Not Forgotten

Page 1

N O T F o R G E T

P HO OGRAPHY



o

t

f

o

r

1

t NOT FORGET

n

“ยังไม่ลืม” g e t p r o j e c ภาพถ่ายสถานที่ในความทรงจำ�ของผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ โดย นำ�เสนอในรูปเเบบภาพถ่าย Photo essey ด้วยเทคนิคการ เเบ่งภาพเป็นสองส่วนหรือที่เรียกกันว่า Diptych ข้าพเจ้ามี ความสนในใจในเรื่องโรคอัลไซเมอร์ เเละทฤษฏีจิตนภาพ โดย ตั้งขอบข่ายงานให้เป็นสถานที่หรือพื้นที่ เพื่อใช้เป็นกรณีศึกษา จิตนภาพในความทรงจำ�ของผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์


A

l

z

h

e

i

m

e

NOT FORGET

โรคอัลไซเมออร์ (Alzheimer’s disease หรือ AD) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด โรคนี้ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2449 หรือ ค.ศ. 1906 โดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อว่า อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์ (Alois Alzheimer) โรคนี้จัดเป็นโรค ความเสื่อมที่รักษาไม่หายและจัดเป็นอาการป่วยระยะสุดท้าย โดยทั่วไปแล้วสามารถวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ได้ในผู้ป่วยอายุ มากกว่า 65 ปี เเต่จากงานวิจัยเเล้วสามารถค้นพบผู้ป่วยโรค นี้เมื่ออายุตั้งเเต่ 40 ปีขึ้นไป ซึ่งมีกมีการเข้าใจผิดว่าโรคอัลไซ เมอร์เกิดขึ้นเเต่ในวัยชรา ซึ่งอันที่จริงเเล้วสามารถเกิดได้ในวัย ทำ�งานเช่นเดียวกันเพียงเเต่มักพบในวัยชรามากกว่าเท่านั้น

A p

l h

z

h

o

t

e o

r

s

d

i

s

โรคนี้สร้างผลกระทบโดยตรงกับความทรงจำ�สมอง ซึ่งส่วน ใหญ่จะอยู่ในสมองส่วนหน้า ผู้ป่วยจะค่อยๆหลงลืมความ ทรงจำ�ในระยะสั​ั้น ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจดจำ�กระบวนการ วิธีการหรือขั้นตอนปฏิบัติ ส่งผลกระทบต่อกิจวัตรประจำ�วัน ของผู้ป่วย โดยลักษณะการหลงลืมความทรงจำ�จะปรากฏ ในรูปเเบบ Timeline ที่เป็นเส้นตรง จากควมทรงจำ�เเบบ ฉับพลัน ความทรงจำ�ระยะสั้น กระทั้งอาจคาบเกี่ยวในความ ทรงจำ�ระยะยาวด้วย จนในระยะสุดท้ายผู้ป่วยจะไม่สามารถ ช่วยเหลือตนเองได้เลยเเละเสียชีวิตลงในที่สุด โดยสถิติในประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ กว่า 300,000 คนเเล้ว เเละมีเเนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

i

m

g

r

e a

r p

2

s

h

y

e

a

s

e

Dr. Alois Alzheimer (1864 – 1915)

ภาพถ่ายที่เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์นั้น ส่วนใหญ่จะเป็นงานภาพถ่าย Documentary ซึ่งข้าพเจ้าได้รวบรวมไว้เพื่อศึกษาดังนี้


NOT FORGET

Mary whispers to Paul how much she loves him. “Silent Death” Alzheimer’s Disease story by Scott Dalzell , 1988

Maja Daniels “Into Oblivion” – Alzheimer’s disease in a “Protected Unit”, an observation of care within the geriatric institution.

3


P

H

O

T

O

E

S

NOT FORGET

ในชุดงานภาพถ่ายของข้าพเจ้าจะนำ�เสนอในรูปเเบบของ Photo essey ซึ่งเป็นรูปเเบบการนำ�เสนอภาพที่ได้รับอิทธิพลจาก การ ถ่าพภาพ Jornerlism หรือการถ่ายภาพสารคดีข่าว จากที่ข้าพเจ้า ได้ลองศึกษาดูนั้น พบว่าผู้ที่บุกเบิกเริ่มต้นการถ่ายภาพเเบบ photo essey นี้คือช่างภาพสารคดีข่าวชาวอเมริกันในช่วงยุค 60s นั่นคือ William Eugene Smith (1918 - 1978) ซึ่งเป็นช่างภาพสารคดีข่าว ให้เเก่ Ziff Davis เเละ Life Magazine ในขณะนั้น เขาเคยเข้าร่วม สงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อตามเก็บภาพการสู้รบของทหารอเมริกา เเละ ทหารญี่ปุ่นทั้งในเขตเเดน Saipan, Guam, Iwo Jima เเละ Okinawa จนกระทั่งในปี 1955 เขาได้รับเชิญให้เข้าร่วมสมาคมถ่ายภาพชื่อดัง อย่าง Magnum photo

S

E

Y

William Eugene Smith, Hitachi, Japan, 1962

ในปี 1948 ภาพถ่ายของสมิทได้ถูกตีพิมพ์ยังนิตยสารไลฟ์ ในฐานะ Photo essey เป็นครั้งเเรกในชุดงานที่ชื่อว่า“The Country Doctor” เป็นชุดงานภาพถ่ายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของคนเเละ ความตาย ในหมูบ้านเเถบชนบทของเมืองคิมเมอร์ลิงค์ รัฐโคโลนาโด ประเทศสหรัฐอเมริกา “Ernest Ceriani” คือคุณหมอที่สมิทใช้เวลาอยู่ ร่วมพูดคุยกับเขาถึง 23 วัน เพื่อบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดทั้งวันในเมืองเล็กๆ เเห่งนี้ คำ�บรรยายในภาพพูดถึงกิจกรรมที่คุณหมอเออร์เนสได้ทำ� ทั้งวิธีการรักษาคนไข้, ลักษณะอาการของโรค, ผู้ป่วยที่ได้พบ, ฯลฯ เเต่ ที่ทำ�ให้ภาพถ่าย photo essey นี้น่าสนใจคือการที่ผู้ถ่ายภาพ เเละผู้ถูก ถ่ายสามารถบอกเล่าถึงทัศนคติ ความรู้สึกของตนในขณะนั้น เป็นสิ่งที่ ช่วยให้ภาพถ่ายนั้นทำ�หน้าที่ในการเล่าเรื่องได้อย่างสมบรูณ์่

The cover features a W. EugeneSmith portrait of Joan Diener in a Broadway rehearsal

4


NOT FORGET “Country Doctor” by Eugene Smith shot for LIFE magazine in 1948.

5


r P

H

e

O

f

T

NOT FORGET “Jim Goldberg” We are vert emotional and tight family, 1979

e O

r

e E

S

n

S

c

E

e Y

ในชุดงานภาพถ่ายของข้าพเจ้าจะนำ�เสนอในรูปเเบบของ Photo essey ซึ่งได้รับเเรงบันดาลในจากช่างภาพเเละนักเขียนอิสระ ชาวอเมริกัน Jim Goldberg ผู้ซึ่งมีผลงานภาพถ่ายที่มีเอกลักษณ์ไม่ เหมือนใคร โดยการเข้าไปถ่ายภาพชีวิตตามวัฒนธรรมต่างๆในสังคม เเละเมื่อถ่ายภาพเสร็จก็นำ�ไปล้าง-อัด-ขยาย เเละนำ�กลับมาให้ผู้ที่ถูก ถ่ายอีครั้ง โดยจะให้ผู้คนเหล่านั้นเขียนบอกเล่าถึงตนเอง ซึ่งจิมมัก กำ�หนด concept ในงานที่ว่าเขาจะถ่ายเเบบไหน อย่างไร ในงานภาพถ่ายของข้าพเจ้าเลือกที่จะศึกษาการถ่ายภาพของ Jim Goldberg เป็นหลัก เพราะข้าพเจ้าต้องการถ่ายภาพที่ผู้ถูกถ่าย สามารถเขียนเล่าเรื่องประกอบกับภาพได้ เเต่ไม่ได้ต้องการให้เขียนลงไป ในรูปถ่ายเลยเหมือนกับภาพของจิม เพียงเเต่ข้าพเจ้าเลือวิธีการนำ�เสนอ ด้วยการเขียนเป็นประกอบ เเละใช้เทคนิ​ิคการเรียงภาพเเบบ Diptych เเบ่งภาพออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนที่มีตัวอักษรบรรยายภาพของผู้ถูก ถ่ายภาพ เเละภาพสถานที่ในความทรงจำ�ของเขาเหล่านั้น เเละนี้คือตัวอย่างผลงานภาพถ่ายของ Jim Goldberg ที่น่า สนใจด้วยเรื่องราวที่ถูกเขียนขึ้นจากเจ้าของใบหน้าเหล่านั้น

6


NOT FORGET

HATI , 2003 Photo by Jim Goldberg

Bangladesh. Dhaka. 2007. Man at a recruitment center. Photo by Jim Goldberg

Kolpona , 2007 Photo by Jim Goldberg

Rich and poor , 1985 Photo by Jim Goldberg

7


NOT FORGET

“...สมัยก่อนตอนลุงยังเป็นหนุ่มก็ชอบพาเเฟนไปเที่ยวน�้ำตกห้วย เเก้ว รู้สึกว่าบรรยากาศดีเลยชวนกันลงเล่นน�้ำ สาดน�้ำกันไปสาด น�้ำกันมา เล่นเสร็จก็บ่ายโมงกว่าจึงชวนกันลงมาไหว้ครูบาศรีวิชัย อธิษฐานขอให้เราได้กัน...”

“...ไว้วันหลังเรามาเที่ยวที่นี้กันอีกนะ...”

8



NOT FORGET

10


NOT FORGET

คุณลุงสันติ เอ่ยถึง “น�้ำตกห้วยเเก้ว” ทันทีที่สอบถามถึง สถานที่ในความทรงจ�ำของท่าน พร้อมกับเล่าเรื่องราวในอดีตของ ภรรยาเเละคุณลุงสมัยยังเป็นหนุ่ม ความทรงจ�ำถึงเรื่องในอดีต ของคุณลุงสันติยังสมบรูณ์ครบถ้วน สามารถเขียนบรรยายเรื่อง ราวในวันนั้นได้เป็นอย่างดี อาการป่วยของท่านยังอยู่ในระดับเเรก เริ่ม มีการหลงลืมบ้าง เเต่อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เป็นอันตราย สามารถ ช่วยเหลือตนเองได้

11


NOT FORGET

“...ยายเป็นช่างผมอยู่เเถวเมืองทองธาณีสมัยสาวๆ ท�ำผมให้ฝรั่ง ฝรั่งให้ทิปเยอะ ตั้งเเต่ม้วน อบ ดัดผม ซอยผม ยายเนี่ยไม่ได้นะท�ำ ผมเก่งนะ! คุณหญิงคุณนายเวลาจะไปออกงานที่ไหนก็ชอบมาท�ำ ผมกับยาย...”

“...ยายเกล้ามวยผมเก่งนะ...”

12



NOT FORGET

14


15

NOT FORGET

คุณยายธิติยา มักพูดถึงร้านท�ำผม เเถวย่านเมืองทองธาณีอยู่ บ่อยๆ ซึ่งเป็นร้านของเเกสมัยยังท�ำงานอยู่ที่กรุงเทพ ฯ เมื่อ 30 กว่าปีที่ เเล้ว เเต่คุณยายไม่สามารถให้ข้อมูลสถานที่นั้นได้อย่างชัดเจน ทั้งหน่วย งานที่เคยรับผิดชอบดูเเลคุณยายก็ไม่มีข้อมูลเหลือเก็บไว้ ข้าพเจ้าจึง เปลี่ยนจากภาพถ่ายสถานที่เป็นการให้คุณยายวาดภาพร้านท�ำผมที่ตน เคยอยู่ เพื่อเเสดงภาพความจ�ำที่ยังจ�ำได้อยู่ คุณยายท่านป่วยในระยะที่ไม่สามารถจ�ำความทรงจ�ำในระยะ สั้นได้ เช่น จ�ำวัน เวลาไม่ได้ , ลืมว่าตนเองได้กินข้าวไปเเล้ว , ลืมข้าวของ ของที่ตนเองเป็นเจ้าของ หรือเเม้กระทั้งลืมข้าพเจ้าที่อยู่คุยกันนานเป็น ชั่วโมงถึง 4 - 5 ครั้ง เเละด้วยอาการป่วยนี้เอง ท�ำให้การเขียนของคุณยายมีปัญหา เช่นเดียวกัน หลังจากสอบถามเเพทย์ผู้รักษา ประวัติของคุณยายระบุว่า อ่านออกเขียนได้เป็นอย่างดี ข้าพเจ้าจึงลองให้ท่านเขียนถึงร้านท�ำผมนั้น ปรากฏว่าไม่สามารถเขียนได้เลย เเละไม่สามารถเขียนบรรยายเป็นเรื่อง ราวปะติดปะต่อกันได้ ข้าพเจ้าจึงเลือกให้คุณยายเขียนถึงร้านท�ำผมด้วย การใช้ key word หรือค�ำ ประโยคหนึ่งๆ ที่ใช้สื่อฯ เเทน เเละเป็นค�ำที่ สามารถการเล่าเรื่องได้


C

o

n

c

e

p

t

“เคยได้ยินว่า โรคอัลไซเมอร์ เป็นโรคสมองเสื่อม คนป่วยจะหลงๆ ลืมๆ เเต่ข้าพเจ้าไม่เคยรู้ว่า ผู้ป่วยนั่นหลงลืมอะไรบ้าง ? ลืมได้ขนาดไหน ? คนที่ป่วยจากโรคนี้เป็นอย่างไร ? นี่คือข้อสงสัยที่ท�ำให้เกิดเป็นผลงานชิ้นนี้” NOT FORGET

ในช่วงนี้ข้าพเจ้าชอบถ่ายภาพสถาน ที่ ไม่จัดว่าจะไปในเชิง Landscape หรือ city scape เเต่จัดอยู่ในภาพถ่ายพื้นที่หรือ สถานที่ เเละก�ำลังสนใจในเรื่องของภาพใน จินตนาการหรือจินตภาพ ซึ่งในหนังสือ ทฤษฏีสถาปัตย์ของ K. Lynch ได้ระบุไว้ เนื้อหาส่วนหนึ่งเกี่ยวของกับกระบวนการจ�ำ ซึ่งเป็นปัจจัยในการสร้างภาพจินตนาการใน สมอง ซึ่งเกิดจากประสบการณ์ ประสาทสัมพัสของมนุษย์ รวมกันเป็นภาพใน ความทรงจ�ำของมนุษย์ ข้าพเจ้าเกิดสนใจเเละ อยากรู้เกี่ยวกับภาพในความทรงจ�ำนั้น

เมื่อรวมเอาความสนใจที่เกิดขึ้นในช่วงเวลา ใกล้เคียงกันเเล้ว เกิดเป็นความสนใจต่อภาพ สถานที่หรือพื้นที่ในความทรงจ�ำของผู้ป่วย โรคอัลไซเมอร์ขึ้น จุดประสงค์ของภาพถ่าย ชุดนี้ไม่ได้มุ่งเน้นไปในเชิงทางการเเพทย์ เเต่ หลังจากที่ได้ถ่ายภาพชุดเเรกเเละลองน�ำไป ให้อาจารย์หมอดูพบว่า กระบวนการที่ ข้าพเจ้าเข้าไปถามถึงเรื่องในอดีตของเขาอยู่ บ่อยๆ นั้น สามารถเป็นในเเง่ของการบ�ำบัดผู้ ป่วยได้ในทางหนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก ข้าพเจ้าคิดว่าจะน�ำไปศึกษาต่อเพื่อที่ภาพถ่าย สามารถเป็นสื่อฯ ที่ช่วยบ�ำบัดคนไข้ในทาง

16

หนึ่งได้ เเต่ส�ำหรับชุดงานในสูจิบัตรนี้ เป็นการน�ำหัวข้อสถานที่หรือพื้นที่ เป็นสื่อฯ ในการท�ำความเข้าใจต่อผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ ต่อ จินตนาการเเละความทรงจ�ำเท่านั้น เพื่อ ที่ภาพถ่ายจะได้เป็นสื่อฯ ในการกระตุ้นให้ เห็นความส�ำคัญของผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ที่ ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่ต้องการการดูเเล เอาใจใส่ อีกทั้งยังอยากให้ผู้คนทั่วไปตระหนัก ถึงโรคร้ายที่ท�ำลายชีวิตด้วยความเงียบเช่นนี้ ตลอดจนกระทั่งผู้สนใจในหัวข้องานชิ้นนี้ด้วย


เเด่ คุณปู่

ประวัติ ชื่อ ชลารักษ์ เรือนชุ่มเชย ปี 4 สาขาศิลปการถ่ายภาพ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ E-mail : davinchez@hotmail.com



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.