บ่อดักไขมัน

Page 1

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบข้ อบัญญัตอิ งค์การบริหารส่ วนตาบลพระแท่ น เรื่อง การจัดการนา้ เสียในอาคารโดยการติดตั้งบ่ อดักไขมัน พ.ศ.2554 ************************

หลักการ ให้มีขอ้ บัญญัติองค์การบริ หารส่ วนตาบลพระแท่น ว่าด้วยการจัดการน้ าเสี ยในอาคาร โดยการติดตั้งบ่อดักไขมัน

เหตุผล โดยที่เป็ นการสมควรกาหนดวิธีการจัดการระบบน้ าเสี ยในอาคารและครัวเรื อนซึ่ งเป็ น ต้นทางและเป็ นส่ วนหนึ่งของมลพิษทางน้ า ก่อนที่จะมีการระบายน้ าทิ้งลงหรื อไหลไปสู่ แหล่งระบายน้ า ในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลพระแท่น เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพในการรักษาคุณภาพน้ า การควบคุม มลพิษจากน้ าเสี ย และการรักษาสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน โดยกาหนดให้เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารที่ มี ก ารระบายน้ า ทิ้ ง ลงหรื อ ไหลไปสู่ แ หล่ ง ระบายน้ า ในเขตองค์ก ารบริ หารส่ วนตาบลพระแท่ น ซึ่ ง พระราชบัญญัติการสาธารณสุ ข พ.ศ.2535 บัญญัติให้กระทาได้ โดยการตราเป็ นข้อกาหนดของท้องถิ่น จึงจาเป็ นต้องตราข้อบัญญัติน้ ี


ข้ อบัญญัติองค์ การบริหารส่ วนตาบลพระแท่น เรื่อง การจัดการนา้ เสี ยในอาคารโดยการติดตั้งบ่ อดักไขมัน พ.ศ.2554 ********************* โดยที่เป็ นการสมควรตราข้อบัญ ญัติองค์การบริ หารส่ วนตาบลพระแท่น ว่าด้วยการ จัดการน้ าเสี ยในอาคารโดยการติดตั้งบ่อดักไขมันในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลพระแท่น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 71 แห่ งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริ หาร ส่ วนตาบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และมาตรา 20 แห่ งพระราชบัญญัติการสาธารณสุ ข พ.ศ.2535 อันเป็ นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ ยวกับการจากัดสิ ทธิ และเสรี ภาพของ บุคคลซึ่ งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 และมาตรา 43 ของ รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่ งกฎหมาย องค์การบริ หารส่ วนตาบลพระแท่น โดยความเห็นชอบของสภาองค์การบริ หารส่ วนตาบลพระแท่น และ นายอาเภอท่ามะกา จึงตราข้อบัญญัติไว้ดงั ต่อไปนี้ ข้อ 1 ข้อบัญญัติน้ ี เรี ยกว่า “ข้อบัญญัติองค์การบริ หารส่ วนตาบลพระแท่น เรื่ อง การ จัดการน้ าเสี ยในอาคารโดยการติดตั้งบ่อดักไขมัน พ.ศ.2554” ข้อ 2 ข้อบัญญัติน้ ี ให้ใช้บงั คับในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลพระแท่น นับแต่วนั ถัด จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข้อ 3 บรรดาข้อบัญญัติ ประกาศ ระเบียบ และคาสั่งอื่นใดในส่ วนที่ได้ตราไว้แล้วใน ข้อบัญญัติน้ ีหรื อซึ่ งขัดหรื อแย้งกับข้อบัญญัติน้ ี ให้ใช้ขอ้ บัญญัติน้ ีแทน ข้อ 4 ในข้อบัญญัติน้ ี “อาคาร” หมายความว่า ตึก บ้าน เรื อน โรง ร้าน แพ คลังสิ นค้า สานักงาน หรื อ สิ่ งที่สร้างขึ้นอย่างอื่นซึ่ งบุคคลอาจเข้าอยูอ่ าศัยหรื อใช้สอยได้ “เจ้าพนักงานท้องถิ่น” หมายความว่า นายกองค์การบริ หารส่ วนตาบลพระแท่น ข้อ 5 ข้อบัญญัติน้ ี ให้ใช้บงั คับแก่อาคารที่มีการระบายน้ าทิ้งลงหรื อไหลไปสู่ แหล่งน้ า สาธารณะหรื อแหล่งน้ าธรรมชาติ และยังไม่มีกฎหมายใดกาหนดมาตรการเกี่ยวกับการจัดการน้ าเสี ยโดย การติดตั้งบ่อดักไขมันสาหรับอาคารประเภทนั้น ข้อ 6 ให้เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารตาม ข้อ 5 ติดตั้งบ่อดักไขมันและน้ าเสี ยตาม มาตรฐานที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานสาธารณสุ ขประกาศกาหนด ให้เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารที่มีการปลูกสร้ างใหม่ดาเนิ นการติดตั้งบ่อดักไขมัน และน้ าเสี ยสาหรับอาคารนั้นให้แล้วเสร็ จก่อนเข้าอยูอ่ าศัยหรื อใช้สอย


-2ข้อ 7 ให้เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองตาม ข้อ 6 ทาการเก็บ ขนน้ ามันหรื อไขมันในบ่อ ดักไขมันไปกาจัดอย่างถูกหลักสุ ขาภิบาลและดูแลซ่ อมแซมบารุ งรักษาบ่อดักไขมันให้อยู่ในสภาพที่ใช้ การได้ตามปกติและไม่เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและสัตว์พาหะนาโรค ข้อ 8 ผูใ้ ดฝ่ าฝื นข้อบัญญัติน้ ี ตอ้ งระวางโทษตามที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติการ สาธารณสุ ข พ.ศ.2535 ข้อ 9 ให้นายกองค์การบริ หารส่ วนตาบลพระแท่น รักษาการให้เป็ นไปตามข้อบัญญัติ นี้ และให้มีอานาจออกระเบียบ ประกาศ หรื อคาสั่ง เพื่อปฏิบตั ิการให้เป็ นไปตามข้อบัญญัติน้ ี บทเฉพาะกาล ข้อ 10 อาคารใดที่อยูร่ ะหว่างการปลูกสร้างใหม่และยังไม่แล้วเสร็ จในวันที่ขอ้ บัญญัติน้ ี มีผลใช้บงั คับ ให้เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารดาเนิ นการติดตั้งบ่อดักไขมันและน้ าเสี ยให้เป็ นไปตาม ข้อบัญญัติน้ ี ข้อ 11 ข้อบัญญัติน้ ีไม่มีผลใช้บงั คับสาหรับอาคารที่ก่อสร้างแล้วเสร็ จก่อน หรื อ มีอยู่ ก่อนวันที่ขอ้ บัญญัติน้ ีมีผลใช้บงั คับ ประกาศ ณ วันที่

เดือน

พ.ศ.2554

(นายสมปอง คาเที่ยง) นายกองค์การบริ หารส่ วนตาบลพระแท่น เห็นชอบ

(นายสมชาติ ธีรสุ วรรณจักร) นายอาเภอท่ามะกา


-3ขนาดมาตรฐานบ่อดักไขมันแบบวงขอบซีเมนต์สาหรับบ้านพักอาศัย จานวนคน ปริมาตรบ่ อทีต่ ้ องการ (ลบ.ม.)

ขนาดบ่ อ เส้ นผ่านศู นย์ กลาง ความลึกนา้ (ม.)

จานวนบ่ อ (บ่ อ)

5

0.17

0.8

0.40

1

5-10

0.34

0.8

0.70

1

10-15

0.51

1.0

0.70

1

15-20

0.68

1.2

0.60

1

20-25

0.85

1.2

0.80

1

25-30

1.02

1.0

0.70

2

30-35

1.19

1.0

0.80

2

35-40

1.36

1.2

0.60

2

40-45

1.53

1.2

0.70

2

45-50

1.70

1.2

0.80

2

หมายเหตุ : ความสูงของวงขอบซีเมนต์ทวั่ ไปประมาณ 0.33 ม. ดังนั้นถ้าหากความลึกน้ า = 0.40 ม. จึงต้องซ้อน กันอย่างน้อยสองวง ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ความสูงของระดับฝาบ่อด้วย ทีม่ า : คู่มือเล่มที่ 2 สาหรับผูอ้ อกแบบและผูผ้ ลิตระบบบาบัดน้ าเสียแบบติดกับที่, กรมควบคุมมลพิษ 2537



-4-

ขนาดมาตรฐานบ่อดักไขมันแบบสร้างในที่สาหรับภัตตาคาร ขนาดบ่ อ

ขนาดพืน้ ที่ (ตารางเมตร)

ปริมาตรบ่ อทีต่ ้ องการ

10

0.19

0.40

0.50

1.00

10-25

0.47

0.60

0.60

1.30

25-50

0.94

0.75

0.80

1.60

50-75

1.41

0.75

1.00

2.00

75-100

1.88

0.80

1.10

2.20

100-125

2.35

0.85

1.20

2.40

125-150

2.82

0.90

1.20

2.60

150-175

3.29

1.00

1.30

2.60

175-200

3.76

1.00

1.35

2.80

ความลึก (ม.) ความกว้ าง (ม.) ความยาว (ม.)

หมายเหตุ ในกรณี ที่ตอ้ งการสร้างด้วยวงขอบซีเมนต์ ให้เทียบใช้กบั ปริ มาตรบ่อของวงขอบขนาดต่างๆ ตาม ตารางข้างบน สาหรับภัตตาคารขนาดใหญ่ตอ้ งเพิ่มจานวนเพิ่มจานวนบ่อให้ได้ปริ มาตรรามทั้งกับปริ มาตรบ่อ ที่ตอ้ งการ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.