Course syllabus ca351(2 2558)

Page 1

แผนการสอนรายวิชา(Course Syllabus) นศ 351 โทรทัศน์และภาพยนตร์ (CA 351 Television and Film)

หลักสูตร คณะ/สาขาวิชา วิชาบังคับก่อน ประเภทของรายวิชา จํานวนหน่วยกิต ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา อาจารย์ผสู้ อน สถานที่เรียน วัน-เวลาเรียน

ศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ไม่มี วิชาเอกบังคับ 3 (3-0-6) 2/2558 อาจารย์ณัฏฐพงษ์ สายพิณ ห้องเรียนรวม 423 อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ Sec 1 : ทุกวันจันทร์ เวลา 13.00 – 16.00 น. Sec 2 : ทุกวันจันทร์ เวลา 9.00 – 12.00 น.

คําอธิบายวิชา พื้นฐานด้านโทรทัศน์และภาพยนตร์ รูปแบบ ประเภทของบท องค์ประกอบ การวางโครงสร้างการเขียนบท การเลือกประเด็นเนื้อหาหลัก การใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์ แหล่งข้อมูลการเขียนบท การตรวจสอบแก้ไขบท สร้างสตอรี่บอร์ดสําหรับงานโทรทัศน์และภาพยนตร์ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง / สัปดาห์) วัตถุประสงค์ของรายวิชา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ รูปแบบของโทรทัศน์และภาพยนตร์ได้ 2. สามารถวางโครงสร้างการเขียนบท และสร้างสตอรี่บอร์ดสําหรับงานโทรทัศน์และภาพยนตร์ได้ 3. ประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ได้

COURSE SYLLABUS นศ 351 โทรทัศน์และภาพยนตร์ | 1


ลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยายเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในเกี่ยวกับความหมาย ความสําคัญ รูปแบบรายการ โทรทัศน์และภาพยนตร์ประเภทต่างๆ ฝึกปฏิบตั กิ ารเขียนบทและสร้างสตอรี่บอร์ด สําหรับงาน รายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ เพื่อสร้างสรรค์เดโมรายการ สามารถนําเสนอผลงานรายบุคคล และรายกลุ่ม โดยอธิบายขั้นตอนกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล สัปดาห์ที่ 1 11/1/59 2 18/1/59

3 25/1/59

4 1/2/59

ปฏิทินการศึกษา วิชา นศ 351 โทรทัศน์และภาพยนตร์ หัวข้อ/รายละเอียด - แนะนํารายวิชา การวัดผล และข้อตกลงเบื้องต้นในการเรียนการสอน - ความหมายและความสําคัญของโทรทัศน์และภาพยนตร์ ระบบวิทยุโทรทัศน์และภาพยนตร์ - ระบบวิทยุโทรทัศน์และภาพยนตร์ - ระบบการส่งและรับสัญญาณวิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย - เทคโนโลยีการส่งสัญญาณวิทยุโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม - เทคโนโลยีเคเบิลทีวี - ระบบวิทยุโทรทัศน์ดิจิทัล - ฟรีทีวีดิจิทัลสาธารณะ รูปแบบ กลุ่มผู้ชม และประเภทของรายการโทรทัศน์ - รายการสาระ - รายการข่าว - รายการสารคดี - รายการบันเทิง - รายการซิทคอม - รายการละคร - รายการเกมโชว์ - รายการทอล์กโชว์ - รายการเรียลลิตี้ - รายการกีฬา - รายการดนตรี รูปแบบ กลุ่มผู้ชม และประเภทของภาพยนตร์ - Action movie (ภาพยนตร์แอคชั่น) - Adventure (ภาพยนตร์ผจญภัย) - Animation (ภาพยนตร์การ์ตูน) - Comedy (ภาพยนตร์ตลก) - Documentaries (ภาพยนตร์สารคดี) - Drama Movies (ภาพยนตร์ดราม่า) COURSE SYLLABUS นศ 351 โทรทัศน์และภาพยนตร์ | 2


5 8/2/59

6 15/6/59

7 22/2/59

8 29/2/59

- Erotic (ภาพยนตร์ผู้ใหญ่) - Family (ภาพยนตร์ครอบครัว) - Fantasy (ภาพยนตร์ผสมจินตนาการ) - Musicals Movies (ภาพยนตร์เพลง) - Romance (ภาพยนตร์โรแมนติก) - Sci-Fi Movies (ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์) - Thriller Movies (ภาพยนตร์ระทึกขวัญ) - War (ภาพยนตร์สงคราม) - Western (ภาพยนตร์ตะวันตก) ภาษาของสื่อโทรทัศน์และภาพยนตร์ (TV and Film Language) และคําศัพท์เทคนิคเฉพาะทางในการผลิตรายการ - วัจนภาษาและอวัจนภาษา - คําศัพท์ด้านภาพ (ขนาดภาพ, การเคลื่อนกล้อง, มุมกล้อง) - คําศัพท์ด้านเสียง - คําศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ - ขั้นตอนพัฒนาความคิด (Initiation) - ขั้นตอนเตรียมงานก่อนการถ่ายทํา (Pre-production) - ขั้นตอนผลิตรายการ (Production) - ขั้นหลังผลิตรายการ (Post-production) - ขั้นตอนประเมินผล (Evaluation) การเล่าเรื่องและการเขียนบททางโทรทัศน์ - แนวคิด/กระบวนการในการเล่าเรื่อง - ทฤษฎีการเล่าเรื่อง - ประเภทของการเขียนบท - หลักการเขียนบท - ขั้นตอนการเขียนบท - โครงสร้างรายการโทรทัศน์ - เทคนิคการเขียนบท - การสร้างสตอรี่บอร์ดสําหรับงานโทรทัศน์ การเล่าเรื่องและการเขียนบททางภาพยนตร์ - แนวคิด/กระบวนการในการเล่าเรื่อง - ทฤษฎีการวิเคราะห์ภาพยนตร์ - ประเภทของการเขียนบท/หลักการเขียนบท - ขั้นตอนการเขียนบท - โครงสร้างภาพยนตร์/เทคนิคการเขียนบท - การสร้างสตอรี่บอร์ดสําหรับงานภาพยนตร์ COURSE SYLLABUS นศ 351 โทรทัศน์และภาพยนตร์ | 3


9 7/3/59

10 14/3/59 11 21/3/59

12 28/3/59

บุคลากรในการผลิตรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ - ลักษณะการทํางานของการผลิตรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ - ตําแหน่งหน้าที่ในการผลิตรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ - กลุ่มเบื้องหน้า - กลุ่มเบื้องหลัง (ด้านผลิตรายการและด้านเทคนิค) เครื่องมือและอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ - อุปกรณ์กล้องและเครื่องบันทึกภาพ - อุปกรณ์การจัดแสงและอุปกรณ์ควบคุมแสง - ไฟประเภทต่างๆ /อุปกรณ์ยึดดวงไฟ - อุปกรณ์เสียง - ไมโครโฟนและแผงควบคุมเสียง - เครื่องสวิตเชอร์ - วัสดุบันทึกและอุปกรณ์ตัดต่อภาพ สอบกลางภาค การสร้างสรรค์โครงร่างบท และรูปแบบรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ (Final Project) - ขั้นตอนพัฒนาความคิด (Initiation) - ขั้นตอนเตรียมงานก่อน การถ่ายทํา (Pre-production) การสร้างสรรค์โครงร่างบท และรูปแบบรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ (Final Project) - ขัน้ การผลิตรายการ (Production)

13 4/4/59

การสร้างสรรค์โครงร่างบท และรูปแบบรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ (Final Project) - ขั้นการผลิตรายการ (Production)

14 11/4/59

การสร้างสรรค์รูปแบบรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ (Final Project) ด้วยโปรแกรมตัดต่อสําเร็จรูป - ขั้นหลังผลิตรายการ (Post-production) - การตัดต่อรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูป - รู้จักโปรแกรมและการจัดการกับโปรเจ็กต์ - การนําคลิปเข้ามาทํางานในโปรเจ็กต์ -การจัดการและตัดต่อคลิป - การตัดต่อวิดีทัศน์ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูป - การสร้าง Title และการใส่ Sound เพิ่มอารมณ์ในงานโทรทัศน์และภาพยนตร์ COURSE SYLLABUS นศ 351 โทรทัศน์และภาพยนตร์ | 4


15 18/4/59

16 25/4/59

การสร้างสรรค์รูปแบบรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ (Final Project) ด้วยโปรแกรมตัดต่อสําเร็จรูป - ขั้นหลังผลิตรายการ (Post-production) - การใส่เอฟเฟกต์ให้คลิปวิดีโอ - เทคนิคการจัดการปัญหา อุปสรรคในการผลิตงานโทรทัศน์และภาพยนตร์ - การ Export และสร้างงานวิดีทัศน์ลงแผ่น VCD/DVD - การ Export และแชร์คลิปวิดีโอผ่าน Facebook และ Youtube – เทคนิคพิเศษในงานโทรทัศน์และภาพยนตร์ นําเสนองาน / ประเมินผลการผลิต เดโมรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ของนักศึกษา - ขั้นตอนประเมินผล (Evaluation)

17 สอบปลายภาค 2/5/59 หมายเหตุ ช่วงวันสอบกลางภาค ระหว่างวันที่ 14-20 มีนาคม 2559 ช่วงวันสอบปลายภาค ระหว่างวันที่ 2-15 พฤษภาคม 2559

***หากมีการเปลี่ยนแปลงวันสอบ จะแจ้งให้ทราบก่อนล่วงหน้า

เกณฑ์การประเมินผล ระดับคะแนน ความหมายของผลการเรียน A ดีเยี่ยม B+ ดีมาก B ดี C+ ดีพอใช้ C พอใช้ D+ อ่อน D อ่อนมาก F ตก

ค่าระดับคะแนน 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.00 0.0

ค่าร้อยละ 80-100 75-79 70-74 65-69 60-64 50-59 50-54 0-49

COURSE SYLLABUS นศ 351 โทรทัศน์และภาพยนตร์ | 5


การประเมินผล คิดจากคะแนนรวมตลอดภาคการศึกษาทั้งสิ้น 100% แบ่งเป็นสัดส่วน ดังนี้ กิจกรรม ที่ 1 2

3

4 5

วิธีการประเมินผล การมีส่วนร่วม, สถิติการการเข้าชั้นเรียน, การทํางานเป็นทีม งานมอบหมาย, การทดสอบย่อย, การนําเสนอรายงาน, การวิเคราะห์กรณีศึกษา (ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม) การสร้างสรรค์งานโทรทัศน์และภาพยนตร์เพื่อประเมินผล (Final Project) - การสร้างสรรค์โครงร่างบท และรูปแบบรายการโทรทัศน์ และภาพยนตร์ (Final Project) (รายบุคคล) - การสร้างสรรค์รูปแบบรายการโทรทัศน์และภาพย นตร์ (Final Project) ด้วยโปรแกรมตัดต่อสําเร็จรูป (รายกลุ่ม) สอบกลางภาค สอบปลายภาค

สัดส่วนขอ สัปดาห์ที่ป งการประเ ระเมินผล มินผล ตลอดภาค 10 % การศึกษา ตลอดภาค 10 % การศึกษา

7-17 7-17

15 % 30 %

10 17

15 % 20 %

หนังสือและเอกสารค้นคว้าประกอบการเรียนการสอน กําจร หลุยยะพงศ์. (2556). ภาพยนตร์กับการประกอบสร้าง : สังคม ผู้คน ประวัติศาสตร์ และชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. - จุฑามาศ จิวะสังข์. (2554). Adobe Premiere Pro Video Editing. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร : ซิมพลิฟลาย. - ดําเนิน ยอดมิ่ง. (2543). การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่ : สยามซิลค์ พริ้นติ้ง. - ธันยพัฒน์ วงศ์รัตน์. (2556). Adobe Premiere Pro CS6. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สวัสดี ไอที จํากัด. - นลินี สีตะสุวรรณ. (2553). ข้อเสนอแนะการผลิตละครโทรทัศน์ไทย การศึกษาประเด็น SLVR ในละครโทรทัศน์ต่างประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ออฟเซ็ท ครีเอชั่น จํากัด.

COURSE SYLLABUS นศ 351 โทรทัศน์และภาพยนตร์ | 6


- เนาวนิตย์ สงคราม (ใจมั่น). (2554). การสร้าง Digital Video & Digital Storytelling เพื่อการเรียนการสอนยุคดิจิทัล. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. - ภูพายัพ ยอดมิ่ง. (2548). ข่าวโทรทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. - มูลนิธิสํารวจโลก. (2557). เอกสารการอบรมโครงการพัฒนาผู้ผลิตรายการระดับท้องถิ่นและภูมิภาค. - ศุภางค์ นันตา. (2552). หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาสารคาม : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. - สมสุข หินวิมาน และคณะ. (2554). ความรู้เบื้องต้นทางวิทยุและโทรทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. - สุกัญญา สมไพบูลย์ และ ปอรรัชม์ ยอดเณร. (2550). ออกทีวีให้ดูดี TV Performance การปรากฏตัวทางโทรทัศน์ในหลากหลายรายการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์. - สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย, สาขาวิชานิเทศศาสตร์. (2550). เอกสารการสอนชุดวิชาการสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ หน่วยที่ 1-5. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. - สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย, สาขาวิชานิเทศศาสตร์. (2550). เอกสารการสอนชุดวิชาการสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ หน่วยที่ 6-10. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. - สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย, สาขาวิชานิเทศศาสตร์. (2539). เอกสารการสอนชุดวิชาการสร้างสรรค์และการผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์. - สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย, สาขาวิชานิเทศศาสตร์. (2552). เอกสารการสอนชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพนิเทศศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ์. - สุทิติ ขัตติยะ. (2555). หลักการทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ประยูรวงศ์พริ้นท์ติ้ง จํากัด. - อดิศักดิ์ ลิมปรุ่งพัฒนกิจ. (2556). ภูมิทัศน์สื่อใหม่ : Digital Media ทีวีพันช่อง. พิมพ์ครั้งที่ 1. สมุทรปราการ : บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด. - อรนุช เลิศจรรยารักษ์. (2544). หลักการเขียนบทโทรทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. - อุษณีย์ ศิริสุนทรไพบูลย์. (2552). หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. - Debbie Millman; Rodrigo Corral Design (Firm). (2012). Brand Bible : The complete guide to building, designing, and sustaining brands. Beverly, Mass : Rockport Publishers. COURSE SYLLABUS นศ 351 โทรทัศน์และภาพยนตร์ | 7


- Michael Rush. (2003). Video Art. London : Thames & Hudson Ltd. - Zettl, H. (1976). Television Production Handbook. 3rd. Edition. Wadsworth Publishing Company. Inc. Belmont, California. แหล่งค้นคว้าอื่น ๆ 1. ตําราเกี่ยวกับโทรทัศน์ภาพยนตร์ ค้นจากห้องสมุดกลางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ห้องสมุดกลางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ห้องสมุดเฉพาะด้านการออกแบบ และห้องสมุดอื่น ๆ 2. เอกสาร หนังสือ ข่าวสาร หนังสือพิมพ์รายวัน นิตยสาร ประเภทต่าง ๆ ในเรื่องการโทรทัศน์และภาพยนตร์ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 3. การสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต สื่อออนไลน์ เว็บไซต์ 4. สื่อทุกประเภท ทัง้ สิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ รวมถึงกิจกรรม และบุคคลที่น่าสนใจ ตามเนื้อหาที่กําหนดในการเรียนการสอน

COURSE SYLLABUS นศ 351 โทรทัศน์และภาพยนตร์ | 8


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.