เอกสาร IPA เชียงราย ปี 2554

Page 1

ส่วนที่ 1 ผลสําเร็จตามแผนปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

1


ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงน้ําหนักในการบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ และนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 1.1.1 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมูบ่ า้ น การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 1.1.1

ระดับความสําเร็จของการพัฒนาตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

Company Logo

* ฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการพัฒนาหมู่บ้าน 372,400 บาท * สร้างแกนนําการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 246,900 บาท * หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ “พออยู่ พอกิน” “อยู่ดี กินดี” “มั่งมี ศรีสุข” จํานวน 36 หมู่บ้าน 4,361,520 บาท * การประเมินผลการจัดระดับหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 25,000 บาท * MOU การสนับสนุนการพัฒนาหมู่บ้านฯ อย่างบูรณาการ จํานวน 40 หน่วยงาน

MOU ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

2


ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงน้ําหนักในการบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ และนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 1.1.2 ระดับความสําเร็จของการสนับสนุน/ส่งเสริมการพัฒนาหมูบ่ า้ น/ชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสําเร็จของการสนับสนุน/ ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

* ประชุมเตรียมความพร้อมการเข้าสู่มาตรฐานแผนชุมชน 108,000 บาท * เวทีประชาคมหมู่บ้านเพื่อจัดทําบูรณาการแผนพัฒนาหมู่บ้าน (กม.ศอช.ต./อปท.) * ประชาสัมพันธ์กระบวนการทบทวนแผนชุมชนในที่ประชุม/เว็บไซต์/สถานีวิทยุ/OA * ประชุมคณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชนและคณะทํางาน ประเมินมาตรฐานแผนชุมชน 30,085 บาท * การบูรณาการแผนชุมชนระดับตําบล 437,325 บาท * เวทีประชาคมตําบลจัดทําแผนพัฒนาสามปีของ อปท. * ประชุมสภาพิจารณาข้อบัญญัติงบประมาณของปีถัดไป

Company Logo

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

3


ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงน้ําหนักในการบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ และนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 2.1 ร้อยละของกลุม่ ผู้ผลิตชุมชนทีส่ ามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ

การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 2.1

ร้อยละของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่สามารถ บรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

* การฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มอาชีพด้านการบริหารจัดการ การผลิต การตลาด และการ จัดการทุน 779,450 บาท * เชียงราย OTOP – SMEs Fair * งานเทิดพระเกียรติพระคู่ขวัญองค์ราชันราชินี * การขยายตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนผ่านเครือข่ายไปรษณีย์ไทย

Company Logo

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

4


ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงน้ําหนักในการบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ และนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 2.2 ระดับความสําเร็จของการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนตามเกณฑ์ การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 2.2

ระดับความสําเร็จของการจัดตั้งสถาบัน การจัดการเงินทุนชุมชนตามเกณฑ์

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

* การขับเคลื่อนทุนชุมชนเพื่อจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 164,700 บาท * การเสริมสร้างทักษะคณะกรรมการบริหารสถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชน 164,700 บาท

Company Logo

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

5


ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงน้ําหนักในการบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ และนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 2.5 ร้อยละของเทศบาลตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบลต้นแบบทีน่ าํ แผนชุมชน สู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ทกี่ ําหนด การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 2.5

ร้อยละของเทศบาลตําบลและองค์การบริหาร ส่วนตําบลต้นแบบที่นําแผนชุมชนสู่การพัฒนา ท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กําหนด

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

* เวทีประชาคมหมู่บ้านเพื่อจัดทําแผนพัฒนาสามปี (อปท.) * เวทีประชาคมบูรณาการแผนพัฒนาหมู่บ้าน * การบูรณาการแผนชุมชนระดับตําบล (กิจกรรมยุทธศาสตร์ กรม พช.) * เวทีประชาคมตําบลจัดทําแผนพัฒนาสามปีของ อปท. * ประชุมสภาพิจารณาข้อบัญญัติงบประมาณของปีถัดไป

Company Logo

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

6


ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงน้ําหนักในการบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ และนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 2.5 ร้อยละของเทศบาลตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบลต้นแบบทีน่ าํ แผนชุมชน สู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ทกี่ ําหนด การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 2.5

ร้อยละของเทศบาลตําบลและองค์การบริหาร ส่วนตําบลต้นแบบที่นําแผนชุมชนสู่การพัฒนา ท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กําหนด

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

* โครงการ ศอช.พัฒนาไทย * เสริมสร้างขีดความสามารถเครือข่ายองค์การชุมชน * สร้างพลังเครือข่าย ศอช.ระดับตําบล * พัฒนากระบวนการบูรณาการแผน * พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน

Company Logo

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

7


ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงน้ําหนักในการบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ และนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 3.1.1 ระดับความสําเร็จของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับ 3 มีการจัดสวัสดิการชุมชน การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 3.1.1 ระดับความสําเร็จของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับ 3 มีการจัดสวัสดิการชุมชน

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

Company Logo

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

8


ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงน้ําหนักในการบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ และนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 3.1.2 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 3.1.2 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

* พัฒนาศักยภาพเครือข่ายองค์ความรู้ * พัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชน OTOP โดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด * พัฒนาผลิตภัณฑ์โดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด * คลินิกบรรจุภัณฑ์จังหวัดเชียงราย

Company Logo

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

9


ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงน้ําหนักในการบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ และนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 3.1.3 ระดับความสําเร็จของของผู้นาํ อช. ในการส่งเสริมคุณภาพชีวติ ของครัวเรือน ทีต่ กเกณฑ์ จปฐ. ปี 2553 การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 3.1.3 ระดับความสําเร็จของของผู้นํา อช. ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือน ที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2553

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

•สนับสนุนการขับเคลือ่ นกิจกรรมพัฒนาชุมชนของ อช. 167,400 บาท * ส่งเสริมอาชีพ/การออม/การลดรายจ่าย/บัญชีครัวเรือน แก่ครัวเรือนตกเกณฑ์รายได้ * ร่วมกับ กศน. ส่งเสริมให้ประชาชนเรียนหนังสือให้อ่านออกเขียนได้ * ส่งเสริมการลด ละ เลิก อบายมุข *ส่งเสริมประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมสาธารณะ * ส่งเสริมความรู้ครัวเรือนด้านการกินอาหาร/การปฏิบัติตนให้ถูกสุขลักษณะ

Company Logo

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

10


ระดับความสําเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 1.2.1 ร้อยละของหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา ปลอดยาเสพติด

การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ร้อยละของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา ปลอดยาเสพติด

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

* ร่วมจัดเวทีประชาคมทางลับค้นหาผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด จํานวน 49 ครั้ง * ประชุมชี้แจงผู้จดั เก็บข้อมูล จปฐ. กชช.2ค รณรงค์ปอ้ งกันแก้ไขปัญหายาเสพติด จํานวน 415 หมู่บ้าน * รณรงค์สร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน จํานวน 415 หมู่บ้าน * เดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในวันสตรีสากล จํานวน 1,200 คน * จัดกิจกรรมรวมใจอาสาพัฒนาชุมชนเนื่องในวาระครบรอบ 42 ปี จํานวน 186 คน

Company Logo

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

11


ระดับความสําเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 1.2.1 ร้อยละของหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา ปลอดยาเสพติด (ต่อ) การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ร้อยละของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา ปลอดยาเสพติด

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

* ให้ความรู้ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดกับผู้นํา แกนนํา ครัวเรือนต้นแบบ หมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา จํานวน 36 ครั้ง 36 หมู่บ้าน * จัดเวทีประชาคมหมู่บ้าน เพื่อ Re-check ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา จํานวน 36 ครั้ง 36 หมู่บ้าน * ร่วมจัดตั้งสถานีบําบัดทุกข์ จํานวน 124 ศูนย์ * ร่วมพิธีเปิดสถานีบําบัดทุกข์ จํานวน 124 ศูนย์ * ร่วมเป็นคณะกรรมการประกวดสถานีบําบัดทุกข์ ระดับจังหวัด จํานวน 18 ศูนย์

Company Logo

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

12


ระดับความสําเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วดั ที่ 1.2.2 ระดับความสําเร็จของการดําเนินงาน OTOP โดยเลือกตัวชี้วดั คือ ระดับความสําเร็จของช่องทางการตลาดทีเ่ พิ่มขึน้ การบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสําคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 1.2.2 ระดับความสําเร็จของการดําเนินงาน OTOP โดยเลือกตัวชี้วัด คือ ระดับความสําเร็จของช่องทางการตลาดที่เพิ่มขึ้น

เป้าหมาย

ระดับ 5

ผล

ระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 100

กิจกรรม

* เทิดพระเกียรติพระคู่ขวัญองค์ราชัน ราชินี ณ เซ็นทรัลพลาซ่าเชียงราย * เชียงราย OTOP – SMEs แฟร์ * ถนนคนเดิน เชียงรายทุกวันเสาร์ * พัฒนาหมูบ ่ ้านท่องเที่ยว OTOP1 บ.วาวี อ.แม่สรวย/บ้านเวียงกาหลง อ.เวียงป่าเป้า * การจัดทําเว็บไซต์ OTOP * ถนนคนม่วน จังหวัดเชียงราย ทุกวันอาทิตย์ * การขยายการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนผ่านเครือข่ายไปรษณีย์ไทย

Company Logo

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

13


สรุปผลการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการและนโยบายสําคัญของกระทรวงมหาดไทย ของสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย ชื่อตัวชี้วดั ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน - การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง - เงินสัจจะสะสมของกลุ่มออมทรัพย์ฯเพิ่มขึ้นร้อยละ 7

เป้าหมาย

36 หมู่บ้าน 575,463,192 บาท

ผลการดําเนินงาน จํานวน

ร้อยละ/ระดับ

36 หมู่บ้าน 592,942,214 บาท 10.25 %

(37,647,125 บาท)

ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสําเร็จของการสนับสนุน /ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่สามารถ บรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสําเร็จของการจัดตั้งสถาบันการ จัดการเงินทุนชุมชนตามเกณฑ์ ตัวชี้วัดที่ 2.5 ร้อยละของเทศบาลตําบลและ อบต.ต้นแบบ ที่สามารถส่งเสริมการนําแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่น ได้ตามเกณฑ์ที่กําหนด ตัวชี้วัดที่ 3.1.1 ร้อยละของกลุ่มออมทรัพย์ฯ ระดับ 3 มีการจัดสวัสดิการชุมชน ตัวชี้วัดที่ 3.1.2 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน - กลุ่มผู้ผลิตชุมชนผ่านการรับรองจาก KBO จังหวัด - มูลค่าการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ ร้อยละ 3 ตัวชี้วัดที่ 3.1.3 ระดับความสําเร็จของผู้นํา อช. ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ จปฐ.ปี 2553 ตัวชี้วัดที่ 3.2 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักตาม เป้าหมายผลผลิต 1) จํานวนผู้นําที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 2) จํานวนครัวเรือนที่มีข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน 3) จํานวนหมู่บ้านที่มีข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน 4) จํานวนแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน

315 กิจกรรม

346

5

196 กลุ่ม

100

1 แห่ง

1

5

18 แห่ง

15

83.33

53 กลุ่ม

45

5

75 กลุ่ม

75 กลุ่ม

5

196 กลุ่ม

138 คน

210 คน 188,877 คร. 1,596 หมู่บ้าน 477 แผน

138 คน

5

210 คน 194,212 คร. 1,596 หมู่บ้าน 477

100 102.82 100 100

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

14


แสวงหวงบ

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

15


แสวงหวงบ

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

16


ส่วนที่ 2 ผลสําเร็จของข้อเสนอโครงการริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

17


ผลสําเร็จของข้อเสนอโครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ๗๕๐ ปี เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สวรรค์เมืองเชียงราย Input งบประมาณ งบยุทธศาสตร์ กรมฯ งบพัฒนาจังหวัด งบ อปท.

Innovation

เทคโนโลยี /เทควิควิธี วิชาการ / กรอบการทํางาน พัฒนาระบบ IT ยุทธศาสตร์กรมฯ/จังหวัด ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนจังหวัด สนับสนุนการใช้งานอย่างสร้างสรรค์ ค่านิยม ABCDEF - S&P

Encapsulating Process

๑. การบูรณาการการทํางานทุกภาคส่วน มีการทําความเข้าใจและร่วมกําหนดพื้นทีเ่ ป้าหมายหลักเดียวกัน ๒. มีรูปแบบการขับเคลื่อนตําบลต้นแบบทีส่ ามารถขยายผลในทางปฏิบัติได้และส่งผลต่อผูม้ ีส่วนได้เสีย ๓. มีระบบงาน IT / สารสนเทศ สนับสนุนการปฏิบัติงานที่มปี ระสิทธิภาพ -ผู้นํา อช. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือน -ผู้นํา อช. มีส่วนร่วมแผนชุมชน -มีการจัดทําบัญชีรับจ่ายครัวเรือน -ชุมชนที่มีรายได้เพิ่มขึ้น -มีการแก้ไขปัญหาหนี้สินนอกระบบของชุมชน -มีการบริหารจัดการทุนเพื่อจัดสวัสดิการชุมชน -มีการวิเคราะห์ข้อมูลสถานะทุนชุมชน

ตําบลต้นแบบ จังหวัดเชียงราย

-มีแผนชุมชน บรรจุอยู่ในแผนพัฒนาท้องถิ่น -มีแผนชุมชนผ่านการรับรองมาตรฐานฯ -มีการบันทึกองค์ความรู้ของชุมชน -มีการเผยแพร่ความรู้และข้อมูลข่าวสาร ผ่านเว็บไซต์ -มีกิจกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับการพัฒนาคุณภาพ

Output Outcome ๑) หมู่บา้ นพัฒนา ๖๗ หมู่บ้าน ๒) หมู่บา้ นต้นแบบระดับอําเภอ ๑๘ หมู่บ้าน ๓) องค์ความรูจ้ ากการขับเคลื่อน หมู่บ้านพัฒนา ๖๗ เล่ม

๑) มีรูปแบบและแนวทางการพัฒนาหมู่บ้าน ที่สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ได้ ๑ รูปแบบ ๒) หมู่บ้านต้นแบบ สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ได้ ทุกหมู่บ้าน

Ultimate Goal

เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนเป็น Knowledge Worker ประชาชนในหมู่บ้านมีความสุขบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนเกิดทักษะในการบริหารจัดการชุมชนและเกิดความภาคภูมิใจในชุมชน

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

18


ผลสําเร็จของการพัฒนาระบบงาน 1) การนํา IT มาใช้ในการพัฒนาระบบงาน - แต่งตัง้ คณะทํางานพัฒนาระบบสารสนเทศจังหวัดเชียงราย 1 คณะ เพื่อร่วมกันกําหนด แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสารสนเทศของจังหวัด - แต่งตัง้ คณะทํางานสนับสนุน ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยแต่งตั้งเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนที่มีความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของแต่ละอําเภอ แบ่งกันออกเป็น 6 ทีม เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนและ แก้ไขปัญหาให้แก่ผู้ใช้งานในอําเภอที่มีปัญหาการใช้งาน Program ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ด้วยการแก้ไขปัญหาผ่านระบบ internet โดยใช้ Program Team viewer และโปรแกรม Skype - การพัฒนาระบบ website ของจังหวัด ให้เป็น เครื่องมือในการสนับสนุนการปฏิบัติงานประจําและงานริเริ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยพัฒนาระบบรายงาน online จํานวน 3 รายงาน สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษ และเพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการรายงานผล จากอําเภอถึงจังหวัด มีการ update หนังสือสั่งการทุกเครื่อง ทุกฉบับ ทุกวัน เพื่อความรวดเร็วในการสื่อสาร มีการจัดทําหน้าเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์ สําหรับประชาสัมพันธ์ข่าวกิจกรรมพัฒนาชุมชนของจังหวัดและอําเภอ โดยเชื่อมโยงหน้าประชาสัมพันธ์ไปยังเครือข่ายสังคมออมไลน์ Face Book อีกทางหนึ่งด้วย - ใช้ระบบ OA ในการประสานการดําเนินงานระหว่างจังหวัด และ อําเภออย่างต่อเนื่อง มีการประสานระหว่างจังหวัดและอําเภอแล้ว มากกว่า 290 เรื่อง - การพัฒนาระบบเครือข่ายเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ (ระบบ Lan) ของ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด การสั่ง share printer การ share พื้นที่ ในเครื่องคอมพิวเตอร์สําหรับจัดเก็บข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ของนักวิชาการพัฒนาชุมชน (ยกเว้นเครื่อง คอมพิวเตอร์ของการเงิน) เพื่อให้เกิดความสะดวกในการใช้งาน และเชื่อมโยงการดึงข้อมูลข้ามเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้อย่างรวดเร็ว - มีการอบรมให้ความรู้ด้านการตัดต่อภาพยนตร์และ สื่ อ ดิ จิ ต อลให้ แ ก่ นั ก วิ ช าการพั ฒ นาชุ ม ชนจั ง หวั ด และอํ า เภอ ขณะนี้มีผลงานการตัดต่อภาพยนตร์ที่นําเสนอผลงานของอําเภอ และจังหวัดแล้ว จํานวน 19 เรื่อง - มีการอบรมการจัดทําระบบข้อมูลแผนที่ GIS ด้วย program Quantum GIS เพื่อใช้สําหรับการแสดงข้อมูลสําคัญประกอบแผนที่โดยจัดทําข้อมูล GIS ใน 3 ฐานข้อมูลสําคัญคือ ฐานข้อมูลครัวเรือนยากจน ฐานข้อมูลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง และฐานข้อมูล OTOP ระดับ 3 – 5 ดาว

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

19


2) กระบวนการพัฒนาทีมงาน การดําเนินการพัฒนาชุมชน ห้วงปีงบประมาณ พ.ศ.2554 สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เชียงราย ได้ตระหนักถึงความสําคัญการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร ซึ่งในที่นี้ ได้จําแนกแนวทางพัฒนาออกเป็น ๒ แนวทาง คือ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตอบสนองนโยบายของกรมการพัฒนา ชุมชน และอีกแนวทางหนึ่งคือการสร้างขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานบุคลากร ดังนั้น ในรอบปีที่ผ่านมา จึงมี ผลผลิตและผลลัพธ์ อันเกิดจากการดําเนินการกิจกรรมต่างๆสําคัญ ดังนี้ (1) การสนับสนุนส่งเสริมบุคลากรในการจัดกิจกรรมเชิงริเริ่มสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรม ด้านการนําและส่งเสริมการเข้าถึงระบบ IT/สารสนเทศ มาใช้ในการ พัฒนาระบบงาน โดยการอบรมให้ความรูห้ ลักสูตรที่เกี่ยวข้อง มีการ สร้างเจตคติ ความรู้ทักษะทีจ่ ําเป็น เพื่อการประยุกต์ใช้ระบบไอที และสารสนเทศการพัฒนาชุมชนอย่างสร้างสรรค์ ผ่านช่องทาง เว็บไซต์และเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรตื่นตัว อบรมพิเศษ โครงการเตรียมและเขียนข้อเสนอโครงการ และใช้เป็นเครือ่ งมือหรือช่องทางสื่อสารเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการสนับสนุนเอกสารคู่มือที่มีความจําเป็นในการ พัฒนา มีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ ทักษะ ในการปฏิบัติงาน พัฒนาชุมชน เช่น การอบรมพิเศษโครงการเตรียมและเขียนข้อเสนอ โครงการ เพื่อรับการสนับสนุนจากแหล่งทุน การประชุมทีมย่อยเพื่อ พัฒนาและแลกเปลี่ยนความรู้ในงานแต่ละด้าน การประชุมชี้แจงทํา การประชุมทีมย่อย ซักซ้อมเตรียมการจัดกิจกรรม ความเข้าใจด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง สนับสนุนการเรียน E-learning มีการนําเทคนิค วิธีการใหม่ๆ ในทางสากล มาประยุกต์ใช้ในงานพัฒนาชุมชนโดยบูรนาการกับระบบงาน สารสนเทศพัฒนาชุมชนที่มีอยู่ มีการสนับสนุนกิจกรรมทางเลือกสําหรับเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนจังหวัดและอําเภอ ที่มุ่งให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาทีมงาน เช่น กิจกรรมศึกษาดูงานนอกสถานที่ กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยน การ นําเสนอความรู้ประสบการณ์ ตามความเหมาะสม (2) การติดตามและสํารวจปัจจัยที่มีต่อต่อความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากรใน หน่วยงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย กิจกรรมนี้ ทําให้จังหวัดฯ ทราบปัญหา ความต้องการ และทราบระดับ ความพึงพอใจของบุคลากรในด้านต่างๆ ผ่านวิธีการวิจัยเชิงสํารวจที่ถูกออกแบบขึ้น จากผลการสํารวจพบว่าใน รอบปีที่ผ่านมา บุคลากรพัฒนาชุมชนของจังหวัดเชียงรายส่วนใหญ่ มีระดับความพึงพอใจที่บ่งบอกถึงความผาสุก ในระดับมาก (3) การส่งเสริมข้าราชการและลูกจ้างดีเด่น ประจําปี ๒๕๕๔ เพื่อเป็นการสร้างขวัญและ กําลังใจแก่บุคลากร และยกย่องจูงใจ ได้มีกิจกรรมพิจารณาคัดเลือกข้าราชการและลูกจ้างดีเด่นขึ้น ส่งผลให้ บุคลากรที่มีผลงานดีเด่น ได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ และเป็นแบบอย่างที่ดี (4) การดําเนินงานด้านการพัฒนาระบบและบุคลากรภายใต้รปู แบบการสนับสนุนอื่น ๆ - การขับเคลื่อนการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปี พ.ศ.๒๕๕๔ ตามแผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคล ภายใต้การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) จังหวัดเชียงราย โดยมี การจัดทําแผนปฏิบัติการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปี ๒๕๕๔ ขึ้น ซึ่งถือเป็นพันธสัญญาที่สําคัญในการ ขับเคลื่อนงานด้านทรัพยากรบุคคล - การปฏิบตั กิ ารโครงการพัฒนาชุมชนใสสะอาด จังหวัดฯ ได้สนับสนุนกิจกรรม ติดตามประเมินผลการปฏิบัติการตามโครงการฯ โดยใช้แบบสํารวจติดตาม ผ่านระบบ กลไกงานสารสนเทศ ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

20


พัฒนาชุมชน โดยทําการสํารวจ ระหว่างวันที่ ๒๐-๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๔ รวมถึงการกําหนดเป็นวาระสําคัญของ การประชุมประจําเดือนในแต่ละเดือน ทั้งนี้ เพื่อเน้นย้ํา ติดตามผลการดําเนินงานให้เกิดความต่อเนื่อง - การขับเคลื่อนค่านิยมองค์การ ABCDEF – S&P เนื่องจากเรื่องค่านิยม เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมหรือการกระทําของบุคลากรในองค์กร นอกจากการใช้ระบบ/กลไกวาระของการประชุมประจําเดือน ยังได้มีการรณรงค์ให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ได้แสดงพฤติกรรมที่บ่งบอกถึงค่านิยมองค์การเหล่านี้ โดยสอดแทรก ให้เห็นพฤติกรรม ผ่านกิจกรรมพัฒนาต่างๆ ให้มากขึ้น สําหรับรูปธรรมของการขับเคลื่อนค่านิยมองค์การดังกล่าว ในจังหวัดเชียงราย พิจารณาได้จาก การจัดให้มีมมุ พักผ่อนกาแฟ/เครื่องดื่ม กิจกรรมสันทนาการสําหรับเจ้าหน้าที่ พัฒนาชุมชน เวทีเสนอความรู้ประสบการณ์ที่แปลกใหม่ การมีส่วนร่วมในการแสดงความรู้สึกยินดีในโอกาสสําคัญ ของบุคลากร การทานอาหารร่วมกัน การมอบของขวัญในวันสําคัญ เป็นต้น โดยได้มีความพยายามเน้นย้ําให้เห็น คุณค่า ผ่านการปฏิบัติต่อกันอย่างเรียบง่าย เพื่อให้บุคลากรรู้สึกเชื่อมั่น ศรัทธา และมีความสุข - การพัฒนาบุคลากรเป็น knowledge worker สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เชียงราย ได้พัฒนาบุคลากรในสังกัดให้เป็น Knowledge worker ได้บรรลุตามจํานวนเป้าหมาย 18 คน (5) การสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้วยการพัฒนาระบบการให้คะแนนการส่งงาน ของอําเภอให้สามารถสนับสนุนการปฏิบัติงานของจังหวัดและอําเภอได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกทั้งทําให้ ระบบการให้คะแนนการส่งงานเป็นหนึ่งมาตรการในการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัฒนา ชุมชน โดยได้จัดทํา โครงการ Online Report Premium : OR Premium มีการสรุปวิเคราะห์ผลคะแนน การส่งงานของสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ มีการเรียงลําดับอําเภอและการจัดทํา Top Five Chart ประจําเดือน และที่สําคัญคือมีการจัดทําหนังสือยกย่องชมเชยและมอบประกาศเกียรติคุณให้สํานักงานพัฒนา ชุมชนอําเภอที่มีคะแนนการส่งงานสูงลําดับที่ ๑ ประจําทุกเดือน และ ๖ เดือน

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

21


3) ระบบติดตามประเมินผล เพื่อให้การขับเคลื่อนการดําเนินงานกิจกรรม ได้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ และให้เกิดความคุ้มค่าอย่างมากที่สุด สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย จึงได้ดําเนินการติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้ 3.1 การติดตามประเมินผลโดยบุคคล 3.1.1 การแต่งตั้งคณะทํางานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ (1) แต่งตั้งคณะทํางานรับผิดชอบการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติ ราชการกรมการพัฒนาชุมชน ปี 2554 (2) แต่ง ตั้งผู้ ป ระสานงานและรายงานผลตัว ชี้วัดตามคํ ารับรองการปฏิ บั ติ ราชการกรมการพัฒนาชุมชนระดับอําเภอ ปี 2554 (3) แต่ ง ตั้ ง คณะทํ า งานพิ จ ารณาจั ด ทํ า โครงการริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ (IPA) ปี 2554 (4) แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานโครงการ 750 ปี เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สวรรค์เมืองเชียงราย ปี 54 (5) แต่งตั้งคณะทํางานพิจารณาจัดทําข้อตกลงการปฏิบัติราชการและผลการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการสังกัดกรมการพัฒนาชุมชน จังหวัดเชียงราย (6) แต่งตั้งคณะทํางานจัดการองค์ความรู้ ปี 2554 (7) คําสั่งการมอบหมายงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ ของสํานักงานพัฒนา ชุมชนจังหวัดเชียงราย

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

22


3.1.2 สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย โดยคณะทํางานรับผิดชอบตัวชี้วัด คํารับรองการปฏิบัติราชการ และคณะกรรมการดําเนินการโครงการ 750 ปี เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สวรรค์เมือง เชียงราย ได้ร่วมกันติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนกิจกรรมในระดับพื้นที่อําเภอทั้ง 18 อําเภอ จํานวน 54 ครั้ง ในรูปแบบของการติดตามโดยทีมงานคณะทํางาน ตารางการติดตามการดําเนินงานพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ครั้งที่ ๑ ครั้งที่ ๒ ครั้งที่ ๓ อําเภอ (ไตรมาส ๑ ) (ไตรมาส 3) ไตรมาส ๔ 17 สิงหาคม 2554 แม่ฟ้าหลวง 6 มกราคม 2554 3 พฤษภาคม 2554 9 สิงหาคม 2554 แม่สรวย 29 ธันวาคม 2553 4 พฤษภาคม 2554 23 สิงหาคม 2554 ดอยหลวง 27 ธันวาคม 2553 6 พฤษภาคม 2554 16 สิงหาคม 2554 ขุนตาล 14 มกราคม 2554 9 พฤษภาคม 2554 11 สิงหาคม 2554 เชียงของ 17 มกราคม 2554 10 พฤษภาคม 2554 10 สิงหาคม 2554 พญาเม็งราย 11 มกราคม 2554 11 พฤษภาคม 2554 23 สิงหาคม 2554 เวียงเชียงรุ้ง 28 ธันวาคม 2553 12 พฤษภาคม 2554 16 สิงหาคม 2554 เทิง 5 มกราคม 2554 18 พฤษภาคม 2554 8 สิงหาคม 2554 พาน 7 มกราคม 2554 19 พฤษภาคม 2554 17 สิงหาคม 2554 แม่จัน 4 มกราคม 2554 20 พฤษภาคม 2554 22 สิงหาคม 2554 เชียงแสน 13 มกราคม 2554 23 พฤษภาคม 2554 8 สิงหาคม 2554 ป่าแดด 10 มกราคม 2554 24 พฤษภาคม 2554 22 สิงหาคม 2554 แม่สาย 24 มกราคม 2554 25 พฤษภาคม 2554 11 สิงหาคม 2554 เวียงแก่น 20 มกราคม 2554 26 พฤษภาคม 2554 10 สิงหาคม 2554 เวียงชัย 19 มกราคม 2554 27 พฤษภาคม 2554 15 สิงหาคม 2554 เมืองเชียงราย 12 มกราคม 2554 6 มิถุนายน 2554 15 สิงหาคม 2554 แม่ลาว 21 มกราคม 2554 7 มิถุนายน 2554 9 สิงหาคม 2554 เวียงป่าเป้า 18 มกราคม 2554 8 มิถุนายน 2554 มีประเด็นการตรวจติดตามงานฯ ดังนี้ 1. แฟ้มเอกสาร,หลักฐานเชิงประจักษ์ ตามคํารับรองปฏิบัติราชการกระทรวง,กรมฯ,จังหวัด 2. หลักฐานการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2554 (ไตรมาส 1,2,3) 3. หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (ต้นแบบ) ปี 2554 4. สถาบันการจัดการบริหารเงินทุนชุมชน (เฉพาะอําเภอเมือง,ป่าแดด,พาน) 5. โครงการ “โครงการ ๗๕๐ ปี เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สวรรค์เมืองเชียงราย” (IPA ปี ๒๕๕๔) ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

23


6. การบริหารการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทและการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ 7. การขับเคลือ่ นกิจกรรมพัฒนาชุมชนในพื้นที่ ทั้งนี้ ยังมีการออกพื้นที่เพื่อติดตามประเมินผลโดย บุคคล คือ มีการติดตามประเมินผลโดยนักวิชาการพัฒนาชุมชนของ กลุ่มงานเพื่อติดตามประเมินผลการขับเคลือ่ นงานในส่วนที่ รับผิดชอบและติดตามในอําเภอที่ตนเองเป็นผู้ประสานงาน ในระดับอําเภอ มีพัฒนาการอําเภอทุกอําเภอ เป็น ผู้ติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชน ในระดับพื้นที่ 3.2 การติดตามประเมินผลโดยการรายงาน เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ในการติดตามประเมินผลและมีเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์ ประกอบตัวชี้วัดที่ชัดเจน ซึ่งจะสามารถอธิบายกระบวนการทํางานได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงได้กําหนดให้มีการ รายงานผลโดยทางเอกสารอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ 3.2.1 กํ า หนดการรายงานผลการดํ า เนิ น งานตามคํ า รั บ รองการปฏิ บั ติ ร าชการ ประจําเดือน รายงานทุกวันที่ 25 ของเดือน 3.2.2 กําหนดรายงานความก้าวหน้าโครงการ 750 ปี เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สวรรค์เมืองเชียงราย เป็นประจําทุกเดือนในทุกวันที่ 25 ของเดือน 3.2.3 กําหนดการรายงานแผนการขับเคลื่อนโครงการ 750 ปี เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สวรรค์เมืองเชียงราย ระดับบุคคล และระดับอําเภอ 3.3 การติดตามประเมินผลโดยการประชุม 3.3.1 มีการประชุมผู้บริหารงานพัฒนาชุมชนและนักวิชาการพัฒนาชุมชนประจําเดือน ทุกเดือน ในการประชุมทุกเดือนจะมีการรายงานผลความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค ของการดําเนินงานขับเคลื่อนตัวชี้วัดคํารับรองการ ปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน จังหวัด/กลุ่มจังหวัดและมีการ รายงานความก้าวหน้าการดําเนินงานโครงการ 750 ปี เศรษฐกิจ สร้างสรรค์ สวรรค์เมืองเชียงราย เป็นประจําทุกเดือน 3.3.2 มี ก ารประชุ ม ชี้ แ จง ซั ก ซ้ อ ม ทําความเข้าใจ รายละเอียดการดําเนินงานขับเคลื่อนตัวชี้วัดเป็น รายตั ว ชี้ วั ด โดยนั ก วิ ช าการพั ฒ นาชุ ม ชนที่ รั บ ผิ ด ชอบงานได้ จัดการประชุมกลุ่มย่อย ทําความเข้าใจในรูปแบบ/แนวทางการ ดําเนินงานการติดตามในระหว่างนักวิชาการกลุ่มงานเดียวกัน และระหว่างกลุ่มงาน รวมทั้งมีการจัดประชุมชี้แจง ติดตามแก่ นักวิชาการพัฒนาชุมชนในระดับอําเภออย่างต่อเนื่อง 3.4 การติดตาม ประเมิน โดยการจัดทําเอกสารการนําเสนอผลงาน มีการกําหนดให้ผู้รบั ผิดชอบการขับเคลื่อน ตัวชี้วัดในระดับอําเภอจัดทําเอกสารสรุปผล การดําเนินงานเอกสารการถอดบทเรียนการดําเนินงานเพื่อเสนอต่อผู้บริหารได้รับทราบความเคลื่อนไหว ความก้าวหน้าและผลสําเร็จของการดําเนินงาน เช่น ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

24


(1) จัดทําเอกสารถอดความรู้หมู่บ้านพัฒนา ตามโครงการ 750 ปี เศรษฐกิจ สร้างสรรค์ สวรรค์เมืองเชียงราย จํานวน 67 เล่ม (2) การจัดทําเอกสารสรุปคุณภาพชีวิตของประชาชนจากข้อมูล จปฐ.และ กชช.2ค ระดับอําเภอ จํานวน 18 อําเภอ (3) ถอดบทเรียนสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 3 แห่ง (4) ถอดบทเรียนศูนย์เรียนรู้ชุมชน 10 ศูนย์ (5) ถอดบทเรียนการบริหารจัดการทุนชุมชน 3 แห่ง (6) ถอดบทเรียนการขับเคลือ่ นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา จํานวน 18 หมู่บ้าน (7) เอกสารสรุปผลงานการขับเคลื่อนของผู้นํา อช. ในการส่งเสริม คุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. 138 เล่ม (8) มีการกําหนดให้มีการนําเสนอผลงานของผู้รับผิดชอบในระดับ อําเภอ ในที่ประชุมระดับจังหวัด เช่นการนําเสนอสรุปผลการ ดําเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนรายอําเภอ การนําเสนอ ผลการจัดสวัสดิการชุมชน การแก้หนี้นอกระบบโดยกลุ่มออมทรัพย์ 4) ระบบการจัดการความรู้ จังหวัดเชียงราย ตระหนักว่าการจัดการความรู้เป็นทั้งมรรควิธีการเป้าหมายของการพัฒนา ดังนั้น จึงมีการดําเนินการส่งเสริม สนับสนุนเทคนิคและเป้าหมายของการพัฒนา ดังนั้น จึงมีการดําเนินการ ส่งเสริม สนับสนุนเทคนิค วิธีการการจัดการความรู้อย่างจริงจัง โดยการบูรณาการกับกิจกรรมหลักต่าง ๆ ในการ วิเคราะห์วางแผนโครงการกิจกรรม การติดตาม/ประเมินผลกิจกรรม เช่น การใช้เทคนิค AAR. การถอดบทเรียน Best Practice เทคนิคการเล่าเรื่อง รวมถึงการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันผ่านเว็บไซต์ ของจังหวัด ซึ่งได้ดําเนินการอย่างเป็นระบบ เพื่อรองรับการเรียนรู้และสื่อสารเป็นอย่างดี โดยมีการส่งเสริมด้าน การจัดการความรู้ ดังนี้ 4.1 แต่งตัง้ คณะทํางานจัดการองค์ความรู้ ปี พ.ศ.2554 1 คณะ 4.2 การให้ความรูด้ า้ นการจัดการองค์ความรูแ้ ก่นกั วิชาการพัฒนาชุมชน (1) จัดประชุมตามโครงการศูนย์เรียนรู้ ตามแนวพระราชดํ า ริ กิจ กรรมการประชุ ม ชี้แ จงให้ค วามรู้ ค วาม เข้าใจการดําเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ ระดับจังหวัดโดย อาจารย์ กนกนิจ พนาวาส พัฒนาการอําเภอวังเจ้า หัวหน้าศลิษา ม่วงใหม่ พัฒนาการอําเภอแม่ สาย เป็ นวิ ท ยากร ให้ความรู้ด้านการจัด การ ความรู้ แ ก่ นั ก วิ ช าการพั ฒ นาชุ ม ชน และผู้ นํ า ชุ ม ชนที่ เ ป็ น แกนนํ า สําคัญในพื้นที่เป้าหมาย (2) จัดประชุมชี้แจงทําความเข้าใจการ ดําเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ระดับอําเภอครบทุกอําเภอ โดย ทีมงานนักวิชาการพัฒนาชุมชนจังหวัด ร่วมกับอําเภอเป็นวิทยากร ถ่ายทอดความรู้ด้านการจัดการองค์ความรู้ให้แก่ผู้นํากลุ่ม องค์กร ผู้นําชุมชน ในพื้นที่หมู่บ้านเป้าหมาย (3) การให้ความรู้ดา้ นการจัดการความรู้ ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

25


โดยสื่อเอกสาร มีการจัดทําเอกสารจัดการความรู้ เพื่อเผยแพร่ให้แก่นกั วิชาการการพัฒนาชุมชนทุกระดับ เช่น เอกสารเผยแพร่เรื่อง “การจัดการความรู้ ขุมความรู้ กับแก่นความรู้ และกลยุทธ์การทํางานพัฒนาชุมชน” โดยนายบุญส่ง เวศยาสิรินทร์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ เอกสารเผยแพร่เรื่อง “การถอดบทเรียนใน การทํางานพัฒนาชุมชน” โดยนายปรีชา ปวงคํา นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ (4) การให้ความรู้ด้านการจัดการความรู้ โดยการแลกเปลี่ยนระหว่างบุคคลกับ บุคคล ที่มีการดําเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยนักวิชาการพัฒนาชุมชนจังหวัด ที่ลงพื้นที่นิเทศติดตามงานได้ใช้ โอกาสดังกล่าวในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 4.3 การจัดเก็บองค์ความรู้ (1) กําหนดให้การจัดการองค์ความรู้ การถอดบทเรียนเป็นตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของนักวิชาการพัฒนาชุมชนทุกคน (2) ในการขั บ เคลื่ อ นกิ จ กรรมตาม ยุทธศาสตร์และกิจกรรมตามโครงการริเริ่ม กําหนดให้มีการถอดบทเรียนจัดทําเอกสารองค์ความรู้ เมื่อมีการ ดําเนินงานตามโครงการเสร็จสิ้นแล้ว (3) สนับสนุนการจัดเก็บองค์ความรู้ใน การดําเนินงานในรูปแบบสือ่ ภาพยนตร์ โดยการจัดอบรมการตัดต่อ ภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล ให้แก่นักวิชาการพัฒนาชุมชนของจังหวัด และอําเภอ เพื่อนําผลงานการถอดบทเรียน/การถอดองค์ความรู้ของ อําเภอมาจัดทําในรูปแบบวีดิทัศน์ เผยแพร่องค์ความรู้ (4) สนั บ สนุ น การจั ด ทํ า รายงานการ พัฒนาหมู่บ้าน (VDR) และรายงานการพัฒนาตําบล (TDR) ซึ่งเป็นการเขียนผลงานของพัฒนาการแต่ละคนใน การถอดองค์ความรู้ ใช้หลักวิชาการในการวิเคราะห์หมู่บ้าน ตําบล บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงของหมู่บ้าน ตําบลนั้น ๆ รวมทั้งทําให้พัฒนากรสามารถวิเคราะห์ได้ถึงแนวโน้มการคาดการณ์ในอนาคตเกี่ยวกับการพัฒนา หมู่บ้าน/ตําบลนั้น ๆ ได้อีกด้วย 4.4 การเผยแพร่องค์ความรู้ (1) การเผยแพร่องค์ความรู้ผ่านระบบ website และ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ดังนี้ -การเผยแพร่ใน website หลักของสํานักงานพัฒนา ชุมชนจังหวัดเชียงราย ที่ http://www.cddchiangrai.com ใน link : KM Pool - การเผยแพร่ใน website หลักของจังหวัดเชียงราย ที่ http:://www.chiangrai.net ใน link : KM online “ระบบ ถ่ า ยทอดความรู้ ผ่ า นระบบอิ เ ลคทรอนิ ก ส์ จั ง หวั ด เชี ย งราย” ซึ่งสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงรายได้เข้าร่วมการ ประกวดองค์ความรู้ผ่านระบบอิเลคทรอนิกส์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดองค์ความรู้จากองค์ความรู้เรื่อง “ยืด ลด ปลด หมดหนี้ ด้วยสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน บ้านโป่งเทวี” - การเผยแพร่ ใน website ของกรมการพัฒนาชุมชน ใน link KM Blog นําผลงานการตัดต่อ วีดิทัศน์ที่ผู้เข้าอบรมเพื่อนําเสนอผลการดําเนินงานในพื้นที่ของตนเอง มานําเสนอใน Blog ของแต่ละอําเภอ ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

26


- การเผยแพร่ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ : Face Book และ Youtube มีการสร้างหน้า fan page และสร้างกลุ่มของสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย ใน page ชื่อ “cddchiangrai” เพื่อรวบรวมและ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งนําเสนอวิดิทัศน์ผลงานของแต่ละอําเภอ นําเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนผ่านเครือข่าย สังคมออนไลน์ 4.5 การถ่ายทอดองค์ความรู้ (1) มีการจัดเสวนา / การประชุมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างนักวิชาการพัฒนา ชุมชนกับนักวิชาการพัฒนาชุมชน และระหว่างกลุ่ม/องค์กร ผู้นําชุมชน กับนักวิชาการพัฒนาชุมชน อย่างต่อเนื่อง ทําให้ทั้งเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนและผู้นําชุมชน ได้รับองค์ความรู้ใน การดําเนินงานที่เป็นทั้งองค์ความรู้จากการปฏิบัติจริงอย่างเห็นผล ในระดั บ พื้ น ที่ และได้ ทั้ ง องค์ ค วามรู้ จ ากงานด้ า นวิ ช าการของ นักวิชาการพัฒนาชุมชน ซึ่งทั้งผู้นําชุมชนและนักวิชาการพัฒนา ชุมชนต่าง ๆ ได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้จนเกิดผลในทางปฏิบัติได้ เช่น การจัดเวทีเสวนาเรื่องทุนชุมชน การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง โดยปราชญ์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง (2) มีก ารนิ ท รรศการถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ที่ เกิ ด จากผลการปฏิ บัติ งานที่ เห็ น เป็ น รูปธรรมในระดับพื้นที่ เช่น การจัดนิทรรศการด้านแหล่งทุน การจัด นิ ท รรศการด้ า นการพั ฒ นาหมู่ บ้ า นเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง การจั ด นิทรรศการด้านการใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. (3) มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง ทั้ง การจัดประชุมแลกเปลี่ยนข้อมู ล โดยเฉพาะเรื่องในรูปแบบการ ประชุ ม กลุ่ม ย่อย หรือ การสอดแทรกหั วข้อ การสนทนาเรื่ อ งการ จัดการองค์ความรู้ด้านต่าง ๆ เวทีการประชุมต่าง ๆ 5) การใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า 5.1 มีการบริหารจัดการงบประมาณที่ได้รับ การจัดสรรให้สามารถดําเนินงานได้ตามแผนที่กําหนด และบาง กิจกรรมมีผลผลิตมากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 5.2 มี ก ารให้ บ ริ ก ารข้ อ มู ล ผ่ า นระบบ website สามารถทดแทนการขอข้อมูลงานพัฒนาชุมชน โดยการ เดินทางมาขอข้อมูลที่สํานักงานพัฒนาชุมชน และไม่ต้องจัดพิมพ์ เอกสารเพื่อให้บริหารข้อมูลในจํานวนมาก 5.3 มีการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์สํานักงานที่ เป็ น อุ ป กรณ์ ป ระหยั ด ไฟ หรื อ มี ก ารสนั บ สนุ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ห้ ความสําคัญด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม 5.4 มี ก ารรณรงค์ ก ารใช้ พ ลั ง งานอย่ า ง ประหยัด เช่น การปิดหน้าจอคอมพิวเตอร์เมื่อไม่ใช้งาน การปิด เครื่องปรับอากาศในช่วงเที่ยงวัน รณรงค์การใช้กระดาษ reuse 5.5 มี ก ารพั ฒ นาระบบรายงาน online ผ่าน website สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด จํานวน 3 รายงาน ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

27


คื อ การรายงานการใช้ ง าน ADSL รายงานทุ ก เดื อ น รายงานการใช้ พ ลั ง งาน รายงานทุ ก เดื อ น รายงานผล กระบวนการสร้างความปรองดอง รายงานทุกสัปดาห์ สามารถลดการใช้กระดาษได้เดือนละอย่างน้อย 216 แผ่น ปีละ 2,592 แผ่น หรือประมาณ 5 รีม ทําให้สามารถลดการ ตัดต้นไม้ได้ 3.92 ต้น

ส่วนที่ 3 ระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ขององค์กรสู่ระดับบุคคล

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

28


ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดเชียงราย วิสัยทัศน์ (Vision) เป็นหน่วยงานในการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน

พันธกิจ (Mission) 1. พัฒนาสมรรถนะของคน/องค์กรในการทํางานเชิงบูรณาการ 2. ส่งเสริม สนับสนุน เศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของชุมชน 3. ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาระบบบริหารจัดการชุมชน

เป้าหมาย (Goals) 1. ชุมชนเข้มแข็ง 2. ประชาชนพึ่งตนเองได้ 3. ครอบครัวมีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

29


วิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาของสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงรายช่วงปี พ.ศ.๕๕–๕๘ จุดแข็ง (Strength) ๑. ผู้บริหารมีความสนใจการพัฒนาคุณภาพ บุคลากร ๒. บุคลากรมีความรู้/ประสบการณ์ด้านชุมชนใน พื้นที่ และมีความหลากหลายด้านวิชาการ ๓. มีทรัพยากรสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากร บุคคล ๔. มีระบบสนับสนุนติดตามและการฝึกอบรม

จุดอ่อน (Weakness) ๑.ทรัพยากรเพื่อการดําเนินงานและลงทุนสําหรับ แก้ปัญหาชุมชนมีจํากัด ๒. การฝึกอบรมด้านการพัฒนาศักยภาพบุคลากรมีน้อยไม่ สอดคล้องและบูรณาการ ๓. บุคลากรถูกคาดหวังจากประชาชนสูง และมีภารกิจ มากมาย หลายด้าน ๔. บุคลากรขาดขวัญและกําลังใจในการทํางานด้วยไม่ แน่ใจในความก้าวหน้าในตําแหน่ง และสายงาน โอกาสการพัฒนา (Opportunity) สิ่งทีเ่ ป็นอุปสรรค/สิ่งคุกคาม (Threat) ๑. กลุ่ม องค์กร เครือข่ายภาคประชาชนยังมี ๑. ความกดดันจากสาธารณชนและฝ่ายการเมือง ความเชื่อมั่นศรัทธาต่อบุคคลากรพัฒนา ๒. การเกิดและเติบโตขององค์กรปกครองท้องถิ่น ชุมชน อาจส่งผลให้เกิดความซ้ําซ้อนเรื่องงาน ๒. แหล่งทรัพยากร อาทิ แหล่งทุน แหล่ง งบประมาณ/ทรัพยากร การศึกษา สังคม วัฒนธรรม เป็นต้น ๓. ปัญหา Corruption ชั้นในวงราชการ และ ยังมีอยู่มาก ธรรมาภิบาล ๓. มีระบบสนับสนุนจากหน่วยเหนือ เช่น ๔. พึ่งพางบประมาณรัฐซึ่งมีจํากัด อาจไม่เพียงพอ กรมการพัฒนาชุมชน, ศูนย์ศึกษาการพัฒนา รวมถึงมีแนวโน้มถูกตัดทอนลง ชุมชนลําปาง และการทํางานเชิงบูรณาการ ๕. พันธะสัญญาทีต่ ้องประสานงานและทํางานกับ ระดับกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ หน่วยงานอื่นๆ มากส่งผลให้ตอ้ งแบกรับภาระ ๔. ติดชายแดนประเทศพม่าและลาวและการ ค่าใช้จ่าย และบุคลากรเกิดความเหนื่อยล้าในการ ปฏิบัติงาน เกิดสมาคมอาเซียนในอนาคตอันใกล้ ดังนั้น ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategy Analysis) การปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายและยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน ควรมีด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ ; ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

การเน้นความสําคัญด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (HRD) และการฝึกอบรม การทํางานเชิงบูรณาการ ทั้งภายในองค์กร และภายนอกองค์กร การสร้างภาคีความร่วมมือในการทํางานแก้ไขปัญหาชนบทและชุมชน การระดมทุนและทัพยากรเพื่อการพัฒนาชนบทและชุมชน การประยุกต์ใช้เครื่องมือ หรือนวัตกรรมด้านการพัฒนา เช่น ระบบไอที/สารสนเทศ การจัดการ ความรู้ การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ การศึกษาวิจัย เป็นต้น ๖. การเตรียมความพร้อม ในทุกด้านในการเข้าสู่การเป็นสมาคมอาเซียน

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

30


ทั้งนี้ เพื่อให้สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย มีระบบขององค์กร ระบบการให้บริการบุคลากร และระบบเป้าหมายคือประชาชนในชุมชน อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเกิดความยั่งยืน อันเป็นเป้าหมาย ที่สําคัญของสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย และกรมการพัฒนาชุมชน

แผนที่ยทุ ธศาสตร์

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

31


ผังถ่ายทอด

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

32


การลงนามคํารับรองการปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ระหว่าง พัฒนาการจังหวัดเชียงราย และ พัฒนาการอําเภอ ระหว่างพัฒนาการจังหวัดเชียงราย และ หัวหน้ากลุ่มงาน / หัวหน้าฝ่าย เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

33


การลงนามคํารับรองการปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ระหว่าง หัวหน้ากลุ่มงาน/หัวหน้าฝ่าย และ นักวิชาการพัฒนาชุมชน/เจ้าหน้าที่

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

34


ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

35


ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

36


ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

37


ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

38


ส่วนที่ 4 ภาคผนวก

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

39


ผลการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการภายใน (IPA) กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔

จังหวัดเชียงราย

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย http://www.cddchiangrai.com กันยายน ๒๕๕๔ ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

40


สารบัญ เรื่อง

หน้า

ส่วนที่ 1 ผลสําเร็จตามแผนปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน คํารับรองการปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน การขับเคลือ ่ นนโยบายสําคัญของกระทรวงฯ

และกรมฯ สรุปผลการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ การแสวงหางบประมาณเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานพัฒนาชุมชน

1 11 14 15

ส่วนที่ 2 ผลสําเร็จของข้อเสนอโครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมฯ นวัตกรรม

18

ผลสําเร็จของการพัฒนาระบบงาน

การนํา IT มาใช้ในการพัฒนาระบบงาน z กระบวนการพัฒนาทีมงาน z ระบบการติดตามประเมินผล z ระบบจัดการความรู้ z การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ส่วนที่ 3 ระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายขององค์การสูร่ ะดับบุคคล z

ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย ผังการถ่ายทอดค่าเป้าหมายและตัวชี้วัดสู่ระดับบุคคล การลงนามคํารับรองการปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัตก ิ ารขับเคลื่อนการดําเนินงานตามคํารับรอง

19 20 22 25 27 29 31 32 33 37

ส่วนที่ 4 ภาคผนวก โครงการ

750 ปี เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สวรรค์เมืองเชียงราย คําสั่งคณะทํางาน รายชื่อตําบลต้นแบบระดับอําเภอ แผนปฏิบัตงิ านตามโครงการ สําเนาโครงการ Chiangrai Creative IT สําเนาโครงการ Online Report Premium : OR Premium สําเนาโครงการ Innovation IT : สารสนเทศสร้างสรรค์เพื่องานพัฒนาชุมชนก้าวไกล ……………………………………..

ผลการดําเนินงาน IPA กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดเชียงราย

41


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.