First Aid BOOK

Page 1

ชโลทร ชูสอน Writing and illustrator


นางสาวชโลทร ชูสอน 533220030-4 ศิลปกรรมศาสตร์ สาขาออกแบบนิเทศศิลป์


การปฐมพยาบาล หมายถึง การปฏิบัติ การให้ความช่วยเหลือ หรือการรักษาพยาบาลในขั้นแรก แก่ผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุ หรือผู้ป่วยโดยปัจจุบันทันด่วน ก่อนที่ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาพยาบาล จากแพทย์ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยพ้นจากอันตราย หรือลดอันตรายให้น้อยลงก่อนที่แพทย์ จะรักษาในขั้นต่อไป


สารบ

1

การปฏิบัติสำ�หรับ กรณีฉุกเฉิน

3

อุปกรณ์ปฐมพยาบาล ยาที่ควรมีไว้ในตู้ยา ประจำ�บ้าน

สายด่วนฮอท ไลน์ศูนย์สื่อสาร สาธารณสุข

2

4 FIRST AID

บาดเจ็บที่ตา...............................................................7 กระดูกหัก.................................................................8 เลือกออก.................................................................8 ช็อค.........................................................................9 สำ�ลักหรือมีสิ่งของไปอุดที่หลอดลม............................10 ไฟฟ้าช็อต................................................................11 สัตว์กัด....................................................................13 ทากดูดเลือด.............................................................13 อาการแพ้พิษแมลงที่ต้องไปพบแพทย์ทันที..................14 โดนพิษสัตว์ทะเล.......................................................15 ลมพิษ......................................................................16


บัญ เป็นลม.......................................................................16 เลือดกำ�เดาออก..........................................................17 เลือดออกไม่หยุดหลังการถอนฟัน................................17 หูอื้อ..........................................................................18 ของเข้ารูจมูก..............................................................18 ของเข้าหู....................................................................19 คันในหู (เพราะเชื้อรา)..................................................19 แมลงเข้าหู..................................................................20 หอบ-หืด....................................................................20 พุ-พอง......................................................................21 ไฟไหม้ น้ำ�ร้อนลวก......................................................21 ฟอกช้ำ� หัวโน ห้อเลือด.................................................22 ข้อเคล็ด.....................................................................22 การทำ�แผลทั่วไป.........................................................23 ท้องเดิน ท้องร่วง ท้องเสีย............................................27 ท้องผูก......................................................................28 อาการปวดท้องที่ควรไปพบแพทย์ทันที.........................29 ตะคริว......................................................................30 ก้างติดคอ..................................................................30 กินยาพิษ...................................................................31 ถูกแก๊สพิษ................................................................33


การปฏิบัติสำ�หรับ กรณีฉุกเฉิน 1. ตั้งสติให้ได้อย่าตกใจ 2. ขอความช่วยเหลือ หน่วยการแพทย์ ฉุกเฉิน โทร.1669 3. ให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เช่น ช่วยหายใจ ห้ามเลือด การจัดให้พัก การห่มผ้าให้ความอบอุ่น

1


หมายเลขโทรศัพท์ กรณีฉุกเฉิน ขอความช่วยเหลือจาก สายด่วนฮอทไลน์ศูนย์สื่อสารสาธารณสุข “นเรนทร” 1669 หรือ 0-2951- 0282 เหตุด่วนเหตุร้าย 191 หรือ 0-2246-1338-42 เพลิงไหม้199 หรือ 0-2246-0199 จส.100 0-2711-9150 หรือ 0-2711-9151-8 สวพ.91 1644 หรือ 0-2562-0033-5 หรือ 0-2941-0848 ร่วมด้วยช่วยกัน 1677 หรือ 0-2644-6996 กู้ภัยร่วมกตัญญู 0-2751-0951-3 หน่วยแพทย์กู้ชีวิตวชิรพยาบาล 1554

2


อุปกรณ์ปฐมพยาบาล สำ�ลี ผ้ากอซแผ่นชนิดฆ่าเชื้อทำ�ความสะอาด (แอลกอฮอล์) คีมสำ�หรับบ่งเสี้ยน ผ้าสามเหลี่ยม ผ้ากอซพันแผลขนาดต่าง ๆ เช่น1 นิ้ว 2 นิ้ว 3 นิ้ว หรือ 4 นิ้ว กรรไกรขนาดกลาง เข็มกลัดซ่อนปลาย แก้วล้างตา พลาสเตอร์ม้วน หรือชิ้น ผ้ายืดพันแก้เคล็ด ขัดยอก(Elastic bandage) ผ้ากอซชุบพาราฟินสำ�หรับ ปิดแผลไฟไหม้

3


ยาที่ควรมีไว้ใน ตู้ยาประจำ�บ้าน ยาแก้ปวดลดไข้เช่น ยาเม็ดพาราเซตามอล ขนาด 500 มิลลิกรัม ยาแก้แพ้ลดน้ำ�มูก เช่น ยาเม็ดคลอเฟนนิรามีน4 มิลลิกรัม และ 2 มิลลิกรัม ยาแก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ เช่น ยาธาตุน้ำ�แดง ยาธาตุน้ำ�ขาว โซดามิ้นท์ ขมิ้นชันแคปซูล ยาโรคกระเพาะ เช่น ยาเม็ดอลูมินาแมกนิเซีย ไตรซิลลิเคท ยาแก้ท้องเสีย เช่น ยาน้ำ�เคาลินเปคติน ผงน้ำ�ตาลเกลือแร่ ยาใส่แผล เช่น ทิงเจอร์แผลสด ไอโปดีน ยาล้างตา โบริคโซลูชั่น ยาทาแก้แพ้แก้คัน คาลาไมน์ ยาล้างแผล เช็ดแผล เช่น ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์แอลกอฮอล์เช็ดแผล ยาทานวด เช่น ขี้ผึ้งปวดบวม ครีมระกำ� GPO บาล์ม ยาแก้ไอผู้ใหญ่เช่น ยาแก้ไอน้ำ�ดำ� ยาขับเสมหะ ยาแก้ไอเด็ก เช่น ยาแก้ไอขับเสมหะ ยาแก้ไอเด็กเล็ก ยาระบาย เช่น ยาระบายแมกนีเซีย ชามะขามแขก ยาเม็ดมะขามแขก ยาสูดดม เช่น เหล้าแอมโมเนีย

4


FIRST


T AID


บาดเจ็บที่ตา หากกรดหรือด่างเข้าตา อย่าขยี้ตา ให้ล้างด้วยน้ำ� สะอาดมาก ๆ แล้วรีบพาไปพบ แพทย์

หากถูกของแหลมทิ่ม ให้นอนหลับตา ปิดตาด้วยผ้า กอซ หรือผ้าเช็ดหน้า อย่าขยับสายตาไปมา แล้วรีบพาไปพบ แพทย์ทันที

หากมีสิ่งแปลกปลอมเข้าตาขาว ขยี้ตาเบา ๆ กระพริบตา ล้างตา หรือเงยสายตาขึ้น ด้านบน แล้วใช้มุมผ้าเช็ดหน้าเขี่ยผงออก ถ้าเขี่ยไม่ออกให้รีบ พาไปพบแพทย์

ถ้าถูกกระแทกที่ดวงตา ให้ประคบด้วยความเย็นทันทีแล้วรีบพาไปพบแพทย์

7


กระดูกหัก ให้วางอวัยวะส่วนนั้น ๆบนแผ่นไม้หรือหนังสือ หนา ๆ ใช้ผ้าพันยึดไม่ให้เคลื่อนไหว ถ้าเป็นปลายแขน หรือมือ ให้ใช้ผ้าคล้องคอ

เลือดออก 1. ใช้นิ้วกดบาดแผลประมาณ 10 นาทีหรือบีบเนื้อ ข้าง ๆ มาปิดแผล 2. ใช้ผ้าหรือเนคไทพันปิดบาดแผลไว้ อย่าให้แน่นจนชา 3. แผลที่แขน หรือขา ให้ยกสูง ถ้าเลือดไหลไม่หยุด ให้กดเส้นเลือดใหญ่ที่ไปเลี้ยงแขน หรือขา

8


ช็อค สาเหตุ จากโรคหัวใจกำ�เริบ เกิดการบาดเจ็บรุนแรงมาก ไฟไหม้น้ำ�ร้อนลวก เลือดออกมาก กระดูกหัก อาเจียน หรือท้องเสียรุนแรง

อาการ หนาวเย็น เหงื่อออก เวียนศีรษะ หายใจเร็วขึ้น ชีพจรเร็วแต่แผ่ว กลัว กระหาย

การปฐมพยาบาล 1. ให้นอนราบ ห่มผ้า คลายเสื้อผ้า 2. ถ้าเลือดออกห้ามเลือด 3. อย่าเคลื่อนไหวผู้ป่วย ถ้าบาดเจ็บ ที่อกท้อง ศีรษะ ให้หนุนศีรษะและบ่าให้สูงกว่าลำ�ตัว เล็กน้อย คอยปลอบใจ 4. ถ้ากระหายน้ำ�มาก ให้หยดน้ำ�ที่ริม ฝีปากนิด ๆ ห้ามรับประทานสิ่งใด ๆ 5. รีบนำ�ส่งโรงพยาบาล

9


สำ�ลัก หรือมีสิ่งของไปอุด หลอดลม

ทารก

ให้ตบกลางหลังอย่างรวดเร็ว4 ครั้ง ในท่าที่ศีรษะอยู่ต่ำ�กว่าปอด

เด็กเล็ก ให้ตบกลางหลังหนัก ๆ4 ครั้ง ในท่าที่ศีรษะอยู่ต่ำ�กว่าปอด เด็กโตและผู้ใหญ่

ให้ตบหนัก ๆ และเร็ว ๆ กลางหลัง4 ครั้ง ในท่าที่ศีรษะ อยู่ต่ำ�กว่าปอด

10


ไฟฟ้าช็อต 1. หากพบผู้ถูกกระแสไฟฟ้าดูดให้ตัดการ จ่ายไฟ เช่น คัทเอ้าท์หรือ เต้าเสียบ 2. ถ้าไม่สามารถปิดสวิตซ์ไฟได้ห้ามใช้มือจับ ต้องคนที่กำ�ลังถูกไฟช็อต แล้วใช้สิ่งที่ไม่นำ�ไฟฟ้า เช่น ไม้กวาดเก้าอี้ไม้ เขี่ยออกจากสายไฟ หรือเขี่ยสายไฟ ออกจากตัวผู้บาดเจ็บ 3. เมื่อตัวผู้บาดเจ็บหลุดออกมาแล้ว รีบ ปฐมพยาบาล ถ้าหยุดหายใจ ให้ทำ�การเป่า ปากช่วยหายใจ ถ้าคลำ�ชีพจร ไม่ได้ให้นวดหัวใจแล้วรีบนำ�ไปโรงพยาบาล

การปฐมพยาบาลต้องทำ�ทันทีที่ช่วยเหลือผู้ป่วยออกมา และควรนำ�ส่งโรงพยาบาลขณะนำ�ส่งจะต้องทำ�การ ปฐมพยาบาลตามขั้นตอนดังกล่าวตลอด 11


การปฐมพยาบาลขั้นต้นเมื่อผู้บาดเจ็บจาก การถูกไฟฟ้าช็อตหยุดหายใจ 1. วางผู้ป่วยให้นอนหงาย แล้วช้อนคอผู้ป่วยให้แหงนขึ้น 2. ตรวจดูว่ามีสิ่งอุดตันในช่องปากหรือไม่หากพบให้นำ�ออกและช่วยเป่า ปากโดยใช้นิ้วง้างปากและบีบจมูกของผู้ป่วย 3. ประกบปากของผู้ป่วยให้สนิท เป่าลมเข้าแรงๆ โดยเป่า ปากประมาณ 12-15 ครั้ง/นาทีสังเกต การขยายของ หน้าอก หากเป่าปากไม่ได้ให้เป่าจมูกแทน

4. หากหัวใจหยุดเต้น ต้องนวดหัวใจโดยวางผู้ป่วยนอนราบแล้วเอามือกด เหนือลิ้นปี่ให้ถูกตำ�แหนง่(ดังรูป)กดลงไปเป็น จังหวะเท่ากับการเต้นของหัวใจ(ผู้ใหญ่ประมาณนาทีละ 60 ครั้ง เด็กประมาณ 80 ครั้ง) 5. ฟังการเต้นของหัวใจสลับกับการกดทุกๆ 10-15 ครั้ง 6. ถ้าหยุดหายใจ และหัวใจหยุดเต้นให้เป่าปาก2 ครั้ง นวดหัวใจ 15 ครั้งสลับ กัน และถ้ามีผู้ช่วยเหลือ2 คน ต้อง สลับกันเป่าปาก 1 ครั้ง นวดหัวใจ 5 ครั้ง

12


สัตว์กัด สุนัขกัด 1. ล้างแผลด้วยน้ำ�สะอาด ปิดด้วยผ้ากอซสะอาด 2. ถ้าเลือดออก ห้ามเลือดทันที (ด้วยผ้ากอซ หรือบีบแผล) 3. รีบไปพบแพทย์เพื่อฉีดวัคซีน

งูกัด 1. ดูรอยแผล ถ้าเป็นงูมีพิษ จะมีรอยเขี้ยว 2. ใช้เชือก หรือยาง หรือเข็มขัดรัดเหนือแผล ให้แน่นพอควร และคลายทุก15 นาที 3. ให้นอนนิ่ง ๆ คอยปลอบใจ 4. ห้ามดื่มสุรา ยาดองเหล้า ยากล่อมประสาท 5.ถ้าหยุดหายใจให้ช่วยหายใจทันที 6. ควรนำ�งูไปพบแพทย์ด้วย ถ้าทำ�ได้

ทากดูดเลือด 1. ห้ามดึง เพราะเลือดจะหยุดยาก 2. จี้ทากด้วยบุหรี่ติดไฟ หรือไม้ขีดไฟให้ทากหลุด 3. ล้างแผลให้สะอาด ใส่ทิงเจอร์แผลสด หรือเบตาดีน

13


แมลงต่อย 1. ถ้าถูกต่อยหลายตัว หรือ ต่อยบริเวณหน้า ให้รีบไปพบ แพทย์ 2. พยายามถอนเหล็กใน (โดย ใช้หลอดกาแฟเล็ก ๆ แข็ง ๆ หรือปากกาครอบแล้วกด ให้เหล็กในโผล่แล้วดึงเหล็กในออก) 3.ใช้ยาแก้แพ้ทา หรือราดด้วยน้ำ�โซดาหรือประคบด้วย น้ำ�แข็ง (ปกติอาการบวมจะลดลงใน 1 วัน ถ้าไม่ลดให้พบแพทย์) 4. ถ้ามีอาการปวด กินยาแก้ปวด (พาราเซตามอล)

อาการแพ้พิษแมลง ที่ต้องไปพบแพทย์ ช็อค เวียนศีรษะ ตัวซีด เหงื่อออก อาเจียน หายใจลำ�บาก ผื่นขึ้นที่ตา ตาบวม

14


โดนพิษสัตว์ทะเล 1. โดนเงี่ยงปลาที่มีพิษ แช่น้ำ�ร้อนพอทน (40 องศาเซลเซียส หรือ 104 องศา ฟาเรนไฮต์) นาน 4-5 นาที จะช่วยให้หายปวด

2. โดนแมงกระพรุนไฟ ใช้ทราย หรือผักบุ้งทะเลถูเมือกออก ล้างด้วยน้ำ�สบู่ ทาด้วยน้ำ�ปูนใส แอมโมเนีย เพรดนิโซโลนครีม หรือเบตาเมทธาโซนครีม

1. ห้ามคนมุงด 2. คลายเสื้อผ 3. จัดให้นอนต ทางเดินหายใจ ทางด้านหลังข 4. ใช้ผ้าชุบน้ำ�เ 5. ถ้าอาการไม

15


ลมพิษ สาเหตุ โดนสารที่แพ้พืช สารเคมีแพ้อาหารทะเล เหล้า เบียร์ละอองต่าง ๆ

การปฐมพยาบาล ทายาแก้ผดผื่นคัน คาลาไมน์ เพรดนิโซโลนครีม หรือเบตาเมทธา โซนครีม กินยาแก้แพ้คลอเฟนนิรามีน ขนาด 4 มิลลิกรัม 1 เม็ด หาสาเหตุที่แพ้ ถ้าผื่นไม่ยุบลง และเพิ่มมากขึ้นให้รีบไปพบแพทย์

เป็นลม

ดูพาเข้าที่ร่มให้อยู่ในที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก ผ้าออกให้หลวม ตะแคงหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง เพื่อป้องกันในเรื่อง จอุดตัน โดยเฉพาะลิ้นของผู้ป่วย มักจะตกไป ของลำ�คอ ทำ�ให้หายใจไม่ออก เช็ดหน้าผาก มือและเท้า ม่ดีขึ้น รีบนำ�ส่งโรงพยาบาล

16


เลือดกำ�เดาออก สาเหตุ

จากการกระแทก สั่งน้ำ�มูก การแคะจมูก

การปฐมพยาบาล 1. นั่งลง ก้มศีรษะเล็กน้อย บีบจมูกนาน 10 นาที (หายใจทางปาก) 2. วางน้ำ�แข็ง หรือผ้าเย็น ๆ บนสันจมูกหน้า ผาก ใต้ขากรรไกร 3. ถ้าไม่หยุด รีบไปพบแพทย์

เลือดออกไม่หยุด หลังการถอนฟัน 1. กัดผ้ากอซชิ้นใหม่ซ้ำ� อมน้ำ�แข็ง (ห้ามบ้วนน้ำ�หรือน้ำ�ยาบ้วนปาก) 2. ประคบน้ำ�แข็งนอกปาก 3. ถ้ายังไม่หยุดให้รีบไปพบแพทย์

17


หูอื้อ กรณีเป็นหูน้ำ�หนวกอยู่ให้รีบ รักษาให้หาย กรณีหูอื้อไม่ทราบสาเหตุอาจ จะมาจากการมีขี้หูมาก ขี้หู เหนียว ให้ไปพบแพทย์ เพื่อดึงขี้หูหรือดูดขี้หูออก

ของเข้ารูจมูก 1. บีบจมูกข้างที่ไม่มีของแล้ว สั่งออกมาแรง ๆ 2. อย่าพยายามแคะออก 3. ถ้าเป็นเด็กให้หันเหความสนใจจากจมูก ให้หายใจทางปาก 4. รีบไปพบแพทย์ทันที

18


ของเข้าหู 1. ตะแคงศีรษะ หันหูข้างที่มีของ เข้าไปลง เพื่อให้ของหล่น ออกมาเอง 2. ถ้าไม่ออก ห้ามแคะหูให้รีบไป พบแพทย์

คันในหู (เพราะเป็นเชื้อรา)

ใช้ไม้พันสำ�ลีชุบทิงเจอร์แผลสด ทาในรูหูวันละ 2-3 ครั้ง

19


แมลงเข้าหู

พาไปหาที่มืด ใช้ไฟฉายส่อง (ให้ แมลงออกมาตามแสง) หรือ หยอดด้วยน้ำ�มัน หรือกลีเซอรี นบอแรกซ์ให้แมลงลอยออกมา แล้วจึงเขึ่ย หรือคีบออก ถ้าไม่ออกให้รีบไปพบแพทย์ทันที

หอบ - หืด 1. ให้ผู้ป่วยนั่ง หรือยืนในท่าเอนตัวไปข้างหน้า ให้หลังและหน้าอกตรง 2. คลายเสื้อผ้าให้อากาศบริสุทธิ์ผ่านเข้าห้อง 3. ปลอบมิให้ตกใจ วิตก กังวล 4. ถ้าเป็นครั้งแรกรีบไปพบแพทย์ทันที 5. กรณีผู้ป่วยพ่นยา หรือกินยาประจำ�ให้รีบ ใช้ยาทันที

20


กรณีแผลพุ

พอง จากการเสียดสี ไฟไหม้ น้ำ�ร้อนลวก ผิวหนังชั้น นอกแยกจาก ชั้นใน มีน้ำ�มาขังอยู่

การปฐมพยาบาล ถ้าแผลเล็ก ไม่ต้องทำ�อะไร ปกติร่างกายจะดูดซึมน้ำ� กลับไปเอง และผิวหนังชั้นนอกจะลอกตัวไป ถ้าบริเวณที่พุพองขยายตัวกว้างขึ้นให้รีบไปพบแพทย์

ไฟไหม้น้ำ�ร้อน

1. ฉีก หรือตัดเสื้อผ้าบริเวณที่ถูกน้ำ�ร้อนลวกออก 2. เสื้อผ้าที่ไหม้ไฟและดับแล้ว ถ้าติดที่แผล ไม่ต้อง ดึงออก 3. ถอดเครื่องประดับที่รัดอยู่ เช่น แหวน เข็มขัด นาฬิกา รองเท้า (เพราะอาจจะบวมทำ�ให้ถอดยาก) 4. ทำ�ให้บริเวณที่ถูกไฟไหม้น้ำ�ร้อนลวกเย็นลงโดย เร็วที่สุด (ทำ�อย่างน้อย 10 นาที) 5. ใช้ผ้ากอซปราศจากเชื้อปิดแผล กรณีแผลใหญ่ ใช้ผ้าปิดพันด้วยผ้ายืดหลวม ๆ

21


ให้ประคบความเย็นเร็วที่สุด เพื่อลดอาการบวม หรือใช้ มะนาวผสมดินสอพองพอกไว้ (ปกติรอยฟกช้ำ�จะหายไปเอง) ถ้าเกิดอาการนานเกิน 24 ชั่วโมง ใช้ประคบ และคลึงด้วย ผ้าชุบน้ำ�ร้อน วันละ2-3 ครั้ง

ฟกช้ำ�หัวโน ห้อเลือด ข้อเคล็ด

ให้บริเวณข้อนั้น ๆ อยู่นิ่ง ๆ และยกสูงไว้ ประคบน้ำ�แข็งทันทีเพื่อลดอาการบวม ปวด ถ้าภายหลังมีอาการบวม ให้ประคบด้วยน้ำ�ร้อน หรือนวดด้วย ยาหม่อง หรือน้ำ�มันระกำ� หรือGPO บาล์ม ถ้าปวดมาก บวมมาก ให้รีบปรึกษาแพทย์

22


การทำ�แผลทั่วไป

1. ล้างมือให้สะอาด 2. ทำ�แผลที่สะอาดก่อนแผลที่สกปรก 3. เช็ดรอบแผลด้วยสำ�ลีชุบแอลกอฮอล์ (เช็ดจากข้างใน วนมาข้างนอกทางเดียว) 4. ปิดด้วยผ้ากอซ หรือผ้าสะอาด 5. อย่าให้ถูกน้ำ�อีก เพราะจะทำ�ให้เป็นหนองหรือหายช้า

23


กรณีแผลถลอกทั่วไป ล้างด้วยน้ำ� และสบู่ให้สิ่งสกปรกออกให้หมด เช็ดด้วยแอลกอฮอล์ทาทิงเจอร์แผลสด หรือ เบตาดีน ไม่ต้องปิดแผล

กรณี แ ผลตื น ้ หรื อ มี ด บาด (เลือดออกไม่มาก) บีบเลือดออกบ้าง ล้างด้วยน้ำ�สะอาด และสบู่ ใส่ยาทิงเจอร์แผลสด หรือเบตาดีน ปิดแผล เพื่อให้ขอบแผลสมานติดกัน

24


กรณีแผลลึกถึง กระดูก หรือกระดูก ห้ามเลือดทันที จัดให้อวัยงะส่วนที่มีกระดูกหักอยู่กับที่ หรือใช้การดาม

ใช้ผ้าสะอาดคลุม ห้ามจับกระดูกยัดกลับเข้าไป รีบพาไปพบแพทย์ทันที

กรณีแผลมีหนอง ล้างด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์หรือเดกิ้นโซลูชั่น ทุกวัน เช็ดด้วยสำ�ลี รับประทานยาปฏิชีวนะตามแพทย์สั่งให้ครบ

25


กรณีแผลตะปูตำ� ล้างแผลให้สะอาดด้วยน้ำ� และสบู่มากๆ ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ทำ�ความสะอาดอีกครั้ง ปิดแผล ห้ามถูกน้ำ� ฉีดยาป้องกันบาดทะยัก รับประทานยาปฏิชีวนะตามแพทย์สั่งให้ครบ

กรณีแผลถูกแทงด้วยของ แหลม มีด ไม้ ตัดมีด หรือไม้ทถีู่กแทงให้สั้นลง และยึดวัสดุนั้นให้อยู่ นิ่ง เพื่อให้เดินทางไปพบแพทย์ ได้สะดวก (ห้ามดึงออก) ให้อยู่นิ่ง ๆ รีบนำ�ส่งโรงพยาบาล

26


ท้องเดิน ท้องร่วง ท้องเสีย ในเด็กเล็ก เด็กทารก 1. งดนม และอาหาร ประมาณ 2 - 4 ชั่วโมง ดื่มน้ำ�เกลือแร่ (ทารกใช้เกลือ 1/2 ช้อน + น้ำ� 1 ขวดแม่โขง) 2. ถ้าเด็กหิวมากให้นมที่ชงจาง ๆทีละน้อย 3. ถ้าถ่ายท้องรุนแรง อาเจียน ดื่มนมหรือน้ำ� ไม่ได้ (ซึม ตาโบ๋ กระหม่อมบมุ๋ หายใจหอบแรง) และไม่ ดีขึ้นใน 24 ชั่วโมง ให้ไปพบแพทย์โดยด่วน

ในเด็กโต หรือผู้ใหญ่ 1. งดอาหารรสจัด และย่อยยาก เลือกกินอาหารเหลว กินจนกว่าอาการ จะดีขึ้น 2. ดื่มน้ำ�เกลือแร่หรือผสมเอง (เกลือ 1/2 ช้อนชา + น้ำ� 1 ขวดแม่โขง) 3. ดื่มน้ำ�ชาแก่ๆ 4. ถ้าถ่ายรุนแรง มีอาเจียน อ่อนเพลียมาก หน้ามืด เป็นลม และอาการไม่ดีขึ้นภายใน 48 ชั่วโมง

ให้รีบไปพบแพทย์

27


ท้องผูก ในเด็กโต หรือผู้ใหญ่ ดื่มน้ำ�มาก ๆ กินอาหารพวกผัก ผลไม้ งดชากาแฟ และออกกำ�ลังกาย กินยาระบาย (ชามะขามแขก ยาระบายแมกนีเซีย) ถ้ามีอาการปวดท้องรุนแรง หรืออาเจียน รุนแรง ควรไปพบแพทย์โดยเร็ว

ในเด็กเล็ก ดื่มน้ำ�มาก ๆ น้ำ�ส้มคั้นน้ำ�ลูกพรุนต้ม หรือเปลี่ยนนม ใช้กลีเซอรีนเหน็บก้น (ของเด็ก)

28


อาารปวดท้องที่ควร ไปพบแพทย์ทันที

ปวดท้องพร้อมอาเจียนเป็นเลือด เด็กอายุต่ำ�กว่า 5 ขวบ หรือคนชรา ปวดท้อง เพราะถูกกระแทก ทุบ ตีหรือ ตกจากที่สูง ปวดนานหลายชั่วโมง ปวดมากจนนอนไม่หลับ

29


ตะคริว สาเหตุ ใช้กล้ามเนื้อมัดนั้นหนักเกินไป ความหนาวเย็น การสูญเสียน้ำ�และเกลือแร่ (อาเจียน ท้องเสีย เหงื่อออก)

การปฐมพยาบาล 1. การยืดกล้ามเนื้อส่วนนั้นออกโดย ถ้าเป็นที่มือ ให้ยืดนิ้วมือ ดัดปลายนิ้ว ถ้าเป็นที่เท้า ให้ยืดนิ้วเท้ายืนเขย่ง ถ้าเป็นที่ต้นขา ให้นั่งลง เหยียดเท้า กดที่หัวเข่า และช่วยนวด เท้า ถ้าเป็นที่น่อง ให้นั่งลง ยืดขา 2. ถ้าเป็นเพราะเสียเหงื่อ เสียน้ำ� ให้ดื่มน้ำ�เกลือ (เกลือ 1/2 ช้อนชา ผสมน้ำ� 1 ขวดแม่โขง)

ก้างติดคอ 1. กลืนก้อนข้าวสุก หรือขนมปังนิ่ม ๆ 2. ถ้ายังไม่หลุด กลืนน้ำ�ส้มสายชูเจือจาง เพื่อให้ก้างอ่อนลง 3. ถ้าไม่หลุด ควรไปพบแพทย์

30


กินยาพิษ ยาพิษที่มีฤทธิ์กัด ตัวอย่างเช่น กรด ยาฆ่าเชื้อ ยาขัดพื้น น้ำ�ยาล้างสีผงขัดถูแชมพู แอลกอฮอล์ทาแผล ยางสน น้ำ�ยาขัดเงา ผงและน้ำ�ยาซักผ้า โซดาซักล้าง สีย้อมเนื้อไม้ผงซักฟอก ยาล้างห้องน้ำ�

การปฐมพยาบาล 1. สังเกตรอยไหม้บริเวณริมฝีปากและปาก 2. มองหาภาชนะบรรจุยาพิษที่ตกอยู่ใกล้ผู้ป่วย และนำ�ภาชนะบรรจุยาพิษไปโรงพยาบาลด้วย 3.เรียกรถพยาบาลทันที 4. ดื่มนมมาก ๆ (โดยให้จิบทีละน้อย เพราะนมจะช่วย ทำ�ให้พิษเจือจางลง) ถ้าหานมไม่ได้ ให้ดื่มน้ำ�สะอาด 5. ห้ามทำ�ให้อาเจียน ถ้าผู้ป่วยหมดสติห้ามกรอกน้ำ� หรือของเหลวเข้าปากผู้ป่วย ถ้าหยุดหายใจ ให้รีบช่วย หายใจและเรียกรถพยาบาลทันที

31


ยาพิษที่ไม่มีฤทธิ์กัด ตัวอย่างเช่น แอลกอฮอล์ (เอทธิล แอลกอฮอล์) แอสไพริน ผลไม้ป่ามีพิษ เห็ดพิษ ยา แผนปัจจุบัน

การปฐมพยาบาล 1. มองหาภาชนะบรรจุยาพิษที่ตกอยู่ใกล้ผู้ป่วย นำ�ไปโรงพยาบาล 2. ถ้าทราบว่าเพิ่งรับประทานยาเข้าไปพยายาม ทำ�ให้อาเจียน ถ้าไม่ออก ให้ดื่มน้ำ�มาก ๆ พยายาม ล้วงคอให้อาเจียน นำ�เศษอาเจียนไปให้แพทย์ดูด้วย (ถ้าทำ�ได้) 3. ถ้ากินยาพิษเข้าไประยะหนึ่งแล้วอย่าทำ�ให้อาเจียน เพราะพิษถูกดูดซึมภายหลัง

32


ถูกแก๊สพิษ

ตัวอย่างเช่น คาร์บอนมอน นอกไซด์จะมีอาการปวดศีรษะ สับสน หายใจลำ�บาก อาจจะหมดสติ ผิวหน้าจะเปลี่ยนเป็นสีแดง ถ้าใน ขณะที่ได้รับแก๊สเพิ่มขึ้น

วิธีปฐมพยาบาล 1. ให้ได้อากาศบริสุทธิ์เร็วและมากที่สุด (อาจจะเปิด หรือทุบกระจกประตูหน้าต่าง) 2. คลายเสื้อผ้าให้หลวม ปฐมพยาบาลเหมือนคนช็อค (ห่มผ้าให้อบอุ่น) 3. ถ้าหยุดหายใจ ให้รีบช่วยหายใจ 4. ดูการหายใจและจับชีพจรอย่างใกล้ชิด 5. เรียกรถพยาบาลทันที

33


34



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.