เอกสารจัดการความรู้การขับเคลื่อน IPA จังหวัดเชียงราย ปี 2555

Page 1

การจัดการความร ้ ู หมูบ่ า้ นเกื้อก ูล สืบสานแนวพระราชดาริ เพื่อความส ุขอย่างยัง่ ยืน Internal Performance Agreement : IPA คำรับรองกำรปฏิบัติรำชกำรภำยในระดับหน่วยงำน ปี 2555

สำนั ก งำนพั ฒ นำชุ ม ชนจั ง หวั ด เชี ย งรำย www.cddchiangrai.com โทร./โทรสำร 053 744044


'/-

= o-

.s


สารบัญ หน้า ความเป็นมาของโครงการ : “หมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริเพื่อความสุขอย่างยั่งยืน”

ขั้นตอนการดาเนินงาน

ผลสาเร็จของโครงการ หมู่บ้านเกื้อกูล ฯ

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านเกื้อกูล ฯ

โครงสร้างการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านเกื้อกูล ฯ

ผลการดาเนินงานตามโครงการหมู่บ้านเกื้อกูลฯ

ปัญหาและข้อเสนอแนะจากการปฏิบัติงาน

ภาคผนวก     

ภาพกิจกรรม คาสั่งคณะทางาน เกณฑ์การคัดเลือกหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบ ทะเบียนหมู่บ้านเป้าหมายตามโครงการ ประกาศผลการคัดเลือกหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบระดับจังหวัด


กำรจัดกำรควำมรู้ โครงกำร : หมู่บ้ำนเกื้อกูล สืบสำนแนวพระรำชดำริเพื่อควำมสุขอย่ำงยั่งยืน จังหวัดเชียงราย เป็นพื้นที่ทรงงานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในโครงการพัฒนาดอยตุง พระมหากรุณ าธิคุณ ของพระองค์ท่า นที่มีต่อ ชาวเชีย งราย เป็น สิ ่ง ที่มีคุณ ค่า อย่า งใหญ่ห ลวง และเพื่อ สนอง พระราชประสงค์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในการนาแนวทางการพัฒนาตามโครงการพัฒนาดอยตุง มาขยายผลในพื้นที่ข้างเคียงในจังหวัดเชียงราย โดยเฉพาะการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และสิ่งสาคัญ ที่สุดอันเป็นภารกิจของปวงชนชาวไทยทุกคนคือการน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันเป็นหลักการพัฒนาตาม แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาขยายผลการดาเนินงานอย่างเข้มข้นให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ในทั่ว ทุกพื้น ที่ห มู่บ้าน/ชุมชน จั งหวัดเชียงรายได้จัดทา“โครงการหมู่บ้านเกื้อกูล สื บสานแนวพระราชดาริเพื่อ ความสุขอย่างยั่งยืน” โดยมีวัตถุประสงค์เ พื่อ ส่งเสริม ให้ห มู่บ้านมีการพัฒ นาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยใช้ หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการบริหารจัดการชุมชนเพื่อมุ่งสู่ความเป็นชุมชนแห่งความเกื้อกูล ไปใช้เป็นหลัก ในการพัฒนา และเพื่อส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนขับเคลื่อนการดาเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของ กรมการพัฒนาชุมชนให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งเป็นโครงการริเริ่มที่ขับเคลื่อนประเด็นยุ ทธ์ศาสตร์ที่ 1 สร้างสรรค์ชุมชน อยู่เย็นเป็นสุข ในพื้นที่ให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม วิธีดำเนินกำร 1. แต่งตั้งคณะทางานสนับสนุนและติดตามการดาเนินโครงการระดับจังหวัด 2. รวบรวมข้อมูล องค์ความรู้ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมที่สะท้อนถึงความเกื้อกูลของ จังหวัดเชียงราย 3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทางานสนับสนุนฯ เพื่อจัดทาแนวทางการขับเคลื่อนหมู่บ้านเกื้อกูลของ จังหวัดเชียงราย 4. จัดประชุมชี้แจงทาความเข้าใจแนวทางการขับเคลื่อนโครงการฯ ให้แก่เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนทุกคน ๕. คณะทางานสนับสนุนและติดตามการดาเนินโครงการระดับจังหวัดกาหนดแผนการติดตาม สนับสนุนและ คัดเลือกหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบและการรายงานผลให้ผู้บริหารทราบ 6. นักวิชาการพัฒนาชุมชนอาเภอ จานวน ๖๗ คน คัดเลือกและจัดทาทะเบียนข้อมูลหมู่ บ้านที่จะขยายผล ให้เป็นหมู่บ้านเกื้อกูล คนละ 1 หมู่บ้าน 7. นักวิชาการพัฒนาชุมชนอาเภอ จัดทาแผนขับเคลื่อนกิจกรรมระดับหมู่บ้านเสนอให้ผู้บริหารทราบ 8. นักวิชาการพัฒนาชุมชนอาเภอ ขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการและรายงานผลการดาเนินงาน ให้อาเภอและรวบรวมส่งให้จังหวัด เป็นประจาทุกเดือน 9. นักวิชาการพัฒนาชุมชนอาเภอ จัดทาเอกสารสรุปผลการดาเนินงาน และนาเสนอผลการดาเนินงาน ขับเคลื่อนหมู่บ้านเกื้อกูลด้วยตนเองต่อคณะทางานสนับสนุนและติดตามการดาเนินโครงการฯ ระดับจังหวัด


-210. จังหวัดคัดเลือกหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบระดับจังหวัด ซึ่งมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในหมู่บ้าน ให้ดีขึ้น จานวน 7 หมู่บ้าน โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาหมู่บ้านเกื้อกูล ดังนี้ 1. หมู่บ้านเกื้อกูล มีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น โดยมีการประเมินความสุขมวลรวมของหมู่บ้าน จานวน 2 ครั้ง 2. มีกิจกรรมเพื่อมุ่งสู่ความเป็นชุมชนแห่งความเกื้อกูล อย่างน้อย 3 ใน 5 เรื่อง ดังนี้ 1) ส่งเสริมระบบการเกื้อกูลคนทุกข์ยากในชุมชน 2) รื้อฟื้นวัฒนธรรมลงแขก 3) ส่งเสริมการผลิตในระบบเศรษฐกิจเกื้อกูล 4) ส่งเสริมจิตสานึกสาธารณะรักษาสมบัติชุมชน 5) ส่งเสริมสานึกรักภักดีสถาบัน 3. มีการยกระดับคุณภาพชีวิตครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. เรื่องรายได้ 11. ประกาศเกียรติคุณให้แก่นักวิชาการพัฒนาชุมชนอาเภอที่มีผลงานดีเด่นในการขับเคลื่อนหมู่บ้านเกื้อกูล ต้นแบบระดับจังหวัด 12. รวบรวม เผยแพร่ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนแนวทางด้านการขับเคลื่อนหมู่บ้านเกื้อกูล เพื่อให้เกิดการ พัฒนาและต่อยอดองค์ความรู้ ผลที่คำดว่ำจะได้รับ ๑. ทุกหมู่บ้าน ได้น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เป็นหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของของ ประชาชนในหมู่บ้าน ๒. มีรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบของจังหวัดเชียงราย 3. เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนสามารถขับเคลื่อนการดาเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1สร้างสรรค์ชุมชน อยู่เย็นเป็นสุข ในพื้นที่ให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ตัวชี้วัดโครงกำร ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ๑. จานวนหมู่บ้านที่มีการดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 1,592 หมู่บ้าน ๒. จานวนหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบ จานวน 67 หมู่บ้าน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ๑. มีรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเกื้อกูลที่สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ได้ จานวน 5 รูปแบบ ๒. มีหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบที่สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ได้ จานวน 5 หมู่บ้าน ตัวชี้วัดเชิงผลลัพธ์ ๑. ความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 ( 34 หมู่บ้าน)


-3ขั้นตอนกำรดำเนินงำน จังหวัดเชียงราย กาหนดขั้นตอนการขับเคลื่อนการดาเนินโครงการหมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริ เพื่อความสุขอย่างยั่งยืน รวม 5 ขั้น ดังนี้

ขั้นตอน

ระยะเวลำดำเนินกำร ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ขั้นที่ ๑ เตรียมกำร วำงแผน กำหนดรูปแบบ ๑) สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจัดประชุมเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน เพื่อสรุปผลการดาเนินงาน ตามคารับรองการปฏิบัติราชการ (PA/IPA) ของจังหวัดประจาปี ๒๕๕4 และชี้แจงแนวทางการ ดาเนินงานพัฒนาชุมชนของจังหวัด เพื่อให้อาเภอได้ทบทวนผลการ ดาเนิน และจัดทายุทธศาสตร์ของ สพอ. ๒) แจ้งให้ สพอ. ทบทวนและจัดทายุทธศาสตร์ของ สพอ. ให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ กรมฯ และเสนอกรอบแนวทาง โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ขั้นที่ ๒ สร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจแก่ผู้เกี่ยวข้อง ๑) ประชุมชี้แจงกรอบการประเมินผลการดาเนินงาน ตามคารับรอง การปฏิบัติราชการภายในหน่วยงาน (PA/IPA) ปี ๒๕๕5 ให้แก่ จนท.พัฒนาชุมทุกระดับ ๒) จัดทาแผนการติดตามประเมินผล สนับสนุนการดาเนินงาน สพอ. ขั้นที่ ๓ สพอ. / สพจ. ทบทวนยุทธศำสตร์ของหน่วยงำนและ เตรียมกำรแต่งตั้งคณะทำงำน ดังนี้ 1) แต่งตั้งคณะทางานรับผิดชอบการดาเนินงานตามคารับรองการ ปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน ประจาปี 2555 2) แต่งตั้ง คณะทางานจัดทายุทธศาสตร์สานักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดเชียงรายเพื่อทบทวน และจัดทายุทธศาสตร์ และจัดทา โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ของจังหวัดเชียงราย ประจาปี ๒๕๕5 3) ประชุมคณะทางานจัดทายุทธศาสตร์สานักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดเชียงรายเพื่อทบทวน จัดทายุทธศาสตร์และจัดทา"โครงการ หมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริเพื่อความสุขอย่างยั่งยืน " เป็นโครงการริเริ่มสร้างสรรค์ของจังหวัดเชียงราย 4) สพจ. ดาเนินการจัดทาและจัดส่งเอกสารให้กรมฯพิจารณาอนุมัติ - ข้อเสนอคารับรองการปฏิบัติราชการภายในระกับหน่วยงาน (IPA) - แผนที่ยุทธศาสตร์จังหวัด - ข้อเสนอโครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมฯ - แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนคารับรองการปฏิบัติราชการภายในของ หน่วยงาน (IPA)


-๔-

ขั้นตอน

ระยะเวลำดำเนินกำร ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ขั้นที่ ๔ ขับเคลื่อน ควบคุม กำกับติดตำมผลกำรดำเนินงำน ตำมคำรับรองกำรปฏิบตั ิรำชกำรภำยในระดับหน่วยงำน (PA/IPA) ๑) ประชุม จนท. ทุกระดับ เพื่อชี้แจงกรอบ แนวทางการดาเนินงาน การประเมินผลการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ และ โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี ๒๕๕5 ๒) ลงนามคารับรองการปฏิบัติราชการ กรมฯ (PA/IPA) ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕5 ระหว่าง พัฒนาการจังหวัด กับหัวหน้า กลุ่มฯ/ฝ่าย /พัฒนาการอาเภอ 3) ลงนามคารับรองการปฏิบัติราชการ กรมฯ (PA/IPA) ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕5 หัวหน้ากลุ่มฯ /ฝ่าย /พัฒนาการอาเภอ กับนักวิชาการพัฒนาชุมชนจังหวัด/อาเภอ 4) แจ้งให้นักวิชาการพัฒนาชุมชนอาเภอ คัดเลือกและกาหนด เป้าหมายที่มีการดาเนินงาน"โครงการหมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนว พระราชดาริเพื่อความสุขอย่างยั่งยืน " 5) รวบรวมข้อมูลและกิจกรรมที่สะท้อนถึงความเกื้อกูลของหมู่บ้าน เป้าหมายในการดาเนินงานของ จนท.พช. ขั้นที่ 5 กำรรำยงำนนำเสนอและสรุปผลกำรดำเนินงำน - ทางเอกสาร สพอ. รายงานจังหวัดทุกวันที่ 20 ของทุกเดือน / สพจ. ส่งรายงานการประเมินตนเอง (Self Assesment Report) จานวน 3 รอบ ดังนี้ รอบ ๖ ,9 และ 11 เดือน - ทางระบบอิเล็คทรอนิกส์ (On line real time) โดยจัดทา รายงานการประเมินตนเอง (Self Assesment Report) ทุกวัน ทางเว็บไซต์ www.cdd.go.th/ipa๒๕๕๔ 7) การประเมินผล - นักวิชาการพัฒนาชุมชนอาเภอจัดเอกสารสรุปผลการ ดาเนินงานและนาเสนอผลการดาเนินขับเคลื่อนหมู่บ้านเป้าหมาย ด้วยตนเองต่อคณะทางานสนับสนุนและติดตามการดาเนิน โครงการฯ ระดับจังหวัด - จังหวัดคัดเลือกผลการพัฒนาหมู่บ้านพัฒนาดีเด่นระดับจังหวัด - ประกาศเกียรติคุณและจัดสรรสิ่งจูงใจการปฏิบัติงานของ นักวิชาการพัฒนาชุมชนอาเภอ - การรวบรวม เผยแพร่ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนแนวทาง ด้านการพัฒนาชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาและต่อยอดองค์ความรู้ - สรุปผลการดาเนินโครงการให้ผู้บริหารทราบ


-5-

ผลสำเร็จของข้อเสนอโครงกำรริเริ่มสร้ำงสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กรมกำรพัฒนำชุมชน จังหวัดเชียงราย ได้จัดทาโครงการ : หมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริ เพื่อความสุขอย่างยั่งยืน เป็นโครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยได้มอบหมายให้พัฒนากรทุกคนร่วมกับผู้นาชุมชนขับเคลื่อนหมู่บ้านเกื้อกูลคนละ ๑ หมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมให้ หมู่บ้านมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ด้วยการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการบริหาร จัดการชุมชนแห่งความเกื้อกูลเป็นหลักในการพัฒนาตามประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ภายใต้กลยุทธ์เสริมสร้างความสุขมวลรวมชุมชนโดยพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความพร้อมและมั่นใจของพัฒนากรทุกคนที่ได้ผ่านกิจกรรม Chiangrai sharing and Learning Zone ภายใต้ concept ปี 2555 คือ จัดให้ จัดหนัก จัดเต็ม และ จัด Zone ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่จังหวัดเชียงราย เลือกใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนโครงการ โครงการ Chiangrai sharing and Learning Zone เป็นกระบวนการในการพัฒนาความรู้และทักษะ เพื่อให้เกิดความพร้อมของพัฒนากรทุกคนให้สามารถลงมือปฏิบัติงานในพื้นที่ได้อย่างมั่นใจ กำรจัดให้ คือ การจัดกิจกรรมสาธิตให้แก่พัฒนากรและผู้นาชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเวทีจริงในพื้นที่ จริง ให้เกิดความคมในควำมรู้ ชัดในกระบวนกำรที่จะทำ และลึกในผลลัพธ์ที่ต้องกำร 3 ระดับ คือ ระดับจังหวัด จัดกิจกรรมสาธิต บูรณาการระหว่างหน่วยงาน ประสานงบ ประสานคน ระดับอาเภอ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนระหว่างพัฒนาการอาเภอกับเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ระดับตาบล จัดเวทีระหว่างชุมชนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำรจัดหนัก คือ การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนให้ทุกคนได้เรียนรู้ใน 3 เรื่อง คือ 1. รู้งำนด้ำน IT 2. รู้ดีเรื่องยุทธศำสตร์ 3. รู้ร่วมกันเรื่องงำนในพื้นที่ และเน้นการจัดหนักให้แก่ทีม Expert IT ของเชียงรายให้สามารถนาเทคโนโลยีมา สนับสนุนงาน เช่น ให้ความรู้การถ่ายภาพ การตกแต่งภาพ การจัดทา website การใช้งาน GIS แล สื่อออนไลน์ การตัดต่อภาพ และ วีดิทัศน์ การจัดหน้าเอกสาร การจัดทาจดหมายข่าวด้วยโปรแกรม Microsoft office publisher และการจัดทาหนังสือออนไลน์ กำรจัดเต็ม คือ การสนับสนุนด้านเอกสาร คู่มือ งบประมาณและจัดสรรแรงจูงใจให้พัฒนากรอย่างเต็มที่ ให้มีกาลังใจในการทางานได้อย่างเต็มความสามารถ กำรจัด Zone คือ การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แยกตาม Zone อาเภอ มีการ share ความรู้ ในระดับ Zone ให้เกิดเป็นความรู้ใหม่ๆ นาไปใช้ในการปฏิบัติงานได้


-6เมื่อกายพร้อม ใจพร้อม พัฒนากรพร้อม และ มั่นใจ ทุกคนได้ลงพื้นที่หมู่บ้านเป้าหมายด้วยความ smart เพื่อขับเคลื่อนหมู่บ้านเกื้อกูล เริ่มจากการที่พัฒนากรทุกคนทบทวนทาความเข้าใจขั้นตอนและเป้าหมาย จากนั้น ร่วมกับผู้นาชุมชนดาเนินการจัดเวทีประชาคม เพื่อกาหนดเป้าหมาย แผนปฏิบัติงานแบบมีส่วนร่วมในการทางานจริง เน้นการมอบหมายภารกิจตามความสามารถและความจาเป็น มีการส่งเสริม สนับสนุนการทางานของทีมงาน ด้วยการประสานภาคีการพัฒนาทั้งในระดับอาเภอ และตาบลประสานเครือข่ายองค์กรชุมชนในการทางานร่วมกัน และ ส่งเสริมการทางานแบบบูรณาการ โดยให้ทุกหน่วยงานเลือกพื้นที่เป้าหมายเดียวกันในการทางาน ในส่วนของการ ขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนมุง่ เน้นให้ความสาคัญใน 3 ประเด็น คือ สำนึก รัก ชุมชน เริ่มจากการสร้างสานึกให้ชุมชน มีความห่วงใย มีความเอื้ออาทร มีการดูแล ช่วยเหลือ และ แบ่งปันกัน โดยผ่านกระบวนการแห่งความรัก คือ ส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกคนรักในการพูดคุย สนทนา มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยน รักที่จะมีปฏิสัมพันธ์กันในทางสร้างสรรค์ อันก่อให้เกิดความรู้ แนวทางการแก้ไขปัญหาและแผนการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ เมื่อความรักถูกประสาน และ ถ่ายทอดมาเป็นการปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นรูปธรรม ชุมชนก็เกิดการเกื้อกูล เกิดการมีส่วนร่วม มีความ สามัคคีและมีความสุขเพิ่มมากขึ้น จากความสาเร็จในการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนตามแนวทาง ดังกล่าว ทาให้จังหวัดเชียงราย มีหมู่บ้าน ที่นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ร่วมกับการบริหารจัดการชุมชนแห่งความเกื้อกูล จนเป็นหมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริเพื่อความสุขอย่างยั่งยืน รวมจานวน 67 หมู่บ้าน ใน 18 อาเภอของจังหวัดเชียงราย และ มีหมู่บ้านที่ประสบความสาเร็จจนเป็นหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบได้ จานวน 7 หมู่บ้าน ทุกหมู่บ้าน มีการรื้อฟื้นกิจกรรมเกื้อกูลทั้ง 5 เรื่อง เพื่อฟื้นฟูชุมชนให้กลับมาเข้มแข็ง เอื้อเฟื้อและดารงอยู่ได้ ด้วยความร่วมมือ เช่น การเกื้อกูลคนทุกข์ยากในชุมชน มีการมอบทุนการศึกษา การช่วยเหลือผู้ประสบภัย การสร้างครัวชุมชน สวนผักรวมใจ การสอนหนังสือและดนตรีแก่เด็กในวันหยุด การจัดสวัสดิการ โดยกลุ่มออมทรัพย์ การติดตามและเฝ้าระวังครัวเรือนยากจน การจัดกิจกรรมข้าวสาร 1 กิโลกรัมเพื่อช่วยเจ้าภาพ การรื้อฟื้นวัฒนธรรม ลงแขก มีการลงแขกปลูกข้าว การลงแขกพัฒนาหมู่บ้าน การขุดลอกคลอง การทาแนวกันไฟ การจัดเวรยาม การส่งเสริม การผลิตในระบบเศรษฐกิจเกื้อกูล มีการจัดตั้งฐานเรียนรู้อาชีพ การรวมกลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ การ ทาอาหารไก่ อาหารปลา การผลิตไบโอดีเซล และการจัดกิจกรรมให้คาแนะนาอาชีพแก่สมาชิกกองทุนต่างๆ การส่งเสริมจิตสานึกสาธารณะ มีกลุ่มแม่บ้านเป็นแกนนาในการจัดตั้งกองทุนความดีวิถีพอเพียง การจัดตั้ง ธนาคารความดี จัดตั้งกองทุนธนาคารข้าว แนวทำงกำรขับเคลื่อนโครงกำร หมู่บ้ำนเกื้อกูล สืบสำนแนวพระรำชดำริเพื่อควำมสุขอย่ำงยั่งยืน 1. จังหวัด / อาเภอ กาหนดแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริ เพื่อความสุขอย่างยั่งยืน 2. จังหวัดประชุมชี้แจงสร้างความรู้ความเข้าใจการดาเนินงานให้เป็นในทิศทางเดียวกัน 3. ทีมนักวิชาการพัฒนาชุมชนจังหวัด ติดตาม นิเทศ การดาเนินงานตามคารับรองฯ IPA และโครงการ หมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริเพื่อความสุขอย่างยั่งยืน


-7โครงสร้ำงกำรขับเคลื่อนโครงกำรหมู่บ้ำนเกื้อกูล สืบสำนแนวพระรำชดำริเพื่อควำมสุขอย่ำงยั่งยืน พัฒนาการจังหวัดเชียงราย ประธาน

หัวหน้ ากลุ่มงาน/ฝ่ าย คณะทางาน

พัฒนาการอาเภอ คณะทางาน

หัวหน้ ากลุ่มงานยุทธศาสตร์ ฯ คณะทางานและเลขานุการ

จังหวัดเชียงราย ได้แต่งแต่งคณะทางานโครงการริเริ่มสร้างสรรค์ IPA “หมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนว พระราชดาริเพื่อความสุขอย่างยั่งยืน จานวน 2 คณะ ดังนี้ 1. คณะทางานขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริเพื่อความสุขอย่างยั่งยืน 2. คณะกรรมการคัดเลือกหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบจังหวัดเชียงราย ตามคาสั่งจังหวัดเชียงรายที่ 590 / 2555 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2555 โดยมีพัฒนาการ จังหวัดเป็นประธาน และหัวหน้ากลุ่มงาน/หัวหน้าฝ่าย/พัฒนาการอาเภอ เป็นคณะทางาน คณะทางานที่ 1 มีบทบาทหน้าที่หลักในการขับเคลื่อนการดาเนินโครงการ ดังนี้ 1. จัดทาโครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๕5 2. จัดทาแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนโครงการ“หมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริเพื่อความสุข อย่างยั่งยืน”ติดตามความก้าวหน้าผลการดาเนินงาน และให้ข้อเสนอแนะการดาเนินงานตามโครงการ“หมู่บ้าน เกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริเพื่อความสุขอย่างยั่งยืน” 3. จัดทาเอกสารสรุปผลการดาเนินงานโครงการ “หมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริเพื่อความสุข อย่างยั่งยืน” โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ คณะทางานที่ 2 มีบทบาทหน้าที่หลักในการขับเคลื่อนการดาเนินโครงการ ดังนี้ 1. กาหนดรูปแบบ แนวทางการดาเนินงานและเกณฑ์ชี้วัดกิจกรรมที่รับผิดชอบ ๒. กาหนดรูปแบบและเครื่องมือการติดตามและประเมินผลกิจกรรมที่รับผิดชอบ ๓. จัดทาแผนปฏิบัติการการติดตามและสนับสนุนการดาเนินงานกิจกรรมของอาเภอ ๔. ดาเนินการคัดเลือกหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบจังหวัด โดยฝ่ายเลขานุการของโครงการ ได้ประสานให้เกิดการประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องทุกระดับอย่างต่อเนื่อง มีผลให้เกิดความเข้าใจในทิศทางการดาเนินงานที่ถูกต้อง และตามเกณฑ์ที่กาหนดให้บรรลุเป้าหมายได้ ตลอดจน จัดกิจกรรมสนับสนุนการดาเนินงานของอาเภอตามโครงการ Chiangrai sharing and Learning Zone เป็นเครื่องมือหนึ่งในการขับเคลื่อนกระบวนการทางานให้บรรลุผลสาเร็จตามโครงการ


-8ผลกำรดำเนินงำนโครงกำรหมู่บ้ำนเกื้อกูล สืบสำนแนวพระรำชดำริเพื่อควำมสุขอย่ำงยั่งยืน ตัวชี้วัดเชิงปริมำณ 1. หมู่บ้านนาหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการบริหารจัดการชุมชน เพื่อมุ่งสู่ความเป็นชุมชน แห่งความเกื้อกูลไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน จานวน 67 หมู่บ้าน ตัวชี้วัดเชิงคุณภำพ ๑. ร้อยละ 10 ของหมู่บ้านได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นหมู่บ้านเกื้อกูล ต้นแบบของจังหวัด จานวน 7 หมู่บ้าน ตัวชี้วัดเชิงผลลัพธ์ คุณภาพชีวิตของประชาชนในหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบดีขึ้น โดยวัดจากระดับความสุขมวลรวมของหมู่บ้าน ตาม โครงการหมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดาริ เพื่อความสุขอย่างยั่งยืนเพิ่มขึ้น และครัวเรือนยากจนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ได้รับการดูแล ช่วยเหลือจากคนในชุมชน อปท. และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง เข้าไปส่งเสริมสนับสนุน ขับเคลื่อนการดาเนินงานตามกระบวนการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ ครบทั้ง 4 กระบวนการ สามารถ ช่วยเหลือครัวเรือนยากจนให้มีรายได้เพิ่มขึ้นผ่านเกณฑ์ จปฐ. จานวน 1,052 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 82.38 ปัญหำและข้อเสนอแนะจำกกำรปฏิบัติงำน ๑. การสร้างความเข้าใจในการดาเนินงาน กรมฯ ควรจัดให้มีการประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงานตามคา รับรองการปฏิบัติราชการให้เร็วขึ้นกว่าเดิม คือ ภายในเดือนแรกของไตรมาสที่ ๑ เพื่อจังหวัดและอาเภอจะได้ มีเวลาในการดาเนินงานได้มากขึ้น ๒. ควรลดภาระการปฏิบัติงาน โดยการปรับลดการรายงานให้น้อยลง ๓. ควรจัดสรรงบประมาณให้จังหวัด สาหรับการประชุมเจ้าหน้าที่เพื่อสร้างความเข้าใจในการดาเนินงาน ตามคารับรองฯ 4. กระบวนการในการพิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการของส่วนกลางใช้เวลามากเกินไป


ภำคผนวก


ภำพกิจกรรม การประชุมเตรียมความพร้อมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ณ โรงแรมไดมอนด์ ปาร์คอินน์ เชียงราย รี สอร์ท เพื่อสรุปผลการดาเนินงานพัฒนาชุมชน ประจาปี 2554 และเตรียมความพร้อมการขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชน และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ในปี 2555


การประชุมชี้แจงทิศทางการทางานพัฒนาชุมชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ณ ห้องประชุมจอมกิตติ ศาลากลางจังหวัดเชียงราย เพื่อชี้แจงทิศทางการทางานพัฒนาชุมชน ประจาปี 255๕


การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ ปี 2555 ณ ห้องประชุมพวงแสด ศาลากลางจังหวัดเชียงราย เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน และร่วมกันกาหนดรูปแบบ แนวทางการดาเนินงานพัฒนาชุมชน ประจาปี 2555


การประชุมผู้บริหารงานพัฒนาชุมชนประจาเดือนมีนาคม 2555 และการชี้แจงกาหนดค่าเป้าหมายตัวชี้วัด ตามคารับรองการปฏิบัติราชการสู่ระดับองค์กร

การประชุมชี้แจงการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ณ ห้องประชุมธรรมลังกา ศาลากลางจังหวัดเชียงราย


การประชุมชี้แจงการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ณ ห้องประชุมธรรมลังกา ศาลากลางจังหวัดเชียงราย

กำรลงนำมคำรับรองกำรปฏิบัติรำชกำร กรมกำรพัฒนำชุมชน ประจำปี 2555


กำรติดตำม สนับสนุนกำรขับเคลื่อนกำรดำเนินงำน การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ รู้งาน รู้ดี รู้ร่วมกัน” เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่พัฒนา ชุมชน ได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันใน 3 ด้าน คือด้านการจัดการ IT ด้านการจัดทายุทธศาสตร์ และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้งานในพื้นที่ จัดทาเอกสารแนวทางการดาเนินงานสนับสนุน การจัดทีมนักวิชาการออกไปติดตาม สนับสนุนอาเภอ เป็นต้น เรี ยนรู ้งาน ร่ วมกัน ระหว่าง จนท. และ ผูน้ า ชุมชน

เรี ยนรู ้งาน IT

สาธิตการใช้เครื่ องจับพิกดั GPS ครัวเรื อนยากจนยากจน


ติดตาม เยีย่ มให้กาลังใจ สอบถามข้อมูล และมอบของช่วยเหลือครัวเรื อนยากจนในพื้นที่

แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้งานยุทธศาสตร์

เรี ยนรู ้งาน IT

แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้งานในพื้นที่


กำรสรุปนำเสนอผลกำรดำเนินงำน และจัดนิทรรศกำร “หมู่บ้ำนเกื้อกูล สืบสำนแนวพระรำชดำริ เพื่อควำมสุขอย่ำงยั่งยืน”

สรุ ปผลนาเสนอผลการดาเนินงาน และจัดนิทรรศการ “หมู่บา้ นเกื้อกูล สื บสานแนวพระราชดาริ เพื่อความสุ ขอย่างยัง่ ยืน

ตรวจแฟ้ มเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์

จัดนิทรรศการผลการดาเนินงานหมู่บา้ นเกื้อกูลฯ


ทะเบียนหมู่บ้านเป้าหมายตามโครงการ " หมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดําริเพื่อความสุขอย่างยั่งยืน" ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

บ้าน

หมู่ที่

ตําบล

อําเภอ

สันมะนะ

8 ป่าอ้อดอนชัย เมืองเชียงราย

กองยาว

3 แม่ข้าวต้ม

เมืองเชียงราย

ยางคํานุ

5 ดอยฮาง

เมืองเชียงราย

เมืองรวง

5 แม่กรณ์

เมืองเชียงราย

ถ้ําผาตอง

6 ท่าสุด

เมืองเชียงราย

ห้วยบง

8 ท่าสาย

เมืองเชียงราย

ป่าก๊อ

30 ห้วยสัก

เมืองเชียงราย

ป่าข่า

8 สันทราย

เมืองเชียงราย

ค่ายเจริญ

5 เวียงชัย

เวียงชัย

ร่องคือ

6 ผางาม

เวียงชัย

เวียงทอง

3 เมืองชุม

เวียงชัย

ศรีมงคล

14 ศรีดอนชัย

เชียงของ

ทุ่งดุก

4 เวียง

เชียงของ

ศรีร่มเย็น

21 ห้วยซ้อ

เชียงของ

สันทราย

9 เชี่ยงเคี่ยน

เทิง

ดอนแยง

13 หงาว

เทิง

เกี๋ยงลุ่ม

3 แม่ลอย

เทิง

สักสันติราษฎร์

15 งิ้ว

เทิง

ม่อนป่ายาง

5 หนองแรด

เทิง

สันกอตาล

5 สันติสุข

พาน

ร่องธารกลาง

11 ทรายขาว

พาน

สันผักแคใหม่

14 ม่วงคํา

พาน

ร่มโพธิ์งาม

7 เวียงห้าว

พาน

เหมืองหลวง

9 ป่าหุ่ง

พาน

ป่าเปา

11 สันกลาง

พาน

ป่าบง

9 เจริญเมือง

พาน

แม่อ้อใน

1 แม่อ้อ

พาน

ศรีบังวัน

8 โรงช้าง

ป่าแดด

ป่าไม้สีเหลือง

3 ศรีโพธิ์เงิน

ป่าแดด

จนท.รับผิดชอบ นายกรณิศ กุสาวดี นายวิชัย พาหมวด * นางพรรณี ราชคม นางอรภา สอาดเอี่ยม นางนิรันดร์ ธนัชาศรีจันทร์ นางวนิดา กิจอิ่มลาภ น.ส.นงลักษณ์ กันทสาร นางอรภา สอาดเอี่ยม นางนงคราญ เจริญภักดี * นางวาสนา สนธิหา น.ส.ขวัญจิต สัมฤทธิ์กิจเจริญ นายประหยัด มณีมูล น.ส.เบญจมาส หล่อพันธ์มณี นายนรสิงห์ สวยไธสงค์ นายภาสกร งามสมบัติ * นายเสรี ประยศ นายสมเกียรติ เครือวงศ์ น.ส.ลดาวัลย์ ทองล้วน นางอรมรัตน์ จันทร์ถา นางปฑิตา แดงสกุล นางธิดา ธิกัน น.ส.สาลี ภิไชยวงค์ นายสเกน เขตชํานิ นายสเด็จ คันธะวงค์ นายนิรันดร์ เชื้อเมืองพาน นายเสกสรร เขื่อนปัญญา นายโสภณ กําลังเก่ง นายประดิษฐ์ วงศ์กาสิทธิ์ * นายเสน่ นุชบ้านป่า

โครงการเชิดชูเกียรติ ดอยเทวา ม.18

โครงการเชิดชูเกียรติ

โครงการเชิดชูเกียรติ

โครงการเชิดชูเกียรติ

โครงการเชิดชูเกียรติ

โครงการเชิดชูเกียรติ


ที่ 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59

บ้าน

หมู่ที่

ตําบล

อําเภอ

สันนายาว

6 ศรีค้ํา

แม่จัน

ห้วยมะหินฝน

14 ป่าตึง

แม่จัน

หัวรินคํา

6 จอมสวรรค์

แม่จัน

ร่องก๊อ

4 แม่คํา

แม่จัน

ใหม่พัฒนา

10 ป่าซาง

แม่จัน

ป่าก๋อย

11 ศรีดอนมูล

เชียงแสน

ท่าขันทอง

3 บ้านแซว

เชียงแสน

ทุ่งฟ้าฮ่าม

5 โยนก

เชียงแสน

จอมกิตติ

6 เวียง

เชียงแสน

โป่งเหนือ

8 โป่งงาม

แม่สาย

ป่าแป

3 โป่งผา

แม่สาย

สันหลวงใต้

13 เกาะช้าง

แม่สาย

ดงป่าสัก

3 บ้านด้าน

แม่สาย

โป่ง

6 ป่าแดด

แม่สรวย

ป่าลัน

3 ท่าก๊อ

แม่สรวย

ใหม่ร่องบง

12 เจดีย์หลวง

แม่สรวย

หัวทุ่ง

2 แม่พริก

แม่สรวย

สันสลี

5 สันสลี

เวียงป่าเป้า

โป่งเทวี

2 บ้านโป่ง

เวียงป่าเป้า

แม่ห่างใต้

6 เวียงกาหลง เวียงป่าเป้า

สันติสุข

11 แม่เจดีย์

เวียงป่าเป้า

แม่ต๋ําน้ําตก

6 ตาดควัน

พญาเม็งราย

สบเปา

20 แม่เปา

พญาเม็งราย

สันมะปิน

7 แม่ต๋ํา

พญาเม็งราย

ทุ่งทราย

3 หล่ายงาว

เวียงแก่น

ขวากเหนือ

5 ท่าข้าม

เวียงแก่น

พระเนตร

11 ต้า

ขุนตาล

ทุ่งศรีเกิด

3 ยางฮอม

ขุนตาล

ขาแหย่งพัฒนา (อาหลู่)

5 แม่ฟ้าหลวง แม่ฟ้าหลวง

สามแยกอีก้อ

24 แม่สลองใน

แม่ฟ้าหลวง

จนท.รับผิดชอบ นางอัมพร หมื่นเกี๋ยง * นายณภัทร งามกระบวน นางไพรศรี ปัญจะเรือง นางฐิติยา ดวงไทย นายนราวุฒิ นันติดอย นายคัมภีร์ จันต๊ะสุข * นายสุทธิศักดิ์ โคตรนรินทร์ สิบเอกสมชัย สมนา นางสุมิตรา รัตน์เรืองเดช นายมานพ เนียมศรี น.ส.รุ่งรัตน์ เชียรวิจิตร นายนรงค์พล ปันสีทอง นายจํารัษ อินปัน * นายมณัสพิสิษฐ์ จอมสว่าง น.ส.พัชรินทร์ อสุพล * นายสําราญ อินสองใจ น.ส.วรรษมน ไชยเวียงแก้ว น.ส.ปนัดดา โพธิ์ทอง น.ส.ทัศนาภรณ์ จันทร์ดง นายอนุชา ศุภกุล * นางชุติกาญจน์ กาญจนโภคิน น.ส.สมพิศ อุตอามาตย์ น.ส.อารีรักษ์ มณีวรรณ์ นางศรัญญา สมวรรณ์ * นายประชิดชัย จันต๊ะคาด นายณิกรณ์ ทองคํา * นายสุพจน์ วงค์จันทร์เสือ * นายนรเศรษฐ์ อินทยุง นายเรวัฒน์ ใจจักร์ * นายอภินันท์ หงษ์คํา

โครงการเชิดชูเกียรติ โครงการเชิดชูเกียรติ

โครงการเชิดชูเกียรติ

โครงการเชิดชูเกียรติ โครงการเชิดชูเกียรติ

โครงการเชิดชูเกียรติ

โครงการเชิดชูเกียรติ

โครงการเชิดชูเกียรติ โครงการเชิดชูเกียรติ


ที่ 60 61 62 63 64 65 66 67

บ้าน

หมู่ที่

ตําบล

อําเภอ

เทอดไทยหนึ่ง

13 เทอดไทย

แม่ฟ้าหลวง

สันปูเลย

4 บัวสลี

แม่ลาว

หนองบัว

2 ป่าก่อดํา

แม่ลาว

ป่าซาง

1 โป่งแพร่

แม่ลาว

ดงชัย

2 ทุ่งก่อ

เวียงเชียงรุ้ง

นาเจริญ

9 ป่าซาง

เวียงเชียงรุ้ง

แม่บง

7 โชคชัย

ดอยหลวง

ป่าลัน

5 ปงน้อย

ดอยหลวง

จนท.รับผิดชอบ นายสงกรานต์ แก่นแก้ว นางวีรินทร์ วันทมาตย์ * นางนิตยา ชุนหกิจ นางศิริลักษณ์ ผลจันทร์ น.ส.นฤมล สุธรรมมา * นางพรทิพย์ เมืองมาน้อย นายสัณหพงค์ สร้อยเสพ * น.ส.ฐิตาภา ใจบาล

โครงการเชิดชูเกียรติ โครงการเชิดชูเกียรติ

โครงการเชิดชูเกียรติ โครงการเชิดชูเกียรติ


ประเด็นการดําเนินงานตามโครงการ 1. การส่งเสริมจิตสํานึกสาธารณะ และรักษาสมบัติชุมชน คะแนนเต็ม 20 คะแนน

2. ส่งเสริมการผลิตในระบบเศรษฐกิจเกื้อกูล คะแนนเต็ม 30 คะแนน

3. รื้อฟื้นวัฒนธรรมลงแขก คะแนนเต็ม 10 คะแนน

เกณฑ์การคัดเลือกหมู่บ้านเกื้อกูลต้นแบบ จังหวัดเชียงราย ตามโครงการ"หมู่บ้านเกื้อกูล สืบสานแนวพระราชดําริเพื่อความสุขอย่างยั่งยืน" เกณฑ์ชี้วัด หมู่บ้านมีการดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. มีการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสาธารณสมบัติ ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมของชุมชน การค้นหาปัญหา สาเหตุของปัญหา และมีการเลือก เรื่องที่สําคัญสําหรับชุมชนเป็นประเด็นดําเนินการ (5 คะแนน) 2.มีการเผยแพร่ความคิดในการชักจูงโน้มน้าวให้ตระหนักในคุณค่าของปัญหาและ ศักยภาพของตนเองในการร่วมจัดการกับปัญหา (5 คะแนน) 3.มีการร่วมวางแผนและออกแบบแนวทางการทํางานหรือกิจกรรมที่จะใช้ในการ จัดการกับปัญหา และมีการติดตามให้การสนับสนุนการดําเนินงาน โดย กม. (5 คะแนน) 4.มีการประชุม/การแลกเปลี่ยนเป็นระยะ เพื่อให้ทราบถึงความสําเร็จของการ ทํางาน (5 คะแนน) หมู่บ้านมีการดําเนินงานที่แสดงให้เห็นว่ามีการส่งเสริมการผลิตในระบบเศรษฐกิจ เกื้อกูล ดังนี้ 1.มีการผลิตสิ่งที่เกื้อกูลกัน (5 คะแนน) 2.มีการผลิตสิ่งที่เกื้อกูลกับธรรมชาติ (5 คะแนน) 3.มีการนําสิ่งเหลือใช้จากการผลิตนําไปแปรรูป (5 คะแนน) 4.มีการจัดกิจกรรมแนะนําอาชีพ (5 คะแนน) 5. มีคนในหมู่บ้าน/ชุมชน ดํารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อย่างน้อย ร้อยละ 70 ของครัวเรือนในหมู่บ้าน/ชุมชน (10 คะแนน) หมู่บ้าน/ชุมชน มีกิจกรรมลงแขก 1. มีกิจกรรมลงแขก 2 กิจกรรม (5 คะแนน) 2. มีกิจกรรมลงแขก 3 กิจกรรม (8 คะแนน) 3. มีกิจกรรมลงแขก ตั้งแต่ 3 กิจกรรม (10 คะแนน)

คะแนน

หมายเหตุ


ประเด็นการดําเนินงานตามโครงการ 4. ส่งเสริมระบบการเกื้อกูลคนทุกข์ยาก ด้อยโอกาสในชุมชน คะแนนเต็ม 10 คะแนน

5. ส่งเสริมสํานึกรักภักดีสถาบัน คะแนนเต็ม 10 คะแนน

6. บทบาทของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนในการขับเคลื่อนโครงการ คะแนนเต็ม 20 คะแนน

เกณฑ์ชี้วัด หมู่บ้านชุมชนมีระบบการเกื้อกูล 1. มีการจัดสวัสดิการช่วยเหลือหรือการดูแลคนที่มีปัญหาของชุมชน ( 5 คะแนน) 2. มีการจัดกิจกรรมช่วยเหลือคนที่มีปัญหาของชุมชน ไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรม เช่น กิจกรรมครัวชุมชน กิจกรรมคลังชุมชน กิจกรรมรับอุปการะ กิจกรรมเพื่อสังคม โดยการจัดซื้อสิ่งของเครื่องใช้ที่จําเป็นมอบให้ในโอกาสต่างๆ กิจกรรมธนาคารข้าว เป็นต้น (5 คะแนน) หมู่บ้าน/ชุมชนมีการจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการสํานึกรักภักดีสถาบัน 1.มีการจัดกิจกรรมที่ปลุกจิตสํานึกรักและภูมิใจในสถาบันชาติ (5 คะแนน) 2.มีการนําแนวพระราชดําริมาดําเนินการช่วยแก้ไขปัญหาให้หมู่บ้าน/ชุมชน (5 คะแนน) 1. จํานวนครั้งที่ หมู่บ้าน/ชุมชน และเจ้าหน้าที่ ได้มีการทํางานแบบS & L คะแนนเต็ม 5 คะแนน 1. จํานวน 2 ครั้ง (3 คะแนน) 2. จํานวน 3 ครั้ง ( 4 คะแนน) 3. มากกว่า 3 ครั้ง (5 คะแนน) 2. เอกสารผลการดําเนินงาน ( 5 คะแนน) 3. การนําเสนอผลการดําเนินงาน (5 คะแนน) 4. การรายงานผลการขับเคลื่อนประจําเดือน (5 คะแนน)

คะแนน

หมายเหตุ


dtsnrn{{u{nrduuru d rE

.J

or

e d

nr

:n'n

e u

16 a

tv

t

v

e

4

rllru

,

nuqjrirurfi o4aoiuuuu:uduft

v

v

u

1

uin rJ:udrt bddd

of

rU

n

I

4

rinuufiruurqutuftuirrrtu{:1u 1d{'nrirln:rnt "u{{lurfioqa f,uaru nu?n:utltdriuConr, uqtadrdi6u" rfluIn:rnr:iGuaiita::dtunr:durndouqvrsnranin:unr: vYemqutu rJ:c*f,ril bddd lurJ:vrfiuqvrsnrafi# o a{rs::rfultuo{r6ulfluqt lnaiiinqrJ:vavi nTufr

e

r

a av

riloel{klTulur4il

dT

r

{nnr:qltu

[rjt{rfl

uradnlu

u'rludrdlfi ,n"*

nT rrflnr

a a ri

r{

Lfl

u

grJo::u

a

u

u

e

r

ad

d

o

o

o

t

o--

:car'u{{}rin il:c,ilriJ

d

I

I

bddd ltl:al:uu50uua? lg ot o bddd ,u'ruru el udtiru or"rii

nUBUU:unuQ{}nfl u?un1r

o.

b.

rhumouh ,{d t v-rd u1ur,?1ntiluo

odt

N'TUAM1ll1lJ

14{Yl

b

nluan19lfl?u

d

n'luaulil1ualn odJ nluattu{rRUu

G(.

U"lut1ttl4U{Tltstu1 }nJfl

,i

,.1

v

vorJ u1uauil:1u

,.U

d

,t Z a U1UlBl9l1U1frfl t

tl

81$oula1?

?l{vr

m.

y

ctro

n1uau1n001

olmat?u{Bnu oa

OU

01matrru1$J{?'ttJ o

rI

o

d od u. ri,urjrriau oo nluafitnoura E' veeo.rJ oto cr. U1uduRnBn!ilil ?r{fl od fl1UAX?{ff1 d.

?ndvr

ru

olmauilT{t4a?{ a1matil{

rJ ?$Yl

od

o'Itfl0[ter{u3lu a

81lfloil1U

fu rJ:c nrnbiYr:ruIer udr rTu

d:unrn ru iud

\ete

6su 8lrlrnn

,r

Tr.fi.

bddd

-ad (ulufiluuyt: qnluflu) t,t

u

v

d

,.t1tt t,un1: 0 iH 1fl tt,r,r5 rrl

tfu,x (uluftfrS*{" '-.

Sb-*nr,

t0 {lI?15 1Tn1: onu ?mtryutllo f

o.

:

CI

{ An1

aaa

Yrolulf'l''t:8' r.r"'l?rfrrlrg. o

I

fl t n1:S.l 1'l1 tt.

vd

r,1"r14U1U.......


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.