Ca351 week07 tv production team and studio

Page 1

นศ 351 การผลิตรายการวิดีทัศน์ 1 [CA 351 Video Program Production 1]

รวมรวม/เรียบเรียง โดย อาจารย์ณัฏฐพงษ์ สายพิณ ส า ข า วิ ช า นิ เ ท ศ ศ า ส ต ร์ บู ร ณ า ก า ร ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ โ จ้

บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ ในการผลิตรายการโทรทัศน์  

บุคลากรในการผลิตรายการโทรทัศน์ เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

|2

การผลิตรายการโทรทัศน์สว่ นใหญ่จาเป็ นต้ องอาศัยคนมากกว่าหนึ่งคนมาทางานร่ วมกันเป็ นทีม โดยอาศัยการแบ่งงาน กันตามหน้ าที่เฉพาะหรื อตามความเชียวชาญเฉพาะด้ าน ซึ่งเป้าหมายในการทางานนันต่ ้ างเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน คือ การ ร่ วมกันผลิตเนื ้อหารายการ (content) ให้ เป็ นไปตามที่ออกแบบไว้ โดยใช้ กลยุทธ์ ในการสื่อสารไปยังผู้ชมด้ วยการแปลงเนื ้อหา ความคิด และอารมณ์ความรู้สกึ ต่างๆ ไปเป็ นบทรายการ (script) และลงมือผลิตรายการโทรทัศน์ตามกระบวนการผลิต (process of production) อย่างเป็ นรู ปธรรม ในบทนี ้จะกล่าวถึงบุคลากรในการผลิตรายการโทรทัศน์ ตลอดจนเครื่ องมือและอุปกรณ์ทาง เทคนิคที่ใช้ ในการออกอากาศหรื อใช้ ในการผลิตรายการโทรทัศน์ที่ควรรู้จกั และทาความเข้ าใจเพื่อสามารถนามาใช้ ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุดและมีประสิทธิภาพ บุคลากรในการผลิตรายการโทรทัศน์ บุคคลที่ทาหน้ าที่ตา่ งๆ ในการผลิตรายการโทรทัศน์นนประกอบด้ ั้ วย กลุม่ เบื ้องหน้ า และกลุม่ เบื ้องหลัง กลุ่มเบือ้ งหน้ า คือกลุม่ บุคลากรที่ปรากฏบนหน้ าจอโทรทัศน์ในภาพรวมๆ ไม่วา่ จะใครก็ตาม เรี ยกโดยรวมว่า 1. ผู้มีความสามารถในการแสดง (talent) คือผู้ที่มีความสามารถในการแสดง หมายถึง ดารา นักแสดง (actor) ตัว แสดง (performer) หรื อ ผู้บรรยายที่ได้ ยินแต่เสียง (announcer) ตลอดจน ผู้รายงานข่าว ผู้ประกาศข่าว พิธีกร และผู้ร่วม รายการ กลุ่มเบือ้ งหลัง คือกลุม่ บุคลากรที่ทางานอยู่เบื ้องหลังการผลิต รายการ โดยตาแหน่ งสูงสุดในการผลิตรายการโทรทัศน์ คือ ผู้อานวยการผลิต (executive producer) มีหน้ าที่สงู สุดในการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่ องการบริ หารจัดการเชิงนโยบายและการวาง แฟนกลยุทธ์ โดยประกอบไปด้ วยทีมงานทังด้ ้ านการผลิตและด้ านเทคนิคต่างๆ จานวนมาก ดังนี ้ 1. ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ (producer) มีหน้ าที่รับผิดชอบดูแลทุกอย่งในรายการ เริ่ มตังแต่ ้ การวางแผนแนวคิดและ รูปแบบของรายการ ดูแลเรื่ องงบประมาณในการถ่ายทา และมีหน้ าที่ติดต่อประสานงานเกี่ยวกับทุนสนับสนุน เช่น รายได้ จาก การโฆษณา ดูแลในเรื่ องของบทโทรทัศน์ โดยการทางานร่ วมกับผู้เขียนบทโทรทัศน์ ตลอดจนการตัดสินใจการเลือกผู้ แสดง ว่าจ้ างผู้กากับรายการ และแนะนาเกี่ยวกับรูปแบบและทิศทางในการนาเสนอรายการต่อทีมงาน 2. ผู้เขียนบทโทรทัศน์ (script writer) ผู้เขียนบทจะมีหน้ าที่ในการถ่ายทอดแรวคิดผนวกกับข้ อมูลเนื ้อหาที่ต้องการ นาเสนอ เขียนลงเป็ นบทโทรทัศน์ ซึง่ บทโทรทัศน์นี ้จะเป็ นเหมือนเข็มทิศและเป็ นแผนผังในการถ่ายทารายการโทรทัศน์ ผู้เขียนบท จะกาหนดรายละเอียดในแต่ละฉากลงในบทการแสดง เช่น บทพูด ภาพ เสียง เทคนิคพิเศษ และรายละเอียดการแสดงของผู้ แสดง 3. ผู้กากับรายการ (director) ผู้กากับรายการจะมีหน้ าที่รับผิดชอบเป็ นหัวหน้ าทีมในการดูแลรายละเอียดในขัน้ เตรี ยมการผลิต ขันผลิ ้ ต และหลังการผลิต โดยติดต่อประสานงานกับเจ้ าหน้ าที่ทุกๆ คนในกองถ่าย และติดต่อกับนักแสดง ทางานดุแลเรื่ องตาแหน่งของกล้ องมุมกล้ อง ตาแหน่งของนักแสดงที่ต้องแสดงในแต่ละฉาก เลือกมุมกล้ องที่ดีที่สดุ ในการถ่ายทา และยังต้ องดูแลและควบคุมการทางานในการตัดต่อภาพและเสียงในช่วงหลังจากการถ่ายทาจากหน้ าที่ดังกล่าวพบว่าผู้ผลิต รายการและผู้กากับรายการอาจเป็ นคนคนเดียวกันก็ได้ 4. ผู้ช่วยผู้กากับรายการ (assistant director หรื อ AD) จะทาหน้ าที่ช่วยผู้กากับรายการโทรทัศน์ในการ เตรี ยมพร้ อมผู้แสดง เตรี ยมพร้ อมเรื่ องกล้ อง ให้ คิวการเล่นเทปวิดีโอและบอกกล่าวกับผู้ที่เกี่ยวข้ องถึงสิง่ ที่จะต้ องทาต่อไป รวมถึง


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

|3

การดูแลในเรื่ องของเวลาในการเริ่ มต้ นรายการและจบรายการให้ เป็ นไปอย่างถูกต้ องและแม่นยา ให้ จบพอดีในแต่ละตอน 5. ผู้ช่วยติดต่ อประสานงานในการถ่ ายทา (production assistant หรือ PA) จะมีหน้ าที่ระหว่างการซ้ อมโดย PA จะจดบันทึกว่ามีการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้ างจาก producer หรื อ director และจะส่งบันทึกนันให้ ้ ผ้ เู กี่ยวข้ องในการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว 6. ผู้กากับฝ่ ายศิลป์ (art director หรือ set designer) รับผิดชอบในส่วนของความคิดสร้ างสรรค์ในการจัดฉาก ทา กราฟิ ก จะทางานใกล้ ชิดกับผู้กากับฝ่ ายแสง โดยจะร่วมวางแผนในเรื่ องของฉากและกราฟิ กและนาไปปฏิบตั ิให้ สาเร็ จลุลว่ ง 7. ผู้กากับเวที (floor manager หรื อ stage manager) มีหน้ าที่ดแู ลพื ้นที่การแสดงในห้ องสตูติโอ และดูแลการ แสดงให้ เ ป็ นไปอย่า งต่อ เนื่อ งและมี ห น้ า ที่ รั บผิ ด ชอบในการบอกคิ วกับ นักแสดงเมื่ อได้ รั บค าสั่งจากผู้ก ากับ รายการที่อ ยู่ใ น ห้ องควบคุมที่สงั่ ผ่านหูฟัง โดยผู้กากับเวทีจะใช้ สญ ั ญาณมือกับนกแสดงแทนคาพูด เพราะเมื่อมีการแสดงเริ่ มต้ นเสียงอื่นๆ จะเข้ า มารบกวนการแสดงไม่ได้ 8. เจ้ าหน้ าที่ประจาเวทีหรือพืน้ ที่การแสดง (floor person) มีหน้ าที่ติดตังหรื ้ อประกอบฉาก ถือกระดาษคิวในการ บอกบท ดูแลในเรื่ องของบูมไมโครโฟน มีหน้ าที่ช่วยช่างกล้ องในการเลือ่ นกล้ องหรื อช่วยดังสายเคเบิลของกล้ อง หรื ออาจจะช่วย ดูแลเรื่ องของเสื ้อผ้ านักแสดง อาจจะช่วยแต่งหน้ าให้ กบั นักแสดง จะมีหน้ าที่ติดตังดู ้ แลสิง่ ต่างๆ ที่ไม่ใช่เรื่ องทางเทคนิค 9. ช่ างกล้ อง (camera operator หรื อ cameraman) มีหน้ าที่ควบคุมกล้ องโทรทัศน์ในระหว่างการถ่ายทา ช่าง กล้ องจะต้ องเลือ่ นกล้ องโทรทัศน์ที่มีขนาดใหญ่เพื่อจับภาพและมุมกล้ องให้ ได้ ตามที่ผ้ กู ากับรายการต้ องการ ช่างกล้ องที่มีฝีมือเมื่อ ได้ รับคาสัง่ จากผู้กากับรายการโดยผ่านทางหูฟังต้ องสามารถจัดภาพให้ ได้ องค์ประกอบของภาพที่ดี และได้ มมุ กล้ องที่ดีเป็ นที่น่า พอใจของผู้กากับรายการ 10. วิศวกรควบคุมสัญญาณภาพ (video engineer) มีหน้ าที่ดแู ลรับผิดชอบในเรื่ องคุณภาพของสัญญาณภาพให้ ได้ ตามมาตรฐานในการที่จะส่งภาพเพื่อออกอากาศ โดยกล้ องแต่ละตัวจะมีอปุ กรณ์ที่ใช้ ควบคุมและตรวจสอบคุณภาพของภาพที่ เรี ยกว่า “camera control unit” หรื อ CCU โดยสามารถที่จะปรับภาพให้ สแี ละความเข้ มของแสงเป็ นไปตามมาตรฐาน 11. ผู้กากับด้ านเทคนิค (technical director หรือ TD หรือ switcher) หน้ าที่หลักๆ คือ การควบคุมกดปุ่ มเลือก ภาพจากแหล่งภาพต่างๆ เช่น ภาพจากกล้ องหรื อภาพจากวีดีโอเทปผ่านเครื่ องมืออุปกรณ์ที่เรี ยกว่า “switcher” เพื่อนาภาพ ออกอากาศตามคาสัง่ ของผู้กากับรายการ 12. วิศวกรด้ านเสียง (audio engineer) มีหน้ าที่รับผิดชอบในเรื่ องของเสียงที่ใช้ ในการผลิตรายการโทรทัศน์ ระหว่าง ทาการแสดงวิศวกรด้ านเสียงจะนัง่ ควบคุมการผสมเสียงอยู่กบั อุปกรณ์ ที่เรี ยกว่า “audio console” ซึ่งจะมีสญ ั ญาณเข้ ามาที่ audio console จากไมโครโฟนจากเครื่ องเล่นเทป จากเครื่ องเล่นซีดี หรื อจากสัญญาณเสียง จากการสัมภาษณ์ผ่านดาวเทียม วิศวกรด้ านเสียงจะต้ องทาเสียงทุกเสียงให้ ได้ สมดุล และนาเสียงเหล่านันมาผสมกั ้ นเพื่อเป็ นเสียงที่ใช้ ประกอบในรายการ 13. ผู้กากับแสง (lighting director หรื อ LD) จะมีหน้ าที่ออกแบบวางแผนงานเกี่ยวกับเรื่ องของแสงและต้ อง ตรวจสอบว่าแสงที่ได้ ต้องสอดคล้ องกับแนวความคิดของผู้กากับรายการที่ได้ วางแผนไว้ แสงเป็ นสิ่งสาคัญในการผลิตรายการ โทรทัศน์ หมายถึง การกาหนดอารมณ์และสีสนั ของรายการ และแสงก็ยงั มีผลต่อตัวนักแสดงเมื่อปรากฏภาพบนจอโทรทัศน์ ใน ระหว่างการถ่ายทาผู้กากับแสงจะจัดคิวแสงที่จะตกลงมายังนักแสดง และแสงที่ตกลงมาบนพื ้นที่ของการแสดงผู้กากับแสกง จะต้ องตรวจสอบการทางานของเจ้ าหน้ าที่ในการติดตังดวงไฟ ้ และต้ องรอบรู้ ว่าควรใช้ ดวงไฟแบบไหนจึงจะได้ แสงตามความ ต้ องการ


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

|4

14. ผู้ออกแบบเครื่องแต่ งกายของนักแสดง (costume designer) ออกแบบหรื อตัดเย็บเครื่ องแต่งกายเสื่อผ้ าของ นักแสดง 15. ช่ างแต่ งหน้ า (makeup artist) ดูแลแต่งหน้ าให้ กบั ผู้แสดง 16. ช่ างทาผม (hairdresser) ดูแลทรงผมให้ ผ้ แู สดง 17. นักออกแบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก (digital graphic artist / graphic designer) ออกแบบงานกราฟิ กในรายการ ซึง่ รวมถึงการเตรี ยมงานกราฟิ ก ชื่อรายการ แผนภาพ และพื ้นหลังต่างๆ 18. เจ้ าหน้ าที่ตัดต่ อ (videotape editor) ตัดต่อรายการในขันตอนหลั ้ งการถ่ายทา เพื่อภาพและเสียงออกมาดีที่สดุ

เครื่องมือ และอุปกรณ์ ในการผลิตรายการโทรทัศน์ เครื่ องมือและอุปกรณ์ทางเทคนิคที่ใช้ ในการออกอากาศหรื อใช้ ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ที่ควรรู้ จักและทาความ เข้ าใจเพื่อสามารถนามาใช้ ให้ เกิดประโยชน์สงู สุดและมีประสิทธิภาพ แบ่งเป็ น 8 หัวข้ อ ดังนี ้ 1. กล้ องโทรทัศน์ 2. อุปกรณ์การจัดแสง 3. อุปกรณ์บนั ทึกภาพ 4. อุปกรณ์การตัดต่อภาพ 5. อุปกรณ์การควบคุมแสง 6. อุปกรณ์สนับสนุนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 7. เครื่ องมือในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์นอกสถานที่ 8. ห้ องส่งและห้ องผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ รายละเอียดมีดงั ต่อไปนี ้ 1. กล้ องโทรทัศน์ กล้ องโทรทัศน์เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สาหรับสร้ างภาพ เพื่อนาไปออกอากาศลดหรื อบันทึกเป็ นเทปโทรทัศน์ ภายใน ตัวกล้ องโทรทัศน์ ประกอบด้ วย วงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ติดยึดอยู่บนโครงตัวกล้ อง มีเลนส์และจอภาพ (VIEWFINDER) อยู่ ด้ านหน้ า ด้ านข้ างจะมีสวิตซ์ตา่ งๆ ปุ่ มปรับสัญญาณ ตลอดจนขัวต่ ้ อสายเพื่อการใช้ งานในลักษณะต่างๆ ด้ านท้ ายของตัวกล้ อง เป็ นส่วนบันทึกภาพ กล้ องโทรทัศน์มีสว่ นประกอบหลักอยู่ 3 ส่วนดังนี ้ 1) เลนส์ (Lens)ทาหน้ าที่ควบคุมความชัด (Focus) การปรับเปลีย่ นช่องรับแสง (F-stop) และการปรับเปลีย่ นความยาวโฟกัส (Focal length) 2) ตัวกล้ อง (Camera Head)ทาหน้ าที่รับภาพที่สะท้ อนจากเลนส์โดยหลอดภาพ 3) จอดูภาพ (Viewfinder) เป็ นส่วนที่เปลีย่ นสัญญาณไฟฟ้ ากลับมาอีกครัง้ หนึง่ เป็ นสัญญาณภาพ


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

|5

2. อุปกรณ์ การจัดแสง เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ ในการสร้ างเทคนิคพิเศษด้ วยแสง และการควบคุมการปรับทิศทางของแสง อุป กรณ์ ก ารจัด แสง ประกอบด้ ว ย โคมไฟชนิ ด ต่า งๆ รวมทัง้ ชุ ด ราวแขวนโคมไฟและอุป กรณ์ ค วบคุม แสง ดัง รายละเอียดดังต่อไปนี ้

1) โคมไฟ ทาหน้ าที่ในการให้ แสงเพื่อใช้ ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ โดยอาศัยหลอดไฟที่มีหลักการทางาน คือ เปลีย่ นพลังงานไฟฟ้ าให้ เป็ นพลังงานแสง ดังนี ้ ไฟหลัก (key light) เป็ นไฟที่ส่องไปยังวัต ถุที่ถ่ ายท า เพื่ อให้ เป็ นแสงหลัก ที่ตกกระทบวัตถุและสะท้ อนไปยัง กล้ องโทรทัศน์ โดยมักใช้ โคมไฟประเภทให้ แสงจ้ าเป็ นหลักตามปกติจะวางไว้ ทางด้ านซ้ ายของวัตถุหรื อบุคคลที่ถ่ายภาพ (เมื่อมอง จากกล้ อง)

Incandescent lamp (key light/back light) ไฟเสริม(fill light) เป็ นไฟที่ใช้ ลบแสงเงาที่เกิดขึ ้นจากไฟหลัก ซึ่งสามารถใช้ โคมไฟประเภทให้ แสงนุ่มนวลเป็ นไฟเสริ ม ตามปกติจะวางไว้ ต้านขวาของวัตถุ หรื อบุคคลที่ถ่ายภาพ (เมื่อมองจากกล้ อง)

Soft light


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

|6

ไฟหลัง(back light) เป็ นไฟที่ใช้ สอ่ งมาจากด้ านหลังของบุคคลที่ถ่ายภาพเพื่อแยกบุคคลไม่ได้ จมไปกับฉากหลัง โดย มักใช้ โคมไฟประเภทให้ แสงจ้ าเป็ นไฟหลัง ตามปกติจะวางไว้ ทางด้ านหลังทิศทางตรงกับวัตถุ หรื อบุคคลที่ถ่ายภาพ (เมื่อมอง จากกล้ อง)

3. เครื่องบันทึกภาพ เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ สาหรับบันทึกรายการโทรทัศน์ แบ่งได้ 3 ชนิด ดังนี ้ 1) เครื่องบันทึกภาพแบบยูเมติค (U Metric) ภาพที่บนั ทึกจะมีคณ ุ ภาพเพียงพอที่จะใช้ ออกอากาศได้ แต่ปัจจุบนั ใช้ กนั ค่อนข้ างน้ อยมาก 2) เครื่ องบันทึกภาพแบบเบต้ าแคม (Beta cam) สามารถบันทึกภาพคุณภาพสูงในระดับออกอากาศ (broadcast quality) ภาพมีความคมชัดมาก จึงได้ รับความนิยมแพร่ หลายมักนามาใช้ ในการถ่ายทารายการข่าว สารคดี และการถ่ายทา นอกสถานที่ตา่ งๆ 3) เครื่องบันทึกภาพแบบดิจิทัล (digital video recorder) ได้ รับความนิยมเพิ่มขึ ้นในปั จจุบนั เพราะมีการพัฒนา อย่างรวดเร็ วด้ วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีดิจิทัลโดยมีหลักการทางานเหมือนกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ สามารถ บันทึกภาพลงในหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์ ได้ โดยไฟล์ภาพและเสียงที่มีขนาดใหญ่ เครื่ องบันทึกภาพดิจิทัลมีข้อดีคือ สามารถนาภาพละสียงที่บนั ทึกไว้ มาใช้ ซ ้าได้ หลายครัง้ โดยคุณภาพไม่ลดลง


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

|7

DVCAM

BETACAM ส่วนวัสดุที่ใช้ ในการบันทึกภาพที่สาคัญ ได้ แก่ 1. ม้ วนเทปบันทึกภาพ มีลกั ษณะเป็ นตลับคาสเซ็ท ซึง่ ออกแบบมามีทงใช้ ั ้ กบั ระบบอนาล็อกและระบบดิจิทลั 2. หน่วยความจาของคอมพิวเตอร์ สาหรับเครื่ องบันทึกภาพแบบดิจิทลั สามารถบรรจุข้อมูลได้ จานวนมาก จึงใช้ เป็ น อุปกรณ์ที่ผลิตขึ ้นมาบันทึกข้ อมูลคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเช่น ฮาร์ ดดิสก์ ดีวีดี 4. อุปกรณ์ การตัดต่ อลาดับภาพ เป็ นอุปกรณ์ หรื อเครื่ องมือที่จะช่วยเรี ยบเรี ยงให้ ภาพมีความสมบูรณ์ เป็ นเรื่ องราวการควบคุมภาพตัดต่อลาดับภาพ (video control) ประกอบด้ วยอุปกรณ์ที่สาคัญ คือ


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

|8

1) เครื่ องควบคุมการตัดต่ อผสมสัญญาณภาพ (Switcher อ่ านว่ า สวิตเชอร์ ) เป็ นแผงอุปกรณ์สาหรับตัดต่อ เลือกแหล่งที่มาจากหลายๆ แหล่ง เช่น กล้ องโทรทัศน์ เครื่ องบันทึกภาพ เครื่ องเทเลซีน คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก 2) แผงควบคุมการทาเทคนิคภาพพิเศษด้ วยระบบดิจิทัล (digital video effect: DVE) มักใช้ ในห้ องควบคุมการ ผลิตรายการขนาดใหญ่ เพื่อเพิ่มเทคนิคพิเศษในภาพให้ หวือหวา สวยงาม แปลกตา ชวนให้ ติดตามชม 3) แผงควบคุมสัญญาณภาพ (video engineering) ใช้ ในการควบคุมปรับแต่งสัญญาณภาพความถูกต้ องของแสงสี ที่มาจากแหล่งภาพต่างๆ ให้ ได้ มาตรฐาน 4) แผงจอดูภาพ (monitor sets) เป็ นจอโทรทัศน์ที่ใช้ สาหรับแสดงภาพที่มาจากแหล่งภาพต่างๆ ทุกแหล่ง เช่น กล้ อง เทเลซีน เครื่ องบันทึกเทปภาพ ฯลฯ ทาให้ ต้องมีจอดูภาพไว้ หลายจอ นอกจากจะแสดงแหล่งภาพต่างๆ แล้ ว จอดูภาพยัง มีไว้ สาหรั บตรวจสอบภาพก่อนออกอากาศจริ ง (preview) หรื การเตรี ยมภาพไว้ ทาเทคนิคพิเศษ (master effect) และ ตรวจสอบภาพที่สง่ ออกอากาศไปแล้ ว หรื อส่งไปบันทึกเทป (on air) พัฒนาการของการตัดต่ อภาพจากอนาล็อกสู่ดิจิทัล อุปกรณ์ตดั ต่อลาดับภาพได้ มีการพัฒนาจากรูปแบบอนาล็อกเดิมด้ วยวิธีการใช้ เครื่ องควบคุมเทปโทรทัศน์ ประกอบด้ วย อุปกรณ์หลัก ได้ แก่ เครื่ องเล่นเทปโทรทัศน์ เครื่ องบันทึกเทป เครื่ องควบคุมตัดต่อภาพ และจอดูภาพ ทาหน้ าที่คดั เลือกภาพ บันทึกภาพ ลบภาพ เรี ยงลาดับภาพ รวมถึงการทาเทคนิคพิเศษต่างๆ ทีละภาพทีละช็อต ซึ่งต้ องพิถีพิถนั ในแต่ละภาพทาให้ เสียวเลาในการตัดต่อหรื อแก้ ไขงานนาน ต่อมาจึงมีการพัฒนาอุปกรณ์ดงั กล่าว ซึง่ แบบ “นอนลิเนียร์ ” ควบคุมด้ วยคอมพิวเตอร์ มีหลักการทางานคือ สัญญาณ ภาพและสียงที่ถ่ายมาจากกล้ องโทรทัศน์จะถูกนาเก็บไว้ เป็ นข้ อมูลในคอมพิวเตอร์ ด้วยสัญญาณดิจิทลั การตัดต่อลาดับภาพจึง สามารถทาได้ โดยผ่านคาสัง่ จากโปรแกรมในคอมพิวเตอร์ ทงหมด ั้ การเรี ยงลาดับภาพ หรื อการค้ นหาภาพต่างๆ สามารถบันทึก และแก้ ไขในไฟล์ได้ เลย โดยไม่จาเป็ นต้ องเรี ยงตามลาดับเวลาก่อนหลัง อุปกรณ์ตดั ต่อลาดับภาพแบบนันลิเนียร์ จึงทาให้ ระบบ การควบคุมภาพในห้ องผลิตรายการโทรทัศน์สะดวกรวดเร็ วมากขึ ้น


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

|9

5. อุปกรณ์ ควบคุมแสง เป็ นอุปกรณ์ ที่นามาใช้ ร่วมกับโคมไฟเพื่อทาหน้ าที่ปรับ บังคับ ควบคุมทิศทางของแสงให้ เป็ นไปตามที่ผ้ ผู ลิตต้ องการ อุปกรณ์นี ้เรี ยกว่า “อุปกรณ์เสริ มของโคมไฟ” ประกอบด้ วยอุปกรณ์ 5 ชนิด คือ 1) อุปกรณ์ ทาให้ แสงฟุ้งกระจาย (diffuser อ่ านว่ า ดิฟฟิ วเซอร์ ) อุปกรณ์ชนิดนี ้จะช่วยลดความเข้ มแข็งของแสง ลง ทาให้ แสงไม่จ้า ดูนมุ่ นวล ลักษณะของอุปกรณ์เป็ นกระจกชนิดหนึง่ ซึง่ ไม่ทบึ ไม่ใส ให้ แสงผ่านไปได้ ทาโดย การใช้ วสั ดุบางอย่างใส่ไว้ ข้างในกระจก เช่น ลวดตาข่ายพลาสติกขุน่ แผ่นกระจกแก้ วที่เป็ นเส้ นหยัก หรื อเป็ นร่ อง เพื่อให้ แสงผ่านเข้ าไป

2) บาร์ นดอร์ (barndoor) ทาหน้ าที่ตดั ทิศทางของแสงให้ เป็ นไปในทิศทางที่ต้องการอุปกรณ์มีลกั ษณะเป็ นแผ่นโลหะ บางที่ยดึ ติดอยูห่ น้ าโคมไฟ มักมี 4 บาน สามารถปรับทิศทางขึ ้นลงได้ พับเก็บได้ และสามารถหมุนตัวได้

3) คุกกี ้ (cookie) ใช้ บงั หน้ าโคมไฟเพื่อให้ เป็ นเงาไปตกที่ฉากเป็ นภาพลวดลายต่างๆ ที่ต้องการ อุปกรณ์นี ้มีลกั ษณะ เป็ นแผ่นโลหะ กระดาษแข็ง หรื อไม้ บางๆ ซึง่ แกะลวดลายเป็ นรูปต่างๆ เช่น ท้ องฟ้ า ต้ นไม้


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

| 10

4) แฟลก (flag) บางครัง้ เรี ยกว่า “โกโบ” (gobo) ใช้ ป้องกันแสง หรื อตัดแสงบางส่วนไม่ให้ ผ่านไปได้ อุปกรณ์นี ้มี ลักษณะเป็ นแผ่นโลหะเล็กๆ

5) แผ่ นสะท้ อนแสง (reflector)ใช้ สะท้ อนแสงหรื อเปลี่ยนทิศทางของแสง หรื อทาให้ แสงพล่ามัวลง อุปกรณ์ นีม้ ี ลักษณะเป็ นแผ่นเรี ยบบางๆ ซึ่งหุ้มด้ วยวัสดุมีสีเงินหรื อสีขาว บางครัง้ อาจใช้ แผ่นกระดาษฟอยด์ หรื อใช้ แผ่นโฟม แทนก็ได้

อุปกรณ์ ควบคุมระบบเสียง อุปกรณ์ที่สาคัญในการควบคุมระบบเสียงได้ แก่ 1) ไมโครโฟน ที่ใช้ ในการผลิตรายการโทรทัศน์ มีทงหมด ั้ 5 ชนิด ได้ แก่ ก. ไมโครโฟนสาหรับบุคคล (personal microphone) มี 4 ชนิด คือ ไมโครโฟนแบบคล้ องคอ ไมโครโฟนแบบ เหน็บเสื ้อ ไมโครโฟนแบบไร้ สาย และไมโครโฟนแบบชุดหูฟัง ข. ไมโครโฟนแบบมือถือ (hand microphone) เป็ นไมโครโฟนที่ผ้ ดู าเนินรายการถือด้ วยตนเอง


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

| 11

ค. ไมโครโฟนแบบตัง้ พืน้ หรือตัง้ โต๊ ะ (stand and desk microphone) ใช้ ในงานพิธีหรื อรายการที่เป็ นทางการ ง. ไมโครโฟนแบบแขวน (slung microphone หรือ hanging mike) เป็ นไมโครโฟนที่ใช้ แขวนไว้ เหนือศีรษะ

จ. บูมไมโครโฟน (boom microphone)ใช้ สาหรับปรับเสียงในตาแหน่งที่กล้ องจับภาพผู้แสดงได้ แต่ไม่ปรากฏ ไมโครโฟนอยูใ่ นภาพ

2) เครื่องบันทึกเสียง ให้ เป็ นอุปกรณ์แหล่งเสียงนาเข้ า ประกอบด้ วย เครื่ องบันทึกเสียงแบบม้ วน เครื่ องบันทึกเสียง แบบคาร์ ทริ ดจ์ เครื่ องบันทึกเสียงแบบคาสเซท 3) เครื่องเล่ นแผ่ นเสียง เครื่องเล่ นซีดี และเครื่องมินิดิสก์ ) (ซึง่ กล่าวรายละเอียดไว้ ในบทที่ 5 เรื่ องเครื่ องมือที่ใช้ ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงแล้ ว) อุปกรณ์เหล่านี ้เป็ นเครื่ องมือช่วยในการผลิตเสียงเพื่อใช้ ในงานโทรทัศน์ด้วย 4) เครื่ องผสมสัญญาณเสียง (audio mixer) เป็ นอุปกรณ์ ที่รับสัญญาณเสียงจากแหล่งเสียงต่างๆ ทุกชนิด เช่น ไมโครโฟน เครื่ องบันทึกเสียง เครื่ องเล่นแผ่นเสียง เครื่ องบันทึกภาพแล้ วนาสัญญาณเสียงมาขยายปรับแต่งให้ มีคณ ุ ภาพดี และ ปรั บ ระดับ สัญ ญาณเสี ย งแต่ล ะแหล่ง ให้ มี ร ะดับ เหมาะสม เสร็ จ แล้ ว จึ ง น าสัญ ญาณเหล่า นัน้ มาผสมรวมกัน ออกมาเป็ น สัญญาณเสียงที่ต้องการ 5) เครื่ องคอมพิวเตอร์ ใช้ โปรแกรมสาหรับตกแต่งเสียง เพื่อ ให้ สะดวกในการทาเทคนิคพิเศษด้ านเสียงเช่น การทา เสียงก้ อง เสียงสะท้ อน เสียงในมิติแปลก น่าพิศวง เหนือความจริ ง 6.อุปกรณ์ สนับสนุนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ยงั มีอปุ กรณ์อื่นๆ ที่สนับสนุนให้ การผลิตรายการโทรทัศน์ มีความสมบูรณ์มากขึ น้ ได้ แก่ เครื่ องพิมพ์อกั ษรเข้ าโทรทัศน์ (character generator : CG) เครื่ องคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก (computer graphic) และเครื่ องฉาย เทเลซีน (telecine)


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

| 12

1. เครื่องพิมพ์ ตัวอักษร (character generator : CG) เรานิยมเรี ยกสันๆ ้ “ซีจี” เป็ นอุปกรณ์ ที่ใช้ พิมพ์ตวั อักษรและข้ อความต่างๆ เข้ าไปผสมกับสัญญาณโทรทัศน์ ทาให้ ตัวอักษรปรากฏขึ ้นจอ ได้ แก่ ชื่อรายการ ชื่อพิธีกร รายชื่อผลิตรายการ เป็ นต้ น 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก เครื่ องคอมพิวเตอร์ กราฟิ กเป็ นอุปกรณ์สาหรับใช้ ในงานผลิตกราฟิ กโดยเฉพาะ ซึ่งอุปกรณ์นี ส้ ามารถกระทาได้ หลาย อย่าง คือ 1) การใช้ กล้ องจับภาพนิ่ง เป็ นการนาเอากล้ องโทรทัศน์มาติดตังท ้ าเป็ นแท่นสาหรับถ่ายภาพกราฟิ กต่างๆ ทัง้ ภาพถ่ายจากหนังสือ งานพิมพ์ หรื องานอื่นๆ 2) การสร้ างตัวอักษร ออกแบบตัวอักษร สัญลักษณ์ตา่ งๆ ด้ วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3) การทา อะนิเมชัน่ (animation) สร้ างเป็ นภาพเคลือ่ นไหวด้ วยเทคนิคพิเศษทุกรูปแบบ 4) การสร้ างสรรค์งานกราฟิ กด้ วยรูปแบบศิลปะต่างๆ เข่น การวาดด้ วยมือ การระบายสี การตกแต่งสีสนั 5) เครื่ องคอมพิวเตอร์ กราฟิ กบางชนิดได้ ผสมผสานระหว่างคุณสมบัติของเครื่ องออกแบบกราฟิ กรวมเข้ ากับ เครื่ องตัดต่อลาดับภาพจนภาพกลายเป็ นเครื่ องเดียวกัน และสามารถทางานตัดต่อแลงานออกแบบเบ็ดเสร็ จเข้ าไว้ ด้วยกัน 3. เครื่องฉายเทเลซีน เป็ นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนภาพจากฟิ ล์มให้ เป็ นสัญญาณโทรทัศน์ โดยแหล่งภาพที่ใช้ ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ใน บางครัง้ อาจอยู่ในรู ปของฟิ ล์มภาพยนตร์ เช่น ภาพยนตร์ พระราชพิธีสาคัญต่างๆ ของไทยในอดีต ทังนี ้ ้ ฟิ ล์มภาพยนตร์ ที่เป็ น เรื่ องราวต่อเนื่องและเคลือ่ นไว ฟิ ล์มสไลด์ที่เป็ นภาพนิ่งก็สามารถใช้ กบั เครื่ องฉายเทเลซีนได้ เช่นกัน 7. เครื่องมือในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ นอกสถานที่ การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ สามารถผลิตได้ ทงในห้ ั ้ องสตูดิโอหรื อห้ องผลิตรายการโทรทัศน์และรายการอีกมากมายที่ ต้ องอาศัยการถ่ายทานอกสถานที่ เช่น รายการข่าว รายการสารคดี การถ่ายทอดสด เครื่ องมือ อุปกรณ์ ที่จาเป็ นในการผลิต รายการโทรทัศน์นอกสถานที่ที่ควรทราบ มีดงั นี ้ 1. กล้ องโทรทัศน์ การถ่ายทารายการโทรทัศน์นอกสถานที่สว่ นใหญ่มกั นิยมใช้ กล้ องที่มีขนาดเล็กกะทัดรัดมีความสะดวก คล่องตัวใน การใช้ งาน เช่น การถ่ายทาข่าว ที่ต้องอาศัยความรวดเร็ วทันต่อเหตุการณ์ มีเวลาจากัด ต้ องเคลื่อนย้ ายบ่อย ไม่สามารถนา อุปกรณ์ ไปได้ หลายชื ้นจึงอาจต้ องเลือกใช้ กล้ องแบบที่มีเครื่ องบันทึกภาพรวมอยู่ภายในตัวเพื่อความสะดวก เช่น ถ่ายทอดพระ ราชพิธี การแข่งขันกีฬา 2. ขาตัง้ กล้ อง เป็ นขาตังกล้ ้ องแบบสามขา ซึง่ มีการพัฒนาใช้ วสั ดุชนิดพิเศษที่มีน ้าหนักเบา ทนทาน สะดวกในการใช้ งาน 3. ไมโครโฟน ไมโครโฟนที่นิยมใช้ ในการถ่ ายทานอกสถานที่ ได้ แก่ ไมโครโฟนที่ติดตัง้ อยู่บนหัวกล้ อง ไมโครโฟนชนิดมือถื อ ไมโครโฟนแบบปื นสัน้ 3.1 ไมโครโฟนที่ติดตัง้ อยู่บนหัวกล้ อง เป็ นไมโครโฟนที่มีขนาดเล็ก มักเป็ นไมโครโฟนที่มีความไวต้ อการรับเสียง


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

| 13

จึงเหมาะกับการเก็บเสียงบรรยากาศของสถานที่นนๆ ั้ 3.2 ไมโครโฟนชนิดมือถือ เหมาะสาหรับการรายงานข่าวจากนอกสถานที่ หรื อ การสัมภาษณ์บคุ คล 8. ห้ องส่ งและห้ องผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ โดยทัว่ ไป ห้ องที่ใช้ ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ แบ่งเป็ น 2 แบบ คือ ห้ องส่งหรื อห้ องผลิตรายการ และห้ องผลิต รายการนอกสถานที่หรื อถ่ายทาในสถานที่จริ ง 1. ห้ องส่ งหรือห้ องผลิตรายการ (studio production) ลักษณะของการผลิตรายการโดยใช้ วิธีการถ่ายทาในห้ องสตูดิโอ หรื อห้ องผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ (television studio) เป็ นห้ องที่ออกแบบขึ ้นมาให้ เหมาะสมกับการใช้ งานในระบบต่างๆ เช่นสามารถจัดสร้ างฉากให้ เหมือนกับสถานที่ที่เราต้ องการสื่อ ความหมายตามเนื ้อหาของรายการได้ สามารถควบคุมแสง ควบคุมเสียง ให้ เป็ นไปตามความต้ องการได้ การผลิตรายการจึงไม่ มีข้อจากัดเรื่ องสถานที่ และเวลาจะถ่ายทาช่วงเวลาใดก็ได้ การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ในห้ องผลิตรายการ มีลกั ษณะเด่นอีกประการหนึ่ง คือ สามารถผลิตรายการได้ เสร็ จ สมบูรณ์ ในตัวเอง และสามารถส่งออกอากาศได้ ทนั ทีโดยไม่จาเป็ นต้ องนาไปตัดต่อลาดับภาพอีกก็ได้ หรื อจะบันทึกลงเทป บันทึกภาพไว้ ออกอากาศภายหลังก็ได้ นอกจากนี ้ ยังอาจจะถ่ายทารายการไว้ เป็ นบางส่วนแล้ วนาไปตัดต่อลาดับภาพภายหลังก็ ได้ เช่นกัน ห้ องผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ (television studio) ที่ผลิตงานในปั จจุบนั เช่นใช้ ถ่ายทารายการโทรทัศน์ เช่น รายการ ละคร รายการข่าว รายการสนทนา รายการเกมโชว์ โครงสร้ างภายในห้ องผลิตรายการ ห้ องผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ มีการออกแบบจัดสร้ างขึ ้นมาเป็ นพิเศษ เพื่อให้ สามารถควบคุมการจัดแสงและสียงให้ เป็ นไปตามความต้ องการได้ การออกแบบโครงสร้ างของห้ องผลิตรายการ จึงต้ องได้ สดั ส่วนทังขนาด ้ พื ้นที่ และความเร็ วสูง รวมถึงการใช้ วสั ดุดดู ซับเสียง หรื อการบุผนังห้ องด้ วยอะคูสติก (acoustic) เพื่อควบคุมการสะท้ อนของเสียง ห้ องผลิตรายการขนาดใหญ่มกั ประกอบด้ วยอุปกรณ์การผลิตจานวนมาก ได้ แก่ กล้ องโทรทัศน์จานวนหลายตัว มีบมู ไมโครโฟนขนาดใหญ่ มีโคมไฟจานวนมาก มีลกั ษณะการดูดซับเสียงที่ดี ทังนี ้ ้ เพื่อป้องกันปั ญหาด้ านเสียงสะท้ อน และปั ญหา ด้ านคุณภาพเสียงนัน่ เอง ระบบที่จาเป็ นภายในห้ องผลิตรายการโทรทัศน์ ชยพล สุทธิโยธิน (2547, หน้ า 57) กล่าวว่า ห้ องสตูดิโอโทรทัศน์ควรมีการจัดระบบที่จาเป็ นต่อการผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ 3 ระบบ คือ ระบบแหล่งจ่ายไฟ ระบบเสียง และระบบปรับอากาศ ระบบแหล่งจ่ายไฟ ภายในห้ องสตูดิโอต้ องมีการติดตังเต้ ้ าเสียบ เพื่อจ่ายไฟให้ โคมไฟและมอนิเตอร์ รวมถึงอุปกรณ์ ไฟฟ้ าอื่นๆ ด้ วย ระบบเสียง ภายในห้ องสตูดิโอจะมีการติดตังอิ ้ นเตอร์ คอม หรื ออุปกรณ์เสียงที่ใช้ ในการติดต่อสื่อสารภายใน เพื่อใ ช้ ติดต่อสัง่ การระหว่างผู้กากับรายการหรื อผู้กากับเวที และทีมงานอื่นๆ รวมทังต้ ้ องมีลาโพงมอนิเตอร์ เพื่อใช้ ฟังเสียงรายการที่เล่ น กลับมาให้ ผ้ ชู มด้ วย ระบบปรับอากาศ เป็ นอุปกรณ์ที่จาเป็ นมากในห้ องสตูดิโอ เนื่องจากอุปกรณ์และเครื่ องมือในการผลิตรายการส่วนใหญ่


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

| 14

จะต้ ออาศัยเครื่ องปรับอากาศ เพื่อให้ การทางานของเครื่ องมือมีประสิทธิภาพ ประตูทางเข้ าออกของห้ องผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ หน้ าประตูทางเข้ าออกของห้ องผลิตรายการควรจะมีป้ายบอก ด้ วยว่า ขณะนี ้มีการผลิตรายการโทรทัศน์อย่า เช่น กาลังออกอากาศ กาลังซ้ อม หรื อกาลังเตรี ย มพร้ อม (“On air”, “Stand by”) เพื่อที่จะให้ ผ้ เู ข้ าออกห้ องผลิตรายการทราบว่าจะเข้ าไปในห้ องผลิตรายการในเวลานันได้ ้ หรื อไม่อย่างไร (จันทร์ ฉาย เตมิยา คาร 2532ม น.4-6) โดยทัว่ ไปแล้ ว ห้ องผลิตรายการมีองค์ประกอบสาคัญอยู่ 7 ส่วนคือ 1. ฉากพืน้ หลัง (Cyclorama or Borizon) เป็ นผ้ าที่ทาด้ วยวัสดุพิเศษที่มีการสะท้ อนแสงสูงจึงให้ แน่นตึง หรื อการ สร้ างโดยใช้ ไม้ อดั ตีโต้ งพิเศษให้ เรี ยบและมีความสูงจากพื ้นถึงเพดานประมาณ 6-8 เมตร ทาสีขาวออกเทาหรื อสีเทาใช้ สาหรับ เป็ นฉากหลังที่ให้ พื ้นหลังมีความลึกและเป็ นที่ฉากและแสดงสีต่างๆ รวมทังภาพลั ้ กษณ์พิเศษที่เรี ยกว่า “PATTERN” เป็ นเมฆ เคลือ่ น ฝนตก ฟ้ าแลบ ดวงจันทร์ ลอยอยูบ่ นฟ้ า รวมทังภาพตึ ้ กสูงระฟ้ า ฯลฯ เพื่อสร้ างอารมณ์ นอกจากนี ้ฉากพื ้นหลังยังใช้ เป็ น “แบ็คกราวด์” สาหรับย้ อมสีแดง เขียว น ้าเงิน และสีผสมด้ วย โดยเฉพาะอย่ างยิ่งการใช้ เทคนิคโครมาคีย์ (Chroma Key) ซึ่ง เป็ นการซ้ อนภาพเจาะภาพคนที่กาลังทาท่าเหาะให้ ไปลอยอยู่บนท้ องฟ้ าที่มีเมฆเคลื่อนไป เพื่อแสดง ฉากคนแล้ วนาไปเจาะเข้ า กับภาพอื่น ภาพที่ปรากฏโดยกระบวนการ “โครมาคีย์” นี ้ จะเกิดภาพใหม่ที่ทกุ สิง่ ที่เจาะเข้ าไปประกอบเป็ นส่วนของภาพที่แสดง ถึงเรื่ องเดียวกัน เช่น เป็ นภาพคนเหาะผ่านเมฆบนท้ องฟ้ าจริ งๆ เป็ นต้ น 2. ชุดราวแขวนโคมไฟ (Light Patten) หมายถึง ราวที่มีมีดคมหรื อโคมไฟให้ แสงสว่างซึง่ มีอยู่ 2 ประเภท คือ โคม ไฟให้ แสงสว่างตามต้ องการทังที ้ ่เป็ นแสงสว่างหลักและแสงสว่ างเสริ มมีกลไกที่จะดึงโคมไฟลงมาเพื่อปรับให้ ได้ ทิศทางของแสง ตามที่ต้องการเลือ่ นราวลงมาเมือ่ จัดไฟแล้ วก็เลือ่ นขึ ้นไปไว้ ที่เดิม การเลือ่ นราวไฟอาจใช้ มอื หรื อมอเตอร์ ก็ได้ ในโรงถ่ายบางแห่งจะ มีราวไต่สาหรับใช้ ช่างขึ ้นไปจัดไฟ เรี ยกว่า “ราวตีนแมว” การที่มีเนื ้อที่ประมาณ 10 ตารางเมตร จะใช้ โคมไฟประมาณ 50 ดวง ขึ ้นอยูก่ บั ประเภทและกาลังความส่องสว่างของไฟที่ใช้ ได้ ครบตามวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน 3. กล้ องโทรทัศน์ (Television Camera) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ สาหรับจับภาพเพื่อนาบันทึกลงเทปโทรทัศน์หรื ออกอากาศ มีขนาดและคุณภาพแตกต่างกัน แล้ วแต่ขนาดของหน่วยงานหรื อสถานี โดยปกติห้องผลิตรายการมักจะมีกล้ องโทรทัศน์อย่าง น้ อย 2 ตัว หากเป็ นห้ องผลิตรายการขนาดใหญ่อาจมีกล้ องโทรทัศน์ 3-4 ตัว กล้ องโทรทัศน์ทกุ ตัวจะต้ องมีจอดูภาพ (View finder) ซึ่งเป็ นจอโทรทัศน์ขาวดาขนาดเล็กติดอยู่ด้ านบนของตัวกล้ อง มีไฟแทลี (tally) สีแดงสาหรับให้ ผ้ แู สดงหรื อผู้เกี่ยวข้ อง ทราบว่ากล้ องใดกาลังออกอากาศและมีระบบติดต่อภายในที่เรี ยกว่า “intercom” เพื่อให้ ติดต่อกับผู้กากับเทคนิคและผู้กากับ รายการได้ กล้ องโทรทัศน์ที่ใช้ ออกอากาศได้ มีราคาตังแต่ ้ 200,000 บาท จนถึงกล้ องขนาดใหญ่ตวั ละ 2,000,000 บาท 4. จอดูภาพหรื อมอนิเตอร์ (TV Monitor) เป็ นเครื่ องรับโทรทัศน์ประเภทหนึ่งที่รับภาพจากสัญญาณภาพ (Video Signal) และมีความคมชัดสูงแตกต่างจากเครื่ องรับโทรทัศน์ที่เราใช้ กนั ที่บ้านตรงที่ว่าเครื่ องรับที่บ้านเป็ น “Receive” เพราะรับ สัญญาณภาพและเสียงจากคลืน่ ความถี่วิทยุ (RF-Radio Frequency) และราคาถูกกว่าประเภทที่เป็ น “มอนิเตอร์ ” ถ้ าเครื่ องใด มีทงั ้ 2 ระบบ คือ สัญญาณภาพก็ได้ รับสัญญาณจากคลืน่ วิทยุก็ได้ เรี ยกว่า “Monitor-Receiver” ในห้ องผลิตรายการจะมีมอนิเตอร์ สอี ย่างน้ อย 1 ตัว สาหรับให้ ผ้ ทู ี่อยูใ่ นห้ องผลิตรายการ (ซึ่งต่อไปนี ้อาจจะเรี ยกทับ ศัพท์วา่ “สตูดิโอ”) ได้ เห็นภาพที่กาลังออกอากาศหรื อบันทึกรายการ (ซึ่งต่อไปนี ้จะเรี ยกรวม “ออกอากาศ”) แม้ สญ ั ญาณภาพ และเสียงนัน้ จะไม่ได้ ออกอากาศทันทีแต่เมื่อมีการบันทึ กลงเทปโทรทัศน์ ไว้ แล้ วก็ จะต้ องนาไปแพร่ ภาพออกอากาศตอนหลัง มอนิเตอร์ ในสตูดิโอมักมีขนาดใหญ่อย่างน้ อย 20 และมีที่ปรับความดังของเสียงไว้ ได้


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

| 15

5. เครื่ องฉายภาพพิเศษบนพืน้ ฉากหลัง (Kaleidoscope) เป็ นโคมไฟประเภทหนึ่งที่สามารถปรับโฟกัสของแสงที่ ปรากฏบนจอได้ เครื่ องฉายประเภทนี ้มิได้ มีกลไกสลับซับซ้ อนเหมือนเครื่ องฉายภาพยนตร์ หรื อเครื่ องฉายสไลด์ แต่มีมอนิเตอร์ ที่ จะทาให้ ภาพที่นามาฉายซึง่ เป็ นภาพในรูปแบบหรื “pattern” ต่างๆ เคลือ่ นไหวได้ เช่น ฝนตก เมฆเคลือ่ น เป็ นต้ น 6. ชุ ดไมโครโฟน ที่ใช้ ในสตูดิโอ มี 3 ประเภท คือ ไมโครโฟนที่มีการยื่นไปยังผู้แสดงเรี ยกว่า “บูมไมโครโฟน” ไมโครโฟนแขวนคอและไมโครโฟนสาหรับมือถือ 7. ชุดฉาก (Prop and Set) หมายถึง ชุดอุปกรณ์ที่นามาประกอบเป็ นฉาก ครอบคลุมส่วนที่เป็ นวัสดุ (props) และ ส่วนที่เป็ นฉาก (sets) ในสตูดิโอ รวมทังวั ้ สดุฉากซึง่ ได้ แก่ เครื่ องประดับฉาก เช่น รูปภาพ กระถางต้ นไม้ แจกัน เป็ นต้ น และฉาก เช่น ชุด รับแขก ฉากหลัง ยกพื ้น และส่วนที่ตบแต่งให้ เป็ นห้ องหับทังหลายจะต้ ้ องจัดเตรี ยมไว้ ลว่ งหน้ าให้ เรี ยบร้ อยเป็ นส่วนใหญ่ และ ปรับเปลีย่ นได้ บ้างเมื่อผลิตรายการจริ งๆ เพราะการจัดฉากจะต้ องสัมพันธ์กบั การจัดแสดงและตาแหน่งของกล้ อง ดังนัน้ จึงต้ อง มากาหนดแผนผังเวที (floor pian) ห้ องควบคุมรายการ ห้ องควบคุมรายการ (Control Room) เป็ นห้ องที่ใช้ ในการควบคุมการผลิตรายการ ส่วนมากจะอยู่ติดกับสตูดิโอโดยมี หน้ าต่างกระจกกัน้ ในศูน ย์ผลผลิตขนาดใหญ่ก็อาจควบคุมโดยไม่มีหน้ าต่างกระจกก็ได้ ซึ่งมีองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วน คือ แผงควบคุมเพื่อเลือกภาพและทาภาพพิเศษ ชุดจอดูภาพ ชุดควบคุมสัญญาณ ชุดควบคุมแสง และชุดควบคุมเสียง ศูนย์ รวมอุปกรณ์ เทคนิค เป็ นห้ องชุดที่มีห้องขนาดเล็กหรื อใหญ่หลายห้ องเพื่อติดตังอุ ้ ปกรณ์เทคนิคที่จาเป็ นต่อการผลิตประกอบด้ วยห้ องฉายภาพ เข้ าโทรทัศน์ ห้ องเทปโทรทัศน์ และห้ องควบคุมและเชื่อมสัญญาณ ห้ องสนับสนุนอุปกรณ์ เทคนิค เป็ นชุดหรื อกลุม่ ของห้ องที่มีเนื ้อที่และอุปกรณ์สาหรับการผลิตรายการได้ แก่ ห้ องแต่งหน้ าแต่งตัว ห้ องตัดต่อ ห้ องสมุด วัสดุรายการ ห้ องศิลปกรรม โรงสร้ าง จัดและเก็บฉากและห้ องซ้ อม 2. ห้ องผลิตรายการนอกสถานที่ (field production) วิธีการผลิตรายการโดยถ่ายทาในสถานที่เกิดเหตุการณ์ จริ ง เช่น การถ่ายทารายการข่าว การถ่ายทอดสดพิธีเปิ ดการ แข่งขันกีฬา หรื อการถ่ายทาในโรงถ่ายกลางแจ้ งที่สร้ างขึ ้นไว้ โดยเฉพาะ เช่นการถ่ายทาละครกลางแจ้ ง หรื ออาจไปถ่ายทาใน พื ้นที่ใดพื ้นที่หนึง่ ที่เป็ นสถานที่จริ ง เช่น การถ่ายทาสารคดี ฯลฯ การผลิตรายการนอกสถานที่โดยส่วนใหญ่ใช้ อปุ กรณ์การผลิตรายการคล้ ายกับการผลิตรายการในสตูดโิ อ กล่าวคือ ต้ อง มีกล้ อง แสง เสียง และเครื่ องตัดต่อภาพเช่นเดียวกัน แต่เป็ นอุปกรณ์ที่ออกแบบมาสาหรับการถ่ายทานอกสถานที่โดยเฉพาะ ซึง่ อุปกรณ์จะมีลกั ษณะพิเศษคือ มีขนาดเล็กระทัดรัด คล่องตัว ทนต่อสภาพดินฟ้ าอากาศ และการเคลือ่ นย้ าย คุณภาพเชิงเทคนิค ของอุปกรณ์มกั ไม่ดีเท่ากับอุปกรณ์ในห้ องผลิตรายการ แต่ก็อยูใ่ นระดับที่สามารถนาออกอากาศได้ ประเภทของสถานที่ในการผลิตรายการนอกสถานที่ มีลกั ษณะดังนี ้ 1. โรงถ่ ายกลางแจ้ ง (outdoor studio) เป็ นบริ เวณกลางแจ้ งขนาดใหญ่ที่สร้ างขึ ้นเป็ นสวน ทุ่งนา หมู่บ้าน อาจมี ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ตามธรรมชาติที่มีอยูแ่ ล้ วหรื อสร้ างขึ ้นใหม่ เช่น ลาครอง บึง หรื อทะเลสาบขนาดเล็ก เพื่อใช้ ประโยชน์ใน การผลิตรายการละครที่ให้ สามารถควบคุมสถานการณ์ ได้ เต็มที่โดยไม่ต้องมีไทยมุง หรื อปั จจัยภายนอกที่จะทาลายอารมณ์ ผ้ ู แสดงและเสียเวลาการผลิต เช่น โรงถ่ายลาดหลุมแก้ วของบริ ษัทดาราวิดีโอ โรงถ่ายของบริ ษัทกันตนา


และ บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์

| 16

2. สถานที่จริง (on location) หมายถึง การออกไปถ่ายทาในสถานที่เกิดเหตุการณ์จริ ง เช่นการถ่ายทาในสนามกีฬา การรายงานสถานการณ์ประท้ วงที่ท้องสนามหลวง หรื อสถานที่ทางานจริ งของหน่วยงาน ซึง่ เป็ นฉากที่ใช้ ในการถ่ายทารายการ การใช้ สถานที่จริ งเป็ นส่วนหนึง่ ของฉากในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ สามารถประหยัดงบประมาณในการสร้ างฉาก ได้ มาก และมีความเป็ นธรรมชาติสงู เพราะมีสถานที่ เช่น ห้ องรับแขก โต๊ ะทางาน บรรยากาศในการทางานซึ่งได้ จดั ไว้ เรี ยบร้ อย แล้ ว แต่มีข้อเสียคือไม่สามารถควบคุมเสียง แสง และมุมกล้ องให้ ได้ ตามที่ต้องการ จาเป็ นต้ องใช้ เครื่ องมือในการผลิตอื่นๆ ที่ สามารถช่วยในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ให้ สมบูรณ์มากยิ่งขึ ้น บทสรุ ป เครื่ องมือและอุปกรณ์ทางเทคนิคที่ใช้ ในการออกอากาศหรื อใช้ การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ประกอบด้ วย กล้ องโทรทัศน์ อุปกรณ์การจัดแสง อุปกรณ์การบันทึกภาพ อุปกรณ์การตัดต่อภาพ อุปกรณ์ควบคุมแสง อุปกรณ์สนับสนุนการผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ เครื่ องมือในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์นอกสถานที่ ห้ องส่งและห้ องผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ เครื่ องมือและอุปกรณ์ทางเทคนิคเหล่านีค้ รอบคลุมกระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ซึ่งผู้ที่ทางานเกี่ยวกับโทรทัศน์ จาเป็ นต้ องรู้จกั และทาความเข้ าใจถึงอุปกรณ์และวิธีการใช้ เพื่อสามารถนามาใช้ ให้ เกิดประโยชน์สงู สุดและมีประสิทธิภาพ

บรรณานุกรม ชัยยงค์ พรหมวงศ์, นิคม ทาแดง และไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์(2547, หน้ า 149-155). ประมวลสาระชุดวิชาเทคโนโลยีการจัดการการสื่อสาร หน่ วยที่ 1-7. พิมพ์ครัง้ ที่ 2 สุโขทัยธรรมาธิราช. วิภา อุตมฉันทร์ (2544). การผลิตสื่อโทรทัศน์ และสื่อคอมพิวเตอร์ : กระบวนการสร้ างสรรค์ และเทคนิคการผลิต. กรุงเทพ:บุ๊ค พอยท์. ศุภางค์ นันตา. (2552). หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ . พิมพ์ครัง้ ที่ 1. มหาสารคาม : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สมสุ ข หิ น วิ ม าน และคณะ. ( 2554). ความรู้ เบื ้อ งต้ นทางวิ ท ยุ แ ละโทรทั ศ น์ . พิ ม พ์ ค รั ง้ ที่ 1. กรุ ง เทพมหานคร : ส านั ก พิ ม พ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . อุษณีย์ ศิริสนุ ทรไพบูลย์. (2552). หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ . พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. Zettl, H. (1976). Television Production Handbook. 3rd. Edition. Wadsworth Publishing Company. Inc. Belmont, California.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.