สรุปผลโครงการตรวจสุขภาพการเงินกลุ่มออมทรัพย์ฯ

Page 1

สรุปผลการดาเนินงาน โครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จังหวัดเชียงราย

กลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย


สรุปผลการเนินงาน โครงการตรวจสุขภาพทางการเงิน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จังหวัดเชียงราย


คานา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 กรมการพัฒนาชุมชน ได้จัดสรรงบประมาณให้ จังหวัด เพื่อดาเนินการส่งเสริมสุขภาพทางการเงินกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ในการตรวจ สุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับ 3 จานวน 110 กลุ่ม ส านั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนจั ง หวั ด เชี ย งราย ได้ จั ด ทาเอกสารเล่ ม นี้ โดยสรุ ป ผล แนวทางการพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตตามเกณฑ์การตรวจสุขภาพกลุ่ม รวบรวมข้อมูล กลุ่ ม ออมทรั พ ย์ เ พื่ อ การผลิ ต ที่ มี ก ารบริ ห ารจั ด การตามหลั ก ธรรมาภิ บ าลต้ น แบบ องค์ค วามรู้ที่จ าเป็ นในการส่งเสริม สนับ สนุน กลุ่ม และระเบียบกรมการพัฒนาชุม ชนว่ าด้ว ย การส่งเสริมการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พ.ศ. 2555 มาเผยแพร่สร้างความรู้ ความเข้ าใจ ให้กั บ เจ้ าหน้าที่ พั ฒนาชุม ชนและผู้ สนใจได้ เรีย นรู้ และใช้ เป็น แนวทางในการ ส่งเสริมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตต่อไป

กลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย ตุลาคม 2555


สารบัญ ส่วนที่ 1

บทนา - ความเป็นมา - วัตถุประสงค์ - ประโยชน์

ส่วนที่ 2

การดาเนินงานตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จังหวัดเชียงราย

ส่วนที่ 3

แนวทางการดาเนินงานส่งเสริมการพัฒนาตัวชี้วัด - แนวทางการพัฒนา - สรุปผลการดาเนินงานตรวจสุขภาพกลุ่มฯ - กลุ่มที่มีผลการตรวจผ่านทุกตัวชี้วัด

ส่วนที่ 4

องค์ความการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต - แนวคิด หลักการ วัตถุประสงค์ เงินทุนของกลุ่ม - ขั้นตอนการนจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต - กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล 3 กลุ่ม

1

2

3 7 8 10 11 14

ภาคผนวก - ใบสมัครเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต - ใบสมัครเป็นสมาชิกสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน - แบบขอรับเงินสวัสดิการกลุ่ม - แบบขอรับเงินการเสียชีวิตของกลุ่ม - ตัวอย่างระเบียบฯ ว่าด้วยการจัดสวัสดิการชุมชน - ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการส่งเสริม การดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พ.ศ. 2555 - บัญชีกลุ่มเป้าหมาย - ภาพถ่ายกิจกรรม

23

24 25 26 27 31 36 42


ส่วนที่ 1 บทนำ  ควำมเป็นมำ  วัตถุประสงค์  ประโยชน์

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


1

ความเป็นมา การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมให้มีฐานรากที่มั่นคงทางเศรษฐกิจ ด้วยทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างเชื่อมโยง โดยใช้หลักบริหารการจัดการชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต มีความเจริ ญเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างมาก ทั้งในปริมาณ เงินทุน สมาชิก และกิจกรรมของกลุ่ม การการพัฒนาชุมชน เห็นว่า เพื่อสร้างความมั่นคงและ เข้มแข็งอย่างอย่างยั้งยืนของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต โดยกาหนดมาตรฐานการตรวจสุขภาพ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เพื่อสร้างความโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ตรวจสอบได้ ด้วยการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา และ กากับดูแลให้เกิดความเข้มแข็งของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ต่อไป วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อตรวจสอบสุขภาพของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของกรมการพัฒนาชุมชน ๒. เพื่อจัดระดับความเข้มแข็งของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๓. เพื่อใช้ผลการประเมินฯ เป็นเครื่องมือในการพัฒนาความเข้มแข็งของกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิต และใช้เป็นข้อมูลในการส่งเสริม สนับสนุน ประโยชน์ของการตรวจสุขภาพทางการเงินของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 1. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตมีการบริหารจัดการกองทุนโดยหลักธรรมาภิบาล และพัฒนากลุ่มฯ ด้วยหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีประสิทธิภาพ 2. มีการตรวจสุขภาพทางการเงินเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาของกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 3. กลุ่มฯได้รับการดูแลให้มีความมั่นคง และเข้มแข็งเป็นประโยชน์ต่อสมาชิกและ ชุมชนอย่างแท้จริง

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


ส่วนที่ 2 กำรดำเนินงำนตรวจสุขภำพ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อกำรผลิต จังหวัดเชียงรำย

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


2

การดาเนินงานตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตจังหวัดเชียงราย ………………………………………………………………………………………………….. 1. จังหวัดคัดเลือกทีมผู้ตรวจสุขภาพฯระดับจังหวัด 4 ทีม ๆ ละ 3 คน รวม 12 คน 2. ทีมผู้ตรวจสุขภาพฯ ระดับจังหวัด เข้าร่วมประชุมสร้างความเข้าใจ ตามที่กรมฯ ดาเนินการ วันที่ 27 – 29 กุมภาพันธ์ 2555 ณ. โรงแรมปริ้นซ์ พาเลซ มหานาค กรุงเทพมหานคร 3. ทีมผู้ตรวจสุขภาพฯระดับจังหวัด ประชุมทาความเข้าใจทบทวนแนวทางการ ดาเนินงานตรวจสุขภาพฯ ในวันที่ 6 มีนาคม 2555 ณ. ห้องประชุมพวงแสด ศาลากลาง จังหวัดเชียงราย เพื่อดาเนินการทาแผนการขับเคลื่อนระดับจังหวัด/อาเภอ 4. จังหวัดแต่งตั้งคาสั่งเครือข่ายระดับอาเภอ 5. ทีมตรวจสุขภาพฯระดับจังหวัด ชี้แจงแนวทางการดาเนินงานให้ทีมตรวจสุขภาพฯ ระดับอาเภอ 6. ทีมตรวจสุขภาพฯระดับอาเภอ ลงพื้นที่ทาความเข้าใจแก่กลุ่มออมทรัพย์ฯ เป้าหมาย 7. ทีมตรวจสุขภาพฯระดับอาเภอ และกลุ่มออมทรัพย์ฯ เป้าหมาย ประเมินต้นรอบที่ 1 ภายในเดือน เมษายน – พฤษภาคม 2555 แล้วอาเภอจัดส่งสรุปผลการตรวจรอบที่ 1 ให้ จังหวัด 8. ทีมตรวจสุขภาพฯระดับอาเภอ และกลุ่มออมทรัพย์ฯ เป้าหมาย วิเคราะห์ จัดทา แนวทางและแผนเพื่อการพัฒนา 9. ทีมตรวจสุขภาพฯระดับจังหวัด ระดับอาเภอ ตรวจติดตาม สนับสนุนในระดับพื้นที่ 10. ทีมตรวจสุขภาพฯระดับอาเภอและกลุ่มออมทรัพย์ฯ เป้าหมาย ประเมินรอบที่ 2 ภายในเดือนสิงหาคม – กันยายน 2555 11. จังหวัดสรุป/ประเมิน และรับรองผลการประเมิน รายงานกรมฯ 12. จังหวัดจัดทาประกาศผลการประเมินสุขภาพกลุ่มฯ 13. กรมการพัฒนาชุมชนจัดทาใบรับรองผลการประเมิน

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


ส่วนที่ 3 แนวทำงกำรดำเนินงำนส่งเสริมกำรพัฒนำ ตำมตัวชี้วัด  แนวทางการพัฒนา  สรุปผลการดาเนินงานตรวจสุขภาพกลุ่มฯ  กลุ่มที่มีผลการตรวจผ่านทุกตัวชี้วัด

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


3

แนวทางการพัฒนา แนวทางการพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตตามเกณฑ์การตรวจสุขภาพฯ จังหวัดเชียงราย ประเด็นการประเมิน

แนวทางการพัฒนา

ด้านการจัดทาบัญชีและทะเบียน 1. การจัดทาทะเบียน

มีการจัดทาทะเบียนครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ทั้ง 5 แบบ

ทะเบียนสมาชิก/ทะเบียนคุมเงิน ทะเบียนลูกหนี/้ ทะเบียนเงินกู้

1. กลุ่มกาหนดให้มผี ู้รับผิดชอบในการจัดทาทะเบียนข้อมูล

ทะเบียนคุมทรัพย์สิน

2. กลุ่มมีการตรวจสอบทะเบียนข้อมูลอย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง

2. การจัดทาบัญชี

มีการจัดทาบัญชีครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน

บัญชีเงินสด (ส.) บัญชีรายรับ (ร.)

1. กลุ่มประสานจัดหาวิทยากรมาฝึกอบรมเพิ่มทักษะในการจัดทาเอกสาร

บัญชีรายจ่าย (จ.)

หลักฐานการเงินแก่ผู้รับผิดชอบทีก่ ลุ่มฯแต่งตั้ง

บัญชีเงินฝากธนาคาร

2. กาหนดให้มีการจัดทาเอกสาร หลักฐานการเงินให้ถูกต้องเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

หลักฐานประกอบบัญชี เช่น ใบฝาก/ใบถอน 3. การจัดทางบการเงิน

มีการจัดทางบการเงินที่ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน

- งบดุล / งบกาไรขาดทุน

1. กลุ่มประสานจัดหาวิทยากรมาฝึกอบรมการจัดทาบัญชี แก่ผู้รับผิดชอบที่กลุ่มฯแต่งตั้ง หรือส่งผู้รับผิดชอบไปอบรม 2. กาหนดให้มีการจัดทาเอกสารบัญชีให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ 3. กาหนดให้มีการตรวจสอบบัญชีอย่างน้อยปีละ 2 ครั้งตามปีบัญชี ( มิย. / ธ.ค ทุกปี)

4. การตรวจสอบบัญชี/หลักฐาน

1. กาหนดให้มีการประชุม ปีละ 2 ครั้ง ไว้ในระเบียบ 2. มีการรายงานสถานะทางการเงินของกลุ่มในที่ประชุมสมาชิกทุกครั้ง 3. กลุ่มติดประกาศเอกสารรายงานสถานะทางการเงินไว้ ณ ที่ทาการกลุ่ม 4. กลุ่มฯแต่งตั้งผู้ตรวจสอบบัญชีเป็นบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่สมาชิก

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


4

ประเด็นการประเมิน

แนวทางการพัฒนา

ด้านการบริหารจัดการ 5. การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ

มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษรและปฏิบัติตามหน้าที่

ของคณะกรรมการ

โดยกาหนดไว้ในระเบียบให้ชัดเจน เช่น - กาหนดให้มกี ารประชุมเพื่อทบทวนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ รวมทั้งจัดแบ่งบทบาทหน้าที่ - ปรับปรุงโครงสร้างของคณะกรรมการให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความถนัด - กลุ่มกาหนดให้กรรมการแต่ละฝ่ายสรุปผลการดาเนินงานตามบทบาทหน้าที่ เพื่อให้คณะกรรมการสามารถตรวจสอบตนเองว่าได้ทางานตามหน้าที่หรือไม่

6. การจัดทาแผนการดาเนินงานของ กลุ่ม

คณะกรรมการและสมาชิกจัดทาแผนการดาเนินงานและนาแผนไปปฏิบัติ เช่น

-แผนแสวงหารายได้

1. จัดให้มีการศึกษาดูงานการดาเนินธุรกิจกลุ่มอื่น ๆ เพื่อกระตุ้นให้เกิด

-แผนการจัดสวัสดิการ

แนวคิดการดาเนินงานธุรกิจกลุ่ม

-แผนพัฒนาองค์กร

2. กลุ่มจัดทาแผนธุรกิจของกลุ่ม โดยผ่านเวทีประชาคม

-แผนพัฒนาธุรกิจชุมชน

3. กลุ่มมีการดาเนินงานตามแผนที่กาหนดไว้ทุกกิจกรรม

7. การประชุมของคณะกรรมการ

มีการประชุมทุกเดือน บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรและนาผลการประชุมไปปฏิบตั ิ 1. กลุ่มจัดให้มีการประชุมและรายงานผลการดาเนินงาน เช่น จานวนสมาชิก การกู้เงิน การชาระคืนเงินกู้ ปัญหา ฯลฯ 2. มีการบันทึกการประชุมลงลายมือชื่อไว้เพื่อเป็นข้อมูล

8. การเข้าร่วมประชุม

สมาชิก เข้าร่วมประชุมมากกว่า ร้อยละ 75

ของสมาชิก

1. คณะกรรมการกลุ่มประชาสัมพันธ์การประชุมอย่างกว้างขวาง 2. กาหนดมาตรการจูงใจให้สมาชิกเข้าร่วมประชุม เช่น แจกรางวัล 3. ให้สมาชิกลงชื่อเข้าร่วมประชุมเพื่อเป็นข้อมูลในเรื่องการมีส่วนร่วมของสมาชิก

9. การพิจารณาเงินกู้

คณะกรรมการพิจารณาอนุมตั ิเงินกู้เป็นไปตามระเบียบ มีการตรวจสอบ และมีหลักฐานตรวจสอบชัดเจน 1. กาหนดหลักเกณฑ์ / ขั้นตอนการพิจารณาเงิน 2. มีการบันทึกผลการพิจารณาและนาเสนอที่ประชุมชนคณะกรรมการทุกเดือน

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


5

ประเด็นการประเมิน

แนวทางการพัฒนา

10. การส่งชาระคืนเงินกู้

สมาชิกนาส่งชาระคืนเงินกู้ตามสัญญา ร้อยละ 100

ตามสัญญาของสมาชิก

1. คณะกรรมทาความเข้าใจในเรือ่ งความจาเป็นและความสาคัญของ การส่งคืนเงินกู้ให้ตรงเวลา 2. กาหนดมาตรการในการส่งคืนเงินกู้และดาเนินการตามมาตรการอย่างจริงจัง 3. กาหนดมาตรการเพื่อสร้างแรงจูงใจในการส่งคืนเงินกู้ เช่น ให้รางวัลแก่ผสู้ ่งเงินกู้ตรงตามเวลา เช่น เมล็ดพันธุผ์ ัก เป็นต้น

11.การส่งเงินสัจจะสะสม

สมาชิกส่งเงินสัจจะสะสมต่อเนื่องทุกเดือน และเพิม่ เงินสัจจะสะสม เมื่อครบสิ้นปี

ของสมาชิก

1. คณะกรรมการชี้แจงทาความเข้าใจกับสมาชิก เพื่อให้เห็นความจาเป็น/ ความสาคัญของการส่งเงินสัจจะให้ตรงตามกาหนดเวลา 2. กาหนดมาตรในการส่งเงินสัจจะของสมาชิกไว้ในระเบียบกลุ่ม และดาเนินการตามมาตรการอย่างจริงจัง 3. กลุ่มประชาสัมพันธ์เพื่อย้าเตือนในเรื่องการส่งเงินสัจจะ

12. การนาเงินกูไ้ ปใช้ของสมาชิก

สมาชิกนาเงินกู้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ (ระบุในสัญญายืมเงิน) 1. สนับสนุนให้สมาชิกจัดทาบัญชีรับ - จ่ายในครัวเรือน 2. ส่งเสริมให้ครัวเรือนดาเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

13. การเรียนรู้และการพัฒนา ของคณะกรรมการ

14. การจัดสรรผลกาไร

3. คณะกรรมการฝ่ายตรวจสอบช่วยติดตาม ให้กาลังใจ คณะกรรมการมีการเรียนรู้และนาเอาความรู้ทไี่ ด้รับนามาพัฒนา 1. จัดให้มีการฝึกอบรมด้านแผนธุรกิจของกลุ่ม 2. กาหนดแนวทางการพัฒนาคณะกรรมการ 3. สนับสนุนให้สมัครเข้าสู่ระบบ มชช. 4. จัดให้มีการแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ ับกลุ่มองค์กร/กองทุนอื่น ๆ 5. รวมตัวกันจัดตั้งเครือข่ายร่วมกันกับกลุ่มอื่น ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลกัน มีการจัดสรรผลกาไรให้แก่สมาชิก ค่าตอบแทนคณะกรรมการ/การจัดสวัสดิการ 1.ปันผล 2. เฉลีย่ คืน 3. จัดสวัสดิการ (สมาชิกได้รับ) 4. ค่าตอบแทนคณะกรรมการ (คณะกรรมการได้รับ) 5. สมทบกองทุนสาธารณประโยชน์ (ชุมชนได้รับ) 6. สมทบกองทุนเงินสารอง (กลุ่มได้รับ) 7. สมทบกองทุนประกันความเสี่ยง (ทุกฝ่ายได้รับ) 8. ค่าดาเนินการ/บริหารจัดการสานักงาน(กลุ่มได้รับ)

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


6

ประเด็นการประเมิน ด้านระเบียบข้อบังคับ 15. ระเบียบข้อบังคับ

ด้านผลประโยชน์ของสมาชิก กลุ่ม และชุมชน 16. การมีรายได้พ้นเกณฑ์ยากจน ตามเกณฑ์ จปฐ.ของสมาชิก

17.การแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ 18. การจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิก เช่น สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ พืช /ผัก พันธุ์สัตว์

19. การจัดกิจกรรมด้าน สาธารณประโยชน์

แนวทางการพัฒนา 1. กลุ่มทาความเข้าใจในวัตถุประสงค์/เป้าหมายของกลุม่ ผ่านเวทีประชาคม 2. กลุ่มร่างระเบียบโดยกาหนดเนือ้ หาสาระให้ครอบคลุมเป้าหมาย / วัตถุประสงค์ 3. กลุ่มมีการบันทึกระเบียบเป็นลายลักษณ์อักษรและเผยแพร่ให้สมาชิกทราบ 4. กลุ่มมีการทบทวน/ปรับปรุงระเบียบให้เป็นปัจจุบันอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. กาหนดมาตรการในการบังคับใช้ระเบียบโดยกาหนดบทลงโทษและการให้ รางวัลเพื่อสร้างแรงจูงใจ 1. สนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มในการประกอบอาชีพเสริมตามความต้องการของ สมาชิก 2. ให้การสนับสนุนด้านเงินทุน หรือแสวงหาแหล่งทุนเพื่อให้การสนับสนุน ด้านเงินทุน 3. ส่งเสริมให้ครัวเรือนของสมาชิกดาเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 4. ส่งเสริมให้มีกิจกรรมลดรายจ่ายในครัวเรือนของสมาชิกและชุมชน เช่น การลด ละ เลิก อบายมุข ส่งเสริมปลูกพืชผักสวนครัว 1. บูรณาการกองทุน / จัดระดับลูกหนี้ /รวมหนีเ้ ป็นสัญญาเดียว 2. ส่งเสริมการดารงชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 1.ให้คณะกรรมการและสมาชิกร่วมกันกาหนดในระเบียบ อย่างน้อย จานวน 7 กิจกรรม 2. กลุ่มกาหนดกฏเกณฑ์อัตรา/สัดส่วนในการจัดสวัสดิการไว้ในระเบียบของกลุ่ม 3. กลุ่มมีการจัดสวัสดิการให้กับชุมชนได้ตามที่ระเบียบกาหนดไว้ครบถ้วน 4.ประชุมประจาปีเพื่อปรับปรุงระเบียบ เพิ่มการการจัดสวัสดิการชุมชน 1. ให้คณะกรรมการและสมาชิกร่วมกันกาหนดในระเบียบอย่างน้อย จานวน 7 กิจกรรม 2. กลุ่มกาหนดกฏเกณฑ์/สัดส่วนในการสมทบกิจกรรมสาธารณประโยชน์ไว้ ในระเบียบของกลุม่ และถือปฏิบัติ 3. กลุ่มมีการสมทบกิจกรรมสาธารณประโยชน์ให้กับชุมชนได้ตามที่ระเบียบ กาหนดไว้ 4.ประชุมประจาปีเพื่อปรับปรุงระเบียบ เพิ่มการจัดสรรผลกาไร

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


7

สรุปผลการดาเนินงานตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จังหวัดเชียงราย ประจาปี 2555 กลุ่มออมทรัพย์

เป้าหมาย

ผลการตรวจ

เพื่อการผลิต

การตรวจสุขภาพฯ กลุม่

ที่ผ่านครบ 19 ข้อ

ที่

(จานวน) 1

เมืองเชียงราย

20

1

2

เวียงชัย

10

1

3

เชียงของ

3

3

4

เทิง

5

3

5

พาน

8

7

6

ป่าแดด

2

-

7

แม่จัน

10

2

8

เชียงแสน

7

-

9

แม่สาย

5

-

10 แม่สรวย

3

3

11 เวียงป่าเป้า

10

6

12 พญาเม็งราย

4

3

13 เวียงแก่น

1

1

14 ขุนตาล

9

-

15 แม่ฟ้าหลวง

1

-

16 แม่ลาว

4

1

17 เวียงเชียงรุ้ง

7

7

1 110

38

18 ดอยหลวง จังหวัด

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555

หมายเหตุ


8

การตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จังหวัด เชียงราย ประจาปี 2555 ที่มีผลการดาเนินงานผ่านทุกตัวชี้วัด จานวน 38 กลุม่ ที่

ชื่อกลุ่ม

หมู่ที่

ตาบล

อาเภอ

จังหวัด

เมืองเชียงราย

เชียงราย

1

บ้านป่าซางวิวัฒน์

10

นางแล

2

บ้านจอเจริญ

4

ดอนศิลา

เวียงชัย

เชียงราย

3

บ้านทุ่งงิ้ว

2

สถาน

เชียงของ

เชียงราย

4

บ้านน้าม้าใต้

10

สถาน

เชียงของ

เชียงราย

5

บ้านทุ่งทราย

5

เวียง

เชียงของ

เชียงราย

6

บ้านร่องริว

12

เวียง

เทิง

เชียงราย

7

บ้านสันทรายมูล

1

สันทรายงาม

เทิง

เชียงราย

8

บ้านเกี๋ยงลุ่ม

3

แม่ลอย

เทิง

เชียงราย

9

บ้านร่องก๊อ

4

แม่คา

แม่จัน

เชียงราย

10 บ้านแม่คาฝั่งหมิ่น

9

จันจว้าใต้

แม่จัน

เชียงราย

11 บ้านป่าลัน

3

ท่าก๊อ

แม่สรวย

เชียงราย

12 บ้านโป่ง

6

ป่าแดด

แม่สรวย

เชียงราย

13 บ้านทองทิพย์

10

ศรีถ้อย

แม่สรวย

เชียงราย

14 บ้านสันสลี

5

สันสลี

เวียงป่าเป้า

เชียงราย

15 บ้านศรีเวียงทอง

10

เวียง

เวียงป่าเป้า

เชียงราย

16 บ้านโป่งเทวี

2

บ้านโป่ง

เวียงป่าเป้า

เชียงราย

17 บ้านโป่งเทวี

5

บ้านโป่ง

เวียงป่าเป้า

เชียงราย

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


9

ที่

ชื่อกลุ่ม

หมู่ที่

ตาบล

อาเภอ

จังหวัด

18 บ้านแม่ห่างใต้

6

เวียงกาหลง

เวียงป่าเป้า

เชียงราย

19 บ้านเกาะ

8

เวียงกาหลง

เวียงป่าเป้า

เชียงราย

20 บ้านสันมะปิน

7

แม่ต๋า

พญาเม็งราย

เชียงราย

21 บ้านห้วยก้างใหม่

13

ไม้ยา

พญาเม็งราย

เชียงราย

22 บ้านแม่ต๋าน้าตก

6

ตาดควัน

พญาเม็งราย

เชียงราย

23 บ้านทุ่งทราย

3

หล่ายงาว

เวียงแก่น

เชียงราย

24 บ้านสันปูเลย

4

บัวสลี

แม่ลาว

เชียงราย

25 บ้านโป่ง

1

ทุ่งก่อ

เวียงเชียงรุ้ง

เชียงราย

26 บ้านดงชัย

2

ทุ่งก่อ

เวียงเชียงรุ้ง

เชียงราย

27 บ้านร่องบัวทอง

9

ทุ่งก่อ

เวียงเชียงรุ้ง

เชียงราย

28 บ้านดงมหาวัน

1

ดงมหาวัน

เวียงเชียงรุ้ง

เชียงราย

29 บ้านใหม่ร่องหวาย

11

ดงมหาวัน

เวียงเชียงรุ้ง

เชียงราย

30 บ้านห้วยหมากเอียก

8

ป่าซาง

เวียงเชียงรุ้ง

เชียงราย

31 บ้านเนินไทรพัฒนา

13

ป่าซาง

เวียงเชียงรุ้ง

เชียงราย

32 บ้านป่าเปา

11

สันกลาง

พาน

เชียงราย

33 บ้านดงเวียง

8

ทานตะวัน

พาน

เชียงราย

34 บ้านท่าดีหมี

18

เมืองพาน

พาน

เชียงราย

35 บ้านแม่อ้อหลวง

11

แม่อ้อ

พาน

เชียงราย

36 บ้านป่าก่อ

9

สันติสุข

พาน

เชียงราย

37 บ้านสันผักแคใหม่

14

ม่วงคา

พาน

เชียงราย

38 บ้านโป่งทวี

16

ทรายขาว

พาน

เชียงราย

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


ส่วนที่ 4 องค์ควำมรู้กำรดำเนินงำนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อกำรผลิต  แนวคิด หลักการ วัตถุประสงค์ เงินทุนของกลุ่ม  ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต  กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล 3 กลุ่ม

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


10

องค์ความรู้ : การดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต แนวคิด 1. การรวมคนในหมู่บ้าน 2. การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเงินทุน 3. การนาเงินไปใช้ดาเนินการด้วยความขยัน 4. การลดต้นทุนในการครองชีพ หลักการ 1. ความรู้สึกเป็นเจ้าของ 2. การพึ่งตนเอง 3. หลักคุณธรรม 4. หลักการควบคุมกันเอง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาคน 2. เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน 3. เพื่อพัฒนาสังคม เงินทุนของกลุ่ม 1. เงินสัจจะสะสม เป็นเงินที่ได้จากการออมของสมาชิกจานวนเท่าๆกันทุกเดือน ตามกาลังความสามารถ เพื่อใช้เป็นทุนในการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ซึ่งจะจ่าย คืนเงินสัจจะเมื่อสมาชิกสิ้นสุดสมาชิกภาพแล้วเท่านั้น ซึ่งกลุ่มจะจ่ายผลตอบแทนในรูปของ เงินปันผล 2. เงินสัจจะสะสมพิเศษ เป็นเงินรับฝากจากสมาชิกที่มีเงินเหลือ และประสงค์จะ ฝากเงินไว้กับกลุ่ม ซึ่งสามารถถอนเงินออกไปใช้จ่ายเมื่อจาเป็นและจ่ายผลตอบแทนเป็นดอกเบี้ย หรือเงินปันผลตามระเบียบของกลุ่ม 3. เงินรายได้อื่น ๆ เช่น ค่าสมัคร ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ดอกเบี้ย 4. เงินอุดหนุน จากส่วนราชการ องค์กรปกครองท้องถิ่น และองค์กรอื่น ๆ สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


11

สมาชิก มี 3 ประเภท 1. สมาชิกสามัญ ได้แก่ บุคคลทุกเพศ ทุกวัย ที่สมัครเข้ามาเป็นสมาชิกตาม ระเบียบของกลุ่ม 2. สมาชิกวิสามัญ ได้แก่ กลุ่มอาชีพ กลุ่มสตรีสตรี หรือกลุ่มอื่น ๆ ที่ทางการ สนับสนุนและรับรองฐานะ 3. สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้แก่ ข้าราชการ คหบดี ภิกษุ สามเณร ที่มีความสนใจ และให้การสนับสนุนกลุ่มโดยไม่หวังผลตอบแทน กิจกรรมของกลุม่ 1. ด้านการพัฒนาอาชีพและรายได้ 2. ด้านสวัสดิการต่าง ๆ 3. ด้านการพัฒนาธุรกิจของชุมชน 4. ด้านการพัฒนาคณะกรรมการ/สมาชิก การจัดตั้งกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิตตามแนวทางของกรมการพัฒนาชุมชน มี 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ก่อนการจัดตั้งกลุ่ม 1. ศึกษาข้อมูล จปฐ/กชช.2ค ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สภาพปัญหา ความต้องการ ของชุมชน 2. วิเคราะห์ข้อมูลและร่วมหาทางออกร่วมกับผู้นาชุมชน 3. เผยแพร่แนวคิดเรื่องกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตแก่ผู้นา แกนนา 4. ฝึกอบรมผู้นา แกนนาให้เข้าใจในหลักการ วัตถุประสงค์ วิธีการดาเนินงาน 5. ให้ผู้นา แกนนา ที่ผ่านการฝึกอบรมเผยแพร่แนวคิดและรวบรวมผู้สนใจ ขั้นตอนที่ 2 การจัดตั้งกลุ่ม 1. ประชุมประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อชี้แจงหลักการแนวคิดกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ การผลิตอย่างชัดเจน 2. ให้ประชาชนลงมติด้วยความสมัครใจ 3. รับสมัครสมาชิก สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


12

4. เลือกคณะกรรมการบริหารกลุ่ม 5. ร่างระเบียบข้อตกลงกลุ่มเบื้องต้น กาหนดวันส่งเงินสัจจะสะสม 6. จัดทาเอกสาร ทะเบียน บัญชี สมุดสัจจะสะสม 7. กาหนดเป้าหมายการดาเนินงาน 8. รายงานให้อาเภอทราบเพื่อประสานงานกับธนาคาร ขั้นตอนที่ 3 ภายหลังการจัดตั้งกลุม่ 1. สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอทาหนังสือประสานงานกับธนาคารในเขตพื้นที่ เพื่ออานวยความสะดวกให้กับกลุ่ม 2. พัฒนากรเข้าประชุมทุกครั้งในวันส่งเงินสัจจะสะสมของสมาชิก 3. ให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาแก่คณะกรรมการและสมาชิก 4. ควรจัดให้มีการประชุม ฝึกอบรม ติดตามการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง 5. รายงานผลความก้าวหน้า 6. เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญ ประจาปี 7. ร่วมกับคณะกรรมการ/สมาชิกพัฒนากลุ่มให้ก้าวหน้า

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


13

เอกสารที่ต้องเตรียม ระยะเริ่มจัดตั้ง 1. ใบสมัครเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 2. สมุดสัจจะสะสมทรัพย์ของสมาชิก 3. ทะเบียนรายชื่อสมาชิก 4. ทะเบียนคุมเงินสัจจะสะสม / เงินสัจจะสะสมพิเศษ 5. สมุดบันทึกการประชุม 6. แบบฟอร์มหนังสือยินยอมของผู้ปกครอง กรณีสมาชิกยังไม่บรรลุนิติภาวะ 7. สมุดบัญชี ได้แก่  บัญชีเงินสด-เงินฝากธนาคาร (ส)  บัญชีรายรับและหนี้สิน (ร)  บัญชีรายจ่ายและทรัพย์สิน (จ)  งบกาไร – ขาดทุน  งบดุล 8. ภายหลังการจัดตั้งเอกสารเพิ่มเติม  ทะเบียนคุมลูกหนี้เงินกู้รายตัว  ทะเบียนคุมสัญญากู้เงิน  แบบฟอร์มสัญญากู้เงิน  ใบเสร็จรับ/จ่ายเงิน

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


14

จั ก รพั น ธ์ ค าแก่ น จ านวนเงิ น สั จ จะต่ อ เดื อ นประมาณ 40,000 บาท ปัจจุบันมีเงินสัจจะสะสม 1,917,675 ณ.ตค.2555 เงินสัจจะของกลุ่ม ฝากกับธนาคาร ธกส.สาขาแม่ลาว กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านสันปูเลย ม. 4 ต.บัวสลี อ.แม่ลาว จ.เชียงราย …………………………………………………………………… ประวัติหมู่บ้าน เดิ ม ชาวบ้ า นสั น ปู เ ลยได้ อ พยพมาจาก จั งหวั ด เชียงใหม่ เป็นอาเภอเมืองเชียงราย ต่อมาแยกเป็นอาเภอ แม่ ล าว เมื่ อ ปี พ.ศ 2536 บ้ า นสั น ปู เ ลยมี จ านวน ครัวเรือน 125 ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด 431 คน แยกเป็น ชาย จานวน 211 คน หญิง จานวน 220 คน รายได้เฉลี่ย 55,787 บาท/คน/ปี นับถือศาสนาพุทธ ทั้งหมู่บ้าน การรวมกลุม่ ของหมูบ่ ้าน 1. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 2. กลุ่มธนาคารข้าว 3. กลุ่ม กข.คจ. 4. กลุ่มปุ๋ยชีวภาพ 5. ศูนย์สาธิตการตลาด 6. กลุ่มผู้ใช้น้า 7. กลุ่มพัฒนาสตรี 8. กลุ่มประปาหมู่บา้ น 9. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้าน 10. ศูนย์สงเคราะห์ราษฎร 11. กลุ่มถักด้าย 12. กลุ่มจักสาน 13. กลุ่มเตาชีวมวล 14. กองทุนหมู่บ้านฯ 15. กลุ่มพลังชาวนาบ้านสันปูเลย 16. กลุ่มผูส้ ูงอายุ 17. ธนาคารความดี 18. การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า 19. การเลีย้ งปลาดุกในบ่อพลาสติก ประวัติความเป็นมาของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จัดตั้งเมื่อ วันที่ 5 ตุลาคม 2529 สมาชิกก่อตั้ง 72 คน ปัจจุบันมีสมาชิก 268 คนสมาชิกสามัญ 267 คน สมาชิ ก กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ 1 คน ประธานกลุ่ ม คื อ นาย

วัตถุประสงค์  เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนรู้จักการอดออม  ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชน หลักการ : ทุกคนเป็นเจ้าของ การบริหารงาน : โปร่งใส ร่วมกันตรวจสอบคุณธรรม 5 ประการ ใช้กิจกรรม : ฝึกความมีวินัย ฝึกนิสัยการประหยัด ใช้เงิน เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน กิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 1. การออมเงิ น สั จ จะเป็ น วั น อาทิ ต ย์ ที่ 1 ของเดื อ น ปัจ จุบั น มีทุ น ดาเนิน การ หุ้ น 5,282 บาท เงิ น สัจ จะ 1,917,675 บาท รวม 1,921,957 บาท กิจกรรมในวันออมสัจจะมีดังนี้  ฝากเงินออมสัจจะ  ฝากเงินออมสัจจะพิเศษ  ฝาก – ถอน  ปล่อยกู้  ชาระคืนเงินกู้ 2.คณะกรรมการมีการประชุมเดือนละ 1 ครั้ง ในวันออม เงินสัจจะ 3.ให้สมาชิกกู้ยืมเพื่อประกอบอาชีพ 4. มีประชุมสามัญประจาปี และการปันผล / เฉลี่ยคืนให้ สมาชิก ในเดือน มกราคม ของทุกปี 4. มีกิจกรรมเครือข่ายศูนย์สาธิตการตลาด 5. มีกิจกรรมเครือข่าย ธนาคารข้าว 6.กองทุ นสวัส ดิ การกลุ่ม ออมทรั พย์ เพื่ อการผลิต ให้ แ ก่ สมาชิ ก ที่ เ ป็ น ของกลุ่ ม ออมทรั พ ย์ เ พื่ อ การผลิ ต และ สาธารณประโยชน์ ดังนี้ สมาชิก  มอบเงิ น ขวั ญ ถุ ง เปิ ด บั ญ ชี ใ ห้ บุ ต รสมาชิ ก แรกเกิด คนละ 400 บาท  มอบทุนการศึกษาเด็กที่จบ ป.6 ทุกคน คนละ 800 บาท  สงเคราะห์ครอบครัว สมาชิกที่เสียชีวิต รายละ 1,000 บาท  ส ง เ ค ร า ะ ห์ ค ร อ บ ค รั ว ที่ เ จ็ บ ป่ ว ย น อ น โรงพยาบาล คืนละ 100 บาท ไม่เกิน 3 คืน  สงเคราะห์ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส และ ครอบครัวผู้ติดเชื้อตามโอกาส

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


15

 มอบเบี้ ย ประกั น ชี วิ ต ให้ ค ณะกรรมการกลุ่ ม ออมทรัพย์ฯ สาธารณะประโยชน์  มอบค่ า ตอบแทนประธานกลุ่ ม พั ฒ นาสตรี ปีละ 3,000 บาท  มอบค่ า ตอบแทนผู้ ดู แ ลที่ อ่ า นหนั ง สื อ พิ ม พ์ ปีละ 1,200 บาท  มอบเป็นกองทุนพัฒนาหมู่บ้าน เช่น ค่าน้ามัน รถตั ด หญ้ า ซ่ อ มไฟฟ้ า ซ่ อ มประปา หรื อ กิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ  มอบเป็นขวัญกาลังใจผู้ที่ทาประโยชน์และสร้าง ชื่อเสียงให้หมู่บ้าน ขั้นตอนการฝากเงินสัจจะ 1) เขียนใบนาฝาก (สีขาว) 2) น าใบน าฝากและสมุ ด เงิ น ฝากสั จ จะ (สี เ ขี ย ว) ให้กรรมการผู้รับผิดชอบตรวจสอบเอกสาร 3) กรรมการนาสมุดเงินฝากเข้าระบบโปรแกรมการรับ ฝากเงิน บันทึกยอดเงินลงในสมุดสั จจะ และนายอดเงิน ฝากลงในทะเบียนคุมเงินสัจจะ รายตัว ขั้นตอนการกู้เงิน 1) เขียนใบคาขอกู้ ตามแบบฟอร์ม 2) ยื่นใบคาขอกู้กับคณะกรรมการเพื่อให้คณะกรรมการ พิจารณา ทั้งนี้จะต้องมีผู้ค้าประกัน จานวน 2 คน และ ค่าธรรมเนียมขอกู้รายละ 20 บาท

ขั้นตอนการส่งคืนเงินกู้ 1) ทาหนังสือแจ้งสมาชิกล่วงหน้า 1 เดือน 2) เมื่ อ ครบกาหนดชาระ สมาชิ ก นาหนังสื อแจ้ งการ ชาระหนี้และสมุดเงินกู้และยอดเงินกู้พร้อมดอกเบี้ยให้กับ คณะกรรมการฝ่ายเงินกู้ 3) คณะกรรมการออกใบเสร็จรับเงินให้สมาชิกเพื่อเป็น หลักฐาน 4) คณะกรรมการฝ่ ายเงิน กู้ สรุป ยอดการชาระเงิน กู้ น าส่ ง เหรั ญ ญิ ก เพื่ อ ฝากเข้ า บั ญ ชี ธ นาคาร ธกส.สาขา แม่ลาว การจัดทางบบัญชีการเงิน 1) ฝ่ายบัญชี สรุปรายรับของแต่ละเดือน - ค่าสมัครสมาชิกใหม่ / ค่าสมุดเงินฝากสัจจะ - ค่าหุ้น / เงินออมสัจจะ - ค่าธรรมเนียมในการทาสัญญาเงินกู้ - เงินชาระคืนเงินกู้พร้อมดอกเบี้ย สรุปรายจ่ายของแต่ละเดือน  เงินกู้ของสมาชิก / อื่น ๆ 2) นายอดรายรับ รายจ่ายแต่ละเดือนทาบัญชีงบดุล / งบกาไรขาดทุน 3) เมื่อครบ 1 ปี มีการจัดสรรกาไร /เงินปันผล/จัดสรร ตามระเบียบของกลุ่มฯ การตรวจสอบบัญชี มีผู้ตรวจสอบบัญชี ซึ่งคณะกรรมการกลุม่ ฯได้แต่งตั้ง ผู้มีความรู้ด้านบัญชีในหมู่บ้าน คือ นางสาวดวงดาว

การพิจารณาเงินกู้

สลีสองสม เป็นผู้ตรวจสอบ

1. เมื่อคณะกรรมการฝ่ายเงินกู้รับใบคาขอกู้จาก สมาชิกในช่วงเช้าแล้วจะนาเข้าที่ประชุมของ คณะกรรมการในช่วงบ่ายเพื่อพิจารณาเงินกู้ของสมาชิก 2) การพิจารณาให้กู้จะดูจากวัตถุประสงค์ของการขอกู้ วงเงิ น ที่ ข อกู้ และประวั ติ ก ารช าระเงิ น กู้ ว่ า มี ย อดค้ า ง หรือไม่ 3) คณะกรรมการตรวจสอบยอดเงินกู้ และทุนของกลุ่ม หากพิจารณาแล้วสมาชิกไม่มีปัญหาหนี้ค้าง หรืออื่น ๆ ก็ จะพิจารณาอนุมัติวงเงินกู้ให้สมาชิก แต่สมาชิกยังไม่ได้รับ เงินกู้ในวันนั้น เพราะคระกรรมการต้องนาเงินสัจจะและ เงินที่ลูกหนี้นามาชาระทั้งหมด เข้าบัญชีธนาคารก่อนจึง จะถอนออกมาจ่ายให้กับสมาชิกได้

การเรียนรู้ของคณะกรรมการ 1) ศึกษาดูงานจากกลุ่มองค์กรอื่น ๆ เช่น สถาบัน การเงินบ้านชวา อาเภอเทิง 2) ศึกษาดูงานสถาบันการเงินบ้านสมานมิตร อาเภอ พาน 3) ร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มออมทรัพย์ฯ ที่เข้มแข็ง ที่โรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์ จังหวัดเชียงใหม่ 4) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้คณะกรรมการถึงบทบาท หน้าที่ของกรรมการแต่ละฝ่าย

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


16

15. การจัดสรรผลกาไร  ปันผลเงินสัจจะ 25 %  เฉลี่ยคืนเงินหุ้น 20 %  ค่าตอบแทนกรรมการ 20 %  สวัสดิการเพื่อสาธารณประโยชน์ 10 %  วัสดุสานักงาน 10 %  สมทบกองทุน 5%  สวัสดิการให้สมาชิก 5%  ประกันความเสี่ยง 5% ความภาคภูมิใจที่มีต่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต  เป็ น การรวมกลุ่ ม ที่ ช่ ว ยเหลื อ กั น ในชุ ม ชน เกื้อกูลกัน เอื้ออาทรต่อกัน เป็นชุมชนแห่งความเกื้อกู ล ส า ม า ร ถ จั ด ส วั ส ดิ ก า ร ใ ห้ ค น ใ น ชุ ม ช น แ ล ะ สาธารณประโยชน์ บนพื้นฐานของการไว้วางใจ  แก้ปัญหาหนี้สินให้กับสมาชิก  ชุ ม ชนมี ค วามเข้ ม แข็ ง พึ่ ง ตนเองได้ มี ค วาม มั่นคงด้านเศรษฐกิจชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง สิ่งที่สมาชิกได้จากกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 1. เป็นกิจกรรมที่ให้สมาชิกได้เรียนรู้ตนเอง ฝึกความ มีระเบียบวินัยในการใช้เงิน การออมเงิน ทาให้มีสัจจะ มีคุณธรรมประจาใจ รู้จักใช้เงินอย่างมีเหตุผล สร้าง ภู มิ คุ้ ม กั น ให้ กั บ ครอบครั ว ตามหลั ก ปรั ชญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว มี ก าร ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เอื้ออาทร แบ่งปัน 2. เป็นการส่งเสริมอาชีพให้กับคนในชุมชนได้กู้ยืมไป ประกอบอาชีพ 3. มีการเรียนรู้ในการจัดสรรผลประโยชน์ เช่นการ จัดสรรผลกาไรของกลุ่ม 4. ลดการพึ่งพิงแหล่งทุนจากภายนอกชุมชน 5. มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เอื้ออาทร แบ่งปัน 6. ได้รับประโยชน์จากการจัดสวัสดิการชุมชน เป้าหมายของกลุ่ม 1.เป็นแหล่งทุนของชุมชน 2 . ส ม า ชิ ก ส า ม า ร ถ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ งิ น ไ ด้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ มีการคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบที่กู้เงิน ออมทรัพย์ฯ ไปประกอบอาชีพและประสบผลสาเร็จ 3.มีสมาชิกเพิ่มขึ้น และมีการระดมเงินออมเพิ่มขึ้น สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


17

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านจอเจริญ ม. 4 ต.ดอนศิลา อ.เวียงชัย ....................................................................................... ประวัติหมู่บ้าน บ้านจอเจริญ หมู่ที่ 4 ตาบลดอนศิลา อาเภอ เวียงชัย จังหวัดเชียงราย เดิมอพยพมาจากจังหวัดพะเยา ลาปาง ลาพูน มีประชากร จานวน 630 คน ชาย 310 คน หญิง 320 คน รวม 181 ครัวเรือน ประชากรส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพด้านการเกษตร ทานา ทาไร่ ทาสวน ราย ได้ เ ฉลี่ ย 38 ,04 9 ,9 15 บาท/ปี ราย จ่ า ย 19,158,122 บาท/ปี มีหนี้สิน 17,955,000บาท/ปี ไม่มีครัวเรือนยากจนที่ตกเกณฑ์ ปัจจุบันมี นายสมมิตร ฟูเฟื่อง เป็นผู้ใหญ่บ้าน ประวัติความเป็นมากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต การก่อเกิด ปี 2527 กานันอิ่นคา นามวงค์ กานันตาบลดอน ศิลาและผู้นาชุมชน พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่รัฐ 4 กระทรวง หลั ก ได้ ไ ปศึ ก ษาดู งานและได้ รั บ รู้ เ รื่ อ งการออมทรั พ ย์ จึงได้เชิญเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนร่วมกับกานันเข้ามาชี้แจง ให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเป็นการเผยแพร่แนวคิดกลุ่มฯ ชาวบ้ า นสนใจและจั ด ตั้ งกลุ่ ม มี ส มาชิ ก ก่ อ ตั้ ง จ านวน 50 คน โดยตกลงเก็ บ เงิ น คนละ 50 บาท ต่อเดือน รวมเดือนแรกมีเงินสัจจะสะสมจานวน 2,500.ครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2528 เงินที่เก็บได้ให้ สมาชิ ก เปลี่ ย นกั น ยื ม ผู้ ยื ม ต้ อ งเสี ย ดอกเบี้ ย ร้ อ ยละ 3 บาท ต่อเดือน สมาชิก มีสมาชิกทั้งหมด 1,517 ราย ดังนี้  สมาชิกสามัญ จานวน 1,063 ราย  สมาชิกวิสามัญ 395 ราย  สมาชิกกิตติมศักดิ์ จานวน 59 ราย

เงินสัจจะสะสม  เงินสัจจะสะสม 22,510,488.83 บาท  เงินสัจจะสะสม 20,237,665 บาท  ให้สมาชิกกู้ยืม จานวน 611 ราย เป็นเงิน 18,711,676 บาท  ฝากธนาคาร ธกส. 225,872.83บาท  ฝากธนาคารออสิน 100,000 บาท บริหารจัดการด้วยคณะกรรมการ 4 ฝ่าย จ านวน 15 คน แบ่ ง หน้ า ที่ ชั ด เจนตามที่ ก าหนด ในระเบียบ หลักการดาเนินงาน / วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ๑. ให้รู้จักประหยัดสะสมเก็บออมทรัพย์ ๒. ให้มีเงินทุนสนับสนุนการประกอบอาชีพ ๓. ให้ ส มาชิ ก รวมน้ าใจรวมทุ น ช่ ว ยเหลื อ กั น ผนึกกาลังความสามัคคี ๔. ให้ รู้ จั ก การจั ด แจงการเงิ น และรายได้ ใน ครัวเรือน ๕. ให้มีกองทุนสวัสดิการเพื่อสมาชิก ๖. ให้ การเรี ยนรู้ส ร้างเสริมประสบการณ์เ รื่อ ง เงินทุน ๗. ให้รู้จักการมีส่วนร่วมทางานเป็นกลุ่ม ๘. มีกองทุนของชาวบ้ าน เพื่อการพึ่งตนเอง ในชุมชน ๙. เพื่อส่งเสริมสินเชื่อแก่สมาชิกในด้านต่าง ๆ การเก็บเงินสัจจะ จะมีการเก็บเงินทุกวันที่ 5 ของเดือน โดย ส ม า ชิ ก จ ะ น า เ งิ น ม า อ อ ม ภ า ย ใ น 1 วั น แ ล ะ คณะกรรมการจะน าเงิ น ไปฝากธนาคารในวั น ถั ด ไป สมาชิกจะให้ความสาคัญต่อการตรงเวลา การพิจารณาเงินกู้ จะมี ก ารก าหนดเพดานในการกู้ ข องสมาชิ ก 1 ราย กู้ได้ไม่เกิน 20,000 บาท แต่หากมีการใช้เงิน คืนตรงเวลา เป็นลูกค้าที่ดีมีความซื่อสัตย์ คณะกรรมการ จะพิจารณาเพื่อให้เป็นรายๆละไม่เกิน 30,000 บาท ส่วนสมาชิกที่ ไม่สามารถให้กู้ไ ด้ ได้แ ก่สมาชิกที่เ ป็นเด็ ก และสมาชิกกิตติมศักดิ์และผู้ที่มีหนี้สินค้าง และสมาชิก ที่มี สิ ท ธิ์ กู้ต้ อ งเป็น สมาชิก ที่ ส มั ครเข้ า สมาคมฌาปนกิ จ ของกลุ่มออมทรัพย์โดยสมาคมกาหนดให้ผู้ที่เป็นสมาชิก จ่า ยเงิ นเพื่ อช่ ว ยเหลือ งานศพสมาชิ กรายละ 10 บาท ต่อราย

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


18

การปันผลเฉลี่ยคืน มีการนาเงินกาไรมาจัดสรร ดังนี้ 1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการ 10% 2. ปันผลให้สมาชิกร้อยละ 8 บาท/ปี 3. ทุนสารองเพื่อนาไปจ่ายอย่างอื่น ได้แก่ การจัด สวัสดิการต่างๆ เช่น  ทุนการศึกษา  การจัดงานวันเด็ก  จ่ายเพื่อสาธารณประโยชน์  ค่ า ตอบแทนคณะกรรมการรายปี และ ค่าปฏิบัติห น้าที่ของคณะกรรมการที่ม า ทางานเดือนละ 1 วันๆละ 100 บาท ต่อคน กิจกรรมเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ 1. ศูนย์สาธิตการตลาด 2. ยุ้งฉาง 3. ธนาคารข้าว 4. โรงน้าดื่มชุมชน การจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิก 1.สนับสนุนการจัดงานกีฬาเยาวชน 2.สนั บ สนุ น ทุ น การศึ ก ษาแก่ บุ ต รของสมาชิ ก รายละ 200 บาท/ปี 3.สนั บ สนุ น กี ฬ าประชาชน ระดั บ ต าบลปี ล ะ 4,000 บาท 4.สนับสนุนกีฬาโรงเรียนวัด 5.สนับสนุนการจัดกิจกรรมวันแม่หางชาติ 6.สนับสนุนการจัดกิจกรรมวันเด็ก 7.ฉลากรางวัลสมาชิกสิ้นปี 8.สนับสนุนวัดโรงเรียนวัดจอเจริญสุขุมวาส 9.จั ด สวั ส ดิ ก ารการรั ก ษาพยาบาล(คื น ละ 100 บาท ไม่เกิน 5 คืน) 10.สงเคราะห์สมาชิกที่เสียชีวิต (สมาชิก 1,000 บาท/ราย) 11.จ่ า ยเงิ น ขวั ญ ถุ ง บุ ต รสมาชิ ก แรกเกิ ด รายละ 200 บาท(เปิดบัญชีเงินออม) 12.สงเคราะห์ผู้สูงอายุที่มีอายุ 70 ปีขึ้นไป (คนละ 200 บาท/ปี)

ความสาเร็จ เกิ ด จากการที่ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ได้ แ ก่ ผู้ น า คณะกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์ และสมาชิก ดังนี้ ๑. ผู้นา : ต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างได้ เป็นที่ยอมรับและศรัทธาของประชาชน ๒. คณะกรรมการ : ต้องบริหารงาน โดยยึดหลัก คุณธรรม ๕ ประการ - มีจิตอารมณ์ ๔ คือ สนใจ ห่วงใย แบ่งปัน และรับใช้สมาชิกด้วยความจริงใจ - มีการประชาสัมพันธ์ และแจ้งความ เคลื่อนไหวของการเงินการบัญชี รายรับ -จ่ายให้ที่ประชุม สมาชิกทราบอย่างสม่าเสมอ -ตรวจสอบได้คณะกรรมการมีการเรียนรู้และ นาความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาดาเนินงานกลุ่มอย่างสม่าเสมอ 3 สมาชิก : ต้องมีคุณธรรม ๕ ประการ คือ 1) เสียสละ : สละเวลาให้กับกลุ่มออมทรัพย์ฯ และชุมชน ในการร่วมกิจกรรม การพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน อย่างเต็มกาลังความสามารถ ๒) รับผิดชอบ : สมาชิกต้องมีความรับผิดชอบ ต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยการส่งเงินสัจจะ และส่งคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยตามกาหนดเวลา ๓) เห็นใจ : โดยคานึงถึงผู้อื่นอยู่เสมอ ไม่เอา รัดเอาเปรียบ ทั้งในมวลหมู่คณะกรรมการและสมาชิก ๔) ไว้วางใจ : โดยให้ความไว้วางใจในการ ท างานของ คณะกรรมการและสมาชิ ก ด้ ว ยกั น เอง ไม่หวาดระแวงซึ่งกันและกัน เชื่อใจกันในการทางานและ การอยู่ร่วมกันในชุมชนและสังคม ๕) ซื่อสัตย์ : สมาชิกต้องมีสัจจะในการส่งเงิน หุ้น และเงิ นกู้ พร้ อ มดอกเบี้ ย ทุ กคนต้อ งรู้ ห น้า ที่ข อง ตนเอง และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและเพื่อนสมาชิก ที่ จะต้ อ งส่ งเงิ น สั จ จะสะสมเป็ น ประจ าทุ ก เดื อ น เพื่ อ ให้ เงินทุนขอกลุ่มเพิ่มขึ้น และชาระหนี้เป็นประจาทุกเดือน เพื่อหมุนเวียนให้เพื่อนสมาชิกได้ใช้ประโยชน์ด้วย

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


19

4 อื่นๆ 1) มีเจ้ าหน้า ที่ติ ดตามและคอยกระตุ้ นอย่า ง สม่าเสมอตลอดจนให้คาแนะนา 2) เป็ น กลุ่ ม ที่ มี ค วามเข้ ม แข็ ง มี ร ะดั บ การ พัฒนาระดับ 3 เป็นจุดดูงานของอาเภอเวียงชัย 3) การปั น ผลคื น แก่ ส มาชิ ก มากกว่ า กองทุ น อื่นๆ ในชุมชนเป็นแรงจูงใจให้สมาชิกสมัครเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และไม่ค่อยมีการลาออกจากการเป็นสมาชิก 4) มี ก า รตร วจส อบจ ากค ณะกรรม กา ร ตรวจสอบและมีการประชุมใหญ่สมาชิกทุกปี 5) สมาชิ กมี การน าเงิน ลงทุน ประกอบอาชี พ อย่างสม่าเสมอให้สมาชิกมีรายได้จนสามารถนาเงินมาคืน ให้กับกลุ่มได้ตามสัญญา ข้อเสนอแนะ 1. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสนับสนุนความรู้การจัดระบบ ข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักการจัดระบบข้อมูล 2.สนับสนุนงบประมาณด้านการฝึกอบรมคณะกรรมการ และสมาชิกอย่างสม่าเสมอ 3.จั ด การศึ ก ษาดู ง านเพื่ อ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ กั บ กลุ่ ม ที่เข้มแข็งเพื่อนาความรู้มาพัฒนากลุ่มให้ดีและเข้มแข็ง ยิ่งขึ้น 4. การส่งเงินสัจจุสะสมของสมาชิกทุกเดือน สมาชิกจะ มาส่ ง เงิ น สั จ จะตั้ ง แต่ เ วลา 06.00 นงถึ ง 18.00 น. ซึ่งเช้าเกินไป ทาให้คณะกรรมการไม่มีเวลาทางานส่วนตัว การส่งเงินควรอยู่ในระหว่าง 08.30-16.30 น. 5.การปันผลกาไรควรกาหนดให้ชัดเจน ครบ 100%

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


20

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านใหม่ร่องหวาย ม.11 ต.ดงหมาวัน อ.เวียงเชียงรุ้ง จ. เชียงราย .....................................................................

บ้ า นใหม่ ร่ อ งหวาย ห่ า งจากที่ ว่ า การอ าเภอ เวียงเชียงรุ้ง ๕ กม. ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่เป็นพื้นที่ สูงราบกว้าง มีครัวเรือน ๑๘๖ ครัวเรือนและมีประชากร ทั้งหมด ๗๙๑ คน เป็น ชาย ๓๘๕ คน หญิง ๔๐๖ คน มีการนับถือศาสนาพุทธ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ภาษาที่ใช้ใน การติดต่อสื่อสารใช้ภาษาถิ่น (ภาษาอีสาน) การดารงชีวิต เป็นแบบเรี ยบง่าย อยู่แบบเครือญาติ มีการพึ่งพาอาศัย ซึ่ ง กั น และกั น ปั จ จุ บั น มี น ายประหยั ด ป้ อ งเรื อ เป็ น ผู้ใหญ่บ้าน บ้านใหม่ร่องหวาย เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียง ระดับ “พออยู่ พอกิน” ปี พ.ศ.๒๕๕๔ กองทุนชุมชน  กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต  กลุ่มอาชีพ  กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง  กองทุนวันละบาท  กองทุนหมุนเวียนเพื่อเกษตรกร(กลุ่มปุ๋ย)  กองทุนกลุ่มพัฒนาสตรี  กองทุนกลุ่มผู้สูงอายุ  กองทุนโครงการอยู่ดีมสี ุข  กองทุนแม่ของแผ่นดิน  กลุ่มทอผ้าไหม

หลักการดาเนินงาน ๑. พึ่งตนเอง มีความสามัคคี เสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ไม่เห็นแก่ตัว ๒. มีวินัยในตนเอง มุ่งมั่นในการทางาน ๓. ให้ขยันหมั่นเพียร ซื่อสัตย์ ประหยัดอดทน ๔. ให้รู้จัดคิด วิจารณ์ตัดสินใจอย่างมีเหตุผล ๕. ให้มีขันติธรรมต่อคาวิจารณ์ รู้ถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคลหรือหมู่เหล่า ๖. ให้มีน้าใจเป็นนักกีฬา รู้จดั ยกย่องผู้อื่น ๗. ให้ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ โดยรู้จดั การเป็น ผู้ให้ ผู้รับ ผู้นา และผู้ตามที่ดี วัตถุประสงค์ ๑. พัฒนาคนให้มีคุณธรรม ๒. พัฒนาจิต เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อม เน้นการงานพื้นฐานอาชีพ เพื่อความมั่นคงของสังคมในชนบท ๓. สร้างสวัสดิการสังคมในชุมชน เป้าหมาย เป็นแหล่งทุนที่มีความสาคัญสาหรับชุมชน เป็นที่พึ่งพาของคนในชุมชน และสร้างชุมชนแห่งความ เอื้ออาทร มีการจัดสวัสดิการชุมชนอย่างทั่วถึง ให้ชุมชน อยู่ดีกินดีทุกครัวเรือน การบริหารจัดการกลุ่ม คณะกรรมการ 4 ฝ่าย 17 คน o ฝ่ายเงินหุ้นเงินออม มีหน้าที่รับเงินหุ้น และเงินออมของสมาชิก o ฝ่ายเงินกู้ มีหน้าที่พิจารณาปล่อยเงินกู้ o ฝ่ายตรวจสอบ มี ห น้ า ที่ ต รวจสอบการ เคลื่อนไหวของเงินกลุ่มฯ o ฝ่ายสวัสดิการ มีหน้าทีด่ ูแลสมาชิกในกลุม่

ความเป็นมากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต การก่อเกิด ก่อตั้งเมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๘ โดย พระอาจารย์สุบิน ปณีโต แห่งวัดไผ่ล้อม จังหวัดตราด เป็นผู้ก่อตั้งที่วัดร่องหวาย มีสมาชิกร่วมก่อตั้งครั้งแรก จานวน ๕๐๔ คน  เงินออมสัจจะแรกเริม่ จานวน ๗,๕๐๐ บาท  ประธานกลุม่ คนแรก คือ ผู้ใหญ่ดดั โกเมนต์  ปัจจุบัน นายสนิท ถ่อแก้ว สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


21

ทุนดาเนินการ o เงินสัจจะสะสม ๕,๔๖๙,๒๑๓ บาท o ให้สมาชิกกูย้ ืม จานวน ๑๐๕ ราย เป็นเงิน ๕,๓๖๙,๗๐๐ บาท o ฝากธนาคาร ธกส.ในพื้นที่ ๙๙,๕๑๓ บาท การประชุม ประเภทที่ ๑ การประชุมประจาเดือน อย่าง น้อยเดือนละ ๑ ครั้ง ประเภทที่ ๒ การประชุมใหม่สามัญประจาปี ประเภทที่ ๓ การประชุมวิสามัญ กรณีมเี รื่อง จาเป็นเร่งด่วน หรือสมาชิกร้องขอ กิจกรรมที่กลุ่มฯดาเนินการ ๑.รับฝากเงินสัจจะ ๒.ให้กู้เงิน ๓.สวัสดิการของกลุ่มสัจจะ ๓.๑ สนับสนุนเงินให้สมาชิกที่ป่วยนอก โรงพยาบาล ๓.๒ สนับสนุนเงินช่วยเหลือสวัสดิการ ด้านเสียชีวิต ๓.๓ สนับสนุนทุนการศึกษาให้โรงเรียน บ้านร่องหวาย และงานวัดเด็ก ๓.๔ สนับสนุนเงินทุนงานกีฬาสีสมั พันธ์ หมู่บ้าน ๓.๕ สนับสนุนกิจกรรมวัดและงานปฏิบัติ ธรรมประจาปีของวัดร่องหวาย ๓.๖ สนับสนุนทุนให้กับเบีย้ กตัญญู ผู้สูงอายุและงานประเพณีรดน้าดาหัวผู้สูงอายุ ๓.๗ สนับสนุนทุนพัฒนาซ่อมแซมถนน ภายในหมู่บ้านและถนนเพื่อการเกษตร ๓.๘ สนับสนุนโครงการสีข้าวกล้องเพื่อ สุขภาพให้สมาชิกและเป็นสินค้าOTOPจาหน่าย ทั่วไป ๓.๙ กิจกรรมออมวันละบาท

ขั้นตอนการฝากเงินสัจจะ สมาชิกนาสมุดออมทรัพย์พร้อมแนบเงินสดตาม จานวนเงินที่จะฝาก ขั้นต่าเดือนละ ๒๐ บาท ไม่เกินราย ละ ๑,๐๐๐ บาท/ราย/เดื อน น าไปชาระที่ กลุ่ ม ฯ โดย คณะกรรมการผู้รับผิดชอบการรับเงินออม ลงลายมือชื่อ รั บ เงิ น ในสมุ ด และลงบั ญ ชี คุ ม อี ก ครั้ ง ของคณะกรรม กรรมการ ทุกวันที่ ๒๕ ของทุกเดือน ขั้นตอนการขอกู้เงิน สมาชิกแจ้งคณะกรรมการฝ่ายเงินกู้ พร้อมยื่น เอกสารขอร้องขอกู้ วงเงินที่ขอกู้และคนค้าประกัน ๓ คน ขั้นตอนการพิจารณา ทุกวันที่ ๒๕ ของทุกเดือน เมื่อสมาชิกนาเงินมา ฝากสัจจะเงินออม หรือชาระเงินกู้เรียบร้อยแล้ว จะนา เงินสดที่ได้ทั้งหมด หักค่าใช้จ่ายต่างๆ เรียบร้อยก่อน จึง นาเงินที่เหลือให้สมาชิกที่ประสงค์จะขอกู้ โดยพิจารณา จากยอดเงินที่สมาชกกู้ เป็นรายๆ ไป ยอดเงินขอกู้ร ายใด ต่าก็จะได้ไปก่อน หากสมาชิกรายใดๆขอกู้ยอดเงินที่สูง ต้องรอการอนุมัติวงเงินกู้ที่ยอดต่ากว่าให้เสร็จสิ้นก่อน จึง จะพิจารณายอดเงินกู้ที่สูง เป็นรายไป หากเงินพอก็ได้ใน รอบนี้ หากเงินไม่พอจะพิจารณาในรอบถัดไป ขั้นตอนการส่งใช้เงินคืน การชาระเงิ น กู้ สมาชิก กลุ่ มฯน าเงิ น มาชาระ เงินกู้ให้กับคณะกรรมการประจาโต๊ะ โดยแนบสมุดคู่มือ เงินกู้พร้อมเงินสด ซึ่งคณะกรรมการจะลงลายมือชื่อรับ เงินไว้เป็นหลักฐาน โดยการชาระมีหลักเกณฑ์ คือ หาก สมาชิกกู้เงิน ๑๐,๐๐0 บาท ต้องส่งเงินคืนขั้นต่า ๕๐๐ บาทพร้อมดอกเบี้ยร้อยละ ๑ บาท ต่อเดือน การจัดทางบการเงิน/การจัดทาบัญชี หลั ง การรั บ เงิ น กู้ ดอกเบี้ ย เงิ น ฝากสั จ จะ ผู้จัดทาบัญชีจะรายงานยอดรายรับและรายจ่ายให้สมาชิก ทราบ และท าเป็ น งบทดลอง ไว้ ทุ ก เดื อ น เมื่ อ สิ้ น รอบ บัญชี จะจัดทางบดุล งบกาไรขาดทุน เสนอต่อที่ประชุม สามัญประจาปี (วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ของทุกปี)

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


22

การตรวจสอบบัญชี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านใหม่ร่องหวาย ได้จัดตั้งคณะกรรมการฝ่ายตรวจสอบขึ้นมาจานวน ๓ คน

การเรียนรู้ของคณะกรรมการ ๑ . เรียนรู้จากประสบการณ์จริง เมื่อปัญหาก็ จะนามาเสนอต่อที่ประชุมและร่วมกันหารือเพื่อหาแนว ทางแก้ไขร่วมกัน ๒. เรียนรู้จากการศึกษาดูงาน และนามา ปรับปรุงใช้ในกลุ่มฯ ๓. เรียนรู้จากการที่หน่วยงานทางราชการเข้า มาส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจ และการพัฒนากลุ่มฯให้ มีความต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป

การจัดสรรกาไร ๑. ปันผลคืนสมาชิกไม่เกินร้อยละ ๕๐ ของ กาไรสุทธิ ๒. เข้ากองกลางเพื่อจัดสรรเป็นสวัสดิการและ ค่าใช้จ่ายของกลุ่มไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐

การแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ ๑. การให้เงินทุนหมุนเวียนแก่สมาชิกกลุ่มฯ โดยคิดดอกเบี้ยทีต่ ่ากว่า ๒. การชาระเงินกู้เป็นไปตามศักยภาพของ สมาชิก

การจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิก ๑. สนับสนุนเงินให้สมาชิกที่ป่วยนอก โรงพยาบาล คืนละ ๕๐๐ บาท ๒. สนับสนุนเงินช่วยศพสมาชิก รายละ 3,000 - 30,๐๐๐ บาท ๓. สนับสนุนเงินค่าน้า ค่าไฟ แก่สมาชิก รายละ ๒๐ บาท/คน/ปี

๖ สนับสนุนทุนให้กับเบี้ยกตัญญูผสู้ ูงอายุและ งานประเพณีรดน้าดาหัวผู้สูงอายุ ๗ สนับสนุนทุนพัฒนาซ่อมแซมถนนภายใน หมู่บ้านและถนนเพื่อการเกษตร ๘ สนับสนุนโครงการสีข้าวกล้องเพื่อสุขภาพให้ สมาชิกและเป็นสินค้าOTOPจาหน่ายทั่วไป ๙ กิจกรรมออมวันละบาท เพื่อจัดสวัสดิการ ตั้งแต่ เกิด ถึง ตาย

ปัญหา อุปสรรคในการดาเนินงาน ขาดความรูด้ ้านระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการเงินกู้ของกลุม่ ออมทรัพย์ฯ

แผนการดาเนินงานในอนาคต ๑. ประชาสัมพันธ์การรับสมัครสมาชิก ๒. การขยายกิจการสินเชื่อ การซื้อที่ดิน สาธารณะประโยชน์

จุดเด่นของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๑. การจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิก ๒. การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ๓. กลุ่มฯ มีความเข้มแข็ง

ความภาคภูมิใจที่มีต่อกลุ่มออมทรัพย์ฯ การก่อเกิดเงินทุนหมุนเวียนในหมูบ่ ้าน มีการ ช่วยเหลือพึ่งพาอาศัย สมาชิกกลุ่มมีความเข้มแข็ง เห็นอก เห็นใจกัน เอื้ออาทร

การจัดสวัสดิการด้านสาธารณประโยชน์ ๑. สนับสนุนทุนการศึกษาให้โรงเรียนบ้านร่อง หวาย และงานวันเด็ก ๒. สนับสนุนเงินทุนกิจกรรมของเด็ก /เยาวชน/ ผู้สูงอายุ ในวันเด็ก-วันเยาวชน-วันกตัญญู ๓. สนับสนุนกิจกรรมวัด ปีละ 10,000 บาท ๔ สนับสนุนเงินทุนงานกีฬาสีสมั พันธ์หมู่บ้าน ๕ สนับสนุนกิจกรรมวัดและงานปฏิบัติธรรม ประจาปีของวัดร่องหวาย สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


ภำคผนวก  ใบสมัครเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

 ใบสมัครเป็นสมาชิกสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน  แบบขอรับเงินสวัสดิการกลุ่ม  แบบขอรับเงินการเสียชีวิตของกลุ่ม  ตัวอย่างระเบียบฯ ว่าด้วยการจัดสวัสดิการชุมชน  ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการส่งเสริม  การดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พ.ศ. 2555  บัญชีกลุ่มเป้าหมาย  ภาพถ่ายกิจกรรม

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


23

เลขที่สมาชิก.......................... ใบสมัครเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้าน.................................... หมู่ที่...........ตาบล.............................อาเภอ.............................. จังหวัดเชียงราย ************************ เขียนที่...................................... วันที่............เดือน......................พ.ศ........ 1. ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว).....................................................................อายุ......................ปี ตั้งบ้านเรือนอยู่บ้านเลขที่............หมู่ที่........ตาบล....................อาเภอ................ จังหวัด................ 2. อาชีพและรายได้ 2.1 อาชีพหลัก.....................................................รายได้เฉลี่ยเดือนละ.............................บาท 2.2 อาชีพรอง.......................................................รายได้เฉลี่ยเดือนละ.............................บาท 3. การเป็นสมาชิกประเภท สามัญ วิสามัญ กิตติมศักดิ์ 4. ข้าพเจ้าขอสมัครเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้าน......................... หมู่ที่ .. ตาบล................ ข้าพเจ้าเข้าใจหลักการ วัตถุประสงค์ ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นอย่างดี สัญญาว่าจะปฏิบตั ติ ามระเบียบ ข้อบังคับของกลุ่มโดยเคร่งครัด และขอรับรองว่าข้อความที่กล่าวมาข้างต้นเป็นจริงทุกประการ พร้อมใบสมัครนี้ ได้ส่งเงิน ค่าสมัครและค่าธรรมเนียมแรกเข้ามาด้วยแล้ว จานวนเงิน............................บาท (ลงชื่อ)....................................................ผู้สมัคร (................................................) ความเห็นคณะกรรมการ ได้รับใบสมัครของ(นาย/นาง/นางสาว)................................................................................ แล้ว เห็นว่า มีคุณสมบัตคิ รบถ้วน ควรรับเป็นสมาชิกเลขที่..........ตั้งแต่วันที่.........เดือน.....................พ.ศ.......... ไม่ควรรับ เพราะ................................................. (ลงชื่อ)..............................................ประธานกลุ่ม (.............................................) การรับโอนผลประโยชน์ ข้าพเจ้า...................................................ขอตั้งผูร้ ับโอนผลประโยชน์ถ้าหากข้าพเจ้าถึงแก่กรรม โดยขอ มอบให้ผู้มีรายชื่อต่อไปนี้ เป็นผู้รับโอนผลประโยชน์จากกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต คือ 1. ......................................................................ความสัมพันธ์............................................... 2. ......................................................................ความสัมพันธ์............................................... 3… …………………………………………………………….ความสัมพันธ์............................................... (ลงชื่อ)....................................................ผู้มอบ (................................................) (ลงชื่อ)....................................................พยาน/กรรมการ (................................................) (ลงชื่อ)....................................................พยาน/กรรมการ (................................................) สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


24

เลขที่สมาชิก................ ใบสมัครเข้าเป็นสมาชิกสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้าน.................. หมู่ที่..........ตาบล.........................อาเภอ......................... จังหวัดเชียงราย ************************ เขียนที่..ทาการสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้าน................ วันที่............เดือน...................พ.ศ............... 1. ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว).....................................................................อายุ........................ปี ตั้งบ้านเรือนอยู่บ้านเลขที่............หมู่ที่.............ตาบล..........................อาเภอ....................... จังหวัด เชียงราย เป็นตัวแทนกลุม่ ......................................................................................................................... 2. ข้าพเจ้าขอสมัครเข้าเป็นสมาชิกสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้าน....................หมู่ที่ ตาบล................. อาเภอ ................................. จังหวัด เชียงราย ข้าพเจ้าเข้าใจหลักการ วัตถุประสงค์ ของสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนเป็นอย่างดี สัญญาว่าจะปฏิบัติตาม ระเบียบข้อบังคับของกลุ่มโดยเคร่งครัด และขอรับรองว่าข้อความทีก่ ล่าวมาข้างต้นเป็นจริงทุกประการพร้อมใบสมัครนี้ ได้ส่งเงินค่าสมัครธรรมเนียมแรกจานวน......................บาทและสาเนาบันทึกการประชุมกลุ่มฯมาด้วยแล้ว 3. เงินค่าหุ้น จานวน.................................. (ลงชื่อ)....................................................ผู้สมัคร (................................................) ประธานกลุ่ม............................................ ความเห็นคณะกรรมการ ได้รับใบสมัครของกลุ่ม................................................................................ แล้ว เห็นว่า มีคุณสมบัตคิ รบถ้วน ควรรับเป็นสมาชิกเลขที่..........ตั้งแต่วันที่.........เดือน.....................พ.ศ.......... ไม่ควรรับ เพราะ................................................. (ลงชื่อ)......................................................... (.......................................................) ตาแหน่ง นายทะเบียน (ลงชื่อ).................................................... (................................................) ตาแหน่ง ประธานคณะกรรมการบริหาร สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


25

แบบขอรับเงินสวัสดิการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต บ้าน....................... หมู่......... ตาบล.....................อาเภอ.................จังหวัดเชียงราย เขียนที่........................................ วันที่............................................................. ข้าพเจ้า.................................................................................สมาชิกเลขที่.................... บ้านเลขที่................ได้ป่วยเข้านอนรักษาตัวในโรงพยาบาล...................................................................... ตั้งแต่วันที่...........ถึงวันที่...........เดือน.....................................พ.ศ.................จานวน...........วัน ข้าพเจ้าขอรับเงินสวัสดิการ เป็นจานวน...........................บาท (..............................................................) ข้าพเจ้าขอรับรองว่าได้ป่วยเข้ารักษาที่โรงพยาบาลจริง ลงชื่อ......................................................ผู้ขอรับเงิน (......................................................) ลงชื่อ......................................................พยาน (....................................................) --------------------------------------------------------------------------------------------------------------สาหรับกรรมการ พิจารณาแล้วเห็นสมควรจ่ายเงินสวัสดิการตามระเบียบ จานวน......................................บาท (.......................................................................................) ลงชื่อ......................................................................ผูเ้ ห็นชอบ (..................................................................) ตาแหน่ง เหรัญญิก ลงชื่อ......................................................................ผู้อนุมตั ิจ่าย (..................................................................) ตาแหน่ง ประธาน วันที่..............................................................

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


26

แบบขอรับเงินการเสียชีวิตสมาชิกกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต บ้าน............................. หมู่ .......... ตาบล............................. อาเภอ..................จังหวัดเชียงราย .................................... เขียนที่...................................... วันที่................................................... ข้าพเจ้า.............................................................อยู่บ้านเลขที่.................ซึ่งเป็นทายาท ของ............................................................สมาชิกเลขที่..............เป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตได้เสียชีวิต ในวันที่................เดือน............................พ.ศ...................... ข้าพเจ้าเป็นผูไ้ ด้รับโอนผลประโยชน์ที่ผู้เสียชีวิตได้มอบไว้ในหนังสือในใบสมัคร และได้จัดการฌาปนกิจศพตามประเพณี ในวันที่...............เดือน..................พ.ศ.....................เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงขอรับเงินจัดการศพตามระเบียบจานวนเงิน..........................บาท (..........................................) ข้าพเจ้าขอรับรองว่าได้เป็นผู้จัดการฌาปนกิจศพจริง ลงชื่อ.........................................................ผู้ขอรับเงิน (.........................................................) ลงชื่อ..........................................................พยาน (........................................................) --------------------------------------------------------------------------------------------------------------สาหรับกรรมการ พิจารณาแล้วเห็นสมควรจ่ายเงินสวัสดิการตามระเบียบ จานวน.............................บาท (..........................................................................................) ลงชื่อ...........................................................ผู้เห็นชอบ (.........................................................) ตาแหน่ง เหรัญญิก ลงชื่อ..........................................................ผู้อนุมตั ิจ่าย (.........................................................) ตาแหน่ง ประธาน วันที่..............................................................

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


27

ตัวอย่างระเบียบฯว่าด้วยการจัดสวัสดิการชุมชน ..................................

ระเบียบกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตว่าด้วยกองทุนสวัสดิการชุมชน บ้านสันปูเลย หมู่ที่ 4 ตาบล บัวสลี อาเภอ แม่ลาว จังหวัด เชียงราย หมวดที่ 1 ข้อความทั่วไป ข้อที่ 1 ระเบียบนีเ้ รียกว่า “ระเบียบกองทุนสวัสดิการชุมชนบ้านโป่ง” ข้อที่ 2 ระเบียบนี้ใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 11 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป ข้อที่ 3 ที่ทาการสวัสดิการชุมชนบ้าน....สันปูเลย.......ตั้งอยู่ที่......164.........หมู่ที่....4.......ตาบล....บัวสลี.. อาเภอ....แม่ลาว...................จังหวัด....เชียงราย....................... ข้อที่ 4 ในข้อบังคับนี้ “กองทุน” หมายถึง กองทุนสวัสดิการชุมชนบ้าน...สันปูเลย......................... “สวัสดิการ” หมายถึง การช่วยเหลือราษฎรในหมู่บ้านที่ตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนที่ได้รับความเดือดร้อน “ชุมชน” หมายถึง ชุมชนของหมู่บ้าน...สันปูเลย........................................ หมวดที่ 2 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 5 กองทุนสวัสดิการชุมชน มีวัตถุประสงค์ คือ 5.1 เพื่อให้ราษฎรในหมู่บ้านได้รบั สวัสดิการจากกองทุนอย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกัน 5.2 เพื่อเป็นการช่วยเหลือเกื้อกูลกันและเอื้ออาทรต่อกัน 5.3 เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ราษฎรเป็นการเบื้องต้น 5.4 เพื่อให้เกิดความรักความสามัคคี เห็นอกเห็นใจกัน เสียสละและเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม 5.5 เพื่อเป็นการบูรณาการกองทุนต่าง ๆ ของชุมชน โดยชุมชน เพื่อประโยชน์สุขของคนในชุมชน 5.6 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้หมูบ่ ้าน ชุมชน ช่วยเหลือตนเอง เป็นหมู่บ้านชุมชนที่เข้มแข็งพึ่งตนเองได้ 5.7 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน ให้ราษฎรในหมู่บ้านรวมตัวกันในการพัฒนาหมู่บ้าน ชุมชน ของตนเองให้ เจริญก้าวหน้าเป็นตัวอย่างแก่หมู่บ้าน ชุมชนอื่นได้ หมวดที่ 3 คุณสมบัติของราษฎรที่จะได้รับการช่วยเหลือ ข้อที่ 6 คุณสมบัติของราษฎรที่จะได้รับการช่วยเหลือ 6.1 ต้องเป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน..สันปูเลย.............หมู่ที่...4......ตาบลบัวสลี (มีสาเนาทะเบียนบ้านอยู่ในหมู่บ้าน และมีตัวอาศัยอยู่จริง) 6.2 ครอบครัวต้องเป็นสมาชิกกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิตของหมู่บา้ น....สันปูเลย........หมู่ที่...4......ตาบลบัวสลี อย่างน้อยครัวเรือนละ 1 คน ยกเว้นครัวเรือนที่ไม่มีรายได้ เช่น คนแก่ คนพิการถูกทอดทิ้ง 6.3 ต้องส่งเงินสัจจะอย่างสม่าเสมอโดยไม่มีการขาดส่ง (ยกเว้นมีเหตุผลจาเป็น) 6.4 ในครอบครัวต้องไม่มีคนยุ่งเกีย่ วกับยาเสพติด ทั้งเป็นผูผ้ ลิต ผู้จาหน่าย และผู้เสพ 6.5 เมื่อหมู่บ้านจัดให้มีการประชุมครัวเรือนต้องส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุมอย่างน้อยครัวเรือนละ 1 คน หากครัวเรือนใดขาดประชุมเกิน.......3...........ครั้ง ในปีนั้นจะไม่ได้รบั การช่วยเหลือ สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


28

6.6 หากราษฎรขาดคุณสมบัติ ตามข้อ 6.1 – 6.6 กรรมการจะไม่พิจารณาให้ความช่วยเหลือ หมวดที่ 4 สิทธิและหน้าที่ของราษฎรที่จะได้รับการช่วยเหลือ ข้อที่ 7 หน้าที่ของราษฎรที่จะได้รับการช่วยเหลือ 7.1 ต้องปฏิบัติตามระเบียบของกองทุนสวัสดิการชุมชนบ้าน..สันปูเลย.......โดยเคร่งครัด 7.2 มีหน้าที่เข้าร่วมประชุมเมื่อมีการเรียกประชุมของหมู่บ้านหรือส่วนราชการที่จัดให้มีขึ้น 7.3 มีหน้าที่ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่บ้าน ข้อที่ 8 สิทธิประโยชน์ของราษฎรที่จะได้รบั การช่วยเหลือ 8.1 มีสิทธิแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงานของกองทุนสวัสดิการชุมชนต่อคณะกรรมการได้ 8.2 มีสิทธิร้องขอต่อคณะกรรมการ ในการตรวจสอบเอกสารและบัญชีทรัพย์สินของกองทุนสวัสดิการได้ โดยครัวเรือนเข้าชื่อร่วมกันอย่างน้อยร้อยละ...50.........ของครัวเรือนทั้งหมด หมวดที่ 5 รายได้ และรายจ่ายของกองทุน ข้อที่ 9 กองทุนสวัสดิการชุมชน มีรายได้ ดังนี้ 9.1 มีรายได้จากเงินผลกาไรของกองทุนต่าง ๆ ภายในหมู่บ้านที่จัดไว้เพื่อเป็นกองทุนสวัสดิการชุมชน 9.2 รายได้จากเงินที่มผี ู้บริจาค 9.3 จากดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 9.4 รายได้อื่น ๆ ที่ได้มาโดยความชอบธรรม ข้อที่ 10 กองทุนสวัสดิการชุมชน มีรายจ่าย ดังนี้ 10.1 จ่ายเพื่อช่วยเหลือการคลอดบุตร บุตรที่เกิดจากมารดาที่เป็นราษฎรในหมู่บ้านที่ตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชน และเป็นสมาชิกกลุม่ ออมทรัพย์ จะได้รับเงินช่วยเหลือจากกองทุน จานวน....440........บาท/ราย 10.2 จ่ายเป็นสวัสดิการสาหรับราษฎรที่เจ็บป่วย  ราษฎรที่เจ็บป่วยจะได้รับค่าชดเชยสาหรับผู้ป่วยที่ไปรักษาตัวที่โรงพยาบาลและโรงพยาบาลรับตัวไว้นอน รักษาตัวที่โรงพยาบาล โรงพยาบาลทุกโรงพยาบาลในจังหวัดเชียงรายได้รับค่าชดเชย คืนละ 100.... บาท ไม่เกิน 3 คืน ต่อปี 10.3 จ่ายเป็นสวัสดิการทุนการศึกษา  การพิจารณาให้ทุนการศึกษา ให้คณะกรรมการประชุมพิจารณาจากนักเรียนทั้งหมดที่จบชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 และอาศัยอยู่ในหมู่บ้านที่ตงั้ กองทุนฯ โดยคณะกรรมการกาหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาให้ทุน เป็นไปตามมติ ที่ประชุมคณะกรรมการกองทุน  การจ่ายสวัสดิการทุนการศึกษา ให้จัดดังนี้ 1. ทุนการศึกษาสาหรับนักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคน ในปีการศึกษานั้น (ทุนการศึกษา ละ.......... บาท) 10.4 จ่ายเป็นสวัสดิการสมาชิกที่ถึงแก่กรรม  ช่วยเหลือสมาชิกที่ถึงแก่กรรม รายละ........1,000..................บาท 10.5 จ่ายเพื่อเป็นสวัสดิการแกประธานกลุม่ พัฒนาสตรีหมู่บ้าน ปีละ...3,000.............บาท 10.6 จ่ายเพื่อสวัสดิการผูด้ ูแลทีอ่ ่านหนังสือพิมพ์ของหมู่บ้านปีละ......1,200................บาท สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


29

10.7 จ่ายเพื่อเป็นค่าสวัสดิการเบี้ยประกันชีวิตออมสินเพิ่มทรัพย์ให้แก่คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ การผลิตและกองทุนธนาคารความดี ไม่เกินเดือนละ 1,600.....บาท 10.8 จ่ายเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร หมวดที่ 6 คณะกรรมการ หน้าที่ของคณะกรรมการและการพ้นจากตาแหน่ง ข้อที่ 11 คณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชน ได้มาจากคณะกรรมการหรือตัวแทนจากกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ในหมู่บ้าน ที่มีอยู่ โดยผ่านเวทีประชาคมคัดเลือก ข้อที่ 12 ให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุนสวัสดิการชุมชน 1 คณะ จานวน....9......คน มาจากตัวแทนตามข้อ 12 และ คณะกรรมการอยู่ในตาแหน่งได้คราวละ...4.......ปี ข้อที่ 13 คณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีตาแหน่ง ประธาน รองประธาน และกรรมการอื่นตามความเหมาะสม ข้อที่ 14 ให้คณะกรรมการกองทุนมีหน้าที่ ดังนี้ 14.1 พิจารณาอนุมัตเิ งินสวัสดิการให้แก่สมาชิกตามระเบียบ 14.2 จัดทาเอกสาร หลักฐานต่าง ๆ 14.3 จัดหาเงินทุนเข้ากองทุนสวัสดิการ ข้อที่ 15 การพ้นจากตาแหน่งของคณะกรรมการ 15.1 ตาย 15.2 ลาออก 15.3 ลาออกตามวาระ 15.4 ขาดจากการเป็นสมาชิกตามระเบียบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 15.5 ที่ประชุมใหญ่มีมติให้ออกโดยเสียง.2.....ใน....3.....ของผู้เข้าร่วมประชุม ข้อที่ 16 เมื่อคณะกรรมการชุดเก่าหมดวาระลงให้คณะกรรมการชุดเดิมรักษาการต่อไป จนกว่าคณะกรรมการชุดใหม่จะเข้า รับหน้าที่ และได้รับมอบหมายการงานพร้อมเอกสารต่าง ๆ จากคณะกรรมการชุดเก่าเรียบร้อยแล้ว ข้อที่ 17 ในกรณีที่กรรมการว่างลงด้วยเหตุใดก็ตามให้คณะกรรมการกองทุนฯ พิจารณาแต่งตั้งผู้ที่จะดารงตาแหน่งแทน โดยให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ หากกรรมการมีวาระการดารงตาแหน่งเหลือน้อยกว่า..... 30........วัน จะไม่แต่งตั้งกรรมการแทนก็ได้ ข้อที่ 18 ให้มีคณะกรรมการที่ปรึกษา ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร หมวดที่ 7 การประชุม ข้อที่ 19 ให้มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย......1........เดือน/ครั้ง ข้อที่ 20 ให้มีการเรียกประชุมครัวเรือนอย่างน้อยปีละ.....1........ครั้ง ภายในเดือน....ธันวาคม.........ของทุกปี และต้อง มีครัวเรือนอย่างน้อยครัวเรือนละ 1 คน มาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของครัวเรือนทั้งหมดจึงจะครบองค์ประชุม ข้อที่ 21 มติที่ประชุมให้ใช้บังคับได้ต้องเป็นไปตามมติเสียงข้างมากของที่ประชุม หมวดที่ 8 การเงินและการบัญชี ข้อที่ 22 คณะกรรมการกองทุนจะต้องจัดทาบัญชี แสดงฐานะการเงินไว้ ณ ที่ทาการกองทุนสวัสดิการชุมชน สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


30

ข้อที่ 23 เงินทุกประเภทของกองทุนฯ ต้องฝากไว้ที่ธนาคารในนาม “กองทุนสวัสดิการชุมชนบ้าน.สันปูเลย หมูท่ ี่ 4 ตาบลบัวสลี......” โดยมีผรู้ ับผิดชอบ....3.......คน และเงื่อนไขการถอนเงิน...2.....ใน...3.....คน ข้อที่ 24 ให้เหรัญญิกเก็บเงินสดไว้ในมือ เพื่อใช้จ่ายได้ไม่เกิน........2,000.............บาท ข้อที่ 25 ให้การตรวจสอบบัญชี เพื่อตรวจสอบการเงินของกองทุนฯ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ในเดือนธันวาคม ของทุกปี หมวดที่ 9 การแก้ไขหรือเพิ่มเติมระเบียบ ข้อที่ 26 การแก้ไขหรือเพิ่มเติมระเบียบจะกระทาได้โดยมติที่ประชุมใหญ่ และต้องมีเสียงไม่น้อยกว่า...2.....ใน....3......ของ ครัวเรือนที่ประชุม และไม่ขดั กับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ หมวดที่ 10 บทเฉพาะกาล ข้อที่ 27 ให้คณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชน เป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และให้ประธานกองทุนฯ เป็นผู้ลงนามในระเบียบนี้

(ลงชื่อ) (นายจารัส คาแก่น) ประธานกองทุนสวัสดิการชุมชนบ้านสันปูเลย

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


31

ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการส่งเสริมการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พ.ศ.2555 --------------------------ตามที่กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ.2517 โดยใช้หลักการพึ่งตนเอง หลักคุณธรรม หลักความเป็นเจ้าของและหลักการควบคุมตนเอง ของคน ภายในชุมชน ให้มีการบริหารงานในรูปแบบคณะกรรมการ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้ประชาชนรู้จักการพึ่งพาตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รู้จักประหยัด อดออม และนาเงินออมสะสมรวมกันเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ เกิดเป็นกองทุน ภายในชุมชนขึ้น ซึ่งสมาชิกสามารถใช้เป็นแหล่งเงินทุนในการสนับสนุนการประกอบอาชีพภายในหมู่บ้าน ตาบลของตนเองได้ นั้น เพื่อให้การดาเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข การดาเนินการในการส่งเสริมสนับสนุน และติดตามกากับดูแล อาศัยอานาจตามความมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม จึงวางระเบียบไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการส่งเสริมการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ การผลิต พ.ศ.2555 ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจตีความ และวินิจฉัยปัญหา เกี่ยวกับการปฏิบัติ ตลอดจนมีอานาจในการกาหนดวิธีการ และแนวทางการดาเนินงานซึ่งไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ทั้งนี้ คาวินิจฉัยของอธิบดีให้ถือว่าเป็นที่สุด หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “กลุ่มออมทรัพย์” หมายความว่า กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่ประชาชนรวมตัวกันจัดตั้งขึ้น เพื่อเก็บออมเงิน สะสมรวมกันโดยมีการบริหารจัดการกันเอง และดาเนินการตามแนวทางที่กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด “เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกรมการพัฒนาชุมชน “สมาชิก” หมายความว่า สมาชิกของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตซึ่งสมัครเข้ามาโดยถูกต้องตามระเบียบและ ปรากฏรายชื่ออยู่ในทะเบียนของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต “เงินสัจจะสะสม” หมายความว่า จานวนเงินที่สมาชิกสมัครใจฝากออมไว้กับกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตตามที่ให้ สัจจะกับกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตอย่างสม่าเสมอเป็นประจาทุกเดือน “เงินสัจจะพิเศษ” หมายความว่า เงินที่สมาชิกนามาฝากนอกเหนือจากเงินสัจจะสะสม สามารถเบิกถอนได้และมี ดอกผลตามระเบียบของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่ได้รับการคัดเลือกโดยมติที่ ประชุมสมาชิก “เครือข่าย” หมายความว่า เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ซึ่งเป็นองค์กรที่เกิดจากการรวมตัวกันของกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิต สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


32

“สถาบัน” หมายความว่า สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ที่กรมการพัฒนาชุมชนส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดตั้ง เป็นองค์กรในการส่งเสริมให้กองทุนชุมชนมีการบริหารจัดการร่วมกัน “คุณธรรม” หมายความว่า คุณธรรม 4 ประการ ได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความเสียสละ ความรับผิดชอบ ความเห็น อกเห็นใจ และความไว้วางใจ “กรม” หมายความว่า กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย “อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน “นายทะเบียน” หมายความว่า อธิบดีหรือผู้ที่อธิบดีมอบหมาย ข้อ 5 กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Saving for Production Group (SPG.) ข้อ 6 เครื่องหมายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตให้มีรูปและลักษณะ ดังนี้

(1) ลักษณะ (ก) เป็นวงกลมเล็ก (วงใน) ล้อมรอบด้วยวงกลมใหญ่ (วงนอก) (ข) ภายในวงกลมเล็ก ตรงกลางเป็นรูปต้นไทร ด้านซ้ายเป็นรูปครอบครัว (เป็นรูปคน ประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูก) ด้านขวาเป็นรูปถุงเงิน และรูปสายน้าอยู่ด้านล่าง (ค) ภายในขอบวงกลมวงนอกที่ล้อมรอบวงกลมวงใน ด้านบนมีข้อความ “กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการ ผลิต” ด้านล่างเป็นรูปรวงข้าว (2) สี (ก) เส้นรอบวงกลมวงนอกและวงในเป็นสีฟ้า (ข) พื้นวงกลมวงในเป็นขาว รูปต้นไทร ครอบครัว และถึงเงินเป็นสีเขียว สายน้าเป็นสีฟ้า (ค) พื้นวงกลมวงนอกเป็นสีเหลือง ข้อความ “กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต” เป็นสีน้าเงินและรวงข้าว เป็นสีเขียว หมวด 2 การดาเนินงาน ข้อ 7 กลุ่มออมทรัพย์ มีวตั ถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาตนให้มีคณ ุ ธรรม โดยใช้เงินเป็นเครื่องมือในการพัฒนา 2. เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยการระดมเงินออม ทาให้มีแหล่งเงินทุนในการประกอบอาชีพ 3. เพื่อพัฒนาสังคม โดยการปลูกฝังคุณธรรม วิถีประชาธิปไตย สร้างความสามัคคี การช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน และความเป็นธรรม ข้อ 8 การจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ ต้องมีจานวนผู้ก่อตั้งไม่น้อยกว่าสิบห้าคน ข้อ 9 กลุ่มออมทรัพย์ภายใต้ระเบียบนี้ตอ้ งจดทะเบียนตามแนวทางที่กรมกาหนด หมวด 3 คณะกรรมการ ข้อ 10 ให้ ก ลุ่ ม ออมทรัพ ย์ มี ค ณะกรรมการ ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการอ านวยการ คณะกรรมการเงิ น กู้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการส่งเสริม แต่ละคณะมีจานวนไม่น้อยกว่าสามคน ประกอบด้วยตาแหน่งประธาน รอง ประธาน เลขานุการ และเหรัญญิก หรือตาแหน่งอื่นตามความเหมาะสม ให้คณะกรรมการมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสี่ปีนับแต่วันที่ได้รับคัดเลือก สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


33

ในกรณีที่กรรมการพ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระ ให้ประธานกรรมการแต่งตั้งกรรมการที่ได้รับคัดเลือกแทน โดย ให้มีวาระการดารงตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน ข้อ 11 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรการ มีดังนี้ - คณะกรรมการอานวยการ มีหน้าที่ กาหนดระเบียบข้อบังคับ ทาบัญชีรายรับรายจ่ายและทะเบียน เอกสารต่าง ๆ และบริหารงานทั่วไปของกลุ่มฯ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่สมาชิก - คณะกรรมการเงินกู้ มีหน้าที่ดาเนินการเกี่ยวกับการพิจารณาเงินกู้ให้กับสมาชิก - คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานและกิจการของกลุ่ม - คณะกรรมการส่งเสริม มีหน้าที่ส่งเสริมและสร้างเสริมความเข้าใจในหลักการของกลุ่มออมทรัพย์ หมวด 4 สมาชิก ข้อ 12 สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ มีสามประเภท ดังต่อไปนี้ (1) สมาชิกสามัญ ได้แก่ บุคคลธรรมดาในหมู่บ้านหรือตาบล ที่สมัครเป็นสมาชิกตามระเบียบข้อบังคับ ของกลุ่มออมทรัพย์ (2) สมาชิกวิสามัญ ได้แก่ กลุ่ม องค์กร ภายในหมู่บา้ น/ตาบล ที่ทางราชการสนับสนุนและรับรองฐานะ ที่สมัครเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ (3) สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้แก่ ข้าราชการ คหบดี ภิกษุ สามเณร บุคคลที่มีความสนใจและให้การสนับสนุน กลุ่มโดยไม่หวังผลตอบแทน ตามที่คณะกรรมการมีมติเห็นชอบ ข้อ 13 บุคคลใดที่ประสงค์จะขอสมัครเป็นสมาชิก ให้ยื่นคาขอ ณ ที่ทาการกลุ่มออมทรัพย์ที่คณะกรรมการ กาหนด เงื่อนไขในการสมัครเป็นสมาชิกให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับกลุ่มออมทรัพย์ ข้อ 14 สมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลงด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง ดังนี้ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติตามทีร่ ะบุไว้ในระเบียบกลุ่มออมทรัพย์ (4) ที่ประชุมสมาชิกมีมติให้ออกด้วยคะแนนเสียงสามในสี่ของสมาชิกทั้งหมด หมวด 5 กิจกรรม ข้อ 15 กิจกรรมของกลุม่ ออมทรัพย์ (1) การให้กู้เงินเพื่อเป็นทุนในการประกอบอาชีพและสวัสดิการของครอบครัว (2) การดาเนินงานศูนย์สาธิตการตลาดเพื่อรวมกันซื้อรวมกันขายวัสดุอุปกรณ์ที่เป็นปัจจัย การผลิต และสินค้าอุปโภค บริโภค ให้ได้ในราคาถูกและมีคุณภาพ (3) การดาเนินงานยุ้งฉางเพื่อรวมกันขายข้าวหรือผลผลิตทางการเกษตรให้ได้ในราคาสูงและลดการถูก เอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง (4) การดาเนินงานธนาคารข้าว เพื่อให้การสงเคราะห์ข้าวแก่ผยู้ ากไร้ขาดแคลน (5) กิจกรรมอื่น ตามระเบียบหรือข้อบังคับที่กลุ่มออมทรัพย์กาหนด หมวด 6 เงินทุนและการเก็บรักษา ข้อ 16 เงินทุนการดาเนินการของกลุ่มออมทรัพย์ ได้มาจาก (1) ค่าสมัครเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ และค่าปรับกรณีผิดสัญญาการส่งใช้คืนเงินกู้ สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


34

(2) เงินสัจจะสะสมของสมาชิก (3) เงินที่กู้หรือยืมมาจากแหล่งเงินทุนต่าง ๆ เช่น ธนาคาร กองทุนชุมชน เป็นต้น (4) เงินช่วยเหลือจากสถาบันหรือองค์กรอื่นทั้งภายในและภายนอกประเทศ (5) เงินรายได้อื่น ๆ เช่น เงินบริจาคต่าง ๆ ข้อ 17 การเก็บรักษาเงินกลุ่มออมทรัพย์ ให้นาฝากธนาคารกรุงไทย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธกส.) หรือธนาคารอื่น ข้อ 18 การเปิดบัญชีเงินฝากตามข้อ 17 ให้ประธาน รองประธาน และเหรัญญิกของกลุ่มฯ เป็นผู้ลงลายมือชื่อ และเมื่อจะถอนเงินฝากต้องลงลายมือชื่อร่วมกันอย่างน้อยสองคน โดยให้ประธานลงลายมือชื่อร่วมทุกครั้ง หมวด 7 เครือข่าย ข้อ 19 เครือข่าย เป็นองค์กรความร่วมมือและเชื่อมโยงกันของคณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์ในระดับต่าง ๆ โดย มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายเดียวกัน ด้วยการช่วยเหลือซึ่งกันและกันอย่างเอื้ออาทร ข้อ 20 เครือข่าย มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ (1) เพื่อประสานงานและประสานความร่วมมือระหว่างเครือข่ายและสมาชิก (2) เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูล ปัญหาอุปสรรค ซึ่งกันและกันในการดาเนินงาน (3) เพื่อส่งเสริมองค์กรเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ในแต่ละระดับ (ตาบล อาเภอ จังหวัดและประเทศ) ผนึก กาลังประสานเชื่อมโยงการเรียนรู้ การจัดการกิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์แต่ละระดับให้เข้มแข็ง ข้อ 21 ให้กลุ่มออมทรัพย์ มีเครือข่ายสี่ระดับ ดังนี้ (1) เครือข่ายระดับตาบล (2) เครือข่ายระดับอาเภอ (3) เครือข่ายระดับจังหวัด (4) เครือข่ายระดับประเทศ โดยให้นายอาเภอเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายระดับตาบลและระดับอาเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง คณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัด และอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนแต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายระดับประเทศ ข้อ 22 ให้ผู้แทนกลุ่มออมทรัพย์ที่อยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชน อย่างน้อยกลุ่มละหนึ่งคน เป็นกรรมการเครือข่ายระดับ ตาบล ให้ผู้แทนเครือข่ายระดับตาบลอย่างน้อยเครือข่ายละหนึ่งคน เป็นกรรมการเครือข่ายระดับอาเภอ ให้ผู้แทนเครือข่ายระดับอาเภออย่างน้อยเครือข่ายละหนึ่งคน เป็นกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัด ให้ผู้แทนเครือข่ายระดับจังหวัดอย่างน้อยเครือข่ายละหนึ่งคน เป็นกรรมการเครือข่ายระดับประเทศ ข้อ 23 คณะกรรมการเครือข่าย มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสี่ปี โดยมีหน้าที่ดังนี้ (1) ส่งเสริม สนับสนุน ประสานงาน การดาเนินงานเครือข่ายในการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหาร จัดการกลุ่ม ด้านบุคลากร ด้านแหล่งทุน ด้านอื่น ๆ ตามที่เครือข่ายเห็นสมควร อันก่อให้เกิดประโยชน์แก่ก ารดาเนินงานของ กลุ่มออมทรัพย์ในหมู่บ้าน/ชุมชน (2) กาหนดนโยบายและแนวทางการดาเนินงานเครือข่าย จัดทาแผนการดาเนินงาน จัดทาระเบียบ ข้อบังคับของเครือข่าย ข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายของเครือข่าย และจัดประชุมอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง (3) กากับ ควบคุม ดูแล ตรวจสอบการดาเนินงานกิจกรรมของเครือข่ายให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ มติที่ประชุม ดาเนินกิจกรรมเกี่ยวกับภาระผูกพันของเครือข่าย (4) จัด ทาทะเบียน ระบบบัญชี เอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้อง ดูแล บารุงรัก ษาทรัพ ย์สินของ เครือข่าย (5) ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (6) ติดตาม ตรวจสอบ ให้คาแนะนาการแก้ไขข้อร้องเรียน ข้อขัดแย้งของกลุ่มออมทรัพย์ (7) ประสานและเชื่อมโยงความร่วมมือการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ของแต่ละระดับ (8) อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


35

ข้อ 24 ให้เครือข่ายส่งเสริมให้กลุ่มออมทรัพย์ ที่เข้มแข็งและมีความพร้อมเป็นแกนนาในการจัดตั้งสถาบัน เพื่อ สนับสนุนให้กองทุนชุมชนมีการบริหารจัดการร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยดาเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ แนวทางที่กรมกาหนด ข้อ 25 ให้กรมเป็นหน่วยงานรับผิดชอบการส่งเสริม สนับสนุน และกากับดูแลการดาเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และวิธีการที่กาหนดและทาหน้าที่เป็นนายทะเบียน ข้อ 26 ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เป็นหน่วยงานสนับสนุนและกากับดูแล การดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ ข้อ 27 ให้สานักตรวจราชการ และศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานสนับสนุนทางวิชาการแก่อาเภอ/ จังหวัด ในการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ ข้อ 28 ในกรณีที่มีความจาเป็นไม่อาจปฏิบัติตามระเบียบนี้ได้หรือมีอุปสรรคในการดาเนินงานตามระเบียบนี้ ให้ อธิ บ ดี พิ จ ารณาสั่ ง การได้ ต ามที่ เ ห็ น สมควรเพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานของกลุ่ ม ออมทรั พ ย์ เป็ น ไปด้ ว ยความคล่ อ งตั ว มี ประสิทธิภาพ และทันต่อเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อ 29 หากการดาเนินการของกลุ่มออมทรัพย์ เป็นการกระทาที่ผิดกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือของบ้านเมือง ให้อธิบดีมีอานาจในการเพิกถอนกลุ่มออมทรัพย์นั้นออกจากทะเบียนกลุ่มออม ทรัพย์ ข้อ 30 การดาเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์ ต้องเป็นไปตามวิธีการที่สาคัญ ดังนี้ (1) จานวนเงินสัจจะสะสมให้เป็นไปตามความสมัครใจที่จะออกตามศักยภาพของสมาชิก โดยมุ่งเน้น ความสม่าเสมอในการส่ง และสามารถปรับเปลี่ยนเพิ่มหรือลดได้เมื่อสิ้นปีปิดบัญชีงบดุลกลุ่มออมทรัพย์ (2) การส่งเงินสัจจะสะสม สมาชิกหรือผู้แทนครัวเรือนที่เป็นสมาชิก ต้องนาส่งด้วยตนเอง ณ ที่ทาการ กลุ่มออมทรัพย์ ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กลุ่มออมทรัพย์กาหนด และให้คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์รวบรวมเงินสัจจะ ฝากเข้าบัญชีธนาคารของกลุ่มออมทรัพย์ ภายในสามวันทาการ (3) ห้ามมิให้ส่งเงินสัจจะสะสมล่วงหน้าก่อนระยะเวลาที่สมาชิกได้ให้สัจจะไว้กับกลุ่ม ยกเว้นกรณีจาเป็น ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการ (4) การรับเงินสัจจะสมสมหรือรับชาระคืนเงินกู้ยืมจากสมาชิกของกลุ่มออมทรัพย์ ให้คณะกรรมการ รวบรวมเงินดังกล่าวนาฝากเข้าบัญชีธนาคารของกลุ่มออมทรัพย์ภายในสามวันทาการ เมื่อมีสมาชิกยื่นขอกู้เงินให้เบิกถอนเงิน จากธนาคารตามระเบียบเบิกจ่ายของกลุ่มออมทรัพย์ จะนาเงินดังกล่าวข้างต้นจ่ายให้สมาชิกกู้โดยไม่ผ่านระบบบัญชีธนาคาร ไม่ได้ (5) การดาเนินธุรกรรมทางการเงินของกลุ่มออมทรัพย์ทุกประเภทให้ดาเนินการผ่านระบบบัญชีธนาคาร ทุกครั้ง (6) ห้ามมิให้กลุ่มออมทรัพย์คิดดอกเบี้ยเงินกู้จากสมาชิกเกินอัตราที่กฎหมายกาหนด (7) ห้ามมิให้กลุ่มออมทรัพย์ดาเนินกิจกรรมในลักษณะเข้าข่ายต้องห้ามตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบัน การเงิน พ.ศ.2551 ประกาศ ณ วันที่ 25 เดือน กันยายน พ.ศ.2555 ประภาศ บุญยินดี (นายประภาศ บุญยินดี) อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


จ หว ย ่อง ผียว งแลใ ่ ซ งวิวฒั ์ ่ ตึง สั ติสขุ ่ซง ห อง ึ๋ง วียงหว ย แม่ส ด แม่ข้ วต้มท่ สุด ถ ผ ตอง ห องบัวแดง โกสิ ท ์ ิมิต สั ่ ย ง ห้วยบง ห องหม้อใหม่ โ ง่ ค ่ หีย

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ สั

ชื่อกลุ่ม

ที่

2 24 7 10 4 10 2 19 2 4 3 6 5 12 6 8 19 4 13

หมู่ที่

ดอยล ห้วยสัก งแล งแล สั ท ย สั ท ย บ้ ดู่ บ้ ดู่ แม่ก ณ์ แม่ก ณ์ ท่ สุด ท่ สุด แม่ข้ วต้ม แม่ข้ วต้ม แม่ย ว ท่ ส ย ่ อ้อดอ ชัย ดอยฮ ง ห้วยสัก

ต บล

มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง มือง ชียง

อ ภอ

ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย

ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง

ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย

จังหวัด ๔ 0 0 0 1 0 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0

๕ 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1

๖ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๗ 0 0 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 0 1 0 0 0 0 0

๙ ๑๐ ๑๑ 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๘ 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 0 0 0 1 0 0 0 1 0

๓ 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1

๑ 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1

๒ 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้ ก บ หิ จัดก

ด้ ก จัดท บัญชี

๑๒ 1 0 0 1 0 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0

๑๓ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๔ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ผลการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรพย์เพื่อการผลิต (1) กณฑ์ก มิ

แบบราย า การตรวจสุขภาพกลุม่ ออมทรพย์เพือ่ การผลิตจ หว เชย ราย

บี

๑๕ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้

๑๖ 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 1 0 0 0 0 0

ด้ ผล

๑๗ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๘ 1 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0

๑๙ 1 0 0 1 0 0 1 0 0 1 0 1 0 0 1 1 0 0 0

โยช ์ของสม ชิกฯ

ผ่ 17 13 12 19 11 13 15 13 17 18 14 16 14 16 15 15 12 13 12

ไม่ผ่ 2 6 7 0 8 6 4 6 2 1 5 3 5 3 4 4 7 6 7

จ ว ข้อ

สรุปผล รายกลุ่มฯ (2)

36

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


หัวดง ห องหลวง ไชย จ ิญ ห ือ จอ จ ิญ สั ม่วงค ่ บงใต้ ่องคือ ค่ ย จ ิญ วียง ห ือ วียงทอง ดอ มูล ทุ่งงิ ว ม้ ใต้ ทุ่งท ย ่อง ิว ท ยก ด ่ จีใต้ สั ท ยมูล กีย๋ งลุ่ม

20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 45

บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้

ชื่อกลุ่ม

ที่

ต บล

11 ห้วยสัก 16 วียงชัย 17 วียงชัย 4 ดอ ศิล 7 ดอ ศิล 12 ผงม 6 ผงม 5 วียง ห ือ 6 วียง ห ือ 3 มืองชุม 10 มืองชุม 2 สถ 10 สถ 5 วียง 12 วียง 6 ตับ ต่ 19 หง ว 1 สั ท ยง ม 3 แม่ลอย

หมู่ที่

มือง ชียง ย วียงชัย วียงชัย วียงชัย วียงชัย วียงชัย วียงชัย วียงชัย วียงชัย วียงชัย วียงชัย ชียงของ ชียงของ ชียงของ ทิง ทิง ทิง ทิง ทิง

อ ภอ

ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง

ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย

จังหวัด ๔ 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๕ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๖ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๗ 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๙ ๑๐ ๑๑ 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๘ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๓ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑ 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๒ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้ ก บ ิห จัดก

ด้ ก จัดท บัญชี ๑๒ 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๓ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๔ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ผลการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรพย์เพื่อการผลิต (1) กณฑ์ก มิ ๑๖ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้ ผล

๑๕ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้ ๑๗ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1

๑๘ 1 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1

๑๙ 1 0 0 1 0 0 1 0 0 0 0 1 1 1 1 0 0 1 1

ผ่ 12 18 17 19 17 17 18 18 18 18 18 19 19 19 19 17 16 19 19

ไม่ผ่ 7 1 2 0 2 2 1 1 1 1 1 0 0 0 0 2 3 0 0

โยช ์ของสม ชิกฯ จ ว ข้อ

สรุปผล รายกลุ่มฯ (2)

37

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


สบ วก ทุ่งฟ้ ฮ่ ม วียงแก้ว แซว แม่ค กษต สั ตุ ศ ีบญุ ยื ่ ตึง สั กอง แม่ค ่องก๊อ ห้วยม หิ ฝ หัว ิ ค ม่วงค ใหม่ ่ ซ ง ้อย แม่ค ฝั่งหมิ่ สั หลวง โพ ม ห อง ึ๋ง

38 39 40 41 42 43 44 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57

บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้

ชื่อกลุ่ม

ที่

ต บล

1 วียง 5 โย ก 5 ศ ีดอ มูล 1 บ้ แซว 1 ่ สัก 4 โย ก 10 ศ ีดอ มูล 6 ่ แง 2 โ งช้ ง 11 แม่ค 4 แม่ค 14 ่ ตึง 6 จอมสว ค์ 13 แม่ค 5 แม่ค 9 จั จว้ ใต้ 10 จั จว้ ใต้ 8 สั ท ย 5 จั จว้ ใต้

หมู่ที่

ชียงแส ชียงแส ชียงแส ชียงแส ชียงแส ชียงแส ชียงแส ่ แดด ่ แดด แม่จั แม่จั แม่จั แม่จั แม่จั แม่จั แม่จั แม่จั แม่จั แม่จั

อ ภอ

ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง

ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย

จังหวัด ๔ 1 1 1 1 1 0 1 0 0 1 1 0 0 1 0 1 0 1 0

๕ 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๖ 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๗ 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๙ ๑๐ ๑๑ 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๘ 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1

๓ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1

๑ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1

๒ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1

ด้ ก บ ิห จัดก

ด้ ก จัดท บัญชี ๑๒ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1

๑๓ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๔ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ผลการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรพย์เพื่อการผลิต (1) กณฑ์ก มิ ๑๕ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๖ 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

บีย ด้ ผล บฯ

ด้

๑๗ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๘ 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 0

๑๙ 0 0 0 0 0 0 0 1 1 0 1 0 0 0 1 1 1 1 0

โยช ข์ องสม ชิกฯ

ผ่ 17 16 17 15 16 11 17 17 18 18 19 15 13 18 16 19 18 18 17

ไม่ผ่ 0 3 2 4 3 8 2 2 1 1 0 4 6 1 3 0 1 1 2

จ ว ข้อ

สรุปผล รายกลุ่มฯ (2)

38

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


ดง ่ สัก สั สั หลวงใต้ ่ หมือด ุ่ง จ ิญ สั ย ว ่ ลั โ ง่ ทองทิพย์ สั สลี ศ ี วียงทอง โ ง่ ทวี โ ง่ ทวี ่ งิ ว แม่ห่ งใต้ ก สั ู ลย สั ติสขุ แม่ จดีย์ ทุ่ง จ้ ใต้

58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76

บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้

ชื่อกลุ่ม

ที่

ต บล

3 บ้ ด้ ย 2 ก ช้ ง 13 ก ช้ ง 5 วียงพ งค 3 ห้วยไค ้ 3 ท่ ก๊อ 6 ่ แดด 10 ศ ีถอ้ ย 5 สั สลี 10 วียง 2 บ้ โ ง่ 5 บ้ โ ง่ 1 ่ งิ ว 6 วียงก หลง 8 วียงก หลง 16 ่ งิ ว 11 แม่ จดีย์ 3 แม่ จดีย์ใหม่ 18 แม่

หมู่ที่

แม่ส ย แม่ส ย แม่ส ย แม่ส ย แม่ส ย แม่ส วย แม่ส วย แม่ส วย วียง ่ ้ วียง ่ ้ วียง ่ ้ วียง ่ ้ วียง ่ ้ วียง ่ ้ วียง ่ ้ วียง ่ ้ วียง ่ ้ วียง ่ ้ พญ ม็ง ย

อ ภอ

ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง

ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย

จังหวัด ๔ 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๕ 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๖ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๗ 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๙ ๑๐ ๑๑ 1 0 0 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1

๘ 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๓ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑ 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๒ 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้ ก บ ิห จัดก

ด้ ก จัดท บัญชี ๑๒ 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0

๑๓ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๔ 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ผลการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรพย์เพื่อการผลิต (1) กณฑ์ก มิ ๑๖ 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้ ผล

๑๕ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้ ๑๗ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๘ 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 0 0 0

๑๙ 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0

ผ่ 12 17 12 13 16 19 19 19 19 19 19 19 18 19 19 18 18 17 15

ไม่ผ่ 7 2 7 6 3 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 1 2 4

โยช ์ของสม ชิกฯ จ ว ข้อ

สรุปผล รายกลุ่มฯ (2)

39

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


สั ม ิ ห้วยก้ งใหม่ แม่ต๋ ตก ทุ่งท ย ต้ หัวฝ ย พ ต พ ต ต้ หลวง ่ ต ลกล ง ่ ต ลใต้ ่ ต ลใหม่ ย งฮอม ่ แดงใหม่ ห้วย ขุ่ โ ง่ แพ ่ ห องบัว สั ู ลย หัวทุ่ง โ ง่

77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95

บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้

ชื่อกลุ่ม

ที่

ต บล

7 แม่ต๋ 13 ไม้ย 6 ต ดควั 3 หล่ ยง ว 3 ต้ 4 ต้ 11 ต้ 13 ต้ 3 ่ตล 4 ่ตล 10 ่ตล 8 ย งฮอม 21 ย งฮอม 17 แม่ฟ้ หลวง 3 โ ง่ แพ ่ 2 ่ ก่อด 4 บัวสลี 10 ดงม ด 1 ทุ่งก่อ

หมู่ที่

พญ ม็ง ย พญ ม็ง ย พญ ม็ง ย วียงแก่ ขุ ต ล ขุ ต ล ขุ ต ล ขุ ต ล ขุ ต ล ขุ ต ล ขุ ต ล ขุ ต ล ขุ ต ล แม่ฟ้ หลวง แม่ล ว แม่ล ว แม่ล ว แม่ล ว วียง ชียง ุ้ง

อ ภอ

ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง

ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย

จังหวัด ๔ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1

๕ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๖ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๗ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๙ ๑๐ ๑๑ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๘ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๓ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1

๑ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๒ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1

ด้ ก บ ิห จัดก

ด้ ก จัดท บัญชี ๑๒ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๓ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๔ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ผลการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรพย์เพื่อการผลิต (1) กณฑ์ก มิ ๑๖ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้ ผล

๑๕ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้ ๑๗ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๘ 1 1 1 1 0 1 1 0 1 0 1 0 0 1 0 0 1 0 1

๑๙ 1 1 1 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 1

ผ่ 19 19 19 19 18 18 18 17 18 17 18 17 17 18 14 17 19 17 19

ไม่ผ่ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 5 2 0 0 0

โยช ์ของสม ชิกฯ จ ว ข้อ

สรุปผล รายกลุ่มฯ (2)

40

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


2 9 1 11 8 13 12 11 1 8 18 11 9 14 16

หมู่ที่

ทุ่งก่อ ทุ่งก่อ ดงมห วั ดงมห วั ่ซง ่ซง โชคชัย สั กล ง วียงห้ ว ท ต วั มืองพ แม่ออ้ สั ติสขุ ม่วงค ท ยข ว

ต บล

วียง ชียง ุ้ง วียง ชียง ุ้ง วียง ชียง ุ้ง วียง ชียง ุ้ง วียง ชียง ุ้ง วียง ชียง ุ้ง ดอยหลวง พ พ พ พ พ พ พ พ

อ ภอ

ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง ชียง

ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย

จังหวัด

สรุปภาพรวมการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรพย์เพื่อการผลิต รอบท่ 2 ส.ค (3)

ดงชัย ่องบัวทอง ดงมห วั ใหม่ ่องหว ย ห้วยหม ก อียก ิ ไท พัฒ ทุ่งกว งใต้ ่ ดอยง ม ดง วียง ท่ ดีหมี แม่ออ้ หลวง ่ ก่อ สั ผักแคใหม่ โ ง่ ทวี

96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110

บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้ บ้

ชื่อกลุ่ม

ที่ ๕ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๖ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๗ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๙ ๑๐ ๑๑ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๒ 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1

๑๓ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๔ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๖ 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้ ผล

๑๕ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้

สรุปผล รายกลุ่มฯ (2) ๑๗ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๘ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑๙ 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1

ผ่ 19 19 19 19 19 19 17 19 17 19 19 19 19 19 19

ไม่ผ่ 0 0 0 0 0 0 2 0 2 0 0 0 0 0 0

โยช ์ของสม ชิกฯ จ ว ข้อ

110 116 120 107 130 139 131 137 151 149 158 156 175 179 185 179 194 152 153

๔ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๘ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๓ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๑ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

๒ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ด้ ก บ ิห จัดก

ด้ ก จัดท บัญชี

ผลการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรพย์เพื่อการผลิต (1) กณฑ์ก มิ

41

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


42

ประชุมสร้างทีมผู้ตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จานวน 12 คน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการตรวจสุขภาพทางเงินและให้คาแนะนากลุ่มออมทรัพย์ฯ ในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ระหว่างวันที่ 27 – 29 กุมภาพันธ์ 2555 ณ โรงแรมปริ๊นซ์พาเลส มหานาค กรุงเทพฯ

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


43

ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างทีมผู้ตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต วันที่ 6 มีนาคม 2555 ณ.ศาลากลางจังหวัดเชียงราย เพื่อความเข้าใจและสร้างเครือข่ายระดับอาเภอเพื่อเป็นทีมงานในการขับเคลื่อนกิจกรรม การตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


44

คณะกรรมการคัดเลือกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ไปติดตามและดาเนินการพิจารณาคัดเลือกฯ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านสันปูเลย ม. 4 ต. บัวสลี อ. แม่ลาว จ. เชียงราย “ เป็นกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล” ประจาปี 2555 ตามโครงการ...เสริมสร้างกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


45

คณะกรรมการคัดเลือกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ไปติดตามและดาเนินการพิจารณาคัดเลือกฯ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านจอเจริญ ม. 4 ต. ดอนศิลา อ. เวียงชัย จ. เชียงราย “ เป็นกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการบริหารจัดการหนี้นอกระบบดีเด่น” ประจาปี 2555 ตามโครงการ..เสริมสร้างกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


46

คณะกรรมการคัดเลือกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ไปติดตามและดาเนินการพิจารณาคัดเลือกฯ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านใหม่ร่องหวาย ม. 11 ต. ดงมหาวัน อ. เวียงเชียงรุ้ง จ. เชียงราย “ เป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการจัดสวัสดิการชุมชนดีเด่น” ประจาปี 2555 ตามโครงการ..เสริมสร้างกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


47

คณะกรรมการคัดเลือกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ไปติดตามและดาเนินการพิจารณาคัดเลือกฯ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านศรีบุญยืน ม. 10 ต. ศรีดอนมูล อ.เชียงแสน จ. เชียงราย “ เป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการบริการจัดการด้วยระบบคุณธรรมดีเด่น” ประจาปี 2555 ตามโครงการ..เสริมสร้างกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


48

ทีมตรวจสุขภาพฯระดับจังหวัด/อาเภอ  สร้างความเข้าใจ  กลุ่มประเมินตนเองรอบที่ 1  ร่วมกันวิเคราะห์/จัดทาแนวทางการพัฒนากลุ่ม  และ ให้คาแนะนาของทีม...

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


49

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


50

สรุปผลการดาเนินงานโครงการตรวจสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประจาปี 2555


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.