Arunya thesis proposal

Page 1

CHIANG MAI, THAILAND



UTOPIA


EU - TOPOS IS GOOD PLACE


โครงการออกแบบภายในที่พักอาศัยจากแนวคิดยูโทเปย คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ประเภทของงาน ผูดำเนินงาน

: ประเภทงานออกแบบภายใน (INTERIOR DESIGN) : นางสาวอรัญญา น้ำผึ้ง รหัส 5600545 นักศึกษาชั้นปที่4 คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ปรึกษาโครงการ : อาจารยเรวัฒน ชำนาญ


สารบัญ


สารบัญ



PROJECT BACKGROUND

ตั้งแตปลายยุคเกาศูนยมาจนถึงปจจุบัน ไดมีสถิติการใชทรัพยากร และความขาดแคลน ของทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งภาวะน้ำมันทั่วโลกลดลงจึงไดมีการคิดคนพลังงานทดแทนและหันมา ใชแกสในป 2008 นั่นเปนสัญญาณเตือนวาทรัพยากรธรรมชาติเริ่มไมเพียงพอ ตอการบริโภค และ โลกกำลังเขาสูยุคดิสโทเปย คือ ภาวะวิกฤตในดานสภาพแวดลอมความเปนอยูและทรัพยากรอัน เนื่องมาจากการบริโภคอันไมรูจักเพียงพอของมนุษย อีกทั้งยังปฏิเสธไมไดวามนุษยตองการพึ่งพา ทรัพยากรธรรมชาติในการดำรงชีวิตมนุษยจึงเริ่มนำทรัพยากรมาใชหมุนเวียนและหาทรัพยากรทด แทน อีกทั้งยังมีเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาเติมเต็มในสวนที่ถดถอยลงไป ยูโทเปย เปนปรัชญาแนวคิดเชิงอุดมคติเกี่ยวกับโลกอันสมบูรณโดย “ โธมัส มอร ” นักปรัชญามนุษยนิยมชาวอังกฤษเขียนขึ้นในยุคสมัยของพระเจาเฮนรี่ที่แปดโดยตั้งใจเขียนขึ้นเพื่อ สะทอนสังคมและเสียดสีสังคมในสมัยนั้นในเรื่องของระบบชนชั้นวรรณะของขุนนางและชาวนาอีก ทั้งยังเปนสภาพสังคมที่โธมัส มอร อยากใหเปนบนเกาะอังกฤษแตวาไมสามารถเขียนออกมาได จึง ใชวิธีเขียนชื่อเกาะเปนชื่อยูโทเปยที่มาจากภาษากรีก คือ eu-topia = good place อีกทั้งยังพอง เสียงกับคำวา ou-topia = nowhere


LESS IS MORE LESS IS MORE

LIVING LIVING WITH LESSW SIMPLE DESIGN SIMPLE DESIGN

ECO FRIENDLYSU ECO FRIENDLY

DEMORCRACY DEMORCRACY FUTURISTIC FUTURISTIC


TECHNOLOGY TECHNOLOGY

SWITH LESS SCIENCE SCIENCE SUSTAINABLE AGRICULTURE SUSTAINABLE AGRICULTURE

SUSTANABLE USTANABLE FORMFUNCTIONS FOLLOW FUNCTIONS FORM FOLLOW

STRUCTURE OF UTOPIA







EXPECTATION

เพื่อศึกษาถึงแนวทางการออกแบบ หลักการจัดพื้นที่และประโยชน ใชสอย การกำหนดวัสดุในการออกแบบตกแตงภายในและศึกษาเกี่ยวกับอาคารเดิม รวมไป ถึงการนำเอาเรื่องราวของยูโทเปยมาประกอบในการออกแบบตกแตงภายใน จะทำให “โครงการออกแบบจากแนวคิดยูโทเปย” เปนสถานที่ ซึ่งสรางประสบการณใหมๆให กับผูเขาพัก



OBJ ECTIVE

เพื่อศึกษาถึงแนวทางการออกแบบ หลักการจัดพื้นที่และประโยชน ใชสอย การกำหนดวัสดุในการออกแบบตกแตงภายในและศึกษาเกี่ยวกับอาคารเดิม รวมไป ถึงการนำเอาเรื่องราวของยูโทเปยมาประกอบในการออกแบบตกแตงภายใน จะทำให “โครงการออกแบบที่พักอาศัยจากแนวคิดยูโทเปย” เปนสถานที่ ซึ่งสรางประสบการณใหมๆให กับผูอาศัย

1. เปนอาคารที่พักอาศัย 2. มีพื้นที่สีเขียวตามเงื่อนไขของที่กฏหมายกำหนด 3. เปนตนแบบของการมีคุณภาพชีวิตที่ดี 4. สามารถเลาเรื่องราวของยูโทเปยในแบบฉบับของยุครวมสมัยได


RESEARCH

METHOLOGY


LEAPFROG

THEORY



AREA OF STUDY

สวนเนื้อหาที่จะศึกษา 1. พฤติกรรมการดำรงชีวิตของคนในปจจุบัน 2. ศึกษาการปลูกตนไมภายในอาคาร 3. ศึกษาเรื่องทรัพยากรทดแทน



MARINA BARRAGE : SINGAPORE

NAOSHIMA : JAPAN

THE AWAJI YUMEBUTAI : JAPAN

SAYAMAIKE MUSEUM : JAPAN

KING STREET WEST HABITAT : TORONTO

HENDERSON WAVE : SINGAPORE



SITE ANALYSIS


10 KM TO NIMMAN




EXISTING BUILDING


RECONSTRUCTION


DIRECTION OF LIGHT

8 A.M.


DIRECTION OF LIGHT

11 A.M.


DIRECTION OF LIGHT

2 P.M.


DIRECTION OF LIGHT

5 P.M.


DIRECTION OF WIND

NORTH EASTERN WIND

SOUTH WEST WIND



FIRST FLOOR


SECOND FLOOR


THIRD FLOOR


FORTH FLOOR


FIFTH FLOOR


SIXTH FLOOR


SEVENTH FLOOR





FIRST FLOOR


SECOND FLOOR


THIRD FLOOR


FORTH FLOOR


FIFTH FLOOR


SIXTH FLOOR


SEVENTH FLOOR













































Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.