๑
ปัญหาเรื่องพระปาติโมกข์ ตอนที่ ๑ สิ กขาบท พระบัญญัติมาตราหนึ่งๆ เป็ นสิ กขาบทอันหนึ่งๆ สิ กขาบทนั้นทรงตั้งขึ้นด้วยเป็ นพุทธอาณา ที่ได้แก่อาทิ พรหมจริ ยกาสิ กขาก็มี ทรงตั้งขึ้นด้วยเป็ นอภิสมาจาร คือขนบธรรมเนียม ที่ได้แก่อภิสมาจาริ กาสิ กขาก็มี อย่างก่อนนั้น มาในพระปาติโมกข์
มีพระพุทธานุญาตให้สวดในที่ประชุมสงฆ์ทุกกึ่งเดือน อย่างหลังนั้น
มานอกจากพระปาติโมกข์ เว้นไว้แต่ เสขิยวัตร ซึ่ งมาในพระปาติโมกข์ กระทูน้ ้ ีเป็ นสาคัญควรใส่ ใจ ในหนังสื อนี้จกั ตั้งกระทูน้ ้ ีเป็ นหลัก และจักพรรณนาความตามกระทูน้ ้ ี จานวนแห่งสิ กขาบทมาในพระปาติโมกข์มีพอประมาณ จานวนแห่งสิ กขาบทมานอกพระปาติโมกข์มีมากกว่ามาก จนพ้นความใส่ ใจของผูศ้ ึกษา เรี ยกว่าพ้นคณนาก็ได้ นอกจากนี้ยงั มี ข้อปรับอาบัติอนั พระคันถรจนาจารย์ต้ งั เพิ่มเติมเข้าไว้อีก เรี ยกว่า บาลีมุตตกทุกกฏ สิ กขาบทเหล่านี้ ย่อมปรากฏเห็นเป็ นมากจนฟั่นเฝื อ เหลือที่จะประพฤติให้ครบ ทั้งกาลเทศะก็เข้ามาเป็ นเหตุขดั ขวางด้วย ภิกษุท้ งั หลาย จึงได้หาทางหลีกเลี่ยงบ้าง เลิกเสี ย กล่าวคือ ทนเป็ นอาบัติเอาบ้าง เมื่อเลิกอย่างหนึ่งแล้ว ก็ชวนให้เลิกอย่างอื่นต่อไปอีก แม้ยงั ไม่ถึงเวลา พระศาสดาทรงคานึงเห็นเหตุน้ ีแล้ว เมื่อจะนิพพานได้ประทานพระพุทธานุญาตไว้วา่ ถ้าสงฆ์ปรารถนา ก็จงถอนสิ กขาบทเล็กน้อยได้ แต่ก็ไม่มีใครกล้าถอนตรงๆ เพราะเกรงจะไม่สม่าเสมอกัน ซ้ าพระธรรมสังคาหกาจารย์ท้ งั หลายห้ามเสี ย เมื่อครั้งทาประถมสังคายนาด้วย แม้อย่างนั้น ภิกษุท้ งั หลายก็ได้ถอนข้อที่ตนเห็นว่าเล็กน้อยเสี ย แต่ได้ถอนโดยทางอ้อม คือไม่ต้ งั ใจรักษา ทนต้องอาบัติเอา ข้าพเจ้าตรองหาอุบายจะเรี ยงพระวินยั แก้ความฟั่นเฝื อของสิ กขาบททั้งหลายเสี ย เพื่อบารุ งความศึกษาและความปฏิบตั ิของภิกษุท้ งั หลายให้ดีข้ ึนมา คานึงถึงท่าน
๒
จักสิ กขาในฝ่ ายศีลเป็ น ๒ คือ อาทิพรหมจริ ยกาสิ กขาและอภิสมาจาริ กาสิ กขา แล้วนามาเทียบกับสิ กขาบทมาในพระปกติโมกข์และนอกจากนั้น ได้พบว่าลงรอยกัน จึงได้ลงสันนิษฐานว่า จักแต่งพรรณนาตามกระทูข้ า้ งต้น จัดเอาสิ กขาบทมาในพระปาติโมกข์ เป็ นพุทธอาณาที่จะต้องรักษาไว้เป็ นหลัก จัดเอาสิ กขาบทนอกจากนั้นเป็ นอภิสมาจาร คือขนบธรรมเนียมของภิกษุที่จะพึงรักษาตามสามารถ แม้จะขาดตกบกพร่ องบ้าง ก็ไม่ถึงกับเสี ยความเคร่ งหรื อเป็ นอลัชชีดอก แต่ภิกษุที่สมมติวา่ เป็ นพระอริ ยบุคคลแล้ว ยังต้องอาบัติเหมือนกัน จะขอสาธกความนั้นด้วยบาลีในพระสู ตรหนึ่ง ซึ่ งแปลเอาแต่ใจความตามที่ตอ้ งการ ดังนี้ "ภิกษุท้ งั หลาย สิ กขาบท ๑๕๐ ถ้วนนี้ ย่อมมาสู่ อุทเทส [คือความสวดในท่ามกลางสงฆ์]ทุกกึ่งเดือน ที่กุลบุตรทั้งหลาย ผูป้ รารถนาประโยชน์ศึกษากันอยู่ ภิกษุท้ งั หลาย สิ กขานี้มี ๓ ที่สิกขาบททั้งปวงนั้นย่อมรวมกันอยู่ สิ กขา ๓ นั้น คืออะไรบ้าง สิ กขา ๓ นั้น คือ อธิ สีลสิ กขา อธิ จิตตสิ กขา อธิ ปัญญาสิ กขา ภิกษุท้ งั หลาย นี้แล สิ กขา ๓ ที่สิกขาบททั้งปวงนั้นรวมกันอยู่ ภิกษุท้ งั หลาย ภิกษุในธรรมวินยั นี้ เป็ นผูท้ าให้บริ บูรณ์ในศีล เป็ นผูท้ าพอประมาณในสมาธิ เป็ นผูท้ าพอประมาณในปัญญา [คือเป็ นโสดาบัน เป็ นสกทาคามี] บ้างก็มี เป็ นผูท้ าให้บริ บูรณ์ ทั้งในศีล ทั้งในสมาธิ แต่เป็ นผูท้ าพอประมาณในปั ญญา [คือเป็ นอนาคามี] บ้างก็มี เป็ นผูท้ าให้บริ บูรณ์ ทั้งในศีล ทั้งในสมาธิ ทั้งในปั ญญา [คือเป็ นอรหันต์] บ้างก็มี เธอย่อมล่วงสิ กขาบทเล็กน้อยบ้าง ย่อมออกจากอาบัติบา้ ง เหตุไฉนจึงเป็ นอย่างนั้น ภิกษุท้ งั หลาย เหตุวา่ ไม่มีใครกล่าวความเป็ นคนอาภัพ [คือไม่อาจบรรลุโลกุตตรธรรม] เพราะเหตุล่วงสิ กขาบทนี้ ก็แต่วา่ สิ กขาบทเหล่าใด เป็ นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ สมควรแก่พรหมจรรย์ เธอเป็ นผูม้ ีศีลยัง่ ยืน เป็ นผูม้ ีศีลมัน่ คง ในสิ กขาบทเหล่านั้น สมาทานศึกษาอยูใ่ นสิ กขาบททั้งหลาย
๓
ภิกษุท้ งั หลาย ภิกษุผทู ้ าได้ดีเพียงเอกเทศ ย่อมทาได้ดีเพียงเอกเทศ ผูท้ าให้บริ บูรณ์ได้ยอ่ มทาให้บริ บูรณ์ อย่างนี้แล ภิกษุท้ งั หลาย เราจึงกล่าวว่าสิ กขาบททั้งหลาย หาเป็ นหมันไม่" พระสู ตรนี้มาในวรรคที่ ๔ แห่งทุติยปั ณณาสกะติกนิบาต อังคุตตรนิกาย ขึ้นที่หน้า ๓๐๑ แห่งฉบับพิมพ์ของหลวง ผูต้ อ้ งการจงพลิกดูเถิด ตามพระสู ตรนี้ ยังจัดสิ กขาบทที่มาในพระปาติโมกข์เป็ นสาคัญ ที่วา่ เป็ นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์บา้ งก็มี เป็ นสิ กขาบทเล็กน้อยบ้างก็มี ในที่น้ ีจดั เอาสิ กขาบทที่มาในพระปาติโมกข์ท้ งั มวล เป็ นสิ กขาบทสาคัญ ก็กว้างกว่าในพระสู ตรอยูแ่ ล้ว สิ กขาบทมาในพระปาติโมกข์ บาลีพระสู ตรซึ่ งแปลมาไว้ในที่น้ ีแสดงว่า สิ กขาบทมาในพระปาติโมกข์มี ๑๕๐ ถ้วน นับให้ครบจานวนได้ดงั ต่อไปนี้ :ปาราชิก ๔ สั งฆาทิเสส ๑๓ นิสสั คคิยปาจิตตีย์ ๓๐ สุ ทธิกปาจิตตีย์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ อธิกรณสมถะ ๗ รวมเป็ น ๑๕๐ ถ้ วน แต่ในพระปาติโมกข์ที่สวดกันอยู่ และในคัมภีร์วภิ งั ค์แห่งสิ กขาบท แสดงว่า มี ๒๒๗ สิ กขาบท คือเติม อนิยต ๒ เสขิยวัตร ๗๕ ตามนัยนี้สันนิษฐานเห็นว่า ชะรอยเดิมจะมีเพียง ๑๕๐ ถ้วน ตามที่กล่าวไว้ในพระสู ตร ก่อนแต่ทาสังคายนาครั้งใดครั้งหนึ่ง ที่แจกอรรถแห่งสิ กขาบท ซึ่ งเรี ยกว่าบทภาชนะ และสงเคราะห์เข้าเป็ นส่ วนอันหนึ่งแห่งคัมภีร์วภิ งั ค์น้ นั หรื อในครั้งนั้นเองจะได้เติมอนิยต ๒ และเสขิยวัตร ๗๕ เข้าด้วย ความข้อนี้ ก็น่าเห็นจริ งอย่างนั้น อนิยตสิ กขาบทไม่ได้ปรับอาบัติลงเฉพาะเหมือนสิ กขาบทอื่น
เป็ นสิ กขาบทที่แฝงอยูด่ งั กาฝาก
คงจะเกิดขึ้นเพราะเรื่ องภิกษุตอ้ งหาว่าอยูใ่ นที่ลบั กับหญิงสองต่อสอง แต่สันนิษฐานลงเป็ นหนึ่งไม่ได้วา่ ทาอะไรกันบ้างหรื อไม่ ส่ วนเสขิยวัตรนั้นก็มีอยูใ่ นที่อื่นแล้ว คือในวัตตขันธกะคัมภีร์จูฬวรรค และไม่เป็ นข้อใหญ่โตอะไร
๔
เป็ นแต่เพียงอภิสมาจารทั้งไม่ได้ปรับอาบัติไว้เฉพาะด้วย ในที่น้ ีขา้ พเจ้าจักกล่าวสิ กขาบทที่มาในพระปาติโมกข์ ตามนัยที่มาในพระวินยั สิ กขาบทที่มาในพระปาติโมกข์น้ นั ปรับอาบัติแก่ภิกษุผลู ้ ะเมิดไว้ครบทุกชื่อ โดยตรง ๔ คือ ปาราชิก สังฆาทิเสส ปาจิตติยะ อันต่างโดย นิสสัคคิยะ สุ ทธิ กะและปาฏิเทสนียะ โดยอ้อม ๓ คือ ถุลลัจจัย ทุกกฏทุพภาสิ ต สิ กขาบทที่ทรงบัญญัติ ปรับอาบัติสูงกว่าทุกกฏขึ้นไป ต่างว่า มีภิกษุพยายามจะละเมิด แต่ไม่ได้ทาความผิดเต็มดังกล่าวไว้ในสิ กขาบท เช่นพยายามจะฆ่ามนุษย์ และให้ประหารแล้ว แต่เขาไม่ตาย เช่นนี้ จะปรับอาบัติปาราชิกไม่ได้ แต่จะว่าไม่มีโทษก็ไม่ได้เหมือนกัน เพราะเหตุน้ นั ท่านจึงปรับอาบัติหย่อนลงมา เหมือนกฎหมายสาหรับบ้านเมือง ที่วางโทษแก่ผทู ้ าผิดไว้อย่างแรง ถ้าทาผิดไม่ถึงที่ก็ลงโทษหย่อนลงมา พึงเห็นในโทษฆ่าคนนั้นเถิด อาบัติที่ลดจากปาราชิกและสังฆาทิเสส เพราะทาผิดไม่ถึงที่น้ นั ถุลลัจจัยบ้าง ทุกกฏบ้าง อาบัติที่ลดจากปาจิตตียเ์ ว้นโอมสวาท และที่ลดจากปาฏิเทสนียะ มีแต่ทุกกฎ อย่างเดียว อาบัติที่ลดจากโอมสวาทสิ กขาบท มีทุพภาสิ ตด้วย ในเสขิยวัตรข้อหนึ่งๆ มีคาว่า พึงทาความศึกษาอย่างนั้น ๆ อธิ บายตามวิภงั ค์วา่ ถ้าไม่เอื้อเฟื้ อต้องทุกกฏ อาบัติเช่นนี้เรี ยกเอาชื่อวิภงั ค์เข้าประกอบว่า วิภงั คถุลลัจจัย วิภงั คทุกกฏ เพื่อจะให้แปลกจากอาบัติในที่อื่น ส่ วนทุพภาสิ ตนั้นเรี ยกลอย ๆ เพราะมาในวิภงั ค์แห่งเดียว ส่ วนสิ กขาบทเดิมเป็ นต้นเค้านั้นเรี ยกว่ามาติกา ในที่น้ ีกล่าวความแห่งสิ กขาบทหนึ่งแล้ว จักแจกอาบัติในวิภงั ค์น้ นั ด้วย ในที่อนั ควรจะกล่าว ข้าพเจ้าปรารถนาและแสดงสิ กขาบททั้งหลายให้เป็ นหมวดๆ ตามความหมายของสิ กขาบท เพื่อผูศ้ ึกษาจะได้หยัง่ เห็นโทษหนักเบาถนัด แต่การที่ไม่กล่าวตามลาดับในพระปาติโมกข์น้ นั จะให้จาและค้นคว้ายากเหมือนกัน เหตุน้ นั จักกล่าวตามลาดับในพระปาติโมกข์ก่อน แล้วจึงจักจัดเข้าหมวดต่อไป หนังสื อวินยั มุข เล่ม ๑ นี้พระองค์ทรงนิพนธ์ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ปั จจุบนั ใช้เป็ นแบบเรี ยนนักธรรมชั้นตรี ของพระภิกษุสามเณร เป็ นหลักสู ตร ๑๐๐ ปี ไม่มีการปรับปรุ ง จากข้อความในหนังสื อเล่มนี้ที่วา่ “ปาราชิก ๔ สังฆาทิเสส ๑๓
๕
นิสสัคคิยปาจิตตีย ์ ๓๐ สุ ทธิกปาจิตตีย ์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ อธิกรณสมถะ ๗ รวมเป็ น ๑๕๐” สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ท่านไม่นบั อนิยต ๒ กับเสขิยวัตร ๗๕ ก็หมายความว่า ถ้าสวดปาติโมกข์ ๑๕๐ นั้น คือไม่สวดอนิยต ๒ ข้อ กับเสขิยวัตร ๗๕ ข้อ
ต่ อไปขอให้ พจิ ารณาข้ อความจากพระสู ตรทีส่ มเด็จฯ อ้ างจากพระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาฯ ดังนี้ สมัยหนึ่ง พระผูม้ ีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ป่ ามหาวัน เขตกรุ งเวสาลี ครั้งนั้น ภิกษุวชั ชีบุตร รู ปหนึ่งเข้าไปเฝ้ าพระผูม้ ีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วนัง่ ณ ที่สมควร ได้กราบทูลพระผูม้ ีพระภาคดังนี้วา่ “ข้าแต่พระองค์ผเู ้ จริ ญ สิ กขาบท ๑๕๐ ถ้วน นี้มาถึงวาระที่จะยกขึ้นแสดงเป็ นข้อ ๆ ตามลาดับทุกกึ่งเดือน ข้าพระองค์ไม่สามารถศึกษาในสิ กขาบทนี้ได้” พระผูม้ ีพระภาคตรัสว่า “ภิกษุ ก็เธอจักสามารถศึกษาในสิ กขา ๓ คือ อธิสีลสิ กขา อธิจิตตสิ กขา และอธิปัญญาสิ กขาหรื อ ” ภิกษุวชั ชีบุตรนั้นกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผเู ้ จริ ญ ข้าพระองค์สามารถศึกษาในสิ กขา ๓ คือ อธิสีลสิ กขา อธิจิตตสิ กขา และอธิปัญญาสิ กขาได้” พระผูม้ ีพระภาคจึงตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น เธอจงศึกษาในสิ กขา ๓ คือ อธิสีลสิ กขา อธิจิตตสิ กขา และอธิปัญญาสิ กขา เมื่อใดเธอศึกษาอธิสีลสิ กขา อธิจิตตสิ กขา และอธิปัญญาสิ กขา เมื่อนั้นเธอผูศ้ ึกษาอธิ ศีลสิ กขา อธิ จิตตสิ กขา และอธิ ปัญญาสิ กขาอยู่ ก็จกั ละราคะ โทสะ
๖
และโมหะได้ เพราะละราคะ โทสะ และโมหะได้ เธอจักไม่ทากรรมที่เป็ นอกุศล จักไม่ประพฤติสิ่งที่เลวทรามอีก ครั้นต่อมา ภิกษุน้ นั ศึกษาอธิ สีลสิ กขา อธิ จิตตสิ กขา และอธิ ปัญญาสิ กขา เมื่อเธอผูศ้ ึกษาอธิ ศีลสิ กขา อธิ จิตตสิ กขา และอธิ ปัญญาสิ กขาอยู่ ก็ละราคะ โทสะ และโมหะได้ เพราะละราคะ โทสะ และโมหะได้แล้ว เธอจึงไม่ทากรรมที่เป็ นอกุศล ไม่ประพฤติสิ่งที่เลวทรามอีก สู ตรนี้มาในพระไตรปิ ฎก อังคุตตรนิกาย เล่ม ๒๐ ข้อ ๘๕ หน้า ๓๑๐ ฉบับมหาจุฬาฯ เมื่อศึกษาคาอธิ บายในเชิงอรรถที่ท่านทาไว้วา่ “สิ กขาบท ๑๕๐ ถ้วน คือ สมัยที่พระวัชชีบุตรกราบทูลพระผูม้ ีพระภาคนั้น สิ กขาบทที่ทรงบัญญัติไว้ มีเพียง ๑๕๐ ข้อ (องฺ .ติก.อ. (บาลี) ๒/๘๕/๒๔๐)” หมายความ ช่วงที่เกิดเรื่ องนี้ พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทไว้เพียง ๑๕๐ สิ กขาบท
ข้ อความภาษาบาลีจากพระไตรปิ ฎก ดังนี้ สาธิกมิทภนฺ เต ทิยฑฺฒสิ กฺขาปทสตอนฺ วฑฺฒมาสอุทฺเทสอาคจฺฉติ แปลว่า “ข้าแต่พระองค์ผเู ้ จริ ญ สิ กขาบท ๑๕๐ ถ้วน นี้มาถึงวาระที่จะยกขึ้นแสดงเป็ นข้อๆ ตามลาดับทุกกึ่งเดือน” สาธิ ก ท่านแปลว่า ถ้วน ความจริ งควรจะแปลว่า ประมาณ ตามที่พระอรรถกถาจารย์ อธิ บายไว้ ดังนี้ ทิยฑฺ ฒสิ กฺขาปทสตนฺ ติ ปณฺ ณาสาธิ กสิ กฺขาปทสตตสฺ มึ สมเย ปญฺ ญตฺ ตสิ กฺขาปทาเนวสนฺ ธาเยตวุตฺต แปลว่า “คาว่า สิ กขาบท ๑๕๐ ถ้วน (สิ กขาบทประมาณ ๑๕๐ สิ กขาบท) ท่านกล่าวหมายถึงสิ กขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ในครั้งนั้น” ปณฺ ณาสาธิ กสิ กฺขาปทสต แปลตามตัวอักษรว่า ๑๐๐ แห่งสิ กขาบท ยิง่ ด้วย ๕๐ แปลเอาความว่า สิ กขาบทประมาณ ๑๕๐ สิ กขาบท
๗
การที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบท ทรงบัญญัติตามเรื่ องที่ภิกษุท้ งั หลายประพฤติไม่เหมาะสม มิได้ทรงบัญญัติคราวเดียวทั้ง ๑๕๐ สิ กขาบท หรื อทั้ง ๒๒๐ (๒๒๗) สิ กขาบท ต่อไปข้อให้พิจารณาเรื่ องภิกษุที่จะสวดปาติโมกข์ได้ถูกต้อง ตามที่พระอุบาลีกราบทูลถามพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็ นเรื่ องภายหลังจากที่มีเรื่ องสิ กขาบท ๑๕๐ สิ กขาบท
ภิกษุประกอบด้ วยองค์ ๕ จะพึงอยู่โดยไม่ ถือ นิสัยตลอดชี วติ ไม่ ได้ คือ (๑) ไม่รู้อุโบสถ (๒) ไม่รู้อุโบสถกรรม (๓) ไม่รู้ปาติโมกข์ (๔) ไม่รู้ปาติโมกขุทเทส (๕) มีพรรษาหย่อน ๕ คาว่า ไม่รู้ปาติโมกขุทเทส คือไม่รู้ปาติโมกขุทเทส ๕ คือ (๑) นิทานุทเทส (วิธียกเรื่ องต้นเหตุข้ ึนแสดง) (๒) ปาราชิกุทเทส (ยกอาบัติปาราชิก ๔ ข้อขึ้นแสดง) (๓) สังฆาทิเสสุ ทเทส (ยกอาบัติสังฆาทิเสส ๑๓ ข้อขึ้นแสดง) (๔) อนิยตุทเทส (ยกอนิยต ๒ ข้อขึ้นแสดง) (๕) วิตถารุ ทเทส (ยกขึ้นแสดงอย่างพิสดาร คือทั้งหมด ตั้งแต่ปาราชิก ๔ สังฆาทิเสส ๑๓ อนิยต ๒ นิสสัคคีย ์ ๓๐ ปาจิตตีย ์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ เสขิยะ ๗๕) ทั้ง ๕ นี้ ประมวลสิ กขาบทของภิกษุ ๒๒๐ (๒๒๗)ไว้ ในพระวินยั ปิ ฎก เล่ม ๑-๒ ท่านจะใช้คาที่หมายถึงอุทเทส ตั้งแต่ปราราชิกข้อ ๑ จนถึงเสขิยวัตรข้อสุ ดท้าย ดังนี้
๘
เอวญฺ จ ปน ภิกฺขเวอิมสิ กฺขาปทอุทฺทิเสยฺยาถ โย ปน ภิกฺขเุ มถุนธมฺ มปฏิเสเวยฺย ปาราชิโก โหติ อสวาโสติ. แปลว่า (พระผูม้ ีพระภาค) จึงรับสั่งให้ภิกษุท้ งั หลายยกสิ กขาบทนี้ข้ ึนแสดงดังนี้วา่ “ก็ภิกษุใดเสพเมถุนธรรม ภิกษุน้ นั เป็ นปาราชิก หาสังวาสมิได้” เอวญฺ จ ปน ภิกฺขเวอิมสิ กฺขาปทอุทฺทิเสยฺยาถ น อุทเก อคิลาโน อุจฺจาร วา ปสฺ สาว วา เขฬ วา กริ สฺสามีติ สิ กฺขา กรณี ยา น อุทเก อคิลาเนนอุจฺจาโร วา ปสฺ สาโว วา เขโฬ วา กาตพฺโพ โย อนาทริ ยปฏิจฺจอุทเก อคิลาโน อุจฺจาร วา ปสฺ สาว วา เขฬ วา กโรติ อาปตฺ ติ ทุกฺกฏสฺ ส. แปลว่า “พระผูม้ ีพระภาครับสั่งให้ภิกษุท้ งั หลายยกสิ กขาบทนี้ข้ ึนแสดงดังนี้ ภิกษุพึงทาความสาเหนียกว่า เราไม่เป็ นไข้ จักไม่ถ่ายอุจจาระ ปั สสาวะ หรื อบ้วนน้ าลายลงในน้ า ภิกษุไม่เป็ นไข้ ไม่พึงถ่ายอุจจาระ ปั สสาวะ หรื อบ้วนน้ าลายลงในน้ า ภิกษุใดไม่เอื้อเฟื้ อ ไม่เป็ นไข้ ถ่ายอุจจาระ ปั สสาวะ หรื อบ้วนน้ าลายลงในน้ าต้องอาบัติทุกกฏ คาว่า อุทฺทิเสยฺยาถ รากศัพท์เดียวกับคาว่า อุทฺเทสอุทเทส ก็คือ การยกขึ้นแสดง หมายถึงยกสิ กขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติข้ ึนแสดง เมื่อมีคาว่า อุทฺทิเสยฺยาถ ในอาบัติปาราชิกและในเสขิยะ ๗๕ สิ กขาบท ก็หมายความว่าเป็ นอุทเทส คือ พระสงฆ์ตอ้ งนามาสวดในวันปาติโมกข์
ข้ อความสรุ ปจากพระไตรปิ ฎกกับอรรถกถา ดังนี้ การแสดงปาติโมกข์ ๕ คือ ภิกษุสวดนิทานจบแล้ว พึงสวดปาราชิก ๔ จบแล้ว พึงสวดสังฆาทิเสส ๑๓ อนิยต ๒ นิสสัคคิยปาจิตตีย ์ ๓๐ ปาจิตตีย ์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ เสขิยะ ๗๕ อธิกรณสมถะ ๗ สิ กขาบทของพระผูม้ ีพระภาคมีเท่านี้ มาสู่ วาระที่จะยกขึ้นแสดงเป็ นข้อ ๆ ตามลาดับทุกกึ่งเดือน พวกเราทั้งหมด พึงพร้อมเพรี ยงกันร่ วมใจกัน ไม่ววิ าทกัน
๙
ถ้าไม่มีเหตุจาเป็ นสวดปาติโมกข์ไม่ครบ ต้องอาบัติ ตามที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ ดังข้อความ สรุ ปได้วา่ ภิกษุท้ งั หลายทราบว่า “พระผูม้ ีพระภาคทรงอนุญาตยกปาติโมกข์ข้ ึนแสดงโดยย่อ ” จึงยกปาติโมกข์ข้ ึนแสดงโดยย่อทุกครั้ง ภิกษุท้ งั หลายนาเรื่ องนี้ไปกราบทูลพระผูม้ ีพระภาคให้ทรงทราบพระผูม้ ีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุท้ งั หลาย ไม่พึงยกปาติโมกข์ข้ ึนแสดงโดยย่อ ภิกษุสงฆ์หมู่ใดยกขึ้นแสดง ต้องอาบัติทุกกฏ” พระภิกษุที่สวดปาติโมกข์ ๑๕๐ สิ กขาบท จัดว่าสวดย่อ ทุกรู ปต้องอาบัติทุกกฏ ทุกครั้งที่ลงปาติโมกข์
ตอนที่ ๒ ปาติโมกข์ ๑๕๐ สิ กขาบท เอกสมย ภควา เวสาลิย วิหรติ มหาวเน กูฏาคารสาลาย. อถโข อญฺ ญตโร วชฺ ชิปุตฺตโก ภิกฺขุ เยน ภควา เตนุปสงฺ กมิ อุปสงฺ กมิตฺวา ภควนฺ ต อภิวาเทตฺ วา เอกมนฺ ต นิสีทิ เอกมนฺ ต นิสินฺโน โข โสวชฺ ชิปุตฺตโก ภิกฺขภุ ควนฺ ตเอตทโวจสาธิกมิทภนฺ เต ทิยฑฺฒสิ กฺขาปทสตอนฺ วฑฺฒมาสอุทฺเทสอาคจฺฉติ นาหภนฺ เต เอตฺ ถสกฺโกมิ สิ กฺขิตุนฺติ. (องฺ คุตฺตรนิกาย ติกนิปาตปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก-เล่ม ๒๐ ข้อ ๕๒๔ หน้า ๒๙๖)
๑๐
แปลว่า “สมัยหนึ่ง พระผูม้ ีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ป่ ามหาวัน เขตกรุ งเวสาลี ครั้งนั้น ภิกษุวชั ชีบุตรรู ปหนึ่งเข้าไปเฝ้ าพระผูม้ ีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วนัง่ ณ ที่สมควร ได้กราบทูลพระผูม้ ีพระภาคดังนี้วา่ “ข้าแต่พระองค์ผเู ้ จริ ญ สิ กขาบท ๑๕๐ ถ้วนนี้มาถึงวาระที่จะยกขึ้นแสดงเป็ นข้อ ๆ ตามลาดับทุกกึ่งเดือน ข้าพระองค์ไม่สามารถศึกษาในสิ กขาบทนี้ได้” ๑๕๐ สิ กขาบทจะแปลอย่างไร มิใช้ประเด็นสาคัญ ต้องศึกษาประวัติศาสตร์ ช่วงนั้น พระพุทธองค์ทรงบัญญัติสิกขาบทได้จานวน ๑๕๐ สิ กขาบท เพราะเมื่อคราวที่เสด็จไปกรุ งเวสาลีน้ นั เป็ นพรรษาที่ ๕ ดังข้อความว่า ปญฺ จมอนฺ โตวสฺ สเวสาลึ อุปนิสฺสาย มหาวเน กูฏาคารสาลาย แปลว่า พรรษาที่ ๕ ทรงอาศัยกรุ งเวสาลี ประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ป่ ามหาวัน ช่วงนั้นยังมิได้บญั ญัติปาราชิกสิ กขาบท สิ กขาบท ๑๕๐ สิ กขาบทนี้ อาจเป็ นเสขิยสิ กขาบทกับอนิยตสิ กขาบทและปาจิตตียสิ กขาบทก็ได้ เพราะสิ กขาบทที่เป็ นอาบัติหนัก ยังมิได้ทรงบัญญัติ เนื่องจากพระสาวกทั้งหลาย ในช่วงปฐมโพธิ กาล เช่น พระปั ญจวัคคีย ์ พระยสะกับสหาย พระภัททวัคคีย ์ พระอดีตชฎิล ๑๐๐๐ กว่ารู ป พระสารี บุตรพระโมคคัลลานะกับบริ วาร และชาวศากยะที่ไปบวช ๑๐,๐๐๐ รู ปสาเร็ จเป็ น พระอรหันต์หมด ไม่มีท่านใดก่อเรื่ องเสี ยหายให้บญั ญัติปาราชิกสิ กขาบท สังฆาทิเสสสิ กขาบท ดังนั้น กลุ่มภิกษุที่ไม่นาเสขิยวัตรสิ กขาบทมาสวดในวันปาฏิโมกข์ เป็ นกลุ่มภิกษุที่ขาดการศึกษา ไม่รู้วา่ อะไรควรกระทาอะไม่ควรกระทา
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงสิ้ นพระชนม์เมื่อวันที่ ๒ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๔๖๔ สิ ริรวมพระชนมายุได้ ๖๒ พรรษา ครองวัดบวรนิเวศวิหารนาน ๓๐ ปี ดารงตาแหน่งสมเด็จพระสังฆราชอยู่ ๑๐ ปี ๗ เดือน
๑๑
พระองค์ทรงนิพนธ์หนังสื อทางพระพุทธศาสนาจานวนหลายเรื่ อง ซึ่ งใช้เป็ นตาราเรี ยนนักธรรม หนังสื อเรี ยน ซึ่ งพระองค์นิพนธ์ไว้น้ นั พระองค์ได้ทรงเปิ ดช่องไว้ให้วนิ ิจฉัย เช่นที่ทรงฝากให้วนิ ิจฉัยว่า “ข้อนี้(คือเรื่ องที่ภิกษุปักเขตรุ กที่ดินต้องอาบัติถึงที่สุดในขณะทาเสร็ จโดยที่เจ้าของที่ดิน ไม่รู้) พระวินยั ธรพึงพิจารณาดูเถิด ”(วินยั มุข (เล่ม ๑) หลักสู ตรนักธรรมชั้นตรี , พิมพ์ครั้งที่ ๓๙, กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย , ๒๕๔๑, หน้า ๓๓.) “ข้าพเจ้าขอฝากความเรื่ องนี้(คือเรื่ องที่ภิกษุเข้าไปในเรื อนที่ สโภชเน : สามีภรรยาอยูด่ ว้ ยกัน แล้วท่านอธิ บายว่าเขารับประทานอาหารกันอยู)่ ไว้เพื่อพระวินยั ธรสอดส่ องต่อไป”(วินยั มุข เล่ม ๑ หลักสู ตรนักธรรมชั้นตรี , พิมพ์ครั้งที่ ๓๙, กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย , ๒๕๔๑, หน้า ๑๕๕.) มีประกาศรณรงค์ฉบับหนึ่ง โดย RittiJansonไม่ทราบประกาศออกมาได้อย่างไร ไม่มีความรู ้ทางประวัติศาสตร์ การแปลพระไตรปิ ฎกภาษาไทยเลย คือ ข้อความในประกาศตอนหนึ่งว่า “พระเถรานุเถระผูแ้ ปลพระไตรปิ ฎกภาษาไทยรวมไปถึงสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญา ณวโรรส” ผูป้ ระกาศพยายามดึงฟ้ าลงมา คือ พยายามนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส มารวมกลุ่มกรรมการแปลพระไตรปิ ฎก ก็สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระองค์สิ้นพระชนม์ไปเมื่อวันที่ ๒ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๔๖๔ แล้วพระองค์จะมาทรงเป็ นประธานแปลพระไตรปิ ฎกภาษาไทยได้อย่างไร พระไตรปิ ฎกภาษาไทยนั้น ดาเนินการแปลเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงแสดงพระวินิจฉัยอะไรไว้ พระองค์ก็ทรงประทานโอกาสให้ผรู ้ ู ้ในภายหลังได้วนิ ิจฉัยกันต่อ ดังข้อความที่ขา้ พเจ้านามากล่าวข้างต้น ผูท้ ี่ใช้นามว่า RittiJansonไม่ทราบกระทัง่ ประวัติศาสตร์ ในเรื่ องนี้
๑๒
แล้วจะมีความรู ้ในเรื่ องประวัติศาสตร์ เรื่ องความเป็ นมาแห่งการสวดปาติโมกข์(ปาฏิโมกข์)ได้อย่าง ผูท้ ี่ใช้นามว่า RittiJansonกาลังตกอยูใ่ นลัทธิ อาจริ ยวาท โดยไม่รู้สึกตัว หรื อผูท้ ี่ใช้นามว่า RittiJansonอาจยินยอมเป็ นบุคคลประเภท ละทิ้งหลักการเพื่อป้ องตนและพรรคพวกตน ตามอาจารย์เจ้าลัทธิ ก็เป็ นได้ คาที่ภิกษุชาววัชชีกราบทูลพระพุทธเจ้าว่า “สาธิกมิทภนฺ เต ทิยฑฺฒสิ กฺขาปทสตอนฺ วฑฺฒมาสอุทฺเทสอาคจฺฉติ ” (องฺ คุตฺตรนิกาย ติกนิปาตปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏกเล่ม ๒๐ ข้อ ๕๒๔ หน้า ๒๙๖) แปลโดยพยัญชนะว่า “ข้าแต่พระองค์ผเู ้ จริ ญ อ. ๑๐๐ แห่งสิ กขาบทที่สองด้วยทั้งกึ่งนี้ กับ(สิ กขาบท)ที่ยงิ่ ย่อมมาสู่ อุทเทส(คือการยกขึ้นสวด) สิ้ นเดือนด้วยทั้งกึ่งตามลาดับ ” ผูท้ ี่มิได้ศึกษาภาษาบาลี จะได้เคยได้สัมผัสคาแปลแบบนี้ ผูท้ ี่ไปเป็ นกรรมการแปลพระไตรปิ ฎก เข้าใจคาแปลอย่างนี้ดี และทราบด้วยว่า จะแปลโดยอรรถ คือแปลแบบเอาความอย่างไร การแปลแบบเอาความนั้น บางคราวผูแ้ ปลไม่ใส่ ใจกับหลักการแปล เช่น คาว่า สาธิ ก ซึ่ งประกอบขึ้นจากคาว่า สห แปลว่า กับ,พร้อม อธิ ก ยิง่ ,เกิน,เพิ่มขึ้น ประเด็นที่วา่ “ทิยฑฺฒสิ กฺขาปทสตอนฺ วฑฺฒมาสอุทฺเทสอาคจฺฉติ สิ กขาบท ๑๕๐ สิ กขาบท ย่อมมาสู่ อุทเทสทุกกึ่งเดือน” นั้นหมายความว่า สิ กขาบท ๑๕๐ สิ กขาบทนี้ สาธิ ก กับสิ กขาบทที่เพิ่มขึ้นอีก ย่อมได้รับการยกขึ้นสวดทุก ๑๕ วัน ที่เป็ นวันอุโบสถ การที่พระสาวกนาสิ กขาบทมาสวดนั้น มีสิกขาบทเท่าไรก็สวดเท่านั้น เมื่อพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติเพิ่มขึ้น ก็นามาสวดเพิ่มขึ้น และข้อความที่สวดก็แตกต่างกัน เช่น เมื่อพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติปาราชิกสิ กขาบทครั้งแรกว่า “เอวญฺ จ ปน ภิกฺขเวอิมสิ กฺขาปทอุทฺทิเสยฺยาถ โย ปน ภิกฺขเุ มถุนธมฺ มปฏิเสเวยฺย ปาราชิโก โหติ อสวาโสติ ” (วินยปิ ฏก มหาวิภงฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๑ หน้า ๓๗) แปลว่า “(พระผูม้ ีพระภาค)รับสั่งว่า ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย เธอทั้งหลาย พึงยกสิ กขาบทนี้ข้ ึนสวดอย่างนี้วา่ ก็ภิกษุใด พึงเสพเมถุน (ภิกษุน้ ี) ย่อมเป็ นปาราชิก หาสังวาสมิได้”
๑๓
พระสาวกที่สวดปาติโมกข์ก็สวดสิ กขาบทนี้เท่านี้ ต่อมีเรื่ องเกิดขึ้นเป็ นเหตุให้พระพุทธองค์ทรงบัญญัติสิกขาบทนี้ให้รัดกุมยิง่ ขึ้น พระสาวกที่นาสิ กขาบทนี้มาสวด ก็ตอ้ งสวดเพิ่มข้อความ เช่น ข้ อทีพ่ ระพุทธองค์ ทรงบัญญัติปาราชิ กสิ กขาที่ ๑ เป็ นครั้งที่ ๒ ว่า “เอวญฺ จ ปน ภิกฺขเวอิมสิ กฺขาปทอุทฺทิเสยฺยาถ โย ปน ภิกฺขเุ มถุนธมฺ มปฏิเสเวยฺยอนฺ ตมโสติรจฺฉานคตายปิ ปาราชิโก โหติ อสวาโสติ ” (วินยปิ ฏก มหาวิภงฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๑ หน้า ๔๐) แปลว่า “(พระผูม้ ีพระภาค)รับสัง่ ว่า ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย เธอทั้งหลาย พึงยกสิ กขาบทนี้ข้ ึนสวดอย่างนี้วา่ ก็ภิกษุใด พึงเสพเมถุนโดยที่สุดแม้กบั สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย (ภิกษุน้ ี) ย่อมเป็ นปาราชิก หาสังวาสมิได้” พอเกิดเรื่ องภิกษุเสพเมถุนอีก พระพุทธองค์ก็ทรงบัญญัติเพิ่มเป็ นครั้งที่ ๓ ว่า “เอวญฺ จ ปน ภิกฺขเวอิมสิ กฺขาปทอุทฺทิเสยฺยาถ โย ปน ภิกฺขิกุ ฺขนู สิ กฺขาสาชีวสมาปนฺ โน สิ กฺขอปฺปจฺจกฺขาย ทุพฺพลฺ ยอนาวิกตฺ วา เมถุนธมฺ มปฏิเสเวยฺยอนฺ ตมโสติรจฺฉานคตายปิ ปาราชิโก โหติ อสวาโสติ ” (วินยปิ ฏก มหาวิภงฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๑ หน้า ๔๒) แปลว่า “(พระผูม้ ีพระภาค)รับสั่งว่า ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย เธอทั้งหลาย พึงยกสิ กขาบทนี้ข้ ึนสวดอย่างนี้วา่ ก็ภิกษุใด ถึงพร้อมด้วยสิ กขาและสาชีพ มิได้บอกคืนสิ กขา มิได้เปิ ดเผยความเป็ นผูท้ อ้ แท้ พึงเสพเมถุนโดยที่สุดแม้กบั สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย (ภิกษุน้ ี) ย่อมเป็ นปาราชิก หาสังวาสมิได้” เมื่อบัญญัติเพิ่ม ก็ตอ้ งสวดเพิ่ม กรณี จานวนสิ กขาบทก็เช่นกัน เมื่อพระองค์ทรงบัญญัติจาก ๑๕๐ สิ กขาบท เป็ น ๒๒๐ สิ กขาบท ก็ตอ้ งสวดทั้ง ๒๒๐ สิ กขาบท พร้อมกับสวดอธิ กรณสมถะอีก ๗ รวมเป็ น ๒๒๗ ข้อ ผูท้ ี่ศึกษาพระไตรปิ ฎกเป็ นบางส่ วน ก็มกั ถือปฏิบตั ิเป็ นบางส่ วน เมื่อมีความผิดทางพระวินยั คือ ผิดศีล กลุ่มภิกษุผทู ้ ี่กระทาไป ก็ถือว่า เป็ นผูม้ ีศีลด่างพร้อย ศีลไม่สมบูรณ์
๑๔
เมื่อมีเรื่ องเกิดขึ้น พระพุทธองค์ก็ทรงบัญญัติสิกขาบทเพิ่มอีก และสิ กขาบทนั้นๆ ก็มาสู่ การที่ภิกษุผสู ้ วดสิ กขาบทจะต้องนามาสวด ดังข้อความว่า “อิเม โข ปนายสฺ มนฺ โต เทฺวอนิตา ธมฺ มา อุทฺเทสอาคจฺฉนฺ ติ. ” (วินยปิ ฏก มหาวิภงฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๑ หน้า ๔๓๑) พระองค์รับสั่งให้ภิกษุท้ งั หลายสวด ดังข้อความว่า “เอวญฺ จ ปน ภิกฺขเวอิมสิ กฺขาปทอุทฺทิเสยฺยาถ โย ปน ภิกฺขุ มาตุคาเมน สทฺธึ เอโก เอกาย รโห ปฏิจฺฉนฺ เนอาสเนอลงฺ กมฺ มนิเย นิสชฺ ชกปฺเปยฺยตเมนสทฺเธยฺยวจสา อุปาสิ กา ทิสฺวา ติณฺณธมฺ มานอญฺ ญตเรนวเทยฺย ปาราชิเกน วา สงฺ ฆาทิเสเสน วา ปาจิตฺติเยน วา นิสชฺ ชภิกฺขปุ ฏิชานมาโน ติณฺณธมฺ มานอญฺ ญตเรนกาเรตพฺโพ ปาราชิเกน วา สงฺ ฆาทิเสเสน วา ปาจิตฺติเยน วา เยน วา สา สทฺเธยฺยวจสา อุปาสิ กา วเทยฺยเตนโสภิกฺขกุ าเรตพฺโพ. อยธมฺ โม อนิยโตติ. ” (วินยปิ ฏก มหาวิภงฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๑ หน้า ๔๓๒-๔๓๓) ภิกษุกลุ่มใดไม่นาอนิยตสิ กขาบทมาสวด ก็ถือว่า ไม่ปฏิบตั ิตามที่พระพุทธเจ้ารับสัง่ ให้นามาสวด ก็ตอ้ งอาบัติทุกครั้งที่ลงปาติโมกข์แล้วไม่สวดอนิยตสิ กขาบท ๔ สิ กขาบท เมื่อมีเรื่ องเกิดขึ้น อันเป็ นเหตุให้พระพุทธองค์ทรงบัญญัติเสขิยวัตรสิ กขาบท สิ กขาบทเหล่านั้น ก็มาสู่ การที่ภิกษุผสู ้ วดสิ กขาบทจะต้องนามาสวด ดังข้อความว่า อิเม โข ปนายสฺ มนฺ โต เสขิยา ธมฺ มา อุทฺเทสอาคจฺฉนฺ ติ. (วินยปิ ฏก มหาวิภงฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๒ หน้า ๕๓๑) พระองค์รับสั่งให้ภิกษุท้ งั หลายสวด ดังข้อความว่า เอวญฺ จ ปน ภิกฺขเวอิมสิ กฺขาปทอุทฺทิเสยฺยาถปริ มณฺ ฑล นิวาเสสฺ สามีติ สิ กฺขา กรณี ยา. (วินยปิ ฏก มหาวิภงฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๒ หน้า ๕๓๒) ภิกษุกลุ่มใดไม่นาเสขิยวัตรสิ กขาบท ๗๕ สิ กขาบทมาสวด ก็ถือว่า ไม่ปฏิบตั ิตามข้อบัญญัติที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้
๑๕
ตอนที่ ๓ ปาติโมกข์ ๑๕๐ สิ กขาบท
๑๖
ข้าพเจ้าขอนาท่านทั้งหลายค้นคว้าศึกษาตรวจสอบเทียบเคียงตามหลักมหาปเทสที่พระพุ ทธองค์วางหลักการไว้ คือ ศึกษาเรื่ องที่พระพุทธองค์ทรงอธิบายวิธีสวดปาติโมกข์ เป็ นพุทธพจน์ สังเกตได้จากข้อความที่มีคาว่า ภิกฺขเว ซึ่ งเป็ นถ้อยคาที่พระพุทธองค์ทรงใช้เรี ยกภิกษุท้ งั หลาย ดังข้อความต่อไปนี้ ปญฺ จิเม ภิกฺขเว ปาติโมกฺขทุ ฺเทสา นิทานอุทฺทิสิตฺวา อวเสส สุ เตน สาเวตพฺพอยปฐโม ปาติโมกฺขทุ ฺเทโส. นิทานอุทฺทิสิตฺวา จตฺ ตาริ ปาราชิกานิ อุทฺทิสิตฺวา อวเสส สุ เตน สาเวตพฺพอย ทุติโย ปาติโมกฺขทุ ฺเทโส. นิทานอุทฺทิสิตฺวา จตฺ ตาริ ปาราชิกานิ อุทฺทิสิตฺวา เตรส สงฺ ฆาทิเสเส อุทฺทิสิตฺวา อวเสส สุ เตน สาเวตพฺพอยตติโย ปาติโมกฺขทุ ฺเทโส. นิทานอุทฺทิสิตฺวา จตฺ ตาริ ปาราชิกานิ อุทฺทิสิตฺวา เตรส สงฺ ฆาทิเสเส อุทฺทิสิตฺวา เทฺวอนิยเต อุทฺทิสิตฺวา อวเสส สุ เตน สาเวตพฺพอยจตุตฺโถ ปาติโมกฺขทุ ฺเทโส. วิตฺถาเรเนวปญฺ จโม. อิเม โข ภิกฺขเวปญฺ จ ปาติโมกฺขทุ ฺเทสาติ (วินยปิ ฏกมหาวคฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๔ หน้า ๒๒๐-๒๒๑) พระผู้มีพระภาคตรัสว่ า “ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย การยกปาติโมกข์ ขนึ้ แสดง ๕ หมวดนี้ คือ ภิกษุยกนิทานขึ้นแสดงจบแล้ว พึงสวดอุทเทสที่เหลือด้วยสุ ตบทนี้เป็ นการยกปาติโมกข์หมวดที่ ๑ ยกนิทานขึ้นแสดง ยกปาราชิก ๔ ขึ้นแสดงจบแล้วพึงสวดอุทเทสที่เหลือด้วยสุ ตบท นี้เป็ นการยกปาติโมกข์หมวดที่ ๒ ยกนิทานขึ้นแสดง ยกปาราชิก ๔ ขึ้นแสดง ยกสังฆาทิเสส ๑๓ ขึ้นแสดงจบแล้วพึงสวดอุทเทสที่เหลือด้วยสุ ตบท นี้เป็ นการยกปาติโมกข์หมวดที่ ๓ สุ ตบทในอีก ๔ วิธีที่เหลือ มีนยั เหมือนกับวิธีที่ ๑ เพียงแต่ยกขึ้นแสดงจบตอนใดแล้ว ก็ไม่ตอ้ งประกาศตอนนั้นไว้ในสุ ตบทอีก ยกนิทานขึ้นแสดง ยกปาราชิก ๔ ขึ้นแสดง ยกสังฆาทิเสส ๑๓ ขึ้นแสดง ยกอนิยต ๒ ขึ้นแสดงจบแล้วพึงสวดอุทเทสที่เหลือด้วยสุ ตบท นี้เป็ นการยกปาติโมกข์หมวดที่ ๔
๑๗
ยกขึ้นแสดงโดยพิสดารทั้งหมด นี้เป็ นการยกปาติโมกข์ข้ ึนแสดงหมวดที่ ๕ ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย การยกปาติโมกข์ข้ ึนแสดง ๕ หมวดนี้แล” จากข้อความนี้ หมายความว่าการยกปาติโมกข์ข้ ึนแสดงนั้น ก็คือ สวดนิทานุทเทสแล้วสวดปาราชิก ๔ สิ กขาบท สวดสังฆาทิเสสุ ทเทส ๑๓ สิ กขาบท สวดอนิยต ๒ สิ กขาบท สวดวิตถาร คือ สวดที่เหลือ ได้แก่ นิสสัคคีย ์ ๓๐ สิ กขาบท ปาจิตตีย ์ ๙๒ สิ กขาบท เสขิยวัตร ๗๕ สิ กขาบท สวดอธิกรณสมถะ ๗ ข้อ ข้อความปาติโมกขุทเทส ๕ นี้มีระบุชดั เจนว่า สวดอนิยตสิ กขาบทที่กลุ่มวัดนาป่ าพงไม่สวดกัน วิตถารุ ทเทส แม้จะไม่ระบุก็ทราบได้โดยนัย หรื อตามที่อรรถกถาอธิบาย การจะสวดเพียงอุทเทสต้นๆ แล้วไม่สวดอุทเทสหลังๆ ก็สามารถสวดได้ ในเมื่อมีเหตุให้สวดต่อไม่ได้ เช่น เกิดไฟไหม้ เหตุที่ให้สวดปาติโมกข์ยอ่ มี ๑๐ อย่าง ถ้าไม่มีเหตุ ๑๐ อย่าง ภิกษุพากันสวดย่อ ต้องอาบัติ ดังข้อความที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า “น ภิกฺขเวสงฺ ขิตฺเตน ปาติโมกฺขอุทฺทิสิตพฺพ โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺ ติ ทุกฺกฏสฺ ส”(วินยปิ ฏกมหาวคฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๔ หน้า ๒๒๑) แปลว่า “ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย สงฆ์(ผูท้ าปาติโมกข์)ไม่พึงสวดปาติโมกข์ยอ่ สงฆ์หมู่ใด พึงสวดย่อ ต้องอาบัติทุกกฏ” ที่ใช้ประธานเป็ นสงฆ์แม้ผสู้ วดจะเป็ นภิกษุรูปเดียว ก็เพราะการทาอุโบสถนั้น กระทาโดยสงฆ์ ในภาษาบาลี มิได้ระบุประธานไว้ แต่นิยมแปลใช้ภิกษุเป็ นประธาน เมื่อศึกษารายละเอียดเรื่ องสวดปาติโมกข์ที่ปรากฏในพระวินยั ปิ ฎกแล้ว กลุ่มภิกษุที่สวดปาติโมกข์เพียง ๑๕๐ สิ กขาบท ต้องทบทวนการกระทาของพวกตนแล้ว พวกท่านปฏิญาณตนเป็ นภิกษุในฝ่ ายพระพุทธศาสนาเถรวาท แต่ไม่ถือปฏิบตั ิตามหลักการที่ปรากฏในพระวินยั ปิ ฎก
๑๘
ข้าพเจ้าขอพาท่านผูส้ นใจศึกษาตรวจสอบคุณสมบัติภิกษุที่สมควรจะเป็ นที่อาศัยให้ภิก ษุอื่นเรี ยนรู้แล้วปฏิบตั ิตามในเรื่ องปาติโมกข์ โดยตรวจสอบในพระวินยั ที่เป็ นหลักการทางพระวินยั การที่ภิกษุท้ งั หลายที่ยงั ไม่รอบรู ้ในพระธรรมวินยั จะอิงอาศัยภิกษุอื่นเป็ นอาจารย์สงั่ สอนเรี ยนรู ้แล้วถือปฏิบตั ิ ภิกษุที่ตนจะอาศัยอยูเ่ รี ยนรู ้ปฏิบตั ิตาม โดยเฉพาะเรื่ องสวดปาติโมกข์น้ นั พระพุทธเจ้าทรงกาหนดคุณสมบัติไว้ ดังข้อความที่พระอุบาลีกราบทูลถาม พระพุทธเจ้าตรัสตอบ ขอสรุ ปมาให้ศึกษา ดังนี้ ยาวชีว นานิสฺสิเตนวตฺ ถพฺพ. … อุโปสถ น ชานาติ อุโปสถกมฺ ม น ชานาติ ปาติโมกฺข น ชานาติ ปาติโมกฺขทุ ฺเทส น ชานาติ (วินยปิ ฏก ปริ วารปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๘ ข้อ หน้า ๔๔๒) ภิกษุที่จะพึงอยูโ่ ดยไม่ถือนิสัยไม่ได้ จนตลอดชีวติ คือ ภิกษุที่ไม่รู้อุโบสถ ไม่รู้อุโบสถกรรม ไม่รู้ปาติโมกข์ ไม่รู้ปาติโมกขุทเทส จากข้อความนี้ หมายความว่า ภิกษุที่วางตนเป็ นครู อาจารย์ แต่ไม่รู้เรื่ องดังกล่าวนั้น จะอยูต่ ามลาพังโดยไม่อาศัยครู อาจารย์ที่มีความรู ้คอยแนะนาไม่ได้ เมื่อตนเองไม่รอบรู ้อยูเ่ ป็ นครู อาจารย์ให้ภิกษุท้ งั หลายอาศัยเรี ยนรู ้ปฏิบตั ิตาม จะเกิดอะไรขึ้น ก็น่าจะเกิดมิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณ เมื่อมีผอู ้ า้ งพระสู ตรว่า สิ กขาบทที่มาสู่ อุทเทส คือ ที่พึงนามาสวดในวันปาติโมกข์มี ๑๕๐ สิ กขาบท เราก็ยงั ไม่พึงเชื่อและไม่พึงคัดค้าน เราพึงตรวจสอบดูในพระวินยั ตามที่พระพุทธเจ้าทรงแนะนาไว้ในพระสุ ตตันตปิ ฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้าพเจ้าขอนาท่านผูส้ นใจศึกษาตรวจสอบเทียบเคียงตามหลักการมหาปเทส โดยตรวจสอบในพระวินยั ปิ ฎกก่อน ในคัมภีร์พระวินยั ปิ ฎก มหาวิภงั ค์ เล่ม ๑-๒ มีสิกขาบทที่พระพุทธองค์ทรงรับให้พระสาวกทั้งหลายนามาสวดทุกกึ่งเดือนจานวน ๒๒๐ สิ กขาบท รวมอธิกรณสมถะอีก ๗ ข้อเป็ น ๒๒๗ สิ กขาบท/ข้อ คือ ปาราชิก ๔ สิ กขาบท
๑๙
สังฆาทเสส ๑๓ สิ กขาบท อนิยต ๒ สิ กขาบท นิสสัคคีย ์ ๓๐ สิ กขาบท ปาฏิเทสนียะ ๔ สิ กขาบท ปาจิตตีย ์ ๙๒ สิ กขาบท เสขิยวัตร ๗๕ สิ กขาบท อธิกรณสมถะ ๗ ข้อ รวม ๒๒๗ สิ กขาบท/ข้อ ในสังคมไทยเรี ยกว่า ๒๒๗ สิ กขาบท ทุกข้อพระพุทธองค์ทรงใช้คาว่า เอวญฺ จ ปน ภิกฺขเวอิมสิ กฺขาปทอุทฺทเสยฺยาถ (พระวินยปิ ฏก มหาวิภงฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๑ หน้า ๔๒) แปลว่าดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย พวกเธอพึงยกสิ กขาบทนี้ข้ ึนแสดงอย่างนี้ จนถึงเสขิยวัตรสิ กขาบทที่ ๗๕ ดังข้อความว่า เอวญฺ จ ปน ภิกฺขเวอิมสิ กฺขาปทอุทฺทเสยฺยาถ น อุทเก อคิลาโน อุจฺจาร วา ปสฺ สาว วา เขฬ วา กริ สฺสามีติ สิ กฺขา กรณี ยา (พระวินยปิ ฏก มหาวิภงฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๒ หน้า ๕๗๐) ข้อความนี้เป็ นพระพุทธพจน์ คือถ้อยคาที่พระพุทธเจ้าทรงรับสั่งให้ภิกษุท้ งั หลายนาสิ กขาบทบัญญัติหา้ มภิกษุที่ไม่อาพาธถ่ายอุจจ าระปั สสาวะหรื อบ้วนน้ าลายลงในน้ า แต่พระคึกฤทธิ์ โสตฺ ถิผโล ไม่นามาสวด เมื่อตรวจสอบอย่างนี้แล้ว ท่านทั้งหลายจะเชื่อพระวินยั ปิ ฎกที่บนั ทึกพระพุทธวจนะ หรื อจะเชื่อพระคึกฤทธิ์ ที่อา้ งพระสู ตรเพียง ๓ หน้ากระดาษ ท่านทั้งหลายต้องใช้โยนิโสมนสิ การในเรื่ องนี้ ขออาราธนานิมนต์กลุ่มภิกษุที่ถือตามพระคึกฤทธิ์ โสตฺ ถิผโล สวดปาติโมกข์เพียง ๑๕๐ สิ กขาบทที่พอมีพ้นื ความรู ้ภาษาบาลีเปิ ดพระวินยั ปิ ฎกภาษาบาลีตรวจสอบดูดว้ ยตนเอง พระคึกฤทธิ์ โสตฺ ถิผโล วัดนาป่ าพง อ้างพระสู ตรยืนยันว่า สิ กขาบทมี ๑๕๐ สิ กขาบทมิใช่ ๒๒๗ สิ กขาบท คือท่านอ้างข้อความว่า สาธิกมิทภิกฺขเวทิยฑฺฒสิ กฺขาปทสตอนฺ วฑฺฒมาสอุทฺเทสอาคจฺฉติ (สุ ตฺตนฺ ตปิ ฏกองฺ คุตฺตรนิกาย ติกนิปาตปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๒๐ ข้อ ๕๒๖ หน้า ๒๙๗) ตามหลักการสายเถรวาทนั้นเมื่อมีการอ้างว่า สิ กขาบท ๑๕๐ สิ กขาบทเท่านั้น เป็ นสิ กขาบทที่พระภิกษุผลู ้ งปาติโมกข์พึงนามาสวด แต่พระภิกษุทวั่ ไปสวดกัน ๒๒๗ สิ กขาบท เมื่อมีเรื่ องอย่างนี้ พระวินยั ธร ผูภ้ ิกษุทรงพระวินยั ผูเ้ ป็ นพหูสูต มีความรู ้เชี่ยวชาญในพระไตรปิ ฎก จะดาเนินการตรวจสอบ สุ ตตะ สุ ตตานุโลม อาจริ ยวาท แล้วจึงค่อยแสดงอัตโนมัติ เมื่อตรวจสอบอาจริ ยวาท คือ คาอธิบายในคัมภีร์อรรถกถา
๒๐
ที่พระสาวกผูม้ ีอายุในช่วงใกล้พระพุทธเจ้ามากกว่าพวกเราชาวสยามประเทศแล้วพบว่า ท่านเล่าว่า ช่วงนั้น ประมาณพรรษาที่ ๕ พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทได้เพียง ๑๕๐ สิ กขาบทและก็ทรงบัญญัติเพิ่มขึ้นอีก เพราะมีภิกษุประพฤติเสี ยหายเป็ นเหตุให้บญั ญัติเพิ่ม เรื่ องนี้ตอ้ งตรวจสอบสุ ตตะ สุ ตตานุโลมคือพระไตรปิ ฎกหลายเล่ม รวมทั้งอาจริ ยวาทอีกหลายเล่ม ผูไ้ ม่ได้สัมผัสคัมภีร์บาลีจะมึนงงเวียนศีรษะ บทพยัญชนะที่แสดงให้เห็นว่ามีการบัญญัติสิกขาบทเพิ่ม คือภาษาบาลีวา่ สาธิ ก มาจาก สห+อธิก ผูไ้ ม่พ้นื ความรู ้ทางภาษาบาลี ตีความไม่ออก พระวินยั ปิ ฎก มหาวิภงั ค์ พระไตรปิ ฎก ที่พระสาวกทั้งหลายรวบรวมสิ กขาบท จากที่ท่านทั้งหลายรับฟัง ทรงจา สัง่ สอนกันต่อมา ผ่านศรี ลงั กา มาสู่ พม่า ไทย เขมร ลาว เป็ นพระไตรปิ ฎก ของฝ่ ายเถรวาท ที่ชาวพุทธผูค้ งแก่เรี ยนในโลกพระพุทธศาสนา ยอมรับกันว่า เป็ นคัมภีร์เก่าแก่ด้ งั เดิม แม่นยาที่สุด ก็ปรากฏมีเสขิยวัตรสิ กขาบทที่ ๗๕ เป็ นสิ กขาบทที่ ๒๒๐ พระพุทธเจ้าก็ทรงรับสั่งให้ภิกษุท้ งั หลายในครั้งพุทธกาลยกขึ้นสวดในวันปาติโมกข์ ดังข้อความ “เอวญฺ จ ปน ภิกฺขเวอิมสิ กฺขาปทอุทฺทิเสยฺยาถ น อุทเก อคิลาโน อุจฺจาร วา ปสฺ สาว วา เขฬ วา กริ สฺสามีติ สิ กฺขา กรณี ยา” (วินยปิ ฏก. มหาวิภงฺ คปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๒ ข้อ ๘๗๙ หน้า ๕๗๐) ดูกรภิกษุท้ งั หลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิ กขาบทนี้ข้ ึนแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้ ภิกษุพึงทาความศึกษาว่า เราไม่อาพาธ จักไม่ถ่ายอุจจาระ ปั สสาวะ หรื อบ้วนเขฬะ ในน้ า. (พระไตรปิ ฎกฉบับหลวง พระวินยั ปิ ฎก มหาวิภงั ค์ ทุติภาค เล่ม ๒- หน้า ๗๑๔ ฉบับพิมพ์เผยแพร่ ปี ๒๕๒๕) พระสาวกทั้งหลายในครั้งพุทธกาลยกขึ้นสวดทั้ง ๒๒๐ สิ กขาบท ล่วงเลยมา ๒๕๐๐ กว่าปี ผูท้ ี่เข้ามาบวชเป็ นภิกษุสวดกันไม่ไหวเลยอ้างเลสสวดเพียง ๑๕๐ สิ กขาบท สิ กขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติ จะมีการระบุตวั เลขตามเหตุการณ์ ที่ระบุในพระสุ ตตันตปิ ฎก ๑๕๐ สิ กขาบทนั้น ก็เพราะช่วงนั้น พระพุทธองค์ทรงบัญญัติได้เท่านั้น
๒๑
พระนิสิตหลักสู ตรพระไตรปิ ฎกศึกษา ได้ส่งคลิ๊ปวีดีโอ บันทึกภาพและเสี ยงของการบรรยายธรรมของ พระคึกฤทธิ์ โสตฺ ถิผโล คาบรรยายตอนหนึ่งท่านบอกว่า ค้นข้อความที่บอกว่า สิ กขาบท ๒๒๗ ไม่พบ พบแต่ขอ้ ความ สิ กขาบท ๑๕๐ สิ กขาบท แล้วท่านก็สรุ ปให้ประชาชนที่ฟังท่านว่า สิ กขาบทที่มาสู่ อุทเทสทุกครึ่ งเดือนมี ๑๕๐ สิ กขาบท ไม่ทราบท่านศึกษาพระไตรปิ ฎกอย่างไร พระสุ ตตันตปิ ฎกนั้น เป็ นธรรมเทศนาที่เกิดขึ้นตามเหตุ ที่เรี ยกว่า อัตถุปัตติกะ ช่วงที่เกิดนั้น พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทได้ ๑๕๐ สิ กขาบท ท่านก็ยดึ ถือว่ามี ๑๕๐ สิ กขาบท ส่ วนพระวินยั ปิ ฎก ที่เป็ นเรื่ องหลักการทางพระวินยั ท่านคงมิได้ศึกษา หรื ออาจจะศึกษาแต่ท่านอาพรางไว้ ไม่เปิ ดเผยให้ชาวพุทธที่ไม่รู้เรื่ องทราบ สงสัยว่า พระคึกฤทธิ์ อุปสมบทตามหลักการทางพระสุ ตตันตปิ ฎก จึงถือเอาเพียงเงาแห่งพยัญชนะในพระสู ตร ท่านมิได้อุปสมบทตามหลักการทางพระวินยั ปิ ฎก จึงไม่ให้ความสาคัญแก่พระวินยั ปิ ฎก อันเป็ นหลักปฏิบตั ิทางพระวินยั เช่น การลงอุโบสถ สวดปาติโมกข์ ท่านเป็ นแบบเดียวกับฝ่ ายอาจริ ยวาทที่ถือตามแนวพระสู ตร ในคัมภีร์พระวินยั ปิ ฎก มีถอ้ ยคาสนทนาระหว่างพระพุทธเจ้ากับพระอุบาลี ผูท้ ี่ได้รับยกย่องว่า เป็ นเลิศทางด้านพระวินยั มีขอ้ ความเรื่ องสิ กขาบทเกินกว่า ๑๕๐ สิ กขาบท ดังข้อความภาษาบาลีและภาษาไทย ดังต่อไปนี้ ทฺวสี ุ วินเยสุ ปญฺ ญตฺ ตา อุทฺเทสอาคจฺฉนฺ ติ อุโปสเถสุ กติ เต สิ กฺขาปทาโหนฺ ติ กตีสุ นคเรสุ ปญฺ ญตฺ ตา . (วินยปิ ฏก ปริ วารปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๘ ข้อ ๑๐๑๖-๑๐๑๗ หน้า ๓๖๐) (พระอุบาลีกราบทูลถามว่า) สิ กขาบทที่พระองค์ทรงบัญญัติไว้ในวินยั ทั้งสอง ย่อมมาสู่ อุทเทสทุกวันอุโบสถ สิ กขาบทเหล่านั้น มีเท่าไร ทรงบัญญัติไว้ ณ พระนครกี่แห่ง (พระไตรปิ ฎกฉบับหลวง พระวินยั ปิ ฎก ปริ วาร เล่ม ๘ หน้า ๓๓๖ ฉบับพิมพ์ ปี ๒๕๒๕ )
๒๒
ภทฺทโก เต อุมฺมงฺ โค โยนิโส ปริ ปุจฺฉสิ ตคฺ ฆ เต อหมกฺขิสฺสยถาปิ กุสโลตถา . ทฺวสี ุ วินเยสุ ปญฺ ญตฺ ตา อุทฺเทสอาคจฺฉนฺ ติ อุโปสเถสุ อฑฺฒุฑฺฒสตานิ เต โหนฺ ติ สตฺ ตสุ นคเรสุ ปญฺ ญตฺ ตา . (วินยปิ ฏก ปริ วารปาลิ สฺ ยามรฏฺฐเตปิ ฏก เล่ม ๘ ข้อ ๑๐๑๖-๑๐๑๗ หน้า ๓๖๐) (พระผูม้ ีพระภาคตรัสว่า) ปั ญญาของท่านดี ท่านสอบถามโดยแยบคาย เพราะฉะนั้นเราจักบอกแก่ท่าน ตามที่ท่านเป็ นผูฉ้ ลาดถาม. สิ กขาบทที่เราบัญญัติไว้ในวินยั ทั้งสอง ย่อมมาสู่ อุทเทสทุกวันอุโบสถ สิ กขาบทเหล่านั้นมี ๓๕๐ สิ กขาบท ตถาคตบัญญัติไว้ ณ พระนคร ๗ แห่ง. (พระไตรปิ ฎก ฉบับหลวง พระวินยั ปิ ฎก ปริ วาร เล่ม ๘ หน้า ๓๓๖ ฉบับพิมพ์เผยแพร่ ปี ๒๕๒๕) เมื่อศึกษารายละเอียดเรื่ องสวดปาติโมกข์ที่ปรากฏในพระวินยั ปิ ฎกแล้ว กลุ่มภิกษุที่สวดปาติโมกข์เพียง ๑๕๐ สิ กขาบท ต้องทบทวนการกระทาของพวกตนแล้ว พวกท่านปฏิญาณตนเป็ นภิกษุในฝ่ ายพระพุทธศาสนาเถรวาท แต่ไม่ถือปฏิบตั ิตามหลักการที่ปรากฏในพระวินยั ปิ ฎก
นายรังษี สุ ทนต์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย สิ งหาคม ๒๕๕๔