9! = L ai > L D#đ!/9!D#Ā Q: :+ 5 @!7 > L 8 ++) :+E ĉ-8
3)A"ĉ :Ċ ! 8!Q:D <!2) " 5 2): < ):+/) 9!G!/9!!= M 2ĉ/! :+D#Ā +9" 2): < G3)ĉ 8D#Ā +9"#ā-8 a +9 M 9 M != M 5 @!H)ĉH Ċ3/9 Q: Q:H+G!D < +@ < E ĉ 5Ċ :+ ĉ/*D3-?5D ?5M A- 9! D ?5!&,1(: ) beef 5 @!2/92 < :+ @) ! Q:"- +@ < )=2): < 9 M 3) bŲbcg ! )=D <!3)@!D/=*! 9 M 3) /ĉ: aŲd``Ų``` ": =$L :ĉ !):+9 ":-2) "D <!D Ċ: 5 @! b +9 M +/) e`iŲgfe ": E-8 5" Ŵ +@ < 2) " Q:!/! e`Ų``` ": /= *9 -ĉ:/ > :+E Ċ# ď 3: = L !< /ĉ: Q:"- +@ < )= :/"Ċ:! H Ċ+"9 /:)D ?5 +Ċ5! /ĉ: cŲ``` +:* E-8)=#+8): aŲ``` +:*5*Aĉ G!D č +=L : :+2:):+ 55 D5 2:+2< <P =L !< H Ċ 2ĉ/!5= #+8): bŲ``` +:*H)ĉ5*AGĉ !D č D!?5L : D#đ!&?!M =-L : 9!E-8D#đ!&?!M =-L )ĉ@ !Q:M 9!M a ĩ +: :+2 /!H/ĊD#đ!&?!M = L !Ċ !Q:M -Q: :+ 3Ċ:)H)ĉG3Ċ) = :+ D#-=*L !E#- -9 1 8&?!M =#L :Ą H)ĊD#đ!5*ĉ: 5?!L F *D K : 2ĉ/!E!/ : E Ċ#ď 3: 3: : +: :+H)ĉ2:):+ 55 D5 2:+2< G<P 3Ċ :/"Ċ:!H Ċ5: 8G ĊE!/ : 5 F ! @) ! ?5G3Ċ :/"Ċ:!)=2 < G<P ! :+5*A5ĉ :09*E-8 Q: <! ĉ5H#H Ċ F *55 D#đ!F ! @) !D&?5L +9"+5 2< <P 5 :/"Ċ:! E-8G ĊD#đ!3-9 :!G! :+ 5+9" :+5@ 3!@! : 2 *Ŵ 2ĉ/! Q:29 L 5 5@ *:!7 G3Ċ :/"Ċ:!+?5M 5!3+?5 F ĉ! Ċ!*: E-82/!$-H)Ċ 8!= M : 5@ *:!7 /+ 8 8-5D+?5L D5:H/Ċ ĉ5! E-Ċ/G Ċ/< = :+D + :+ĉ/) 9!D&?5L 3: : 55 = L = /ĉ:!=M !5 : !=M -@ĉ)5:2:2)9 + Q:+/ "Ċ:! Ů52Ŵ +Ŵů +ĉ/) 9" )3:/< *:-9*/-9*-9 1 čE-82(:5 č + @) ! Q:"- +@ < *9 H Ċ 9 Q: F + :+ ß$9 @) !à >!M ):G! ĉ/ #-:*#ā beee =$L :ĉ !): F *H Ċ+"9 " #+8): 2!9"2!@! : 2(:5 č + @) ! aeŲ``` ": D&?5L !Q:$9 @) ! ):G Ċ#+8F* !č 9 Q:E$!&9 !: @) ! E-8G ĊD#đ!D +?5L )?5&9 !: @) ! D ĉ! !Q:):G Ċ "9 5 @!2/92 < :+ @) ! Q:G3Ċ+/ĊA :ĉ 2): < 7 9 M "Ċ:!D+?5!5*A ĉ + H3! E ĉ-8 +5" +9/)=2): < = L ! +5" +9/G )=D K )= !E ĉ )= !#Ą/* &?!M =DL 2=*L (9*5*A"ĉ +<D/ G 9 !9!M $9 @) !D#đ!D +?5L )?53!> L ĉ/*G3Ċ :+ 9 :+ !D5 5 $A!Ċ :Q E-8#+8 : !G! Q:"- +@ < D&?5L E Ċ# ď 3:E-8&9 !: @) ! :) /:) Ċ5 :+ 5 !G!&?!M =HL Ċ
เศรษฐกิจชุมชน
ปีที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556
โดย... ชาญวิทยา ชัยกูล
19
สลากกินแบ่งรัฐบาลกับงาน CSR
ส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ภายใต้ค�ำขวัญ “ช่วยราษฎร์ เสริมรัฐ ยืนหยัด ยุติธรรม” นอกจากจะมีบทบาทในด้านการผลิต จ�ำหน่าย ออกรางวัล จ่ายรางวัลและ สร้างสรรค์ธุรกิจรูปแบบใหม่อย่างต่อเนื่อง เพื่อน�ำรายได้ส่งรัฐ ส�ำนักงานสลากกินแบ่ง รัฐบาลยังท�ำหน้าที่ให้การส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์เพื่อช่วยเหลือ สังคมอย่างต่อเนื่อง ทันตแพทย์หญิงกุณฑีรา ตันติรังสี รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานสลากกินแบ่ง รัฐบาล ให้สัมภาษณ์ “อปท.นิวส์” ถึงทิศทางและการด�ำเนินงานด้านกิจกรรมช่วยเหลือ สังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) จากการที่มีรายได้ส่วนหนึ่ง ได้ถูกน�ำ ไปด�ำเนินกิจกรรมในด้านต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชน
“ซื้อความหวัง ทั้งยังได้กุศลช่วยสังคม” • หากมีผู้มาขอความช่วยเหลือจะมีหลักเกณฑ์พิจารณาอย่างไร
หลักคิดและหลักในการพิจารณาของเราก็คอื โครงการนัน้ ๆ ประชาชนส่วนใหญ่ตอ้ ง ได้ประโยชน์ อันนี้เราจะดูเป็นประเด็นแรกเลย เช่นการสร้างโรงพยาบาล การให้ทุนการ ศึกษา จะเห็นได้ว่าเป็นโครงการที่มีประโยชน์มาก เพราะมีผลต่อคนส่วนใหญ่ของประเทศ ส�ำนักงานสลากกินบางรัฐบาลจะมองตรงจุดนั้นเป็นส�ำคัญ
• ส�ำนักงานสลากกินแบ่งฯ ให้ความส�ำคัญกับ CSR อย่างไร
ในเรือ่ งการท�ำCSR โดยปกติทกุ หน่วยงานต่างก็ให้ความส�ำคัญอยูแ่ ล้ว ในส่วนของ ส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล เราท�ำกันมานานมาก ตัง้ แต่ยคุ ที่ CSR ยังไม่คอ่ ยเป็นทีร่ จู้ กั โดยเราน�ำรายได้สว่ นหนึง่ ไปสร้างโรงเรียนสลากกินแบ่งอุปถัมภ์ กระจายไปตามพืน้ ทีต่ า่ งๆ ทั่วประเทศ การท�ำ CSR คือการคืนกลับรายได้ส่วนหนึ่งเพื่องานสาธารณะกุศลในรูปแบบ ต่างๆ เราท�ำมานานแล้วและท�ำมาตลอด เงินส่วนหนึ่งจากการขายสลากเราจัดส่งเข้าเป็น รายได้ของรัฐตามพระราชบัญญัตสิ ำ� นักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล อีกส่วนหนึง่ เป็นค่าใช้จา่ ย ในส่วนนี้ก็จะน�ำมาท�ำ CSR หรืองานสาธารณะกุศล โดยตั้งงบไว้ประมาณ 200 ล้านบาท ซึ่งไม่ได้มากมายอะไรเพราะมีหน่วยงานที่ต้องการความช่วยเหลือเยอะมาก
• ชาวบ้านรับรู้แค่ไหนว่ารายได้ส่วนหนึ่งได้คืนกลับสู่ประชาชน
ในประเด็นนี้เราต้องประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น เพราะคนทั่วไปอาจจะไม่ทราบว่า ส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ได้นำ� เงินไปช่วยเหลือสังคมอย่างไรบ้าง เช่น การน�ำเงินส่วน หนึง่ ไปสร้างโรงเรียน สร้างโรงพยาบาล หรืออืน่ ๆ เราอาจจะต้องเพิม่ การประชาสัมพันธ์ใน จุดนี้ อีกอย่างหนึ่งคนเข้าใจว่าซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล เงินได้ต้องส่งเข้ารัฐบาลไปทั้งหมด แต่จริงๆแล้วรายได้ส่วนหนึ่งได้คืนกลับมาสู่ประชาชนในโครงการต่างๆ ตอนนี้เรามีคนที่ ซื้อสลากกินแบ่งด้วยความหวังว่าจะถูกรางวัล แต่เราอยากให้เขาซื้ออย่างได้บุญกุศลด้วย เช่น สลากการกุศลจะชัดเจนมาก คนที่ซื้อก็เท่ากับได้ไปสนับสนุนโครงการการกุศล และ สนับสนุนการท�ำ CSR ด้วยเช่นกัน
ทันตแพทย์หญิงกุณฑีรา ตันติรังสี
• งาน CSR ส่วนใหญ่ เป็นกิจกรรมประเภทไหน
กิจกรรมที่เราวางไว้มี 5 ด้าน ได้แก่ ด้านศาสนา การกีฬา การศึกษา สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม-สังคม โดยกระจายความช่วยเหลือไปอย่างทั่วถึง แต่จะมีโครงการใหญ่ๆ ในแต่ละด้าน เช่น เรื่องการศึกษา เราให้ทุนการศึกษาแก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีทั่ว ประเทศ ปีละประมาณ 200 ทุนๆ ละ 20,000 บาท ต่อปี และให้ต่อเนื่องจนกว่าเขาจะ เรียนจบ เพือ่ แบ่งเบาภาระของผูป้ กครอง ส่วนเรือ่ งการกีฬาส�ำนักงานสลากกินบางรัฐบาล ได้เข้าไปสนับสนุนหลายด้าน เช่น การแข่งขันจักรยานกับวินเซิร์ฟ เราให้ความส�ำคัญกับ ตรงนี้มาก โดยเข้าไปสนับสนุนเสมือนสปอนเซอร์หลัก ส่วนกีฬาอื่นๆ ก็จะมีผู้มาขอการ สนับสนุนเป็นกรณีๆ ไป ทางด้านศาสนา เราได้เข้าไปช่วยสนับสนุนการบูรณะปฎิสังขรณ์ พระอุโบสถ หรือ สร้างโรงเรียนของพระภิกษุ ตามที่วัดแต่ละวัดขอรับการสนับสนุนมา ซึ่งมีมาเรื่อยๆ ส่วน งาน CSR ด้านสาธารณสุข เป็นโครงการทีใ่ หญ่มาก เห็นได้ชดั เราออกสลากกินแบ่งรัฐบาล 50 ล้านฉบับ และสลากการกุศล 22 ล้านฉบับ ซึง่ สลากการกุศลนีอ้ อกตามมติคณะรัฐมนตรี ว่าสนับสนุนกับหน่วยงานใด ส่วนที่ด�ำเนินการไปแล้วตอนนี้ เช่น โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ทั้ง 3 โรงพยาบาลจะได้เงินไปด�ำเนินการนับ พันๆ ล้านบาท อันนี้ก็เห็นเป็นรูปธรรมมาก ส่วนงาน CSR ด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม เราท�ำเป็นโครงการร่วม ตามนโย บาลของรัฐบาลที่ต้องการให้รัฐวิสาหกิจเกิดการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดในการด�ำเนินการ โดยได้เข้าไปร่วมกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย (วว.) และ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เนื่องจาก
• นอกจากที่กล่าวนี้ มีโครงการ CSR อะไรที่น่าสนใจอีกบ้าง
ธ.ก.ส.มีจุดแข็งในการเข้าถึงชุมชนพื้นที่ต่างๆ โครงการแรกที่เราท�ำร่วมกัน คือ โครงการท�ำน�ำ้ ดื่มบริสุทธิ์ให้กับชุมชนในภาคอีสาน โดยเลือกจังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดน�ำร่อง ทั้งนี้สถาบันวิจัย วิทยาศาสตร์ฯ เป็นผูค้ ดิ ค้นออกแบบเครือ่ งกรองน�ำ้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ส่วนทางธ.ก.ส.เข้าหาชุมชน ในพื้นที่ หาจุดที่เหมาะสม เพื่อไปติดตั้งเครื่องกรองน�ำ้ เมื่อไปติดตั้งแล้วเสร็จ ก็จะมอบหมายให้ ชุมชนเข้ามาร่วมกันดูแลรับผิดชอบ อาจจะมีการเก็บเงินค่าน�ำ้ บ้าง แต่จะถูกกว่าท้องตลาด เพื่อ ให้มีรายได้น�ำไปซ่อมบ�ำรุง และค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานต่างๆ ที่จำ� เป็น โครงการนี้เราได้เริ่ม ท�ำเมื่อปีงบประมาณ 2556 นอกจากนี้ยังมีอีกโครงการหนึ่งคือการสร้างฝาย ขยายป่า ซึ่งจะเป็นโครงการใหญ่ใน ด้านการสร้างฝายน�ำ้ ล้น ในพื้นที่ 10 กว่าจังหวัดในภาคเหนือ โดย ธ.ก.ส. เป็นผู้ริเริ่มและเราได้ เข้าไปร่วมกิจกรรมด้วย โครงการนี้เริ่มเมื่อ 2 สัปดาห์ที่แล้ว โดยไปสร้างฝายที่จังหวัดน่าน และ เราได้น�ำพนักงานของเราไปสร้างฝายร่วมกับชาวบ้าน ซึ่งก็ได้รับการตอบรับจากชาวบ้านเป็น อย่างดี เพราะสร้างฝายท�ำให้มีน�้ำใช้ในฤดูแล้ง ท�ำให้ดินชุ่มชื่น ท�ำให้ป่าชุมชื่น โครงการนี้เรา พยายามให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ไม่ใช่เข้าไปป้อนไว้เฉยๆ แต่ทุกคนต้องร่วมด้วยช่วยกันภาย ใต้เศรษฐกิจพอเพียง คือต้องอยู่ได้ด้วยตัวเอง
ตอนนีเ้ ราจะเริม่ โครงการท�ำนุบำ� รุงโรงเรียนส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ซึง่ เราไป สร้างไว้ประมาณ 30-40 ปี มาแล้ว หลังจากทีเ่ ราได้มอบโรงเรียนให้กบั กระทรวงศึกษาธิการ เราขาดช่วงในการเข้าไปดูแล แต่ในปีหน้านี้ เราจะเข้าไปรื้อฟื้นใหม่ โดยจะเข้าไปส�ำรวจดู ว่าโรงเรียนที่เราสร้างให้เวลานีไ้ ด้ทรุดโทรมไปมากน้อยอย่างไร และจะกลับไปบ�ำรุง รักษา ซ่อมแซมอาคาร หรือเข้าไปสร้างสนามเด็กเล่น สร้างห้องสมุด ให้กับโรงเรียนเหล่านั้น ซึ่งตอนนี้ชื่อโรงเรียนยังเป็นส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล แต่การบริหารงานขึ้นตรงกับ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งที่ผ่านมาเขาไม่ได้มารบกวนอะไรเรา แต่ในฐานะที่เราไปตั้งต้นไว้ ให้ เราก็ต้องกลับไปดูแล ช่วยเหลือ ให้โรงเรียนเหล่านั้นได้รับการส่งเสริมและพัฒนาขึ้น ไปอีก เพื่อให้เกิดประโยชน์กับเยาวชน
• อยากฝากอะไรไปถึงผู้ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
อยากจะให้ประชาชนที่ซื้อสลาก ไม่ต้องซื้อแบบมากมาย ไม่ต้องทุ่มซื้อ เพราะผล รางวัลเป็นเหมือนการสุม่ จับมันไม่ได้มเี ลขเด็ดอะไรหรอก ต้องเข้าใจว่ามันเป็นโอกาสทีเ่ ป็น ไปได้ทั้งนั้น ออกเลขอะไรก็ได้ ข่าวเรื่องเลขเด็ด เลขดังก็ไม่ควรจะไปเชื่อ ขอให้ถือว่าการ ซื้อสลากเป็นการซื้อเพื่อผ่อนคลายหรือว่าสร้างความหวังเล็กๆ น้อยๆ หากท่านซื้อไม่ถูก ท่านก็ไม่ต้องเสียใจ เพราะว่าเงินส่วนหนึ่งของท่านได้กลับมาเข้าไปเป็นเงินงบประมาณ แผ่นดิน และกลับคืนมายังชุมชนของท่านในรูปแบบของการกุศลหรือ CSR ซึ่งเท่ากับว่า ท่านได้ร่วมท�ำกุศลไปด้วย
สดิการและคุ้มครองแรงงาน “ลั่นฆ้อง” มหัศจรรย์มูลควายท�ำเงิน กรมสวั สัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ สู่สินค้าไอเดียแปลกใหม่ ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมภาค 5 ฯลฯ ซึ่งในการลงทุนครั้ง แรกรวบรวมเงินจากสมาชิก ภายในกลุ่ม ลงเป็นหุ้นคนละ 100 บาท และตั ด ไม้ ม าท� ำ เป็นโรงเรือนเป็นศูนย์กลาง กันเอง ปัจจุบันมีสมาชิกเพิ่ม ขึ้นเป็น 35 คน ปั จ จุ บั น สิ น ค้ า ของ กลุ ่ ม มี ห ลากหลายประเภท อาทิ ที่นอนเพื่อสุขภาพ และ เบาะรองนั่งเป็นอวน ซึ่งถูก ออกแบบมาเพื่อช่วยลดการ เกิดแผลกดทับส�ำหรับผูท้ นี่ อน กับที่นานนาน ซึ่งท�ำให้รู้สึก ผ่ อ นคลาย นอกจากนี้ ยั ง มี มหัศจรรย์มูลควาย สู่เส้นสายลายโอทอป ที่นอนปิกนิก ผ้าห่ม ผ้าชิ้น ผ้าพันคอ หมวก พรม ผ้า “ผ้าย้อมมูลควาย” หนึ่งในUnseen OTOP ที่น�ำ ม่าน เครื่องจักสาน หมอนตุ๊กตาควาย ปลอกหมอน มาจัดแสดงในงาน”โอทอป มิดเยียร์ 2013 : พลัง หมอนอิง เสื่อกก ชุดรองจาน ผ้าปูโต๊ะ ผ้าคลุมไหล่ ภูมิปัญญาไทย ก้าวไกลสู่สากล” เมื่อเร็วๆ นี้ที่ อิมแพค เมืองทองธานี ได้รับความสนใจจากผู้เข้า ชมงานไม่น้อยเนื่องด้วยจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ที่ใช้สี จากธรรมชาติ หรือมูลควาย ออกแบบอย่างสวยงาม แปลกใหม่ โดดเด่นไม่ซ�้ำใคร ท�ำให้ผ้าย้อมมูลควาย บ้านนาเชือก อ.พังโคน จ.สกลนคร ได้รับความนิยม อย่างแพร่หลาย นางสายสุณี ไชยหงษา ประธานกลุ่มทอผ้า ย้อมสีธรรมชาติบ้านนาเชือก อ.พังโคน จ.สกลนคร เล่าว่า จุดเริม่ ต้นของการรวมกลุม่ เกิดขึน้ เมือ่ ปี 2533 จากการรวมตัวของกลุ่มแม่บ้านจ�ำนวน 12 คนที่ ว่างจากการท�ำไร่ ท�ำนา จึงคิดหารายได้เสริมเพื่อ เลี้ยงครอบครัวโดยการทอผ้า และคิดย้อมผ้าจาก สิ่งที่เหลือใช้ในหมู่บ้านหรือมูลควาย โดยได้รับการ แนะน�ำจากอาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ให้เอามูลควายมา หมักกับดินโคลน/ดินเหนียว/ดินแดง และสมุนไพร มาย้อมกับผ้า และได้ลองผิดลองถูกมาจนประสบ ความส�ำเร็จ ต่อมาก็เริ่มมีหน่วยงานเข้ามาสนับสนุนใน เรื่องความรู้ ฝึกอบรมเพิ่มเติม อาทิ กศน. อ�ำเภอ พังโคน ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนอ�ำเภอพังโคน กรม
เสื้อพื้นเมือง ผ้ากันเปื้อน กระเป๋ากกผ้า โคมไฟ มู่ลี่ เป็นต้น ส�ำหรับสินค้าที่ขายมีราคาตั้งแต่ 290 บาท จนถึง 12,000 บาท โดยวางขายที่ชุมชน และตาม บูธทีห่ น่วยงานราชการจัดหาให้ รวมถึงผลิตส่งให้กบั ร้านสมาย ที่จ.ขอนแก่น ซึ่งปัจจุบันสินค้าของกลุ่มฯ สามารถสร้างอาชีพ รายได้ให้กบั คนในชุมชนได้เป็น อย่างดี โดยมีรายได้หมุนเวียนเฉลี่ยต่อปี 4-5 แสน บาท รวมถึงยังจ่ายปันผลหรือจัดสวัสดิการด้านต่างๆ ให้กับสมาชิกด้วย สายสุ ณี ยั ง ฝากข้ อ คิ ด ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ จ ะรวม กลุม่ ฯสร้างอาชีพว่าจะต้องรูจ้ กั มองหาสิง่ ใหม่ๆทีเ่ กิด ประโยชน์ต่อชุมชนเป็นหลัก มีความเข้มแข็ง อดทน จึงจะสามารถฝ่าฟันอุปสรรคได้ ผู ้ อ ่ า นท่ า นใดสนใจผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ ศึ ก ษา เรียนรู้ติดต่อได้ที่นางสายสุณี ไชยหงษา ประธาน กลุ่มทอผ้าย้อมสีธรรมชาติบ้านนาเชือก(มูลควาย) เลขที่ 4 หมู่ 9 ต.แร่ อ.พังโคน จ.สกลนคร 47160 โทรศัพท์ (087) 222-5256, (080) 176-9265
กรมสวั ส ดิ ก ารและคุ ้ ม ครองแรงงาน ร่ ว ม กับ ส�ำนักงานประกันสังคม และสมาคมส่งเสริมความ ปลอดภัยและอนามัยในการท�ำงาน(ประเทศไทย) จัดงาน สัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ เป็นครั้ง ที่ 27 ระหว่าง วันที่ 3-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพหานคร การจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงาน แห่งชาติ ครั้งที่ 27 (SAFETY WEEK 27 ) ในปีนี้กรม สวัสดิการคุ้มครองแรงงานจะจัดให้มีขึ้น ระหว่าง วันที่ 3-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ณ ศูนย์นิทรรศการและการ ประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพหานคร โดยได้รับความ ร่วมมือจาก ส�ำนักงานประกันสังคม และสมาคมส่งเสริม ความปลอดภัยและอนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) และสถานประกอบการภาคเอกชนจ�ำนวนมาก ทั้งนี้ การจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการ ท�ำงานแห่งชาติ จัดขึ้นครั้งแรกในระดับประเทศ ตั้งแต่
โดยจะมี ก ารจั ด สั ม มนาทางวิ ช าการในหั ว ข้ อ ต่างๆ อย่างหลากหลาย อาทิ เช่น การสัมมนาเรื่อง เศรษฐกิจไทยก้าวไกล แรงงานต้องปลอดภัยและสุขภาพ อนามัยดี การอภิปรายในหัวข้อ “เศรษฐกิจไทยก้าวไกล สู่ ประชาคมอาเซียน” การจัดอมรมให้ความรู้ในเรื่องเทคนิค / การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย , การปรับปรุงสภาพการท�ำงานเพื่อความปลอดภัยและ การเพิม่ ผลผลิต. กฎหมายความปลอดภัยส�ำหรับเจ้าหน้าที่ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน, Update : กฎหมาย / มาตรฐานความปลอดภัยฯ, และการเปิดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพื่อพัฒนางานด้านความปลอดภัยฯ ต่างๆ นอกจากการจัดกิจกรรมทางวิชาการแล้ว ยัง จัดให้มีกิจกรรมนิทรรศการต่างๆ ซึ่งกรมสวัสดิการและ คุม้ ครองแรงงาน หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และสถานประกอบ การภาคเอกชน กว่า 120 บริษัท ได้ร่วมกันออกบูธ แสดง นิทรรศการ การจ�ำหน่ายสินค้าอุปโภค บริโภคราคาถูก
ปี พ.ศ. 2558 และได้จัดต่อเนื่องกันมาทุกปี ส�ำหรับ วัตถุประสงค์ในการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการ ท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ 27 เพื่อเป็นกิจกรรมรณรงค์ส่ง เสริม ประชาสัมพันธ์ กระตุน้ จิตส�ำนึกให้เกิดความปลอดภัย ในการท�ำงานส�ำหรับลูกจ้างและสถานประกอบการใน ประเทศ อีกทัง้ เป็นการรณรงค์ขบั เคลือ่ นระเบียบวาระแห่ง ชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขอนามัยดี” กิจกรรมต่างๆ ในปีนี้ จึงเน้นในเรื่องของการ สร้างจิตส�ำนึกความปลอดภัยให้เกิดขึ้นแก่นายจ้าง ลูกจ้าง ผู้ใช้แรงงาน นักเรียน นักศึกษา ผู้ที่เกี่ยวข้องด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน รวมทั้งเผยแพร่เทคโนโลยีใหม่ๆ ด้านความปลอดภัยใน การท�ำงาน
รวมทัง้ กิจกรรมการประกวดสถานประกอบการดีเด่น 100 แห่ง การประกวดทีมฉุกเฉินในสถานประกอบการ ภายใต้ สถานการณ์จ�ำลอง 6 ทีม อาทิ อาคารก่อสร้างถล่ม, ที่อับ อากาศ, ท่อน�้ำ/แก๊สรั่ว, ไฟไหม้เครื่องจักรหรือขบวนการ ผลิต, รถยนต์บรรทุกวัตถุอันตรายพลิกคว�่ำ, เครื่องจักร ระเบิด และการประกวดภาพยนตร์สั้นด้านความปลอดภัย แรงงาน ภายในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงาน แห่งชาติ ครั้งที่ 27 ยังมีการแสดงต่างๆ บนเวที เช่น การ แข่งขันเกม กิจกรรม Talk Show และกิจกรรมสาธิตต่างๆ เพื่อให้ผู้ที่ไปร่วมงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงาน แห่งชาติในปีนี้ได้รับชมด้วย
เศรษฐกิจชุมชน
20
บสส.โชว์กำ� ไร 1.15 พันล้านบาท
i i ขณะที่ “ประสิทธิ์ บุญเฉย” นายกสมาคม
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร i i เผลอแผล่บเดียวก็ผ่านไป ครึ่งปีแล้ว.. ปัจจัยลบรุมรอบด้านฉุดดัชนี ความเชื่ อ มั่ น ผู ้ บ ริ โ ภคเดื อ นพฤษภาคม ปรับลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 จาก ระดับ 83.7 ในเดือนเม.ย. เป็น 82.5 ใน เดือนพ.ค. 56 หลังวิตกเรื่องการชะลอตัว ของเศรษฐกิจ ที่อาจจะส่งผลกระทบต่อ รายได้และค่าครองชีพเพิ่มสูงขึ้น ...ราคา พืชผลทางเกษตรอยู่ในระดับต�่ำกว่าช่วง เดียวกันปีก่อน โดยเฉพาะยางพาราและ ปาล์มน�้ำมัน รวมถึงสถานการณ์การเมือง ในอนาคต ท� ำ ให้ เ ศรษฐกิ จ ขาดแรงส่ ง อย่างชัดเจน “ธนวรรธน์ พลวิชัย” ผู้ อ�ำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและ ธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ฟันธง เศรษฐกิจเริ่มฟื้นปลายไตรมาส 3 หลัง รั ฐ เร่ ง เบิ ก จ่ า ยงบประมาณ การลงทุ น ของภาครั ฐ i i ฟากผู ้ บ ริ ห ารแบงก์ ไทยพาณิชย์ “วรีมน นิยมไทย” ผู้ช่วยผู้ จัดการใหญ่ คาดเศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลัง ยังเผชิญกับค่าเงินผันผวน แต่พร้อมช่วย ลูกค้าเอสเอ็มอีเต็มที่ i i หลังถูกวิพากษ์ วิจารณ์โครงการจ�ำน�ำข้าวเจ๊งไม่เป็นท่า ขาดทุนยับ 2.6 แสนล้านบาท ไม่รู้ว่าครั้ง นี้ “บุญทรง เตริยาภิรมย์” รมว.พาณิชย์ จะยึดเก้าอี้ไว้ได้เหมือนครั้งก่อนหรือไม่ หลั ง ถู ก ”นายกปู ” ซั ก ถามเรื่ อ งข้ า วใน ครม.สัญจร ทีจ่ .ก�ำแพงเพชร แล้วไม่เคลียร์ จนคนอื่นต้องชี้แจงแทน .... งานนี้รัฐบาล ท�ำเอารัฐบาลต้องเร่งเดินสายชี้แจงทันที จัดโครงการ จ�ำน�ำข้าวสัญจร จับเข่าคุย กับชาวนา โดยการเปิดเวทีสญ ั จรตามพืน้ ที่ ต่างๆ น�ำร่องที่พิษณุโลกเป็นจังหวัดแรก
สหกรณ์ เ ป็ น กลไกส� ำ คั ญ ประการ หนึ่ง ในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจและสังคม ฐานรากของประเทศไทย เป็นกลไกในการ สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้ เกิดความร่วมมือกันในหมู่สมาชิก และสร้าง ความมั่นคงอย่างยั่งยืนให้แก่ประเทศ และ เพื่อเผยแพร่ผลงานของขบวนการสหกรณ์ ไทยในรอบ 40 ปี กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้ จัดงาน “สหกรณ์สร้างเศรษฐกิจอาเซียน” ขึ้นเมื่อวันที่ 24-28 พฤษภาคม 2556 ที่ผ่าน มา ณ สวนอัมพร กรุงเทพฯ ซึ่งนอกจาก จะเป็นช่องทางในการสร้างเครือข่ายสินค้า สหกรณ์อาเซียนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
บุ ญ ชั ย สุ ข ” รมว.อุ ต สาหกรรม มั่ น ใจ ชาวนาไทย เห็นด้วยถ้ารัฐบาลจะปรับลดราคา เอสเอ็มอีได้รับประโยชน์มากกว่า 1,000 รับจ�ำน�ำจาก 1.5 หมื่นบาท เหลือ 1 หมื่นบาท ราย และเกิดมูลค่าการค้า (เจรจาธุรกิจ) ต่อตัน และก�ำหนดปริมาณรับจ�ำน�ำต่อรายที่ มากกว่า 40 ล้านบาท i i สเปเชียล เหมาะสมกับเกษตรส่วนใหญ่ เพื่อแก้ปัญหา โอลิมปิคประเทศไทยจัดแข่งขันฟุตบอล โกดังล้น และงบไม่พอ เจ้าตัวบอกว่า แม้ทผี่ า่ น ยู นิ ฟ ายด์ ร อบคั ด เลื อ ก ประจ� ำ เอเชี ย มาจะประกาศรับจ�ำน�ำที่ตันละ 1.5 - 2 หมื่น แปซิฟิค พาทัพนักกีฬาพิเศษและนักกีฬา บาท แต่ก็เกิดการทุจริต ส่งผลให้ชาวนาได้รับ คู่ยูนิฟายด์ ลงฟาดแข้งระหว่าง 16-21 เงินไม่เต็มจ�ำนวน แถมต้นทุนการผลิตปรับสูง มิถุนายนนี้ ณ สนามกีฬาเมนสเตเดี้ยม ขึ้น เช่น ค่าแรงจาก 200 บาท เป็น 300 บาท ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต พร้อมลุยนัด ค่าเช่าทีน่ าจากไร่ละ 800-1,000 บาทเป็นไร่ละ เปิดสนามพบปากีสถาน 16 มิ.ย. แว่ว 2,000 บาท i i ส่วนธนาคารเพื่อการเกษตร มาว่างานนี้ได้รับเกียรติจาก รองนายกฯ และสหกรณ์ ก ารเกษตร(ธ.ก.ส.)ปล่ อ ยกู ้ ใ ห้ และรมว.คลัง “กิตติรัตน์ ณ ระนอง” กองทุนอ้อยและน�้ำตาลทราย 15,920 ล้าน เป็นผู้จัดการทีม ขณะที่สปอนเซอร์หลักที่ บาท เพื่อให้ไปจ่ายเพิ่มค่าอ้อยแก่เกษตรกร สนับสนุนการแข่งขันครั้งนี้ยังเป็นแบงก์ ฤดูการผลิต 2555/2556 อีก 160 บาทต่อตัน ออมสิน ร่วมลุน้ เชียร์ให้กำ� ลังใจกันได้ i i หวังบรรเทาความเดือดร้อนแก่ชาวไร่ออ้ ยทีข่ นึ้ ธนาคารธนชาต ออกโปรโมชั่น “บัญชีนี้ ทะเบียนกับกองทุนอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย ให้ได้ ฟรีเช็ค” จับกลุม่ เจ้าของกิจการและลูกค้า รับค่าอ้อยในระดับทีค่ มุ้ ต้นทุนการผลิตกว่า 1.5 ธุรกิจ SME เพียงเปิดบัญชีเงินฝากกระแส
เร่งปรับหนี้ส่งเงินคืนกองทุนฟื้นฟู
ชูเกียรติ จิตติไมตรีสกุล บสส.โชว์ผลงานไตรมาสแรกปีนเี้ รียกเก็บ เงินสดได้ 2,601 ล้านบาท หนุนก�ำไรพุง่ 1,158 ล้านบาท ส่งเงินคืนกองทุนฟืน้ ฟูเกือบ 30%ของเป้า หมายทีว่ างไว้ 15,073 ล้านบาท พร้อมเดินหน้าเป็น แขนขาให้กบั ภาครัฐในการบริหารสินทรัพย์เต็มสูบ นายชูเกียรติ จิตติไมตรีสกุล กรรมการผู้ จัดการ บริษทั บริหารสินทรัพย์สขุ มุ วิท จ�ำกัด (บสส.) หรือSAM เปิดเผยถึงผลการด�ำเนินงานในช่วง 3 เดือนทีผ่ า่ นมา (มกราคม - มีนาคม 2556 ) ว่า บสส. มีสนิ ทรัพย์ทบี่ ริหารจัดการรวมทัง้ สิน้ 436,990 ล้าน บาท แบ่งเป็น NPLจ�ำนวน 421,646 ล้านบาท และ
NPAจ�ำนวน 15,344 ล้านบาท และนับตัง้ แต่จดั ตัง้ ขึน้ จนถึงไตรมาส 1/2556 บสส. สามารถเก็บเงินสด สะสมจากการบริหารได้ สูงถึง 163,614 ล้านบาท โดยในช่วง 3 เดือนแรกของปีนี้ บสส. มี รายได้จากการปรับโครงสร้างหนี้และจ�ำหน่าย ทรัพย์รวมทั้งสิ้น จ�ำนวน 2,601 ล้านบาท เป็น NPLจ�ำนวน 1,915 ล้านบาท เนื่องจากการเร่ง เจรจาปรับโครงสร้างหนี้ และการเร่งเรียกเงินคืน จากกรมบังคับคดี เป็นต้น และขาย NPAได้จำ� นวน 686 ล้านบาท จากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย ต่อเนือ่ ง ส่งผลให้ไตรมาสแรกมีกำ� ไรจากการด�ำเนิน งาน 1,158 ล้านบาท และสามารถน�ำส่งเงินให้กบั กองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการ เงิน แล้วเกือบ 30% นายชูเกียรติ กล่าวต่อว่า ในปีนี้บสส.จะ ด�ำเนินธุรกิจในเชิงรุก ทัง้ ปรับโครงสร้างหนี้ และ ขายNPA โดยจะเน้นการบริหารจัดการในส่วน ของ สินทรัพย์ทซี่ อื้ มาจากบรรษัทบริหารสินทรัพย์ ไทย (บสท.) ซึง่ มีทงั้ ส่วนของหนีด้ อ้ ยคุณภาพ(NPL) และสินทรัพย์รอการขาย(NPA) ซึง่ ถือเป็นภารกิจที่ ท้าทาย และเป็นความคาดหวังของกองทุนฯ ส�ำหรับการบริหาร NPLในช่วง 3 เดือนแรก นัน้ บสส. สามารถปิดบัญชีและส่งคืนลูกหนีก้ ลับสู่
ระบบเศรษฐกิจได้ จ�ำนวน 477 ราย ซึง่ เป็นลูกหนี้ จาก พอร์ตเดิม ก่อนรับโอนจากบสท.จ�ำนวน 363 ราย และพอร์ตของบสท. จ�ำนวน 114 ราย คิดเป็น มูลค่าทางบัญชี 4,997 ล้านบาท โดยมีอตั ราการรับ ช�ำระหนีอ้ ยูใ่ นระดับทีน่ า่ พอใจ ในส่วนของทรัพย์สนิ รอการขาย (NPA)ได้ มอบหมายให้ นายนิยต มาศะวิสทุ ธิ์ รองกรรมการ ผูจ้ ดั การ เป็นผูก้ ำ� กับดูแล โดยจัดกิจกรรมส่งเสริม การขายทุกรูปแบบ และเพิม่ ช่องทางขายทีท่ นั สมัย เพือ่ กระตุน้ ยอดขาย NPA โดยในไตรมาส 3 และ 4 นีจ้ ะเน้นกลยุทธ์การบริหารจัดการทัง้ ทรัพย์หลัก ประกัน และทรัพย์สินรอการขาย เพื่อเร่งสร้าง เงินสด ให้ได้ตามเป้า นอกจากนี้ บสส. ตัง้ เป้าจะเป็น “National AMC”หรือ AMCแห่งชาติ ภายในปี 2558 และ พร้ อ มเป็ น กลไกของภาครั ฐ ในด้ า นการบริ ห าร สินทรัพย์อย่างเต็มที่ และผลักดันผลการด�ำเนินงาน ให้เข้าสูร่ ะดับสากล เพือ่ การเป็น “One of the Top Rank AMC in AEC”หรือ AMC ชัน้ น�ำในระดับ ภูมภิ าค ในปี 2560 โดยจะปรับระบบการท�ำงาน การพัฒนาบุคลากร และการมีวฒ ั นธรรมองค์กรที่ เข้มแข็ง เพือ่ รองรับแนวทางดังกล่าว
ไทยพาณิชย์บุกเอสเอ็มอีตจว. บุญทรง เตริยาภิรมย์ แสนคน คาดทยอยจ่ายสินเชือ่ หมดกลางเดือน มิ.ย.นี้ หลังจ่ายไปบ้างแล้ว 8.2 พันล้านบาท i i ธนาคารกรุงไทย ลดค่าธรรมเนียมโอน เงินไปต่างประเทศเพื่อการศึกษา 8 สกุลเงิน หลัก ดอลลาร์สหรัฐ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ แคนนาดา สิงคโปร์ และ ฟรังก์สวิส จากอัตรา 1,200 บาท เหลือ 990 บาท ต่อรายการ ส่วน เงินปอนด์ และยูโร จากอัตรา 1,600 บาท เหลือ 1,390 บาท ต่อรายการ ถึง 31 ธ.ค. 56 พร้อมให้สินเชื่อเพื่อศึกษาต่อต่างประเทศ ผ่อนช�ำระนาน 10 ปี i i ส�ำนักงานส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) จับ มือ 13 เอกชน อาทิ กสิ ก รไทย, ไทย พาณิชย์, กรุงศรีอยุธยา, บรรษัทประกันสินเชือ่ อุตสาหกรรมขนาดย่อม(บสย.), ล็อกซเล่ย์, ซีพี ออลล์, แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส, ทรู คอร์ปอเรชัน่ , ไอ-โมบาย พลัส เพิม่ ศักยภาพ เอสเอ็มอีไทยไปตลาดอาเซียน “ประเสริฐ
ประเสริฐ บุญชัยสุข
กิตติรัตน์ ณ ระนอง รายวัน รับสมุดเช็คฟรีทันที 1 เล่ม และ เมื่อมียอดเงินฝากคงเหลือในบัญชี ณ สิ้น วันเฉลีย่ ตัง้ แต่ 1 แสนบาทต่อเดือน ลูกค้า จะได้รับค่าสมุดเช็คที่ลูกค้าซื้อในเดือน นั้นๆ คืน สูงสุด 600 บาท i i
ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ยั ง มองแนวโน้ ม เศรษฐกิจไทยในครึ่งปีหลังเติบโตต่อเนื่อง แม้ค่า เงินบาทผันผวน และเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อธุรกิจน�ำ เข้าและส่งออก แต่เชือ่ ว่าโครงการลงทุนโครงสร้าง พืน้ ฐานของภาครัฐ 2 ล้านล้านบาทจะท�ำให้ความ ต้องการสินเชื่อเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันการเปิด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(เออีซ)ี ในปี 2558 จะ ส่งผลให้นกั ลงทุนมีการขยายการลงทุนตามหัวเมือง ใหญ่มากขึน้ โดยเฉพาะในภาคเหนือ ภาคใต้และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาทิ จ.สงขลา เชียงราย เชียงใหม่ อุบลราชธานี และอุดรธานี นางวรีมน นิยมไทย ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การใหญ่ สายกลยุทธ์และพัฒนาลูกค้าธุรกิจ ธนาคารไทย พาณิชย์ กล่าวว่า ธนาคารจะเน้นปล่อยสินเชื่อ ให้กบั เอสเอ็มอีรายย่อยในต่างจังหวัดมากขึน้ ขึน้ เนือ่ งจากมีอตั ราการขยายตัวสูง โดยเฉพาะบริเวณ ตามแนวการค้าชายแดน อาทิ ซือ้ ขายสินค้าเกษตร ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างและวัสดุก่อสร้าง โดยให้ วงเงินอนุมัติสินเชื่อแก่ลูกค้าตั้งแต่ 3 ล้านบาท ส�ำหรับลูกค้ารายย่อย จนถึง 10- 20 ล้านบาท ซึง่ การให้สินเชื่อจะพิจารณาจากความเชี่ยวชาญใน การท�ำธุรกิจ
ทัง้ นีธ้ นาคารคาดว่าสิน้ ปี 2556 กลุม่ ลูกค้า ธุรกิจจะเติบโตขึน้ กว่า 20% โดยมียอดสินเชือ่ ใหม่ ประมาณ 57,000 ล้านบาท หรือยอดสินเชือ่ คงค้าง อยูท่ ี่ 360,000 - 370,000 ล้านบาท ซึง่ ปัจจุบนั มี ธนาคารมีสดั ส่วนของพอร์ตสินเชือ่ ลูกค้าต่างจังหวัด อยูท่ ี่ 55% และลูกค้าในกรุงเทพฯ อยูท่ ี่ 45% ทัง้ นี้ สินเชื่อที่เพิ่มขึ้นคาดว่าจะมาจากลูกค้ารีไฟแนนซ์ 60% และลูกค้าเดิม 40% ด้วย ส่วนหนีท้ ไี่ ม่กอ่ ให้ เกิดรายได้(NPL)ปัจจุบนั มีไม่ถงึ 1% และสิน้ ปีคาด ว่าจะอยูท่ ี่ 1.4% ส�ำหรับความผันผวนของค่าเงินยังมีอยูต่ อ่ เนื่อง ซึ่งอาจท�ำให้เกิดความเสี่ยงในการท�ำธุรกิจ น�ำเข้าและส่งออก โดยทีผ่ า่ นมาได้แนะน�ำให้ลกู ค้า ป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน และมี ลูกค้าทีใ่ ช้บริการประมาณ 3,000 ล้านบาท จาก พอร์ตสินเชือ่ น�ำเข้าและส่งออกของธนาคารทีม่ อี ยู่ ประมาณ 10% ของพอร์ตสินเชือ่ ทัง้ หมด นอกจากนี้เพื่อเป็นการรับมือกับสภาพ เศรษฐกิ จ ที่ อ าจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงในอนาคต ธนาคารยังได้เตรียมโซลูชนั่ ทางการเงินเพือ่ รองรับ กับความต้องการทางธุรกิจของลูกค้ากลุ่มนี้เอาไว้ เพิม่ เติม ประกอบด้วย SCB SME Trade ทีใ่ ห้
สหกรณ์สร้างเศรษฐกิจอาเซียน แล้ว ยังเป็นการเตรียมพร้อมของบุคลากร ทุกฝ่ายในขบวนการสหกรณ์ เพื่อรองรับการ เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ทั้งนี้ภายในงานมีการจัดนิทรรศการ เครื อ ข่ า ยสหกรณ์ เ ข้ ม แข็ ง ของขบวนการ สหกรณ์ ไ ทย การเตรี ย มความพร้ อ มของ ขบวนการสหกรณ์ สู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น สหกรณ์ ใ นกลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย น การแสดงและจ�ำหน่ายสินค้าของขบวนการ
สมัครสมาชิก สมัครสมาชิก
ต่ออายุสมาชิก วันที่สมัคร .............................. ชื่อ-สกุล .............................................................................................................. บริษัท/หน่วยงาน .................................................................................................. เลขที่ ................... หมู่ที่ ........... อาคาร ............................................................. ตรอก/ซอย ............................................. ถนน ....................................................... แขวง/ต�าบล ............................................ เขต/อ�าเภอ ............................................... จังหวัด ........................ รหัสไปรษณีย์ .................... E-mail ........................................ โทรศัพท์ ............................ แฟกซ์ .............................. มือถือ ................................. ต้องการออกใบเสร็จในนาม ........................................................................................ ประเภทสมาชิก ระยะเวลา 12 เดือน (1 ปี) ราคา 500 บาท / 25 ฉบับ ระยะเวลา 24 เดือน (2 ปี) ราคา 1,000 บาท / 50 ฉบับ บริษัท อปท.นิวส์ จ�ากัด เลขที่ 599/195 ซอยเจริญราษฎร์ 7 แยก 7-1 ถนนเจริญราษฎร์ แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0-2674-0084 แฟกซ์ 0-2674-0085
วิธีการช�าระเงิน เช็คขีดคร่อม ธนาณัติ โอนเงิน ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดปลาเค้า 41 เลขที่บัญชี 199-0-19888-0 ประเภทออมทรัพย์ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขารัชโยธิน เลขที่บัญชี 111-3-91983-5 ประเภทออมทรัพย์ ***หมายเหตุ*** 1. ส่งใบสมัครสมาชิกพร้อมหลักฐานการช�าระเงินมาที่บริษัทฯ ตามที่อยู่ข้างต้น 2. กรณีช�าระเงินสดกับพนักงาน ให้ผู้รับเงินเซ็นชื่อรับเงินไว้เป็นหลักฐาน และจัดส่งหรือแฟกซ์ส�าเนาใบสมัคร มายังบริษัทฯ เพื่อทราบ ตามที่อยู่ข้างต้น 3. ในกรณีลูกค้าต้องการยกเลิกเป็นสมาชิก กรุณาแจ้งให้บริษัทฯ ทราบด้วย และบริษัทฯ จะไม่คืนเงินค่าสมาชิก ส่วนที่เหลือให้ ไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตาม
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อาทิ ข้าว ผักและ ผลไม้ อาหารแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากผ้า งาน หัตถกรรม เฟอร์นิเจอร์ เครื่องประดับและสิน ค้าอื่นๆ การสาธิตกิจการต่างๆ ของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์สอนอาชีพ และ การเจรจาธุรกิจ โดยมีสหกรณ์จากทัว่ ประเทศ เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ครบทุกจังหวัด รวม ทั้งขบวนการสหกรณ์ของประเทศสมาชิกใน กลุ่มอาเซียนทั้งหมดด้วย
สหกรณ์จะสามารถเดินหน้าได้อย่างมั่นคง ปัจจุบนั มีสหกรณ์บางแห่งมีการด�ำเนินกิจการ โดยไม่มคี วามซือ่ สัตย์ ไม่สจุ ริต ส่งผลให้กจิ การ ของสหกรณ์นั้นเกิดความล้มเหลว ดังนั้น ในอนาคตหากมีการเชื่อมโยง สินค้าเชื่อมโยงความรู้ระหว่างสหกรณ์ด้วย กัน จะท�ำให้การประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เป็น ทีร่ จู้ กั เพิม่ ขึน้ และมีโอกาสทีจ่ ะขยายไปสูต่ ลาด อาเซียน ซึง่ การด�ำเนินงานสหกรณ์ในประเทศ
การรวมกลุม่ ของประชาชนทีม่ คี วามเข้มแข็ง ในรูปแบบการบริหารจัดการตามระบบ สหกรณ์ จะช่วยลดกระแสความรุนแรงของผลกระทบจากกระแสโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ได้ เนือ่ งจากการก้าวเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ เออีซี ขบวนการสหกรณ์ ไทยจ�ำเป็นต้องปรับตัวเพือ่ รองรับโอกาสทีจ่ ะเกิดขึน้ อันเกิดจากความร่วมมือระหว่าง กลุม่ ประเทศสมาชิกอาเซียน ซึง่ มีสมาชิกรวมกว่า 600 ล้านคน รวมทัง้ ผลกระทบด้าน ต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ เช่นกัน พ ล อ า ก า ศ เ อ ก ช ลิ ต พุ ก ผ า สุ ก องคมนตรี และประธานในพิธีเปิดงาน กล่าว ว่า กรมส่งเสริมสหกรณ์มบี ทบาทส�ำคัญในการ พัฒนาสหกรณ์ไทย โดยการส่งเสริมเผยแพร่ แนะน�ำ ให้ความรูเ้ กีย่ วกับหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ แก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่ม เกษตรกร และประชาชนทั่วไป ซึ่งมีการส่ง เสริมสนับสนุน และพัฒนาระบบสหกรณ์ให้ เข้มแข็ง เช่น การพัฒนาการเรียนรู้เพิ่มขีด ความสามารถการด�ำเนินธุรกิจสหกรณ์ และ บริหารจัดการสหกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เรื่องสหกรณ์มีประโยชน์ส�ำหรับ ประชาชนคนไทย และควรขยายให้แพร่หลาย มากขึ้น ทั้งนี้สหกรณ์ต่างๆ เช่น สหกรณ์ การเกษตร สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์ร้าน ค้ามีสมาชิก 10 ล้านกว่าคน ซึ่งหากสมาชิก มีความสามัคคี ซื่อสัตย์สุจริต มีความรู้ ความ เข้าใจด�ำเนินการตามหลักการสหกรณ์ กิจการ
อาเซียนมีจำ� นวนมาก แต่เชือ่ ว่าไทยจะแข่งขัน ได้ อย่างไรก็ตาม กรมส่งเสริมสหกรณ์ มีความ รู้ มีผู้ช�ำนาญการ เชื่อว่าจะผลักดันส่งเสริม สหกรณ์ไทยให้ก้าวหน้า และท�ำให้สมาชิก สหกรณ์ ประชาชนทั่วไปซื้อสินค้าที่มีคุณภาพ ในราคายุติธรรม ด้านนายสมชาย ชาญณรงค์กลุ อธิบดี กรมส่งเสริมสหกรณ์ ระบุว่า ภาพรวมของ การจัดงานมหกรรมสินค้าสหกรณ์ ปี2556 “สหกรณ์ ส ร้ า งเศรษฐกิ จ อาเซี ย น” ถื อ ว่ า ประสบผลส�ำเร็จ มีร้านสหกรณ์หลากหลาย ผลิตภัณฑ์ทวั่ ประเทศเข้าร่วมงาน จ�ำนวน 335 สหกรณ์ โดยมีผู้เข้าชมงานประมาณ 20,000 คน มียอดจ�ำหน่ายประมาณ 20 กว่าล้านบาท และยอดเจรจาสินค้าประมาณ 3,000 ล้าน บาท โดยสินค้าที่ได้รับความสนใจพิเศษ คือ ยางพารา และข้าวสาร นอกจากนี้ จากการประเมิน ยังพบว่า
วรีมน นิยมไทย วงเงินสูงสุด 120 ล้านบาท ไม่จำ� กัดประเภทของ หลักประกัน ส�ำหรับธุรกิจน�ำเข้า-ส่งออกที่ก�ำลัง เติบโต , SCB SME Forward Contract ทีใ่ ห้วงเงิน สูงสุด 100 ล้านบาท ครอบคลุมทุกสกุลเงินต่าง ประเทศ ไม่ตอ้ งใช้หลักทรัพย์คำ�้ ประกัน ลดความ เสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น และ SCB SME Total Solution สนับสนุนผูป้ ระกอบ การเอสเอ็มอีให้เติบโตเต็มศักยภาพ ด้วยวงเงิน สินเชือ่ สูงสุด 300 ล้านบาท ครบทุกประเภทวงเงิน
สนใจมากที่สุดคือ สหกรณ์สอนวิชาชีพ การ สาธิตการผลิตสินค้า นายสมชาย กล่ า วอี ก ว่ า ในงาน มหกรรมสินค้าสหกรณ์ ปี 2556 กรมได้เชิญ 9 ประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน น�ำสินค้า มาร่วมจ�ำหน่าย ซึ่งสินค้าได้รับสนใจ และ จ�ำหน่ายหมดเกือบทุกวัน ส่วนจุดอ่อน ที่ได้ ประชาชนที่เข้ามาร่วมงานมีความต้องการ 3 รับการติติจากประเทศต่างๆ คือ การสื่อสาร ลักษณะ คือ 1. ต้องการสินค้าราคาที่ระดับ ด้านภาษา จึงท�ำให้การเจรจาซื้อขายสินค้า ไม่สูงเกินไปต่อหน่วย เช่น ผ้าไหม ถ้าราคา ไม่สะดวก เป็นเรื่องที่กรมฯ จะต้องเร่งเข้าไป เกินผืนละ 3,000 บาทขึ้นไปจะมีปัญหาการ ด�ำเนินการแก้ไขต่อไป อย่างไรก็ตาม สิ่งหนึ่งที่เห็นในงาน จ�ำหน่าย 2. จากการจ�ำหน่ายสินค้าครั้งนี้ พบ ว่า สินค้าบางกลุ่มผู้ซื้อต้องการจ�ำนวนมาก มหกรรมสินค้าสหกรณ์ คือ สินค้าสหกรณ์ที่ แม้ว่าราคาชิ้นเป็นแสนบาท ก็ยังสามารถ ตั้งบูธใกล้กัน หรือคนละประเทศกัน เกิดการ จ�ำหน่ายได้ในปริมาณมากแต่สินค้าบางอย่าง แลกเปลี่ยนสินค้ากัน เช่น จังหวัดล�ำปาง อยู่ ที่หาซื้อที่ไหนก็ได้ เช่น กล้วยตาก กล้วยฉาบ ใกล้จังหวัดตราด ซึ่งตราดได้เจรจาน�ำผลไม้ แลกเปลี่ยนกับสินค้าหัตถกรรมกับล�ำปาง ถือ เป็นผลส�ำเร็จที่จะน�ำไปสู่การขยายความร่วม มือต่อไป “การรวมกลุ่มของประชาชนที่มีความ เข้มแข็ง ในรูปแบบการบริหารจัดการตาม ระบบสหกรณ์ จะช่วยลดกระแสความรุนแรง ของผลกระทบจากกระแสโลกที่เปลี่ยนแปลง ไปได้ เนื่ อ งจากการก้ า วเข้ า สู ่ ป ระชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ เออีซี ขบวนการ สหกรณ์ ไ ทยจ� ำ เป็ น ต้ อ งปรั บ ตั ว เพื่ อ รองรั บ โอกาสที่จะเกิดขึ้น อันเกิดจากความร่วมมือ จะมีปัญหาในการจ�ำหน่าย และ 3. คนที่ร่วม ระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งมี งานส่วนใหญ่ให้ความสนใจมากกับการเรียนรู้ สมาชิกรวมกว่า 600 ล้านคน รวมทัง้ ผลกระทบ การผลิตสินค้าสหกรณ์ ซึ่งหัวข้อที่ประชาชน ด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นเช่นกัน”
เวทีแลกเปลี่ยนสินค้า-เครือข่ายธุรกิจ
วันนี้ ถึง สิ้นเดือนมิถุนายน 2556 รับฟรี .... ท�าเนียบนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 เล่ม
สั่งจ่ายในนาม
ปีที่ 7 ฉบับที่ 166 วันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2556