คำนำ สำนั ก งำนตรวจบั ญ ชีส หกรณ์ ที่ 3 ได้ จั ด ท ำรำยงำนประจ ำปี 2562 เพื่ อ รำยงำนข้ อ มู ล เกี่ยวกับประวัติสำนักงำน พื้นที่รับผิดชอบ 5 จังหวัด (ชัยภูมิ นครรำชสีมำ บุรีรัมย์ มหำสำรคำม และ สุรินทร์) โครงสร้ำงกำรบริหำรอำนำจหน้ำที่ควำมรับผิดชอบ กรอบอัตรำกำลัง และงบประมำณในกำร ดำเนินกำร ทั้งนี้รำยงำนยังได้สรุปผลกำรปฏิบัติงำนในรอบปี ทั้งด้ำนกำรให้บริกำรตรวจสอบบัญ ชี ด้ ำ นกำรให้ บ ริ ก ำรโปรแกรมระบบบั ญ ชี ที่ พั ฒ นำโดยกรมตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ แ ก่ ส หกรณ์ แ ละ กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ ตลอดจนจัดฝึกอบรมตำมโครงกำรเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งแก่บุคลำกรของ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสำหกิจชุมชน ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมให้บุคลำกรสถำบันเกษตรกรมีควำมรู้ สำมำรถน ำควำมรู้ ไ ปใช้ ในกำรปฏิ บั ติ งำน และชี วิ ต ประจ ำวั น ได้ นอกจำกนี้ ยั ง วิ เครำะห์ ส ภำวะ เศรษฐกิจทำงกำรเงินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่อีกด้วย สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำรำยงำนประจำปี 2562 เล่มนี้ จะเป็น ประโยชน์แก่ส่วนรำชกำร หน่วยงำนอื่น และผู้สนใจไม่มำกก็น้อย สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 ธันวำคม 2562
สำรบัญ หน้ำ ส่วนที่ 1 ภำพรวมของสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 วิสัยทัศน์ ค่ำนิยมหลักของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พันธกิจ ยุทธศำสตร์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ภำรกิจตำมกฎหมำย โครงสร้ำงกำรบริหำรของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประวัติสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 แผนที่ตั้งสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 หน้ำที่ควำมรับผิดชอบของสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 โครงสร้ำงหน่วยงำนสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 อัตรำกำลังบุคลำกรของหน่วยงำนในพื้นที่สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 บุคลำกรสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 ทำเนียบผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยกำรสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 งบประมำณประจำปี 2562 ส่วนที่ 2 กำรดำเนินงำนของสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 แผนงำนพื้นฐำนด้ำนกำรแก้ไขปัญหำควำมยำกจน ลดควำมเหลื่อมล้ำ และสร้ำงกำรเติบโตจำกภำยใน แผนงำนยุทธศำสตร์สร้ำงควำมมั่นคงและลดควำมเหลื่อมล้ำทำงด้ำนเศรษฐกิจ และสังคม แผนงำนบูรณำกำรพัฒนำศักยภำพกำรผลิตภำคกำรเกษตร แผนบูรณำกำรพัฒนำผู้ประกอบกำรเศรษฐกิจชุมชนและวิสำหกิจขนำดกลำง และขนำดย่อมสู่สำกล กำรพัฒนำศักยภำพบริหำรจัดกำรด้ำนกำรเงินกำรบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ส่วนที่ 3 กำรส่งเสริมกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ
1 1 2 3-4 5 6 7 8 9 10 11 12 – 17 18 19 19 – 26 28 – 29 30 – 32 33 34 – 46 47
งำนกำกำแนะนำกำรให้บริกำรตำมตัวชี้วัด Road Map วิทยำกรถ่ำยทอดวิชำกำรใช้สำรสนเทศเพื่อกำรบริหำรผ่ำนนวัตกรรม Smart 4 M เข้ำกำกับแนะนำคณะกรรมกำรสหกรณ์ Smart 4 M ส่วนที่ 3 ภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงินสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรในพืน้ ที่ สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 ประจำปีงบประมำณ 2562
48 – 50 51 52 - 53 54 – 59
ส่วนที่ 4 กิจกรรมปีงบประมำณ 2562
60 - 66
วิสยั ทัศน์ ภายในปี 2564 สหกรณ์และเกษตรกร มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีที่มีคุณภาพ เชื่อถือได้
ค่านิยม A : Accurate แม่นยาในกฎเกณฑ์
U : Understanding รูเ้ ขา
มีความแม่นยาใน กฎระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรฐานวิชาชีพ บัญชี
รู้จักผู้รับบริการและผู้มี ผลประโยชน์ส่วนร่วม รวมทั้งมีความเข้าใจใน สถานการณ์และ สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง กับการทางานอย่างรอบด้าน
T : Timely รูท้ นั สถานการณ์ รู้ทันสถานการณ์ เท่าทันสหกรณ์ รู้กลยุทธ์ รัฐบาล ทางานทันเวลา
D : Development – Oriented พัฒนาให้เติบโต
ต้องรู้เชิงลึกเกี่ยวกับปัญหา มีจิตที่จะพัฒนาสหกรณ์ให้ ที่เกิดขึ้นและสามารถวาง เติบโตและสามารถ แนวการทางานเพื่อ แก้ปัญหาภายใต้ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นแก่ สหกรณ์ได้ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลา
O : Opportunity – Provider เพิ่มโอกาสให้พฒ ั นา รู้จักเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ มองทุกอย่าง เป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
I : In – Depth รูเ้ ชิงลึก
R : Reliable ไว้วางใจได้ เชื่อถือได้ มีความซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงตรง และเชื่อถือได้
1
พันธกิจ พัฒนาระบบการตรวจสอบบัญชีและระบบควบคุมคุณภาพการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากล พัฒนามาตรฐานการบัญชีสหกรณ์และส่งเสริมความรู้การจัดทาบัญชีและการบริหารจัดการด้านการเงิน การบัญชีแก่สหกรณ์และเกษตรกร เสริมสร้างเสถียรภาพทางการเงินและระบบการควบคุมภายในที่ดีแก่สหกรณ์ พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและการเตือนภัยทางการเงินแก่สหกรณ์ พัฒนาระบบการให้คาปรึกษาแนะนาด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และเกษตรกร
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
2
ย ุทธศาสตร์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จากยุทธศาสตร์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 4 ด้าน เพื่อนาไปสู่การปฏิ บัติ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์จึงได้กาหนด กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์จานวน 25 กลยุทธ์ และมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 : คุณประโยชน์ของการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลจะต้อง เป็นที่ประจักษ์อย่างชัดเจน และนาไปสู่การพัฒนาสหกรณ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม กลยุท ธ์ 1.สร้า งความเชื่ อ มั่ น และโปร่ง ใสให้ กั บ สหกรณ์ แ ละกลุ่ม เกษตรกร 2.พัฒนาระบบการตรวจสอบกิจ การของสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ 3.เพิ่ มขีด ความสามารถในการจัดทาบัญชี งบการเงินและยกระดับชั้นคุณภาพการควบคุม ภายในของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4.พัฒนามาตรฐานการบัญชีสหกรณ์ให้ ก้าวทันมาตรฐานการบัญชี และสามารถนาไปใช้กับสหกรณ์ได้อย่างเหมาะสม และบั งเกิ ด ผล 5.ส่ งเสริม ให้ ส มาชิก สหกรณ์ ต ระหนั กและมี ส่ วนร่ วมในการ ตรวจสอบการดาเนินการของสหกรณ์ 6.พัฒนาวิสาหกิจชุมชนให้เข้มแข็งและ พึ่งพาตนเองได้
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 : สร้างผู้บริหารสหกรณ์เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนา สหกรณ์แห่งอนาคต กลยุท ธ์ 1.สร้างจิตส านึกในการเป็น ผู้บริหารสหกรณ์ ที่ ดีแก่คณะกรรมการ สหกรณ์ 2.พัฒนาสมรรถนะฝ่ายบริหารสหกรณ์ให้สามารถใช้ข้อมูลการเงินการ บั ญ ชี เพื่ อ บริห ารสหกรณ์ อ ย่ า งมื อ อาชี พ 3.พั ฒ นาผู้ บ ริ ห ารสหกรณ์ ให้ มี ความสามารถในการก ากั บ และติ ด ตามการปฏิ บั ติ ง านของฝ่ า ยจั ด กา ร 4.ผลักดันให้สหกรณ์ใช้ประโยชน์จากรายงานการตรวจสอบบัญชีและรายงาน การตรวจสอบกิจการ
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
3
ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 : คุณประโยชน์ของการทาบัญชีและบริหารการเงินที่มี คุ ณ ภาพ จะต้ อ งเป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ต่ อ เกษตรกรอย่ า งกว้ า งขวาง ชั ด เจน และเข้าถึงได้ กลยุ ท ธ์ 1.สร้ า งความตระหนั ก รู้ ป ระโยชน์ ก ารจั ด ท าบั ญ ชี แ ก่ เกษตรกร 2.นาคุณค่าการจัดทาบัญชีสู่เกษตรกรอย่างยั่งยืน 3.สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ที่ ทาบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น 4.ส่งเสริมการพัฒนาเครือข่ายด้านบัญชี 5.ส่งเสริม การจัดทาบัญชีแก่กลุ่มเป้าหมายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
ย ุทธศาสตร์ที่ 4 : มีระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพใน การรองรั บ ภารกิ จ ที่ เร่ งด่ ว นท้ าทาย และเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ สามารถสร้างความเป็น AUDITOR ให้ มีความชัดเจนและเป็นจริง กลยุ ท ธ์ 1.ผลั กดั น ให้ มี การปรับ ปรุง โครงสร้า งและระบบการบริห าร จัดการองค์กรที่เหมาะสมกับสถานการณ์ 2.ปรับระบบบริหารทรัพยากร บุคคลและผลักดันให้นาไปสู่การปฏิบัติ 3.ปรับระบบการตรวจสอบบัญชี สหกรณ์ 4.ปรับระบบการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสู่การปฏิบัติงานอย่าง มื อ อ าชี พ 5.สร้ า งต้ น แ บ บ Smart Cooperative Auditing Office 6.จั ด ตั้ ง หน่ ว ยบริ ก ารรู ป แบบพิ เศษ (Service Delivery Unit : SDU) รองรับการจัดจ้าง ผู้สอบบัญชีภาคเอกชน 7.พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 8.ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒ นา 9.บูรณา การกากับดูแลการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้าน การ สนั บสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย 10.สร้างภาคีเครื อข่ายความ ร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการกั บ องค์ ก รด้ า นสหกรณ์ ทั้ ง ในประเทศ และ ต่างประเทศ
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
4
ภารกิจตามกฎหมาย
ด า เนิ น ก า ร ตรวจสอบบั ญ ชี ส หกรณ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม เก ษ ต ร ก ร ต า ม กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมาย อื่นที่เกี่ยวข้อง ก าหนดระบบบั ญ ชี แ ละมาตรฐานการ สอบบัญชีให้เหมาะสมกับธุรกิจของสหกรณ์และ กลุ่ม เกษตรกร ให้คาปรึกษาแนะนาและให้ความรู้ด้านการบริหาร การเงิ น และการบั ญ ชี แ ก่ ค ณะกรรมการและสมาชิ ก ของ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและบุคลากรเครือข่าย ถ่ายทอดความรู้และส่ง เสริม การจัดท าบัญ ชี ให้ แก่ส หกรณ์ กลุ่ ม เกษตรกร กลุ่ ม อาชี พ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน กลุ่ ม เป้ า หมายตามโครงการ พระราชดาริ เกษตรกรและประชาชนทั่วไป กากับดูแลการสอบบัญชีสหกรณ์โดยผู้สอบบัญชีภาคเอกชน จัดทารายงานภาวะเศรษฐกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อเป็นพื้นฐานในการ กาหนดนโยบาย และวางแผนพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดที่ ก ฎหมายก าหนดให้ เป็ น อ านาจหน้ า ที่ ข องกรมตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
5
โครงสร้างการบริหารของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
อธิบดี รองอธิบดี
รองอธิบดี
ผู้เชี่ยวชาญ ด้านสอบบัญชี
กลุ่มตรวจสอบภายใน
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรม ระบบบัญชีสหกรณ์
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาระบบ การตรวจสอบกิจการสหกรณ์
กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม
ผู้เชี่ยวชาญ ด้านวางระบบและพัฒนา
ผู้เชี่ยวชาญด้านวิเคราะห์ ภาวะเศรษฐกิจการเงิน สหกรณ์ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ กรุงเทพมหานครฯ
กองประสานงาน โครงการพระราชดาริ
กองกากับการสอบ บัญชีสหกรณ์
สานักมาตรฐานการบัญชี และการสอบบัญชี
สานักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี
สานักบริหารกลาง
สานักแผนงาน และโครงการพิเศษ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ที่ 1
สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ที่ 2
สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ที่ 3
สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ที่ 4
สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ที่ 5
สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ที่ 6
สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ที่ 7
สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ที่ 8
สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ที่ 9
สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ที่ 10
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
6
ประวัติสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 ปี พ.ศ.2527 ได้รับการจัดตั้งเป็น เขตตรวจบัญชีที่ 5 มี สานักงานตั้งอยู่ที่จังหวัดขอนแก่น ทาหน้าที่ควบคุมดูแล การปฏิบัติงานของสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ในพื้นที่ รับผิดชอบ รวม 5 จังหวัด คือ นครราชสีมา ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม และสระบุรี ปี พ.ศ.2530 เปลี่ยนชื่อเป็นศูนย์ตรวจบัญ ชีสหกรณ์ ที่ 11 และย้ายสานักงานมาอยู่ที่จังหวัดนครราชสีมา ปี พ.ศ.2538 เปลี่ ย นชื่ อ เป็ น ส านั ก งานตรวจบั ญ ชี สหกรณ์ ภู มิ ภ าคที่ 11 มี พื้ น ที่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบ รวม 5 จั ง หวั ด คื อ นครราชสี ม า ขอนแก่ น ชั ย ภู มิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์
และเปลี่ยนชื่อเป็นสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ภูมิภาคที่ 5 มี พื้ น ที่ ใน ความ รั บ ผิ ด ชอ บ รวม 6 จั ง หวั ด คื อ นครราชสี ม า ชั ย ภู มิ บุ รี รั ม ย์ ศรี ส ะเกษ สุ ริ น ทร์ และ มหาสารคาม ปี พ.ศ.2545 มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นโครงสร้ า งบทบาท ภารกิ จ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การแบ่ ง ส่ ว น ราชการตาม พระราชบั ญ ญั ติ ป รับปรุง กระทรวง ทบวง พ.ศ.2545 และกฎกระทรวงแบ่ ง ส่ ว นราชการ กรมตรวจบั ญ ชี สหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.2545 ได้ กาหนดให้ มี การแบ่ ง ส่ว นราชการตามภารกิ จหลั ก จาก ส านั ก งานตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ ภู มิ ภ าคที่ 1 - 12 เป็ น สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 - 10 และได้เปลี่ยนชื่อ ปี พ.ศ.2543 มี ก ารปรับ ปรุ งโครงสร้ างการแบ่ ง ส่ ว น เป็ น ส านั ก งานตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ ที่ 3 และมี พื้ น ที่ ใน ราชการใหม่ของสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 - 12 ความรับผิดชอบรวม 5 จังหวัด คือ นครราชสีมา ชัยภูมิ ให้สอดคล้องกับการปรับบทบาท ภารกิจของกรมตรวจ บุรีรัมย์ สุรินทร์และมหาสารคาม บั ญ ชี ส หกรณ์ โดยเน้ น การปฏิ บั ติ ง านแบบเบ็ ด เสร็ จ ณ จุดเดียวกัน ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2543 เป็นต้นไป
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
7
แผนที่ตงั้ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 208/1 ถนนมิตรภาพ อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ : 0-4424-5660 และ 0-4425-1171 Fax : 0-4425-1171 ต่อ 108 Hotline : 36551 E-mail : auddiv3@cad.go.th Website : http://region3.cad.go.th
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
8
หน้าที่ความรับผิดชอบของสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 ด าเนิ น การตรวจสอบบั ญ ชี ข องสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป กากั บดูแลและควบคุ มคุณ ภาพงานสอบบัญ ชีของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นไปตามมาตรฐาน การสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป วางรูป แบบและระบบบั ญ ชี ของสหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกรให้เหมาะสมกับธุรกิจ ด าเนิ น ก ารสอบท าน รายงาน ก ารสอ บ บั ญ ชี งบการเงิ น และกระดาษท าการของผู้ ส อบบั ญ ชี รวมทั้งวิเคราะห์และประเมินผลการดาเนินงานของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามมาตรฐานที่วางไว้ จัดระบบงาน ประมวลผลข้อมูลและเป็นศูนย์ข้อมูล ทางการเงิน และส่งเสริมการใช้โปรแกรมระบบบัญชี คอมพิวเตอร์
กลุ่มเกษตรกร และการกากับดูแลการบริหารกิจการ ที่ดีให้แก่ผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ ดาเนินการถ่ายทอดความรู้ด้านการบัญชีแก่สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเป้าหมาย ตามโครงการพระราชดาริ เกษตรกร และประชาชน ทั่วไป จัด ท าแผนการปฏิ บั ติ ง าน โดยบู รณาการร่ว มกั บ ส านั ก งานในเขตพื้ น ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบและติ ด ตาม ประเมินผลความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน ให้คาปรึกษาแนะนาด้านการเงินและการบัญชีให้กับ สหกรณ์ และกลุ่ มเกษตรกรรวมทั้ง วิส าหกิ จชุ มชน กลุ่มอาชีพ และกลุ่มเป้าหมายโครงการพระราชดาริ ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย
ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการเงินและการบัญชี และ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องแก่บุคลากรของสหกรณ์และ
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
9
พื้นที่รบั ผิดชอบและปริมาณงานสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
จังหวัด
อาเภอ
ตาบล
สหกรณ์
กลุม่
ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรรี มั ย์ มหาสารคาม สุรนิ ทร์ รวม
16 32 23 13 17 101
124 289 189 133 158 893
78 144 100 80 92 494
64 161 128 82 37 472
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
10
โครงสร้างหน่วยงานสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
ผู้อานวยการสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
ผู้เชี่ยวชาญด้านการบัญชีและการสอบบัญชี
หน่วยงานในสังกัด
กลุ่มงานภายใน
สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ชัยภูมิ
กลุ่มกากับมาตรฐานการบัญชี
สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นครราชสีมา
กลุ่มพัฒนาการเรียนรู้
สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์บุรีรัมย์
กลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผล
สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์มหาสารคาม
กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ
สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สุรินทร์
ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
11
อัตรากาลังบ ุคลากรของหน่วยงานในพื้นที่สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 หน่วยงาน
ข้าราชการ
ลูกจ้างประจา
สตท3. ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม สุรินทร์ รวม
16 12 25 18 14 13 98
2 1 1 1 1 6
พนักงาน ราชการ 7 17 29 24 20 19 116
จ้างเหมา บริการ 9 9 20 13 9 11 71
รวม (คน( 32 40 75 56 44 44 291
จานวนบุคลากร (คน)
30 25 20
ข้าราชการ
15
ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ
10
จ้างเหมาบริการ
5 0 สตท.3
ชัยภูมิ
นครราชสีมา
บุรีรัมย์
มหาสารคาม
สุรินทร์
กราฟแสดงอัตรากาลังบุคลากรในพื้นที่สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
12
บ ุคลากรสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 ผูบ้ ริหาร
ผูอ้ านวยการสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 นางสาวอัญมณี ถิรสุทธิ์ โทรศัพท์ โทรสาร โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรภายใน E – mail
0 4424 5660 0 4425 1171 09 2260 2685 36551 aunyamaneet@cad.go.th auddiv3@cad.go.th
นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชานาญการพิเศษ รักษาการในตาแหน่ง นักวิชาการตรวจสอบบัญชีเชีย่ วชาญ นางสาวกัลยาณี แซ่ตงั้ โทรศัพท์ โทรสาร โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรภายใน E – mail
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
0 4424 5660 0 4425 1171 06 3193 8772 36551 kunrayanees@cad.go.th auddiv3@cad.go.th
13
กลุม่ กากับมาตรฐานการบัญชี
หัวหน้ากลุม่ กากับมาตรฐานการบัญชี นางพิชญา ธรรมประโชติ โทรศัพท์ โทรสาร โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรภายใน E – mail
0 4424 5660 0 4425 1171 06 2246 1961 36551 ต่อ 104 pichayat@cad.go.th auddiv3@cad.go.th
นางเยาวลักษณ์ ศรีบุญพงศ์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชานาญการ
นางสาวสุเนตร จันทรทวีทิพย์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชานาญการ
นางเมทินิ อ่อนมา นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชานาญการ
นางสาวดวงมณี จอมกระโทก นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ
นางโสรยา ภคพรมงคล นักวิชาการตรวจสอบบัญชี
นายเกรียงไกร นิลสูงเนิน เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
14
กลุม่ พัฒนาการเรียนรู้
หัวหน้ากลุม่ พัฒนาการเรียนรู้ นางสาวนันทิดา วิชยั โทรศัพท์ โทรสาร โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรภายใน E – mail
นางสาวณัฏฐกาญจน์ จงสูงเนิน นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชานาญการ
นางลภัสรดา ธันยศิริรัตน์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชานาญการ
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
0 4424 5660 0 4425 1171 08 9967 2144 36551 ต่อ 105 nantidaw@cad.go.th auddiv3@cad.go.th
นางสาวสุดารัตน์ ทราบตะขบ เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์
15
กลุม่ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวหน้ากลุม่ เทคโนโลยีสารสนเทศ นางธัญญารัตน์ กมลเพชร โทรศัพท์ โทรสาร โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรภายใน E – mail
นายอานนท์ งวดสูงเนิน นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ
นางประภาพร เรืองเดช เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
0 4424 5660 0 4425 1171 08 4605 1406 36551 ต่อ 106 thanyaratk@cad.go.th auddiv3@cad.go.th
นายภูมิเวช แสงฤทธิ์ เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์
16
กลุม่ แผนงานและติดตามประเมินผล
หัวหน้ากลุม่ แผนงานและติดตามประเมินผล นางสาวจรูญรัตน์ ขอผดุง โทรศัพท์ โทรสาร โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรภายใน E – mail
นางวิภา ดอนสระน้อย นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชานาญการ
นางสาววัลลภา สุรโรจน์ประจักษ์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชานาญการ
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
0 4424 5660 0 4425 1171 08 1389 7946 36551 ต่อ 103 charoonratk@cad.go.th auddiv3@cad.go.th
นางสาวศรวิษฐา เสนาธิบดี เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์
17
ฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป นางลายอง ศรีสว่าง โทรศัพท์ โทรสาร โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรภายใน E – mail
0 4424 5660 0 4425 1171 08 9583 1428 36551 ต่อ 107 lamyongs@cad.go.th auddiv3@cad.go.th
นางยุพลักษณ์ วรรณไชย นักวิชาการตรวจสอบบัญชี
นางสาวหนึ่งฤทัย ยศสระน้อย นักจัดการงานทั่วไป
นางสาวธนัญญา หันชัยศรี เจ้าหน้าทีธ่ ุรการ
นายประสาท ประทีป พนักงานขับรถยนต์
นายวัชชีระ ทาทอง พนักงานขับรถยนต์
นายศณสิทธิ์ พงไพรยพานิช พนักงานขับรถยนต์
นายมรกต กระจ่างโพธิ์ พนักงานขับรถยนต์
นางธนัตต์รัตน์ พานงูเหลือม พนักงานทาความสะอาด
นายอุ่น หมอกโพธิ์ พนักงานรักษาความปลอดภัย
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
18
ทำเนียบผูด้ ำรงตำแหน่งผูอ้ ำนวยกำรสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
ลาดับ
ชื่อ – นามสกุล
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
1
นายแสงประทีป
นาจิตรไทย
2527 - 2530
2
นายสนั่น
ชุณหปราณ
2530 - 2532
3
นายศุกร์
คาตรง
2532 - 2536
4
นายโกมล
ทุมวรรณ
2536 - 2538
5
นายปรัชญา
พันธุ์ศิริ
2538 - 2539
6
นางสาวศิริวรรณ
ตระกูลศีลธรรม
2539 - 2541
7
นายสักก์
สักกสินานนท์
2541 – 2543
8
นางนารี
รอดรักษา
2543 - 2549
9
นายประสพสิน
แม้นทิม
2550- 2552
10
นางสาวนฤมล
ทนกล้า
2552 - 2554
11
นางสาววรรณา
โชติโยธิน
2554 - 2555
12
นางสาวสิริกาญจน์
วิทยาฤทธินนท์
2555 - 2558
13
นายปราโมช
ฉัตรพรรณรังสี
2558 - 2559
14
นางสาวอัญมณี
ถิรสุทธิ์
2560 – ปัจจุบัน
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
19
งบประมำณประจำปี 2562
หน่วยงาน สตท.3 ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม สุรินทร์ รวม
หน่วยงาน สตท.3 ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรมั ย์ มหาสารคาม สุรนิ ทร์ รวม
ได้รบั
งบบุคลากร ใช้ไป
2,051,520.00 5,095,811.56 7,789,832.29 6,623,700.00 5,268,322.00 5,230,635.00 32,059,820.85
ได้รบั 848,000.00 1,703,000.00 788,650.00 869,000.00 1,606,000.00 5,814,650.00
2,051,520.00 5,095,811.56 7,789,832.29 6,623,700.00 5,268,322.00 5,230,635.00 32,059,820.85
งบลงทุน ใช้ไป 848,000.00 1,703,000.00 788,650.00 869,000.00 1,606,000.00 5,814,650.00
งบดาเนินงาน ใช้ไป
ร้อยละ
ได้รบั
100 100 100 100 100 100 100
5,942,024.45 5,795,249.36 9,910,614.32 6,712,493.00 6,428,838.00 5,610,735.00 40,399,954.13
ร้อยละ
ได้รบั
100 100 100 100 100 100
7,993,544.45 11,739,060.92 19,403,446.61 14,124,843.00 12,566,160.00 12,447,370.00 78,274,424.98
5,942,024.45 5,795,249.36 9,910,614.32 6,712,493.00 6,428,838.00 5,610,735.00 40,399,954.13
รวมทั้งสิ้น ใช้ไป 7,993,544.45 11,739,060.92 19,403,446.61 14,124,843.00 12,566,160.00 12,447,370.00 78,274,424.98
ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 100
ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 100
งบลงทุน 7% งบบุคลากร 41%
งบดาเนินงาน 52%
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
20
การดาเนินงานของสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ มีภารกิจหลักในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้เกิดขึ้นต่อสหกรณ์ สถาบัน เกษตรกร เกษตรกร และประชาชนโดยทั่วไป โดยส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายนาระบบบัญชีไปใช้ในการบริหารจัดการสู่ ความสาเร็จ เพื่อพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีที่โปร่งใสและเข้มแข็ง ควบคู่กับการสนับสนุนให้เกษตรกร เยาวชนและประชาชนทั่วไปได้มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสาคัญของการ ทาบัญชีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการดาเนินงานแยกได้ตามผลผลิตดังนี้
แผนงานพืน้ ฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลือ่ มล้า และสร้างการเติบโตจากภายใน ผลผลิตที่ 1 สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรได้รบั การพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง 1. ตรวจสอบบัญชีประจาปีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การประเมินความพร้อมของสหกรณ์เพือ่ การวางแผนงานสอบบัญชี ผลการประเมินความพร้อม ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 มีจานวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามทะเบียนออนไลน์ทั้งสิ้น 966 แห่ง แยกเป็นกลุ่มพร้อม รับการตรวจสอบ 917 แห่ง กลุ่มไม่พร้อมรับการตรวจสอบ 49 แห่ง จานวน ประเมินความพร้อม ตาม สตส. 3 ทะเบียน สหกรณ์ กลุม่ รวม ออนไลน์ จานวน
966
494
การจาแนกกลุม่ พร้อม ไม่พร้อม ทา ไม่ ตัง้ อาจถูก ต้อง ผู้อนื่ รวม เอง พร้อม ใหม่ สัง่ เลิก เลิก
472 966 242 675 917
27
4
15
3
รวม 49
สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 ได้ดาเนินงานขับเคลื่อนภารกิจของกรมตรวจบัญ ชีสหกรณ์ให้เป็นไป ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยผลการปฏิบัติงานตรวจสอบบัญ ชีสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในแต่ละด้านแยกตาม รายละเอียดดังต่อไปนี้
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
21
ตารางผลการปฏิบตั งิ านตรวจสอบบัญชีประจาปีสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร ณ 30 กันยายน 2562 กิจกรรม การสอบบัญชีสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร - ตรวจแนะนา - สอบบัญชีระหว่างปี - สอบบัญชีประจาปี การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีสหกรณ์ - ควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี การตรวจแนะนาสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร - ตรวจแนะนาการบัญชี การวางระบบบัญชีสหกรณ์ตงั้ ใหม่ - วางระบบบัญชีและควบคุมภายใน การติดตามผลการเสนอเลิก - ติดตามการเสนอเลิก งานสอบบัญชีสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรที่ ชาระบัญชี - งานบัญชีที่ชาระบัญชี การเตรียมความพร้อมสหกรณ์ที่ใกล้ถงึ เกณฑ์มอบหมายสหกรณ์ให้ผู้สอบบัญชี ภาคเอกชนตรวจสอบบัญชี - เตรียมความพร้อมสหกรณ์ การตรวจสอบมาตรฐานการบัญชีสหกรณ์ - วิเคราะห์โครงสร้างเงินทุน - ตรวจสอบมาตรฐานการบัญชี การเพิม่ คุณภาพงานสอบบัญชีดว้ ยระบบ ตรวจสอบสหกรณ์เชิงลึก - ใช้ CATs การเพิม่ คุณภาพงานสอบบัญชีที่ใช้ โปรแกรมระบบบัญชีผอู้ นื่ โดยใช้โปรแกรม Audit command language (ACL) - ใช้ ACL
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
หน่วยนับ
แผนงาน
ผลงาน
ร้อยละ
แห่ง แห่ง แห่ง
171 542 917
171 542 914
100 100 99.67
แห่ง
100
99
99.00
แห่ง
36
50
138.89
แห่ง
15
15
100
แห่ง
11
11
100
แห่ง
288
54
18.75
แห่ง
8
8
100
แห่ง แห่ง
38 25
38 25
100 100
แห่ง
195
194
99.49
แห่ง
40
40
100
22
2. สรุป ผลการปฏิบัติงานพัฒ นาศัก ยภาพการบริหารจัด การด้านการเงิน การบัญ ชี แก่สหกรณ์แ ละ กลุ่มเกษตรกร 2.1 โครงการเพิ่มศักยภาพการจัดทางบการเงินแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี ง บประมาณ 2562 ส านั ก งานตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ ที่ 3 ได้ ด าเนิ น การจั ด อบรมแก่ ส หกรณ์ ภาคการเกษตร กลุ่ม ท าบั ญ ชี ได้ แต่ จั ดท างบการเงิน ไม่ไ ด้ (เจ้ าหน้ าที่ บัญ ชี ของสหกรณ์ ภ าคเกษตร หรือ ผู้ที่ ไ ด้รั บ มอบหมายให้มีหน้าที่จัดทาบัญชีของสหกรณ์ ) จานวน 10 แห่ง เพื่อให้ผู้รับผิดชอบจัดทาบัญ ชีสหกรณ์ได้รับความรู้ ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ กฎหมาย ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การด าเนิ น งานของสหกรณ์ ระเบี ย บ ค าแนะน าเกี่ ย วกั บ การเงิ น การบัญ ชีของสหกรณ์ การจัดทางบทดลอง รายงานปรับปรุง บัญ ชี การปิดบัญ ชีประจาปี และการจัดทางบการเงิน ผลการดาเนินงานดังนี้ กิจกรรม - อบรมผู้จัดทาบัญชี (สตท.) (แห่งละ 1 คน) - กากับ แนะนา สอนแนะการจัดทา งบการเงิน (สตส.) - ติดตามการประเมินผล (สตส.)
หน่วยวัด แผน
ผล
ร้อยละ
แห่ง คน แห่ง ครั้ง
10 10 10 20
10 10 10 20
100 100 100 100
แห่ง
10
10
100
สหกรณ์เป้าหมายสามารถ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในการจัดทางบการเงินได้ 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60.00
2.2 โครงการสร้างความเข้มแข็งการจัดทาบัญชีและงบการเงินแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี ง บประมาณ 2562 ส านั ก งานตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ ที่ 3 ได้ ด าเนิ น การจั ด อบรม สหกรณ์ ภาคการเกษตรกลุ่มที่ไม่สามารถจัดทาบัญชีและงบการเงินได้ (คณะกรรมการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่บัญ ชี ของสหกรณ์ ภาคเกษตรหรือผู้ที่ได้รับการมอบหมายให้มีหน้าที่จัดทาบัญ ชีของสหกรณ์ ) จานวน 45 แห่ง เพื่อให้เจ้าหน้าที่บัญ ชี หรือผู้รับผิดชอบจัดทาบัญชีมีความรู้ความเข้าใจด้านการจัดทาบัญ ชี ให้สามารถจัดทาบัญ ชีและงบการเงินได้ และ เพื่อให้คณะกรรมการมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และภารกิจที่ต้องรับผิดชอบ ผลการดาเนินงานดังนี้ กิจกรรม
หน่วยวัด แผน
- อบรมผู้จัดทาบัญชี (สตท.) (แห่งละ 1 คน) - อบรมกรรมการ (สตท.) (แห่งละ 2 คน) - กากับ แนะนา สอนแนะการจัดทาบัญชี และงบการเงิน (สตส.) - ติดตามประเมินผล (สตส.)
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
แห่ง คน แห่ง คน แห่ง ครั้ง แห่ง
45 45 45 90 45 135 45
ผล
ร้อยละ
45 45 45 73 45 135 45
100 100 100 81.11 100 100 100
สหกรณ์เป้าหมายสามารถ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในการจัดทาบัญชี โดย สามารถเลื่อนระดับการ จัดทาบัญชีได้เพิ่มขึ้นอย่าง น้อย 1 ระดับ ได้ 28 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 62.22
23
2.3 โครงการเสริมสร้างความรูพ้ นื้ ฐานด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร ปี ง บประมาณ 2562 ส านั ก งานตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ ที่ 3 ได้ ด าเนิ น การจั ด อบรม สหกรณ์ ที่ จั ด ตั้ ง ใหม่ 1 – 3 ปี แก่ เจ้ า หน้ า ที่ บั ญ ชี หรื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ มี ห น้ า ที่ จั ด ท าบั ญ ชี และคณะกรรมการ ของสหกรณ์ภาคเกษตรที่จัดตั้งใหม่ จานวน 10 แห่ง เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่สหกรณ์ในการดาเนินธุรกิจ อย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพ ให้ ผู้ รับ ผิ ด ชอบจั ด ท าบั ญ ชีมี ค วามรู้ค วามเข้ าใจด้ านการท าบั ญ ชีแ ละสามารถจั ด ท าบั ญ ชี ไ ด้ และ คณะกรรมการสามารถนาความรู้ไปใช้ในการบริหารงานได้ ผลการดาเนินงานดังนี้ กิจกรรม
หน่วยวัด แผน
- อบรมผู้จัดทาบัญชี (สตท.) (แห่งละ 1 คน)
แห่ง คน แห่ง คน แห่ง
- อบรมกรรมการ (สตท.) (แห่งละ 5 คน) - ติดตามประเมินผล (สตส,)
10 10 10 50 10
ผล
ร้อยละ
10 10 10 45 10
100 100 100 90.00 100
สหกรณ์ที่มีบุคลากรผ่าน การฝึกอบรมสามารถนา ความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ได้ 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100
2.4 โครงการพัฒนานักบริหารสหกรณ์ให้ใช้ขอ้ มูลทางการเงินการบัญชีอย่างมืออาชีพ ปี ง บประมาณ 2562 ส านั ก งานตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ ที่ 3 ได้ ด าเนิ น การจั ด อบรม สหกรณ์ ภาคเกษตรที่ใช้โปรแกรมบัญชีสหกรณ์ที่พัฒนา โดยกรมตรวจบัญ ชีสหกรณ์และใช้งานระบบข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ส าหรั บ ผู้ บ ริ ห ารสหกรณ์ (Smart Manage) จ านวน 55 แห่ ง เพื่ อ เสริ ม สร้ า งให้ ส หกรณ์ มี ก ารบริ ห ารจั ด การ ทางการเงิน การบัญ ชี ที่ดี แ ละมีคุ ณ ภาพ และเพื่ อเพิ่ ม ศัก ยภาพการน าข้ อมู ล ไปใช้ในการบริห ารจัด การได้อ ย่างมี ประสิทธิภาพ ผลการดาเนินงานดังนี้ กิจกรรม
หน่วยวัด แผน
- อบรมการใช้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ สาหรับผู้บริหารแก่คณะกรรมการ (สตท.) (แห่งละ 3 คน) - ติดตามประเมินผล (สตส.)
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
แห่ง คน แห่ง
ผล
ร้อยละ สหกรณ์ที่มีบุคลากรผ่าน 55 55 100 การฝึกอบรมสามารถนา 165 153 92.73 ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ 53 คน 55 55 100 คิดเป็นร้อยละ 96.36
24
2.5 โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการกากับดูแลฝ่ายจัดการ ปี ง บประมาณ 2562 ส านั ก งานตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ ที่ 3 ได้ ด าเนิ น การจั ด อบรม สหกรณ์ ภาคเกษตร กลุ่ ม จั ด ท าบั ญ ชี แ ละงบการเงิ น ได้ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ใช้ โปรแกรมระบบบั ญ ชี ส หกรณ์ จ านวน 15 แห่ ง เพื่อเสริมสร้างให้คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์มีความรู้ความสามรถในการบริหารจัดการสหกรณ์และกากับดูแล การปฏิ บั ติ ง านของฝ่ า ยจั ด การ และเพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพคณะกรรมการด าเนิ น การในการติ ด ตามประเมิ น ผล การปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการในการให้บริการแก่สมาชิกสหกรณ์ตามนโยบายที่กาหนด ผลการดาเนินงานดังนี้ กิจกรรม
หน่วยวัด แผน
ผล
- อบรมคณะกรรมการ (สตท.)(แห่งละ 3 คน)
แห่ง คน
15 45
15 38
- ติดตามประเมินผล (สตส.)
แห่ง
15
15
ร้อยละ สหกรณ์ที่มีบุคคลากร 100 ผ่านการฝึกอบรม 84.44 สามารถนาข้อมูลไปใช้ ประโยชน์ได้ 12 แห่ง 100 คิดเป็นร้อยละ 80.00
2.6 โครงการการใช้เทคโนโลยีเพือ่ การบริหารจัดการสหกรณ์ ในปีงบประมาณ 2562 ส านั กงานตรวจบัญ ชีส หกรณ์ ที่ 3 ได้ ดาเนิน การจัดอบรมสหกรณ์ ที่ ใช้ โปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์สหกรณ์ที่พัฒนาโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จานวน 100 แห่ง เพื่อให้กรรมการสหกรณ์ ได้รับ ความรู้ ความเข้าใจในการใช้งาน Application ด้านการบริห ารจัดการสหกรณ์ ที่ พั ฒ นาโดยกรมตรวจบัญ ชี สหกรณ์ แ ละเพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพกรรมการสหกรณ์ ในการบริ ห ารจั ด การสหกรณ์ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น ผลการ ดาเนินงานดังนี้ กิจกรรม - อบรมให้ความรู้แก่กรรมการสหกรณ์ (สตท.) - ติดตามประเมินผล (สตส.)
หน่วยวัด แผน
ผล
ร้อยละ
แห่ง
100 100
100
แห่ง
100 100
100
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
กลุ่มเป้าหมายสามารถนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ได้ 21 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 21.00
25
3. ฝึกอบรมเศรษฐกิจการเงินขึน้ พืน้ ฐานแก่สมาชิกสหกรณ์ ในปีงบประมาณ 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 ได้ดาเนินการติดตามประเมินผลสมาชิก สหกรณ์หลังผ่านการอบรม จานวน 255 คน เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์ได้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการ ดาเนินการของสหกรณ์ ให้มีค วามเชื่ อมั่นและศรัท ธาในระบบสหกรณ์ ท าให้ได้ รับ ความรู้เกี่ยวกับขั้น ตอนการท า ธุรกรรมทางการเงินกับสหกรณ์ ผลการดาเนินงานดังนี้ กิจกรรม
หน่วยวัด
แผน
ผล
ร้อยละ
- จานวนสหกรณ์ที่ได้รับการอบรม
แห่ง
41
41
100
- จานวนสมาชิกที่ได้รับการอบรม
คน
2,550 2,550
100
- ติดตามประเมินผล (สตท.)
คน
255
100
255
กลุ่มเป้าหมายที่ได้ทาการ ติดตามประเมินผล สามารถนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ได้ 248 คน คิดเป็นร้อยละ 97.25
รูปภาพ : กลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผล ลงพื้นที่ติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการฝึกอบรมเศรษฐกิจการเงินขึ้นพื้นฐานแก่สมาชิกสหกรณ์
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
26
4 ตรวจสอบความถูกต้องในการทาธุรกรรมทางการเงินระหว่างสหกรณ์และสมาชิก ในปีงบประมาณ 2562 สานักงานตรวจบัญ ชีสหกรณ์ที่ 3 ได้ดาเนินการกากับดูแลการปฏิบัติงาน ของสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ในพื้นที่สังกัด จานวน 4,285 คน เพื่อพิสูจน์ความมีอยู่จริง ของข้อมูลทางการเงิน ของสมาชิกสหกรณ์ ตรวจสอบความถูกต้องในการทาธุรกรรมทางการเงินระหว่างสหกรณ์และสมาชิกสหกรณ์ด้าน สินเชื่อการรับฝากเงินและการถือหุ้น ควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีให้เป็นไปตามมาตรฐานการสอบบัญชีและระเบียบ ที่ น ายทะเบี ย นสหกรณ์ กาหนด สร้า งความโปรงใส่ ให้ กั บ สหกรณ์ โดยการเตื อนภั ยและป้ องปรามทางทุ จริ ต จาก ข้อบกพร่องทางการเงินและสร้างความเชื่อถือแก่มวลสมาชิก ผลการดาเนินงานดังนี้ กิจกรรม
หน่วยวัด
1. จานวนสหกรณ์ที่ได้รับการยืนยันยอด
แห่ง
2. จานวนสมาชิกที่ได้รับการยืนยันยอด 3. สรุปผลการยืนยันยอด - ทักท้วง - ไม่ทักท้วง
คน คน คน
แผน
ผล
ร้อยละ กลุ่มเป้าหมายได้รับ การตรวจสอบ 40 40 100 ความถูกต้องในการทา ธุรกรรมด้านการเงิน 4,210 4,285 101.78 กับสหกรณ์ ได้ 4,285 คน คิดเป็นร้อยละ 4,285 101.78
5. สรุปผลการปฏิบตั งิ านพัฒนาศักยภาพด้านการบัญชีแก่สมาชิกสหกรณ์และประชาชนกลุม่ เป้าหมาย 1. โครงการส่งเสริมการจัดทาบัญชีต้นทุน ประกอบอาชีพ ดาเนินการส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพได้อย่างถูกต้อง โดยมีการอบรมครูบัญชี 481 คน และอบรมการจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร 14,300 คน ได้ใช้ครูบัญชีเป็น กลไกในการขับเคลื่อนเข้ากากับแนะนาการจัดทาบัญ ชี และติดตามการจัดทาบัญชีเกษตรกร มีความรู้ความเข้าใจใน การจัดทาบัญ ชีต้นทุนอาชีพ 10,010 คน และมีผู้สามารถจัดทาบัญ ชีต้นทุนอาชีพได้ 2,153 คน คิดเป็นร้อยละ 15.06
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
27
2. โครงการพัฒนาเกษตรกรที่ทาบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น ด าเนิ น การส่ ง เสริ ม เพื่ อ พั ฒ น าเกษตรกรให้ ส ามารถน าข้ อ มู ล ทางบั ญ ชี ไ ปใช้ ป ระโยชน์ ในการประกอบอาชีพได้ โดยมีการอบรมการใช้ข้อมูลทางบัญชีในการประกอบอาชีพ 1,800 คน ได้ใช้ครูบัญ ชีเป็น กลไกในการขั บ เคลื่ อ นเข้ า ก ากั บ แนะน าการจั ด ท าบั ญ ชี และติ ด ตามการจั ด ท าบั ญ ชี เกษตรกรมี ค วามรู้ ความเข้ า ใจในการใช้ ข้ อ มู ล ทางบั ญ ชี ใ นการประกอบอาชี พ 1,260 คน และมี ผู้ ส ามารถใช้ ข้ อ มู ล ทางบั ญ ชี ในการประกอบอาชีพได้ 271 คน คิดเป็นร้อยละ 15.06
3. โครงการพัฒนาเกษตรกรให้ใช้ข้อมูลทางบัญชีอย่างยั่งยืน ดาเนินการส่งเสริมเพื่อพัฒนาเกษตรกรจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพ และใช้ข้อมูลทางบัญชีเป็นประจา สม่ าเสมอ และส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ เป็ น เกษตรกรต้ น แบบด้ า นการจั ด ท าบั ญ ชี ต้ น ทุ น อาชี พ โดยการอบรม เพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพแก่เกษตรกรอย่างยั่งยืน 1,120 คน ได้ใช้ครูบัญชีเป็นกลไกในการขับเคลื่อน เข้า กากับแนะนาการเพิ่มศักยภาพ และติดตามการเพิ่มศักยภาพและเก็บข้อมูลรายต้นทุนอาชีพ เกษตรกรมีความรู้ความ เข้าใจในการใช้ข้อมูลทางบัญชีในการประกอบอาชีพเป็นประจาสม่าเสมอ 784 คน และมีผู้สามารถใช้ข้อมูลทางบัญชี เป็นประจาสม่าเสมอได้ 505 คน คิดเป็นร้อยละ 45.09
รูปภาพ : กลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผลลงพื้นที่ติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์งานพัฒนาบัญชีรายบุคคล
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
28
แผนงานยุทธศาสตร์สร้างความมั่น คงและลดความเหลื่อมลาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม โครงการที่ 1 : โครงการส่งเสริมการดาเนินงานอัน เนื่องมาจากพระราชดาริ 1. โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดาเนินการส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และเข้าใจวิธีการจดบัญชี สาหรับโครงการส่งเสริมสหกรณ์ นั ก เรี ย น ให้ นั ก เรี ย นได้ ร่ ว มคิ ด ร่ ว มเรี ย นรู้ ห ลั ก ประชาธิ ป ไตย และร่ ว มพั ฒ นาภู มิ ปั ญ ญาทางบั ญ ชี พร้ อ มทั ง สร้างวินัยทางการเงินให้เกิดแก่ครอบครัวและสถาบันการศึกษา และสร้างเครือข่ายการจัดการภูมิปัญ ญาทางบัญ ชี ระหว่างโรงเรียน นักเรียน กลุ่มที่ 1 จัดทาบัญ ชีสหกรณ์นักเรียนไม่ไ ด้ ในพืนที่ดาเนินการจังหวัดบุรีรัมย์จานวน 1 โรงเรียน ดาเนินการอบรม/กากับแนะนาการจัดทาบัญชี กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนเน้นสอนการจัดทาเอกสารที่ใช้ในการบันทึก บัญ ชี และการบันทึกบัญชีในสมุดบั ญชีรับ-จ่ายกิจกรรมสหกรณ์และบัญ ชีย่อย 4 คน สามารถจัดทาบัญ ชีได้ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 100 กลุ่มที่ 2 จัดทาบัญชีสหกรณ์นักเรียนได้ แต่ทางบการเงินไม่ไ ด้ ในพืนที่ จังหวัดบุรีรัมย์และสุรินทร์ จานวน 11 โรงเรียน ดาเนินการอบรมกากับแนะนาการจัดท ารายงานทางการเงิน เน้ น สอนการปิ ดบัญ ชีประจา วัน/เดือน/ภาคเรียน และการจัดทารายงานทางการเงิน 51 คน สามารถจัดทาบัญชีได้ 36 คน จัดทารายงานทางการ เงินได้ 16 คน และใช้ข้อมูลรายงานทางการเงินได้ 1 คน นักเรียนตามโครงการฯได้รับการสอนแนะนาการจัดทาบัญ ชีทังสิน 55 คน มีความรู้ความเข้าใจใน การจัดทาบัญ ชีได้ 38 คน และสามารถยกระดับการจัดทาบัญ ชีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนได้ 40 คน คิดเป็นร้อยละ 72.73
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
29
โค 2. โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพประชาชนในถิน่ ทุรกันดาร ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดาเนินการส่งเสริมความรู้ให้กับกรรมการกลุ่ม/ผู้ทาบัญชี ได้เรียนรู้และเข้าใจวิธีการจดบันทึกบัญ ชี สามารถจั ด ท าบั ญ ชี กลุ่ ม อาชี พ ได้ และน าข้ อมู ล ทางบั ญ ชี ไ ปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ 2 กลุ่ม 4 คน มี ความรู้ค วามเข้ าใจ ในการจัดทาบัญชีได้ 2 กลุ่ม 4 คน และสามารถจัดทาบัญชีได้ 2 กลุ่ม 4 คน คิดเป็นร้อยละ 100 3. โครงการศิลปาชีพ ดาเนินการส่งเสริมให้ความรู้แก่เกษตรกรสามารถจัดทาบัญชีต้นทุนได้ ในพืนที่บริการศูนย์ศิลปาชีพ 2 ศูนย์ 3 หมู่บ้าน จังหวัดสุรินทร์ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มจัดทาบัญ ชีได้ 15 คน และกลุ่มจัดทาบัญ ชีไม่ได้ 75 คน ดาเนินการอบรมและกากับแนะนาบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ จานวน 90 คน มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทาบัญชี 64 คน และสามารถจัดทาบัญชีได้ 11 คน คิดเป็นร้อยละ 14.67 4. โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ดาเนินการส่งเสริมให้ความรู้แก่เกษตรกร เยาวชน นักเรียน และประชาชน เพื่อให้คาปรึกษาแนะนา แก้ไขปัญ หาด้านบัญชีแก่ผู้รับบริการ กระตุ้นให้ผู้รับบริการมีความสนใจการจัดทาบัญ ชีรับ – จ่าย และบัญ ชีต้นทุน ประกอบอาชีพ 65 ครัง คิดเป็นร้อยละ 108.33 จากแผนทังสิน 60 คน
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
30
แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร โครงการที่ 1 : โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ดาเนินการส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถจัดทาบัญ ชีต้นทุนอาชีพได้อย่างถูกต้อง โดยมีการอบรมครูบัญชี 364 คน และอบรมการจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร 10,938 คน ได้ใช้ครูบัญชีเป็น กลไกในการขับเคลื่อนเข้ากากับ แนะนาการจัดทาบั ญ ชี และติดตามการจัดทาบัญ ชีเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจ ในการจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพ 7,674 คน และมีผู้สามารถจัดทาบัญ ชีต้นทุนอาชีพได้ 4,922 คน คิดเป็นร้อยละ 45.00
โครงการที่ 2 : โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ศักยภาพครูบัญชีประจาศูนย์เรียนรู้ ให้สามารถให้บริการความรู้ด้านการจัดทาบัญชีแก่เกษตรกรที่ขอรับ บริก ารได้ ศูน ย์ เรีย นรู้ การเพิ่ มประสิท ธิภ าพการผลิ ตสิ น ค้า ได้ รับ การพั ฒ นาอาสาสมัค รเกษตรด้านบั ญ ชี ป ระจ า ศูนย์เรียนรู้ 101 ศูนย์ และสามารถให้บริการความรู้ด้านการจัดทาบัญ ชีแก่เกษตรกรที่ขอรับบริการได้ 101 ศูนย์ คิดเป็นร้อยละ 100
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
31
โครงการที่ 3 : โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน 1. โครงการย่อยเกษตรทฤษฏีใหม่ ดาเนินการส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถจัดทา บัญ ชี ต้ น ทุ น อาชีพ ได้ อ ย่างถูก ต้ อง โดยมี ก ารอบรมครูบั ญ ชี 387 คน และอบรมการจัด ท าบั ญ ชีต้ น ทุ น อาชี พ แก่ เกษตรกร 11,640 คน ได้ใช้ครูบัญชีเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเข้ากากับแนะนาการจัดทาบัญ ชี และติดตามการ จัดทาบัญชี เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพ 8,191 คน และมี ผู้สามารถจัดทาบัญชีต้นทุน อาชีพได้ 1,750 คน คิดเป็นร้อยละ 15.03 2. โครงการย่อยเกษตรอินทรีย์ ดาเนินการส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถจัดทาบัญชี ต้นทุนอาชีพได้อย่างถูกต้อง โดยมีการอบรมครูบัญชี 17 คน และอบรมการจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร 535 คน ได้ใช้ครูบัญชีเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเข้ากากับแนะนาการจัดทาบัญชี และติดตามการจัดทาบัญชี เกษตรกรมี ความรู้ความเข้าใจในการจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพ 376 คน และมีผู้สามารถจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพได้ 85 คน คิดเป็น ร้อยละ 15.88
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
32
โครงการที่ 4 : โครงการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตรเพือ่ การบริหารจัดการเชิงรุก (Agri – Map) ดาเนินการส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพได้อย่างถูกต้อง โดยมีการอบรมครูบัญชี 23 คน และอบรมการจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร 700 คน ได้ใช้ครูบัญชีเป็นกลไก ในการขับเคลื่อนเข้ากากับแนะนาการจัดทาบัญ ชี และติดตามการจัดทาบัญ ชีเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการ จัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพ 490 คน และมีผู้สามารถจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพได้ 280 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00
รูปภาพ : กลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผลลงพืนที่ติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการงานบูรณาการฯ
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
33
แผนบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการเศรษฐกิจชุมชนและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสู่สากล โครงการที่ 1 : โครงการพัฒนาผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ดาเนินการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนให้มีระบบบัญชี และระบบควบคุมภายในที่ดี ให้วิสาหกิจชุมชนจัดทา บัญชีได้ และสามารถใช้ข้อมูลทางการเงินและบัญชีในการบริหารจัดการ วิสาหกิจชุมชนใหม่ ประเมินความพร้อม วางรูปแบบบัญชีและระบบการควบคุมภายใน สอนแนะการ จัดทาบัญชี 10 แห่ง สามารถจัดทาบัญชีได้ 5 แห่ง และสามารถทางบทดลองได้ 1 แห่ง วิส าหกิจ ชุม ชนกลุ่ม ติด ตามต่ อ เนื่อ ง ประเมิ นความพร้อม และวางรูปแบบบัญ ชี 33 แห่ง แบ่ งเป็ น กลุ่ม ท าบั ญ ชี ได้ แต่ ทางบการเงิน ไม่ได้ 31 แห่ง กลุ่ ม ท างบการเงิน ได้ 2 แห่ ง สามารถทางบทดลองได้ 12 แห่ ง สามารถทางบการเงินได้ 2 แห่ง และสามารถการใช้ข้อมูลทางการเงินและการบัญชี 2 แห่ง วิสาหกิจชุมชนได้รับการสอนแนะการจัดทาบัญชี 43 แห่ง และสามารถจัดทาบัญชีได้ (วัดจากการเลื่อน ระดับความสามารถทาบัญชีอย่างน้อย 1 ระดับ) 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 44.19
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
34
การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร กลุ่มพัฒนาการเรียนรู้ มีภารกิจหลักในการพัฒนาบุคลากรของสถาบันเกษตรกร บุคลากรเครือข่าย รวมถึง บุคลากรของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ นอกจากนันยังได้รับมอบหมายให้กากับแนะนา ด้านการเงินการบัญ ชี แก่ส หกรณ์ที ่เ ข้า ร่ว มโครงการ โดยในปีง บประมาณ 2562 ได้รับ มอบหมายให้ด าเนิน การพัฒ นาบุค ลากร ดังต่อไปนี
การพัฒนาบุคลากรสถาบันเกษตรกร การพัฒ นาบุคลากรสถาบั นเกษตรกร เป็นภารกิจหลักของกลุ่มพัฒ นาการเรียนรู้ เพื่ อมุ่งหวัง พัฒ นา บุคลากรของสหกรณ์ไห้สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน อันจะส่งผลให้สถาบัน เกษตรกรเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง อย่างยั่งยืน นาไปสู่การอยู่ดีกินดีของสมาชิกสหกรณ์ได้ในที่สุด โดยในปี 2562 ได้รับ มอบหมายให้พัฒนาบุคลากรสถาบันเกษตรกรใน จานวน 6 โครงการ 8 หลักสูตร ดังนี 1. โครงการเพิ่ ม ศัก ยภาพการจัด ท างบการเงิน แก่ส หกรณ์ และกลุ่ม เกษตรกร (RM 17) หลัก สูต ร การจัดทางบการเงิน ตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์กาหนดให้สหกรณ์มีหน้าที่ในการจัดทางบการเงิน เพื่อให้ผู้สอบ บัญ ชีตรวจสอบ และแสดงความเห็นต่ องบการเงิน แต่ปั จจุบัน มีสหกรณ์ ส่วนหนึ่ ง ที่สามารถจัดท าบั ญ ชีได้ แต่ไ ม่ สามารถจัดทางบการเงินได้ตามระเบียบที่นายทะเบียนสหกรณ์กาหนด ซึ่งกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ ตระหนักถึงการมี ส่วนร่วมแก้ไขปัญหาการจัดทางบการเงินของสหกรณ์ จึงกาหนดให้มีโครงการเพิ่มศักยภาพการจัดทางบการเงินแก่ สหกรณ์ แ ละกลุ่ มเกษตรกร โดยจัด อบรมหลั กสู ตร “การจัด ท างบการเงิน ” ส าหรับ ผู้จั ดท าบั ญ ชีข องสหกรณ์ ขึ น เพื่ อพั ฒ นาศัก ยภาพเจ้าหน้ าที่บั ญ ชีข องสหกรณ์ ให้ ส ามารถจัด ท างบการเงิน ให้ ผู้ส อบบั ญ ชีต รวจสอบ และแสดง ความเห็ น ได้ ต ามที่ ก ฎหมายก าหนด ซึ่ ง ได้ ด าเนิ น การจั ด อบรมระหว่ า งวั น ที่ 14 - 16 พฤศจิ ก ายน 2561 ณ ห้องประชุมสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ชัยภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ และหลังจากเข้ารับอบรมกลุ่มพัฒนาการ เรียนรู้ได้ดาเนินการสอนแนะการจัดทาบัญชีให้แก่ผู้ผ่านการอบรมสหกรณ์ละ 2 ครัง
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
35
2. โครงการสร้างความเข้มแข็งการจัดทาบัญชีและงบการเงินแก่สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร (RM 18) 2.1 หลักสูตร เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารงานสหกรณ์ การบริหารงานสหกรณ์ให้ได้ผลดีและสามารถแก้ไขปัญหา เรื่องปากท้อง รายได้และค่าครองชีพของ สมาชิกสหกรณ์อย่างมีผลถาวรได้นัน คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์จาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานสหกรณ์ เพื่อผลักดันให้สหกรณ์มีความเจริญก้าวหน้า มั่นคงและยั่งยืน สร้างความเชื่อมั่น และเป็นที่ศรัทธาแก่สมาชิกสหกรณ์ ซึ่งกรมตรวจบัญ ชีสหกรณ์ตระหนักถึงภารกิจอันสาคัญยิ่งที่จะมีส่วนร่วมในการ พั ฒ นาสถาบั น เกษตรกรให้ มี ค วามเจริญ ก้ า วหน้ า เข้ ม แข็ ง พึ่ ง พาตนเองได้ จึ ง ต้ อ งพั ฒ นาเสริม สร้ างความรู้แ ก่ คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมภายในซึ่งถือเป็นเครื่องมือที่สาคัญของฝ่ายบริหาร ที่จะนามาใช้เพื่อควบคุมสินทรัพย์และ/หรือลดความเสี่ยงต่อความเสียหายที่อาจเกิดขึนในการดาเนินงานตลอดจนรู้จัก นาข้อมูลทางบัญชีมาใช้ในการบริหารงานให้เกิด ประโยชน์แ ก่ส หกรณ์แ ละสมาชิก โดยรวม จึง ได้จัด ให้มีโ ครงการ สร้า งความเข้ม แข็ง การจัด ทาบัญ ชีแ ละงบการเงินแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หลักสูตร เพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารงานสหกรณ์ สาหรับคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ขึน กาหนดจัดอบรมจานวน 2 รุ่น รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 - 2 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมทองธารินทร์ อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ และรุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 6 - 7 ธันวาคม 2561 ณ โรงแรมปัญจดารา อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
36
2.2 หลักสูตร เพิ่มประสิทธิภาพการจัดทาบัญชีของสหกรณ์ ปัจจุบันมีสหกรณ์ภาคเกษตรจานวนหนึ่งที่ไม่มีเจ้าหน้าที่บัญชี หรือมีเจ้าหน้าที่บัญชีแต่ไม่สามารถ จัดทาบัญชีได้ถูกต้องเรียบร้อยเป็นปัจจุบันตามระเบียบที่นายทะเบียนสหกรณ์กาหนด เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดทาบัญชี ของสหกรณ์ เจ้ าหน้ าที่ บั ญ ชี ข องสหกรณ์ ค วรได้ รั บ การพั ฒ นา ให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ไ ด้ อ ย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 จึงกาหนดจัดอบรมโครงการสร้างความเข้มแข็งการจัดทาบัญ ชีและงบการเงินแก่ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หลักสูตร เพิ่มประสิทธิภาพการจัดทาบัญ ชีของสหกรณ์ สาหรับผู้จัดทาบัญชีของสหกรณ์ ขึน และหลังจากเข้ารั บอบรมกลุ่มพัฒ นาการเรียนรู้ ได้ดาเนินการสอนแนะการจัดทาบั ญ ชีให้แก่ผู้ผ่านการอบรม สหกรณ์ละ 2 ครัง
3. โครงการเสริมสร้างความรู้พืนฐานด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (RM 19) 3.1 หลักสูตร เสริมสร้างความรู้การบริหารจัดการสหกรณ์ คณะกรรมการดาเนิน การสหกรณ์ เป็ นผู้วางนโยบาย และบริหารจัดการเรื่องต่างๆ ของสหกรณ์ จาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ตนเอง ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนมี ค วามรู้ เกี่ ย วกั บ การควบคุ ม ภายในขั นพื นฐาน รวมถึ ง สามารถใช้ ข้ อ มู ล ทางการเงิน การบั ญ ชี ในการ บริห ารงานสหกรณ์ ได้อย่างมีป ระสิท ธิภ าพ เพื่อผลักดัน ให้สหกรณ์ มีความเจริญ ก้าวหน้า มีความมั่นคงและยั่ง ยืน สร้างความเชื่อมั่น และเป็นที่ศรัทธาแก่สมาชิกสหกรณ์ จึงได้จัดให้มีโครงการเสริมสร้างความรู้พืนฐานด้านการเงินการ บั ญ ชี แ ก่ ส หกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร (RM 19) หลั ก สู ต ร เสริ ม สร้ างความรู้ ก ารบริ ห ารจั ด การสหกรณ์ ส าหรั บ คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ ขึน กาหนดจัดอบรมระหว่างวันที่ 6 - 7 ธันวาคม 2561 ณ โรงแรมปัญจดารา อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
37
3.2 หลักสูตร เสริมสร้างความรู้การจัดทาบัญชีแก่สหกรณ์ ปัจจุบันมีสหกรณ์ภาคเกษตรจานวนหนึ่งที่ไม่มีเจ้าหน้าที่บัญชี หรือมีเจ้าหน้าที่บัญชีแต่ไม่สามารถ จัดทาบัญชีได้ถูกต้องเรียบร้อยเป็นปัจจุบันตามระเบียบที่นายทะเบียนสหกรณ์กาหนด เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดทาบัญชี ของสหกรณ์ การพัฒนาเจ้าหน้าที่บัญชีของสหกรณ์ให้มีศักยภาพ เจ้ าหน้าที่บัญชีจึงควรได้รับการพัฒนาให้สามารถ จัดทาบัญชีได้อย่างถูกต้อง สานักงานตรวจบัญ ชีสหกรณ์ที่ 3 จึงกาหนดจัดอบรมโครงการเสริมสร้างความรู้พืนฐาน ด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (RM 19) หลักสูตร เสริมสร้างความรู้การจัดทาบัญชีแก่สหกรณ์ สาหรับผู้จัดทาบัญชีของสหกรณ์ ขึน
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
38
4. โครงการพัฒนานักบริหารสหกรณ์ให้ใช้ข้อมูลทางการเงินการบัญชีอย่างมืออาชีพ (RM 20) หลักสูตร การใช้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจสาหรับผู้บริหารสหกรณ์ สานั กงานตรวจบั ญ ชีสหกรณ์ ที่ 3 ตระหนักถึ งภารกิ จอันสาคัญ ยิ่ งที่ จะมีส่วนร่วมในการพั ฒ นา สถาบั น เกษตรกรให้ มี ค วามเจริ ญ ก้ า วหน้ า เข้ ม แข็ ง พึ่ ง พาตนเองได้ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจให้ แ ก่ คณะกรรมการด าเนิ น การสหกรณ์ ได้ ท ราบเกี่ ย วกั บ บทบาท ภารกิ จ หน้ าที่ ค ณะกรรมการด าเนิ น การสหกรณ์ กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ รวมทังหลักจริยธรรม และหลักธรรมาภิบาลในสหกรณ์และคาแนะนาเกี่ยวกับการเงิน การบัญ ชีของสหกรณ์ การควบคุมภายในระบบงานต่างๆ และมาตรมาตรฐานขันต่าในการควบคุมภายใน และการ รักษาความปลอดภัยสาหรับสหกรณ์ที่ใช้โปรแกรมระบบบัญ ชีคอมพิวเตอร์ประมวลผลข้อมูล ซึ่ง ใช้เป็น เครื่องมือ ควบคุม ดูแลรักษาทรัพย์สินของสหกรณ์และช่วยลดความเสี่ยง หรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นในการดาเนินงาน ตลอดจนสามารถใช้ข้อ มูล ทางบัญชีในการบริห ารงานสหกรณ์ไ ด้อ ย่า งมีประสิทธิภาพเป็น ประโยชน์แ ก่ส หกรณ์ และมวลสมาชิก จึง ได้จัด ให้มีโ ครงการพัฒนานักบริหารสหกรณ์ใ ห้ ใช้ข้อมูล ทางการเงินการบัญ ชีอย่างมือ อาชีพ หลักสูตร “การใช้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจสาหรับผู้บริหารสหกรณ์ ” ขึน กาหนดจัดอบรมจานวน 2 รุ่น รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 12 - 14 ธัน วาคม 2561 ณ โรงแรมเอสตะวัน อาเภอเมือ ง จัง หวัด มหาสารคาม และรุ่น ที่ 2 ระหว่างวันที่ 19 - 21 ธันวาคม 2561 ณ โรงแรมเดอศิตา ปรินเซส อาเภอเมือง จัง หวัดบุรีรัมย์
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
39
5. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการกากับดูแลฝ่ายจัดการ (RM 21) หลักสูตร การเพิ่มประสิทธิภาพการกากับดูฝ่ายจัดการ ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2553 มาตรา 51 และตาม ข้อบังคับของสหกรณ์ กาหนดให้คณะกรรมการดาเนินการมีอานาจหน้าที่ และความรับผิด โดยจะต้องเป็นผู้ดาเนิน กิจการทังปวงของสหกรณ์ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติ และคาสั่งของสหกรณ์ กับทังในทางอันจะทา ให้ เกิด ความจาเริญ แก่ สหกรณ์ ซึ่ งรวมทั งการพิ จารณาดาเนิน การแต่ง ตั ง หรือจ้าง และกาหนดค่าตอบแทนของ ผู้ จั ด การตลอดจนควบคุ ม ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของผู้ จั ด การให้ เป็ น การถู ก ต้ อ ง และต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ ในกรณี คณะกรรมการดาเนินการกระทาการ หรืองดเว้นการกระทาการหรือกระทาการโดยประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติ หน้าที่ของตนจนทาให้เสียผลประโยชน์ของสหกรณ์หรือสมาชิก อันเป็นเหตุให้สหกรณ์มีข้อบกพร่องเกี่ยวกับการเงิน การบัญ ชี หรือกิจการหรือฐานะการเงิน ตามรายงานการสอบบัญชี หรือรายงานการตรวจสอบ เป็นเหตุให้สหกรณ์ ได้รับความเสียหายคณะกรรมการดาเนินการ ต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายให้แก่สหกรณ์ ดังนัน เพื่อเป็นการเสริมสร้างประสิทธิภาพคณะกรรมการดาเนินการในการกากับดูแลและติดตาม การปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จึงเห็นความจาเป็นในการ พัฒนาเพิ่มพูนความรู้ของกรรมการดาเนินการของสหกรณ์ จึงกาหนดจัดอบรม หลักสูตร “การเพิ่มประสิทธิภาพการ กากับดูแลฝ่ายจัดการ” ขึน เพื่อให้คณะกรรมการดาเนินการสามารถนาความรู้ที่ เกี่ย วข้อ งไปใช้ในการปฏิบัติง าน ในหน้าที่ไ ด้อย่างถูก ต้องและเหมาะสม สหกรณ์มีก ารบริห ารจัด การที่ดี มีเสถีย รภาพทางการเงิน ที่มั่น คง อัน จะ ส่ง ผลให้สหกรณ์มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนต่อไป โดยดาเนินการจัดอบรมระหว่างวันที่ 27 - 29 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมทองธารินทร์ อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
40
6. โครงการใช้เทคโนโลยีเพื่อบริหารจัดการสหกรณ์ (RM 22) หลักสูตร การใช้เทคโนโลยีเพื่อบริหารจัดการสหกรณ์ สหกรณ์อ งค์กรที่เ กิด จากการรวมตัว ของบุค คลเพื่อ ร่ว มกัน ดาเนินธุร กิจ ที่มี จุดมุ่งหมายเพื่อให้มี อานาจต่อรองทางเศรษฐกิจได้ เพื่อช่วยเหลือกันในหมู่สมาชิก การบริหารงานสหกรณ์ให้ไ ด้ผลดีและสามารถแก้ไ ข ปัญ หา เรื่องปากท้อง รายได้และค่าครองชีพของสมาชิกสหกรณ์อย่างมีผลถาวรได้นัน คณะกรรมการดาเนินการ สหกรณ์จาเป็น ต้อ งมีค วามรู้ ความเข้า ใจในเรื่อ งต่า ง ๆ ที่เกี่ย วข้อ งกับ การบริห ารงานสหกรณ์ เพื ่อ ผลัก ดัน ให้ สหกรณ์มีความเจริญก้าวหน้า มั่นคงและยั่งยืน สร้างความเชื่อมั่นและเป็นที่ศรัทธาแก่ส มาชิกสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ โดยสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 ตระหนักถึงภารกิจอันสาคัญยิ่งที่จะ มีส่วนร่วมในการพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเจริญก้าวหน้า เข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ จึงได้จัดให้มี โครงการการใช้เทคโนโลยีเพื่อบริหารจัดการสหกรณ์ หลักสูตร “การใช้เทคโนโลยีเพื่อบริหารจัดการสหกรณ์ ” ขึน เพื่อเพิ่มศักยภาพการใช้ข้อ มูลทางการเงินและการบัญ ชีเพื่อ การบริห ารสหกรณ์ โดยจัดอบรมให้ค วามรู้เกี่ยวกับ Application ด้า นการบริห ารจัด การสหกรณ์ที ่พ ัฒ นาโดยกรมตรวจบัญ ชีส หกรณ์ ได้แ ก่ SmartManage SmartMember เพื่อการวิเคราะห์และตัดสินใจสาหรับผู้บริหารสหกรณ์ ตลอดจนสามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศใน การบริหารงานสหกรณ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นประโยชน์แก่สหกรณ์และมวลสมาชิก โดยดาเนินการจัดอบรม ระหว่างวันที่ 19 - 21 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมปัญจดารา อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
41
นอกจากหลักสูตรที่กรมตรวจบัญ ชีสหกรณ์กาหนดแล้ว สานักงานตรวจบัญ ชีสหกรณ์ที่ 3 ยังได้ให้ ความสาคัญในการพัฒนาบุคลากรของสหกรณ์ในหลักสูตรอื่นๆ เพื่อให้ความรู้ทางการเงินการบัญชี แก่สหกรณ์อย่าง ทั่วถึง อันจะส่งผลให้สหกรณ์มีการบริหารจัดการที่ดี มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนได้ในที่สุด อบรมผู้บริหารสหกรณ์ หลักสูตร “พัฒนาศักยภาพผู้บริหารเพื่อสร้างความเข้มแข็งแก่สหกรณ์” เพื่อให้บุคลากรของสหกรณ์ภาคเกษตร ที่ใช้โปรแกรมระบบบัญชีที่พัฒนาโดยผู้อื่น หรือใช้โปรแกรม ระบบบัญชีที่พัฒนาโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์บางระบบ ได้รับการพัฒนาศักยภาพการบริหารการเงินการบัญชีอย่าง ทั่วถึง ทังฝ่ายบริหารและฝ่ายจัดการของสหกรณ์จาเป็นต้องมีความรู้ในด้านการเงินการบัญชี รวมถึงมีความรู้ในด้านอื่น เพื่อให้สามารถวางแผนและบริหารจัดการสหกรณ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความเจริญ ก้าวหน้า มั่นคงและยั่ง ยืน สร้างความเชื่อมั่นและเป็นที่ศรัทธาแก่มวลสมาชิกสหกรณ์ จึงได้กาหนดจัดอบรมผู้บริหารสหกรณ์ หลักสูตร “พัฒนา ศั ก ยภาพผู้ บ ริ ห ารเพื่ อ สร้ า งความเข้ ม แข็ ง แก่ ส หกรณ์ ” จั ด ขึ นระหว่ า งวั น ที่ 23 - 24 พฤษภาคม 2562 ณ โรงแรมปัญจดารา อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
42
การพัฒนาบุคลากรเครือข่าย ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอ ภาคทางสังคม เพื่อหลุดพ้นจาก “กับดักรายได้ปานกลาง” ผ่านการพัฒนาที่ให้ความสาคัญกับการดึงเอาพลังของภาค ส่วนต่างๆ ทังภาคเอกชน ประชาสังคม และชุมชนท้องถิ่น ดังนัน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้กาหนดแนวทาง การจั ดท าแผนขั บ เคลื่ อ นการด าเนิ น งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมี โครงการที่ สาคั ญ 15 โครงการ (agenda) โครงการศู น ย์เรีย นรู้ก ารเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต สิน ค้า เกษตร ก็เป็ น โครงการ 1 ใน 15 โครงการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ต้องการให้มีศูนย์เรียนรู้ด้านการเกษตรในระดับชุมชนที่เป็น เครื่องมือในการพัฒนาการเกษตร ดูแลเกษตรกร และช่วยแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรต่างๆ ในพืนที่ ดาเนินงานภายใต้ หลักคิด “เกษตรกรพัฒนาเกษตรกรด้วยกันเองจึงจะเกิดความเข้มแข็งและยั่งยืน ” ศพก. จึงเป็นศูนย์การเรียนรู้ของ เกษตรกรและชุมชนในระดับพืนที่ โดยที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ได้ร่วมขับเคลื่อนการดาเนินงานผ่าน ศพก. 882 ศูนย์ พัฒนาศักยภาพครู บัญชีประจาศูนย์เรียนรู้ ให้สามารถให้บริการความรู้ด้านการจัดทาบัญชีด้านบัญ ชีรับ - จ่ายในครัวเรือน บัญชีต้นทุน ประกอบอาชีพ และการนาข้อมูลทางบัญชีไปใช้ประโยชน์ เช่น การลดต้นทุนเพิ่มรายได้ ปรับเปลี่ยนอาชีพและการ วางแผนทางการตลาด รวมทังการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของเกษตรกรได้ ดั งนั น กรมตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ โดยส านั ก งานตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ ที่ 3 ได้ จั ด ให้ มี โครงการสั ม มนา เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง “การสร้ า งเครื อ ข่ า ยอาสาสมั ค รเกษตรด้ า นบั ญ ชี (ครู บั ญ ชี ) ประจ าศู น ย์ เรี ย นรู้ ก ารเพิ่ ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) และศูนย์เครือข่าย” ขึน โดยมุ่งหวังให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการทัง บุ ค ลากรผู้ ป ฏิ บั ติ ง านและอาสาสมั ค รเกษตรด้ านบั ญ ชี ซึ่ ง เป็ น เครือ ข่ า ยภาคประชาชนได้ ร่ ว มกั น สร้ างการรับ รู้ ติดตามงาน และกาหนดแผนการดาเนินงานส่งเสริมการจัดทาบัญชีในศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า เกษตร (ศพก.) และศูนย์เครือข่ายให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึน ตลอดจนเพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทาแผนการดาเนินงาน บู ร ณาการตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต่ อ ไป โดยจั ด ขึ นระหว่ างวั น ที่ 7 - 9 สิ ง หาคม 2562 ณ เพลาเพลิน บูติค รีสอร์ท อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
43
การพัฒนาบุคลากรกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีสหกรณ์” สาหรับผู้ปฏิบัติงานสอบบัญชี ในพืนที่สังกัดสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 เพื่อมุ่งเน้นพัฒนาผู้สอบ บัญชีให้เข้าใจแนวทางการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี รวมถึงรับทราบข้อสังเกตจากการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี เพื่อให้สามารถนาไปปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงานสอบบัญชีให้มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยมีแผนงาน 122 คน ผลงาน 122 คน จัดขึนระหว่างวันที่ 24 - 25 เมษายน 2562 ณ โรงแรมสตาร์เวล บาหลี อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
44
2. จัดประชุมสัมมนา เรื่อง “พัฒนาศักยภาพทีมงาน มุ่งสู่การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ” สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 จัดประชุมสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในสังกัด มุ่งเน้นให้ บุคลากรเข้าใจบทบาทและภารกิจของตนเอง รวมถึงเรียนรู้หลักการทางานร่วมกันเป็นทีม ช่วยผลักดันให้เกิดพลังและ นาพาองค์กรไปสู่เป้าหมายที่กาหนดไว้ จัดการประชุมสัมมนาขึนระหว่างวั นที่ 26 - 27 มิถุนายน 2562 ณ เขาใหญ่ แฟนตาซีรีสอร์ท อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
3. จัดสัมมนาบุคลากร เรื่อง “เสริมสร้างความรู้ผู้ปฏิบัติงาน ให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน” สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เล็งเห็นถึงความสาคัญในการเสริมสร้างและ พัฒนาความรู้ให้แก่บุคลากร เพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุตามเป้าหมายและเกิดผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจของกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ จึงกาหนดจัดสัมมนา เรื่อง “เสริมสร้างความรู้ผู้ปฏิบัติงาน ให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน” ขึน เพื่อให้ บุคลากรได้รับการพัฒนาทังในด้านนโยบาย ด้านความรู้ในการปฏิบัติงาน และด้านคุณธรรมจริยธรรม และนาความรู้มา ปรับใช้ในการปฏิ บั ติงานให้ เกิดประโยชน์กั บองค์กรต่อไป จั ดขึนระหว่างวันที่ 12 – 13 กันยายน 2562 ณ โรงแรม เดอะ โบนันซ่า รีสอร์ท เขาใหญ่ อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
45
การพัฒนาด้านอืน่ ๆ จัดประชุมผูบ้ ริหารกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เรือ่ ง การติดตามผลการปฏิบตั งิ านตามแผนงาน โครงการ ของหน่วยงานในสังกัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ครังที่ 1 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจหลักเกี่ยวกับการพัฒนาระบบการตรวจสอบบัญ ชี และระบบควบคุมคุณภาพการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล พัฒนามาตรฐานการบัญชีสหกรณ์ และส่งเสริมความรู้การจัดทาบัญชีและการบริหารจัดการด้านการเงิน การบัญชีแก่สหกรณ์และเกษตรกรเสริมสร้าง เสถียรภาพทางการเงินและระบบการควบคุมภายในที่ดีแก่สหกรณ์ พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและการเตือนภัยทางการ เงินแก่สหกรณ์ พัฒนาระบบการให้คาปรึกษาแนะนาด้านการเงินการบัญ ชีแก่สหกรณ์และเกษตรกร ตลอดจนการ เสริ ม สร้ า งความรู้แ ละส่ งเสริ ม การจั ด ท าบั ญ ชี แ ก่ บุ ค ลากรเครื อ ข่ า ย เยาวชน ประชาชนทั่ ว ไป กลุ่ ม อาชี พ และ กลุ่มเป้าหมายตามโครงการพระราชดาริต่าง ๆ ซึ่งในแต่ละปีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ได้กาหนดแผนงาน โครงการต่าง ๆ เพื่อรองรับนโยบายและภารกิจที่กาหนดขึน จึงต้องมีการติดตามผล และตามแผนการปฏิบัติงานที่ได้วางไว้ ดังนัน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ โดยสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 ได้จัดการประชุมผู้บริหารกรม ตรวจบัญชีสหกรณ์ เรื่อง การติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการ ของหน่วยงานในสังกัดกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ เพื่อติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการของหน่วยงาน ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่กาหนด ไว้ รวมถึงได้ทราบถึงประเด็นปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน และแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติง านได้อย่างถูกต้อง มีความชัดเจน มีประสิทธิภาพ เป็นที่ยอมรับ เกิดความเชื่อมั่น และสร้างขวัญ กาลังใจ ในการปฏิ บั ติ ง าน จั ด ขึ นระหว่ า งวั น ที่ 14 - 15 กุ ม ภาพั น ธ์ 2562 ณ วั ง น าเขี ย วโฮเทล อ าเภอวั ง น าเขี ย ว จังหวัดนครราชสีมา
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
46
การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในพื้นที่สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 ในรอบปีงบประมาณ 2562 ประกอบด้วย 1.การให้คาแนะนาปรึกษาแก่บุคลากรสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ในพื้นที่ 2.การให้คาแนะนา และแก้ไขปัญหาการใช้โปรแกรมระบบบัญชีแก่สหกรณ์ 3.งานตรวจสอบที่ใช้โปรแกรมระบบบัญชีผู้อื่นที่มีโครงสร้าง ฐานข้อมูลและโปรแกรมระบบบัญชีที่พัฒนาโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 4.งานกากับแนะนาการให้บริการตามตัวชี้วัด Road Map Rm 10-13 5.การถ่ายทอดความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 กากับดูแลให้บริการ 5 จังหวัด ได้แก่ ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม และสุรินทร์ มีสหกรณ์ในความรับผิดชอบที่ดาเนินธุรกิจทั้งสิ้น 543 แห่ง ในจานวนนี้มีสหกรณ์ที่นา โปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์มาใช้ในการบริหารงานจานวน 263 แห่ง หรือร้อยละ 48.43 ของสหกรณ์ที่ดาเนินธุรกิจ แยกเป็นใช้โปรแกรมที่พัฒนาโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 215 แห่ง และใช้โปรแกรมเอกชน 48 แห่ง และสหกรณ์ที่ ยัง ไม่ใช้โปรแกรมระบบบัญ ชีสหกรณ์มาช่วยในการบริห ารงานจานวน 280 แห่ง ร้อยละ 51.57 ของสหกรณ์ ที่ ดาเนินธุรกิจ เนื่องจากเป็นสหกรณ์ขนาดเล็ก ทุนดาเนินงานน้อยและไม่มีพนักงานเป็นของตนเอง สถานะการใช้โปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2562
Other+HM 18%
Other+HM CAD+Other+HM
Full Pack 50%
CAD+Other+HM 32%
Full Pack
จานวนแห่ง
45 40 35 30 25 20 15 10 5 0
ชัยภูมิ
นครราชสีมา
Other+HM
บุรีรัมย์
CAD+Other+HM
มหาสารคาม
สุรินทร์
สตส.
Full Pack
กราฟแสดงสถานะการใช้โปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์แยกตามจังหวัด ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
47
งานกากับแนะนาการให้บริการตามตัวชีว้ ดั Road Map 1.1 งานเพิ่มประสิทธิภาพการกากับสหกรณ์ด้วย Valuable Information SmartMonitor (Rm10) ลาดับ 1 2 3 4 5
สตส. ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม สุรินทร์ รวม
หน่วยวัด แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง
แผนงานทัง้ ปี สหกรณ์ (แห่ง) 11 13 31 10 10 75
ผลงานสะสม สหกรณ์ (แห่ง) ผู้สอบบัญชี 11 4 13 10 31 3 10 6 10 3 75 26
เชิงปริมาณ : ผู้สอบบัญชีสหกรณ์ที่ใช้ SmartMonitor ทุกคนสามารถนาข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการตรวจสอบบัญชี เชิงคุณภาพ : ร้อยละ 90 ของสหกรณ์ที่ใช้ SmartMonitor ผู้สอบบัญชีสามารถนาข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการตรวจสอบบัญชี 1.2 งานเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้วย Valuable Information SmartManage (Rm11) สตส.
ต.ค. 2561 ราย % ชัยภูมิ 1 1.96 นครราชสีมา 67 54.92 บุรีรัมย์ 2 3.57 มหาสารคาม 14 70.00 สุรินทร์ 12 10.81 รวม 96 26.67
พ.ย. 2561 ราย % 19 37.25 96 78.69 5 8.93 17 85.00 73 65.77 210 58.33
ใช้งาน ธ.ค. 2561 ม.ค. 2562 ราย % ราย % 6 15.79 35 68.63 105 82.03 103 80.47 25 60.98 41 78.85 18 90.00 17 85.00 75 82.91 97 83.62 229 66.57 293 79.83
ก.พ. 2562 ราย % 29 56.86 117 91.41 43 82.69 18 90.00 98 84.48 305 83.10
มี.ค. 2562 ราย % 38 74.51 98 79.67 33 62.26 15 75.00 101 57.83 285 78.73
เชิงคุณภาพ : ร้อยละ 50 ของกรรมการที่ลงทะเบียนใช้งาน เข้าใช้งานระบบอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
48
1.2 งานเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้วย Valuable Information SmartManage (Rm11) ต่อ สตส.
เม.ย. 2562 ราย % ชัยภูมิ 45 88.24 นครราชสีมา 96 78.05 บุรีรัมย์ 32 60.38 มหาสารคาม 14 70.00 สุรินทร์ 92 80.00 รวม 279 77.07
พ.ค. 2562 ราย % 40 78.43 94 76.42 36 67.92 17 85.00 105 91.30 292 69.61
ใช้งาน มิ.ย. 2562 ก.ค. 2562 ราย % ราย % 40 78.43 42 82.35 103 83.74 95 77.24 46 82.14 36 64.29 16 80.00 17 95.00 95 81.90 103 86.55 300 81.97 293 79.40
ส.ค. 2562 ราย % 41 80.39 92 75.41 34 60.71 16 80.00 99 85.34 282 77.26
ก.ย. 2562 ราย % 38 74.51 94 77.05 33 58.93 18 90.00 94 82.46 277 76.31
เชิงคุณภาพ : ร้อยละ 50 ของกรรมการที่ลงทะเบียนใช้งาน เข้าใช้งานระบบอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 1.3 งานเพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมด้วย Valuable Information SmartMember (Rm12) ลาดับ 1 2 3 4 5
สตส. ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม สุรินทร์ รวม
สหกรณ์์ (แห่ง) 10 14 30 10 10 74
สมาชิกลงทะเบียน (สะสม) เป้าหมาย ผลงาน 520 580 520 694 520 743 520 1,258 520 1,373 2,600 4,648
จานวนผูใ้ ช้งาน (สะสม) ราย ร้อยละ 460 88.46 492 94.62 479 92.12 878 168.85 982 188.85 3,291
เชิงคุณภาพ : ร้อยละ 40 ของสมาชิกเป้าหมายที่ลงทะเบียนใช้งาน เข้าใช้งานระบบ
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
49
1.4 งานวางระบบบัญชีคอมพิวเตอร์เพื่อสร้าง Quality COOP (Rm13) ลาดับ 1 2 3 4 5
สตส. ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม สุรินทร์ รวม
หน่วยวัด
แผนงานทัง้ ปี
ผลงานสะสม
แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง
10 4 6 3 6 29
10 4 6 3 6 29
ปรับเปลีย่ น อย่างน้อย 1 ระบบ 10 4 6 3 6 29
1.5 การส่งเสริมและประชาสัมพันธ์นวัตกรรม Smart4M จัดนิ ทรรศการเสริมสร้างความรู้การใช้สารสนเทศเพื่อการบริห ารผ่านนวัตกรรม “Smart4M” วัน ที่ 20 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมปัญจดารา อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
50
วิทยากรถ่ายทอดวิชาการใช้สารสนเทศเพือ่ การบริหารผ่านนวัตกรรม Smart 4 M กลุ่ ม เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ส านั ก งานตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ ที่ 3 ได้ เป็ น วิ ท ยากรอบรมหลั ก สู ต ร เพิ่มประสิทธิภาพการจัดทาบัญชีของสหกรณ์ เพื่อเสริมสร้างความรู้ด้านการบริหารงาน และจัดทาบัญชีให้แก่บุคลากร ของสหกรณ์ วั น ที่ 2 พฤศจิ ก ายน 2561 ณ โรงแรมทองธาริ น ทร์ อ าเภอเมื อ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ และวั น ที่ 20 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมปัญจดารา อาเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
หลักสูตร การใช้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจสาหรับผู้บริหารสหกรณ์ วันที่ 14 ธันวาคม 2561 ณ โรงแรมเอสตะวัน อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม และวันที่ 21 ธันวาคม 2561 ณ โรงแรมเดอะศิตาปริ๊นเซส อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
51
เข้ากากับแนะนาคณะกรรมการสหกรณ์ Smart4M กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับกลุ่มพัฒนาการเรียนรู้ สานักงานตรวจบัญ ชีสหกรณ์ที่ 3 ได้กาหนด แผนเข้าสอนแนะด้านการเงินการบัญชีรวมถึงติดตามการใช้งาน Smart Manage แก่สหกรณ์ ที่ผ่านการอบรมตาม โครงการพั ฒ นานัก บริหารให้ใช้ข้อมูลทางการเงินอย่ างมืออาชีพ (RM 20) เพื่อให้เป็ นไปตามตัวชี้วัดเชิง คุณ ภาพ ร้อยละ 50 ของคณะกรรมการที่ลงทะเบียนใช้งาน Smart Manage ลงทะเบียนเข้าใช้งานอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และตัวชี้วัดเชิงปริมาณร้อยละ 70 ของสหกรณ์ ที่มีบุคลากรผ่านการฝึกอบรมสามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ สหกรณ์ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชัยภูมิ
สหกรณ์ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครราชสีมา
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
52
สหกรณ์ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดบุรรี มั ย์
สหกรณ์ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดมหาสารคาม
สหกรณ์ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุรนิ ทร์
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
53
ภาวะเศรษฐกิจทางการเงินสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรในพื้นที่ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 สภาพทั่ว ไป จากข้อมูลทางการเงินที่รวบรวม ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 ในพื้นที่สานักงานตรวจ บัญ ชีสหกรณ์ ที่ 3 ซึ่งประกอบด้วยจังหวัดนครราชสีม า บุ รีรัมย์ สุริน ทร์ มหาสารคาม และชัยภู มิ รวม 5 จังหวัด มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสามารถปิดบัญ ชีประจาปีได้ ทั้งสิ้น 970 แห่ง แยกเป็น สหกรณ์ 504 แห่ง และกลุ่ม เกษตรกร 466 แห่ง มีสมาชิกทั้งสิ้น 1,371,408 คน มีทุนดาเนินงานทั้งสิ้น 234,421.47 ล้านบาท ตาราง 1 : จานวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรและจานวนสมาชิก ณ 30 กันยายน 2562 จานวน (แห่ง) 368 136 504 466 970
ประเภท ภาคการเกษตร นอกภาคการเกษตร รวมสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร รวมทัง้ สิน้
ร้อยละ 37.94 14.02 51.96 48.04 100
จานวนสมาชิก (คน) 1,028,002 283,482 1,311,484 59,924 1,371,408
ร้อยละ ของสมาชิก 74.96 20.67 95.63 4.37 100
ภาคธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการดาเนินธุรกิจ 6 ด้าน แยกเป็นธุรกิจที่ใช้ในการระดมเงินทุน ให้สหกรณ์และส่งเสริมการออมให้แก่สมาชิก 1 ด้าน คือ ธุรกิจรับฝากเงิน และธุรกิจที่สร้างรายได้แก่สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร 5 ด้ าน คื อ ธุรกิ จสิ นเชื่อ จั ดหาสิน ค้ ามาจาหน่ าย รวบรวมผลิ ตผลทางการเกษตร แปรรูปผลิ ตผลทาง การเกษตร และให้บริการและส่งเสริมการเกษตร ธุรกิจที่มีมูลค่าสูงสุดได้แก่ ธุรกิจให้สินเชื่อ คิดเป็นร้อยละ 44.69 ของมูลค่าธุรกิจทั้งสิ้น มูลค่าธุรกิจเพิ่มขึ้น 295.59 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.90 จาก 176,044.68 ล้านบาท ในปี 2561 เป็น 218,111.93 ล้านบาทในปี 2562 ผลตอบแทนการจัดการธุรกิจหลัก สร้างรายได้ 32,324.83 ล้านบาท และสร้างกาไรสุทธิ 6,631.16 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 20.51 ของรายได้รวมทั้งสิ้น ตาราง 2 : ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ณ 30 กันยายน 2562 (หน่วย : ล้านบาท) รายการ ธุรกิจหลัก 6 ด้าน 1.รับฝากเงิน 2.ให้สินเชื่อ 3.จัดหาสินค้ามาจาหน่าย 4.รวบรวมผลผลิต 5.แปรรูป 6.ให้บริการ
สหกรณ์ภาค การเกษตร 39,615.90 9,073.36 14,403.99 6,487.74 7,883.76 1,715.10 51.95
สหกรณ์นอก ภาคการเกษตร 177,991.19 25,349.18 82,863.75 315.67 1.52 16.60 69,444.47
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
รวมสหกรณ์ 217,607.09 34,422.54 97,267.74 6,803.41 7,885.28 1,731.70 69,496.42
กลุม่ เกษตรกร 504.84 1.69 209.82 43.47 224.34 23.93 1.59
รวมทัง้ สิน้
ร้อยละ
218,111.93 34,424.23 97,477.56 6,846.88 8,109.62 1,755.63 69,498.01
100 15.78 44.69 3.14 3.72 0.81 31.86
54
ตาราง 3 : รายได้ – ค่าใช้จ่าย และผลกาไรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ณ 30 กันยายน 2562 (หน่วย : ล้านบาท) รายการ รายได้รวม ค่าใช้จ่ายรวม กาไรสุทธิ
สหกรณ์ภาค สหกรณ์นอก การเกษตร ภาคการเกษตร 19,985.52 12,021.00 19,503.02 5,880.99 482.50 6,140.01
รวมสหกรณ์ 32,006.52 25,384.01 6,622.51
กลุม่ เกษตรกร 318.31 309.66 8.65
รวมทัง้ สิน้
ร้อยละ
32,324.83 25,693.67 6,631.16
100.00 79.49 20.51
ภาวะเศรษฐกิจ ทางการเงิน ผลการวิเคราะห์พบว่าโดยส่วนใหญ่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3 มีความสามารถในการบริหารจัดการได้ดีพอควร ซึ่งจะเห็นได้จาก ความเพียงพอของ เงินทุนต่อความเสี่ยง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีทุนดาเนินงานทั้งสิ้น 234,421.47 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นจาก ปีก่อนร้อยละ 2.61 โดยเป็นทุนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเอง 98,039.85 ล้านบาท หรือร้อยละ 41.82 และ เป็นทุนภายนอก 136,381.62 ล้านบาท หรือร้อยละ 58.18 โดยมีสัดส่วนหนี้สินต่อทุน 1.39 เท่า จึงถือได้ว่า เจ้าหนี้ ยัง มี ความเสี่ย งเนื่ องจากทุ น ของสหกรณ์ / กลุ่ม เกษตรกรไม่ สามารถคุ้ม ครองหนี้ สิน ทั้ ง สิ้น ได้ คุณ ภาพของ สิ น ทรั พ ย์ สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรมี สิ น ทรั พ ย์ ทั้ ง สิ้ น 234 ,421.47 ล้ า นบาท เป็ น สิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย น 49,865.04 ล้านบาท และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 184,556.43 ล้านบาท สามารถสร้างรายได้ 0.14 รอบ มีอัตรา ผลตอบแทนร้ อยละ 2.87 สินทรัพย์ส่วนใหญ่เป็นลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ ร้อยละ 92.81 ดังนั้นคุณภาพของ สินทรัพย์ขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการลูกหนี้ ความสามารถในการบริหารจัดการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการ ดาเนินธุรกิจ 6 ด้าน มีปริมาณธุรกิจรวม 218,111.93 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่ อน ร้อยละ 23.90 เฉลี่ยเดือนละ 18,175.99 ล้ า นบาท ด าเนิ น ธุ ร กิ จ สิ น เชื่ อ มากที่ สุ ด 97,477.56 ล้ า นบาท รองลงมาเป็ น ธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก าร 69,498.01 ล้านบาท ความสามารถในการทากาไร ในภาพรวมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีกาไรสุทธิ 6,631.16 ล้านบาท คิ ดเป็ น ร้อยละ 20.51 ของยอดขาย/บริก าร เพิ่ มขึ้ นจากปี ก่อ น ร้อยละ 1.59 โดยสหกรณ์ น อกภาค การเกษตรท ากาไรได้ มากที่ สุด 6,140.01 ล้านบาท หรือร้อยละ 92.59 ของกาไรสุทธิทั้ง สิ้น สภาพคล่องทาง การเงิน จากอัตราส่วนทุ นหมุ นเวียน 0.48 เท่า เพิ่ มขึ้น จากปีก่อนที่เป็ น 0.47 เท่ า จะเห็น ว่าสหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกรมีสินทรัพย์หมุนเวียนไม่เพียงพอที่จะชาระหนี้ระยะสั้น และสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่เป็นลูกหนี้ ดังนั้น สภาพคล่องทางการเงินจึงขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพการเรียกเก็บหนี้จากลูกหนี้ให้ได้ตามกาหนด ผลกระทบของธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีความเสี่ยงหลายด้าน เช่น ราคาปัจจั ยการผลิต อัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มสูงขึ้นและภัย ธรรมชาติ
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
55
ตาราง 4 : แหล่งเงินทุนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ณ 30 กันยายน 2562 (หน่วย : ล้านบาท) ประเภท ภาคการเกษตร นอกภาคการเกษตร กลุ่มเกษตรกร ยอดรวม ร้อยละ
ทุนของสหกรณ์/ เงินรับฝาก เงินกู้ยมื /เจ้าหนี้ กลุม่ เกษตรกร 13,963.30 8,919.04 19,633.74 83,906.37 34,527.13 69,231.67 170.18 8.49 54.34 98,039.85 43,454.66 88,919.75 41.82 18.54 37.93
อื่น ๆ
รวม
ร้อยละ
2,738.51 1,193.09 75.61 4,007.21 1.71
45,254.59 188,858.26 308.62 234,421.47 100
19.31 80.56 0.13 100.00
ตาราง 5 : สินทรัพย์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ณ 30 กันยายน 2562 (หน่วย : ล้านบาท) เงินสดและ เงินฝาก ประเภท ธนาคาร/ สหกรณ์อนื่ ภาคการเกษตร 4,494.63 นอกภาคการเกษตร 4,873.50 กลุ่มเกษตรกร 168.45 ยอดรวม 9,536.58 ร้อยละ 4.07
ลูกหนี/้ ดอกเบี้ย ที่ดนิ อาคาร เงินลงทุน ค้างรับ-สุทธิ และอุปกรณ์ 34,883.64 182,600.16 73.99 217,557.80 92.81
3,998.72 456.72 46.03 4,501.47 1.92
66.21 470.08 0.00 536.29 0.23
อื่น ๆ
รวม
ร้อยละ
1,811.40 457.79 20.14 2,289.33 0.98
45,254.60 188,858.26 308.61 234,421.47 100
19.31 80.56 0.13 100
อัตราส่วนทางการเงินของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ณ 30 กันยายน 2562 อัตราส่วน ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสีย่ ง อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน อัตราส่วนทุนสารองต่อสินทรัพย์ อัตราการเติบโตของหนี้ คุณภาพสินทรัพย์ อัตราหมุนของสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ อัตราการเติบโตของสินทรัพย์ ความสามารถในการบริหาร อัตราการเติบโตของธุรกิจ การทากาไร อัตรา คชจ.ดาเนินงานต่อกาไร ก่อนหัก คชจ. อัตรากาไรสุทธิ สภาพคล่อง อัตราส่วนทุนหมุนเวียน อัตราลูกหนี้ชาระได้ตามกาหนด
หน่วยวัด
ภาค การเกษตร
นอกภาค การเกษตร
รวมสหกรณ์
กลุม่ เกษตรกร
รวมทัง้ สิน้
เท่า เท่า ร้อยละ
2.24 0.05 1.43
1.25 0.04 (0.39)
1.39 0.04 0.02
0.81 0.28 25.81
1.39 0.04 0.04
รอบ ร้อยละ ร้อยละ
0.44 1.08 1.73
0.06 3.29 2.61
0.14 2.87 2.44
1.15 3.17 15.44
0.14 2.87 2.46
ร้อยละ
(14.54)
37.71
23.91
17.00
23.90
ร้อยละ
71.60
16.06
26.53
57.34
26.60
ร้อยละ
2.48
51.49
21.11
2.76
20.93
เท่า ร้อยละ
1.15 27.00
0.22 98.95
0.47 74.79
3.35 17.12
0.48 74.63
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
56
ปัจจัยสาคัญที่ผลักดันให้การบริหารจัดการด้านการเงินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพคือการวัดผลทางการเงินและเทียบเคียงกับอัตราส่วนมาตรฐานทางการเงิน ซึ่งจากการเทียบเคียงกับ อัตราส่วนมาตรฐานทางการเงินที่มีความสาคัญ ในการเตือนภัยทางการเงินเพื่อปรั บปรุงและพัฒนาการบริหารทาง การเงินให้มีความมั่นคง เข้มแข็ง และมีเสถียรภาพ สามารถสรุปได้ดังนี้ ระดับเตือนภัยทางการเงิน ค่าใช้จ่ายดาเนินงานต่อกาไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดาเนินงาน ผลจากการวิเคราะห์พบว่าสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในระดับดี ได้แก่ สหกรณ์ประเภทออมทรัพย์ ระดับพอใช้ ได้แก่ สหกรณ์ประเภทร้านค้า และกลุ่ม เกษตรกร และอยู่ในระดับต้องปรับปรุง ได้แก่ สหกรณ์ประเภทการเกษตร ประมง นิคม บริการ และเครดิตยูเนี่ยน แสดงให้ เห็นว่าในภาพรวมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการควบคุมค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานได้ค่อนข้างต่า จึงต้องรักษาระดับ การใช้จ่ายเงินให้เป็นไปโดยประหยัดต่อไปเพื่อให้สามารถทากาไรได้ตามเป้าหมาย ลูกหนี้ระยะสั้นที่ชาระหนี้ได้ตามกาหนด ผลจากการวิเคราะห์พบว่าสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ใน ระดับดี มีเพียงสหกรณ์ประเภทออมทรัพย์เท่านั้น ระดับพอใช้ ได้แก่ สหกรณ์ประเภทบริการ ส่วนสหกรณ์ประเภทอื่น อยู่ในระดับต้องปรับปรุง สาหรับสหกรณ์ประเภทร้านค้าไม่มีการให้เงินกู้ แสดงให้เห็นว่าในภาพรวมสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร ยังมีหนี้ที่ผิดนัดชาระหนี้อยู่เป็นจานวนมาก จึงต้องเร่งติดตามหนี้จากลูกหนี้ให้ได้คืนโดยเร็ว เพื่อรักษาสภาพ คล่องทางการเงินให้มีเงินทุนหมุนเวียนในการดาเนินงานและจ่ายชาระเจ้าหนี้ระยะสั้นได้ตามกาหนด ทุนสารองต่อสินทรัพย์ ผลจากการวิเคราะห์พบว่าสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในระดับดี ได้แก่ สหกรณ์ประเภทร้านค้า และกลุ่มเกษตรกร ส่วนสหกรณ์ประเภทอื่นอยู่ในระดับต้องปรับปรุง แสดงให้เห็นว่าในภาพรวม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความเสี่ยงด้านเงินทุน ต้องเพิ่มทุนสารองโดยการจัดสรรกาไรสุทธิเป็ นทุนสารองให้สูงกว่า อัตราที่กฎหมายกาหนด สัญญาณเตือนภัยทางการเงินแยกตามประเภท 3 เตือนภัยทางการเงิน
เกษตร ประมง นิคม ร้านค้า บริการ
เครดิต ยูเนี่ยน
ออมทรัพย์
รวม สหกรณ์
กลุม่ เกษตรกร
รวมทัง้ สิน้
ค่าใช้จา่ ยดาเนินงาน(ก่อนหักค่าใช้จา่ ยดาเนินงาน) ระดับดี
140
1
0
3
12
6
37
199
310
509
57
1
1
2
8
8
5
82
42
124
163
3
2
2
16
25
12
223
114
337
42
1
0
0
13
5
41
102
67
169
4
0
0
0
2
5
2
13
1
14
314
4
3
0
21
29
11
382
398
780
ระดับดี
68
0
0
6
9
3
2
88
250
338
ระดับพอใช้
75
0
1
1
8
6
22
113
78
191
217
5
2
0
19
30
30
303
138
441
ระดับพอใช้ ระดับควรปรับปรุง
ลูกหนีร้ ะยะสัน้ ทีช่ าระได้ตามกาหนด ระดับดี ระดับพอใช้ ระดับควรปรับปรุง ทุนสารองต่อสินทรัพย์
ระดับควรปรับปรุง
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
57
จานวนแห่ง
สหกรณ์
450 400 350 300 250 200 150 100 50 0
จานวนแห่ง
กลุ่มเกษตรกร
350 300 250 200 150 100 50 เตือนภัย
0
ระดับดี ระดับพอใช้
ระดับดี ระดับพอใช้
ระดับการเฝ้าระวังทางการเงิน ระดับวิเคราะห์เพื่อเฝ้าระวังปกติ ได้แก่ สหกรณ์ประเภทร้านค้า ซึ่งต้องวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายดาเนินงานที่ อาจมีผลต่อการทากาไร ระดับ วิเคราะห์เพื่อ เฝ้า ระวัง มากขึ้น ได้แก่ สหกรณ์ ประเภทออมทรัพย์ และกลุ่มเกษตรกร ซึ่ง สหกรณ์ประเภทออมทรัพย์ต้องวิเคราะห์ขนาดความรุนแรงของการดารงทุนสารองที่ส่งผลต่อความเสี่ยงของเงินทุน และกลุ่มเกษตรกรต้องวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายดาเนินงานรวมทั้งปัญหาและอุปสรรคที่ไม่สามารถเรียกเก็บหนี้จากลูกหนี้ ซึ่งอาจส่งผลต่อการทากาไร คุณภาพสินทรัพย์ และสภาพคล่อง ระดับวิเคราะห์เพื่อเฝ้าระวังพิเศษ ได้แก่ สหกรณ์ประเภทบริการ ซึ่งต้องวิเคราะห์ขนาดความรุนแรง ของค่าใช้จ่ายดาเนินงาน ซึ่งส่งผลต่อการทากาไร รวมทั้งขนาดความรุนแรงของการดารงทุนสารอง ซึ่งอาจส่งผลกระทบ ต่อความเสีย่ งของเงินทุน และวิเคราะห์ความสามารถในการเรียกเก็บหนี้ที่อาจส่งผลคุณภาพสินทรัพย์และสภาพคล่อง ระดับ วิเคราะห์เพื่อเฝ้าระวัง พิเศษเร่ง ด่วน ได้แก่ สหกรณ์ประเภทการเกษตร ประมง นิคม และ เครดิตยูเนี่ยน ซึ่งต้องวิเคราะห์และติดตามภาวะเศรษฐกิจการเงินที่ยังเป็นปัญหาและอุปสรรคเรื้อรังในทุกๆ ด้าน
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
58
บทสรุป สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรต้องสร้างความเชื่อมั่นให้แก่สมาชิกในการทาธุรกรรมทางการเงิน กับสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร โดยสร้างระบบการควบคุมภายในที่ ดีในการบริหารจัดการไม่ให้ เกิดความเสียหาย ในขณะเดียวกันต้องส่งเสริมให้สมาชิกมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความระมัดระวังในการใช้จ่ายเงินโดยการให้ความรู้ในการ จัดทาบัญชีรับจ่ายในครัวเรือนและบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ เพื่อให้สมาชิกมีข้อมูลในการลดต้นทุนการผลิต สร้างอาชีพ เพื่อเสริมรายได้ให้แก่สมาชิก และปรับปรุงเงื่ อนไขในการให้สินเชื่อแก่สมาชิก โดยคานึงถึงขีดความสามารถในการ ชาระหนี้ของสมาชิกเป็นสาคัญ
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
59
ภาพกิจกรรมปีงบประมาณ 2562
ร่วมทาบุญตักบาตรข้าวสาร อาหารแห้ง เนือ่ งในโอกาสวันปีใหม่ 2562
ร่วมสืบสานประเพณีไทย เนื่องในโอกาสวันสงกรานต์ปี 2562
จัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการปฏิบตั งิ าน
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
60
ร่วมพิธสี มโภช นาศักดิส์ ทิ ธิ์ ณ บริเวณพลับพลาบนลานอนุสาวรีย์ทา้ วสุรนารี อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
ร่วมพิธที านาอภิเษก ในพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ณ พระวิหารหลวง วัดพระนารายณ์มหาราช วรวิหาร
ร่วมพิธเี วียนเทียนสมโภชนาอภิเษก ณ พระวิหารหลวง วัดพระนารายณ์มหาราช วรวิหาร อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
61
ร่วมกิจกรรมจิตอาสา “เราทาความดี ด้วยหัวใจ” กิจกรรมพัฒนาสถานทีจ่ ดั ทานาอภิเษกในพระราชพิธบี รมราชาภิเษก
จัดกิจกรรม ปลูกต้นไม้ "เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 87 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง”
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
62
ร่วมพิธลี งนามถวายพระพรชัยมงคล "เนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก”
ร่วมพิธที าบุญตักบาตร และพิธลี งนามถวายพระพร เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ประจาปีพทุ ธศักราช 2562
ร่วมพิธีถวายเครือ่ งราชสักการะ และพิธจี ุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลเนือ่ งในโอกาส )พานพุม่ ทอง-พานพุม่ เงิน( วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ประจาปีพทุ ธศักราช 2562
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
63
ร่วมกิจกรรมเนือ่ งในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ประจาปีพทุ ธศักราช 2562
ร่วมพิธีวางพานพุม่ ถวายราชสักการะ เนือ่ งในวันยุทธหัตถีของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ร่วมพิธีนอ้ มราลึกถึงพระกรุณาธิคณ ุ ของพระราชวรวงศ์เธอกรมหมืน่ พิทยาลงกรณ์ พระบิดาแห่งสหกรณ์ไทย เนือ่ งในวันสหกรณ์แห่งชาติ ประจาปี 2562
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
64
วันที่ 1 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว
ร่วมพิธีวางพวงมาลาและถวายบังคมพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร์ มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร
ร่วมพิธจี ดุ เทียนเพือ่ น้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ เนือ่ งในวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
65
ร่วมพิธีวางพวงมาลาและพิธีถวายบังคม เนือ่ งในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
ร่วมพิธจี ดุ เทียนเพือ่ น้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว
รายงานประจาปี 2562 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
66