ปลูกความสุขกลางใจ

Page 1

สุวรรณนภา คำ�ไร เขียน วรรณา จารุสมบูรณ์ บรรณาธิการ


ส ดว้ ย ปลกู

เพอ่ ื สงั คม

โครงการสุขแท้ดว้ ยปัญญา

องม น อื รด บิ า ล ผ นา้ํ ทใ่ี ั ญา จ เตบิ โตทป่ี ญ

สุวรรณนภา คำ�ไร เขียน วรรณา จารุสมบูรณ์ บรรณาธิการ


ปลู ก ความสุ ขกลางใจ

: คูม่ อื การจัดกระบวนการเรียนรูเ้ พือ่ สุขภาวะทางปัญญา

พิมพ์ครัง้ แรก สิงหาคม ๒๕๕๔ จำ�นวน ๓,๐๐๐ เล่ม เลขมาตรฐานสากลประจำ�หนังสือ ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๙๐๙๒๑-๖-๘

ทีป่ รึกษา พระไพศาล วิสาโล ธวัชชัย โตสิตระกูล บรรณาธิการ วรรณา จารุสมบูรณ์ ผูเ้ ขียน สุวรรณนภา คำ�ไร พิสจู น์อกั ษร เพ็รชลดา ซึง้ จิตสิรโิ รจน์ ภาพประกอบ/ภาพถ่าย คนปลูกต้นไม้แห่งสุขแท้ดว้ ยปัญญา ภาพวาด มะลิ ณ อุษา ออกแบบปกและรูปเล่ม ทิพาพร ติระธนะพิบลู ย์ จัดพิมพ์โดย โครงการสุขแท้ดว้ ยปัญญา เครือข่ายพุทธิกา ๔๕/๔ ซอยอรุณอมรินทร์ ๓๙ ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐๒-๘๘๒๔๓๗๘ โทรสาร ๐๒-๘๘๒๕๐๕๓ พิมพ์ท่ี ห้างหุน ้ ส่วนจำ�กัด สามลดา ๙/๑๒๐๕ หมู่ ๑ ถนนสะแกงาม แขวงแสมดำ� เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ ๑๐๑๕๐ โทรศัพท์ ๐๒-๘๘๒๔๓๗๘ โทรสาร ๐๒-๔๖๒๐๓๐๘ สนับสนุนโดย สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

Dhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็ นธรรมทาน


คำ � นิ ย ม จากคนปลู ก ต้ น ไม้ แ ห่ ง ภู ห ลง มนุษย์ทกุ คนย่อมปรารถนาความสุข การดำ�เนินชีวติ และพฤติกรรมทัง้ หมด ของเราล้วนมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ แสวงหาความสุข แต่คนส่วนใหญ่นน้ั เข้าใจว่าทีม่ า แห่งความสุขนัน้ อยูน่ อกตัว ต่อเมือ่ มีเงินทอง ได้เสพรสอร่อย ได้ครอบครองโภคทรัพย์ ได้รบั คำ�สรรเสริญ จึงจะมีความสุข ดังนัน้ จึงพยายามดิน้ รนแสวงหาสิง่ เหล่านัน้ ให้ได้มากทีส่ ดุ แต่เมือ่ ได้สมปรารถนาแล้วก็มคี วามสุขเพียงชัว่ ครูช่ ว่ั ยาม จากนัน้ ก็ตอ้ งเริม่ ต้นไล่ลา่ หาใหม่อกี ระหว่างนัน้ จิตใจก็เร่าร้อนเป็นทุกข์ ยังไม่ ต้องพูดถึงความทุกข์ในกรณีทไ่ี ด้ไม่สมอยากหรือได้ไม่ทนั อยาก กล่าวได้ว่าความทุกข์ของคนทุกวันนี้ล้วนเกิดขึ้นจากการดิ้นรนแสวงหา ความสุขทีค่ ดิ ว่าอยูน่ อกตัว ทัง้ ๆ ทีใ่ นความจริงแล้วความสุขมีอยูแ่ ล้วทีใ่ จเรานีเ้ อง เราสามารถสัมผัสกับความสุขดังกล่าวได้หากเพียงแต่ทำ�ใจให้นง่ิ สงบ ปลอด จากความคิดฟุง้ ซ่าน ความสุขยังเกิดขึน้ กลางใจในยามทีเ่ ราทำ�ความดี ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อผู้อื่น รวมทั้งในยามที่ทำ�สิ่งยากให้สำ�เร็จ โดยไม่จำ�ต้องมีสิ่งใหม่มา ปรนเปรอตน เราก็มีความสุขได้ไม่ยากหากรู้จักชื่นชมสิ่งดี ๆ ที่เรามีอยู่ จะว่า ไปแล้วแม้ประสบความทุกข์ยากลำ�บาก ใจก็ยงั เป็นสุขได้หากรูจ้ กั มอง เช่น นึกถึง คนทีเ่ ดือดร้อนกว่าเราหรือยอมรับว่ามันเป็นธรรมดา กล่าวอีกนัยหนึง่ ความสุข นัน้ อยูท่ ท่ี ศั นคติและการวางใจของเรายิง่ กว่าอะไรอืน่ โครงการสุขแท้ดว้ ยปัญญา เครือข่ายพุทธิกา มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ส่งเสริมให้ เกิดสุขภาวะทางปัญญา คือการเข้าถึงความสุขจากการมีทศั นคติทถ่ี กู ต้องและ ตรงตามความเป็นจริง ทัง้ นีโ้ ดยเห็นว่าทัศนคติอนั เป็นพืน้ ฐานทีส่ ำ�คัญในปัจจุบนั ได้แก่ ๑) การคิดถึงผูอ้ น่ื มากกว่าตนเอง ๒)การไม่พง่ึ พิงความสุขทางวัตถุอย่าง เดียว ๓) ความเชือ่ มัน่ ในความเพียรของตน ไม่หวังลาภลอยคอยโชค และ ๔) การรูจ้ กั คิดอย่างมีเหตุผลและเป็นประโยชน์เกือ้ กูล อันทีจ่ ริงทัศนคติทง้ั ๔ มีทม่ี า จากหลักธรรมทางพุทธศาสนานัน้ เอง อีกทัง้ เป็นสิง่ ทีเ่ รามักได้ยนิ ได้ฟงั จากคำ�สอน ของครู พระสงฆ์ นักบวชและผูร้ ทู้ างศาสนามาโดยตลอด อย่างไรก็ตาม คำ�ถาม ปลู ก ความสุ ข กลางใจ • ๓


หนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ ก็คอื ทัง้ ๆ ทีม่ กี ารสอนเรือ่ งนีม้ าช้านาน แต่เหตุใดทัศนคติดงั กล่าว จึงไม่ซมึ ซับลงไปในจิตใจของผูค้ นหรือก่อให้มกี ารเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมอย่าง แท้จริง ดังจะเห็นได้ว่าผู้คนก็ยังไขว่คว้าหาความสุขจากวัตถุ จนถึงกับแข่งขัน แย่งชิงกัน จนละเลยความสุขทีม่ อี ยูแ่ ล้วในใจตน คำ�ตอบส่วนหนึง่ น่าจะอยูท่ ท่ี กุ วันนีเ้ ราเน้น “การสอน” มากกว่าการส่งเสริม “การเรียนรู้” ผลก็คือทั้งๆ ที่มีการพรํ่าสอนมากมายแต่การเรียนรู้เกิดขึ้นกับ นักเรียน เยาวชน และคนทัว่ ไปน้อยมาก ดังนัน้ จึงไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงทางทัศนคติและพฤติกรรมเลย ตราบใดทีเ่ รายังคงละเลยกระบวนการเรียนรู้ การสอน หรือการศึกษาทัง้ หลายย่อมสัมฤทธิผลได้ยาก จุดเน้นหนักของโครงการสุขแท้ ด้วยปัญญา จึงมิได้อยูท่ ก่ี ารพยายามเผยแพร่ทศั นคติทง้ั ๔ ประการผ่านการสอน การบรรยายหรือผ่านสือ่ ดังทีน่ ยิ มกระทำ�กัน แต่ให้ความสำ�คัญกับการส่งเสริม ให้เกิดการเรียนรูจ้ นประจักษ์ดว้ ยตนเองถึงคุณค่าของทัศนคติ ๔ประการ จะทำ� เช่นนัน้ ได้ “กระบวนการเรียนรู”้ เป็นสิง่ สำ�คัญมาก ตลอด ๓ ปีทผ่ี า่ นมา โครงการสุขแท้ดว้ ยปัญญาได้พยายามพัฒนาและนำ� เสนอกระบวนการเรียนรูเ้ พือ่ เสริมสร้างทัศนคติดงั กล่าว โดยมีโครงการมากกว่า ๑๕๐ โครงการทัว่ ประเทศมาร่วมเรียนรูแ้ ละทดลองกับเราด้วย โครงการเหล่านี้ ส่วนใหญ่เป็นโครงการเล็กๆ ทำ�งานกับกลุม่ เป้าหมายทีห่ ลากหลาย อาทิ เยาวชน คนพิการ ชาวบ้าน หลายโครงการพบว่ากระบวนการเรียนรูท้ เ่ี น้นการมีสว่ นร่วม ผ่านประสบการณ์จริง รวมทัง้ การทำ�งานแบบจิตอาสา โดยมีกระบวนการกลุม่ เป็นตัวรองรับ และมีการถอดบทเรียนทีเ่ อือ้ ให้มกี ารย้อนมองตนและทบทวนสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูม้ านัน้ สามารถเสริมสร้างทัศนคติทง้ั ๔ ประการและก่อให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมได้ แม้ประสบการณ์และความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ จะ หลากหลาย แต่สง่ิ หนึง่ ทีม่ เี หมือนกันก็คอื แต่ละคนมีความสุขมากขึน้ และเป็น สุขทีเ่ กิดขึน้ จากใจของตน ประสบการณ์ของ ๑๕๐ โครงการตลอด ๓ ปี เป็นประสบการณ์ทล่ี ํา้ ค่ามาก ทีไ่ ม่เพียงเป็นแบบอย่างทีด่ สี ำ�หรับผูส้ นใจเท่านัน้ หากยังอุดมด้วยวัตถุดบิ ทีเ่ ป็น ประโยชน์อย่างมากในการพัฒนาองค์ความรูเ้ กีย่ วกับการเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลงตนเองและเข้าถึงความสุขภายใน ตลอด ๓ ปีทผ่ี า่ นมาได้มกี ารเก็บเกีย่ ว ประสบการณ์ดงั กล่าวอย่างต่อเนือ่ ง ผลก็คอื หนังสือเล่มนี้ ซึง่ เชือ่ ว่าจะเป็นคูม่ อื สำ�หรับการจัดกระบวนการเรียนรูท้ ม่ี ปี ระโยชน์สำ�หรับผูค้ นในแวดวงต่าง ๆ ๔ • ปลู ก ความสุ ข กลางใจ


หนังสือเล่มนีเ้ ป็นคูม่ อื ทีไ่ ม่เหมือนกับคูม่ อื ทัว่ ๆ ไป เพราะนำ�พาผูอ้ า่ นไป รูจ้ กั กับการปลูกต้นไม้ทกุ แง่ทกุ มุม ราวกับจะเป็นคูม่ อื ปลูกต้นไม้ ทีเ่ ป็นเช่นนัน้ ก็เพราะว่า การปลูกทัศนคติอนั เป็นทีม่ าแห่งความสุขใจนัน้ ไม่ได้ตา่ งจากการ ปลูกต้นไม้เลย เพราะเป็นกระบวนการทีอ่ งิ กฎธรรมชาติเหมือนกัน แม้เหตุปจั จัย จะต่างกันแต่กอ็ าศัยกระบวนการทีเ่ ป็นเหตุเป็นผลคล้ายๆ กัน ใช่แต่เท่านัน้ การ อุปมาโดยมีการปลูกต้นไม้เป็นตัวเปรียบ ยังช่วยให้เข้าใจกระบวนการปลูกทัศนคติและความสุขได้งา่ ยขึน้ ขณะเดียวกันก็เชือ่ ว่าผูท้ อ่ี า่ นและใช้คมู่ อื เล่มนี้ จะมี ฉันทะในการปลูกต้นไม้มากขึน้ เป็นผลพลอยได้ ซึง่ ย่อมช่วยให้ผปู้ ลูกมีความสุข และช่วยให้โลกนีง้ ดงามขึน้ ด้วย คุณสุวรรณนภา คำ�ไร เป็นผูท้ เ่ี กาะติดอยูก่ บั โครงการสุขแท้ดว้ ยปัญญามา ตลอด ๓ ปี ได้มสี ว่ นร่วมในกระบวนการต่าง ๆ ของโครงการทุกขัน้ ตอน ตัง้ แต่ การอบรม ติดตามผล เป็นพีเ่ ลีย้ ง ถอดบทเรียน และประเมินผลในภาพรวม อีก ทัง้ ได้สมั ผัสความเป็นจริงในพืน้ ทีห่ ลายจังหวัดทีด่ ำ�เนินโครงการย่อยต่าง ๆ เธอ ได้มโี อกาสสนทนาและเห็นความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ กับผูเ้ ข้าร่วมเป็นจำ�นวน ไม่นอ้ ย ข้อมูลมากมายทีเ่ ธอเก็บเกีย่ วนัน้ ช่วยให้หนังสือเล่มนีม้ ตี วั อย่างทีเ่ ห็น ได้ชดั ขณะเดียวกันวิธกี ารต่างๆ ทีน่ ำ�เสนอในคูม่ อื ก็มรี ายละเอียดทีป่ ฏิบตั ไิ ด้ และเป็นรูปธรรม โดยครอบคลุมทุกขัน้ ตอนของกระบวนการเรียนรูไ้ ปตัง้ แต่เริม่ วางแผนจนถึงการติดตามผลและหนุนเสริมให้เกิดผลทีย่ ง่ั ยืน ทีส่ ำ�คัญไม่นอ้ ย กว่ากันก็คอื เธอเป็นคนรักต้นไม้และเป็นนักวาด จึงทำ�ให้หนังสือเล่มนีม้ เี อกลักษณ์ ทีไ่ ม่เหมือนใคร และสามารถเป็นคูม่ อื ทีใ่ ช้จดั กระบวนการเรียนรูเ้ พือ่ เปลีย่ นแปลง ตนเองสำ�หรับกลุม่ เป้าหมายทีห่ ลากหลาย นอกจากหนังสือเล่มนีแ้ ล้ว โครงการสุขแท้ดว้ ยปัญญายังได้จดั ทำ�หนังสือ อีกเล่มหนึ่งควบคู่กัน คือ เปลี่ยนเป็นสุข : ประสบการณ์ ๓๐ ชีวิตบนเส้นทาง สุขแท้ดว้ ยปัญญา ซึง่ เป็นเรือ่ งราวของผูท้ ไ่ี ด้รบั ประโยชน์จากกระบวนการเรียนรู้ ทีโ่ ครงการสุขแท้ดว้ ยปัญญาให้การสนับสนุนในช่วง ๓ ปีทผ่ี า่ นมา หากท่านอยากรู้ เพิม่ เติมว่ากระบวนการเรียนรูท้ พ่ี ดู ถึงในหนังสือปลูกความสุขกลางใจ ก่อให้เกิด การเปลีย่ นแปลงอย่างไรแก่ผเู้ ข้าร่วม เปลีย่ นเป็นสุข สามารถให้คำ�ตอบแก่ทา่ นได้ พระไพศาล วิสาโล ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๔ ปลู ก ความสุ ข กลางใจ • ๕


คำ � นำ �

กว่ า จะเป็ น ...

คนปลู ก ต้ น ไม้

ผูเ้ ขียนเชือ่ ว่ามีประชากรบนใบโลกนี้ จำ�นวนเกินกว่าครึง่ ทีเ่ คยปลูกต้นไม้ แต่มจี ำ�นวนไม่ถงึ ครึง่ ทีจ่ ะคอยดูแลให้ตน้ ไม้เจริญเติบโต และยิง่ น้อยลงไปอีก ทีจ่ ะมองเห็นและสัมผัสได้ถงึ ความสุขจากการเติบโตไปพร้อมๆ กัน การจัดกระบวนการเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลงของโครงการสุขแท้ดว้ ยปัญญา ก็ไม่ตา่ งจากการปลูกต้นไม้ คนทำ�งานก็ไม่ตา่ งจากคนปลูกต้นไม้ ทีต่ อ้ งอาศัย การจัดสรรองค์ประกอบต่างๆ ให้เหมาะสมกับการบ่มเพาะเมล็ดพันธุ์แห่งสติ ปัญญา เพือ่ ทีต่ น้ ไม้จะได้ผลิดอกออกผล ยังประโยชน์แก่สงั คมส่วนรวมต่อไป หลายต่อหลายครัง้ เราพบว่าความผันผวนของดิน ฟ้า อากาศ ส่งผลต่อการ เติบโตของต้นไม้และหลายต่อหลายครัง้ ทีแ่ ม้วา่ เหล่าต้นกล้าน้อยๆ จะได้รบั การ จัดสรรให้อยู่ในระบบนิเวศที่เหมาะสม แต่ก็ไม่สามารถเจริญเติบโตได้อย่าง เต็มที่ ทำ�ไมจึงเป็นเช่นนัน้ ? คูม่ อื ฯ เล่มนีไ้ ม่มคี ำ�ตอบให้หรอก! เพราะหน้ากระดาษอันจำ�กัดนีไ้ ม่สามารถบรรจุคำ�ตอบทีม่ ที ง้ั หมดได้ แต่ จะขอหยิบยกหัวเชือ้ ประสบการณ์อนั มีคา่ ของบรรดาคนปลูกต้นไม้ มาหมักบ่ม และกลั่นกรอง เมื่อได้ที่แล้วก็จะขอแบ่งปันกลับคืนให้คนปลูกต้นไม้นำ�ไป พิจารณาเลือกใช้ ตามบริบทและเงือ่ นไขของแต่ละคนต่อไป ท้ายนี้ ผูเ้ ขียนหวังว่า ในขณะทีเ่ ราเป็นคนปลูกและทะนุบำ�รุงต้นไม้ เราเอง ก็จะเป็นต้นไม้ทไ่ี ด้รบั การทะนุบำ�รุงให้เติบโตไปพร้อมๆ กันด้วย แล้วโลกของ เราก็จะเต็มไปด้วยต้นไม้ทห่ี ลากหลายและงดงาม เพือ่ โลกอันสมดุลและชุม่ เย็น คนบำ�รุงดิน ฤดูเก็บเกีย่ ว, ๒๕๕๔ ๖ • ปลู ก ความสุ ข กลางใจ


คำ � ตาม ...แล้ ว ใคร

จะเป็ น คน ปลู ก ต้ น ไม้

หนังสือเล่มนีส้ ำ�หรับใคร? แล้ว...คนปลูกต้นไม้ทว่ี า่ นีห้ มายถึงใคร? แน่นอนว่า คนปลูกต้นไม้ในทีน่ ไ้ี ม่ได้หมายถึง คุณลุงชาวสวนทุเรียนทีป่ ลูก เฉพาะทุเรียน หรือคุณพีช่ าวสวนผักกาดทีป่ ลูกเฉพาะผักกาด แต่คนปลูกต้นไม้ในทีน่ ่ี หมายถึง คนจัดกระบวนการ กระบวนกร วิทยากร กระบวนการ ครูอาจารย์ทส่ี นใจด้านการจัดกระบวนการในชัน้ เรียน หมอ/พยาบาล ที่สนใจการสร้างเสริมสุขภาวะทางปัญญาควบคู่ไปกับการสร้างเสริมสุขภาวะ ทางกาย เจ้าหน้าทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ นักเรียน/นักศึกษา นักวิชาการ พนักงานบริษทั เอกชน เอ็นจีโอ หรือแม้กระทัง่ แม่คา้ ขายไข่ปง้ิ สรุปคือ ทุกคนสามารถเป็นคนปลูกต้นไม้ได้ พืน้ ทีต่ รงนีไ้ ม่จำ�กัดเพศ วัย การศึกษา และอาชีพ ขอเพียงแต่มใี จและสนใจเรือ่ งการจัดกระบวนการเพือ่ สร้าง สุขภาวะทางปัญญาก็พอ ส่วนทีเ่ หลือเราสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาไปด้วยกันได้ แต่ถ้าคุณยังไม่คิดว่าจะเป็นคนปลูกต้นไม้ในตอนนี้ ก็อย่าลังเลที่จะวาง หนังสือเล่มนีล้ ง แต่อย่าได้วางไว้ไกลเกินไปนัก เพราะเรายังหวังว่าสักวันคุณคง จะได้ใช้มนั เพือ่ สร้างความสุขให้กบั คนทีอ่ ยูร่ อบข้าง

ปลู ก ความสุ ข กลางใจ • ๗


คำ � ขอบคุ ณ ขอบคุ ณ ที ่ โลก นี ้ ม ี ค วามทุ ก ข์ . .. หากเรามีความสุขทีแ่ ท้จริงแล้ว โครงการนีก้ ไ็ ม่อาจเกิดขึน้ คนทำ�งานก็คง ไปหาอย่างอืน่ ทำ� แต่ทเ่ี ราได้มาพบกันครัง้ นีก้ เ็ พราะ โลกนีย้ งั คงมีความทุกข์อยู่ และการทีเ่ ราเคยทุกข์กไ็ ม่ใช่สง่ิ ผิด หรือแม้จะเคยเห็นแก่ตวั ไม่ใช่สง่ิ ทีเ่ ลวร้าย เพราะถ้าผืนแผ่นดินในหัวใจของเราไม่เคยถูกความทุกข์แผดเผาเสียจนแห้ง แล้ง เราก็คงไม่แสวงหาร่มเงาและแหล่งนํา้ และแน่นอนว่าคงจะไม่มคี นปลูกต้นไม้ แต่การมีแค่ความทุกข์กไ็ ม่อาจทำ�ให้เรามาพบกันได้ ถ้าไม่มคี นทีเ่ ห็นทุกข์ แล้วสนับสนุนให้มกี ารปลูกต้นไม้แห่งความสุขขึน้ มาในใจของทุกคน ไม่วา่ จะเป็น สำ�นักกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เครือข่ายพุทธิกา ทีมงาน สุขแท้ดว้ ยปัญญาทัง้ ๓ ปี ซึง่ รวมทัง้ ทีมประเมิน ทีมพีเ่ ลีย้ งอาสา คนส่งข้าวส่งนํา้ ผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลังทุกรูปแบบ โดยเฉพาะเสมสิกขาลัยและศูนย์จติ ตปัญญาศึกษาที่ ได้บ่มเพาะความคิดและรดนํ้าแง่งามของชีวิตเรื่อยมา และที่สำ�คัญที่จะขาด ไม่ได้เลย คือ คนปลูกต้นไม้และคนทีเ่ กีย่ วข้องทุกๆ คน ทีต่ ง้ั ใจทุม่ เทเพือ่ ทีจ่ ะ สร้างความสุขให้เกิดขึน้ ในสังคม ทุกเรือ่ งราว ทุกเรือ่ งเล่า ทุกบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ มีคณ ุ ค่าต่อการสร้างความสุข ทีแ่ ท้จริงต่อไปไม่มที ส่ี น้ิ สุด หากคูม่ อื เล่มนีจ้ ะพอมีประโยชน์อยูบ่ า้ ง ผูเ้ ขียนขอมอบความดีความชอบ ให้กบั พ่อแม่ ครูบาอาจารย์ บุคคลสำ�คัญในชีวติ ทีมงาน และคนต้นเรือ่ งทุกๆ คน โดยเฉพาะพระไพศาล วิสาโล ทีไ่ ด้กรุณาตัง้ ชือ่ คูม่ อื เล่มนีแ้ ละเขียนคำ�ปรารภ ให้ และหากมีขอ้ บกพร่องประการใด ผูเ้ ขียนขอรับไว้แต่เพียงผูเ้ ดียว

๘ • ปลู ก ความสุ ข กลางใจ


คำ � แนะนำ � การใช้ ห นั ง สื อ การจัดทำ�หนังสือคูม่ อื เล่มนี้ ผูเ้ ขียนได้ให้นํา้ หนักกับการขยายแนวความคิด เป็นหลัก ไม่วา่ จะเป็นการทำ�ความรูจ้ กั กับความสุข ทำ�ความรูจ้ กั กับธรรมชาติ ของผูค้ น องค์ประกอบทีเ่ กีย่ วข้องกับการเรียนรูก้ อ่ นทีจ่ ะนำ�เข้าสูว่ ธิ ปี ฏิบตั ิ เหมือน กับการทีค่ นปลูกต้นไม้ตอ้ งทำ�ความรูจ้ กั กับธรรมชาติของต้นไม้แต่ละชนิดและ ระบบนิเวศโดยรอบ ก่อนทีจ่ ะลงมือปลูกและดูแลต้นไม้นน่ั เอง เพือ่ ให้เกิดความสะดวกในการทำ�ความเข้าใจและนำ�ไปใช้งาน ในแต่ละบท ของเนือ้ หาผูเ้ ขียนได้แยกส่วนประกอบเสริมต่างๆ ออกมา ซึง่ ได้แก่ • แผนทีค่ วามคิด เป็นการฉายภาพความคิดโดยรวมของเนือ้ หาในบทนัน้ ๆ • เนือ้ หา เป็นการอธิบายแนวความคิดประกอบกับวิธกี ารปฏิบตั ิ • หลักการ/แนวความคิด - รูจ้ กั ความสุข - รูจ้ กั ธรรมชาติของผูค้ น - รูจ้ กั องค์ประกอบกับการเรียนรู้ • วิธปี ฏิบตั ิ ดู แ ผนภาพ - ออกแบบ/วางแผน อธิ บ าย - ทดลองทำ� - ลงมือทำ�จริง เพิ ่ ม เติ ม - ถอดบทเรียน ในหน้ า ถั ด ไป • ข้อมูลเพิม่ เติม - ชมสวนเพือ่ นบ้าน - เครือ่ งไม้เครือ่ งมือ - ปุย๋ บำ�รุงดิน • ส่วนล้อมกรอบ เป็นการให้รายละเอียดปลีกย่อยเพิม่ เติม • แผนภาพ ขยายความแนวคิดเพือ่ ให้เข้าใจง่ายขึน้ • เลขหน้า ชือ่ บท เพือ่ ช่วยในการค้นหาจากสารบัญ ถ้าหากเราทำ�ความเข้าใจในส่วนเนือ้ หาแล้ว การเปิดคูม่ อื ในครัง้ ต่อๆ ไป ก็อาจจะเป็นแค่การค้นหาเพือ่ เลือกหยิบเครือ่ งมือบางชิน้ ไปใช้กไ็ ด้ ปลู ก ความสุ ข กลางใจ • ๙


๑๐ • ปลู ก ความสุ ข กลางใจ

ฉายภาพ ความคิด โดยรวม ของเนือ้ หา ในบทนัน ้ ๆ

แผนที ่ ความคิ ด

อธิบายแนวความคิด ประกอบกับวิธกี ารปฏิบตั ิ

เนื ้ อ หา

ช่วยในการค้นหาจากสารบัญ

เลขหน้ า และชื ่ อ บท

ขยายความ แนวคิด เพือ่ ให้ เข้าใจง่ายขึน ้

แผนภาพ


ปลู ก ความสุ ข กลางใจ • ๑๑

ให้รายละเอียดปลีกย่อยเพิม่ เติม

ล้ อ มกรอบ

ส ้ อ ม พ รว น ชว น ท ำ �

ส ้ อ ม พ รว น ชว น ใส ่ ใ จ

ข้อควรระมัดระวังหรือให้ ความใส่ใจเป็นพิเศษ

ส้ อ มพรวนชวนใส่ ใ จ

นำ�เสนอแนวทางหรือวิธกี ารที่ น่าสนใจ หรืออาจจะเป็นเรือ่ งที่ ท้าทายความคุน้ ชินแบบเดิมๆ

ส้ อ มพรวนชวนทำ �

เกร็ดความรู้ คำ�ถาม หรือข้อขบคิดทีน่ า่ สนใจ

ส้ อ มพรวนชวนคิ ด


สารบั ญ

๖๘ ๓๔ ๗ ๒๔

๑๖


สารบั ญ

๘๔ ๖ ๙๘ ๑๒๒ ๘

๑๔๐ ๑๖๐

๒๐๐


ภาคหนึ ่ ง

ลั บ คม

๑๔ • ภาคหนึ ่ ง ลั บ คม


ก่อนลงมือปลูกต้นไม้มหี ลายอย่างทีค่ นปลูกต้นไม้พงึ กระทำ� จะว่าไปแล้วการขุดหลุมแล้วหย่อนต้นไม้ลงไปนัน้ เป็นเรือ่ งที่ อยูก่ ลางๆ เสียด้วยซํา้ แต่สง่ิ ทีค่ นปลูกต้นไม้ควรทำ�เป็นอันดับ แรกก็คอื การลับคมเครือ่ งมือให้พร้อม ซึง่ ในทีน่ ผ้ี เู้ ขียนหมายถึง การลับคมความคิดนัน่ เอง เมล็ดพันธุ์ความสุขในใจของแต่ละคนอาจจะมีหลากหลาย สายพันธุ์แตกต่างกันไป บางคนอาจจะมีความสุขจากความ สำ�เร็จทัง้ ด้านการเรียน การงาน หรือการครองเรือน บางคน อาจจะมีความสุขจากการมีทรัพย์สมบัติ มีอำ�นาจ มีบา้ นหลัง ใหญ่ มีรถยนต์หรูหรา ได้กนิ อาหารดีๆ รสชาติอร่อย ได้เสพ ความบันเทิงมากเท่าทีต่ อ้ งการ ในขณะทีบ่ างคนอาจจะขอแค่ มีปจั จัย ๔ กับครอบครัวทีอ่ บอุน่ หรือบางคนอาจจะพอใจกับ สิง่ ทีม่ ี ยินดีสง่ิ ทีไ่ ด้ แม้จะไม่สมบูรณ์พร้อมก็ตาม แต่...ในท่ามกลางกระแสสังคมทีม่ งุ่ เรือ่ งการแข่งขันและแสวงหา ผลประโยชน์เพื่อตอบสนองความต้องการที่ไม่มีจุดสิ้นสุดนี้ เราจะมัน่ ใจได้อย่างไรว่า ต้นไม้แห่งความสุขของเราจะไม่ถกู พัดพาเข้าไปสูว่ งั วนของกระแสดังกล่าววันใดวันหนึง่ หรือ! ถ้า อย่างนั้น ความสุขสายพันธุ์ไหนล่ะที่จะทำ�ให้เราหยัดยืนบน แนวทางแห่งความสุขทีแ่ ท้จริงได้อย่างมัน่ คง? คำ�ตอบอาจมีมากมาย แต่สำ�หรับคนปลูกต้นไม้อย่างเราก็ มีเมล็ดพันธุ์ความสุขอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “ความสุขที่แท้” ขยายพันธุ์ได้ง่าย โดยเริ่มเพาะด้วยสองมือ รดนํ้าที่กลางใจ และเติบโตงอกงามทีป่ ญ ั ญา แต่ไม่จำ�เป็นต้องซือ้ หาเมล็ดพันธุ์ มาจากทีไ่ หน เพียงแค่เปิดใจให้ “เมล็ดพันธุแ์ ห่งความสุข” ที่ หลับใหลอยูใ่ ต้แผ่นดินหัวใจของเราได้รบั แดดอุน่ และหยาดฝน ไม่ช้าไม่นานต้นกล้าน้อยๆ ก็จะเติบโตงอกงามทวนกระแส บริโภคนิยมได้อย่างมัน่ คง ใช่! ก็ตอ้ งเริม่ ปลูกทีใ่ จของเราเสียก่อน ก่อนทีจ่ ะไปปลูกให้ใคร ภาคหนึ ่ ง ลั บ คม • ๑๕


บทที​ี่​่

เพาะเมล็ดพันธุ์

(ทำ � ไมต้ อ งปลู ก ต้ น ไม้ ? )


เพาะเมล็ ด พั น ธุ ์ (ทำ � ไมต้ อ งปลู ก ต้ น ไม้ ? )

เพาะเมล็ ด

แผนที ่ ค วามคิ ด บางทีคำ�ถามนีอ้ าจจะไม่จำ�เป็นต้องถามกันอีกแล้วก็ได้ เพราะผูเ้ ขียนเชือ่ ว่า คนปลูกต้นไม้ทกุ คนย่อมรูว้ า่ เราไม่อาจปล่อยให้สภาวะโลกร้อนและแห้งแล้ง เกิดขึน้ มากกว่าทีเ่ ป็นอยูไ่ ด้แล้ว โดยเฉพาะความแห้งแล้งทีก่ ำ�ลังขยายอาณาเขต ลุกลามเข้ามาถึงหัวใจของผูค้ น หัวใจทีแ่ ห้งแล้งมักจะไม่สามารถคิดถึงคนอืน่ หรือทำ�เพือ่ คนอืน่ ได้ ในทางตรงข้าม หัวใจทีแ่ ห้งแล้งมักจะสอดส่องหาช่องทางทีจ่ ะทำ�เพือ่ ประโยชน์สว่ นตัวอยูเ่ สมอ ไม่วา่ จะด้วยวิธใี ดก็ตาม เพราะเหตุนเ้ี อง เราจึงต้องรีบปลูกต้นไม้เพือ่ โลกและสังคม ทีร่ ม่ เย็นและผาสุก ซึง่ เรือ่ งนีผ้ เู้ ขียนจะพูดถึงอีกครัง้ ในหัวข้อ มิตขิ องความสุขต่อไป เพาะเมล็ ด พั น ธุ ์ • ๑๗


การทีเ่ ราจะรูว้ า่ คนๆ หนึง่ เกิดเรียนรูห้ รือไม่ แล้ ว การเติ บ โตของต้ น ไม้ างไรนัน้ ค่อนข้างเป็นนามธรรมและระบุให้ เกี ่ ย วกั บ การเรี ย นรู ้ ห รื อ อย่ ดได้ยาก โดยเฉพาะการเรียนรูด้ า้ นใน การใช้ การเปลี ่ ย นแปลงอย่ า งไร? ชัแบบทดสอบอาจช่ วยได้เพียงระดับหนึง่ เท่านัน้

เครือ่ งมือทีจ่ ะช่วยจับระดับการเรียนรูท้ เ่ี ป็นนามธรรม ให้ชัดเจนขึ้น คือ การเปรียบเทียบระดับการเรียนรู้กับ การเติบโตของต้นไม้ ซึง่ แบ่งออกเป็น ๕ ระยะ ดังนี้

การเจริ ญ เติ บ โต

๕ ระยะ

เพื ่ อ วั ด ระดั บ การเรี ย นรู ้

ระยะที ่ ๑ เพาะเมล็ ด (ขั ้ น รั บ รู ้ )

ระยะที ่ ๒ หยั ่ ง ราก (ขั ้ น เข้ า ใจ)

ระยะที ่ ๓ ผลั ด ใบ

(ขั ้ น ปรั บ เปลี ่ ย น ทั ศ นคติ )

ระยะที ่ ๔ ผลิ ด อก

(ขั ้ น ปรั บ เปลี ่ ย น พฤติ ก รรม)

ระยะที ่ ๕ ออกผล (ผู ้ น ำ � การ เปลี ่ ย นแปลง)

รั บ รู ้ ดูได้จากการที่ เข้ า ใจ กลุม่ เป้าหมาย ของเรารูว้ า่ เขา ดูได้จากการ สามารถบ่มเพาะ คิดวิเคราะห์ ความสุขขึน้ มา บทเรียนที่ จากภายในใจ เกิดขึน้ และ ได้โดยไม่ต้อง นำ�ไปปรับ พึง่ พาความสุข ใช้ในชีวติ จากภายนอก ประจำ�วันได้

ปรั บ เปลี ่ ย นทั ศ นคติ ปรั บ เปลี ่ ย น พฤติ ก รรม ดูได้จากการที่กลุ่ม

เป้าหมายสามารถ ดูได้จากการเปลีย่ นอธิบายได้ว่าเดิมมี แปลงพฤติกรรมหรือ ความคิดอย่างไรได้ การกระทำ�ทีเ่ ริม่ ด้วย เปลีย่ นแปลงไปอย่างไร ตัวเอง และเชือ่ มโยง และตั้งใจทำ�อะไร สัมพันธ์ไปยังคนอื่น จากความคิดใหม่ ทีอ่ ยูร่ อบข้างด้วย

ผู ้ น ำ � ความ เปลี ่ ย นแปลง

ดู ไ ด้ จ ากการ ริเริ่มขยายผล การเรียนรูส้ คู่ น รอบข้างในรูปแบบต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นการรวม กลุม่ ทำ�กิจกรรม จิตอาสา การรณรงค์ การบอกต่อ หรือการทำ�ตัว เป็นแบบอย่าง

อย่างไรก็ตาม เครือ่ งมือชนิดนีก้ ไ็ ม่สามารถแยกการเรียนรูแ้ ต่ละระดับให้ขาด จากกันได้เลยทีเดียว การเหลือ่ มซ้อนกันเป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ได้ ซึง่ เป็นหน้าทีท่ เ่ี ราจะ ต้องวิเคราะห์กันต่อไปว่า จะนำ�ผลลัพธ์ที่ปรากฏออกมานั้นไปทำ�อะไรต่อไป ๑๘ • เพาะเมล็ ด พั น ธุ ์


ระยะที ่ ๑ เพาะเมล็ ด รั บ รู ้

เพาะ เมล็ ด

เราต่างมีเมล็ดพันธุแ์ ห่งความสุขอยูใ่ นหัวใจ แต่นอ้ ยคนทีจ่ ะรับรู้ ถึงการมีอยูข่ องมัน หรือบางคนอาจทำ�ให้มนั ตายไปก่อนทีจ่ ะงอก บางคนก็อาจจะกลบฝังมันไว้กน้ บึง้ ของหัวใจ ดังนัน้ ในการทำ�งาน ของคนปลูกต้นไม้ ถ้าเพียงแค่เราทำ�ให้เจ้าของหัวใจรับรูถ้ งึ การมีอยู่ ของเมล็ดพันธุแ์ ห่งความสุขได้ ไม่วา่ จะในรูปแบบของความรูส้ กึ หรือ เนือ้ หาสาระ ก็ถอื ว่าเกิดการรับรูแ้ ล้ว แม้วา่ สิง่ ทีเ่ ขาสือ่ ออกมาจะ เป็นเพียงการท่องจำ�ก็ตาม ตัวอย่างเช่น หลังจากเข้าร่วมกระบวนการของค่าย “เพือ่ วิถที ่ี พอเพียง” น้องแตงโมสามารถตอบได้วา่ วิถชี วี ติ แบบพอเพียงเป็น อย่างไร เช่น สามารถพึง่ พาตัวเองได้ ลดค่าใช้จา่ ยทีเ่ กินจำ�เป็น หรือท่อง ตามสโลแกนทีว่ า่ กินสิง่ ทีป่ ลูก ปลูกสิง่ ทีก่ นิ ก็ถอื ว่าเป็นการรับรูไ้ ด้

ระยะที ่ ๒ หยั ่ ง ราก

หลังจากที่รับรู้ถึงการมีอยู่ของเมล็ดพันธุ์แห่งความสุขแล้ว พัฒนาการขัน้ ต่อมาก็คอื การหยัง่ รากของเมล็ดพันธุ์ ซึง่ เป็นวิถขี อง ธรรมชาติทใ่ี นขณะหยัง่ รากลงเบือ้ งล่าง ก็ยอ่ มต้องมีการแทงยอด ขึน้ สูเ่ บือ้ งบนด้วยเช่นกัน หมายถึง ความสามารถในการเชือ่ มโยง บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ ด้วยหลักของเหตุและผลให้เข้ากับชีวติ ประจำ�วันได้ เข้ า ใจ ถ้ากลุม่ เป้าหมายของเราสามารถคิดวิเคราะห์ หาคำ�ตอบได้วา่ เกิด การเรียนรูอ้ ะไรบ้าง บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ มีประโยชน์อย่างไร สามารถ นำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำ�วันได้อย่างไรบ้าง ก็ถอื ว่าเกิดความ หยั ่ ง เข้าใจแล้ว เป็นการคิดถึงความสุขอย่างมีเหตุมผี ล ราก ตัวอย่างเช่น น้องแตงโมสามารถเชือ่ มโยงได้วา่ การทีต่ วั เองอยาก ได้โทรศัพท์มอื ถือเครือ่ งใหม่ ทัง้ ทีเ่ ครือ่ งเดิมยังใช้ได้ดนี น้ั ทำ�ให้ พ่อแม่ตอ้ งทำ�งานหนัก สุขภาพยํ่าแย่ เครียด และไม่มเี วลาให้แตงโมกับน้องๆ ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ทำ�ให้อากาศแปรปรวน นํา้ ท่วม แดดร้อน ฝนแล้ง เพราะโรงงานอุตสาหกรรมต้องดึงทรัพยากร (โดยเฉพาะจากประเทศโลกทีสาม) มาผลิตสินค้าตอบสนองความต้องการของแตงโมนัน่ เอง เพาะเมล็ ด พั น ธุ ์ • ๑๙


ระยะที ่ ๓ ผลั ด ใบ

เมือ่ ความเข้าใจหยัง่ รากลึกจนมัน่ คงและลำ�ต้นเติบโตแข็งแรง แล้ว ก็ถึงช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลง สัญลักษณ์ที่สื่อถึงการ เปลีย่ นแปลงทีด่ อี ย่างหนึง่ ก็คอื การผลัดใบ เมือ่ เทียบกับการเรียนรู้ ของคนเราก็คอื การปรับเปลีย่ นความคิด ความเชือ่ ทีม่ มี าแต่ดง้ั เดิม ให้สอดคล้องกับความเชือ่ ใหม่ ซึง่ ในทีน่ ห้ี มายถึงทัศนคติ ๔ ประการ ซึง่ ถ้าผูเ้ ข้าร่วมสามารถคิดวิเคราะห์และอธิบายถึงชุดความคิดเดิม กับแนวความคิดทีเ่ กิดขึน้ ใหม่ได้ หรือมีการตัง้ ปณิธานให้ชวี ติ ถึง ปรั บ เปลี ่ ย น การเปลีย่ นแปลง ก็ถอื ว่าเกิดการเปลีย่ นแปลงทัศนคติแล้ว ทั ศ นคติ ตัวอย่างเช่น เดิมทีทน่ี อ้ งแตงโมคิดว่าการใช้มอื ถือรุน่ ใหม่ ราคา แพงๆ เป็นสิง่ ทีด่ ี ทันสมัย เพือ่ นๆ จะชืน่ ชมยกย่อง แต่พอหลังจาก เข้าร่วมกระบวนการแล้ว มีความเข้าใจว่าความต้องการของตัวเองนัน้ เกินความ จำ�เป็นและส่งผลกระทบมากมาย และแตงโมยังเห็นคุณค่าของตัวเองจากภายใน มากขึน้ ทำ�ให้มคี วามคิด/ความตัง้ ใจว่า กลับไปนีจ้ ะใช้สง่ิ ของเท่าทีจ่ ำ�เป็น ราคา ไม่แพงมาก เลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เป็นต้น

ระยะที ่ ๔ ผลิ ด อก

หากการเปลี่ยนผ่านของฤดูกาลหมายถึงการเติบโตของชีวิต การผลิดอกของต้นไม้ก็หมายถึงการฝ่าด่านทดสอบต่างๆ จน กระทัง่ แปรเปลีย่ นความยากลำ�บากเป็นคุณค่าใหม่ให้ชวี ติ ได้ การ ผลิบานทางการเรียนรูส้ กู่ ารเปลีย่ นแปลงจึงหมายถึง การทีก่ ลุม่ เป้าหมายเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมทีส่ อดคล้องกับเจตนารมณ์ (เป้าหมาย) ทีต่ ง้ั ไว้ ทัง้ ระหว่างกระบวนการและหลังกลับไปสูช่ วี ติ ประจำ�วันแล้ว ซึ่งไม่จำ�เป็นต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ ปรั บ เปลี ่ ย น หรือเปลีย่ นจากหน้ามือเป็นหลังมือ การเปลีย่ นแปลงเล็กๆ น้อยๆ พฤติ ก รรม ก็คอื สัญญาณทีด่ แี ละมีคณ ุ ค่าเช่นกัน ตัวอย่างเช่น น้องแตงโมเปลีย่ นพฤติกรรมเล็กๆ น้อยๆ ในชีวติ ประจำ�วัน เช่น เริม่ เห็นคุณค่าของตัวเองมากขึน้ โดยไม่จำ�เป็นต้องมีโทรศัพท์มอื ถือรุน่ ใหม่ พอ กลับไปบ้านก็ไม่เรียกร้องให้พอ่ แม่ซอ้ื มือถือหรือสินค้าแบรนด์เนมอีกเลย นอกจาก นัน้ ระหว่างอยูใ่ นค่าย น้องแตงโมยังให้ความร่วมมือในการทำ�กิจกรรมต่างๆ เป็น อย่างดี และช่วยสมาชิกคนอืน่ ล้างจาน ทำ�ความสะอาดห้องน้ำ� จากทีไ่ ม่เคยช่วยเลย ๒๐ • เพาะเมล็ ด พั น ธุ ์


ระยะที ่ ๕ ออกผล

เมือ่ ต้นไม้เติบโตเต็มทีแ่ ล้ว ย่อมมีวธิ ใี นการเผือ่ แผ่แบ่งปันแก่ สิง่ มีชวี ติ อืน่ ๆ เสมอ และทีส่ ำ�คัญ ต้นไม้ไม่ได้ออกผลเพือ่ เก็บไว้ สำ�หรับตัวเอง แต่เพือ่ ผูอ้ น่ื เมือ่ กลุม่ เป้าหมายของเราเกิดการเรียนรู้ ขึน้ กับตัวเองหรือกลุม่ แล้ว ได้ขยายผลสิง่ ทีท่ ำ�และเชือ่ สูค่ นรอบข้าง ในลักษณะต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นการรณรงค์เผยแพร่ การจัดกระบวนการ ส่งต่อความรู้ ฯลฯ หรือการปฏิบตั ติ วั เป็นแบบอย่างและบอกต่อให้ กับคนรอบข้าง ก็ถอื ว่าได้เริม่ เป็นผูน้ ำ�การเปลีย่ นแปลงแล้ว ตัวอย่างเช่น หลังจากกลับจากค่าย “เพือ่ วิถที พ่ี อเพียง” แล้ว น้องแตงโมกับเพือ่ นๆ ทีไ่ ปเข้าค่ายด้วยกันได้รวมกลุม่ กัน ชักชวน เพือ่ นๆ ทีไ่ ม่ได้ไปค่ายให้มาช่วยกันจัดกิจกรรมในโรงเรียน เช่น จัด ผู ้ น ำ � การ วันสำ�รวจสิง่ ของทีเ่ หลือใช้เพือ่ นำ�มาบริจาคและนำ�สิง่ ของทีไ่ ด้ไป เปลี ่ ย นแปลง จัดกิจกรรมวันเด็กหรือแบ่งปันให้กบั คนทีด่ อ้ ยโอกาสต่อไป เป็นต้น

ทำ � ไมจึ ง ต้ อ งแบ่ ง เป็ น ระดั บ ต่ า งๆ ?

เพราะเมือ่ คนปลูกต้นไม้หว่านพืชก็ยอ่ มต้องหวังผล เป็นธรรมดา แม้กระทัง่ เวลาใส่ปยุ๋ เราก็อยากรูว้ า่ ปุย๋ สูตรนีเ้ หมาะ กับต้นไม้ของเราหรือไม่ อะไรทีม่ ากเกินไป อะไรทีน่ อ้ ยเกินไป ดังนัน้ ในการจัดกระบวนการ เราเองก็อยากจะรูเ้ หมือนกันว่าผลลัพธ์ทอ่ี อก มาเป็นอย่างไร บรรลุเป้าหมายกีม่ ากน้อย ซึง่ การแบ่งการเรียนรูเ้ ป็น ระดับต่างๆ นีจ้ ะช่วยทำ�ให้ประเด็นต่างๆ ชัดเจนมากขึน้ ไม่วา่ จะเป็น ๑) ช่วยให้เรากำ�หนดเป้าหมายได้งา่ ยขึน้ เช่น การจัดกระบวนการ ครัง้ นี้ เราคาดหวังให้กลุม่ เป้าหมายเกิดการเรียนรูใ้ นระดับใด ควรใส่ เนือ้ หา หรือกิจกรรมลักษณะใด ๒) ช่วยให้เราสามารถประเมินผลการทำ�งานได้ชดั เจนมากขึน้ ผูเ้ ข้าร่วม เกิดการเรียนรูไ้ ด้ตามความคาดหวังทีเ่ ราตัง้ ไว้หรือไม่ ได้ในระดับใด และเป็นข้อมูลตัง้ ต้นในการวิเคราะห์เพือ่ วางแผนการทำ�งานครัง้ ต่อไป ๓) ช่วยให้กลุม่ เป้าหมายวิเคราะห์การเรียนรูข้ องตัวเอง และอธิบายผล ทีเ่ กิดได้งา่ ยขึน้ รวมถึงยังสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเปลีย่ นแปลงใน ระดับทีด่ ขี น้ึ ได้อกี ด้วย เพาะเมล็ ด พั น ธุ ์ • ๒๑


๒ ภาคสอง

ลุ ย โคลน

๒๒ • ภาคสอง ลุ ย โคลน


เป็นธรรมดาที่เนื้อตัวของคนปลูกต้นไม้ต้องเปรอะเปื้อนด้วย ดินโคลน มีรอ่ งรอยหม่นไหม้บนใบหน้า ทัง้ นี้ ก็เพราะเราต้อง ทำ�งานกับดิน นํ้า และลมฟ้าอากาศ ซึง่ ล้วนแล้วแต่เป็นสิง่ ที่ ควบคุมและคาดเดาได้ยาก แต่กระนั้น เราก็ต้องเรียนรู้เหตุแห่งความแปรผันของปัจจัย เหล่านี้ เพราะความเชือ่ มโยงสัมพันธ์ของดิน นํา้ ลม ฟ้า และ อากาศ นำ�มาซึง่ การเจริญเติบโตของต้นไม้นน่ั เอง ในระหว่างทีร่ ดน้ำ�พรวนดิน คนปลูกต้นไม้กไ็ ด้เรียนรูท้ จ่ี ะทำ�ให้ ต้นไม้เติบโต เช่นเดียวกัน ในระหว่างทีจ่ ดั กระบวนการ กระบวนกรก็ได้เรียนรู้ ทีจ่ ะทำ�ให้ผเู้ ข้าร่วมเกิดการเรียนรูส้ กู่ ารเปลีย่ นแปลง เป็นการเรียนรูท้ จ่ี ะจัดสรรองค์ประกอบต่างๆ ให้เหมาะสมต่อ การเรียนรู้ ตัง้ แต่การศึกษาหาข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องโดยรอบ การ วางแผนงาน การลงมือปฏิบตั กิ าร และการใคร่ครวญบทเรียน ที่เกิดขึ้น กระบวนการทั้งหมดทั้งมวลนี้ เป็นสิ่งที่ต้องเรียนรู้ ผ่านการลงมือทำ� ซึง่ เป็นทีแ่ น่นอนว่า เราจะต้องเผชิญกับเหตุ ปัจจัยทีท่ ำ�ให้เนือ้ ตัวเปรอะเปือ้ นและใบหน้าหม่นไหม้ ฉะนัน้ คุณสมบัตทิ ส่ี ำ�คัญทีท่ ง้ั คนปลูกต้นไม้และกระบวนกร จำ�เป็นต้องมีเหมือนๆ กันอย่างหนึง่ ก็คอื ความอ่อนน้อมต่อ ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ตรงหน้า เปิดใจกว้างทีจ่ ะเรียนรูอ้ ยูเ่ สมอ ไม่วา่ เรือ่ งนัน้ จะส่งผลต่อเนือ้ ตัวและใบหน้าเราอย่างไรก็ตาม และหากผูอ้ า่ นทาครีมกันแดดเรียบร้อยแล้ว เราก็ไปลุยโคลน กันได้เลย!

ภาคสอง ลุ ย โคลน • ๒๓


บทที​ี่​่

เตรียมดิน

(เรี ย นรู ้ ม ิ ต ิ แ ละที ่ ม าของความสุ ข )


เตรี ย มดิ น

(ทำ � ไมต้ อ งปลู ก ต้ น ไม้ ? ) แผนที ่ ค วามคิ ด

เตรี ย มดิ น

บ่อยครัง้ ทีเ่ ราเริม่ กระบวนการช่วงแรกๆ ด้วยการ “แบ่งปันความสุข” เพราะ เป็นเรื่องที่พูดได้ง่าย แล้วก็ทำ�ให้หัวใจพองฟูได้ไม่ยาก แม้จะเป็นการแบ่งปัน กับคนทีเ่ พิง่ รูจ้ กั กันก็ตาม แต่อย่างไรก็ตาม ทัง้ ทีค่ วามสุขเป็นเรือ่ งทีพ่ ดู กันบ่อย แต่เราก็มกั จะไม่คอ่ ยมองความสุขกันอย่างพิถพี ถิ นั สักเท่าไรนัก ดังนั้น ในบทนี้เราจะได้พูดถึงเรื่องความสุขว่ามีหน้าตาเป็นอย่างไร และ ทำ�อย่างไรจึงจะเกิดความสุขขึน้ ภายในจิตใจของเราได้ เตรี ย มดิ น • ๒๕


มิ ต ิ ข องความสุ ข

สำ�หรับคนปลูกต้นไม้แห่งความสุข เป็นเรือ่ งที่ หลีกเลีย่ งไม่ได้เลยทีจ่ ะต้องรูจ้ กั หน้าค่าตาความสุข หรือสุขภาวะกันให้ชดั ๆ ซึง่ ความสุขทีว่ า่ นี้ พระไพศาล วิสาโลได้จำ�แนกไว้ ๔ ด้านด้วยกัน คือ สุขภาวะทาง กาย จิตใจ สังคม และปัญญา โดยแต่ละด้านต่าง เชือ่ มโยงสัมพันธ์ซง่ึ กันและกันอย่างแยกไม่ออก

การเชื ่ อ มโยงสุ ข ภาวะมิ ต ิ ต ่ า งๆ กั บ สุ ข ภาวะทางปั ญ ญา ๒๖ • เตรี ย มดิ น


สุ ข ภาวะทางกาย

คือ การมีสขุ ภาพทีด่ ี มีปจั จัย ๔ ได้แก่ เสือ้ ผ้าเครือ่ งนุง่ ห่ม ทีอ่ ยูอ่ าศัย อาหาร และยารักษาโรคทีพ่ อเพียง อยูใ่ นสภาพ แวดล้อมทีด่ ตี อ่ สุขภาพ ซึง่ ทีผ่ า่ นมากิจกรรมทีส่ นับสนุนการมีสขุ ภาวะทางกาย เช่น การจัดมหกรรมออกกำ�ลังกายทุกเย็น วันศุกร์ การงดเหล้าช่วงเข้าพรรษา (ได้มติ ทิ างสังคมและทางจิต) การจัดคอร์สอบรมเพือ่ สุขภาพ การเดินทางไปปัน่ จักรยานตาม ชนบทหรือป่าเขา การจัดคอร์ส ทำ�อาหารเพือ่ สุขภาพ เป็นต้น

สุ ข ภาวะทางจิ ต

คือ การมีจติ ใจสดชืน่ เบิกบาน มีความ สุขสงบ มีกำ�ลังใจที่มั่นคงภายใน มี เมตตากรุณา อ่อนโยน และเข้าถึงความ สุขประณีตได้ ซึง่ การจัดกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมสุขภาวะทางจิตโดยทัว่ ไป ก็จะเป็น การปฏิบตั ธิ รรม ฝึกสมาธิบำ�เพ็ญประโยชน์ การทำ�งานศิลปะ ฟังหรือสนทนา ธรรม การได้อยูน่ ง่ิ ๆ ท่ามกลางธรรมชาติ

สุ ข ภาวะ ในมิ ต ิ ต ่ า งๆ

สุ ข ภาวะทางสั ง คม

คือ การอยูร่ ว่ มกับผูอ้ น่ื อย่างสงบ ราบรืน่ มีมติ รไมตรี เอือ้ เฟือ้ เกือ้ กูลซึง่ กันและกัน มีสวัสดิภาพ ความปลอดภัย และได้รบั การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ส่วนใหญ่ กิจกรรมทีท่ ำ�ให้เกิดสุขภาวะทางสังคมจะ เป็นการรณรงค์สง่ เสริม เช่น การรณรงค์ ให้คนในสังคมรับรูแ้ ละเข้าใจสิทธิ เสรีภาพ การจัดกิจกรรมดูแล เยี่ยมเยียนผู้สูงอายุหรือด้อย โอกาสในชุมชน การบริจาค สิง่ ของ เงินทองให้ผปู้ ระสบภัย หรือผูด้ อ้ ยโอกาส เป็นต้น

สุขภาวะทางปัญญา

คือ การมีความรู้ ความคิดทีถ่ กู ต้องดีงาม ทีช่ ว่ ยให้ดำ�เนินชีวติ ได้อย่างมีความสุข รูจ้ กั คิดพิจารณาด้วยเหตุผล ซึง่ จะช่วย หาทางออกให้กบั ปัญหาและหลุดพ้นจาก ความทุกข์ ตลอดจนรูจ้ กั ดำ�เนินการให้ สำ�เร็จด้วยวิธแี ห่งปัญญา เป็นทีพ่ ง่ึ ของ ตนเองได้ โดยรูปแบบกิจกรรมทีส่ ง่ เสริม สุขภาวะทางปัญญา จะครอบคลุมกิจกรรม ทัง้ หมดทีก่ ล่าวมาใน ๓ มิติ แต่จะเพิม่ หลักการและข้อปฏิบตั บิ างอย่างเข้าไป ด้วย เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้เรียนรูท้ จ่ี ะคิด วิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและถูกต้องดีงาม ทำ�ให้สามารถดำ�เนินชีวติ ได้อย่างปกติสขุ เตรี ย มดิ น • ๒๗


แต่ในชัว่ โมงแห่งความสุข เราก็มกั จะเปิดการรับรูเ้ พียงบางด้านเท่านัน้ เช่น การทีเ่ ราเดินบนทางเท้าทีส่ ะอาดร่มรืน่ มีดอกไม้สง่ กลิน่ หอมละมุน เรารูส้ กึ สบาย (กาย) และรื่นรมย์ (ใจ) แต่ไม่ได้คิดเชื่อมโยงไปถึงคนที่ทำ�หน้าที่กวาดถนน ปลูกต้นไม้ ไม่ได้นึกถึงความปลอดภัยที่เกิดจากผู้คนในสังคมที่มีจิตใจดีงาม (สังคม) + (ปัญญา) ทัง้ ทีใ่ นความเป็นจริง ทุกสิง่ ล้วนเกีย่ วข้องสัมพันธ์กนั และไม่วา่ เราจะมอง เห็นหรือไม่กต็ าม โยงใยนีก้ ย็ งั คงทำ�หน้าทีอ่ ยูอ่ ย่างสมํา่ เสมอ และสำ�หรับคนปลูกต้นไม้แห่งความสุข เรือ่ งนีถ้ อื เป็นศาสตร์อย่างหนึง่ ทีจ่ ะ ต้องมองให้ทะลุปรุโปร่ง

ที ่ ม าของ ความสุ ข

การเกิดและมีอยูข่ องความสุขในใจเรานัน้ เป็นเรือ่ งที่ เรา-เจ้าของหัวใจสามารถสัมผัสได้ แม้บางครัง้ จะอธิบาย ได้ยากยิง่ ก็ตาม ซึง่ ความสุขทีว่ า่ นีร้ วมถึงสุขภาวะทัง้ ๔ มิติ (กาย สังคม จิต ปัญญา) ที่เราได้พูดถึงไปแล้วด้วย หาก มองอย่างละเอียด เราจะเห็นที่มาของความสุขนั้น ดั่งที่ พระไพศาล วิสาโล ได้กล่าวไว้วา่ ความสุขทีป่ รากฏแก่เรา นัน้ มีทม่ี าจากการมีทศั นคติ ๔ ประการ ซึง่ ได้แก่

๑. การคิ ด ถึ ง ผู ้ อ ื ่ น มากกว่ า ตั ว เอง หลายคนอาจมองว่าเป็นเรือ่ งยากทีจ่ ะคิดถึงคนอืน่ มากกว่าตัวเอง แต่บอ่ ย ครัง้ ทีเ่ ราทำ�เพือ่ คนอืน่ มากกว่าตัวเราเอง โดยไม่ทนั ได้คดิ ด้วยซํา้ ไป ยกตัวอย่าง ง่ายๆ ตอนทีเ่ รานัง่ รถประจำ�ทาง มีคนขึน้ มาทีหลังแล้วไม่มที น่ี ง่ั เราพร้อมทีจ่ ะ สละทีน่ ง่ั ด้วยความยินดี โดยเฉพาะกับคนทีล่ ำ�บากกว่าเราอย่างคนแก่หรือเด็ก นักเรียนทีแ่ บกกระเป๋ามาหนักๆ หรือทันทีทร่ี ขู้ า่ วว่ามีผปู้ ระสบภัยพิบตั ิ เราก็จะ พยายามหาทางเพือ่ ช่วยเหลือทัง้ ให้กำ�ลังใจ กำ�ลังทรัพย์ กำ�ลังกาย และกำ�ลังสติ ปัญญา โดยไม่คำ�นึงถึงความเหน็ดเหนือ่ ยหรือยากลำ�บากแต่อย่างใด และที่ สำ�คัญคือเป็นคนทีเ่ ราไม่รจู้ กั มาก่อน ๒๘ • เตรี ย มดิ น


ครัง้ หนึง่ ทีมคนปลูกต้นไม้จากม.มหิดลพา น้องๆ นักศึกษานัง่ รถไฟจากกรุงเทพฯ ไปจ.ลำ�พูน โดยซื้อตั๋วนั่งชั้น ๓ ด้วยการเดินทางกว่า ๑๔ ชัว่ โมง นักศึกษาส่วนใหญ่ได้เรียนรูท้ จ่ี ะเสียสละ ทีน่ ง่ั ให้คนทีซ่ อ้ื ตัว๋ ยืน โดยเฉพาะคนแก่ ผูห้ ญิง และเด็ก ส่วนตัวเองก็สลับกันนัง่ กับเพือ่ น การที่ พวกเขาได้เรียนรูก้ ารให้ เรียนรูท้ จ่ี ะเห็นอกเห็นใจ คนอืน่ ผ่านความยากลำ�บาก เป็นประสบการณ์ ที่ผู้เขียนเชื่อว่า แม้วันเวลาจะผ่านมาเกือบ ๓ ปี (ต.ค. ๒๕๕๔) วันนี้เขาก็ยัง คงจดจำ�ความสุขทีเ่ กิดขึน้ ตอนนัน้ อย่างแจ่มชัด ทุกครัง้ ทีเ่ ราได้ชว่ ยเหลือหรือแบ่งปันแก่ผอู้ น่ื แม้จะไม่หวังสิง่ ใดตอบแทน (ซึง่ ปกติกเ็ ป็นอย่างนัน้ อยูแ่ ล้ว) แต่กม็ กั จะมีสง่ิ หนึง่ ทีเ่ ราได้รบั กลับมาเสมอ นัน่ คือ ความสุขใจ ดังนัน้ สำ�หรับคนปลูกต้นไม้อย่างเรา การสร้างพืน้ ทีห่ รือกระบวนการ เพือ่ ให้ผู้เข้าร่วมของเราได้สัมผัสกับประสบการณ์ความสุขใจด้วยตัวเองจะช่วยให้ เกิดการเรียนรูเ้ พือ่ แปรเปลีย่ นในทางสร้างสรรค์ได้ไม่ยากนัก ซึง่ เราจะได้พดู ถึง เรือ่ งนีก้ นั อีกครัง้ ในบทต่อๆ ไป

๒. เมื ่ อ เราไม่ พ ึ ่ ง พิ ง ความสุ ข ทางวั ต ถุ แ ต่ เ พี ย งอย่ า งเดี ย ว ทีม่ าของความทุกข์ทส่ี ำ�คัญอีกอย่างหนึง่ ก็คอื การสร้างค่านิยมให้กบั วัตถุ แล้วก็ยดึ มัน่ ถือมัน่ กับค่านิยมนัน้ ๆ จนแน่นเหนียว แรกๆ ก็อาจจะทำ�ให้มคี วาม สุขหรือพอใจดีอยู่ แต่พอนานไปกลับกลายเป็นความทุกข์ทต่ี อ้ งไล่ตามค่านิยม ให้ทนั ดังนัน้ ทุกข์จงึ เกิดจากการอยากมีแล้วไม่มี และเมือ่ มีแล้วก็ไม่พอนัน่ เอง ดังนัน้ การทีเ่ ราจะมีความสุขได้อย่างแท้จริงนัน้ ก็ตอ้ งไม่ยดึ ติดในวัตถุนยิ ม ไม่พง่ึ พิงแต่วตั ถุภายนอกในการสร้างความสุข และรวมถึงการเห็นว่ามีความสุข ทีย่ ง่ั ยืนกว่า อย่างเช่น ความสุขทีเ่ กิดจากการเป็นผูใ้ ห้ การได้ทำ�ความดี การมี ความสัมพันธ์ทด่ี ี หรือการดำ�รงชีวติ โดยการพึง่ พาตัวเองและธรรมชาติ เตรี ย มดิ น • ๒๙


โดยเฉพาะความสุขจากการเป็นผูใ้ ห้ มีหลายกิจกรรมทีก่ ลุม่ เป้าหมายได้ สัมผัสประสบการณ์ของความสุข ความอิม่ เอิบใจจากการเป็นผูใ้ ห้ เช่น เมือ่ คราว ทีน่ อ้ งๆ ในจังหวัดแพร่ลงพืน้ ทีช่ มุ ชนเพือ่ ไปนวดให้ชาวบ้านแบบเคาะประตูบา้ น แรกๆ ก็ไม่มใี ครกล้าเปิดประตูรบั จนกระทัง่ ผูใ้ หญ่บา้ นประกาศถึงการมาของ เด็กๆ จึงเริม่ มีคนเชือ้ เชิญให้เข้าไปนวดมากขึน้ จนบ่ายคล้อย ก็ยงั มีคนทีร่ อนวด อยูอ่ กี หลายบ้าน พอเด็กๆ เดินกลับมาทีร่ ถ บางคนหอบหิว้ ผลหมากรากไม้กลับ มาจนตัวแอ่นพร้อมกับบอกว่า “คุณยายให้เอามาฝากเพื่อนๆ ด้วย ตอนแรก คุณยาย จะให้เงิน แต่ผมไม่รบั คุณยายเลยให้กล้วยมาเป็นการขอบคุณ”

อย่ า งที ่ ผ ู ้ เ ขี ย นได้ บอกไปแล้ ว ว่ า ความสุ ข เช่ น นี ้ ไ ม่ ส ามารถอธิ บ าย ได้ จนกว่ า จะได้ ส ั ม ผั ส ด้ ว ยตั ว ของเราเอง... ภาพโดย เชิดพงษ์ แก้วเอ้ย

๓. เมื ่ อ เราเชื ่ อ มั ่ น ในความเพี ย รของตั ว เราเอง และไม่ ห วั ง ลาภลอย คอยโชค บางครัง้ ความสุขก็เหมือนมะม่วง มีคนชีช้ วนให้เราสอยลงมา หรือบางคน หวังดีมากๆ ก็สอยลงมาใส่ถาดให้เราพร้อมสรรพ แต่ถา้ เราไม่กลืนกินมะม่วง ผลนัน้ ด้วยตัวเราเอง เราก็จะไม่มวี นั รูว้ า่ มะม่วงมีรสเป็นอย่างไร หรือถ้าเรายืน รอให้มะม่วงหล่นลงมาเอง ก็ไม่รวู้ า่ เมือ่ ไรจะได้กนิ บางคนกว่าจะได้กินมะม่วงต้องปีนป่ายฝ่าฝูงมดแดง ถูกรุมกัดบ้าง เจอ กิง่ ไม้ผบุ า้ ง เจ็บเนือ้ เจ็บตัวหลายครัง้ หลายครา แต่เชือ่ หรือไม่วา่ ยิง่ ยากลำ�บาก มะม่วงก็ยง่ิ อร่อย! ๓๐ • เตรี ย มดิ น


แต่กย็ งั มีมะม่วงทีอ่ ร่อยกว่านัน้ อีก นัน่ คือมะม่วงทีเ่ ราปลูกเอง ค่อยๆ รดนํา้ พรวนดินเอง เมือ่ ออกดอกออกผลก็มมี ากพอทีจ่ ะแบ่งปันให้กบั คนอืน่ ๆ การทีเ่ ราจะกิน จะปลูก หรือจะปันมะม่วงแห่งความสุขได้นน้ั จะต้องเริม่ ต้น จากความปรารถนาและความมุง่ มัน่ จากภายในเสียก่อน จากนัน้ จึงจะเป็นการ เรียนรูเ้ พือ่ ทีจ่ ะปลูกความสุขให้เกิดขึน้ ด้วยตัวของเราเอง ซึง่ ส่วนใหญ่มกั จะเป็น วิธที ต่ี อ้ งอาศัยความพยายามและความอดทนเป็นอย่างมาก และเมือ่ นัน้ เราจึง จะสามารถแบ่งปันความสุขทีบ่ ม่ เพาะจากภายในให้แก่คนอืน่ ได้ สำ�หรับเรา-คนปลูกต้นไม้ การจัดกระบวนการหนึง่ ๆ ก็เหมือนกับการปลูกมะม่วงแห่งความสุข ทัง้ ในใจของเราและ ในใจของผูเ้ ข้าร่วม จำ�เป็นทีเ่ ราจะต้องริดรอนกิง่ ก้านหรือนำ� มดแดงมาปล่อยไว้บา้ ง เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมของเราได้ลม้ิ รสความสุขและบทเรียน จากการรอคอยและฝ่าฟันความยากลำ�บาก

ภาพโดย บุญตาล สิงห์คำ�

เหมือนกับการเดินธรรมยาตราของคนปลูกต้นไม้และเจ้าของหัวใจจาก อ.เชียง ดาว จ.เชียงใหม่ ถึงอ่าวไทย เป็นการเดินเลียบแม่นํา้ ปิงและเจ้าพระยา ผ่านชุมชน ต่างๆ โดยเดินวันละประมาณ ๒๐ กิโลเมตร ตกค่ำ�ก็อาศัยนอนวัดบ้างโรงเรียนบ้าง เช้ามาก็เดินต่อไป รวมระยะทางประมาณ ๑,๒๐๐ กิโลเมตร ใช้เวลาประมาณ ๔ เดือน (พ.ย.๕๓ – ก.พ.๕๔) ผ่าน ๑๔ จังหวัด เตรี ย มดิ น • ๓๑


เชื ่ อ ได้ ว ่ า หลั ง จากนั ้ น พวกเขาจะจ ดจำ � เรื ่ อ งราวความส ุ ข ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ระหว่ า งทางได้ อ ย่ า งแม่ น ยำ � ภาพโดย บุญตาล สิงห์คำ�

เหนื่อย ไม่สบาย ลำ�บาก เป็นคำ�ทีผ่ ดุ ขึน้ มาเป็นระยะ แต่ไม่มีคำ�ว่า เมื่อไรจะถึง เพราะพวกเขารูว้ า่ การบำ�เพ็ญ เพียรครัง้ นีม้ คี วามหมายและ มีคณ ุ ค่า ความสุขไม่ได้อยูท่ ่ี การได้กนิ ของอร่อย นอนหลับ สบาย แต่อยูท่ ร่ี ม่ ไม้ระหว่าง ทาง แววตาและคำ�อวยพร จากคนทีอ่ ยูข่ า้ งทางทีพ่ วกเขา ได้พบเจอ

๔. เมื ่ อ เรารู ้ จ ั ก คิ ด อย่ า งมี เ หตุ ผ ลและเป็ น ประโยชน์ เกื ้ อ กู ล เมื่อใดที่มีคนเห็นก้อนเมฆบนหน้ากระดาษ เมื่อนั้นก็หวังได้ว่าโลกจะ สามารถคืนสูด่ ลุ ยภาพได้ และถ้าหากเราซึง่ เป็นคนปลูกต้นไม้ยงั ไม่สามารถมอง เห็นก้อนเมฆบนหน้ากระดาษได้ เราก็ยง่ิ ต้องฝึกฝนตัวเองให้มากขึน้ ในทัศนคติ ๔ ประการ การคิดอย่างมีเหตุผลเป็นหัวข้อทีจ่ ดั กระบวนการให้ เกิดการเรียนรูไ้ ด้ยาก และยิง่ ต้องเป็นความคิดทีเ่ กิดประโยชน์เกือ้ กูลด้วยแล้ว ยิ่งยากยกกำ�ลังสิบ เพราะเด็กไทยและอดีตเด็กไทย (ผู้ใหญ่ในวันนี้) ไม่ค่อย ได้รบั การฝึกให้คดิ วิเคราะห์และสังเคราะห์มาแต่ไหนแต่ไร เมือ่ ถึงเวลาทีต่ อ้ ง คิดจึงหนีไม่พน้ การยกเมฆ ทัง้ ทีเ่ รามีคำ�สอนเรือ่ งการคิดทีม่ คี ณ ุ ค่ามาก นัน่ คือ การคิดอย่างแยบคาย หรือ โยนิโสมนสิการ แต่ขอไม่เอ่ยถึงในทีน่ ้ี กลับมาทีก่ อ้ นเมฆบนหน้ากระดาษ มีกจิ กรรมหนึง่ ทีส่ อ่ื สารคล้ายกัน แล้ว ก็น่ารักมาก เป็นกิจกรรมที่จัดตอนกลางคืน โดยให้เด็กๆ จุดเทียนไขเข้าฐาน ต่างๆ เป็นระยะทางเกือบ ๑ กิโลเมตร เด็กๆ จะต้องทำ�ภารกิจให้สำ�เร็จ ซึง่ ก็คอื การก่อไฟให้ตดิ แล้วก็ยา่ งกุง้ ๔ ตัวให้สกุ (ในรายงานไม่ได้บอกว่าเป็นกุง้ ฝอย หรือกุง้ มังกร!) แล้วต้องมีแสงสว่างเพือ่ เดินทางกลับด้วย ฟังดูนา่ สนุกและท้าทายสำ�หรับเด็กๆ ยิง่ เป็นบรรยากาศตอนกลางคืนในอุทยาน แห่งชาติดว้ ย ยิง่ น่าตืน่ เต้นเข้าไปใหญ่ แต่บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ เป็นสิง่ ทีผ่ ใู้ หญ่ยงั ต้องลุน้ ๓๒ • เตรี ย มดิ น


ผลจากการถอดบทเรียน เด็กๆ สามารถคิดได้วา่ การทีเ่ ราจะเผากุง้ แค่ ๔ ตัวนัน้ เราต้องวางแผนและใช้ทรัพยากรมากมายขนาดไหน ทัง้ เทียนไข กิง่ ไม้ ถ่าน และน้ำ�ในการดับไฟ และยิง่ ถ้าแจกแจงทีม่ าของทรัพยากรแต่ละอย่างด้วย แล้ว ก็จะทำ�ให้เราคิดเชือ่ มโยงได้วา่ ทำ�ไมจึงมีกอ้ นเมฆบนหน้ากระดาษของเรา และทำ�ไมเราจึงควรใช้กระดาษอย่างประหยัด

ก้ อ นเมฆบนหน้ า กระดาษ หมายถึ ง อะไร?

ส้ อ มพรวน ชวนคิ ด

ท่านติช นัท ฮันห์ ได้ยกตัวอย่างความเชือ่ มโยงของสรรพสิง่ ผ่านการ พิจารณากระดาษแผ่นเดียวไว้ว่า หากเรามองกระดาษแผ่นหนึ่งที่วางอยู่ ตรงหน้าจะเห็นก้อนเมฆ เมือ่ ก้อนเมฆรวมตัวกลายเป็นฝนตกลงมาต้นไม้ ก็งอกงาม นอกจากฝนแล้วต้นไม้ยงั ต้องการแสงอาทิตย์ดว้ ย จากนัน้ คนตัดไม้กเ็ ข้ามาตัดไม้ไปส่งโรงงานพอเห็นคนตัดไม้ เราก็ จะเห็นทุง่ ข้าวสาลี ทีน่ ำ�ไปทำ�ขนมปังหล่อเลีย้ งชีวติ คนตัดไม้ เห็นพ่อแม่ ของคนตัดไม้ เพราะถ้าไม่มพี อ่ แม่กไ็ ม่มคี นตัดไม้ และถ้ามองให้ลกึ ซึง้ ก็จะเห็นตัวเราอยูใ่ นกระดาษแผ่นนีด้ ว้ ยเช่นกัน ซึง่ นัน่ หมายถึง การเห็นความเชือ่ มโยงของสรรพสิง่ เห็นสายใยทีเ่ ชือ่ ม ร้อยการอิงอาศัยซึ่งกันและกัน ทั้งที่มองจากภายนอกไม่มีอะไรที่ เกีย่ วข้องกันเลย (ทีม่ าจาก หนังสือ เธอคือศานติ เขียนโดย ติช นัท ฮันห์ แปลโดย สันติสขุ โสภณศิริ สำ�นักพิมพ์โกมลคีมทอง)

เตรี ย มดิ น • ๓๓


บทที​ี่​่

เรียนรู้ระบบนิเวศ ศึ ก ษาปั จ จั ย /องค์ ป ระกอบ ที ่ เ อื ้ อ ต่ อ การเรี ย นรู ้


เรียนรู้ระบบนิเวศ

( ศึ ก ษาปั จ จั ย /องค์ ป ระกอบที ่ เ อื ้ อ ต่ อ การเรี ย นรู ้ )

แผนที ่ ค วามคิ ด

แสงแดด

เมฆ

นํ ้ า

ดิ น

คน

การเติบโตของต้นไม้ตอ้ งอาศัยการหล่อเลีย้ งของธาตุดนิ น้ำ� ลม ไฟ ทีไ่ หล เวียนอย่างเป็นระบบ ความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้กบั ธาตุทง้ั สี่ และสิง่ ต่างๆ ทีอ่ ยู่ แวดล้อมนี้ เราเรียกว่าระบบนิเวศ ซึง่ แต่ละพืน้ ทีก่ แ็ ตกต่างกันออกไป การจัดกระบวนการเรียนรู้ ณ เวลาและสถานทีห่ นึง่ ๆ ก็ไม่ตา่ งกัน คือต้อง ประกอบด้วยความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ อย่างเป็นระบบ ซึง่ ระบบในทีน่ ้ี ไม่ได้หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ทต่ี ายตัวแต่อย่างใด ตรงกันข้าม ในบางครัง้ ความไม่เป็นระเบียบก็ถอื เป็นระบบๆ หนึง่ ได้เหมือนกัน เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๓๕


ในบทที ่ ๓ ในบทที่ ๓ นี้ เป็นการรวบรวมและประมวลปัจจัยทีส่ ง่ ผล มี อ ะไร ต่อการจัดกระบวนการ ดังนัน้ เนือ้ หาในบทนีจ้ งึ ค่อนข้างยาว

และมีรายละเอียดปลีกย่อยมาก การเริม่ ต้นด้วยการพิจารณา แผนที่ความคิดข้างต้น จะช่วยทำ�ให้เห็นภาพรวมได้ง่ายขึ้น จากนัน้ ผูอ้ า่ นสามารถเลือกอ่านทีละหัวข้อตามความสนใจได้ โดยไม่จำ�เป็นต้องอ่านเรียงลำ�ดับรวดเดียว ซึง่ ปัจจัยทีส่ ำ�คัญต่อ การจัดกระบวนการทีค่ วรคำ�นึงถึง มีอย่างน้อย ๕ ประการ ได้แก่

แสงแดด (หลั ก การและภาพรวม) การมาเยือนของดวงอาทิตย์ ถือเป็นสัญญาณของการเริม่ ต้นและเป็น แหล่งพลังงานของชีวติ ซึง่ ก็เหมือนกับการวางหลักการและภาพรวมทีเ่ ป็น ทัง้ จุดเริม่ ต้นและทิศทางในการดำ�เนินงาน ส่วนกิจกรรมต่างๆ ก็เหมือนกับ ดอกทานตะวันทีเ่ บ่งบานรับแสงแดดยามเช้าและหันหน้าตามเส้นทางการ โคจรของดวงอาทิตย์ไปตลอดทัง้ วัน การจัดสรรแสงแดดแก่ต้นไม้ในปริมาณที่พอเหมาะ จะช่วยให้ต้นไม้ สามารถสังเคราะห์แสงสร้างอาหารได้เต็มที่ โอกาสทีจ่ ะเกิดเชือ้ ราก็นอ้ ยลง และก็เช่นกัน การกำ�หนดหลักการและภาพรวมทีด่ กี จ็ ะช่วยให้กระบวนการ สามารถขับเคลือ่ นไปได้อย่างมีพลังและผิดพลาดน้อยลง ซึง่ ข้อทีเ่ ราควร คำ�นึงถึงในการออกแบบโครงสร้างก็คอื ...

ความสอดคล้ อ งขององค์ ป ระกอบต่ า งๆ

ถ้าเราขึน้ ไปยืนอยูบ่ นดวงอาทิตย์แล้วมองมายังโลก ก็จะเห็นโลกในมุม ทีก่ ว้างไกลและครอบคลุม ด้วยหลักการเดียวกันนี้ ในจุดเริม่ ต้น สิง่ ทีค่ นปลูก ต้นไม้ควรทำ�ก็คอื นำ�ข้อมูลทีม่ อี ยูท่ ง้ั หมดขึน้ มาวางบนโต๊ะ ไม่วา่ จะเป็นคน ทีเ่ กีย่ วข้อง เนือ้ หา กิจกรรม สถานที่ ช่วงเวลา ฯลฯ เพือ่ วิเคราะห์ถงึ ความเชือ่ ม โยงสัมพันธ์ขององค์ประกอบทัง้ หมด ก่อนจะจัดสรรนํา้ หนักแต่ละส่วนไม่ให้ มากหรือน้อยเกินไป การจะจัดจังหวะจะโคนขององค์ประกอบเหล่านีใ้ ห้พอเหมาะพอดี ต้อง อาศัยทักษะทัง้ ศาสตร์และศิลป์ในคราวเดียวกัน ซึง่ เราจะพูดถึงเรือ่ งนีอ้ กี ครัง้ ในบทต่อๆ ไป

๓๖ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


ทำ � แผนภาพความคิ ด (mind mapping)

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ท ํ า

เนือ่ งจากว่า องค์ประกอบในการจัดกระบวนการ แต่ละครัง้ นัน้ มีมากมายหลายอย่าง วิธกี ารหนึง่ ทีจ่ ะช่วยให้ เรามองความสอดคล้องสัมพันธ์ทั้งหมดได้ชัดขึ้นก็คือ การทำ� แผนภาพความคิด (Mind Mapping) โดยมีหวั ข้อดังนี้ ๑. ทำ�ไม (why): ทีม่ าหรือเป้าหมายโครงการ/งานทีอ่ ยากทำ� ๒. อย่างไร (how): แนวทางหรือยุทธศาสตร์ ๓. ทำ�อะไร (what): สิง่ ทีเ่ ราทำ� (กระบวนการ/กิจกรรม) สิง่ ทีต่ อบสนองแนวทางนัน้ ๆ ๔. ใคร (who): กระบวนการทีว่ า่ นีท้ ำ�กับใคร (เหมาะ/สอดคล้องกันไหม) ๕. ทีไ่ หน (where): พืน้ ที/่ สถานที่ ๖. เมือ่ ไร (when): ช่วงเวลาสอดคล้องกับองค์ประกอบอืน่ ๆ หรือไม่ อย่างไร ทัง้ นี้ ลำ�ดับขัน้ ขององค์ประกอบเหล่านีส้ ามารถขยับปรับเปลีย่ นได้ ขึ้นอยู่กับความถนัดในการคิดวิเคราะห์ของคนปลูกต้นไม้แต่ละคน เช่น บางคนอาจจะคุ้นเคยกับการคิดที่เริ่มจากปัญหาที่เกิดกับคนใน พื้นที่ บางคนอาจจะเริ่มจากความปรารถนาที่จะทำ�กระบวนการ ลักษณะนี้ก่อนแล้วค่อยไปหาองค์ประกอบอื่นๆ ทีหลัง หรือบางคน อาจจะอยากทำ�อะไรสักอย่างในพื้นที่แห่งนี้แล้วค่อยดูว่าจะทำ�อะไร หรือกับใครได้บ้าง เป็นต้น จากนั้นเราก็มาพิจารณากันว่า ราย ละเอียดที่เรานำ�มาเติมลงในและหัวข้อนั้นมีความสอดคล้อง และสนับสนุนกันหรือเปล่า

ดิ น (หลั ก การและภาพรวม) ใต้ผืนดินอันสงบนิ่ง มีความเคลื่อนไหวอย่างเงียบๆ กระบวนการ แปรเปลีย่ นก้อนหินแข็งกระด้างให้เป็นผืนดินทีอ่ อ่ นนุม่ เกิดขึน้ ทีน่ ่ี กระบวนการดูดซับน้ำ�ฝนเพือ่ ละลายแร่ธาตุตา่ งๆก็เกิดขึน้ ทีน่ ่ี สิง่ มีชวี ติ เล็กๆ ย่อย สลายเศษใบไม้ใบหญ้าก็อยูท่ น่ี ่ี เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๓๗


ที ่ น ี ่ ม ี ค วามเคลื ่ อ นไหวอยู ่ ต ลอดเวลา

กระบวนการเป็นสิง่ ทีเ่ รามองไม่เห็น แต่สมั ผัสได้วา่ มีความเคลือ่ นไหวอยู่ ตลอดเวลาตัง้ แต่แรกก่อกำ�เนิด หล่อเลีย้ ง ดำ�รงอยู่ และย่อยสลายไป และการ ย่อยสลายของสิง่ หนึง่ ก็ไปหล่อเลีย้ งการก่อกำ�เนิดของอีกสิง่ หนึง่ เสมอ เป็นจังหวะ เป็นท่วงทำ�นองทีส่ อดคล้องประสานกัน นอกจากนัน้ แล้ว ผืนแผ่นดินยังเป็นทีท่ ค่ี นปลูกต้นไม้สามารถใส่ปยุ๋ เพือ่ ให้ ต้นไม้ดดู ซับไปใช้ได้ กระบวนการก็เช่นกัน เราสามารถใส่เนือ้ หา ปัจจัย เงือ่ นไข ต่างๆ ลงไป เพือ่ ให้ตน้ ไม้ในใจของผูเ้ ข้าร่วมได้ใคร่ครวญ ซึมซับ และนำ�ไปปรับ ใช้ในชีวติ ได้ และเป็นทีแ่ น่นอนว่า ปุย๋ ของคนปลูกต้นไม้แต่ละคนสำ�หรับต้นไม้แต่ละต้น ย่อมแตกต่างกัน และไม่มสี ตู รสำ�เร็จ แต่กอ่ นจะขุดหลุมหรือใส่ปยุ๋ ลงในดิน คน ปลูกต้นไม้จำ�เป็นทีจ่ ะต้องรูจ้ กั องค์ประกอบและบริบทแวดล้อมของดินเสียก่อน ซึง่ มีอยู่ ๘ อย่างด้วยกัน คือ

๑. ชั ้ น ดิ น – การร้ อ ยเรี ย งกระบวนการ นับจากพืน้ ผิวดินลึกลงไปหลายพันเมตร ดินได้ถกู แบ่งออกเป็นชัน้ ๆ ตาม ลักษณะทางกายภาพและชีวภาพ กระนัน้ รอยต่อระหว่างดินแต่ละชัน้ ก็ไม่ได้แยก ออกจากกันโดยสิน้ เชิง พรมแดนระหว่างชัน้ ดินสามารถผสมกลมกลืนด้วยกลไก ทางธรรมชาติ ไม่วา่ จะเป็น กระแสน้ำ� แรงบีบอัดใต้ดนิ การชอนไชของรากไม้ และไส้เดือน หรือแม้แต่การย่อยสลายของซากอินทรีย์ (ฮิวมัส) สิง่ เหล่านีล้ ว้ น แล้วแต่เป็นกระบวนการทีเ่ ชือ่ มต่อดินแต่ละชัน้ เข้าด้วยกัน การเชือ่ มโยงดินแต่ละชัน้ ก็เหมือนกับการร้อยเรียงกระบวนการ คือ แม้จะ มีการแบ่งกระบวนการออกเป็นช่วงๆ แต่ละส่วนต่างก็เชือ่ มโยงส่งผลซึง่ กันและ กัน ถ้าเราสังเกตและทำ�ความเข้าใจกลไกของธรรมชาติดังกล่าว ก็จะช่วยให้ การจัดกระบวนการสอดคล้องกลมกลืนขึน้ หรืออย่างทีเ่ ราเรียกว่า “เนียน” นัน่ เอง


อย่ า งไรที ่ เ รี ย กว่ า “เนี ย น” ?

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

“เนียน” ในทีน่ ม้ี าจากคำ�ว่า แนบเนียน การจัดกระบวนการทีแ่ นบเนียนก็คอื การดำ�เนินกระบวนการทีไ่ หล ลืน่ ต่อเนือ่ งกัน กระบวนการแต่ละช่วงมีความเชือ่ มโยงหรือส่งผลซึง่ กัน และกันอย่างเป็นธรรมชาติ โดยเฉพาะท่าทีของเรา แม้วา่ บางครัง้ เราอาจจะใส่เงือ่ นไขแปลกปลอมเข้าไปเพือ่ เร้าความ รูส้ กึ หรือเหตุการณ์ ก็อยูใ่ นช่วงจังหวะทีส่ อดคล้องกับสถานการณ์ ครัง้ หนึง่ ในการจัดกระบวนการกับเยาวชนกลุม่ เสีย่ ง (วัยรุน่ ทีเ่ ริม่ ใช้ชวี ติ นอกบ้าน เช่น อยูห่ อพัก บ้านเช่า มีพฤติกรรมอยากรู้ อยากลอง ท้าทายข้อห้ามต่างๆ) เพือ่ ให้เยาวชนกลุม่ นีเ้ กิดการเข้าใจตัวเอง เข้าใจ สิง่ ทีก่ ำ�ลังทำ�อยู่ จนนำ�ไปสูก่ ารลดพฤติกรรมเสีย่ ง โดยทีมคนปลูกต้นไม้ได้เลือกใช้ศลิ ปะเป็นเครือ่ งมือ ซึง่ มีแนวทาง ในการร้อยเรียงกระบวนการ โดยเริม่ จากการเตรียมความพร้อม ทำ� กิจกรรมเพือ่ เข้าใจตัวเอง เข้าใจคนอืน่ เข้าใจความสุข มองเห็นความฝัน เป้าหมายของชีวติ แล้วจึงขยายความเข้าใจและการปฏิบตั สิ สู่ งั คมเล็กๆ ทีอ่ ยูร่ อบข้าง โดยกิจกรรมท้ายทีส่ ดุ คือการสรุปบทเรียนร่วมกัน ทัง้ นี้ ระหว่างทีจ่ ดั กระบวนการ กิจกรรมหรือเกมทีเ่ ลือกมาใช้ จะมีลกั ษณะทีค่ อ่ ยๆ เพิม่ ระดับการเรียนรูจ้ ากพืน้ ทีป่ ลอดภัยใกล้ตวั แล้วค่อยๆ ขยับห่างออกไป สอดแทรกไปกับเกมสันทนาการเพื่อ ผ่อนคลายบรรยากาศและสร้างความสัมพันธ์เป็นระยะ

เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๓๙


๒. ผิ ว ดิ น – กระบวนการเตรี ย มความพร้ อ ม แผ่นดินหัวใจของแต่ละคนหล่อหลอมมาจากเนือ้ ดินทีแ่ ตกต่างกัน ย่อมโอบ อุม้ เมล็ดพันธุ์ ด้วยลักษณาการทีแ่ ตกต่างกัน ในวันแรกทีก่ า้ วเข้ามาสูค่ า่ ยหรือการอบรม หมายถึง การทีต่ อ้ งมาพบเจอ กับคนแปลกหน้า อยูใ่ นสถานทีแ่ ปลกใหม่ หรือการทีต่ อ้ งจากบ้านทีค่ นุ้ เคยมา ทำ�ให้มีเมล็ดพันธุ์ต่างๆ ผุดขึ้นมาในใจเต็มไปหมด ทั้งความกลัว ความลังเล สงสัย ความง่วง ความขี้เกียจ ความตื่นเต้น ความหงุดหงิด ความกังวล ฯลฯ แทบจะไม่มพี น้ื ทีว่ า่ งสำ�หรับการขุดหลุมหย่อนเมล็ดพันธุค์ วามสุขเอาเสียเลย ดังนัน้ จึงจำ�เป็นทีเ่ ราจะต้องเริม่ ต้นด้วยการปรับสภาพหน้าดิน เตรียมความ พร้อม เพือ่ ปรับให้ผเู้ ข้าร่วมเกิดความผ่อนคลาย ปล่อยวางจากความกังวล เพือ่ สร้างความตืน่ ตัวและเปิดใจพร้อมทีจ่ ะเรียนรู้ ส่วนใหญ่กจิ กรรมทีใ่ ช้กนั มักจะเน้นความสนุกสนาน และการเคลือ่ นไหว ร่างกายมากกว่าจะใช้ความคิด เรามักจะเรียกช่วงเวลานีว้ า่ ละลายพฤติกรรม สร้างความสัมพันธ์ ทลายกำ�แพงหรือสันทนาการ นัน่ เอง ในช่วงเวลานีเ้ องทีเ่ ราจะได้อา่ นพลังและหยัง่ ท่าทีของผูเ้ ข้าร่วมด้วย

จั ด สรรเวลาสำ � หรั บ “ละลายพฤติ ก รรม” อย่ า งไรดี

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด การจัดสรรช่วงเวลาสำ�หรับการละลายพฤติกรรมกับ เนือ้ หาหลัก เป็นเรือ่ งทีเ่ รามักมองข้าม เพราะคิดว่าเป็นธรรมเนียม ปฏิบตั อิ ยูแ่ ล้ว แต่ความจริงกิจกรรมช่วงละลายพฤติกรรมส่งผล ต่อเนือ่ งถึงกิจกรรมหลักอย่างมีนยั ยะสำ�คัญ เช่น ถ้าเราให้เวลาช่วง แรกน้อยเกินไป ผูเ้ ข้าร่วมก็จะขาดมิตคิ วามสัมพันธ์ หรือยังรูส้ กึ ไม่ ไว้วางใจ ทำ�ให้ไม่สามารถแลกเปลีย่ นความรูส้ กึ เชิงลึกได้ ตรงกันข้าม ถ้าใช้เวลาละลายพฤติกรรมมากเกินไป ทำ�ให้เบียดบัง เวลาในการทำ�กิจกรรมหลัก ยิ่งถ้าเป็นเกมที่สนุกสุดเหวี่ยงด้วยแล้ว สมาธิก็จะกระเจิดกระเจิง ครั้นจะดึงกลับมาสู่กิจกรรมหลักและถอด บทเรียนก็จะทำ�ได้ยาก ความสามารถคิดวิเคราะห์กจ็ ะลดน้อยลงด้วย ดังนั้น ในการออกแบบกิจกรรมละลายพฤติกรรม เราจึงควร พิจารณาถึงความเหมาะสมของระยะเวลาและ อารมณ์ของกิจกรรมในช่วงถัดไปด้วย ๔๐ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


๓. อนุ ภ าคของดิ น – การมี ส ่ ว นร่ ว ม ผืนแผ่นดินอันกว้างใหญ่ไพศาล เกิดจากการยึดเกาะกันของดินเม็ดเล็กๆ และดินแต่ละเม็ดก็ลว้ นแล้วแต่ประกอบขึน้ มาจากอนุภาคทีแ่ ตกต่างกัน มีความ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ผืนแผ่นดินหนึง่ ๆ ก็เหมือนกับพืน้ ทีใ่ นการจัดกระบวนการหนีง่ ๆ ทีป่ ระกอบ ด้วยผูค้ นทีแ่ ตกต่างหลากหลาย ไม่มใี ครเหมือนใคร แต่ทง้ั หมดถูกยึดโยงด้วย กระบวนการภายใต้ปจั จัยเงือ่ นไขเดียวกัน ซึง่ บางครัง้ ก็เป็นการยึดเกาะกันแบบ หลวมๆ อย่างดินทราย บ้างก็ใกล้กนั พอประมาณอย่างดินร่วน หรือบางครัง้ ก็เป็น ความใกล้ชดิ สนิทสนมอย่างดินเหนียว แต่ไม่วา่ จะเป็นการยึดเกาะกันแบบใด ก็ไม่มใี ครหรือดินเม็ดใดทีอ่ ยากแปลก แยกอยูน่ อกวง เหมือนอย่างทีม่ าสโลว์เคยจำ�แนกความต้องการของคนเราเป็น บันได ๕ ขัน้ โดยความต้องการการยอมรับจากสังคมนัน้ อยูบ่ นั ไดขัน้ ที่ ๓ ถัด จากความต้องการด้านร่างกายและความปลอดภัย หมายความว่า เราต่างก็ ต้องการทีจ่ ะเป็น ใครสักคน (somebody) ทีไ่ ด้รบั การยอมรับจากสังคมหนึง่ ๆ เช่น เมือ่ เพือ่ นๆ ในกลุม่ ใส่เสือ้ เบอร์เอส (ขนาดเล็ก) ไว้ผมทรงหนามทุเรียน ใส่ เหล็กดัดฟัน แตงโมก็ตอ้ งใส่เสือ้ ไซส์เอสและไว้ผมทรงนัน้ ด้วย เพือ่ ทีจ่ ะได้เป็น สมาชิกของกลุม่ ไม่วา่ แตงโมจะชอบหรือไม่กต็ าม ทีเ่ ป็นเช่นนีก้ เ็ พราะว่าแตงโม หรือคนอืน่ ๆ ในกลุม่ ไม่มใี ครปรารถนาตำ�แหน่ง ไร้ตวั ตน (nobody) นัน่ เอง ในการจัดกระบวนการก็เหมือนกัน ทุกคนต่างต้องการเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการ (ด้วยวิธที แ่ี ตกต่างกัน) ดังนัน้ การเปิดพืน้ ทีใ่ ห้ทกุ คนสามารถเข้า มาเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการด้วยความรูส้ กึ เท่าเทียมกัน จึงมีความสำ�คัญมาก ในการจัดค่ายครัง้ หนึง่ เพือ่ นนักปลูกต้นไม้ของเราต้องเผชิญกับสถานการณ์ ทีม่ ผี เู้ ข้าร่วมก่อการประท้วง! จากข้อมูลทีไ่ ด้รบั ผูเ้ ขียนคาดว่าเป็นเพราะพวกเขา รูส้ กึ ไม่คนุ้ เคยกับพืน้ ทีต่ รงนัน้ กิจกรรมหลายอย่างไม่เคยทำ�มาก่อน มิหนำ�ซํา้ ไม่มกี จิ กรรมไหนทีต่ รงกับความคาดหวังเลย ทำ�ให้รสู้ กึ อึดอัด รูส้ กึ แปลกแยก หลายคนอยากกลับบ้าน และจะกลับให้ได้ดว้ ย คราวนัน้ น้องๆ ผูเ้ ข้าร่วมจึงรวมตัวกันแล้วส่งตัวแทนมาเจรจาขอปรับเปลีย่ น กิจกรรมเพือ่ นนักปลูกต้นไม้ของเรา จึงตัดสินใจพักกิจกรรมทีว่ างแผนไว้กอ่ น แล้วเปิดโอกาสให้ผเู้ ข้าร่วมช่วยกันคิดว่าอยากทำ�อะไร เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๔๑


เมือ่ พวกเขาได้มพี น้ื ทีท่ ค่ี นุ้ เคย มีกจิ กรรมทีท่ ำ�ได้และได้ทำ�แล้วทีมคนปลูก ต้นไม้จงึ ได้ปรับกระบวนการโดยการประสานกิจกรรมใหม่ และปรับความเข้มข้น ของกิจกรรมเดิม (แต่คงไว้ซง่ึ หลักการ) ผลปรากฏว่า ช่วงเวลาทีเ่ หลือของค่าย ก็ผา่ นไปได้ดว้ ยดี ทัง้ นี้ ผูเ้ ข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่เป็นกลุม่ เยาวชนแกนนำ� ทีเ่ คยผ่านการ เข้าค่ายมาอย่างโชกโชนแล้วนัน่ เอง

เคล็ ด ลั บ การสร้ า งความเป็ น “ส่ ว นหนึ ่ ง ”

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด จัดเวลาในช่วงแรกให้ผเู้ ข้าร่วมและทีมงานได้ชว่ ยกัน ออกแบบกติกาหรือข้อตกลงในการอยูร่ ว่ มกัน โดยให้ผเู้ ข้าร่วม เริม่ ออกความคิดเห็นก่อน แล้วเราจึงค่อยๆ นำ�เสนอในเชิงถาม ความคิดเห็นว่า “จะดีไหมถ้าเรามีขอ้ ...นีเ้ พิม่ เข้ามาด้วย” หรือในกรณีที่มีสถานการณ์เฉพาะหน้าที่ส่งผลกระทบต่อ การจัดกิจกรรม เช่น เวลาทีใ่ ช้ในการทำ�กิจกรรมยาวนานกว่า ทีก่ ำ�หนดไว้ จนเลยเวลารับประทานอาหารหรือเวลาพักส่วนตัว เราก็สามารถนำ�ประเด็นนีม้ าหารือกับผูเ้ ข้าร่วมได้ โดยอาจจะให้ผเู้ ข้าร่วม ได้มสี ว่ นช่วยออกความคิดว่าจะทำ�กิจกรรมต่อจนเสร็จ หรือจะพักก่อนแล้ว ค่อยมาทำ�ต่อในช่วงถัดไป หรือในกรณีทผ่ี เู้ ข้าร่วมมีทา่ ทีแยกตัวจากกระบวนการ โดยอาจจะไม่ให้ ความร่วมมือทำ�ท่าเหนื่อยหน่าย เชื่องช้า ไม่แสดงความคิดเห็น ฯลฯ เรา ก็สามารถดึงพลังกลุ่มเพื่อให้กำ�ลังใจให้การรับฟังและรอคอยเขาได้ เมื่อ เขารูส้ กึ ตัวว่ามีคนให้ความสำ�คัญ หรือรูส้ กึ ว่าเป็นส่วนหนึง่ ของกลุม่ เขาจะ ค่อยๆ พยายามปรับตัวเข้าหากลุ่มทีละน้อยๆ เอง ในทางตรงข้าม ถ้าเราใช้พลังกลุม่ ในการบังคับหรือบีบคัน้ จนเกินไป เขาก็จะยิง่ แยก ตัวมากขึน้ สถานการณ์เช่นนี้ ต้องการความเข้าใจและอดทนรอคอยจาก เรา-คนปลูกต้นไม้เป็นอย่างมาก

๔๒ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


๔. การพั ด พา – กระบวนการกล่ ุ ม กระแสนํา้ เป็นนักเดินทางทีย่ ง่ิ ใหญ่ แม้แต่ขนุ ผาทีแ่ ข็งแกร่งก็มาอาจขวาง กัน้ เอาไว้ได้ การเดินทางของกระแสนํา้ ได้พดั พาอนุภาคของดินให้ไปตกตะกอนรวมกัน ณ ทีห่ นึง่ ๆ ก่อเกิดเป็นดินดอนหรือเนินตะกอน ซึง่ มักจะมีความสำ�คัญในการ เพาะปลูกเป็นอย่างมาก นอกจากนัน้ กระแสนํ้ายังพัดพาเมล็ดพันธุจ์ ากทีต่ า่ งๆ มาบ่มเพาะบนผืน แผ่นดินทีอ่ ดุ มสมบูรณ์นน้ั ด้วย เมล็ดพันธุแ์ ห่งความสุขในใจของผูเ้ ข้าร่วมก็เช่นกัน ได้ถกู กระแสนํา้ ของกาล เวลาพัดพามารวมอยูผ่ นื แผ่นดินแห่งการเรียนรูเ้ ดียวกัน แต่แม้วา่ จะมีเมล็ดพันธุ์ และผืนดินทีส่ มบูรณ์แล้วก็ใช่วา่ เมล็ดพันธุจ์ ะสามารถงอกงามเติบโตได้โดยลำ�พัง จะต้องประกอบด้วยปัจจัยแวดล้อมและการเกือ้ กูลจากเมล็ดพันธุช์ นิดอืน่ ๆ ด้วย ต้นไม้บางต้นในใจเราก็ต้องอาศัยการเกื้อกูลจากต้นไม้บางต้นในใจของ คนอืน่ ๆ ด้วย นัน่ เป็นเพราะในใจของคนเราไม่ได้มรี ะบบนิเวศทีส่ มบูรณ์พร้อม มาแต่แรก เราต้องการปุย๋ ต้องการการพัดพาเมล็ดพันธุช์ นิดอืน่ ให้มางอกงาม ในใจของเราด้วย ระบบนิเวศจึงจะไหลเวียนเป็นพลวัต ในการจัดกระบวนการ เราเรียกพลังพลวัตของระบบนิเวศว่า “พลังกลุม่ ” ความสำ�คัญของพลังกลุม่ อยูท่ บ่ี รรยากาศความเป็นกัลยาณมิตร ซึง่ ไม่ได้หมาย ความว่าจะต้องทำ�ให้ผเู้ ข้าร่วมเห็นพ้องหรือคล้อยตามเป็นทิศทางเดียวกันหมด แต่หมายถึงพลังทีก่ อ่ ให้เกิดการเรียนรูร้ ว่ มกันบนความแตกต่างหลากหลาย การ อยูร่ ว่ มกันบนพืน้ ฐานของความแตกต่างอย่างเกือ้ กูลนี้ ถือเป็นแนวทางทีจ่ ะนำ� ไปสูก่ ารคิดถึงผูอ้ น่ื (สังคม) มากกว่าความคิดความต้องการของตัวเองฝ่ายเดียว หรือพูดอีกนัยหนึง่ ก็คอื “พลังกลุม่ ” เป็นสือ่ ในการสร้างมณฑลแห่งการเรียนรู้ ภายในของคนหนึง่ ๆ ซึง่ เป็นการเรียนรูเ้ พือ่ อยูร่ ว่ มและสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ให้กบั “อัตตา” หรือตัวตนภายในของเรานัน่ เอง

ลั ก ษณะของ กระบวนการกลุ ่ ม

กระบวนการกลุม่ หมายถึง การลงมือทำ�กิจกรรมหนึง่ ๆ ร่วมกัน ทั้งกลุ่มใหญ่ (ผู้เข้าร่วมทั้งหมด) กลุ่มย่อย (กลุ่ม ขนาดเล็กทีถ่ กู แบ่งจากกลุม่ ใหญ่) ไม่วา่ จะเป็นเกม กิจกรรม บำ�เพ็ญประโยชน์ การระดมสมองแก้โจทย์ปญ ั หา/คำ�สัง่ ร่วมกัน เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๔๓


กิจกรรมส่วนใหญ่มกั จะเน้นให้ผเู้ ข้าร่วมเผชิญความยากลำ�บากหรือปัญหา ร่วมกัน เพือ่ ท้ายทีส่ ดุ จะได้ชน่ื ชมกับความสำ�เร็จ/บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ ร่วมกัน เช่น การสร้างฝายชะลอนํา้ การบูรณะซ่อมแซมโรงเรียนหรือศาสนสถาน การใช้ชวี ติ ในชนบททีก่ นั ดาร การตระเวนแสดงละครเวทีตามหมูบ่ า้ นต่างๆ ฯลฯ เกมพลังกลุ่มยอดฮิต ได้แก่ เป็ดเจ้าปัญหา (เป็ดชิงพื้นที่) แม่นํ้าพิษ พับหนังสือพิมพ์ เสือ่ มหัศจรรย์/พลิกเสือ่

การจั ด กระบวนกลุ่ ม ควรคำ � นึ ง ถึ ง อะไร

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

สิง่ ทีเ่ ราควรคำ�นึงถึงในการจัดกระบวนการกลุม่ คือ การจัดสัดส่วนของการเรียนรูร้ ะดับกลุม่ และปัจเจกให้ เหมาะสม เมือ่ เกิดการเรียนรูร้ ะดับกลุม่ แล้ว อย่าลืมให้ ผูเ้ ข้าร่วมได้มโี อกาสมองย้อนกลับเข้ามาสูภ่ ายในของตัวเอง ด้วย เพราะการอยูก่ บั กลุม่ มากเกินไป (การเรียนรูภ้ ายนอก) อาจจะทำ�ให้พลาดโอกาสทีส่ ำ�คัญในการเชือ่ มโยงกลับเข้า มาสูต่ วั ตนภายในได้ (การเรียนรูภ้ ายใน)

๕. การกร่ อ น – เงื ่ อ นไข/ข้ อ จำ � กั ด แผ่นหินทีแ่ ข็งกระด้าง แทบไม่มพี ชื ชนิดไหนจะเจริญเติบโตได้ กว่าจะแปร สภาพมาเป็นผืนดินทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ได้นน้ั ย่อมต้องผ่านกระบวนการกร่อน โดยกระแสนํ้าและลมมาอย่างยาวนาน ในการจัดกระบวนการเพือ่ กระเทาะแผ่นหินในหัวใจของผูเ้ ข้าร่วม บางครัง้ เราก็จำ�เป็นต้องสร้างกระแสน้ำ�หรือกระแสลมให้เกิดขึน้ มา ซึง่ ในทีน่ ห้ี มายถึง เงือ่ นไข ข้อจำ�กัด หรือกติกานัน่ เอง โดยธรรมชาติ มนุษย์มสี ญ ั ชาตญาณของการเอาชนะอยูล่ กึ ๆ ในอดีตเราอาจ จะต้องการเป็นผูช้ นะเพือ่ ความอยูร่ อด หรือเพราะความกลัว แต่ในปัจจุบนั เรา ต้องการเป็นผูช้ นะเพือ่ ทีจ่ ะได้รบั การยอมรับ หรือคำ�ชืน่ ชม ๔๔ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


ดังนัน้ ถ้าเราใส่เงือ่ นไขบางอย่างลงไปในกระบวนการเพือ่ กระตุน้ สัญชาตญาณดังกล่าว ก็จะเป็นการเร้าให้ผเู้ ข้าร่วมมีพลังในการทำ�กิจกรรมมากขึน้ แต่ ทั้งนี้ ก็ต้องดูความเหมาะสมของบริบทในขณะนั้นๆ ด้วย และระมัดระวังการ ตอกยํ้าสภาวะการแข่งขันแบบแพ้คดั ออกด้วย ซึง่ ภาวะนีถ้ อื ได้วา่ เป็นปฏิปกั ษ์ กับการเป็นส่วนหนึง่ อย่างทีเ่ ราได้พดู ถึงมาก่อนหน้านี้

การสร้ า งเงื ่ อ นไข : ศาสตร์ แ ห่ ง การผู ก ศิ ล ป์ แ ห่ ง การแก้

การจะปรับเปลีย่ นวิธคี ดิ หรือวิถปี ฏิบตั ขิ องใคร ได้นน้ั เราจะต้องรูจ้ กั และเข้าใจวิธคี ดิ และวิถปี ฏิบตั ิ เดิมของคนๆ นั้นให้ถ่องแท้เสียก่อน เหมือนกับที่ ชาวสวนมะม่วงย่อมรู้ว่า ควรงดให้นํ้าก่อนที่มะม่วงจะออกดอก และควรเพิ่ม ปริมาณนํา้ ให้มากขึน้ หลังจากทีต่ ดิ ผลแล้ว ซึง่ ธรรมชาติของมะม่วงจะมีระยะของ การพักตัวและสะสมอาหาร ถ้าชาวสวนเผลอไปรดนํ้าช่วงนี้ มีหวังได้กินยอด มะม่วงแทนผลมะม่วงอย่างแน่นอน เราเองก็ตอ้ งศึกษาธรรมชาติของผูเ้ ข้าร่วมให้กระจ่างแจ้งเสียก่อน ทัง้ ด้าน พฤติกรรม ค่านิยม ความเชือ่ และความคิด จึงจะสามารถสร้างหรือผูกเงือ่ นไข หนึง่ ๆ ขึน้ มาได้ ซึง่ เงือ่ นไขทีว่ า่ นีแ้ บ่งออกเป็น ๒ แบบ คือ

เงื ่ อ นไขที ่ เ ร้ า พลั ง ด้ า นบวก ได้แก่ การกระตุน้ ให้อยากทำ�สิง่ ทีด่ หี รือพัฒนาตัวเอง

เงื ่ อ นไขที ่ เ ร้ า พลั ง ด้ า นลบ ส่วนใหญ่จะเป็นร่องพฤติกรรมหรือความคุน้ ชินบางอย่างทีท่ ำ�ให้เกิดความ ทุกข์ทง้ั กับตัวเองและคนอืน่ ๆ เช่น การตัดสิน (เพ่งโทษ) ตัวเอง และคนอืน่ การ เห็นแก่ตวั เอาแต่ใจตัวเอง การมองโลกในแง่รา้ ย เป็นต้น เมือ่ มีการผูกเงือ่ นไขขึน้ มาแล้ว ในกระบวนการคลีค่ ลาย เราไม่จำ�เป็นต้อง เข้าไปช่วยแก้ปญ ั หาให้ทลี ะคน แต่เราสามารถใช้การถอดบทเรียนเพือ่ ให้แต่ละ คนเชือ่ มโยงกลับเข้าไปภายในของตัวเอง แล้วคิดวิเคราะห์บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ เองได้ เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๔๕


ตั ว อย่ า ง:เกมตั ว ต่ อ มหาสนุ ก ๑

กระบวนการ

๔ ๕ ๖

เนื ้ อ หา

เป็มเกมที่เน้นเรื่องพลังกลุ่ม สร้าง ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ และบุคลิกทีแ่ ตกต่างของสมาชิกใน กลุ่ม ผ่านการสถานการณ์จำ�ลอง

กติ ก า/เงื ่ อ นไข

๑. หมายเลข ๒ จะวิง่ ไปคุยกับ หมายเลข ๑ กีร่ อบก็ได้ ๒. หมายเลข ๒ จะวิง่ มาบอก หมายเลข ๔–๖ ทีอ่ ยูใ่ นห้อง กีร่ อบก็ได้ ๓. หมายเลข ๔-๖ ต้องนัง่ อยู่ ในกลุม่ เท่านัน้

บทบาท

๑. หมายเลข ๑ เป็นคนทีเ่ ห็นต้นแบบ: ไม่ สามารถมาหากลุม่ ได้ ๑. แบ่งกลุม่ เป็น ๘ กลุม่ ๆ ละ ๕ – ๖ คน โดยแต่ละคนในกลุม่ มีหน้าทีต่ า่ งกัน (ดูราย- ๒. หมายเลข ๒ เป็นคนถ่ายทอด:ไม่เห็นแบบ ละเอียดหัวข้อ บทบาท และภาพประกอบ) และห้ามลงมือทำ� ๒. แต่ละกลุม่ ต้องช่วยกันต่อตัวต่อให้เหมือน ๓. หมายเลข ๓ เป็นคนสังเกตการณ์: ต้องเอา กับแบบตัวอย่างทุกประการ ทัง้ สี รูปร่างและ มือไขว้หลังตลอด ห้ามพูดหรือส่งสัญญาณใดๆ พยักหน้า/ส่ายหน้าได้เท่านัน้ ขนาด ภายใน ๔๕ นาที ๔. หมายเลข ๔ – ๖ เป็นคนลงมือทำ�: ต่อตัว ๓. ถอดบทเรียน ต่อให้ได้ตามแบบ

ส ้ อ ม พ ร วน บ่อยครัง้ ทีเ่ งือ่ นไขทีเ่ ราใส่เข้าไปในกระบวนการ เป็น ช วน ค ิ ด การสร้างความกดดัน บีบคัน้ หรืออัดอัน้ ซึง่ มักจะเป็นภาวะ ทีเ่ รามักไม่คนุ้ ชิน ทัง้ ทีพ่ บเจออยูใ่ นชีวติ ประจำ�วันอยูเ่ สมอ แต่เรามักจะมองข้าม หรือหลีกเลีย่ งทีจ่ ะเผชิญหน้า อย่างไรก็ตาม ถ้าเงือ่ นไขทีเ่ ราใส่เข้าไปทำ�หน้าทีส่ ร้าง สภาวะดังกล่าวแล้ว อย่าลืมถอดบทเรียนด้วย เพราะการ ถอดบทเรียนจะช่วยคลี่คลายบทเรียนที่เกิดขึ้นให้ชัดเจน และสะท้อนกลับสูก่ ารใคร่ครวญภายในได้งา่ ยขึน้

๔๖ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


๖. น้ ำ � ใต้ ด ิ น – ประสบการณ์ ต รง เมื่อฝนตกลงมา ดินจะทำ�หน้าที่ดูดซับนํ้าฝนลงไปกักเก็บไว้ในชั้นต่างๆ บางส่วนไหลผ่านชัน้ ดินไปตามแรงโน้มถ่วงของโลก ในขณะทีบ่ างส่วนถูกราก พืชดูดซึมขึ้นมาใช้หล่อเลี้ยงลำ�ต้น ซึ่งนอกเหนือจากอนุภาคของนํ้าแล้ว สิ่งที่ รากดูดซึมขึน้ มาด้วย คือ แร่ธาตุตา่ งๆ ทีล่ ะลายปะปนอยูใ่ นนัน้ ด้วย กิจกรรมทีใ่ ห้ผเู้ ข้าร่วมเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ตรง หรือลงมือปฏิบตั ดิ ว้ ย ตนเองนัน้ ก็เหมือนกับนํา้ ใต้ดนิ ทีอ่ ดุ มไปด้วยแร่ธาตุทจ่ี ำ�เป็นต่อการเติบโตของ ต้นไม้ โดยเฉพาะกิจกรรมที่ต้องเผชิญกับความยากลำ�บาก (ทั้งทางอารมณ์ ความรูส้ กึ นึกคิด และการกระทำ�) ยิง่ นำ�ไปสูก่ ารเรียนรูท้ ล่ี งลึกได้มากขึน้ เหมือน กับดินในฤดูแล้งทีป่ ริมาณความชืน้ ลดลง ต้นไม้จะต้องแผ่ขยายรากลงสูช่ น้ั ดิน ทีล่ กึ มากขึน้ เพือ่ แสวงหานํา้ ในชัน้ ใต้ดนิ ผลทีต่ ามมาอย่างหนึง่ ก็คอื ระบบการ ยึดเกาะของรากทีม่ น่ั คงมากขึน้ ถือได้วา่ นํ้าใต้ดนิ มีความสำ�คัญในการหล่อเลีย้ งต้นไม้ให้เจริญเติบโตขึน้ มาอย่างมัน่ คง ดังนัน้ การทำ�กิจกรรมผ่านประสบการณ์ตรง ก็มคี วามสำ�คัญ ต่อการเรียนรูส้ กู่ ารเปลีย่ นแปลง

แนวคิ ด ในการ จั ดกระบวนการ เพื ่ อ ให้ เกิ ด ประสบการณ์ ต รง

๑. การใช้ชีวิตหรือทำ�กิจกรรมร่วมกับคนอื่น (ต่างคน) เราได้พูดถึงเรื่องพลังกลุ่มกันมาบ้างแล้ว ในทีน่ จ้ี งึ ขอขยายความต่อถึงลักษณะของสมาชิกภายใน กลุ่ม หมายถึง การนำ�ผู้เข้าร่วมที่แตกต่างกันมากๆ ซึง่ อาจหมายถึง กลุม่ คนทีเ่ ป็นทีค่ ตู่ รงข้ามกัน หรือกลุม่ คนทีม่ กั ไม่คอ่ ยได้ปฏิสมั พันธ์กนั มาเรียนรูห้ รือทำ�กิจกรรมร่วมกัน เช่น คนพิการ ผูด้ อ้ ยโอกาส ผูส้ งู อายุทถ่ี กู ทอดทิง้ /อยูบ่ า้ นพักคนชรา เด็กเรียน เด็กหลังห้อง ฯลฯ ทัง้ นี้ ความหลากหลายทีแ่ ต่ละคนได้ผา่ นมาจะเป็นตัวช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ระหว่างกันได้เอง เช่น การพาเด็กๆ ไปเยี่ยมเยียนเรียนรู้กับคนแก่ที่บ้านพัก คนชรา หรือศูนย์ปราชญ์ การจัดกระบวนการระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัย ภาควิชาสังคมหรือกฎหมายกับผูด้ อ้ ยโอกาส (หรือคนพิการ/ แรงงานต่างด้าว/ คนชายขอบ) เป็นต้น เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๔๗


๒. การใช้ชวี ติ หรือทำ�กิจกรรมในสถานทีท่ ไ่ี ม่คน ุ้ เคย (ต่างสถานที)่ สถานทีห่ นึง่ ๆ มีอทิ ธิพลในการหล่อหลอมบุคคลทีใ่ ช้ชวี ติ อยูท่ น่ี น้ั ให้มอี ตั ลักษณ์ หรือลักษณะเฉพาะต่างกันไป หัวข้อนีจ้ งึ ให้ความสำ�คัญกับเรือ่ งสถานทีค่ อ่ นข้าง มาก ทีผ่ า่ นมา เรามักพบว่าผูเ้ ข้าร่วมเกิดการเรียนรูม้ ากมาย โดยไม่จำ�เป็นต้องจัด กระบวนการทีล่ กึ ลับซับซ้อน เช่น การพาผูเ้ ข้าร่วมไปทำ�กิจกรรมทีส่ ถานรับเลีย้ ง เด็กกำ�พร้า อาจเป็นการป้อนอาหาร ป้อนนม หรือเล่นกับเด็กๆ ซึง่ ไม่วา่ เป็นผูเ้ ข้า ร่วมกลุม่ ใดก็ตาม ย่อมเกิดภาวะบางอย่างภายในทีน่ ำ�ไปสูก่ ารเรียนรูไ้ ด้ ๓. การใช้ชวี ติ หรือทำ�กิจกรรมทีค่ น ุ้ เคย แต่อยูภ่ ายใต้เงือ่ นไขทีจ่ �ำ กัด หรือบทบาททีไ่ ม่เคยทำ�มาก่อน (ต่างบริบท/เงือ่ นไข) ส่วนใหญ่การจัดกระบวนการลักษณะนี้ มักมีเป้าหมายให้ผเู้ ข้าร่วมได้ “ตกร่อง” ความคุน้ ชินเดิมๆ เพือ่ นำ�สูก่ ารใคร่ครวญและปรับเปลีย่ นความคิดหรือพฤติกรรม ในทีส่ ดุ เช่น การ ให้ผเู้ ข้าร่วมไปเดินห้างสรรพสินค้า (ตีความอยากให้ฟ)ู แต่ไม่ให้นำ�เงินติดตัวไป หรือให้จำ�นวนจำ�กัด (เงือ่ นไข) แล้วให้ผเู้ ข้าร่วมเฝ้าดูความคิดความรูส้ กึ ทีเ่ กิดขึน้ หรืออีกวิธหี นึง่ คือ การให้ผเู้ ข้าร่วมไปอยูใ่ นพืน้ ทีท่ ค่ี นุ้ เคย แต่เป็นบทบาททีไ่ ม่ เคยทำ�มาก่อน เช่น จากการทีเ่ คยเป็นคนรับบริการในร้านอาหาร ก็ให้ไปเป็น ผูบ้ ริการในร้านอาหาร หรือเป็นคนกวาดขยะริมทางเท้า เป็นต้น

พลั ง ของความทุ ก ข์ ย าก

ส ้ อ ม พ ร วน มีหมอคนหนึง่ ชือ่ กิบส์ ชุดทีเ่ ขามักจะใส่ไม่ใช่ชดุ กราวน์ ช วน ค ิ ด แต่เป็นชุดทำ�งานบ้านแล้วก็สวมหมวกฟางเก่าๆ เขามีความ พยายามในการปลูกต้นไม้บนเนือ้ ทีเ่ กือบ ๑๐ ไร่มาก เพราะหวัง ว่ามันจะกลายเป็นป่าในทีส่ ดุ คุณหมอมีแนวคิดในการปลูกต้นไม้วา่ “ไม่ลำ�บากย่อมไม่สำ�เร็จ” เขาไม่เคยรดนํา้ ต้นไม้ทเ่ี พิง่ ปลูกลงดินเลย ด้วยเหตุผลที่ว่า การรดนํ้าทำ�ให้ต้นไม้รากตื้น ต้นไม้ที่ไม่ได้นํ้า ต้องหยัง่ รากลึกลงไปในผืนดิน เขาปลูกต้นโอ๊ก แล้วก็เอาหนังสือพิมพ์มว้ นๆ ฟาดที่ต้นไม้แทนการรดนํ้าตอนเช้า พร้อมกับบอกว่านี่เป็นวิธีเรียกความ สนใจจากต้นไม้ ๒๕ ปีผ่านไป ต้นไม้เหล่านั้นเติบโตและแข็งแรงมาก พอลมหนาวพัดผ่านมา ต้นไม้คนอืน่ สัน่ คลอนจนกิง่ ก้านหักราน ในขณะที่ ต้นไม้ของหมอกิบส์ยงั คงยืนหยัดมัน่ คง (ทีม่ า: Philip Gulley จาก Front Porch Tales “บทเรียนจากเพือ่ นบ้าน” รีดเดอร์สไดเจสท์ ฉบับเดือน พฤศจิกายน ๒๕๔๑)

๔๘ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


๗. การย่ อ ยสลาย – ก่ อ ประโยชน์ ต ่ อ ส่ ว นรวมอย่ า งเป็ น รู ป ธรรม อินทรียว์ ตั ถุทเ่ี กิดจากการย่อยสลายของซากพืชซากสัตว์ ถ้าเทียบกับปริมาณ ของเนื้อดินแล้วอาจจะน้อยมาก แต่ก็มีอิทธิพลต่อคุณสมบัติของดินเป็นอย่าง มาก (คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปฐพีวทิ ยาเบือ้ งต้น) เหมือนอย่างที่ ท่านติช นัท ฮันห์ เคยกล่าวไว้วา่ “ต้นไม้ใช้ทรัพยากรหล่อ เลี้ยงชีวิตเพียงน้อยนิด แต่บรรณาการกลับคืนสู่โลกและมวลมนุษยชาติอย่าง มากมายมหาศาล ทัง้ ยังไม่เรียกร้องการตอบแทนจากใครแม้แต่นอ้ ย แม้กระทัง่ วาระสุดท้าย ต้นไม้กย็ งั ให้รม่ เงาแก่คนทีก่ ำ�ลังตัดไม้” พลังของการ “แบ่งปัน” มหัศจรรย์แค่ไหน มีเพียงคนทีเ่ คยเป็นผู้ “ให้” และ “รับ” เท่านัน้ ทีจ่ ะรูไ้ ด้ (โดยเฉพาะคนที่ “ให้” โดยไม่หวังผลตอบแทน) และด้วย ความตระหนักรูใ้ นพลังนีเ้ อง ทีท่ ำ�ให้เราจำ�เป็นต้องบรรจุ “กิจกรรมจิตอาสา” เข้าเป็นส่วนหนึง่ ในสายธารกระบวนการด้วย “การทำ�เพือ่ ผูอ้ น่ื ” หรือ “จิตอาสา” ในทีน่ ม้ี ี ๒ รูปแบบ คือ จิ ต อาสา ขัน้ แรก เริม่ จากการทำ�งานปลูกต้นไม้ของเรา เป็นงานทีไ่ ม่ หวังผลตอบแทนใดๆ ใช่...เรามีความคาดหวังว่าจะเกิดสุขสงบใน สังคม ผูค้ นมีจติ ใจทีด่ งี าม ฯลฯ นัน่ คือแรงบันดาลใจ ซึง่ ต่างจาก ผลตอบแทนทีห่ มายถึง ชือ่ เสียง เงินทอง หรือแม้แต่การเติบโต ของอัตตา ขั้นต่อมา คือ การที่เราได้จัดกระบวนการเพื่อให้ผู้เข้าร่วม เรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์จากการทําประโยชน์เพือ่ สังคมส่วนรวม โดยไม่หวังผลตอบแทน เคยมีนอ้ งวัยรุน่ ๒ คน เล่าให้ฟงั ว่า “เรามีความรูส้ กึ ว่าหัวใจมันพองฟูจน แน่นในอกอย่างทีไ่ ม่เคยเป็นมาก่อน” ความรูส้ กึ นีเ้ กิดขึน้ หลังจากทีพ่ วกเขา ไปแอบดูเด็กๆ ในโรงเรียนประถมแห่งหนึง่ เล่นเครือ่ งเล่นทีพ่ วกเขาไปสร้างให้ เมือ่ ช่วงปิดภาคเรียนทีผ่ า่ นมา พวกเขาไม่ได้เดินออกไปแสดงตัวว่าเป็นคนสร้างมันขึน้ มา แต่เดินกลับ ออกมาเงียบๆ ต้นไม้แห่งความสุขเบ่งบานเต็มหัวใจ จนล้นออกมาทอประกาย ทีแ่ ววตา แม้วา่ เวลาทีเ่ ราพูดคุยกันจะผ่านเหตุการณ์นน้ั มานานแล้วก็ตาม เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๔๙


ความสุ ข เป็ น เรื ่ อ งที ่ ต ้ อ งประกาศเสี ย งดั ง ๆ

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

ความสุข เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งประกาศเสียงดังๆ ไม่ควรเก็บไว้ กับตัว หลังจากทำ�กิจกรรมหนึง่ ๆ ร่วมกันแล้ว ก็อย่าลืมรดนํา้ ความสุขและแบ่งปันดอกไม้ในหัวใจให้แก่กนั และกันด้วยนะ การล้อมวงแลกเปลีย่ นในบรรยากาศทีส่ บายๆ (สุนทรีย สนทนา) เป็นอีกวิธหี นึง่ ทีจ่ ะช่วยให้การแบ่งปันความสุข เป็นไปอย่างมีพลังและมีชวี ติ ชีวา

๘. การเก็ บ เกี ่ ย ว – ถอดบทเรี ย น หลังจากวัฏจักรของฤดูกาลเวียนผ่านไป ต้นไม้ยอ่ มมีการเปลีย่ นแปลงและ เติบโต ซึง่ ในความเป็นจริงแล้ว ต้นไม้มกี ารเติบโตทุกขณะ กระบวนการจดจำ� และแปรความหมายของผูเ้ ข้าร่วมก็เช่นกัน มีความเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา นีค่ อื ธรรมชาติของชีวติ ทีค่ นปลูกต้นไม้รอู้ ยูแ่ ล้ว แต่สง่ิ ทีเ่ ราอยากรูม้ ากไปกว่านี้ ก็คอื เมล็ดพันธุแ์ ห่งความสุขทีเ่ ราเพียรบ่มเพาะลงไปนัน้ ได้ผลิดอกออกผลบ้าง หรือไม่ และงดงามเพียงใด ในการเปลีย่ นผ่านของฤดูกาล จะมีชว่ งเวลาทีต่ น้ ไม้ (รวมถึงสิง่ มีชวี ติ อืน่ ๆ) ปรับสภาพตัวเองเพือ่ เตรียมรับการเปลีย่ นแปลงทีก่ ำ�ลังจะเกิดขึน้ ต้นซากุระก็ เช่นกัน เติบโตตามวัฏจักรของธรรมชาติหมุนเวียนกันไปตลอดระยะเวลา ๓๖๐ วัน แต่จะมีเพียง ๕ วันเท่านัน้ ทีซ่ ากุระจะเบ่งบานเต็มทีท่ ว่ั ทุกกิง่ ก้าน ก่อนทีจ่ ะ ร่วงโรยไป ซึง่ เป็นช่วงเวลาทีง่ ดงามและมหัศจรรย์มาก เช่นเดียวกับบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างการจัดกระบวนการ ผูเ้ ข้าร่วมแต่ละคน ต่างมีการสั่งสมประสบการณ์มาเท่ากับเวลาชีวิตของตัวเอง ก่อนที่จะมาผ่าน กระบวนการต่างๆ แล้วแย้มบานในท้ายทีส่ ดุ (บางต้นก็กลับไปเบ่งบานทีอ่ น่ื ใน ภายหลัง) ช่วงเวลาแห่งการเบ่งบานนีเ้ องทีค่ นปลูกต้นไม้มกั จะพลาดไป เรามัก จะไปชืน่ ชมยินดีกบั ใบอ่อน หน่อตูมตามกิง่ ก้าน แล้วก็พลาดการเก็บเกีย่ วชัว่ ขณะ ทีม่ หัศจรรย์อย่างน่าเสียดาย ๕๐ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


การถอดบทเรียน เป็นเครือ่ งมือทีจ่ ะช่วยให้เราได้เก็บเกีย่ วชัว่ ขณะทีด่ อกไม้ พากันผลิบานเอาไว้ได้ เครือ่ งมือชนิดนีเ้ องทีจ่ ะช่วยเชือ่ มโยงบทเรียนจากช่วงเวลา ๓๖๐ วัน (หรือมากกว่านั้น) ที่ผ่านมาของชีวิตเข้ากับช่วงเวลา ๕ วันแห่งการ เรียนรูอ้ นั งดงามนี้ ต้นไม้แต่ละต้นมี ๓๖๐ วันของตัวเอง เราจึงควรทีจ่ ะเปิดพืน้ ทีเ่ พือ่ ให้เขาได้ ใคร่ครวญบทเรียนที่เกิดขึ้นกับตัวเองก่อน แล้วจึงนำ�ดอกไม้ของแต่ละคนมา แบ่งปันซึง่ กันและกัน อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนไม่สามารถรับประกันได้ว่า หลังจากผ่านการถอด บทเรียนแล้ว จะมีดอกซากุระเบ่งบานตลอด ๓๖๕ วัน หรือไม่ หากเพียงหวังว่า แต่ละวันทีม่ ดี อกไม้รว่ งโรยก็จะมีดอกใหม่ผลิบานขึน้ มาแทนที่ ไม่จำ�เป็นต้อง บานพร้อมกันทุกกิง่ ก้าน เพราะดอกไม้ดอกหนึง่ ก็งดงามและมหัศจรรย์ได้เช่นกัน

อย่ า รี บ ร้ อ นถอดบทเรี ย นจนเกิ น ไป

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ใส ่ ใ จ

ใช่วา่ พอถึงฤดูกาลแล้วดอกไม้จะเบ่งบานเสมอไป! ผูเ้ ขียนพบว่าหลายต่อหลายครัง้ ทีพ่ อเราจัดกระบวนการหนึง่ ๆ ครบถ้วนแล้ว เราก็มกั จะรีบร้อนถอดบทเรียนจนเกินไป หรือถ้า ยิง่ ถูกบีบคัน้ ด้วยเวลาแล้ว บทเรียนยิง่ ไม่ออก ลงท้ายกลาย เป็นว่าเราสรุปบทเรียนให้แทน เหมือนกับนำ�ดอกไม้พลาสติก ไปแปะบนต้นไม้ ซึง่ ดูอย่างไรก็ไม่ใช่ของจริง

๙. การคลุ ม ดิ น – การประยุ ก ต์ บ ทเรี ย นในชี ว ิ ต ประจำ � วั น ภารกิจทีค่ นปลูกต้นไม้ควรทำ�หลังฤดูเก็บเกีย่ ว คือ การบำ�รุงดิน ซึง่ วิธหี นึง่ ก็คอื การคลุมดิน เพือ่ รักษาอุณหภูมแิ ละความชืน้ ให้คงที่ เป็นทัง้ การบำ�รุงดิน และปรับสภาพต้นไม้ให้พร้อม ก่อนทีจ่ ะเปลีย่ นผ่านจากฤดูหนึง่ สูอ่ กี ฤดูหนึง่ จากประสบการณ์ทผ่ี า่ นมา ผูเ้ ขียนมักจะพบว่า ช่วงเวลาทีผ่ เู้ ข้าร่วมอยูใ่ น กระบวนการจะมีบรรยากาศหรือพลังบางอย่างทีท่ ำ�ให้ “ดอกไม้ความสุขในใจ” เบ่งบานอย่างเต็มที่ แทบทุกครั้งที่เราจะได้สัมผัสถึงแววตาที่มุ่งมั่นและพันธะ เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๕๑


สัญญาต่างๆ มากมาย แรกๆ ก็ทำ�ให้เราตืน้ ตันใจจนกลัน้ นํา้ ตาไม่อยู่ ยิง่ ถ้าได้ รูว้ า่ หลังกลับไปสูช่ วี ติ ประจำ�วันแล้ว ต้นไม้ทเ่ี ราเฝ้ารดนํา้ พรวนดินในหัวใจของ พวกเขา มีแนวโน้มจะหยัดยืนทวนกระแสลมแรงได้ หัวใจของเราก็จะพองฟูราว กับผูพ้ ชิ ติ เลยทีเดียว แต่ก็มีไม่น้อยที่เริ่มด้วยหัวใจพองฟู แล้วลงท้ายด้วยหัวใจฝ่อแฟบ เพราะ กระแสลมข้างนอกนัน้ รุนแรงกว่าทีเ่ ราคิด และมาจากหลายทิศหลายทางจนไม่ อาจคาดเดา ไม่ใช่วา่ เราจะยอมแพ้หรอกนะ แต่เราต้องกลับมานัง่ ทบทวนกัน ว่า ทำ�ไมถึงเป็นเช่นนัน้ ? ทำ�ไมพอหลังจากทีเ่ ราถอดกำ�บังลมออกแล้ว ต้นไม้ของเราจึงไหวเอน หรือ บางคราวก็ลม้ ระเนระนาดไม่เป็นท่า?

เพราะกระแสลมแรง หรื อ ต้ น ไม้ อ ่ อ นแอ?

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

เพราะกระแสลมแรง หรือต้นไม้ออ่ นแอ ? หลายครัง้ ทีเ่ ราพบว่าคำ�มัน่ สัญญาทีผ่ เู้ ข้าร่วมให้ไว้ใน วันปิดค่าย มักถูกทิง้ ไว้ในค่าย แม้บางคนจะเก็บติดตัวไปด้วยก็มกั จะ ถูกทิง้ ไว้ทธ่ี รณีประตูบา้ น ริมรัว้ โรงเรียน หรือหน้าร้านเกมออนไลน์ “ผมจะกลับไปขอโทษแม่” “หนูจะกลับไปบอกรักยาย ไม่ดอ้ื กับ ยาย แล้วก็จะนวดให้ยายด้วย” “ผมจะไม่โดดเรียนไปร้านเกมอีกแล้ว” “หนูจะกลับไปแยกขยะ” ฯลฯ แม้วา่ จะรับรูแ้ ละเห็นคุณค่าของตัวเอง จนพร้อมจะปรับเปลีย่ นความคิด หรือพฤติกรรมให้ดีขึ้นแล้ว แต่เท่านั้นยังไม่พอที่จะทำ�ให้ผู้เข้าร่วมของเรา หยัดยืนในการเปลีย่ นแปลงได้ เว้นเสียแต่วา่ เขาจะมีหวั ใจทีเ่ ข้มแข็งและมุง่ มัน่ มากพอ จึงจะไม่หวั่นไหวต่อแรงเสียดทาน แต่ก็มีโอกาสเกิดขึ้นน้อยมาก เป็นเรือ่ งทีน่ า่ เศร้าทีแ่ รงเสียดทานส่วนใหญ่ มาจากคนรอบตัวของผูเ้ ข้าร่วม นัน่ เอง ไม่วา่ จะเป็นคนในครอบครัว เพือ่ นๆ ครู และสังคมแวดล้อม คงอาจจะถึงเวลาทีเ่ ราต้องกลับมาทบทวนกันใหม่แล้วว่า ทำ�อย่างไร จึงจะทำ�ให้ผเู้ ข้าร่วมของเราเก็บคำ�มัน่ สัญญากลับไป แล้วลงมือปฏิบตั ิ ได้จริงทัง้ ทีบ่ า้ น โรงเรียน ชุมชน และสังคมทีใ่ หญ่ขน้ึ หรือว่าเราต้องทำ�งานร่วมกับผูค้ นเหล่านัน้ ด้วย?! ๕๒ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


คน

(บุ ค คลที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง)

ขอให้ลองนึกภาพว่า ตอนนี้เรากำ�ลังยืนอยู่กลางป่าหรือทุ่งหญ้าที่ขึ้นเอง ตามธรรมชาติแล้วกางแขนออกไปแล้วหมุนรอบตัว เชือ่ ได้วา่ พืน้ ทีว่ งกลมเล็กๆ รอบตัวเรานีจ้ ะมีตน้ ไม้อยูร่ วมกันมากกว่า ๑๐ ชนิด โดยทีย่ งั ไม่นบั รวมพืชตระกูล รา-ไลเคนและสัตว์ชนิดต่างๆ หากเปรียบพื้นที่วงกลมรอบตัวเรา เป็นพื้นที่ในการจัดกระบวนการหนึ่งๆ ก็จะประกอบด้วยผู้คนที่แตกต่างกัน ไม่มีใครเหมือนใคร แม้จะเป็นสายพันธุ์ เดียวกันก็ตาม ไม้แต่ละต้นต่างมีกระบวนการหล่อเลีย้ งชีวติ ในแบบของตัวเอง และในขณะทีเ่ รา-คนปลูกต้นไม้เป็นจุดหมุน เราเองก็นบั เป็นต้นไม้ตน้ หนึง่ ทีอ่ ยู่ ในพืน้ ทีว่ งกลมนัน้ ด้วยเหมือนกัน อย่างไรก็ตาม ในพืน้ ทีก่ ารจัดกระบวนการหนึง่ แม้วา่ จะประกอบด้วยบุคคล ทีแ่ ตกต่างกันในแง่ของความเป็นปัจเจก แต่หากจะมองทีบ่ ทบาทมีบคุ คลในทีน่ ้ี เพียง ๔ กลุม่ เท่านัน้ คือ ๑. เจ้าของทีด่ น ิ หมายถึง ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ ๒. คนปลูกต้นไม้ หมายถึง กระบวนกร/ วิทยากรกระบวนการ ๓. เจ้าของหัวใจ หมายถึง ผูเ้ ข้าร่วมกระบวนการ/ กลุม่ เป้าหมาย ๔. คนพรวนดิน หมายถึง คนทีท่ ำ�หน้าทีส่ นับสนุนการจัดกระบวนการ ในด้านต่างๆ เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๕๓


• เจ้ า ของที ่ ด ิ น (ผู ้ ร ั บ ผิ ด ชอบโครงการ) เจ้าของทีด่ น ิ ถือเป็นจุดเริม่ ต้นของงานทัง้ หมดเป็นจุด เริ่มต้นที่เกิดจากการขับดันของพลัง ๒ ด้าน คือ ๑) พลัง ด้านบวก ได้แก่ การริเริม่ สร้างสรรค์สง่ิ ทีด่ ๆี ให้เกิดขึน้ หรือ ๒) พลังด้านลบ คือ การมองเห็นปัญหาความทุกข์ของคน ในพืน้ ทีน่ น้ั ๆ แล้ว อยากจะช่วยปรับเปลีย่ นแก้ไข หรือพัฒนา ให้ดขี น้ึ ความปรารถนาดีเป็นแรงบันดาลใจทีม่ พี ลังมาก แต่มกั จะเป็นพลังทีอ่ ยูไ่ ด้ ไม่นาน (หากจิตใจไม่มงุ่ มัน่ มากพอ) เพราะความปรารถนาดีตอ้ งการแรงสนับสนุนหลายด้าน จึงจะมีพลังมากพอที่จะสร้างสรรค์หรือเปลี่ยนแปลงสังคมได้ โดยเฉพาะคนทีเ่ ป็นเจ้าของทีด่ นิ การทีเ่ ราจะพลิกฟืน้ ผืนดินทีร่ กร้างว่างเปล่า หรือพื้นที่ที่เต็มไปด้วยวัชพืชให้กลับมาอุดมสมบูรณ์อีกครั้งหนึ่ง เจ้าของที่ดิน ต้องการการสนับสนุนจากหลายทาง เช่น ๑) พลังใจ มีรากฐานมาจากพลังความปรารถนาทีด่ ี ๒) พลังกาย การมีรา่ งกายทีแ่ ข็งแรง โดยการพักผ่อนอย่างเต็มที่ ออกกำ�ลัง กาย รับประทานอาหารทีเ่ ป็นประโยชน์ ๓) พลังสติปัญญา มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหานั้นๆ รวมถึงปฏิภาณ ไหวพริบในการแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า ๔) พลังสนับสนุนจากทีมงาน การมีทมี งานทีเ่ ข้าใจกัน ทำ�งานร่วมกันด้วย ความเป็นกัลยาณมิตร

บทบาทหน้ า ที ่ ข องเจ้ า ของที ่ ด ิ น แต่ละแห่งมีรายละเอียดต่างกันไป แต่มภี ารกิจหลักๆ อยู่ ๔ อย่าง คือ ๑) วางแผนการใช้พน ้ื ที่ เป็นต้นธารของความคิดริเริม่ ในการจัดการอบรม/ ค่าย/กระบวนการขึน้ มา ๒) ลงมือขุดดิน ปรับดิน ประสานงาน จัดการสวัสดิการ และดูแลอำ�นวย ความสะดวก ๓) ปลูกต้นไม้ หรือ หาผูเ้ ชีย่ วชาญมาช่วยปลูกต้นไม้ จัดกระบวนการ ๔) เก็บเกีย่ ว สรุปบทเรียน จัดทำ�รายงาน จัดการเอกสารการเงิน ๕๔ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


• คนปลู ก ต้ น ไม้ (กระบวนกร) เมล็ดพันธุแ์ ห่งความสุขอาจล่องลอยมากับสายลม มา กับแม่นํ้า มากับบุรษุ ไปรษณีย์ หรือเสียงโทรศัพท์ แล้วมา แฝงฝังอยูใ่ นใจของคนเรา ก่อนจะค่อยๆ งอกงามเมือ่ อยูใ่ น สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมแต่ใครเลยจะรูไ้ ด้วา่ เมล็ดพันธุ์ ความสุขที่เติบโตขึ้นมานั้น จะมั่นคงแข็งแรง แคระแกร็น และไม่งอกขึน้ มาเป็นต้นไม้แห่งความทุกข์ในภายหลัง การจะทำ�ให้ทด่ี นิ แปลงหนึง่ มีตน้ ไม้งอกงามขึน้ มาอย่างตรงตามธรรมชาติ ของสายพันธุ์ เราต้องการคนปลูกต้นไม้ เพราะคนปลูกต้นไม้จะเป็นบุคคลทีร่ จู้ กั วิธกี ารทีจ่ ะทำ�ให้ตน้ ไม้งอกงามดีทส่ี ดุ คนปลูกต้นไม้มมี อื และหัวใจทีจ่ ะคอยเชือ่ มโยงจัดสรรพลังของสรรพสิง่ ทีอ่ ยู่ รอบๆ ให้เกิดการเลือ่ นไหลเป็นพลวัต เอือ้ ต่อการเติบโตของเมล็ดพันธุแ์ ห่งความ สุขและการเรียนรู้ สิง่ ทีเ่ รา-คนปลูกต้นไม้ไม่อาจลืมได้เลย คือ เมล็ดพันธุแ์ ต่ละเมล็ดทีเ่ รา หว่านลงบนหัวใจของผู้เข้าร่วมนั้น ย่อมส่งผลต่อการดำ�เนินชีวิตของพวกเขา อย่างแน่นอน ฉะนัน้ เรา-คนปลูกต้นไม้จงึ จำ�เป็นต้องมีความรับผิดชอบต่อต้นไม้ ทีเ่ ราปลูก ซึง่ ความรับผิดชอบนีม้ คี วามรักและหวังดีเป็นรากเหง้าอันมัน่ คงเสมอ

คุ ณ สมบั ต ิ ท ี ่ ส ำ � คั ญ ของคนปลู ก ต้ น ไม้ ๑) มีพลังใจ ทีเ่ ต็มเปีย่ มด้วยความรักและความปรารถนาดี ๒) มีพลังสติปญ ั ญา สติปญ ั ญามีความหมายทีก่ ว้างขวางมาก แต่ในทีน่ ้ี มุง่ เน้นเรือ่ งความรูค้ วามเข้าใจในเนือ้ หาหรือประเด็นทีท่ ำ� รวมถึงการมีทกั ษะ ในการจัดกระบวนการ โดยเฉพาะทักษะพืน้ ฐาน ได้แก่ การฟังด้วยใจ การจับ ประเด็น การตัง้ คำ�ถาม การคิดวิเคราะห์ และท้ายทีส่ ดุ คือการมีไหวพริบปฏิภาณ ความมัน่ คงภายใน ในการเผชิญและแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า ๓) มีพลังกาย ร่างกายทีแ่ ข็งแรง พักผ่อนให้เพียงพอ ทานอาหารทีด่ ตี อ่ สุขภาพ ๔) มีความหลากหลายในทีม ในการจัดกระบวนการหนึง่ ๆ ประกอบด้วย คนที่มีบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน ได้แก่ คนปลูกต้นไม้ร่าเริง (สันทนาการ) เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๕๕


คนปลูกต้นไม้วชิ าการ (คุมประเด็นเนือ้ หา) คนปลูกต้นไม้ใคร่ครวญ (นำ�สูก่ าร ใคร่ครวญ ทบทวนตัวเอง) เป็นต้น ๕) มีเจตคติในการเปิดกว้างทางความคิด ปล่อยวางตัวตน และเคารพ ความเป็นมนุษย์ของทุกคน การเปิดกว้างทางความคิดจะช่วยให้เรา-คนปลูก ต้นไม้ ได้รบั ความไว้วางใจจากผูเ้ ข้าร่วมและเพือ่ นร่วมทีม และยังช่วยให้บรรยากาศของการเรียนรูเ้ ป็นไปอย่างผ่อนคลายด้วย

* กรณี “เจ้าของที่ดิน” กับ “คนปลูกต้นไม้ เป็นคนเดียวกัน

ในกรณีทเ่ี จ้าของทีด่ นิ เป็นคนๆ เดียวกันกับคนปลูก ต้นไม้ จะทำ�ให้ยง่ิ มีความเข้าใจในเรือ่ งแนวคิด หลักการ รูปแบบกระบวนการ และปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ได้อย่าง ชัดเจน รูว้ า่ ควรทำ�อย่างไรกับผืนดิน แสงแดด และสาย นํา้ จึงจะทำ�ให้เมล็ดพันธุเ์ จริญงอกงามขึน้ มาได้ แต่ก็ มีขอ้ ทีค่ วรคำ�นึงด้วยว่า หากเจ้าของทีด่ นิ มัวแต่ไปพะวง อยูก่ บั การจัดทีจ่ ดั ทางจนลืมรดนํ้าใส่ปยุ๋ เมล็ดพันธุ์ ต้นไม้กไ็ ม่อาจเติบโตได้อย่างเต็มที่ ในการจัดกระบวนการ บางครัง้ ผูร้ บั ผิดชอบโครงการต้องเป็นคนประสานงาน เรือ่ งต่างๆ ด้วยตัวเอง ทัง้ เรือ่ งสถานที่ องค์กรหรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ ยังต้อง เตรียมอุปกรณ์อาหารหลัก อาหารว่าง การเดินทางของผูเ้ ข้าร่วม ฯลฯ และหาก ต้องมาจัดกระบวนการเองอาจจะทำ�ให้มเี รือ่ งต้องห่วงหน้าพะวงหลัง และพลาด ด้านใดด้านหนึง่ ในทีส่ ดุ ดังนัน้ กรณีอย่างนีจ้ งึ จำ�เป็นต้องมีทมี งานทีส่ ามารถจัด กระบวนการและจัดการแทนกันได้เข้ามาช่วยในแต่ละช่วง และต้องอาศัยการสือ่ สาร ทีช่ ดั เจนตรงกันเป็นอย่างมาก ไม่อย่างนัน้ จุดแข็งก็อาจจะกลายเป็นอุปสรรคได้ แต่ถา้ เจ้าของทีด่ นิ เป็นคนละคนกับคนปลูกต้นไม้ ปัญหาการห่วงหน้าพะวง หลังก็อาจจะหมดไป เจ้าของทีด่ นิ ก็จะได้ให้ความใส่ใจกับงานจัดการอย่างเต็มที่ ในขณะทีค่ นปลูกต้นไม้กส็ ามารถอยูก่ บั กระบวนการได้ตลอด แต่กม็ ขี อ้ ควรคำ�นึง ถึงอยูว่ า่ ทัง้ ๒ ฝ่ายต้องมีการสือ่ สารเพือ่ ทำ�ความเข้าใจให้ตรงกันอย่างชัดเจน ตัง้ แต่แรก ทัง้ เรือ่ งเนือ้ หา วัตถุประสงค์ และกระบวนการ เพือ่ ทีแ่ ต่ละฝ่ายจะได้ เป็นส่วนสนับสนุนซึง่ กันและกันอย่างเต็มที่ ๕๖ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


เรื ่ อ งเล่ า ของคนปลู ก ต้ ่ น ไม้

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

“การปลูกต้นไม้เป็นการทำ�บุญทีย่ ง่ั ยืนกว่า และช่วยเหลือ ทุกคนได้ชว่ั ลูกชัว่ หลาน…เราจะคืนธรรมชาติสแู่ ผ่นดิน เกือ้ กูลอาศัย ซึง่ กันและกัน ความสุขทีแ่ ท้จริงคือการอยูร่ ว่ ม รูจ้ กั เคารพธรรมชาติ ต้นไม้ผมเป็นคนปลูก ปลูกไปเรือ่ ยๆ ปลูกไปจนกว่าจะตาย…” เป็นคำ�พูดของตำ�รวจคนหนึ่งที่ถูกกล่าวหาว่า เป็น คนบ้า บ้าเพราะปลูกต้นไม้บนผืนแผ่นดินที่ รกร้างว่างเปล่าทุกวัน เป็นเวลากว่า ๒๐ ปี ก่อนหน้านีร้ าวๆ ๑๐ ปี แทบจะไม่มใี ครรูจ้ กั กับ ตำ�รวจยศจ่าที่ชื่อ วิชัย สุริยุทธ นอกจากชาวบ้าน อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ ทีเ่ รียกเขาว่า คนบ้า แต่ไม่กป่ี ใี ห้หลัง คนทัว่ ประเทศ ได้ยกย่องและชื่นชมในสิ่งที่ดาบตำ�รวจวิชัยทำ� ซึ่งแม้ว่าจะกลายเป็นคนที่มี ชื่อเสียง มีผู้คนมากมายวิ่งเข้าไปหา แต่เขาก็ยังคงควบมอเตอร์ไซค์คันเก่า ตระเวนปลูกต้นไม้ตามทีส่ าธารณะอยูท่ กุ วัน ด้วยปณิธานทีไ่ ม่เคยเปลีย่ นแปลง1 ห่างออกไปนับพันกิโลเมตร เรือ่ งราว คล้ายๆ กันนีเ้ กิดขึน้ ทีเ่ ทือกเขาไท่หงั เมือง สือเจียจวง มณฑลเหอเป่ย ทางตอนเหนือ ของประเทศจีน คุณลุงหม่าซานเสี่ยว วัย ๖๒ ปี ได้ ปลูกต้นไม้ทเ่ี ทือกเขาแห่งนีม้ าเป็นเวลานับสิบปีแล้ว และทีส่ ำ�คัญคือ คุณลุง หม่าปฏิบตั ภิ ารกิจนีบ้ นไม้คํ้ายัน เพราะปราศจากขาทัง้ ๒ ข้าง! ทุกๆ วัน คุณลุงหม่าจะเดินไปพร้อมกับไม้เท้าคูช่ พี เพือ่ ปลูกต้นไม้บนเขา บ่อยครัง้ ทีค่ ณ ุ ลุงต้องเจอกับอุปสรรค เช่น เทือกเขาสูงชันจนไม่สามารถใช้ไม้ คํา้ ได้ คุณลุงก็จะใช้วธิ สี วมถุงมือแล้วคลานขึน้ ไปแทน บางครัง้ ก็ถงึ ขัน้ ประสบ อุบตั เิ หตุตกเขา แต่กระนัน้ คุณลุงก็ยงั ไม่หยุดปลูกต้นไม้ อะไรทีท่ ำ�ให้คณ ุ ลุงยังคงปลูกต้นไม้ ทัง้ ทีต่ อ้ งเผชิญกับความยากลำ�บาก มากมายขนาด? นัน่ เป็นเพราะ คุณลุงเชือ่ ว่าต้นไม้คอื สิง่ ทีส่ ำ�คัญทีส่ ดุ ในชีวติ ต่อให้ ไม่มเี งินในธนาคารเลย คุณลุงก็คดิ ว่าตัวเองรํา่ รวยมาก เพราะยังมีผนื ป่า สีเขียวที่มีค่าอยู่ และยังหวังด้วยว่าต้นไม้ที่ปลูกนี้ จะช่วยแก้ปัญหาสิ่ง แวดล้อมในปัจจุบนั ได้บา้ ง และเช่นกัน คุณลุงก็จะเป็นอีกคนหนึง่ ทีจ่ ะ ปลูกต้นไม้ไปเรือ่ ยๆ จนกว่าจะไม่มแี รง2 1 ข้อมูลและภาพจาก www.sarakadee.com และ www.businessthai.co.th 2 ข้อมูลและภาพจาก http://hilight.kapook.com/view/58638

เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๕๗


• เจ้ า ของหั ว ใจ (ผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม)

ในแปลงนาทีเ่ ต็มไปด้วยต้นข้าวเขียวขจี ยอดข้าวสูงเสมอ กัน ราบเรียบราวกับผืนพรม แต่ไม่มขี า้ วสักต้นทีเ่ หมือนกัน แม้จะถูกเรียกว่าเมล็ดพันธุแ์ ห่งความสุขเหมือนๆ กัน แต่ก็ บ่มเพาะมาจากสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน บางต้นอาจ งอกงามจากทีอ่ น่ื มาก่อนแล้ว บางต้นอาจจะแคระแกร็น บ้าง ก็ยงั เป็นเป็นเมล็ดนิง่ เฉย บ้างก็ถกู แมลงกัดแทะจนหมดสิน้ ถึงเวลาทีต่ อ้ งหว่านเมล็ดลงไปใหม่ ด้วยลักษณาการทีแ่ ตกต่างกันนีเ้ อง จึงเป็น หน้าทีโ่ ดยตรงของเรา-คนปลูกต้นไม้ทจ่ี ะต้องจัดสภาพแวดล้อม (ดิน นํ้า ลม แดด ปุย๋ ) ให้เหมาะสมแก่การงอกงาม ซึง่ ความแตกต่างหลากหลายของผูเ้ ข้า ร่วมนี้ เป็นได้ทง้ั บทเรียนและอุปสรรค นอกจากการจัดสรรองค์ประกอบต่างๆ ทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูแ้ ล้ว เรายังต้อง มีเครือ่ งมือตรวจจับคลืน่ สัญญาณบางอย่างทีผ่ เู้ ข้าร่วมสือ่ ออกมาในรูปแบบต่างๆ อีกด้วย สัญญาณทีว่ า่ นีม้ กั จะส่งมาในรูปแบบของความเงียบ (วิธยี อดนิยม) การ หลบตา เข้าห้องช้า การพูดจาไร้สาระ เสียงดัง แซวคนอื่นๆ จับกลุ่มอยู่มุมใด มุมหนึง่ ของห้อง หรือคำ�พูดบางคำ� (Keyword) ทีบ่ ง่ บอกสภาวะของเขาในขณะนัน้ รวมถึงภาษากายทีส่ ะท้อนความเบือ่ ง่วง ความไม่ไว้วางใจ และการต่อต้าน ดังนัน้ การเปิดรับสัญญาณและตอบสนองด้วยท่าทีทเ่ี หมาะสม เป็นมิตร ไม่ตำ�หนิ ไม่ตดั สิน จะช่วยให้เราคลีค่ ลายสถานการณ์ให้ดขี น้ึ ได้

เกี ่ ย วกั บ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม ๑. การได้คนทีพ่ ร้อม หากต้องการผูเ้ ข้าร่วมทีพ่ ร้อมสำ�หรับการเรียนรู้ เราควร มีกระบวนการคัดกรองเฉพาะคนที่สนใจจริงๆ เช่น อาจคัดเลือกจากใบสมัคร การเขียนเรียงความ การสัมภาษณ์ ฯลฯ แต่วธิ นี ม้ี ขี อ้ จำ�กัด คือเราอาจได้เด็กดี เรียนรูเ้ ร็ว ตอบคำ�ถามตรงใจ แต่จะกีดกันโอกาสเข้าถึงบทเรียนของคนอืน่ ๆ ได้ ๒. การเปิดกว้าง ในทางตรงข้าม หากต้องการเปิดกว้างสำ�หรับคนทัว่ ๆ ไป เราก็ตอ้ งพร้อมเผชิญความแตกต่าง ซึง่ จะมีตง้ั แต่เจตนาในการเข้าร่วม บุคลิก ลักษณะ ความเชือ่ ศาสนา วัฒนธรรม ชาติพนั ธุ์ จนถึงความสามารถในการเรียนรู้ ที่แตกต่างหลากหลาย การออกแบบกระบวนการต้องมีลักษณะที่เป็นกลางๆ ไม่เน้นสันทนาการสร้างความสัมพันธ์หรือเนือ้ หามากเกินไป ๕๘ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


๓. คนเฉพาะเรือ่ ง การกำ�หนดกลุม่ เป้าหมายสำ�หรับเรียนรูเ้ นือ้ หาทีจ่ ดั ไว้ โดยเฉพาะการจัดกระบวนการสำ�หรับกลุม่ เป้าหมายลักษณะนี้ เราต้องเข้าใจ ธรรมชาติของผูเ้ ข้าร่วมเป็นอย่างดี จึงจะสามารถเชือ่ มโยงเนือ้ หาเข้ากับบุคลิกที่ เฉพาะได้ เช่น การจัดกระบวนการเรียนรูใ้ ห้เด็กทีบ่ กพร่องทางสติปญ ั ญา(ออทิสติก) เยาวชนสถานพินจิ เด็กพิการ เด็กหลังห้อง เด็กด้อยโอกาส เด็กแว้นส์-สก๊อย เป็นต้น ๔. คนทีแ่ ตกต่าง การนำ�ผูเ้ ข้าร่วมทีม่ คี วามแตกต่างกันมากๆ มาทำ�กิจกรรม ร่วมกัน โดยออกแบบกระบวนการหรือใส่เงือ่ นไขบางอย่าง เพือ่ กระตุน้ ให้เกิด การเรียนรูจ้ ากความแตกต่างของกันและกัน เช่น เด็กเมือง-ชาวบ้านในชนบท เด็กจากชุมชนกึง่ เมือง-ผูส้ งู อายุทถ่ี กู ทอดทิง้ เด็กทีอ่ ยูใ่ นสถานพินจิ -เด็กอ่อนที่ ถูกทอดทิง้ วัยรุน่ -เด็กด้อยโอกาส นักศึกษา-เด็กพิการ นักศึกษาสายสาธารณสุขผูป้ ว่ ยฟอกไต เป็นต้น (ดูเพิม่ เติมหัวข้อ ๒.๖ พรวนดิน) การสร้างพืน ้ ทีป่ ลอดภัยหรือบรรยากาศความไว้วางใจ เป็นกระบวนการทีส่ ำ�คัญมาก โดยเฉพาะกับกลุม่ เป้าหมาย ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด พิเศษ ซึง่ แอนนา ไวส์ ได้ทำ�การวิจยั เกีย่ วกับคลืน่ สมอง พบว่าคลืน่ สมองคนเรา มีแบบแผนทีค่ อ่ นข้างชัดเจน ในรายงานการ วิจยั กล่าวไว้ดว้ ยว่า คนเราจะมีศกั ยภาพเรียนรูไ้ ด้ดกี ต็ อ่ เมือ่ อยูใ่ นภาวะ ของคลืน่ อัลฟา ซึง่ ตรงกับช่วงเวลาทีเ่ รารูส้ กึ ผ่อนคลาย แต่ถา้ เราอยูใ่ น ภาวะทีต่ อ้ งรีบเร่ง หวาดระแวง สมองเกิดความตึงเครียด เรียกว่า ช่วง คลืน่ เบต้า จะเป็นช่วงสัญชาตญาณการเอาตัวรอดและปิดโหมดการเรียนรู้ ถ้าผูเ้ ข้าร่วมอยูใ่ นภาวะเครียด มีเรือ่ งกังวลคัง่ ค้างมาจากบ้าน มิหนําซํ้า ยังต้องเร่งรีบทำ�กิจกรรมติดๆ กัน หรือมีความระแวงแคลงใจ ก็จะไม่สามารถ เกิดการเรียนรูไ้ ด้ เรา-คนปลูกต้นไม้มบี ทบาทสำ�คัญในการสร้างพืน้ ทีป่ ลอดภัย โดย - เปิดกว้างทางความคิด รับฟังทุกความคิดเห็นอย่างใส่ใจ ไม่ตดั สินถูกผิด - สร้างความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการ/เป็นกันเอง ทัง้ ท่าทางและคำ�พูด เช่น กินข้าวร่วมโต๊ะ ถามไถ่สารทุกข์สกุ ดิบ ใช้สรรพนามทีไ่ ม่เป็นทางการ เป็นต้น - มีทักษะในการสร้างแรงจูงใจ ชื่นชมเมื่อผู้เข้าร่วมทำ�ดี และให้กำ�ลังใจผู้ เข้าร่วมที่ยังทำ�ได้ไม่ดี หรือกำ�ลังพยายามอยู่ ถ้าผู้เข้าร่วมต้องทำ�กิจกรรมที่ ไม่อยากทำ� เช่น ตืน่ นอนตอนเช้าตรู่ ทำ�วัตรสวดมนต์ กวาดลานวัด ทำ� ความสะอาดห้องนํา้ ทีส่ กปรกมากๆ เขียนบทกวี ฯลฯ เราอาจใช้วธิ เี ชิญชวน และชืน่ ชมการให้ความร่วมมือของผูเ้ ข้าร่วม โดยไม่บงั คับและไม่คาดโทษ - ยืดหยุน่ ผ่อนปรนกฎเกณฑ์บางอย่าง แต่ตอ้ งเป็นข้อตกลงทีเ่ ห็นพ้อง ต้องกันทัง้ สองฝ่าย

เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๕๙


• คนพรวนดิ น (ที ม สนั บ สนุ น ) โดยธรรมชาติ ต้นไม้จะแทงยอดขึน้ สูท่ อ้ งฟ้าเสมอ ภาพทีป่ รากฏแก่สายตาผูค้ นทัว่ ไป จึงเป็นภาพของ พุม่ ใบทีเ่ ขียวชะอุม่ กลีบดอกสีสวยสดสิง่ ทีม่ กั จะถูก มองข้ามคือ ฝอยราก ทีท่ ำ�หน้าดูดซึมนํา้ และแร่ธาตุ อยูใ่ ต้ดนิ รวมถึงสิง่ มีชวี ติ เล็กๆ ทีค่ อยพรวนดินอย่าง ขะมักเขม้นอย่าง ไส้เดือนด้วย ในการปลูกต้นไม้แห่งความสุข เรามักให้ความสนใจกับการเรียนรู้สู่การ เปลีย่ นแปลงของกลุม่ เป้าหมาย (เจ้าของหัวใจ) เป็นอันดับต้นๆ ถัดมาเป็นเรือ่ ง เนือ้ หากระบวนการ และคนจัดกระบวนการ ในขณะทีค่ นกลุม่ หนึง่ มักจะเป็นคน ทีถ่ กู มองข้ามอยูบ่ อ่ ยๆ นัน่ คือ คนพรวนดิน ทีท่ ำ�หน้าทีค่ อยสนับสนุนให้คนทีอ่ ยู่ ข้างหน้าได้ทำ�งานบรรลุเป้าหมาย ซึง่ ในการจัดกระบวนการโดยทัว่ ไป คนกลุม่ นี้ มักหมายถึง..

“คนพรวนดิ น ” หมายถึ ง ใครบ่ ้ า ง... ๑. คนจดบันทึก ทำ�หน้าทีจ่ ดบันทึกกระบวนการ การแสดงความคิดเห็น หรือสะท้อนบทเรียนของกลุม่ เป้าหมาย ๒. คนขึน ้ กระดาน ในกรณีทท่ี ำ�การอบรม และมีการจับประเด็นขึน้ กระดาน ๓. คนเตรียมอุปกรณ์/สถานที่ ทำ�หน้าทีเ่ ตรียมอุปกรณ์ เครือ่ งเสียง เครือ่ ง เขียน ฯลฯ ๔. คนประสานงาน เป็นสือ่ กลางในการติดต่อระหว่างทีมงาน กับคนกลุม่ ต่างๆ เช่นหน่วยงาน องค์กร ภาครัฐ เจ้าของสถานที่ รวมถึงการเดินทางด้วย ๕. คนดูแลสวัสดิการ เป็นคนทีม่ กั นอนทีหลังตืน่ ก่อน โดยมีหน้าทีห่ ลักๆ คือ การดูแลเรือ่ งสวัสดิการ ความเป็นอยู่ ความปลอดภัย และอาหารการกินของ สมาชิกทุกคน แต่ในกรณีทเ่ี ราจัดกระบวนการในพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารให้บริการเรือ่ งนี้ อยูแ่ ล้ว เช่น โรงแรม รีสอร์ท หรือค่ายพักแรม คนทีท่ ำ�หน้าทีน่ ก้ี อ็ าจจะตัดออกไป หรือดูแลเพียงแค่บางส่วนเท่านัน้ ๖๐ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


นํ ้ า

(บริ บ ทแวดล้ อ ม)

หยดนํ้าเป็นหน่วยเล็กๆ ทีน่ ำ�พาและหล่อเลีย้ งต้นไม้ตลอดชีวติ ตัง้ แต่นำ� ความชื้นมากระเทาะเปลือกเมล็ดพันธุ์ทำ�ให้ดินอ่อนนุ่ม เพื่อที่รากอ่อนๆ จะ สามารถหยัง่ ลงสูพ่ น้ื ดิน นำ�ความอ่อนโยนมาละลายแร่ธาตุในดิน จนเมือ่ ต้นไม้ เติบโตขึน้ มา นํ้าก็ยงั มีอทิ ธิพลต่อการผลิดอกออกผลของต้นไม้ เรามักมองไม่เห็นการมีอยู่ของนํ้า จะมองเห็นก็แต่ดินที่ชุ่ม หรือต้นไม้ที่ ผลิใบอ่อนสะพรัง่ เราจะรูถ้ งึ ความสำ�คัญของนํ้าก็ตอ่ เมือ่ ต้นไม้เหีย่ วเฉา ใบแห้ง กรอบ หรือยืนต้นตายไปแล้ว ในการจัดกระบวนการก็มบี ริบทแวดล้อม เป็นเสมือนสายนํ้าคอยหล่อเลีย้ ง และนำ�พาไปสูก่ ารเรียนรู้ ซึง่ มักจะเป็นสิง่ ทีเ่ ราให้ความสำ�คัญ หลังจากทีต่ อ้ ง เจอปัญหาหรืออุปสรรคไปแล้ว ไม่วา่ จะเป็นสถานทีค่ บั แคบ อาหารไม่เพียงพอ อากาศร้อนหรือเย็นเกินไป ฝนตก ยุงชุม ชาวบ้านไม่มาร่วมกิจกรรม ฯลฯ ดังนัน้ ไม่ใช่แค่การมีนํ้าอยู่ แล้วจะทำ�ให้ตน้ ไม้เติบโตได้ แต่เรา-คนปลูก ต้นไม้จะต้องเป็นคนจัดสรรให้ นํ้าหล่อเลีย้ งต้นไม้ในปริมาณทีเ่ หมาะสมด้วย เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๖๑


• น้ ำ � ฝน (เวลา/ฤดู ก าล) เราไม่อาจห้ามฝนและสัง่ ดวงอาทิตย์ได้ แต่เราสามารถเลือกช่วงเวลาใน การจัดกิจกรรมได้ ยิง่ สภาพอากาศในปัจจุบนั คาดการณ์ลว่ งหน้าได้ยากมากขึน้ เรายิง่ ต้องพร้อมทีจ่ ะปรับเปลีย่ นและแก้ไขสถานการณ์เฉพาะอยูเ่ สมอ นอกจากจะเลือกช่วงเวลาให้เหมาะสมกับกิจกรรมแล้ว เราก็ควรจะมีแผน สำ�รองเตรียมไว้เผือ่ สถานการณ์ฉกุ เฉินด้วย เช่น ในกรณีทส่ี ถานทีท่ เ่ี ตรียมไว้ เกิดนํา้ ท่วมฉับพลัน การประสานงานเพือ่ เปลีย่ นสถานทีใ่ นเวลากระชัน้ ชิดอาจมี ความยุง่ ยากต่างๆ ตามมา ดังนัน้ ในการวางแผนจึงควรคิดเผือ่ แผนสำ�รองไว้ดว้ ย สถานการณ์ทางธรรมชาติสว่ นใหญ่ทอ่ี าจจะเกิดขึน้ ได้ เช่น ฝนตกติดต่อกัน ตลอดช่วงเวลาการจัดกระบวนการ ทำ�ให้การเดินทางหรือการทำ�กิจกรรมกลาง แจ้งต้องงดไป หรือหนักกว่านัน้ ก็อาจจะเป็นน้ำ�ท่วม และอีกกรณีหนึง่ ทีอ่ าจจะ เกิดขึน้ ได้เช่นกันคือ อากาศทีห่ นาวจัด บางครัง้ ก็เป็นอุปสรรคต่อการจัดกระบวนการด้วยเช่นกัน นอกเหนือจากฤดูกาลทางธรรมชาติแล้ว ช่วงเวลาการดำ�นินชีวติ ของกลุม่ เป้าหมายก็เป็นเรือ่ งทีเ่ ราควรให้ความใส่ใจด้วย เช่น การจัดกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง กับชุมชน ไม่ควรจัดในช่วงฤดูทำ�นาหรือเก็บเกีย่ ว เพราะจะไม่มใี ครมา หรือการ จัดกิจกรรมกับเด็กๆ ก็ไม่ควรเป็นช่วงที่ใกล้สอบ แต่ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็ควร ประสานงานเพือ่ เตรียมกลุม่ เป้าหมายรองไว้อกี ทางหนึง่ ด้วย

หมั ่ น “ลั บ มี ด ลั บ พร้ า ” ให้ ค มอยู ่ เ สมอ

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

ในช่วงทีว่ า่ งเว้นจากการปลูกต้นไม้ ไม่วา่ จะด้วย เหตุผลทางธรรมชาติหรือไม่กต็ าม คนปลูกต้นไม้ก็ ควรทีจ่ ะลับคมมีดคมพร้าอยูเ่ สมอ เช่นเดียวกันคนจัด กระบวนการเองก็ตอ้ งหมัน่ ฝึกฝนตนเองและเปิดโอกาส ให้ตวั เองได้เรียนรูอ้ ยูเ่ สมอด้วย

๖๒ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


• ตานํ ้ า (วั ฒ นธรรม/พื ้ น เพของชุ ม ชน) แม่นํ้าสายใหญ่ลว้ นแล้วแต่มที ม่ี าจากตานํ้า เล็กๆ ในหุบเขา เรามักจะมองเห็นและใช้ประโยชน์ จากแม่นํ้า แต่ลมื นึกถึงจุดกำ�เนิดเล็กๆ ทีอ่ ยูไ่ กลออกไป เช่นเดียวกับการจัดกระบวนการหนึง่ ๆ เรามักจะคำ�นึงถึงคนทีเ่ ป็นกลุม่ เป้าหมายตรงหน้า แต่ไม่คอ่ ยมองไกลออกไปถึงทีม่ าของกลุม่ เป้าหมาย ถ้าเราทำ� ความเข้าใจกับวัฒนธรรมหรือประเพณีของกลุ่มเป้าหมาย ก็จะช่วยให้การจัด กระบวนการเป็นไปอย่างมีพลังมากยิง่ ขึน้ เหมือนกับการทีเ่ รารูว้ า่ ต้นกระบองเพชรเป็นพรรณไม้แถบทะเลทราย เรา จึงเลือกปลูกในดินทราย ให้นํ้าน้อย และตัง้ ไว้กลางแจ้ง หลายครัง้ ทีเ่ ราเลือกทีจ่ ะเดินทวนกระแสกลับคืนสูต่ านํา้ โดยหยิบยกประเพณี หรือวิถชี มุ ชนทีห่ ายไปขึน้ มาเป็นเนือ้ หาในการจัดกระบวนการ ซึง่ ก็มกั จะได้รบั ความร่วมมือจากผูค้ นทีเ่ กีย่ วข้องเป็นอย่างดี เช่น การฟืน้ ประเพณีบญ ุ ผะเหวด ในชุมชนแถบภาคอีสาน การนำ�ประเพณีตานต๊อด (การให้ทานโดยทีผ่ รู้ บั ไม่รวู้ า่ ใครเป็นคนให้) มาปรับใช้ในกิจกรรมจิตอาสาทางภาคเหนือ หรือเรือ่ งของเล่น และการละเล่นพืน้ บ้านแถบภาคใต้ และอีกมากมาย

• ละอองนํ ้ า (บรรยากาศ) ในอากาศมีละอองนํ้าเล็กๆ ล่องลอยอยูม่ ากมายนับไม่ถว้ น ซึง่ ส่วนใหญ่ เกิดจากการหายใจเข้าออก ทัง้ จากเราและสิง่ มีชวี ติ รอบๆ ตัวเราด้วย บรรยากาศในกระบวนการก็เหมือนกับละอองนํา้ ไม่วา่ จะเป็นมิตทิ างกายภาพ หรือความสัมพันธ์ หากในห้องๆ หนึง่ เต็มไปด้วยละอองนํา้ ทีเ่ บียดเสียดเยียดยัดกัน ก็อาจจะทำ�ให้เรารูส้ กึ แน่นหน้าอก หายใจไม่ทว่ั ท้อง หรือวงสนทนาทีเ่ ต็มไปด้วย กรอบความคิดและการชีน้ ำ� แม้จะด้วยพืน้ ฐานของความปรารถนาดี ก็อาจทำ�ให้ เรารูส้ กึ อึดอัดได้ จึงเป็นหน้าทีข่ องเรา-คนปลูกต้นไม้ทจ่ี ะต้องทำ�ให้มลี ะอองนํา้ ในบรรยากาศในปริมาณทีเ่ หมาะสม การสร้างสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ เป็นการจัดสรรสถานทีใ่ ห้สอดคล้องกับเนือ้ หา กระบวนการ และผูเ้ ข้าร่วม โดยอาจทำ�ได้หลายวิธี เช่น การพา เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๖๓


ผูเ้ ข้าร่วมไปเรียนรูจ้ ากสถานทีจ่ ริง หรือการจัดสถานการณ์จำ�ลองภายในพืน้ ที่ โครงการ นอกจากนี้ การจัดสภาพแวดล้อมยังรวมถึงการจัดอาคารสถานทีใ่ ห้ โปร่งโล่ง สะดวกต่อการทำ�กิจกรรม การจัดแสงและเสียงให้อยูใ่ นสภาพพร้อม ทีจ่ ะใช้งานการจัดบรรยากาศอีกมิตหิ นึง่ ก็คอื การสร้างความสัมพันธ์ในแบบที่ ไม่เป็นทางการ เพือ่ ให้เกิดความไว้วางใจ มีความเป็นกัลยาณมิตร ไม่ตดั สินถูก ผิด โดยเฉพาะกระบวนการทีต่ อ้ งการให้ผเู้ ข้าร่วมขุดค้นประสบการณ์ดา้ นลบ ในชีวติ เรา-คนปลูกต้นไม้ยอ่ มต้องมีความมัน่ ใจว่า มีการสร้างความไว้วางใจ และพืน้ ทีป่ ลอดภัยเพียงพอ ไม่ใช่วา่ เราจะต้องจัดบรรยากาศให้ปลอดโปร่งโล่ง ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด สบายทุกครั้งไป บางครั้งการพาผู้เข้าร่วมไปเผชิญ กับภาวะทีค่ บั ขันหรือกดดัน ก็สามารถทำ�ให้เกิดการเรียนรู้ (ระดับลึก) ได้ ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั เนือ้ หาและเป้าหมายของเราด้วย แต่มสี ง่ิ สำ�คัญทีเ่ ราพึงระลึกไว้เสมอก็คอื การจัดกระบวนการ ลักษณะนีต้ อ้ งมีการประเมินความเสีย่ งไว้ดว้ ย เพือ่ ทีเ่ ราจะ สามารถเตรียมการณ์เพือ่ รับมือกับเหตุการณ์ทอ่ี าจเกิดขึน้ ได้

• แม่ น ํ ้ า (การเดิ น ทาง)

การเดินทางของสายนํา้ มีแม่นํา้ เป็นถนน เป็นการเดินทางทีส่ ร้างความชุม่ เย็นไปตลอดทาง การเรียนรูข้ องเราก็เช่นกัน ในระหว่างการเดินทางอาจมีบท เรียนทีม่ คี า่ เกิดขึน้ มากมาย แต่หากมัวใช้เวลาอยูร่ ะหว่างทางมากเกินไป เราก็ อาจจะไปไม่ถึงจุดหมายก็ได้ แม้ไปถึงก็อาจจะล่าช้ามากๆ โดยเฉพาะการจัด กระบวนการหนึง่ ๆ ทีม่ เี วลาค่อนข้างจำ�กัด การจัดกิจกรรมนอกพืน้ ทีม่ กั จะนำ�พาความตืน่ เต้นดีใจมาให้ผเู้ ข้าร่วมเสมอ โดยเฉพาะเด็กๆ เพราะส่วนใหญ่มกั จะไม่คอ่ ยได้เดินทางออกนอกพืน้ ที่ การเดิน ทางจึงถือเป็นสือ่ ของการเปิดโลกทัศน์ทเ่ี ป็นรูปธรรมอย่างหนึง่ เช่น การพาเด็กๆ จากในเมืองนั่งรถไฟไปเรียนรู้วิถีชีวิตร่วมกับชาวเขา หรือการพาเด็กจากภาค อีสานไปเรียนรูผ้ ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมทีป่ า่ ชายเลน เป็นต้น ๖๔ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


แต่ถา้ ต้องเดินทางไกลเกินไป แบบข้ามวันข้ามคืน ก็อาจจะทำ�ให้ผเู้ ข้าร่วม เหนือ่ ยล้าหรือไม่สบายได้ ซึง่ เป็นสภาพทีไ่ ม่พร้อมสำ�หรับการเรียนรู้ นอกจากนัน้ ยังสิน้ เปลืองงบประมาณจำ�นวนมากอีกด้วย แต่ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ เราสามารถจัดกระบวนการบางอย่างระหว่างการ เดินทางได้ เช่น ทำ�กิจกรรมสันทนาการขณะทีอ่ ยูบ่ นรถ แวะชืน่ ชมบรรยากาศ หรือสถานทีท่ น่ี า่ สนใจข้างทาง (กรณีนต้ี อ้ งดูความเหมาะสมของเวลาและการ จัดการด้วย) เช่น ระหว่างการเดินทางไปจัดค่ายเรียนรูท้ ช่ี มุ ชนแห่งหนึง่ ในจังหวัด ทีไ่ กลออกไป เราอาจจะแวะเรียนรูท้ ศ่ี นู ย์ปราชญ์ทอ่ี ยูร่ ะหว่างทางได้ หรือกรณีทใ่ี ช้การเดินทางเป็นเครือ่ งมือในการเรียนรูไ้ ปด้วย อย่างเช่น การ เดินทางโดยรถไฟชัน้ ๓ จากกรุงเทพฯไปยังจังหวัดลำ�พูน อย่างทีไ่ ด้พดู ถึงใน บทที่ ๒ หัวข้อ ทีม่ าของความสุขแล้วนัน่ เอง

เมฆ (การบริ ห ารจั ดการ) เมฆเกิดจากการรวมตัวของไอนํ้าเล็กๆ มีกระแสลมทำ�ให้มวลของเมฆ แปรเปลี่ยนเวียนไหลอยู่ตลอดเวลา เหมือนกับความสัมพันธ์ของทีมงาน ที่มี ความยืดหยุน่ หนุนเสริมบทบาทซึง่ กันและกัน เป็นลักษณะของความสัมพันธ์ท่ี ไม่เป็นทางการ ซึ่งช่วยให้การทำ�งานมีความคล่องตัวมากขึ้น แต่ก็ควรมีการ ทำ�ความเข้าใจถึงบทบาทหน้าทีห่ ลักของแต่ละคนอย่างชัดเจนไว้ดว้ ย มิเช่นนัน้ ก็อาจจะเกิดความคลุมเครือและสับสนได้

• เมฆบาง (การประสานงาน) เมฆบางๆ เกิดจากการเชื่อมโยงของละอองนํ้าแบบหลวมๆ พระอาทิตย์ สามารถทอแสงทะลุผ่านได้ เราจึงเห็นท้องฟ้าสีคราม เห็นต้นไม้ใบหญ้า เห็น สรรพสิง่ อย่างชัดเจน แต่กไ็ ม่รอ้ นจนเกินไปนัก แนวคิดในการประสานงานก็เหมือนกัน คือ เป็นการเชื่อมโยงบุคคลที่มี บทบาทหน้าทีต่ า่ งๆ เข้าด้วยกัน ซึง่ มีอยู่ ๒ ระดับ คือ ๑) การประสานงานภายในทีมงาน ๒) การประสานงานกับบุคคลภายนอก เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๖๕


การประสานงานภายในทีมส่วนใหญ่มกั จะไม่เป็นทางการ สามารถสือ่ สาร ตอบโต้กนั ได้ตลอดเวลา แต่การประสานงานกับบุคคลหรือหน่วยงานภายนอก มีขอ้ ควรคำ�นึงถึงหลายข้อ เช่น • ศึกษาข้อมูล เกีย่ วกับบุคคลหรือหน่วยงานทีจ่ ะประสานงานด้วย ว่ามีแนว ทางหรือวิถกี ารทำ�งานอย่างไร เพือ่ ทีจ่ ะสามารถประสานงานได้อย่างสอดคล้อง และเหมาะสม เช่น การติดต่อขอความร่วมมือจากปราชญ์ชาวบ้าน สามารถติดต่อ ขอเข้าพบได้เลย แต่ถา้ หากจะติดต่อขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานราชการ เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ โรงเรียน หรือโรงพยาบาล จะต้องมีการศึกษา ช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมและหน่วยงานย่อยหรือบุคคลทีร่ บั ผิดชอบโดยตรง และหาก ประเด็นทีเ่ รานำ�เสนอมีความสอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงานนัน้ ๆ ก็จะยิง่ ได้รบั ความร่วมมือมากขึน้ • ติดต่อล่วงหน้า โดยเฉพาะหน่วยงานราชการ ต้องส่งหนังสือไปยังหน่วย งานนัน้ ๆ ล่วงหน้าอย่างน้อย ๑๕ วัน หลังจากนัน้ ก็ตอ้ งประสานงานเพือ่ ติดตาม ผล เมือ่ ได้รบั การอนุมตั แิ ล้วจึงจะสามารถดำ�เนินการต่อได้ • ติดตามเป็นระยะ หลังจากทีส่ ง่ เอกสารหรือโทรศัพท์ประสานงานครัง้ แรก ไปแล้วก่อนถึงวันจัดกระบวนการ ให้ประสานงานเพือ่ ยืนยันอีกครัง้ หนึง่ เพราะ หากเกิดการเปลีย่ นแปลงก็จะสามารถแก้ไขได้ทนั

• เมฆหลั ง ฝน (การจั ดการเรื ่ อ งเอกสาร) ก่อนฝนตก เมฆจะอุ้มนํ้าเป็นสีเทามืดครึ้ม บางครั้งอาจจะมีลมพัดแรง อากาศเย็นชืน้ จนเมฆไม่สามารถอุม้ หยดนํา้ ต่อไปได้อกี จึงโปรยปรายเป็นหยาด ฝนลงมา ก่อนหน้านี้เราได้พูดถึงเรื่องนํ้ากับการเติบโตของต้นไม้กันมาแล้ว ทีนเ้ี ราจะพูดถึงเรือ่ งเมฆหลังฝนตก ถ้าหลังฝนตกมีแดดออก เราก็จะได้เห็นรุง้ กินนํา้ ส่วนใหญ่เราจะเห็นแต่ความชุม่ ฉํา่ กับความงามของรุง้ กินนํา้ เรามักจะ มองไม่เห็นสีเทาทีเ่ ป็นฉากหลัง หลังจากสิน้ สุดกระบวนการก็เหมือนกัน เรามัก จะมองเห็นความสำ�เร็จ มองเห็นการเรียนรูห้ รือการเปลีย่ นแปลงของกลุม่ เป้า หมาย ซึง่ เป็นเรือ่ งทีน่ า่ ยินดี แต่พอมองเห็นสีเทาๆ ของการทำ�รายงาน ทัง้ รายงานการเงิน และรายงาน การดำ�เนินงาน เราก็มกั จะถอนหายใจเฮือกใหญ่กอ่ นจะลงมือเขียนมันขึน้ มา ๖๖ • เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ


ทั้งที่อีกด้านหนึ่งของการทำ�รายงาน คือ การได้ทบทวนความสุข ความสนุก ความอิม่ เอมใจทีเ่ กิดขึน้ และในวันทีโ่ ปร่งโล่ง มีสมาธิดๆี เราก็อาจจะได้มองเห็น บทเรียนทีม่ คี ณ ุ ค่า ทีช่ ว่ งเวลาจัดกระบวนการมองไม่เห็นก็ได้ หากเราปรับเปลีย่ นมุมมองทีม่ ตี อ่ เมฆสีเทาได้ บางครัง้ เราอาจจะพบว่า... รุง้ กินนํา้ คงไม่สวยเท่าไร ถ้าไม่มฉี ากหลังสีเทาๆ

อย่ า ลื ม ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ “คนพรวนดิ น ”

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

ในหัวข้อทีว่ า่ ด้วยเรือ่ ง “คน” เราได้พดู ถึงกลุม่ คนที่ เป็น “คนพรวนดิน” ทีท่ ำ�งานอยูเ่ บือ้ งหลังกันไปแล้ว และใน การทำ�รายงานการดำ�เนินงาน (อันเป็นยาขม) นี้ ข้อมูลทีไ่ ด้ จากคนทีท่ ำ�หน้าทีจ่ ดบันทึกจะมีคณ ุ ค่าอย่างยิง่ แต่เท่าที่พบ ส่วนใหญ่เรามักจะไม่ค่อยให้ความสำ�คัญ ตำ�แหน่งหน้าที่นี้ เพราะว่ามีหน้าที่อื่นๆ ที่สนุกและน่าสนใจ มากกว่าการจดบันทึก ทำ�ให้หลายต่อหลายครัง้ ทีเ่ ราต้อง “จุดเทียน” เขียนรายงาน หรือจะให้ทันสมัยขึ้น ก็ใช้วิธีดูภาพถ่ายแล้วเขียน รายงาน (ตามความทรงจำ�) ซึง่ อาจทำ�ให้บทเรียนทีน่ า่ สนใจขาดหายไป ดังนัน้ ในการวางแผนการจัดกระบวนการครัง้ ต่อไป คนปลูกต้นไม้ อาจต้องให้ความสำ�คัญและให้พน้ื ทีก่ บั คนพรวนดินมากขึน้ แล้วล่ะ

เรี ย นรู ้ ร ะบบนิ เ วศ • ๖๗


บทที​ี่​่

เมื่อโลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ (การออกแบบกระบวนการ)


เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์

( การออกแบบกระบวนการ)

โลกหมุนรอบตัวเอง ในขณะเดียวกันก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ไปด้วย จึงปรากฏ เป็นฤดูกาลต่างๆ หมุนเวียนบนพืน้ โลก การเติบโตของต้นไม้ นอกจากเราจะดูทค่ี วามสูงและลักษณะภายนอกแล้ว ยังมีวงปีภายในให้นบั ระยะการเติบโตด้วย ซึง่ วงปีทว่ี า่ นีเ้ กิดขึน้ จากการหมุนเวียน ของฤดูกาลต่างๆ นัน่ เอง การได้เข้าร่วมในกระบวนการเรียนรูห้ นึง่ ๆ ก็เหมือนกับการเข้าสูก่ ารทดสอบ จากฤดูกาลด้วยเหมือนกัน ส่วนมากต้นไม้ทม่ี วี งปีเพิม่ มากขึน้ จะเป็นต้นไม้ท่ี แข็งแรงและมัน่ คงเพิม่ มากขึน้ ไปด้วย เพราะแต่ละฤดูกาลทีผ่ า่ นไป จะนำ�พากิง่ ก้าน เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์ • ๖๙


๗๐ • เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์


ทีอ่ อ่ นแอให้หกั รานลง หรือไม่กก็ ระตุน้ ให้ตน้ ไม้ปรับเปลีย่ นตัวเองเพือ่ การอยูร่ อด เช่น ต้นไม้ทอ่ี ยูใ่ นเขตเกิดไฟป่าซํ้าๆ จะมีการสร้างเปลือกให้หนานุม่ เพือ่ เป็น ฉนวนในการป้องกันเปลวไฟและความร้อน หรือต้นไม้ในเขตป่าเบญจพรรณ เรียนรูท้ จ่ี ะทิง้ ใบ เพือ่ ลดการคายนํ้าในช่วงฤดูแล้ง เป็นต้น สำ�หรับเรา-คนปลูกต้นไม้ หลังจากได้รจู้ กั ปัจจัยต่างๆ ทีป่ ระกอบกันขึน้ มา เป็นระบบนิเวศของกระบวนการแล้ว ขัน้ ตอนต่อมาก็คอื การนำ�ปัจจัยเหล่านัน้ มาร้อยเรียงเชือ่ มโยงให้เกิดเป็นฤดูกาลแห่งชีวติ สำ�หรับบ่มเพาะและขัดเกลา ต้นไม้แห่งความสุขในใจผูเ้ ข้าร่วมของเราต่อไป เมือ่ โลกเริม่ หมุนรอบดวงอาทิตย์ ฤดูกาลต่างๆ ก็เริม่ สร้างปรากฏการณ์ให้ หมุนเปลีย่ นเวียนผ่านตามกลไกของจักรวาล ขัน้ ตอนในการออกแบบกระบวนการ ก็คล้ายกับการหมุนเวียนของปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเช่นกัน โดยเฉพาะ ช่วงฤดูฝน ซึง่ ถือว่าเป็นช่วงเวลาของการริเริม่ สิง่ ใหม่ๆ ให้กอ่ เกิดขึน้ มา หากยังจำ�กันได้ ในหัวข้อ ปัจจัยที่ ๓ ว่าด้วยเรื่อง “คน” เราได้พูดถึงแรง บันดาลใจของเจ้าของทีด่ นิ ทีเ่ ป็นจุดเริม่ ต้นของงานทัง้ หมด ในบทนี้ ผูเ้ ขียนจะ ขอขยายความถึงขัน้ ตอนและวิธกี ารแปรแรงบันดาลใจออกมาเป็นแนวทางการ ปฏิบตั ิ ซึง่ จะมีลำ�ดับขัน้ ตอน ดังแผนภาพด้านซ้าย

ถ้ า เข้ า ใจหลั ก การแล้ ว ...อะไรก็ ป รั บ ใช้ ไ ด้

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

อย่างไรก็ตาม เราไม่จำ�เป็นต้องทำ�ตามขัน้ ตอน เหล่านีอ้ ย่างเคร่งครัดก็ได้ ผูเ้ ขียนเพียงเสนอเป็นแนวทาง ในการออกแบบกระบวนการเท่านั้น เมื่อคนปลูกต้นไม้ เข้าใจในหลักการแล้ว ก็สามารถปรับเปลีย่ นกระบวนวิธตี าม ความถนัดได้เลยเหมือนอย่างที่ปราชญ์โบราณท่านหนึ่งเคย กล่าวไว้วา่ “ซามูไรทีไ่ ร้ดาบ ก็เหมือนกับซามูไรทีม่ ดี าบ เพียง แต่ไม่มดี าบเท่านัน้ ” หากเราฝึกฝนจนถึงขัน้ ทีอ่ ะไรทีอ่ ยูใ่ นมือ ก็สามารถเป็นอาวุธได้ ขัน้ ตอนทัง้ ๘ นีก้ ส็ ามารถวางลงได้เลย

เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์ • ๗๑


ขั้นที่ ๑ ตะวั น ทอแสง-วิ เ คราะห์ ห าหลั ก การและเหตุ ผ ล เช้าวันทีด่ วงอาทิตย์ทอแสงจางๆ อากาศอบอุน่ เป็นเสมือนช่วงเวลาแห่งการ สะสมพลังงาน ก่อนทีช่ วี ติ จะเริม่ ขับเคลือ่ นอีกครัง้ คล้ายกับการเริม่ ต้นของกระบวนการ คือ เริม่ จากการสะสม หลอมรวมความ คิด ความสนใจ และความปรารถนาดีของใครคนหนึง่ หรือกลุม่ หนึง่ แล้วค่อยๆ แผ่ขยายออกไปสูค่ นรอบข้าง ชุมชน หรือสังคมต่อไป การนำ�ส่วนประกอบต่างๆ ทีก่ ระจัดกระจายอยูใ่ นช่วงเริม่ ต้นมาคิดวิเคราะห์ เพือ่ ประมวลออกมาเป็นหลักการและเหตุผลนัน้ คนปลูกต้นไม้แต่ละคนต่างก็มี วิธกี ารหรือแนวทางในการคิดทีแ่ ตกต่างกันไป แต่ในทีน่ จ้ี ะขอนำ�เสนอเค้าโครง ในการคิด โดยใช้หลักอริยสัจจ์ ๔ ข้อทีว่ า่ ด้วยทุกข์และสมุทยั เป็นแนวทาง ในทางปฏิบตั ิ การสะท้อนสภาพปัญหา ควรเขียนลงไปให้ได้มากทีส่ ดุ เท่า ทีจ่ ะทำ�ได้ หลังจากนัน้ จึงค่อยประมวลประเด็นปัญหาทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั หรือ มีรากเหง้ามาจากสาเหตุเดียวกัน แล้วเลือกประเด็นทีเ่ ราให้ความสำ�คัญเป็น พิเศษจำ�นวน ๑ – ๒ เรื่อง เพราะถ้ามีประเด็นมากเกินไปอาจ ส่งผลถึงเอกภาพของการวางเป้าหมายและกระบวนการได้ เช่น อ การสะท้อนภาพปรากฏการณ์หรือต้นเหตุของ ทุ ก ข์ คืสภาพปั ญหาตามข้อเท็จจริงทีป่ รากฏขึน้ ขณะนัน้ ๆ นิยาม/ เชือ่ มโยงกับ หลักคิด ความหมาย กระบวนการ ทุกข์

ปรากฏการณ์/ ปัญหาที่ เกิดขึน้

ตัวอย่าง

การสะท้อน คนรุน่ ใหม่ในสังคมมีความเป็นอยู่ สภาพปัญหา ทีค่ อ่ นข้างแยกตัว มีพน้ื ทีส่ ว่ นตัวสูง ทีเ่ กิดขึน้ มาก ใส่ใจผูค้ นรอบข้างน้อยลง แม้ กระทัง่ คนในครอบครัว มีแนวโน้ม ทีจ่ ะเห็นแก่ตวั มากขึน้ หันไปยึดติด กับวัตถุ ปฏิบัติต่อธรรมชาติด้วย

๗๒ • เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์


นิยาม/ เชือ่ มโยงกับ หลักคิด ความหมาย กระบวนการ

ตัวอย่าง ค่านิยมทีว่ า่ ธรรมชาติเป็นเพียง ทรัพยากรทีใ่ ช้ในการตอบสนอง ความต้องการของตนเองเท่านัน้ ทำ�ให้ใช้ทรัพยากรอย่างสิน้ เปลือง ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ฯลฯ

จากนัน้ จึงนำ�ประเด็นปัญหาทีเ่ ลือกไว้มาเป็นตัวตัง้ แล้ววิเคราะห์หาสาเหตุ ทีท่ ำ�ให้เกิดปัญหานัน้ ๆ เช่นเดียวกัน ให้เขียนลงไปให้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะทำ�ได้ โดยจะเขียนเป็นรายการหางว่าวหรือใช้แผนทีค่ วามคิด (Mind Mapping) ก็ไม่ได้มขี อ้ ห้ามใด เคราะห์หาสาเหตุทท่ี ำ�ให้เกิดปัญหา สมุ ท ั ย คืนัอน้ การวิ ๆ ขึน้ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม หลักคิด

นิยาม/ ความหมาย สมุทยั สาเหตุ/ ปัจจัยที่ ทำ�ให้เกิด ปัญหา

เชือ่ มโยงกับ กระบวนการ การวิเคราะห์ เพือ่ หาสาเหตุ ทีท่ ำ�ให้เกิด ปัญหานัน้ ๆ

ตัวอย่าง จากปัญหาข้างต้น การทีค่ นรุน่ ใหม่ มีพฤติกรรมและค่านิยมอย่างนัน้ มี สาเหตุหลักๆ มาจากพฤติกรรมการ ใช้เวลาส่วนใหญ่อยูก่ บั สือ่ อิเลคทรอนิค เช่น อินเตอร์เน็ต เกมออนไลน์ โซเชียลเน็ตเวิรค์ ฯลฯ จนทำ�ให้แทบ จะไม่มกี ารปฏิสมั พันธ์กบั คนอืน่ หรือ สิง่ มีชวี ติ ทีอ่ ยูร่ อบตัว นอกจากนี้ สาเหตุทางอ้อมที่ส่งผลต่อพฤติกรรม ดังกล่าว ก็คอื ระบบการศึกษาทีเ่ น้น การสือ่ สารและการเรียนการสอนผ่าน สือ่ อิเลคทรอนิค แทนระบบคนกับคน เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์ • ๗๓


ขั้นที่ ๒ ท้ อ งฟ้ า ปลอดโปร่ ง -ตั ้ ง เป้ า หมาย วันทีท่ อ้ งฟ้าเป็นสีครามปราศจากหมูเ่ มฆ มักจะเป็นวันทีแ่ สงแดดแจ่มจ้า ซึง่ สภาพอากาศอย่างนี้ ไม่วา่ เราจะขับรถหรือเครือ่ งบิน ย่อมทำ�ให้มที ศั นวิสยั ทีม่ อง เห็นได้ไกลและคมชัด เช่นเดียวกัน หากเรามีเป้าหมายทีช่ ดั เจนและสอดคล้องกับหลักการและ เหตุผล ไม่วา่ จะจัดกระบวนการในลักษณะใด ก็สามารถนำ�พาผูเ้ ข้าร่วมไปถึง จุดหมายปลายทางได้ ทัง้ นี้ เนือ่ งจากเป้าหมายจะช่วยให้เราไม่หลงทิศทางใน ระหว่างการเดินทาง บ่อยครัง้ ทีเ่ รามักจะตัง้ คำ�ถามกับตัวเองและเพือ่ นร่วมงานว่า ตอนนีเ้ ราอยูต่ รงไหนของแผนที่ และกำ�ลังจะไปไหนกันการมีเป้าหมายทีช่ ดั เจน จะช่วยตอบคำ�ถามนีใ้ ห้เราได้

นิ โ รธ

ตามหลักอริยสัจจ์ ๔ การกำ�หนดเป้าหมาย จะสอดคล้องกับ นิโรธ นัน่ เอง

นิยาม/ เชือ่ มโยงกับ หลักคิด ความหมาย กระบวนการ นิโรธ

ตัวอย่าง

เป้าหมาย การกำ�หนด คนรุน่ ใหม่มกี ารปรับเปลีย่ นทัศนคติ เป้าหมาย เกีย่ วกับค่านิยมในการดำ�รงชีวติ และ บริโภค โดยลดกำ�แพงของการแยก ตัวจากสรรพสิง่ ลง ลดการปฏิสมั พันธ์ กับเครื่องจักรกล ลดการแสวงหา วัตถุสง่ิ ของเพือ่ ตอบสนองความต้อง การ เห็นคุณค่าของชีวติ ทีเ่ ชือ่ มโยง สัมพันธ์ซึ่งกันและกัน รวมถึงปรับ เปลีย่ นพฤติกรรม ให้เป็นไปในทาง ทีเ่ กือ้ กูลมากขึน้ ทัง้ ต่อตัวเอง สังคม และสิง่ แวดล้อม

๗๔ • เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์


ท้ า ยที่ ส ุ ด เราจะไปพบกั น ... ไม่วา่ เป้าหมายของการจัดกระบวนการของแต่ละคน จะเป็นอย่างไร แต่ผเู้ ขียนก็เชือ่ มัน่ ว่าท้ายทีส่ ดุ เราจะ ไปพบกันตรงที่ “ความสุขทีแ่ ท้จริง”

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

ขั้นที่ ๓ สายลมโชยพั ด -วิ เ คราะห์ ต ้ น ทุ น สายลมเป็นสิง่ ทีเ่ รามองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่รสู้ กึ ได้ถงึ การมีอยูย่ ามทีพ่ ดั มาสัมผัสกับผิวกายของเรา บนท้องฟ้าสายลมพัดพาปุยเมฆมารวมตัวกัน และ พัดพาเมล็ดพันธุใ์ ห้ออกเดินทางไปสูแ่ ผ่นดินใหม่ บนพืน้ ดินสายลมพัดพากิง่ ไม้ ใบหญ้ามารวมตัวกัน แต่บางครัง้ ก็พดั พาให้หา่ งออกจากกัน ท้ายทีส่ ดุ เรามักพบ ว่าสิง่ ต่างๆ ทีส่ ายลมพัดพามานัน้ ได้จดั วางอยูใ่ นทีท่ เ่ี หมาะสมกับตัวมันเองเสมอ การพัดพาของสายลม ก็เหมือนกับการนำ�ต้นทุนทีม่ อี ยูท่ ง้ั หมดของเรามา ประมวลรวมกัน ในขณะเดียวกันก็ถอื เป็นบาทแรกของมรรคาวิถแี ห่งหลักอริยสัจจ์ ๔ ด้วยเช่นกัน เมือ่ สิง่ ทีเ่ รามีอยูท่ ง้ั หมดถูกนำ�มาวางไว้ตรงหน้าแล้ว ขัน้ ตอน ต่อมาก็คอื การจำ�แนกแจกแจงถึงสิง่ ทีด่ พี ร้อมใช้งาน และสิง่ ทีต่ อ้ งปรับปรุงหรือ หามาเพิม่ เติม ไม่วา่ จะเป็นทรัพยากรบุคคล ความรู/้ ข้อมูล อุปกรณ์ เครือ่ งมือ และอืน่ ๆ ตามแต่เหตุปจั จัยของกระบวนการของแต่ละคน วิธที ด่ี ใี นการวิเคราะห์ตน้ ทุน คือ การระดมความคิดเห็นจากทีมงานทีเ่ กีย่ ว ข้องทัง้ หมด เพราะแต่ละคนจะรูด้ วี า่ ในส่วนทีต่ วั เองรับผิดชอบอยูน่ น้ั มีตน้ ทุน อะไรอยูแ่ ล้ว และยังขาดในเรือ่ งใดบ้าง ซึง่ แต่ละพืน้ ทีก่ แ็ ตกต่างกันออกไป แต่ ส่วนใหญ่มกั จะมีประเด็นหลักๆ ดังนี้ ๑. ระดมองค์ความรู้เกีย่ วกับเนือ้ หานัน้ ๆ ทีเ่ รามีอยู่ เช่น • ความรูท้ เ่ี ป็นข้อมูล จากทัง้ ตัวบุคคลและเอกสาร • ความรูท้ เ่ี ป็นทักษะ โดยเฉพาะทักษะพืน้ ฐานในการจัดกระบวนการ เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์ • ๗๕


ประเด็ น หลั ก ๆ ในการวิ เ คราะห์ ต ้ น ทุ น ๒. ทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วย • คนทีม่ อี งค์ความรูด้ งั กล่าว เช่น กระบวนกร ปราชญ์ชมุ ชน แหล่งเรียนรู้ ฯลฯ • ทีมงาน เป็นการพิจารณาถึงศักยภาพของผูด้ ำ�เนินงานว่า มีความแตกต่าง หลากหลายครอบคลุมเนือ้ งานทีม่ อี ยูห่ รือไม่ เช่น งานด้านการจัดการเอกสาร การเงิน สวัสดิการการประสานงาน ด้านเนือ้ หา ฯลฯ • กลุม่ เป้าหมาย (หลัก/รอง) วิธกี ารได้มาซึง่ กลุม่ เป้าหมาย รวมถึงการวิเคราะห์ ลักษณะทัว่ ไปของกลุม่ เป้าหมายด้วย • ภาคีเครือข่าย ๓. งบประมาณ การวิเคราะห์เรือ่ งงบประมาณขึน้ อยูก่ บั บริบทของแต่ละกระบวนการ เพราะบางกรณีตง้ั ต้นจากงบประมาณทีม่ อี ยูแ่ ล้ว แล้วจึงออกแบบ กระบวนการมารองรับ ในขณะทีบ่ างกรณีตง้ั ต้นจากการออกแบบกระบวนการ แล้วจึงหางบประมาณมาสนับสนุนภายหลัง หรือทัง้ ๒ กรณีรวมกัน คือ มีงบ ประมาณอยู่แล้วจำ�นวนหนึ่ง แต่ไม่ครอบคลุมค่าใช้จ่ายทั้งหมดจึงต้องหา งบประมาณจากส่วนอืน่ ๆ มาเพิม่ เติม ๔. บริบทแวดล้อมอืน ่ ๆ เช่น • สถานที่ เป็นการพิจารณาถึงความสอดคล้องของเนือ้ หาและสถานที่ รวมถึง ข้อจำ�กัดอืน่ ๆ เช่น งบประมาณ ระยะทาง ความพร้อมของผูเ้ ข้าร่วม ฯลฯ • ชุมชน การศึกษาข้อมูลของพื้นที่ (โดยเฉพาะกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับ ชุมชน วัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม วิถชี วี ติ และอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเนือ้ หา) • พาหนะ ทัง้ พาหนะทีใ่ ช้ในการจัดการ ประสานงาน และพาหนะทีใ่ ช้ในการ เดินทางสำ�หรับผูเ้ ข้าร่วม ฯลฯ • สื่อ ในบางกรณี เราพบว่าการมีสื่อสามารถช่วยให้กระบวนการบรรลุผล ได้ดยี ง่ิ ขึน้ เช่น การสือ่ สารผ่านวิทยุชมุ ชน หอกระจายข่าวของหมูบ่ า้ น หรือเสียง ตามสายในโรงเรียน เป็นต้น ทัง้ นี้ ก็ตอ้ งขึน้ อยูก่ บั เนือ้ หาและกระบวนการด้วย ว่ามีความจำ�เป็นต้องใช้สอ่ื ดังกล่าวหรือไม่ ๗๖ • เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์


ขั้นที่ ๔ ฝนตั ้ ง เค้ า -กำ � หนดขอบเขตของเนื ้ อ หา วันทีท่ อ้ งฟ้าเป็นสีครามปราศจากหมูเ่ มฆ มักจะเป็นวันทีแ่ สงแดดแจ่มจ้า ซึง่ สภาพอากาศอย่างนี้ ไม่วา่ เราจะขับรถหรือเครือ่ งบิน ย่อมทำ�ให้มที ศั นวิสยั ทีม่ องเห็นได้ไกลและคมชัด พืน้ ทีส่ เี ทาผืนใหญ่เป็นเหมือนกับพืน้ ทีข่ อง “หลักการ เหตุผล และเป้าหมาย” ทีเ่ ราได้พดู ถึงก่อนหน้านี้ แต่พน้ื ทีท่ ฝ่ี นตกหรือ “เนือ้ หา” ทีเ่ รากำ�ลังจะพูดถึงนี้ จะมีขอบเขตทีเ่ ล็กลงมาอีก หมายความว่า หลังจากทีเ่ รากำ�หนดหลักการและ เหตุผล และตัง้ เป้าหมายเรียบร้อยแล้ว ขัน้ ตอนต่อมาก็คอื การวิเคราะห์เพือ่ วาง ขอบเขตเนือ้ หาทีส่ ามารถรองรับเป้าหมายได้ อ่ มโยงกับการกำ�หนดขอบเขตเนือ้ หาที่ มรรค เชืสอดคล้ องกับหลักการ เหตุผล และเป้าหมาย นิยาม/ เชือ่ มโยงกับ หลักคิด ความหมาย กระบวนการ มรรค๑ หนทาง เนือ้ หา ในการ ออกจาก ทุกข์หรือ ปัญหา

การกำ�หนด ขอบเขตของ เนือ้ หาที่ สอดคล้อง กับหลักการ เหตุผล และ เป้าหมาย

ตัวอย่าง การเรียนรู้พฤติกรรมและค่านิยม ในการดำ�รงชีวติ และบริโภคของทัง้ ตัวเองและคนรอบข้างโดยผ่านกิจกรรมทีเ่ น้นการปฏิสมั พันธ์กบั สิง่ มี ชีวิตในมิติต่างๆ รอบตัว เช่น การ ฝึกสมาธิกบั ธรรมชาติ (ต้นไม้และ สัตว์เลีย้ ง) การทำ�กิจกรรมร่วมกับ ผูค้ นในสถานภาพทีแ่ ตกต่างกัน เช่น การทำ�งานจิตอาสา การเล่นกีฬา เพือ่ ให้เกิดการทบทวน/เปรียบเทียบ กับความคิดและพฤติกรรมทีผ่ า่ นมา เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์ • ๗๗


ขอบเขตของเนื ้ อ หาต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ “ต้ น ทุ น ”

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

ขอบเขตของเนือ้ หาควรสอดคล้องกับต้นทุนทีเ่ รา มีอยูด่ ว้ ย เพราะถ้าเรากำ�หนดเนือ้ หาหรือเรือ่ งทีอ่ ยากจะทำ�ไว้ กว้างใหญ่เกินไป ในขณะทีเ่ รามีตน้ ทุน (ความรู้ เวลา ทรัพยากร) ทีค่ อ่ นข้างจำ�กัด อาจจะกลายเป็นภาระทีต่ อ้ งแบกรับจนเกินกำ�ลัง และอาจนำ�มาซึง่ ความเครียดและความทุกข์กเ็ ป็นได้ หรือในบางกรณีเราอาจจะพลัดหลงไปในวังวนของ กระบวนการ จนลืมเลือนเป้าหมายและเนือ้ หาทีก่ ำ�หนดไว้ ไปชัว่ ขณะ ซึง่ ในความเป็นจริงก็สามารถทำ�ได้ แต่นน่ั หมายความว่า เราได้เล็งเห็นแล้วว่าผูเ้ ข้าร่วมจะเกิดการเรียนรูจ้ ากการออกนอก แผนทีว่ างไว้ได้เช่นกัน

ขั้นที่ ๕ ฝนโปรยปราย-ออกแบบกระบวนการ เมือ่ ฤดูฝนมาเยือน สิง่ มีชวี ติ ล้วนแสดงอาการต้อนรับทีแ่ ตกต่างกันออกไป สิ่งที่ชัดเจนและแรกสุด คือ เสียงกบเขียดที่พากันร้องเพลงประสานเสียงระงม ถัดมาเมล็ดพันธุ์ก็พากันแทงรากทะลุเปลือก ปลาช่อนหัวโตออกจากที่จำ�ศีล ต้นไม้ใหญ่สลัดกิง่ ก้านทีผ่ พุ งั ฯลฯ ปรากฏการณ์เหล่านีเ้ ป็นเหมือนกับการส่ง สัญญาณแห่งการเริม่ ต้น หลังจากทีไ่ ด้ผา่ นช่วงเวลาแห่งการบ่มเพาะมาแล้ว หลังจากทีเ่ รา-คนปลูกต้นไม้ได้ผา่ นการคิดวิเคราะห์ จนมีชดุ ข้อมูลเกีย่ วกับ กระบวนการทีจ่ ะจัดอยูใ่ นมือแล้ว เราก็จะมาออกแบบกระบวนการ ซึง่ การออก แบบกระบวนการในทีน่ ม้ี อี ยู่ ๒ ระดับ ก็คอื ๑) การออกแบบวิธกี ารทำ�หรือเล่น ในกิจกรรมหนึง่ ๆ และ ๒) การจัดลำ�ดับการทำ�กิจกรรม/กระบวนการย่อย หรือ ทีเ่ ราเรียกว่า การร้อยเรียงกระบวนการนัน่ เอง ทัง้ นี้ ไม่วา่ จะเป็นกิจกรรมทีเ่ ราคิดขึน้ มาใหม่หรือนำ�เข้ามาจากทีอ่ น่ื เราจะ ต้องเคยผ่านการเป็นผูป้ ฏิบตั มิ าก่อน เพือ่ ทีเ่ ราจะได้เข้าใจถึงสภาวะของผูเ้ ข้าร่วม ได้อย่างแท้จริง และความเข้าใจนีจ้ ะช่วยให้การถอดบทเรียนลึกซึง้ ยิง่ ขึน้ ๗๘ • เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์


อ่ มโยงกับการออกแบบกิจกรรมทีน่ ำ�ไปสู่ มรรค เชืการเรี ยนรูต้ ามเนือ้ หาทีก่ ำ�หนดไว้ นิยาม/ เชือ่ มโยงกับ หลักคิด ความหมาย กระบวนการ

ตัวอย่าง

มรรค๒ หนทางใน การออกแบบ กิจกรรมเตรียมความพร้อม • เขียนสมุดเงาแห่งชีวติ กิจกรรม การออก กิจกรรมที่ • ฟังเสียงธรรมชาติ จากทุกข์ นำ�ไปสูก่ าร • เกมสันทนาการ หรือปัญหา เรียนรูต้ าม กิจกรรมหลัก เนือ้ หาที่ • เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว กำ�หนดไว้ • พักพิงพึง่ พา • จัดแจกันดอกไม้ • ลงพืน้ ทีช่ มุ ชนคนอยูร่ ว่ มกับ ธรรมชาติ เช่น ประมงพื้นบ้าน เกษตรธรรมชาติ (อาจเป็นพืน้ ที่ ทีก่ ำ�ลังถูกรุกลํ้าด้วยโรงงานอุตสาหกรรม) • ลงพืน้ ทีช่ มุ ชน (อาจเป็นพืน้ ทีเ่ ดียว กัน) เดินป่า/สถานทีท่ างธรรมชาติ (ทีเ่ สือ่ มโทรม) + บำ�เพ็ญประโยชน์ ถอดบทเรียน (รวม) • แบ่งกลุม่ นำ�เสนอบทเรียน โดยอาจจะแสดงละคร/ เล่านิทาน (ทีแ่ ต่งขึน้ เอง)/ แต่งเพลงหรือ ร้องเพลงประกอบท่าทาง ฯลฯ • เขียนจดหมาย/วาดภาพ แล้ว แบ่งปันภายในกลุม่ ย่อย ด้วย สุนทรียสนทนา เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์ • ๗๙


กิ จ กรรม ใหม่ แ กะกล่ อ ง พื้นที่ตรงนี้ เริ่มต้นจากความเข้าใจ และความคิดสร้างสรรค์เป็นพืน้ ฐาน เป็น พื้นที่ที่เรามีอิสระในการรังสรรค์ขั้นตอน วิธกี ารต่างๆ อย่างเต็มที่ แต่การจะคิดกิจกรรมใหม่ๆ ให้โดนใจและเกิดการเรียนรู้ ได้นั้น เป็นเรื่องที่ไม่ง่ายเลย เราจะต้อง เข้าใจในบริบทแวดล้อมต่างๆ เป็นอย่างดี ไม่วา่ จะเป็นผูเ้ ข้าร่วม (เข้าใจลักษณะนิสยั พฤติกรรม ความคิด ฯลฯ) เนื้อหา และ เป้าหมาย การคิดค้นและออกแบบกิจกรรม ใหม่ๆ นั้น มีข้อดีคือ เราจะได้กระบวนการที่ตรงกับเนื้อหาที่เราต้องการสื่อ ทั้ง ยังสอดคล้องกับบริบทเฉพาะของเราด้วย สิง่ สำ�คัญอีกอย่างหนึง่ ทีเ่ รา-คนปลูกต้นไม้ จะลืมไม่ได้เลยก็คอื หลังจากทีเ่ ราคิดค้นกิจกรรมใหม่ๆ ออกมาแล้ว จะต้องมีการทดลองทำ�ภายในกลุ่มเล็กๆ ก่อน อาจจะเป็นกลุ่ม เพือ่ นๆ หรือกลุม่ คนทีใ่ กล้เคียงกับกลุม่ เป้าหมายก็ได้ หลังทดลองทำ�กิจกรรมนัน้ แล้ว เราก็มาประมวลผลและวิเคราะห์เหตุปจั จัย ทีส่ ง่ ผลต่อการเรียนรู้ เพือ่ เสริมจุดแข็งและปิดจุดอ่อน ด้วยคำ�ถามในลักษณะทีว่ า่ กิจกรรมนีท้ ำ�ให้เกิดการเรียนรูต้ ามเจตนารมณ์ทต่ี ง้ั ไว้หรือไม่? เงือ่ นไขหรือเหตุปจั จัยอะไรทีท่ ำ�ให้เป็นอย่างนัน้ ? ถ้าจะปรับปรุงให้ดขี น้ึ เราควรทำ�อย่างไร? ฯลฯ ๘๐ • เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์


กิ จ กรรม เก่ า คมปลาบ กิจกรรม “เก่า” ในทีน่ ้ี ไม่ได้หมายความว่ามีมานานแล้ว แต่หมายถึง กิจกรรมทีเ่ รา-คนปลูกต้นไม้ได้เคยผ่านการเป็นผูเ้ ข้าร่วมมาแล้ว ยิง่ เคยทำ�บ่อยครัง้ แค่ไหน เราก็จะยิง่ เข้าใจมากขึน้ บางคนอาจจะมองว่าแค่ครัง้ เดียวก็เกินพอ แต่ ในความจริงแล้ว การทำ�กิจกรรมแต่ละครัง้ ไม่เหมือนกันเลย ไม่วา่ เราจะอยูใ่ น ฐานะของกระบวนกรหรือผูเ้ ข้าร่วมก็ตาม เราไม่สามารถข้ามแม่นํ้าสายเดิมได้ เป็นสัจธรรมทีต่ รงกับหัวข้อนีท้ ส่ี ดุ เราอาจจะรูว้ า่ ใต้ทอ้ งนํา้ ตรงจุดนี้ มีกอ้ นหิน มีตะไคร้นํา้ เราเรียนรูว้ า่ ควร จะเหยียบและหลบตรงไหน แต่แน่นอนว่าไม่ใช้สายนํ้าสายเดิม “เป็ดอีกแล้ว” หรือ “จัดดอกไม้อกี แล้ว” มักจะแว่วมาให้ได้ยนิ อยูเ่ สมอๆ ถ้าเราอยูก่ บั กระบวนการจริงๆ จะเห็นว่า การเล่นซํ้าแต่ละครัง้ ให้บทเรียนทีส่ ด ใหม่เสมอ ดังนัน้ ในฐานะทีเ่ ราเป็นคนออกแบบกระบวนการ การบรรจุกจิ กรรม เหล่านีเ้ ข้าไปย่อมช่วยให้เกิดการเรียนรูไ้ ด้เสมอ แต่สง่ิ สำ�คัญทีเ่ ราจะลืมไม่ได้เลยก็คอื บริบทแวดล้อมทุกอย่างไม่เหมือน เดิม เราไม่สามารถยกกิจกรรมหนึง่ ๆ มาวางไว้ในตารางกำ�หนดการ แล้วทำ� ตามขัน้ ตอนทุกกระเบียดนิว้ การปรับรายละเอียดหรือเงือ่ นไขบางอย่าง เพือ่ ให้ สอดคล้องกับกลุม่ เป้าหมายหรือบริบทแวดล้อม เป็นสิง่ ทีเ่ ราควรคำ�นึงถึง และ นีเ่ องทีผ่ เู้ ขียนเรียกว่าเป็นการฝึกฝนหรือลับคม

ขั้นที่ ๖ รุ ้ ง กิ น น้ ำ � -ทดลองทำ � กิ จ กรรม เราจะมองเห็นรุง้ กินนํ้าได้กต็ อ่ เมือ่ ฝนหยุดตก ขณะเดียวกัน พระอาทิตย์กต็ อ้ งทอแสงด้วย เมือ่ เหตุปจั จัยทัง้ ๒ ส่วนมาบรรจบกัน ในตำ�แหน่งทีเ่ หมาะสม เราจึงจะได้เห็นโค้งรุง้ ทีส่ วยงาม หลังจากที่เรากำ�หนดขอบเขตเนื้อหาและออกแบบกิจกรรมแล้ว สิ่งที่จะ ปรากฏตามมา คือ การทดลองทำ�กิจกรรม โดยจะเป็นการทดลองทำ�กิจกรรมหลัก ทุกช่วงตามทีเ่ ราได้รอ้ ยเรียงไว้ ซึง่ อาจจะเป็นการทดลองกับสมาชิกในทีม หรือ เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์ • ๘๑


กลุม่ คนทีม่ ลี กั ษณะใกล้เคียงกับกลุม่ เป้าหมายก็ได้ จากนัน้ เราก็มาช่วยกันประมวลผลทีเ่ กิดจากการจัดกระบวนการ และวิเคราะห์เหตุปจั จัยแวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ จะได้พดู ถึงในหัวข้อต่อไป

การทดลองนั ้ น สำ � คั ญ ไฉน?

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

ในการอบรมเพือ่ พัฒนาบุคคลทีจ่ ะมาเป็นกระบวนกร โดยเฉพาะ (หรือคนปลูกต้นไม้ในทีน่ )้ี เราเรียกการอบรม ลักษณะนีว้ า่ TOT (Training of the Trainer) หลังจากที่ (ว่าที)่ กระบวนกรได้ผา่ นการทำ�กิจกรรมต่างๆ ในฐานะผู้เข้าร่วมมาพอสมควรแล้ว กระบวนกรผู้ฝึกก็จะให้ (ว่าที)่ กระบวนกรได้ฝกึ ทักษะทีเ่ กีย่ วข้องผ่านการลงมือปฏิบตั จิ ริง เช่น ฝึกคิดวิเคราะห์ ฝึกฟังอย่างลึกซึง้ ฝึกตัง้ คำ�ถาม ฝึกพูด ฯลฯ แล้วหลังจากนั้นก็เป็นเวทีของการทดลอง ตั้งแต่การวางเป้าหมาย กำ�หนดกลุม่ เป้าหมายออกแบบขัน้ ตอนและวิธกี ารทำ�กิจกรรม/เล่นเกม และออกแบบวิธีการถอดบทเรียน จากนั้นก็ทดลองฝึกกับเพื่อนๆ ที่อยู่ ในกลุม่ แล้วเพือ่ นๆ ก็จะช่วยสะท้อนบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ รวมถึงสิง่ ทีท่ ำ�ได้ดี และสิง่ ทีค่ วรปรับปรุง ซึง่ การอบรมทีว่ า่ นีใ้ ช้เวลาคอร์สหนึง่ ๆ นับปีเลยทีเดียว หมายเหตุ: ปัจจุบันหน่วยงานที่ขับเคลื่อนการอบรมTOT เป็นหลัก ได้แก่ เสมสิกขาลัย และ ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา ม.มหิดล

ขั้นที่ ๗ ฝนทิ ้ ง ช่ ว ง-ถอดบทเรี ย นการทำ � กิ จ กรรม หลังจากทีฤ่ ดูฝนมาเยือนระยะหนึง่ แล้วก็ทง้ิ ช่วงหายไป ถือเป็นเรือ่ งปกติ และ ถ้าช่วงนีม้ อี ากาศร้อนอบอ้าวเพิม่ เข้ามาด้วย ก็เป็นอันหวังได้วา่ จะมีเห็ดหลากหลาย ชนิดผุดขึน้ มาตามพืน้ ดินและรากไม้ ให้ผคู้ นได้เก็บอยูเ่ ก็บกินกันถ้วนหน้า ๘๒ • เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์


กระบวนการบ่มเชือ้ เห็ด ก็คล้ายๆ กับช่วงเวลาทีเ่ ราได้กลับมาถอดบทเรียน ทีเ่ กิดจากการทดลองทำ�กิจกรรมของเราเหมือนกัน คล้ายตรงทีว่ า่ พอเราผ่าน การทดลองทำ�กิจกรรมเหมือนดินผ่านฝนต้นฤดู มาสูก่ ระบวนการบ่มเพาะเชือ้ จากการไตร่ตรองบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ และเมือ่ ถึงเวลาทีฝ่ นมาเยือนอีกครัง้ เราก็ พร้อมทีจ่ ะโผล่พน้ ผืนดินยังประโยชน์แก่ผคู้ นอีกครัง้ ทัง้ นี้ ประเด็นหลักๆ ในการวิเคราะห์ ได้แก่ เหตุปจั จัยที่ (อาจจะ) นำ�ไปสู่ การเรียนรูข้ องผูเ้ ข้าร่วม รวมถึงปัจจัยอุปสรรคด้วย โดยมีแนวคำ�ถามคล้ายๆ กับ การถอดบทเรียนการทำ�กิจกรรมใหม่แกะกล่อง แต่ตา่ งกันตรงทีจ่ ะมีประเด็น เรือ่ งความเชือ่ มโยงและสอดคล้องของกิจกรรมในแต่ละช่วงเพิม่ เติมเข้ามาด้วย ลองพลิกกลับไปดูเพิม่ เติมทีบ่ ทที่ ๓ ปัจจัยที่ ๑ เรือ่ งแดด อีกครัง้

ขอบเขตของเนื ้ อ หาต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ “ต้ น ทุ น ”

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

อย่างไรก็ตาม การทดลองก็เป็นเพียงการคาดคะเน ความน่าจะเป็นทีอ่ าจจะหรืออยากจะให้เกิดขึน้ เพือ่ ช่วยให้ ทีมงานเห็นภาพแนวทางการจัดกระบวนการโดยรวมร่วมกัน การถอดบทเรียนหลังการทดลอง จะช่วยให้เรารู้ว่าอะไร ควรเติมและอะไรควรตัด หรืออะไรควรปรับ ทีผ่ า่ นมาผูเ้ ขียน ยังไม่เคยเห็นการทำ�ลองที่ไหนที่จะให้ผลสมบูรณ์แบบ จนสามารถยกออกมาใช้ทง้ั กะบิได้เลย ดังนัน้ ในการลงมือปฏิบตั กิ ารจริงๆ เราจึงควรมีชอ่ งว่างระหว่างทาง สำ�หรับเติมคำ�ว่า “อะไรก็เกิดขึน ้ ได้” เอาไว้ในใจด้วย

ขั้นที่ ๘ ลุ ย มรสุ ม -นำ � ไปใช้ จ ริ ง มาถึงหัวข้อนี้ มีขอ้ เสนอแนะเพียงสัน้ ๆ ว่า “ถอดกำ�บังลมออก แล้วปล่อย ให้สายลมได้ทดสอบเรา!” เมื ่ อ โลกหมุ น รอบดวงอาทิ ต ย์ • ๘๓


บทที​ี่​่

ถึงเวลาปลูกต้นไม้แล้ว (การจั ดกระบวนการ)


ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว

ต้ น ไม้ แ ห่ ง ความสุ ข มี ห ลั ก การปลู ก อยู ่ ๔ ขั ้ น ดั ง นี ้

( การจั ดกระบวนการ)

หลังจากทีเ่ ราได้รบั รูแ้ ละเข้าใจถึงองค์ประกอบของระบบนิเวศแล้ว ก็ถงึ เวลา ทีจ่ ะต้องลงมือปลูกต้นไม้แห่งความสุขกันเสียที ซึง่ ในการปลูกต้นไม้กม็ ขี น้ั ตอน หลักๆ อยู่ ๔ ขัน้ ตอนดังนี้

ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว • ๘๕


ขั้นที่ ๑ ไถพรวน – เตรี ย มความพร้ อ ม/ช่ ว งเริ ่ ม ต้ น

อั น ดั บ แรก ปรั บ หน้ า ดิ น หรื อ เตรี ย ม ความพร้ อ ม กั น ก่ อ น

๘๖ • ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว

ก่อนทีค่ นปลูกต้นไม้จะหว่านเมล็ดพันธุ์ แห่งความสุขลงไปบนหัวใจของผู้เข้าร่วมนั้น จำ�เป็นที่จะต้องมีการ “ปรับหน้าดิน” หรือ “เตรียมความพร้อม” เสียก่อน (ย้อนกลับไป ดูรายละเอียดในบทที่ ๓ หัวข้อ ๒.๒ ผิวดิน อีกครัง้ ก็ได้) การทีเ่ ราต้องเตรียมความพร้อม ก็เพือ่ ให้ ผูเ้ ข้าร่วมเกิดความรูส้ กึ ผ่อนคลายและปลอดภัย สำ�หรับการแลกเปลีย่ นเรียนรูใ้ นช่วงต่อๆ ไป อีกทัง้ ยังเป็นการสอบอารมณ์ (Check in) เพือ่ ดูวา่ ผูเ้ ข้าร่วมมีแรงจูงใจในการเข้าร่วมมากน้อย เพียงใด และอะไรทีอ่ าจจะเป็นอุปสรรคต่อการ เรียนรู้ เช่น ความง่วง ความอ่อนเพลียจากการ เดินทางไกล ความกังวลเกีย่ วกับงานหรือครอบครัว ฯลฯ เมื่อได้ข้อมูลบางส่วนจากช่วงสอบ อารมณ์แล้ว เราสามารถปรับระดับของกิจกรรม ให้เหมาะสมกับช่วงนีไ้ ด้ ส่วนใหญ่กจิ กรรมทีใ่ ช้ในช่วงนีม้ กั จะเน้น การเคลือ่ นไหวร่างกาย (ฐานกาย) และอาจจะ ผสมกับสร้างความสัมพันธ์ไปด้วยก็ได้ แต่ควร มีความสนุกสนานเป็นพืน้ ฐาน ในขณะเดียวกัน ช่วงเวลานี้เราสามารถออกแบบเงื่อนไขเพื่อ ให้ผเู้ ข้าร่วมจดจำ�ข้อมูลของเพือ่ นๆ เข้าไปด้วย ก็ได้ ซึง่ กระบวนการในช่วงนี้ เรามักจะเรียกว่า ช่วงสันทนาการ ละลายพฤติกรรม สร้างความ สัมพันธ์หรือสร้างพืน้ ทีป่ ลอดภัยนัน่ เอง


วิ ธ ั ี ป รั บ หน้ า ดิ น ในช่ ว งเริ ่ ม ต้ น

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ท ำ �

ในการพบกันวันแรกระหว่างเรากับผูเ้ ข้าร่วม สิง่ เล็กๆ ทีไ่ ม่ควรละเลยก็คอื การแต่งตัวให้สอดคล้องกับกลุม่ เป้าหมาย ซึ่งจะเป็นความประทับใจแรก และส่งผลต่อการ เป็น “ส่วนหนึง่ ” ของกันและกันได้งา่ ยขึน้ ขั้นแรกของการปรับดินเรามักเริ่มด้วยการนั่งล้อมเป็น วงกลม การทีต่ อ้ งนัง่ เป็นวงกลมก็เพือ่ ให้ทกุ คนสามารถมอง เห็นกันได้อย่างถ้วนทัว่ จากนัน้ ก็เกริน่ นำ�ถึงทีม่ าของการจัด กระบวนการหรือค่ายในครัง้ นี้ แล้วจึงแนะนำ�ตัวง่ายๆ เช่น ชือ่ ทีม่ า ความ รูส้ กึ ตอนนี้ เป็นต้น เมื่อครบวงแล้ว เราอาจจะต่อด้วยการชวนผู้เข้าร่วม มาช่วยกันคิด ข้อตกลงในการอยูร่ ว่ มกัน แล้วจึงทำ�กิจกรรมสันทนาการ ซึง่ การเลือก เกมสันทนาการมาใช้นน้ั ก็ตอ้ งขึน้ อยูก่ บั เราว่าต้องการผลลัพธ์อย่างไร เพราะเกมสันทนาการเองก็มหี ลากหลายรูปแบบและวัตถุประสงค์ เช่น • สันทนาการเพือ่ ละลายพฤติกรรม เน้นทีค่ วามสนุกสนานและการ เคลือ่ นไหวร่างกายเป็นหลัก นอกจากนัน้ บางเกมยังสามารถใช้ในการ จับกลุม่ แบบคละได้อกี ด้วย เช่น เกมลมเพลมพัด รวมเหรียญ ผึง้ แตกรัง ตัวระบาด อวนจับปลา เสือกินวัว ไฟเขียวไฟแดง เป็นต้น • สันทนาการเพือ่ เรียกสติ ส่วนใหญ่เราใช้ในช่วงบ่ายหรือหลังจาก พักเบรก ซึง่ เป็นเวลาทีม่ กั จะง่วง หรือเมือ่ ผูเ้ ข้าร่วมเริม่ เบนความสนใจ ออกจากกิจกรรม หันไปพูดคุยหยอกล้อกับเพือ่ นๆ หรือเริม่ เบือ่ เกมที่ เรามักจะใช้ก็คือ เกมแต๊บ นับเลข บก-นํ้า-อากาศ อุลตร้าแมน เกม แยกประสาทสัมผัสซ้ายขวา ฯลฯ • สันทนาการเพือ่ สร้างพลังกลุม่ เป็นเกมทีม่ งุ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมช่วยกัน ฝ่าฟันอุปสรรค ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเชื่อมโยงไปถึงเนื้อหาหลักด้วย เช่น เกมกูร้ ะเบิด กวางน้อย ตาข่ายไฟฟ้า เทวดาตกสวรรค์ เรือบก ปฏิมากรรม ปมมนุษย์ เป็นต้น ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว • ๘๗


ขั้นที่ ๒ เพาะปลู ก – ช่ ว งทำ � กิ จ กรรมหลั ก

แบบที ่ ๑

ช่วงนีเ้ มล็ดพันธุท์ เ่ี ราหว่านไว้จะค่อยๆ เติบโต ผ่านฤดูกาลทีห่ มุนเวียนเข้ามาบาง ฤดูกผ็ า่ นมาเพือ่ ทะนุบำ�รุง ในขณะทีบ่ างฤดู ก็ทดสอบความแข็งแรง ต้นไม้บางต้นอาจ เติบโตพร้อมกิ่งก้านที่หักราน เหมือนกับ กระบวนการแต่ละช่วงทีผ่ เู้ ข้าร่วมจะต้องได้ ผ่าน มีทง้ั การเสริมพลังด้านดีและการขุดค้น พลังด้านลบ เพือ่ ให้ได้ตระหนักถึงการมีอยู่ ของมัน แล้วเรียนรูท้ จ่ี ะปรับเปลีย่ นตัวเองใน ทางทีเ่ ข้าถึงความสุขทีแ่ ท้จริงมากขึน้ กิจกรรมหลักในทีน่ ้ี หมายถึง กิจกรรม ทีม่ งุ่ ให้เกิดการเรียนรูต้ ามเป้าหมายทีว่ างไว้ ซึง่ ในการร้อยเรียงกระบวนการสามารถวาง กิจกรรมหลักแต่ละช่วงได้หลายรูปแบบ เช่น

เริม่ จากกิจกรรมเบาๆ แล้วค่อยไต่ระดับความเข้มข้นขึน้ เรือ่ ยๆ ปิดท้ายด้วย กิจกรรมทีโ่ อบอุม้ ปิดบาดแผล หรือเยียวยาความรูส้ กึ ส่วนใหญ่จะเป็นกิจกรรม ทีใ่ ช้กบั เนือ้ หาทีค่ อ่ นข้างสุม่ เสีย่ งต่อการกระทบกระเทือนความรูส้ กึ ลึกๆ เช่น ปม ปัญหาชีวติ ความลับ/ปัญหาทีย่ งั ค้างคาใจหรือความขัดแย้ง เป็นต้น ทัง้ นี้ ระหว่างกิจกรรมแต่ละช่วงควรมีชอ่ งว่างสำ�หรับการซึมซับ ใคร่ครวญไว้ดว้ ย หลังจากรูจ้ กั และเข้าใจตัวเองแล้ว เราก็จะสามารถ เชือ่ มโยงผูเ้ ข้าร่วมสูก่ ารรูจ้ กั และเข้าใจผูอ้ น่ื หรือสังคมต่อไปได้ (ดูแผนภาพ ตัวอย่างกิจกรรม คลีค่ ลายปมปัญหาในชีวติ )

๘๘ • ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว


แผนภาพ ตั ว อย่ า งกิ จ กรรม คลี ่ ค ลายปมปั ญ หาในชี ว ิ ต

แบบที่ ๒

เริม่ จากกิจกรรมเบาๆ (warm up) ทีเ่ ชือ่ มโยงไปสูเ่ นือ้ หาหลัก จากนัน้ ก็เพิม่ ระดับการเรียนรูท้ ล่ี ะเอียด/ลึกซึง้ มากขึน้ (ดูแผนภาพ ตัวอย่างกิจกรรม รูจ้ กั รัก เข้าใจโลก)

แผนภาพ ตั ว อย่ า งกิ จ กรรม รู ้ จ ั ก เข้ า ใจโลก

ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว • ๘๙


แบบที ่ ๓

เริ่มต้นด้วยการละลายพฤติกรรม สร้างความคุ้นเคย แล้ว สามารถนำ�เข้าสูก่ จิ กรรมหลักเลย กรณีนส้ี ว่ นใหญ่เป็นเนือ้ หา ทีเ่ ป็นวาระของสังคมอยูแ่ ล้ว เช่น เรือ่ งสิง่ แวดล้อม วิถชี วี ติ แบบ พอเพียง วัฒนธรรมประเพณี หรือปัญหาเยาวชนด้านต่างๆ

แผนภาพ ตั ว อย่ า งกิ จ กรรม เรี ย นรู ้ ช ุ ม ชน (ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มเป็ น เยาวชนในชุ ม ชน)

ในการจัดกระบวนการแต่ละครั้ง จะประกอบไปด้วยคนที่ทำ�หน้าที่เป็น กระบวนกรหลัก กระบวนกรรอง และทีมสนับสนุน (คนขึน้ กระดาน จดบันทึก เตรียมอุปกรณ์ เครือ่ งเสียง เตรียมพาหนะ) ซึง่ หน้าทีน่ ส้ี ามารถผลัดเปลีย่ นหมุน เวียนกันได้ ขึน้ กับว่ากระบวนการนัน้ ๆ ใครเป็นคนรับผิดชอบหรือถนัดในเรือ่ งใด ระหว่างการจัดกระบวนการหนึง่ ๆ สิง่ ทีเ่ ราควรคำ�นึงถึงก็คอื การจัดสมดุล ระหว่างองค์ประกอบทีเ่ ราได้วางแผนไว้กบั สถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ จริง โดยทัว่ ไป เรามักจะประชุมเพือ่ หารือและปรับแผนกันหลังจากเสร็จสิน้ กระบวนการในแต่ ละวัน ซึง่ ประเด็นทีเ่ รามักจะหยิบยกขึน้ มาหารือกัน ได้แก่ ๙๐ • ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว


๑. แลกเปลีย่ นมุมมองทีม่ ตี อ่ สถานการณ์ปจั จุบน ั เป็นการระดมความ คิดเห็นหรือมุมมองจากทีมงานที่มีต่อกิจกรรมที่เพิ่งทำ�ไป ในขณะเดียวกันก็ สามารถประเมินการทำ�งานไปด้วยก็ได้ โดยอาจจะใช้การตั้งคำ�ถาม เช่น - การทำ�กิจกรรมวันนีม้ อี ะไรทีท่ มี งานคิดว่าตัวเองทำ�ได้ดี และอะไรทีร่ สู้ กึ ว่ายังไม่ด?ี เพราะอะไร? - แล้ววันพรุง่ นีเ้ ราจะปรับปรุงอย่างไร? ๒. ทบทวนแผนการดำ�เนินงาน ซึง่ ได้แก่ เป้าหมาย เนือ้ หา และกระบวนการ ว่ามีความสอดคล้องกับสถานการณ์ทก่ี ำ�ลังเกิดขึน้ อยูห่ รือไม่ หากไม่สอด คล้องควรปรับแก้ในทิศทางใด? ๓. สมดุลของฐานการเรียนรู้ เราอาจเริม่ ด้วยการตัง้ คำ�ถามว่า - กิจกรรมทีผ่ า่ นมามีการใช้ฐานกาย ฐานใจ และฐานหัว เหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมายแล้วหรือยัง? ถ้ายังควรปรับตรงไหนเพิม่ หรือลด? - เราเล่นเกมเฮฮามากหรือน้อยเกินไปหรือเปล่า? - ผูเ้ ข้าร่วมรูส้ กึ ไว้วางใจเราบ้างหรือยัง? ถ้ายัง ควรปรับแผนวันต่อไปอย่างไร? ๔. ขนาดของกลุม่ ได้แก่ การจัดพืน้ ทีส่ ำ�หรับการเรียนรูเ้ ป็นกลุม่ หรือเล่น เกมทีเ่ สริมพลังกลุม่ ในขณะเดียวกันก็ควรจัดพืน้ ทีส่ ำ�หรับการใคร่ครวญตาม ลำ�พังด้วยแต่ไม่วา่ สถานการณ์จะเป็นไปตามแผนทีว่ างไว้หรือไม่ สิง่ สำ�คัญที่ เราพึงจดจำ�ไว้เสมอก็คือ การจัดกระบวนการทุกครั้ง เราให้ความสำ�คัญกับ บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ มากกว่าความสำ�เร็จเชิงปริมาณ

เหตุ ส ุ ด วิ ส ั ย

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

หากในขัน้ ตอนออกแบบกระบวนการ มีการร้อยเรียง และกำ�หนดกิจกรรมแต่ละช่วงไว้ชดั เจนดีแล้ว เรา-คนปลูกต้นไม้ ก็สามารถดำ�เนินการตามที่วางแผนไว้ได้เลย แต่เมื่อถึงเวลา ลงมือทำ�จริงๆ ก็มักมีเหตุให้เราต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการ กระทันหัน ไม่วา่ จะเป็นภัยจากธรรมชาติ ความขัดข้องจากการ ประสานงาน หรือสภาวะ (ความพร้อม) ของผูเ้ ข้าร่วม

ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว • ๙๑


โดยเฉพาะกรณีหลัง เป็นปรากฏการณ์ทม่ี คี วามเป็นไปได้มากทีส่ ดุ ซึง่ สถานการณ์เช่นนีต้ อ้ งอาศัยทักษะการอ่านกลุม่ และไหวพริบเป็นสำ�คัญ ยกตัวอย่างเช่น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในค่ายแห่งหนึ่ง เช้าวันแรก หลังจากทีท่ ำ�การสอบอารมณ์แล้ว กระบวนกรจึงได้พบว่าเด็กๆ ทีโ่ รงเรียน คัดเลือกมาส่วนใหญ่ไม่ตรงกับทีต่ อ้ งการ ซึง่ กลุม่ เป้าหมายทีก่ ำ�หนดไว้ เดิมเป็นกลุม่ เด็กเกเรหลังห้อง แต่ครูทป่ี ระสานงานกลับเลือกเด็กทีเ่ รียนดี นิสยั เรียบร้อยมาแทน เพราะเกรงว่าจะกระทบกับชือ่ เสียงของโรงเรียน ช่วงพักเบรก ทีมงานจึงได้ประชุมเพือ่ ปรับแก้สถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ สรุป ได้วา่ วันแรกพวกเขาเน้นกิจกรรมละลายพฤติกรรมเป็นหลัก จากนัน้ จึง ช่วยกันประเมินสถานการณ์และปรับเปลี่ยนกระบวนการเป็นระยะ โดย ที่ยังคงเป้าหมายหลักไว้ดังเดิม ซึ่งก็คือการที่ผู้เข้าร่วมได้เห็นคุณค่าที่ แท้จริงภายในของตัวเอง แทนทีจ่ ะยึดติดกับภาพลักษณ์หรือวัตถุภายนอก และส่งผลให้เกิดการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมตามมา ในวันถัดมา กระบวนกรจึงได้ปรับประเด็นที่ใช้สื่อสารกับกลุ่ม เป้าหมายให้เป็นกลางๆ ไม่จำ�เพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น เรื่อง ความสุข ความฝัน และครอบครัว เป็นต้น โดยเน้นกิจกรรมสร้าง ความสัมพันธ์ในทางทีเ่ กือ้ กูลและร่วมกันบำ�เพ็ญประโยชน์ จากนัน้ จึงค่อยทำ�การถอดบทเรียน

ขั้นที่ ๓ เก็ บ เกี ่ ย ว – ใคร่ ค รวญและถอดบทเรี ย น ก่อนหน้านีเ้ ราได้พดู ถึงชัว่ ขณะอันงดงามและมหัศจรรย์ของต้นซากุระ ซึง่ คล้ายกับช่วงเวลาแห่งการเรียนรูข้ องผูเ้ ข้าร่วมมาแล้ว แต่กอ่ นจะถึงช่วงเวลาดังกล่าว ทัง้ ต้นซากุระและผูเ้ ข้าร่วมต่างก็ตอ้ งการการ หยุดนิง่ เพือ่ พักตัวและใคร่ครวญ โดยทีเ่ รา-คนปลูกต้นไม้อาจใช้การตัง้ คำ�ถาม ช่วยให้การทบทวนมีทศิ ทางมากขึน้ ก็ได้ จากนัน้ จึงค่อยนำ�บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ มา แลกเปลีย่ นกัน ๙๒ • ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว


นอกเหนือจากการตั้งคำ�ถามและแลก เปลี่ยนความคิดเห็นแล้ว การถอดบทเรียนยัง มีวิธีอื่นๆ ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการวาด ภาพ เขียนบันทึก จดหมาย บทกวี นิทาน เพลง บทบาทสมมติ การจัดวางสิ่งของ ฯลฯ และจะ แลกเปลีย่ นกันหรือไม่กไ็ ด้ แต่ถา้ หากนำ�ผลผลิต ทีไ่ ด้มาแบ่งปันซึง่ กันและกัน ก็จะช่วยให้ยง่ิ เป็น การแตกหน่อต่อยอดการเรียนรูใ้ ห้ขยายกว้าง ออกไปได้อกี อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการถอดบทเรียนจะช่วยให้เราได้มีเวลาใคร่ครวญ บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ แต่กไ็ ม่จำ�เป็นต้องทำ�หลังจบกิจกรรมทุกครัง้ ไป โดยเฉพาะ กิจกรรมที่มีการร้อยเรียงต่อเนื่องกันมา เราอาจจะหยอดคำ�ถามชวนคิดเป็น ระยะๆ แล้วค่อยไปขมวดบทเรียนในช่วงท้ายทีเดียวเลยก็ยอ่ มทำ�ได้ ซึง่ เราจะได้ พูดถึงเทคนิควิธกี ารเหล่านีก้ นั อีกครัง้ ในบทต่อไป

ถอดบทเรี ย นนั ้ น สำ � คั ญ ไฉน

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

ในคูม่ อื ฉบับนีไ้ ด้ให้พน้ื ทีก่ บั ถึงเรือ่ งการถอดบทเรียน ถึง ๓ หัวข้อ คือ ช่วงทีว่ า่ ด้วยเรือ่ งหลักการ ช่วงจัดกระบวนการ และช่วงทีเ่ ป็นการถอดบทเรียนโดยเฉพาะ อะไรจะมากมายขนาดนั้น? บางคนอาจมองว่าการจัด กระบวนการทีผ่ า่ นมา ไม่เห็นต้องมีกระบวนการถอดบทเรียน เลย ผูเ้ ข้าร่วมก็สามารถเกิดการเรียนรูไ้ ด้ ซึง่ ก็เป็นความจริงทีผ่ เู้ ข้าร่วมจะเกิดการเรียนรูด้ ว้ ยตัวเอง โดยไม่จำ�เป็น ต้องมีกระบวนการถอดบทเรียน แต่กม็ แี ง่มมุ ทีน่ า่ คิดต่อว่า เรา-คนปลูก ต้นไม้จะต้องมีศักยภาพในการจัดสมดุลขององค์ประกอบต่างๆ ให้เอื้อ ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว • ๙๓


ต่อการเรียนรู้ ภายใต้ความสามารถในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน แต่ถึง อย่างไรก็ควรต้องมีพน้ื ทีส่ ำ�หรับการแลกเปลีย่ น เพือ่ ไม่ให้บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ จำ�กัดอยูเ่ ฉพาะตัวบุคคล อีกกรณีหนึง่ ก็คอื ไม่มกี ารจัดกระบวนการถอดบทเรียนอย่างเป็นกิจจะ ลักษณะ หรือไม่บรรจุคำ�ว่า “ถอดบทเรียน” ลงไปในแผนการดำ�เนินงาน แต่โดยธรรมชาติของคนจัดกระบวนการย่อมมีความสนใจใคร่รวู้ า่ ผูเ้ ข้า ร่วมของเราเกิดการเรียนรูห้ รือไม่ อย่างไร ซึง่ ต่างก็มวี ธิ กี ารและชือ่ เรียกเฉพาะ ตนออกไป แต่ในท้ายทีส่ ดุ ก็ถอื ว่าเป็นการถอดบทเรียนอีกวิธหี นึง่ นัน่ เอง กระบวนการต่างๆ ก็คล้ายกับแม่นํ้าสาขาที่รินไหลมาจากต้น กำ�เนิดแห่งศรัทธาเดียวกัน แล้วแยกย้ายไปสร้างความอุดมสมบูรณ์ ในแต่ละถิ่นที่ ท้ายที่สุดก็ย่อมต้องไปบรรจบที่ปากแม่นํ้าแห่งการ ใคร่ครวญ ก่อนจะหลอมรวมเป็นห้วงมหาสมุทรเดียวกันนัน่ เอง

ขั้นที่ ๔

แต่ ง เติ ม – ติ ด ตามสนั บ สนุ น เสริ ม แรง สร้ า งชุ ม ชน/เครื อ ข่ า ย

ช่วงเวลาที่ผ่านมาทั้ง ๓ ขั้นตอน เป็น เหมือนการบ่มเพาะต้นไม้ภายในโรงเรือน เป็นพืน้ ทีท่ เ่ี ราสามารถออกแบบและจัดสรร ระบบนิเวศให้เหมาะสมได้ กระทัง่ ฤดูกาล เราก็สามารถสร้างทีก่ ำ�บังเพือ่ ลดแรงเสียดทานลงได้ โอกาสทีเ่ มล็ดพันธุค์ วามสุขจะ งอกและเติบโตจึงมีสงู แต่ถงึ อย่างไร โรงเรือนก็ไม่ใช่ทท่ี ต่ี น้ ไม้ควรอยูต่ ลอดไป โลกแห่งความจริงนอกโรงเรือนมีเหตุ ปัจจัยมากมายทีเ่ ราไม่สามารถควบคุมได้ แม้กระทัง่ คาดการณ์ลว่ งหน้าก็ยงั ยากลำ�บาก

๙๔ • ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว


จำ�นนต่อข้อจำ�กัด ไม่สามารถติดตามแต่งกิง่ เติมปุย๋ ต้นไม้ของเราได้ แต่กม็ คี น ปลูกต้นไม้อกี ไม่นอ้ ยทีไ่ ม่ยอมจำ�นน ยังเพียรติดตามเสริมความเข้มแข็งให้กบั ต้นไม้อยูเ่ ป็นระยะ ส่วนใหญ่เป็นคนปลูกต้นไม้ทอ่ี ยูใ่ นพืน้ ทีท่ ไ่ี ม่หา่ งกันมากนัก แต่กไ็ ม่ใช่วา่ การลงพืน้ ทีต่ ดิ ตามสนับสนุนการเติบโตของต้นไม้ของเราจะ ราบรืน่ ไปเสียทีเดียว เพราะอย่างทีผ่ เู้ ขียนได้บอกไว้ตง้ั แต่ตน้ แล้วว่า โลกความ จริงนอกโรงเรือนนัน้ มีเหตุปจั จัยแวดล้อมมากมาย โดยเฉพาะปัจจัยสำ�คัญและ ใกล้ตวั ผูเ้ ข้าร่วมมากทีส่ ดุ คือ คนในครอบครัวและคนทีโ่ รงเรียน บ่อยครัง้ ทีเ่ รา ได้รบั รูถ้ งึ ความพยายามทีจ่ ะปรับเปลีย่ นตัวเองในทางทีด่ ขี น้ึ ของผูเ้ ข้าร่วม แต่พอ กลับไปถึงบ้าน ก็มคี นยืนรอพร้อมด้วยคำ�ด่าอยูแ่ ล้ว ต้นไม้ความสุขจึงห่อเหีย่ ว ลงทันที ราวกับถูกราดรดด้วยนํ้าร้อนเลยทีเดียว หากการติดตามจัดกระบวนการสร้างความเชื่อมั่นให้กับคนที่แวดล้อมผู้ เข้าร่วมของเราเป็นเรือ่ งยากเกินไป การสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ตัวผูร้ ว่ มดูจะเป็น ทางออกที่เป็นไปได้มากที่สุด ซึ่งในการนี้เราต้องมีการออกแบบกระบวนการ เพือ่ เสริมแรงทัง้ ทางด้านความคิดและพลังใจ และควรจะเป็นในลักษณะทีเ่ ป็น รูปธรรมส่งผลต่อคนรอบข้างอย่างชัดเจน ซึง่ จะเป็นทัง้ การสร้างความเชือ่ มัน่ ให้ กับผูเ้ ข้าร่วมของเราและคนทีร่ อบข้างอีกด้วย กระบวนการเช่นนี้ต้องอาศัยทั้งความอดทนอดกลั้นและความพยายาม อย่างสูง ไม่วา่ จะเป็นตัวเราหรือผูเ้ ข้าร่วมของเราก็ตาม

กระบวนการเสริ ม พลั ง ทางความคิ ด และทางใจอย่ า งเป็ น รู ป ธรรม

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ท ำ �

หากเอ่ยถึงคำ�ว่า “รูปธรรม” ในทีน่ ก้ี ค็ งไม่พน้ การ “ลงมือทำ�” นัน่ เอง ช่วงเวลาทีผ่ เู้ ข้าร่วมได้ผา่ นกระบวนการ ต่างๆ จนเกิดการเรียนรู้ในระดับต่างๆ และกลับไปสู่ชีวิต ประจำ�วันแล้ว เรา-คนปลูกต้นไม้สามารถจัดกระบวนการ เสริมพลังเพือ่ ติดตามและสนับสนุนการเปลีย่ นแปลงของผูเ้ ข้าร่วมได้ ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว • ๙๕


ในเบือ้ งต้นอาจใช้วธิ กี ารนัดหมาย เพือ่ สนทนาแลกเปลีย่ นประสบการณ์ในบรรยากาศทีส่ บายๆ หยิบยกความพยายามหรือสภาพปัญหาที่ พบเจอขึ้นมาแลกเปลี่ยนและให้กำ�ลังใจกันเปิดให้มีการติดต่อสื่อสาร หรือช่วยเหลือซึง่ กันและกันผ่านช่องทางต่างๆ เช่น โทรศัพท์ อีเมล์ เฟสบุค๊ กระดานข้อความ ฯลฯ หลังจากนัน้ เราก็นดั หมายผูเ้ ข้าร่วมเพือ่ ทำ�กิจกรรมเล็กๆ ด้วยกัน ซึง่ อาจจะเป็นกิจกรรมทีไ่ ม่ตอ้ งใช้งบประมาณก็ได้ โดยกิจกรรมทีง่ า่ ยและ เสริมพลังได้เป็นอย่างดีกค็ อื กิจกรรมจิตอาสาบำ�เพ็ญประโยชน์นน่ั เอง ไม่วา่ จะเป็นการเก็บขยะในสวนสาธารณะ การทำ�ความสะอาด ศาสนสถาน การดูแลเด็กอ่อนทีถ่ กู ทอดทิง้ การช่วยเหลืองานในโรงพยาบาล ฯลฯ ยกตัวอย่าง หลังจากทีน่ อ้ งๆ เยาวชนได้เข้าร่วมกระบวนการของพีๆ่ พยาบาลจากโรงพยาบาลมะการักษ์แล้ว ก็รวมตัวกันไปเป็นอาสาสมัคร ช่วยเหลืองานในโรงพยาบาล โดยผนวกเข้ากับกิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ ของโรงเรียน หรืออีกกรณีหนึ่งก็คือ น้องๆ จากโรงเรียนห้องสอนศึกษา ได้รวมตัวกันไปเล่นดนตรีเพือ่ หาเงินไปจัดงานวันเด็กให้กบั น้องๆ ทีอ่ ยู่ บนดอยทีห่ า่ งไกล และไม่ไกลกันนัก กับโครงการฟืน้ ฟุวฒ ั นธรรมปาเก่อญอด้วยการสอนให้ผเู้ ข้าร่วมเรียนเขียนอ่านภาษาปาเก่อญอ รวมถึงวิถี ปฏิบตั อิ น่ื ๆ ด้วย หลังจากสิน้ สุดโครงการไปแล้ว ผูน้ ำ�ในพืน้ ทีไ่ ด้เข้ามา มีบทบาทในการสืบต่อกิจกรรมนีต้ อ่ ไป เป็นต้น นอกเหนือจากคำ�สัญญาและบทเรียนที่พวกเขาสามารถนำ� ติดตัวไปแล้ว ยังมีประสบการณ์ที่ไม่อาจลืมเลือนร่วมเติบโตไป พร้อมๆ กับพวกเขาด้วย

๙๖ • ถึ ง เวลาปลู ก ต้ น ไม้ แ ล้ ว


วันนีเ้ ราปลูกต้นไม้ วันต่อไปเราจะมีรม่ เงา -ขงเบ้ง-


บทที​ี่​่

ฤดูเก็บเกี่ยว

(การถอดบทเรี ย น)


ฤดู เ ก็ บ เกี่ย ว

( การถอดบทเรี ย น)

แผนที ่ ค วามคิ ด

ไม่มคี นปลูกต้นไม้คนไหนทีห่ ว่านเมล็ดพันธุแ์ ล้วไม่หวังผล ไม่วา่ จะเป็นผล เชิงรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม เพราะผลทีเ่ ราคาดหวังไว้แต่ตน้ (เป้าหมาย) จะช่วยชีน้ ำ�แนวทางในการปฏิบตั ติ อ่ ต้นไม้ของเราได้ เช่น หากเราคาดหวังดอกไม้ เราก็จะดูแลให้นำ้ �ให้ปยุ๋ บำ�รุงดอก แต่ถา้ เราคาดหวังผลไม้ เราก็จะดูแลให้นํา้ ให้ปยุ๋ บำ�รุงดอกในระยะแรก แล้วบำ�รุงผลในระยะต่อมา การที่ต้นไม้เริ่มติดดอกออกผล เราสามารถสังเกตหรือมองเห็นได้อย่าง ชัดเจน ในขณะทีก่ ารเติบโตของต้นไม้ภายในใจนัน้ สังเกตจากภายนอกได้ยาก แต่กใ็ ช่วา่ จะทำ�ไม่ได้เลย คนปลูกต้นไม้บนดินมีเครือ่ งมือช่วยในการเก็บเกีย่ ว ผลผลิตฉันใด คนปลูกต้นไม้กลางใจก็ยอ่ มต้องมีเครือ่ งมือช่วยในการเก็บเกีย่ ว ดอกผลฉันนัน้ ซึง่ หนึง่ ในนัน้ ก็คอื การถอดบทเรียน ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๙๙


ในบทนี ้ . ..มี อ ะไร ในบทนีผ้ เู้ ขียนขอนำ�เสนอข้อควรเรียนรูใ้ นการถอดบทเรียน หรือเก็บเกีย่ วดอกผล ซึง่ มีสาระสำ�คัญ ๒ ส่วน ได้แก่ ๑. วิธเี ก็บเกีย่ ว (รูปแบบ/วิธกี ารถอดบทเรียน) ๒. เครือ่ งมือเก็บเกีย่ ว (ทักษะพืน้ ฐาน) การถอดบทเรียน หมายถึง กระบวนการรวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ บทเรียนทีเ่ กิดจากการดำ�เนินงาน ทัง้ ในส่วนกระบวนกรและผูเ้ ข้าร่วมโครงการ เพือ่ ถอดสาระประโยชน์หรือบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ ได้แก่ ความรูท้ เ่ี กิดขึน้ จากการคิด ใคร่ครวญ หลังจากผ่านการลงมือปฏิบตั ิ ก่อให้เกิดการต่อยอดชุดความรูห้ รือ ประสบการณ์ทม่ี อี ยูเ่ ดิม แล้วเชือ่ มโยงสูก่ ารประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง เหมือนกับ วงจรของการเรียนรูท้ ไ่ี หลเวียนไม่มวี นั สิน้ สุด (ดูภาพประกอบ)

แผนภาพ วงจรการเรี ย นรู ้ ก ั บ การถอดบทเรี ย น

๑๐๐ • ฤดู เ ก็ บ เกี ่ ย ว


๑. วิ ธ ี เ ก็ บ เกี ่ ย ว (รู ป แบบ/วิ ธ ี ก ารถอดบทเรี ย น) การเก็บเกี่ยวดอกผลที่เกิดจากการปลูก ต้นไม้ สามารถทำ�ได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิด ของต้นไม้ที่เราปลูก เช่น การเด็ด ตัด ขุด และ ลอกเปลือก รวมทัง้ การคำ�นึงถึงบริบทแวดล้อม ต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น สภาพพืน้ ที่ สภาพอากาศ และ การนำ�ไปใช้งานด้วย การถอดบทเรียนก็เช่นกัน สามารถทำ�ได้ หลายวิธี ขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยแวดล้อมของแต่ละพืน้ ที่ เช่น วัตถุประสงค์ กระบวนการ กลุ่มเป้าหมาย หรือระดับการเรียนรูท้ ต่ี อ้ งการ ซึง่ วิธที ม่ี กั ใช้โดย ทัว่ ไป ได้แก่

๑.๑ การตั ด (การเขี ย น) การเก็บเกี่ยวด้วยการตัดนั้น เป็นวิธีที่เรียบง่ายอีกวิธีหนึ่ง ไม่มีขั้นตอนที่ ซับซ้อนยุง่ ยาก หากแต่ตอ้ งอาศัยการฝึกฝนวิธกี ารใช้เครือ่ งมือ และเครือ่ งมือที่ ใช้ควรมีความแหลมคมจึงจะได้ผลลัพธ์ทด่ี ี การถอดบทเรียนโดยการเขียนก็เช่นกัน ผูเ้ ข้าร่วมควรมีความสามารถใน การถ่ายทอดในระดับหนึง่ จึงจะสามารถสือ่ สารความรูส้ กึ หรือสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูอ้ อก มาได้ โดยการถ่ายทอดทีว่ า่ นี้ อาจทำ�ได้หลายวิธี เช่น การเขียนบันทึก บทกวี บทเพลง หรือจดหมาย ซึ่งการเขียนจะทำ�ให้ผู้เข้าร่วมได้อยู่กับภาวะที่เกิดขึ้น ค่อยๆ ใคร่ครวญ เรียบเรียงความคิด อารมณ์ความรูส้ กึ โดยเฉพาะภาวะทีเ่ กิด ความรูส้ กึ ทีค่ อ่ นข้างรุนแรงหรืออ่อนไหว ไม่สามารถพูดคุยได้ การเขียนจะเป็นเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยให้คลีค่ ลายความรูส้ กึ ทีอ่ ดั อัน้ อยูภ่ ายในได้ อย่างปลอดภัย เพราะถือว่าเป็นพื้นที่ส่วนตัวและพอบรรยากาศเริ่มคลี่คลาย กระบวนกรอาจเปิดพื้นที่ให้ผู้เข้าร่วมได้แลกเปลี่ยนสิ่งที่บันทึกหรือบทเรียนที่ เกิดขึน้ ได้ตามความสมัครใจ ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๑๐๑


พลั ง ของการเขี ย น

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ท ำ �

ผูเ้ ขียนมีความเชือ่ อย่างหนึง่ ว่า ทุกคนมีความเป็น กวีอยูใ่ นตัว แต่ไม่เคยรับรูแ้ ละเปิดโอกาสให้ความเป็นกวี ได้เปิดเผยตัวเอง เรามักเขินอายถ้าต้องพูดหรือเขียนใน สิง่ ทีง่ ดงาม ถ้าคนปลูกต้นไม้มองเห็นและหยิบเครือ่ งมือชนิดนีข้ น้ึ มา ใช้ถอดบทเรียน อาจเข้าใจในสิง่ ทีผ่ เู้ ขียนกำ�ลังพยายามบอกอยูน่ ก้ี ไ็ ด้ ครัง้ หนึง่ ผูเ้ ขียนได้รบั หน้าทีถ่ อดบทเรียนการดำ�เนินงานและเสริมพลัง ให้กบั น้องๆ แกนนำ�จากโรงเรียนเสลภูมวิ ทิ ยา ส่วนหนึง่ ของกระบวนการ ผูเ้ ขียนเลือกใช้การเขียนบันทึก โดยให้น้องๆ ออกไปสัมผัสกับบรรยากาศธรรมชาติภายนอก แล้ว เขียนบันทึก โดยมีโจทย์วา่ ให้เปรียบเทียบสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นธรรมชาติกบั ตัวเอง (ณ ขณะนี-้ หลังจากทำ�โครงการแล้ว) และคนรอบข้าง ผลปรากฏว่าการ อธิบายความหมายของน้องๆ ในวันนัน้ ทำ�ให้ผเู้ ขียนรูส้ กึ ทึง่ และตืน้ ตันใจ มาจนถึงทุกวันนี้ เช่น บทบันทึกของน้องผึง้ ทีว่ า่ ... “เปรียบตัวเองเหมือนต้นกล้าในแปลงผัก ซึง่ ต้นกล้าต้นนีเ้ ป็นต้นกล้า ทีเ่ พิง่ จะเกิด ไม่สามารถดูแลตัวเองได้ ต้องอาศัยนํา้ และปุย๋ จากคนรอบข้าง ทีจ่ ะมาเติมให้เราเจริญเติบโตได้ นํ้าเปรียบเสมือนจิตใจของเรา ถ้าเรา หมัน่ เติม รดนํา้ จิตใจอยูบ่ อ่ ยๆ ก็จะทำ�ให้จติ ใจของเราเข้มแข็งและถ้าจิตใจ เข้มแข็งต้นกล้าก็จะเจริญเติบโต “คนรอบข้างเปรียบเสมือนปุย๋ และแมลงศัตรูพชื ก็จะมีทง้ั ดีและไม่ดี ปุย๋ ก็เหมือนเพือ่ นทีด่ ี ทีจ่ ะมาช่วยเติมให้เราเจริญเติบโตขึน้ ไป ทำ�ให้เติบโต ได้ดขี น้ึ เหมือนกับการได้รบั ความรักและความเอาใจใส่จากคนรอบข้าง มีสง่ิ แวดล้อมทีด่ ี ส่วนแมลงศัตรูพชื เปรียบเสมือนสิง่ แวดล้อมหรือคนรอบ ข้างทีไ่ ม่ดี ทีจ่ ะมาทำ�ร้ายเรา ทำ�ให้เราเจริญเติบโตได้ชา้ และถ้าไม่รดนํา้ เราก็อาจจะตายได้ ๑๐๒ • ฤดู เ ก็ บ เกี ่ ย ว


“แปลงผักนีก้ เ็ ปรียบเสมือนขอบเขต หรือกรอบการใช้ชวี ติ ของเรา ซึง่ ถ้าเราอยูใ่ น กรอบนีแ้ ล้ว ถ้าวันหนึง่ เราเจริญเติบโตพอทีจ่ ะสามารถดูแล ตัวเองได้ โดยไม่พง่ึ พาคนอืน่ ก็จะสามารถออกไปอยูใ่ นโลกกว้างได้ สามารถดูแลตัวเองได้ ทำ�ประโยชน์ให้กบั ตนเอง และเป็นต้นไม้ท่ี เติบโต ให้รม่ เงากับผูอ้ น่ื และให้ประโยชน์กบั คนอืน่ ได้” หลังจากนัน้ คนปลูกต้นไม้กต็ อ้ งมาทำ�การบ้านต่อว่า สิง่ ที่ น้องๆ ได้สื่อมาถึงเรานั้น มีนัยยะความหมายอะไรเพื่อให้การ ดำ�เนินงานร่วมกันในอนาคต เป็นไปอย่าง ราบรืน่ และมีพลัง

๑.๒ การขุ ด (การตั ้ ง คำ � ถามให้ ค ิ ด /แลกเปลี ่ ย น) การเก็บเกีย่ วโดยใช้วธิ ขี ดุ นี้ ใช้กบั พืชทีส่ ะสมอาหารไว้ในหัวใต้ดนิ คนปลูก ต้นไม้จะไม่รวู้ า่ ผลผลิตทีไ่ ด้จะเป็นอย่างไร จนกว่าจะได้ขดุ มันขึน้ มา จนเมือ่ เรา ได้นำ�ไปล้างนํ้าชำ�ระดินโคลนแล้วนั่นแหละ จึงจะได้เห็นว่า ผลที่ได้มีความ สมบูรณ์หรือถูกแมลงกัดแทะจนแหว่งวิน่ หรือบางทีกแ็ หว่งวิน่ เพราะคมจอบคม เสียมของเราเอง คนปลูกต้นไม้ทม่ี ที กั ษะในการขุดเพือ่ นำ�ผลผลิตขึน้ มาจากดิน โดยปราศจากรอยแผล ก็เหมือนกับกระบวนกรทีด่ ี ทีม่ ที กั ษะในการตัง้ คำ�ถาม สามารถ นำ�ไปสูก่ ารเรียนรูจ้ นเกิดการเปลีย่ นแปลงได้ โดยคำ�ถามทีว่ า่ นีจ้ ะเป็นตัวช่วย กระตุน้ ให้ผเู้ ข้าร่วมฉุกคิด ใคร่ครวญและหาทางออกได้ กระบวนกรสามารถตัง้ คำ�ถามกับผูเ้ ข้าร่วมในระดับต่างๆ ได้ ไม่วา่ จะเป็น กลุม่ ใหญ่ (ทัง้ หมด) กลุม่ ย่อย หรือเฉพาะบุคคล รวมถึงการให้ได้คดิ ใคร่ครวญ เพียงลำ�พัง หรือช่วยกันคิดแบบระดมสมอง โดยอาจจะเริม่ จากคำ�ถามกว้างๆ แล้วค่อยๆ เชือ่ มโยงสูเ่ หตุปจั จัยทีเ่ กีย่ ว ข้องให้ผเู้ ข้าร่วมได้คดิ วิเคราะห์บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ เชือ่ มโยงกับประสบการณ์ ในอดีตและหาแนวทางในการประยุกต์ใช้ในอนาคต โดยอาจจะมีข้อสรุปใน ตอนท้ายหรือไม่กไ็ ด้ (ดูหวั ข้อ เครือ่ งมือเก็บเกีย่ วเพิม่ เติม) ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๑๐๓


๑.๓ การเด็ ด (การใช้ ศ ิ ล ปะ) การเก็บเกีย่ วโดยใช้มอื เด็ด ถือเป็นวิธที ด่ี ง้ั เดิมและธรรมดาทีส่ ดุ แต่ถา้ หาก พิจารณาอย่างลึกซึง้ แล้ว การใช้มอื ในการเก็บเกีย่ วผลผลิตนัน้ ต้องอาศัยการ ฝึกฝนและความเข้าใจในธรรมชาติของต้นไม้แต่ละชนิดเป็นอย่างดี บางชนิดต้อง เด็ดทีข่ อ้ บางชนิดต้องหักกลางปล้อง บางชนิดต้องใช้นว้ิ ชีร้ องแล้วใช้นว้ิ หัวแม่มอื เด็ด เหล่านีเ้ ป็นรายละเอียดปลีกย่อยทีค่ นปลูกต้นไม้ตอ้ งหมัน่ สังเกตและเรียนรู้ จากประสบการณ์ตรงเป็นสำ�คัญ นอกจากนัน้ ในต้นไม้ตน้ เดียวกัน การเด็ดยอดอ่อน ใบแก่ ขัว้ ผล หรือช่อ ดอกยังมีความแตกต่างกันอีก การใช้ศลิ ปะเพือ่ ถอดบทเรียนคนๆ หนึง่ หรือคน กลุม่ หนึง่ ย่อมแตกต่างกันไปตามเหตุปจั จัย คำ�ว่า ศิลปะ ในทีน่ ้ี ไม่ได้จำ�กัดอยูเ่ ฉพาะการวาดภาพเท่านัน้ แต่ยงั หมาย รวมถึง การแสดงบทบาทสมมติ การแสดงท่าทาง การจัดวาง/จัดแจกันดอกไม้ การปัน้ การปะติด และอืน่ ๆ อีกมากมาย ซึง่ วิธกี ารเหล่านีส้ ามารถสะท้อนบทเรียน หรือความรูส้ กึ ทีอ่ ยูน่ อกเหนือจากคำ�พูดได้เป็นอย่างดี ยกตัวอย่างเช่น ครัง้ หนึง่ ทีมคนปลูกต้นไม้ได้เชิญชวนน้องๆ ทีอ่ ยูบ่ า้ นปรานี ทบทวนบทเรียนหรือความรูส้ กึ ทีเ่ กิดขึน้ ผ่านการปัน้ ดิน หลังจากไปทำ�กิจกรรม จิตอาสาทีบ่ า้ นเด็กอ่อนปากเกร็ด ซึง่ น้องๆ ทีป่ กติไม่คนุ้ เคยกับการแลกเปลีย่ น ความคิด/ความรูส้ กึ ในวันนัน้ พวกเขาสามารถอธิบายความหมายของสิง่ ทีป่ น้ั ออกมาได้เป็นอย่างดี ดังภาพด้านขวามือ (ภาพบน) “เป็นภาพของแม่ที่คอยดูแลเด็กๆ ถ้าแม่ไม่อยู่ พอมีลมพัดมา เด็กๆ ก็ปลิว ก็พงั ได้ ถ้ามีแม่อยู่ หรืออยูใ่ นความดูแลของผูใ้ หญ่กจ็ ะปลอดภัย ถ้าไม่มีแม่ก็ไม่รู้ว่าจะปลิวไปทางไหน ใจคนก็เหมือนกับลูกบอล ก็กลิ้งไปมา ถ้าไม่มแี ม่สกั คนก็คงเตลิดเปิดเปิงไปไหนก็ไม่ร”ู้ (ภาพล่าง) “คิดถึงตอนป้อนข้าวให้เด็ก เด็กก็เหมือนลูกเต๋า เราไม่สามารถ เจอเขาได้อกี เราไม่สามารถกำ�หนดลูกเต๋าได้วา่ จะให้หมุนไปหยุดทีเ่ ลขอะไร อยากจับลูกเต๋าตัง้ ไว้ตรงนี้ หยุดตรงนัน้ เหมือนตอนทีป่ อ้ นคำ�สุดท้าย เราจะไป แล้ว แต่เขาไม่ยอมกลืน ก็อมไว้ แล้วก็คายออกมา แล้วเราก็กอดเขา บอกให้ กินนะ คำ�สุดท้าย แล้วก็ไปอาบนํ้า แต่ถงึ จะไม่เจอกันก็ยงั รักเขาอยู”่ ๑๐๔ • ฤดู เ ก็ บ เกี ่ ย ว


ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๑๐๕


๑.๔ การลอกเปลื อ ก (การเล่ า เรื ่ อ ง)

เปลือกไม้และเปลือกราก เป็นช่องทางลำ�เลียงนํา้ และสารอาหารไปหล่อ เลี้ยงลำ�ต้น อีกทั้งยังปกป้องลำ�ต้นจากความร้อนของไฟป่าอีกด้วย คนปลูก ต้นไม้ยอ่ มรูว้ า่ ไม้ชนิดใดใช้ประโยชน์จากเปลือกได้บา้ ง ควรเก็บอย่างไรต้นไม้ จึงจะอยูร่ อด และสร้างเปลือกใหม่ขน้ึ มาห่อหุม้ ลำ�ต้นได้อกี เรือ่ งเล่าก็เหมือนเปลือกไม้ เป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ทีถ่ กู นำ�มาร้อยเรียง บาง ส่วนเป็นท่อลำ�เลียงหล่อเลีย้ งความเศร้า บางส่วนหล่อเลีย้ งความสุข การถอดบทเรียนผ่านการเล่าเรือ่ ง ไม่ได้หมายความถึงเพียงแค่ การให้ผู้ เข้าร่วมเล่าถึงเรือ่ งราว (เหตุการณ์) การเรียนรู้ หรือการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ เท่านัน้ แต่ยงั หมายรวมถึงกระบวนการอืน่ ๆ ทีน่ ำ�มาสนับสนุนการเล่าเรือ่ งด้วย เช่น การสร้างบรรยากาศทีเ่ ป็นกันเอง ผ่อนคลาย และทีส่ ำ�คัญคือการสร้างพืน้ ที่ ปลอดภัย เพราะเรือ่ งเล่าถือเป็นเรือ่ งส่วนตัว การทีใ่ ครคนหนึง่ จะพร้อมเล่าเรือ่ ง ส่วนตัวกับคนแปลกหน้านัน้ จะต้องเป็นพืน้ ทีท่ เ่ี ขามีความไว้วางใจในระดับหนึง่ การเล่าเรือ่ งจึงจะมีพลังในการลอกเปลือกไม้ คนปลูกต้นไม้ยอ่ มรูด้ วี า่ มีด ทีใ่ ช้จะต้องมีความคมกริบ การลงมีดแต่ละครัง้ ต้องมีความชัดเจน แม่นยำ� และ รวดเร็ว เพือ่ ให้เกิดบาดแผลและความช้ำ�น้อยทีส่ ดุ ในเรือ่ งเล่ามีบทเรียน กระบวนกรจะต้องมีทกั ษะในการฟังและการจับประเด็น เพือ่ ทีจ่ ะตัง้ คำ�ถามหรือถอดบทเรียนทีแ่ ฝงอยูใ่ นเรือ่ งเล่าออกมาให้ได้

๑.๕ การเกี่ ย ว (การสนทนา)

เมือ่ เอ่ยถึงการเกีย่ ว เรามักจะนึกถึงการเกีย่ วต้นพืชจำ�พวก ข้าวหรือหญ้าคา เป็นอันดับต้นๆ รวมถึงเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเกีย่ ว คือ เคียว ซึง่ มีลกั ษณะเด่นอยู่ ทีว่ งโค้งอย่างพระจันทร์เสีย้ ว ทำ�หน้าทีเ่ หนีย่ วรวงข้าวมารวมกันให้เป็นกำ� ก่อน ทีจ่ ะตัดให้ขาด ทุกวันนี้ กรรมวิธที ใ่ี ช้แรงงานคนในการเกีย่ วข้าว กลายเป็นเรือ่ งทีห่ าได้ยาก ยิง่ ทัง้ นีเ้ พราะว่า มีรถเกีย่ วข้าวทีท่ ง้ั สะดวกและรวดเร็วเข้ามาแทนทีน่ น่ั เอง แม้วา่ วงสนทนาจะหาไม่ยากเท่ากับคนเกีย่ วข้าว แต่วงสนทนาทีด่ กี ห็ าได้ ยากไม่แพ้กนั เพราะวงสนทนาส่วนใหญ่จะดำ�เนินไปเพือ่ ความบันเทิง หรือการ แลกเปลีย่ นข่าวสารข้อมูล มากกว่าทีจ่ ะเป็นการแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ว่ มกัน ๑๐๖ • ฤดู เ ก็ บ เกี ่ ย ว


การสนทนาทีด่ ใี นทีน่ ห้ี มายถึง กระบวนการทีเ่ ปิดพืน้ ทีใ่ ห้ผเู้ ข้าร่วมได้มกี าร สนทนาแลกเปลีย่ นกันภายใต้บรรยากาศทีเ่ ป็นมิตร เปิดใจทีจ่ ะเรียนรูร้ ว่ มกัน โดยปราศจากการตัดสินหรือเพ่งโทษ โดยกระบวนกรมีหน้าทีใ่ นการสร้างบรรยากาศดังกล่าวให้เกิดขึน้ และทำ�ให้พลังในการแลกเปลีย่ นเกิดการไหลเวียน ไปรอบๆ วง ไม่กระจุกอยูท่ ใ่ี ครคนใดคนหนึง่ อาจกล่าวได้วา่ การจัดกระบวนการสนทนาครัง้ หนึง่ ๆ กระบวนกรต้องนำ� ทักษะทีม่ อี ยูแ่ ทบทัง้ หมดมาบูรณาการเข้าด้วยกัน ไม่วา่ จะเป็นการฟังอย่างลึกซึง้ การจับประเด็น การตัง้ คำ�ถาม (ประเด็นทีน่ า่ สนใจ) และการคิดวิเคราะห์เชือ่ มโยง ท้ายทีส่ ดุ กระบวนกรจะต้องสามารถเก็บความคิดทีก่ ระจัดกระจายมาเชือ่ ม โยงเข้าด้วยกัน แล้วใช้ความแหลมคมในการคิดวิเคราะห์ ขมวดให้เห็นบทเรียน ทีเ่ กิดขึน้ โดยมีขอ้ ควรระวังอย่างหนึง่ คือ การกรองเฉพาะประเด็นทีส่ นใจหรือ ตรงตามเป้าหมายนั้น จะทำ�ให้ประเด็นที่อยู่นอกเหนือความคาดหมาย ลอด ตะแกรงหายไปอย่างน่าเสียดาย

สุ น ทรี ย สนทนา (Dialogue) คื อ ?

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

การล้อมวงสนทนาทีม่ ลี กั ษณะคล้ายคลึงกับการ สนทนาในชีวติ ประจำ�วัน หัวข้อการพูดคุยเลือ่ นไหลไปตาม กระแสของกลุม่ กระบวนกรมีหน้าทีค่ อยช่วยให้พลังของการ สนทนาเกิดการถ่ายเทอย่างสร้างสรรค์และเกิดการเรียนรูร้ ว่ มกัน ความแตกต่างหลากหลายในวงสุนทรียสนทนา ถือเป็น ความงดงามอย่างหนึง่ หากเราเลือกจะใช้วธิ นี ใ้ี นการถอดบทเรียน ก็ตอ้ ง พร้อมเปิดใจรับความหลากหลายทางความคิดทีไ่ ม่พงึ ควบคุมนัน้ ให้ได้ • ขนาดของวงสนทนา กับ ความลึกซึง้ ของเนือ้ หา จากประสบการณ์ทผ่ี า่ นมา ผูเ้ ขียนพบว่า เมือ่ ขนาดกลุม่ เล็กลง (กลุม่ ย่อย ประมาณ ๔-๗ คน) ผูเ้ ข้าร่วมสามารถแลกเปลีย่ นความคิดเห็นได้ อย่างทั่วถึง คนที่ไม่ค่อยพูดก็จะกล้ามากขึ้น ถือเป็นการสร้างความ มัน่ ใจได้อกี ทางหนึง่ โดยเฉพาะประเด็นแลกเปลีย่ นทีเ่ ป็นประสบการณ์ ส่วนบุคคล จะสามารถทำ�ได้ในระดับทีล่ กึ ซึง้ กว่าวงใหญ่ ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๑๐๗


๒. เครื ่ อ งมื อ เก็ บ เกี ่ ย ว (ทั ก ษะพื ้ น ฐาน) เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บเกีย่ วส่วนใหญ่ มัก จะมีความคมเป็นคุณสมบัตพิ น้ื ฐาน ส่วนรูปร่าง ก็แตกต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการถอดบทเรียน ก็จำ�เป็น ต้องมีความคมด้วยเหมือนกัน และหินลับความ คิดให้แหลมคมทีด่ กี ค็ อื การหมัน่ ฝึกฝน ซึง่ สามารถทำ�ได้แม้กระทัง่ ในชีวติ ประจำ�วัน ไม่ ต้องรอให้ถงึ เวลาจัดกระบวนการ ในการฝึกฝนช่วงแรกๆ เราอาจทำ�ตามแบบแผน (pattern) ซึง่ จะทำ�ให้ดู แข็งๆ ฝืนๆ แต่เมือ่ ฝึกทำ�บ่อยๆ ก็จะสามารถทำ�ได้อย่างเป็นธรรมชาติ หรือที่ เรียกว่า “เนียน” นัน่ เอง อุปกรณ์สำ�คัญในการเก็บเกีย่ วของคนปลูกต้นไม้ มีอยู่ ๓ อย่าง คือ ๑. มีด (การฟัง) ๒. จอบ (การตัง้ คำ�ถาม) ๓. เคียว (การคิด)

๒.๑ มี ด (การฟั ง ) มีดทีม่ คี วามคมกริบ เวลาตัดจะสร้างบาดแผล เพียงเล็กน้อย ไม่ช้าไม่นานต้นไม้ก็จะสมานแผล ให้หายได้ ในทางตรงข้ามถ้ามีดทืห่ รือมีสนิมเกาะ นอกจากจะทำ�ให้รอยตัดชํา้ แล้ว ยังอาจทำ�ให้เกิด เชือ้ โรคลุกลามได้ จึงจำ�เป็นทีค่ นปลูกต้นไม้ตอ้ ง หมัน่ ลับคมมีดอยูเ่ สมอ และหลังจากใช้งานแล้ว ก็ ควรล้างให้สะอาด และชโลมนํา้ มันกันสนิมทุกครัง้ ๑๐๘ • ฤดู เ ก็ บ เกี ่ ย ว


การฟังก็มีวิถีปฏิบัติที่คล้ายกัน โดยเฉพาะการฟังที่ลึกซึ้งและจับประเด็น เพราะเป็นการฟังที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทั้งกระบวนกรและผู้เข้าร่วมเกิดการ รับฟังอย่างแท้จริง ซึง่ นอกจากถ้อยคำ�แล้ว ยังเป็นการฟังเพือ่ รับรูค้ วามรูส้ กึ ความ ต้องการ ความคาดหวัง และเจตนาทีแ่ ท้จริงภายใน ทีผ่ พู้ ดู สือ่ สารออกมาด้วย อวัจนะภาษาด้วย การฟังรูปแบบนีจ้ ะช่วยให้ผฟู้ งั หรือกระบวนกร ได้ยนิ ถึงความคิดและสาระ ทีผ่ พู้ ดู (ผูเ้ ข้าร่วม) ต้องการสือ่ อีกทัง้ ยังเป็นการเปิดพืน้ ทีใ่ ห้เกิดการใคร่ครวญ

ลำ � ดั บ ขั ้ น ของการฟั ง อย่ า งลึ ก ซึ ้ ง • ก่อนฟัง ก่อนทีค่ นปลูกต้นไม้จะลงมือตัดขัว้ ดอกหรือผลนัน้ ย่อมจะเช็ด นํ้ามันทีช่ โลมไว้หลังจากการใช้งานครัง้ ทีแ่ ล้วเสียก่อน กระบวนกรเองก็ตอ้ งมี การเตรียมความพร้อมสำ�หรับการฟังด้วยเช่นกัน โดยการตัง้ สติ วางอคติ ความ คิด หรือประสบการณ์เดิมของตัวเองลงก่อน แล้วเปิดใจรับฟัง • ระหว่างฟัง ในการปฏิบัติงานโดยใช้มีด ต้องอาศัยความคม เร็ว และ สงบนิง่ ในขณะทีฟ่ งั กระบวนกรพึงใช้สายตาทีแ่ หลมคมแต่สงบนิง่ สังเกตปฏิกิริยาของผู้พูด ดูภาพรวม สบสายตา สังเกตริมฝีปาก จับประเด็น คิดตามว่า ใคร ทำ�อะไร ทีไ่ หน อย่างไร มีอารมณ์รว่ ม ไม่ถามแทรก ไม่ตดั สิน หากเผลอ คิดเรื่องอื่นก็ให้ดึงสติกลับมา ตั้งใจฟังเรื่องของผู้พูด หรืออาจจับความรู้สึก ความต้องการของผูพ้ ดู ด้วย อย่างไรก็ตาม การพลัง้ เผลอไปคิดเรือ่ งอืน่ เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ได้ แต่หากเรา เผลอบ่อยๆ โอกาสทีจ่ ะทำ�ให้เกิดบาดแผลทัง้ ๒ ฝ่ายก็มมี ากขึน้ ตามไปด้วย • หลังฟัง หลังเสร็จสิน้ ภารกิจแล้ว คนปลูกต้นไม้พงึ ล้างทำ�ความสะอาด ใบมีดและชโลมนํ้ามันกันสนิม หลังจากเรือ่ งทีฟ่ งั จบลงแล้ว หากมีประเด็นใน การสะท้อนกลับ กระบวนกรควรพูดด้วยความนุ่มนวล อ่อนโยน และเมตตา และล้างตะกอนความคิดความรูส้ กึ ทีเ่ กิดจากการฟังด้วย โดยเฉพาะการฟังเรือ่ ง ทีเ่ ศร้าหรือเป็นความเจ็บปวดทีฝ่ งั ใจมานาน หากมิได้รบั การชำ�ระล้าง อาจเกิด สนิมเกาะกินใจของกระบวนกรได้ ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๑๐๙


แนวทางการฟั ง อย่ า งลึ ก ซึ ้ ง และจั บ ประเด็ น การใช้มีดเก็บเกี่ยวผลผลิตจากต้นไม้แต่ละชนิดย่อมต่างกัน ซึ่งคนปลูก ต้นไม้รู้ว่าควรใช้มีดและวิธีการตัดแบบใดกับต้นไม้ชนิดนั้นๆ ในการฟังอย่าง ลึกซึง้ และจับประเด็น ก็มวี ธิ กี ารทีแ่ ตกต่างกันไป ซึง่ กระบวนกรจะเป็นผูเ้ ลือก หยิบมาใช้ให้เหมาะสมตามเหตุปจั จัย ซึง่ วิธหี รือแนวทางดังกล่าว ประกอบด้วย ๑) การฟังเพือ่ จับเนือ้ หาสาระ เป็นการจับใจความสำ�คัญ แยกประเด็นหลัก และประเด็นรอง อาจสังเกตจากนํา้ เสียงผูพ้ ดู การลงนํา้ เสียงหนักๆ อาจหมายถึง ข้อความสำ�คัญ คำ�ทีพ่ ดู ซ้ำ�ๆ หรือการขยายความ บางคนอาจพูดวกไปวนมา แล้วก็กลับมาเรือ่ งเดิมอีก ซึง่ บ่งบอกว่าเรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งทีเ่ ขาให้ความสำ�คัญมาก ทัง้ นี้ เนือ้ หาสาระอาจจะไม่มคี วามสำ�คัญเท่ากับสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นใจผูพ้ ดู ซึง่ อาจ จะเป็นเรือ่ งของความคิด ความเชือ่ พืน้ ฐาน (ทีไ่ ม่ได้สอ่ื ออกมาตรงๆ) การฟังจะ ช่วยให้เรารูไ้ ด้วา่ ควรใส่เงือ่ นไขอะไรเพือ่ ให้เกิดการเรียนรูไ้ ด้ ๒) การฟังแบบเปิดใจ ปล่อยวางคำ�ตอบ เป็นการฟังแบบไม่ตดั สินว่าถูก หรือผิด โดยปล่อยใจให้วา่ ง เปิดโอกาสให้ผพู้ ดู ได้พดู ให้หมด พยายามไม่แทรก แซง เพราะการพูดแทรกอาจจะทำ�ให้เราไม่ได้ยนิ สิง่ ทีอ่ ยูข่ า้ งใน เมือ่ ฟังครบถ้วน แล้วจึงค่อยถามกลับเพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจได้ ๓) สร้างความรูส้ กึ ร่วมกัน อาจทำ�ได้หลายวิธี เช่น การพูดคุยด้วยภาษา หรือสำ�เนียงเดียวกัน หรือการมีชดุ ประสบการณ์หรือความรูร้ ว่ มกัน เป็นการลด ช่องว่างหรือความแปลกหน้าลง รูส้ กึ ถึงการเป็นคนกลุม่ เดียวกัน ทำ�ให้สามารถ รับฟังและยอมรับกันได้งา่ ยขึน้ ดังนัน้ ถ้ากระบวนกรมีความรูก้ ว้างและลึกซึง้ ใน หลายๆ ด้าน ก็จะช่วยให้สามารถเข้าใจและจับประเด็นได้งา่ ยขึน้ ๔) เปิดใจ เป็นการเปิดใจรับเสียงทีเ่ ข้ามาอย่างเต็มที่ ไม่วา่ จะเป็นเสียงที่ เบา หรือเสียงที่เป็นคนละสำ�เนียงภาษา กระบวนกรจึงควรมองภาพรวมของ เรือ่ งราวทัง้ หมดด้วยใจทีเ่ ปิดกว้าง เกีย่ วร้อยเรือ่ งเล็กๆ ของเสียงเบาๆ ให้เข้ามา อยูใ่ นวงแลกเปลีย่ นด้วย

๑๑๐ • ฤดู เ ก็ บ เกี ่ ย ว


๕) การฟังเรื่องเศร้า/ความทุกข์และให้กำ�ลังใจ กระบวนกรสามารถ รูส้ กึ ร่วมไปกับเรือ่ งของผูเ้ ข้าร่วมได้ แต่ไม่ควรจ่อมจมตามไป ให้ดงึ สติกลับมา อยูท่ เ่ี รือ่ งทีผ่ เู้ ข้าร่วมกำ�ลังพูด ว่าเป็นเรือ่ งอะไร แล้วเชือ่ มโยงกับภาวะทีเ่ ป็นอยู่ เมือ่ เห็นว่าความรูส้ กึ กำ�ลังจะจมดิง่ ไปกับผูเ้ ข้าร่วม ให้หายใจเข้าออกลึกๆ ตัง้ สติขน้ึ มาอีกครัง้ ขณะเดียวกันก็ไม่ควรกันตัวเองออกไปจากเรือ่ งทีฟ่ งั เพราะจะทำ�ให้ผเู้ ข้า ร่วมสัมผัสได้ถงึ ความห่างเหิน แล้วค่อยๆ สร้างกำ�แพงขึน้ มาปกป้องตัวเอง ซึง่ การฟังลักษณะนีเ้ ป็นทักษะทีต่ อ้ งอาศัยเวลาและการฝึกฝน ๖) การคิดตามแบบมีเข็มทิศ การมีระบบการจัดการความคิดภายใน ขณะ ทีก่ ำ�ลังรับฟัง จะช่วยให้เราสามารถจับประเด็นหลักๆ ได้ดขี น้ึ เช่น การวาดภาพ แผนทีค่ วามคิดภายในหัว หรือการคิดเป็นภาพการ์ตนู ช่อง ช่องแรกเป็นวัยเด็ก ช่องถัดมาเป็นกิจกรรมทีว่ ดั และอีกช่องเป็นวัยเรียนมหาวิทยาลัย เป็นต้น เมือ่ ต้องตัง้ คำ�ถามทวนย้อน ก็ให้ดงึ ข้อมูลจากแผนภาพทีค่ ดิ เอาไว้ขน้ึ มา นัน่ หมายความว่า กระบวนกรต้องสามารถดึงข้อมูลภาพทีเ่ ก็บไว้ขน้ึ มาใช้ได้ดว้ ย ซึง่ เครือ่ งมือทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการเรียกข้อมูล คือ สติ นัน่ เอง ๗) ปล่อยวางคำ�ตอบตายตัว ในขณะที่รับฟังให้วางความคิดหรือการ ตัดสินลงก่อน เปิดใจฟังด้วยความเชือ่ ทีว่ า่ ทุกคนมีมมุ มองความคิดทีต่ า่ งกันได้ แต่ละคนอาจมีวธิ ตี คี วามหรือให้คณ ุ ค่าในสิง่ ทีแ่ ตกต่างกัน ทัง้ นี้ กระบวนกรจะ ต้องมองหาช่องทางทีจ่ ะประมวลความคิดทีแ่ ตกต่างนี้ เพือ่ เชือ่ มโยงให้เกิดเป็น บทเรียนขึน้ มา โดยไม่พยายามดึงประเด็นเข้าสูล่ ทู่ างทีก่ ำ�หนดไว้ตายตัว จนไม่ สามารถรับฟังความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างได้ ๘) เรียนรู้จากเรื่องที่ฟัง นอกเหนือจากการรับฟังเพื่อถอดบทเรียนจาก คนอืน่ แล้วกระบวนกรเองก็ตอ้ งให้เวลาตัวเองเพือ่ นำ�บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ ย้อนกลับ มาใคร่ครวญภายในด้วยเช่นกัน ซึง่ นับเป็นวิธใี นการลับคมความคิดอย่างหนึง่ ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๑๑๑


ฟั ง เสี ย งความเงี ย บ (Dead air)

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ท ำ �

กระบวนกรส่วนใหญ่มกั ทนกับภาวะ นิง่ และเงียบของ ผูเ้ ข้าร่วมไม่ได้ หลังจากทีพ่ ยายามกระตุน้ ให้พดู ไปสักพัก ก็ไม่ เป็นผล ท้ายทีส่ ดุ จึงมักลงเอยด้วยการเฉลยบทเรียนด้วยตัวเอง ดังนัน้ ผูเ้ ขียนจึงอยากเชิญชวนให้มาทดลองฝึกอยูก่ บั ความ เงียบ และมองความเงียบในมุมใหม่วา่ เป็นวิธสี อ่ื สารของผูเ้ ข้าร่วม อย่างหนึง่ ซึง่ อาจหมายถึงความไม่พร้อม ไม่มน่ั ใจ ต้องการขอเวลา ทบทวนเรือ่ งทีจ่ ะพูดภายในหัวอีกสักนิด หรือช่วยกระตุน้ อีกสักหน่อย เมือ่ เราเปิดรับสัญญาณทีว่ า่ นีไ้ ด้แล้ว ผูเ้ ขียนเชือ่ ว่าเราจะสามารถ อดทนรอคอยได้ บรรยากาศในการแลกเปลีย่ นก็จะผ่อนคลาย และ ช่วยให้ผเู้ ข้าร่วมมีความมัน่ ใจทีจ่ ะแลกเปลีย่ นมากขึน้

๒.๒ จอบ (การตั ้ ง คำ � ถาม) จอบ ประกอบด้วยส่วนสำ�คัญ ๓ ส่วน ได้แก่ ใบมีด ด้าม และลิม่ หน้าทีห่ ลักของจอบ คือ การ ถากบริเวณผิวหน้าดินและขุดลึกลงไปในเนื้อดิน การที่คนปลูกต้นไม้ทำ�งานโดยใช้จอบ ก็ไม่ ต่างจากกระบวนกรใช้ทำ�งานกับคำ�ถามนัน่ คือ การ เปิดทางเข้าไปสู่การขบคิด ใคร่ครวญบทเรียนที่ เกิดขึน้ โดยเฉพาะบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ จากการลงมือ ปฏิบตั หิ รือผ่านประสบการณ์ตรง การตัง้ คำ�ถามทีด่ สี ามารถนำ�ไปสูก่ ารคิดและ การเปลีย่ นแปลงในระดับต่างๆ ได้ คำ�ถามทีด่ มี ลี กั ษณะเป็นคำ�ถามปลายเปิด ไม่กว้างหรือแคบเกินไป เปิด พืน้ ทีใ่ ห้ผเู้ ข้าร่วมอธิบายขยายความ โดยอาจเริม่ จากคำ�ถามง่ายไปหายาก ไม่ ซับซ้อน ถามทีละประเด็น ตรงประเด็น กระชับและชัดเจน ไม่ชน้ี ำ� ไม่รกุ เร้า ไม่ คาดเดาคำ�ตอบ กระตุน้ ให้คดิ ต่อ ใช้ภาษาเข้าใจง่าย และเหมาะกับกลุม่ เป้าหมาย ๑๑๒ • ฤดู เ ก็ บ เกี ่ ย ว


แนวทางการตั ้ ง คำ � ถาม ความสั้นยาวของด้ามจอบ มีผลต่อพื้นที่และการออกแรงขุด เหมือนกับ ลักษณะของใบจอบ ซึง่ คนปลูกต้นไม้รดู้ วี า่ ควรหยิบจอบชนิดไหนสำ�หรับดาย หญ้า และชนิดไหนสำ�หรับการขุดเพือ่ นำ�หัวเผือกหัวมันขึน้ มา การตั้งคำ�ถามแต่ละวิธีก็แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการคำ�ตอบ แบบใดและเพือ่ อะไร ซึง่ วิธกี ารตัง้ คำ�ถามหลักๆ มีอยู่ ๖ แบบ คือ ๑) ถามแบบลงลึกต่อเนื่อง (เชื่อมโยง) เป็นการถามในประเด็นเดียว เพือ่ เก็บรายละเอียดโดยรอบ แล้วจึงค่อยลงลึกไปเรือ่ ยๆ ถามเรือ่ งเดิมต่อเนือ่ ง กันไป หรือนำ�คำ�ตอบทีไ่ ด้มากลับเป็นคำ�ถามต่อไป เช่น - หลังจากทำ�กิจกรรมแล้วรูส้ กึ อย่างไร? - ชีวติ ประจำ�วันเหมือนหรือแตกต่างจากกิจกรรม อย่างไรบ้าง? - การแก้ไขปัญหาในชีวติ ประจำ�วันทำ�อย่างไร? - ช่วยยกตัวอย่าง วิธกี ารนำ�บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ จากกิจกรรมไปใช้ในการแก้ ปัญหาชีวติ ประจำ�วันได้ไหม? ทำ�อย่างไร? - นอกจากนี้ ยังมีบทเรียนอืน่ ทีเ่ กิดจากการทำ�กิจกรรมอีกหรือไม่ อย่างไร? ๒) ถามแบบทแยงไปข้างๆ เป็นการถามจากเรือ่ งที่ ๑ เชือ่ มต่อไปถึงเรือ่ ง ที่ ๒ เรือ่ งที่ ๓ และเชือ่ มต่อออกไปเรือ่ ยๆ เช่น - การกินอาหารอย่างนี้ มีผลต่อสุขภาพของเราอย่างไร? - (เชือ่ มจากเรือ่ งการกินไปเรือ่ งสุขภาพ) ถ้าสุขภาพแย่ลง เรามีวธิ ดี แู ล ตัวเองอย่างไร? - (เชื่อมเรื่องการดูแลสุขภาพกับการออกกำ�ลังกาย) อุปสรรคในการไป ออกกำ�ลังกายของเรามีอะไรบ้าง? (โดยเฉพาะคนกรุงเทพฯ) - (ชวนคิดต่อ) ดังนัน้ จะดีกว่าไหม ถ้าเราเลือกกกินอาหารดี มีประโยชน์ แล้ว ให้การออกกำ�ลังกายเป็นการสร้างเสริมความแข็งแรง แทนทีจ่ ะเป็นการซ่อมแซม ๓) ถามแบบโยงกลับ เพือ่ ให้ใคร่ครวญด้านใน เป็นการตัง้ คำ�ถามแบบใช้จอบ ถากเปิดหน้าดิน แล้วจึงขุดลึกลงไป เช่น ถามเรือ่ งการกิน ไล่ลำ�ดับต่อเนือ่ งกันไป - อาหารดีตอ่ สุขภาพของเราอย่างไร? - เมือ่ สุขภาพดีแล้ว สภาพโดยรวมของชีวติ เป็นอย่างไรบ้าง? - การที่เราทำ�อย่างนี้ มีผลต่อชีวิต อารมณ์ ความรู้สึก การดำ�เนินชีวิต อย่างไรบ้าง? ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๑๑๓


๔) ถามให้ได้รายละเอียดครอบคลุม เป็นการเริม่ ต้นด้วยคำ�ถามปลายเปิด กว้างๆ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้ชว่ ยกันระดมความคิดเห็นให้ได้มากทีส่ ดุ แล้วจึงนำ� ความคิดเห็นทัง้ หมดมาจัดการหรือประมวลรวมกัน เช่น - ปัจจัยทีท่ ำ�ให้เรามีสขุ ภาพดีมอี ะไรบ้าง? - อาหารทีด่ มี ปี ระโยชน์เป็นอย่างไร? มีความสำ�คัญอย่างไร? - แล้วความสำ�คัญทีว่ า่ นี้ ช่วยให้การดำ�รงชีวติ ของเราดีขน้ึ อย่างไร? ๕) การคิดคำ�ถามหลัก เป็นลักษณะคำ�ถามแบบก้างปลา คำ�ถามหลักที่ ๑, ๒ และ ๓ ถ้ากระบวนกรสนใจประเด็นทีเ่ กิดขึน้ จากคำ�ถามหลักใด ก็สามารถแตก ออกเป็นข้อ ๑.๑ หรือ ๑.๒ แล้วค่อยกลับมาคำ�ถามที่ ๒ แต่กระบวนกรต้องรูว้ า่ คำ�ตอบทีไ่ ด้มาถูกจัดวางไว้ตรงไหน เป็นไปตามเป้าหมายหลักหรือเป้าหมายรอง แต่ถา้ คำ�ตอบไม่ตรงกับเป้าหมายทีต่ ง้ั ไว้ กระบวนกรก็ตอ้ งสามารถปรับ เปลีย่ นสถานการณ์ไปตามเนือ้ หาทีเ่ กิดขึน้ ได้ ทัง้ นี้ คำ�ถามหลักทีว่ างไว้มกั มา จากเป้าหมาย (วัตถุประสงค์) แล้วนำ�ประเด็นเนือ้ หาเข้ามาเชือ่ มโยงไปสูค่ ำ�ถาม เพือ่ บรรลุสง่ิ ทีต่ อ้ งการให้เกิดการเรียนรูไ้ ด้ ๖) คำ�ถามอยูท่ ผ่ี เู้ ข้าร่วมและเรือ่ งทีจ่ ะเรียนรู้ การตัง้ คำ�ถามลักษณะนีจ้ ะให้ ผูเ้ ข้าร่วมเป็นตัวตัง้ โดยกระบวนกรอาจตัง้ คำ�ถามเพือ่ ตรวจสอบความรู้ ความ เข้าใจ หรือกระตุน้ ให้เกิดการคิดพิจารณาก่อน แล้วจึงเติมบทเรียนเรือ่ งนัน้ เข้าไป ทัง้ นี้ ต้องอยูบ่ นฐานความเชือ่ ทีว่ า่ ทุกคนสามารถเรียนรูแ้ ละแตกต่างกันได้ หน้าทีข่ องกระบวนกร คือ การพิจารณาความพร้อมของผูเ้ ข้าร่วมกับบทเรียนที่ ต้องการ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกัน

สั ง เกตภาพรวมของกลุ ่ ม

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ใส ่ ใ จ

ในการตัง้ คำ�ถามและแลกเปลีย่ นความคิดเห็น อย่าลืมพิจารณาพลังของกลุม่ โดยรวมด้วย เทียบเคียงเนือ้ หากับ เวลา แล้วหาข้อตกลงร่วมกัน เช่น หากมีคนที่อยากพูดมากๆ กระบวนกรก็ควรให้พดู (แต่ภายในกำ�หนดเวลา) ในขณะเดียวกัน ก็ตอ้ งพิจารณาคนทีร่ สู้ กึ ว่าเหนือ่ ยล้า (พลังตก) ไม่พร้อมทีจ่ ะรับฟัง แล้วด้วย ให้พจิ ารณาสถานการณ์ แล้วอาจจะนำ�มาเป็นประเด็นเพือ่ หาข้อตกลงร่วมกันว่าจะดำ�เนินกิจกรรมต่อหรือว่าหยุดพักก่อน ๑๑๔ • ฤดู เ ก็ บ เกี ่ ย ว


N

เข็ ม ทิ ศ การตั ้ ง คำ � ถามเพื ่ อ ถอดบทเรี ย น

๑. หลักอริยสัจจ์ ๔ เป็นการตัง้ คำ�ถาม โดยลำ�ดับการเรียนรูต้ ามหลักของ เหตุปจั จัย เริม่ จากการอธิบายสถานการณ์ (สภาพทีเ่ ป็นปัญหาใกล้เคียงกับชีวติ ประจำ�วัน) ผนวกกับเงือ่ นไขทีต่ อ้ งการให้เกิดการเรียนรู้ หลังจากนัน้ จึงร่วมกัน วิเคราะห์ถึงสาเหตุของปรากฏการณ์นั้นๆ เพื่อเชื่อมโยงไปถึงเป้าหมายตามที่ ตัง้ ไว้ แล้วจึงหาวิธกี ารในการปฏิบตั ไิ ด้จริง

ตั ว อย่ า ง หลักคิด ทุกข์

การตัง้ คำ�ถามตามหลักอริยสัจจ์ ๔ ประเด็นเรือ่ ง พฤติกรรมการเปลีย่ นโทรศัพท์มอื ถือบ่อยๆ แนวคิด/วิเคราะห์

ตัวอย่างคำ�ถาม

สถานการณ์ สภาพปัญหา ข้อเท็จจริงที่ผู้เข้าร่วมเผชิญ อยู่ เพือ่ ให้นกึ ถึงปรากฏการณ์ หรือสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น อย่างชัดเจน

• แนวคำ�ถาม - เกิดอะไรขึน้ บ้าง? - มีความรูส้ กึ อย่างไร? • ตัวอย่าง - ภายในรอบ ๓ ปี เราซือ้ โทรศัพท์ใหม่หรือเปลีย่ น โทรศัพท์มอื ถือไปแล้วกีเ่ ครือ่ ง? สมุทยั การวิเคราะห์หาสาเหตุ เมือ่ • แนวคำ�ถาม เปิดโอกาสให้ผเู้ ข้าร่วมพูดถึง - ทำ�ไมจึงเป็นอย่างนัน้ ? สาเหตุแล้ว เราจะพบว่ามี - เราต้องการ/ทำ�อย่างนี้ สาเหตุหลักๆ อยูจ่ ำ�นวนหนึง่ เพราะหรือเพือ่ อะไร? เช่น การเกิดกิเลส/ความอยาก • ตัวอย่าง ของมนุษย์ หรือความไม่พอใจ - ทำ�ไมจึงต้องเปลีย่ นมือถือบ่อยๆ? ในสิง่ ทีม่ อี ยู่ - อะไรเป็นแรงจูงใจในการเปลีย่ น โทรศัพท์ของเรา (รูปทรง สีสนั ฟังก์ชน่ ั การใช้งาน โฆษณา ฯลฯ)? ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๑๑๕


หลักคิด

แนวคิด/วิเคราะห์

ตัวอย่างคำ�ถาม

นิโรธ

การวาง/กำ�หนดขอบเขต เป้าหมายให้สอดคล้องกับ เนือ้ หาและบริบทแวดล้อม ซึง่ ก็คอื การนำ�แนวคิดมา ปรับใช้ในชีวติ ลดพฤติกรรม การบริโภค ไม่พง่ึ พิงความ สุขทางวัตถุอย่างเดียว รูเ้ ท่า ทันกิเลสตนเอง วิธกี ารตัง้ คำ�ถามให้เกิดสติ ใช้จา่ ยน้อยลง ซึง่ กระบวนกร ควรถามคำ�ถามย่อยเพือ่ ให้ เห็นรายละเอียดของวิธกี าร

• แนวคำ�ถาม - มีแนวทางในการปรับเปลีย่ น/ แก้ไขปัญหานีอ้ ย่างไรบ้าง? • ตัวอย่าง - ทำ�อย่างไรจึงจะสามารถลด พฤติกรรมการซือ้ โทรศัพท์มอื ถือ เครือ่ งใหม่ลงได้?

มรรค

• แนวคำ�ถาม - เราจะปรับเปลีย่ น/แก้ไขปัญหา ทีว่ า่ นีด้ ว้ ยวิธใี ดได้บา้ ง? - ถ้าไม่ทำ�เช่นนี้ จะมีวธิ อี น่ื หรือไม่ อย่างไร? • ตัวอย่าง - นอกจากโทรศัพท์มอื ถือ เรายังมี ความต้องการลักษณะนีก้ บั สิง่ ของ อืน่ ๆ อีกหรือไม่ อะไรบ้าง? - เรามีวธิ หี กั ห้ามความรูส้ กึ อยาก ซือ้ อย่างไรบ้าง?

๒. ข้อดี-ข้อเสีย-ทางออก มักเป็นการตัง้ คำ�ถามเพือ่ ทบทวนสิง่ ทีไ่ ด้ทำ� ไปแล้ว หรือพิจารณาผลการจัดกระบวนการ ซึง่ มีความจำ�เป็นต้องวิเคราะห์หา เหตุปจั จัยหรือทีม่ าของข้อดี –ข้อเสียเหล่านัน้ เพือ่ หาทางแก้ปญ ั หาทีต่ น้ เหตุ และ ป้องกันการเกิดปัญหาซํา้ ในครัง้ ต่อไป ทัง้ นี้ กระบวนกรส่วนใหญ่มกั จะคิดว่า เมือ่ วิเคราะห์ถงึ ขัน้ ตอนนี้ คือ ข้อดี ข้อเสียและทางออกแล้วก็ถอื ว่าเสร็จสิน้ กระบวนการ เมือ่ ต้องทำ�กิจกรรมอีกครัง้ ก็เกิดผลคล้ายคลึงกับทีผ่ า่ นมา เนือ่ งจากไม่ได้วเิ คราะห์ลงลึกถึงเหตุปจั จัยแต่ละ ๑๑๖ • ฤดู เ ก็ บ เกี ่ ย ว


ด้าน ทำ�ให้ไม่มกี ารปรับปรุงหรือแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ อย่างแท้จริง การวิเคราะห์ ถึงสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ พร้อมทัง้ หาสาเหตุและทางออก หรือวิธกี ารแก้ปญ ั หานี้ จะทำ�ให้ เกิดการเรียนรูแ้ ละพัฒนาการทำ�งานหรือจัดกระบวนการให้มปี ระสิทธิภาพเพิม่ มากขึน้ ง้ คำ�ถามตามหลักข้อดี – ข้อเสีย – ทางออก ตั ว อย่ า ง การตั ประเด็นเรือ่ งพฤติกรรมการเปลีย่ นโทรศัพท์มอื ถือบ่อยๆ หลักคิด ข้อดี

แนวคิด/วิเคราะห์

ตัวอย่างคำ�ถาม

เป็นการคิดวิเคราะห์เพือ่ หา แง่มมุ ด้านบวกหรือจุดเด่น

• ข้อดีของการมีโทรศัพท์มอื ถือ รุน่ ใหม่ๆ มีอะไรบ้าง? • ถ้าเทียบกับรุน่ ทีม่ อี ยูเ่ ดิม แตกต่างกันอย่างไร? ข้อเสีย เป็นการคิดวิเคราะห์เพือ่ หา • ข้อเสียของการซือ้ โทรศัพท์ แง่มมุ ด้านลบหรือข้อด้อย มือถือรุน่ ใหม่บอ่ ยๆ มีอะไรบ้าง? หรืออุปสรรค • ข้อเสียดังกล่าว ส่งผลกระทบ ต่อเราอย่างไรบ้าง? ทางออก เป็นการคิดวิเคราะห์เชือ่ มโยง • เรามีวธิ ที จ่ี ะลดความต้องการ ระหว่างข้อดี- ข้อเสีย และหา ในการซือ้ โทรศัพท์มอื ถือบ่อยๆ แนวทางในการแก้ไข โดยไม่จำ�เป็นอย่างไรบ้าง? • นอกจากการซือ้ โทรศัพท์แล้ว เรามีความต้องการในลักษณะ เดียวกันนี้กับอะไรบ้าง? แล้ว จะลดความต้องการนั้นๆ ลง ได้อย่างไร? ๓. อดีต-ปัจจุบน ั -อนาคต เป็นการตัง้ คำ�ถามทีเ่ ริม่ ต้นจากกิจกรรมทีเ่ พิง่ ผ่านไป เป็นสถานการณ์หรือเรือ่ งราวทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั โดยถามให้ผเู้ ข้าร่วม ได้คดิ ย้อนกลับไปอดีต จากนัน้ เชือ่ มโยงคำ�ตอบหรือประสบการณ์ของผูเ้ ข้าร่วม ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๑๑๗


ไปสูอ่ นาคต เพือ่ กระตุน้ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้มองเห็นถึงทีม่ าของความคิดหรือพฤติกรรมที่เกิดขึ้น (ซึ่งอาจเป็นสภาพปัญหาที่กำ�ลังเผชิญอยู่) ในปัจจุบัน และได้ พิจารณาถึงแนวทางในการปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ หรือพฤติกรรมในอนาคต ดังแผนภาพ

แผนภาพ แสดงแนวทางการตั ้ ง คำ � ถามเชื ่ อ มโยง อดี ต -ปั จ จุ บ ั น -อนาคต

ตั ว อย่ า ง

การตัง้ คำ�ถามตามหลักอดีต – ปัจจุบนั – อนาคต ประเด็นเรือ่ ง พฤติกรรมการเปลีย่ นโทรศัพท์มอื ถือบ่อยๆ

หลักคิด

แนวคิด/วิเคราะห์

ปัจจุบนั การถามเพือ่ สะท้อน สภาพ ปัญหา ข้อเท็จจริง ทีผ่ เู้ ข้าร่วม กำ�ลังเผชิญอยู่ เพือ่ ให้นกึ ถึง ปรากฏการณ์ หรื อ สภาพ ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ อย่างชัดเจน อดีต การเชือ่ มโยงกลับไปทีอ่ ดีต เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้ทบทวน เหตุการณ์/พฤติกรรมทีเ่ คย เกิดขึน้ รวมถึงการวิเคราะห์ หาสาเหตุของเหตุการณ์/ พฤติกรรมนัน้ ๆ ๑๑๘ • ฤดู เ ก็ บ เกี ่ ย ว

ตัวอย่างคำ�ถาม • ภายในรอบ ๓ ปี เราซือ้ โทรศัพท์ ใหม่หรือเปลีย่ นโทรศัพท์มอื ถือ ไปแล้วกีเ่ ครือ่ ง? • การเปลีย่ นโทรศัพท์แต่ละครัง้ ใช้ระยะเวลานานแค่ไหน? • ก่อนทีจ่ ะมีโทรศัพท์มอื ถือ เรา ติดต่อสือ่ สารกันอย่างไร? • การทีเ่ ราเปลีย่ นโทรศัพท์บอ่ ยๆ เป็นเพราะอะไร?


หลักคิด

แนวคิด/วิเคราะห์

อนาคต การตั ้ ง คำ�ถามเพื ่ อ หา แนวทางวิธกี ารในการปรับ เปลีย่ นหรือแก้ไขปัญหาที่ เกิด เชือ่ มโยงกลับไปที่ ชีวติ จริง

ตัวอย่างคำ�ถาม • แนวโน้มในอนาคต ถ้ามีโทรศัพท์รนุ่ ใหม่ทม่ี ฟี งั ก์ชน่ั การใช้งาน ทันสมัยขึน้ เราจะทำ�อย่างไร? • ทำ�อย่างไรเราจึงเท่าทันต่อความ ต้องการของตัวเอง เมือ่ รูว้ า่ มีโทรศัพท์รนุ่ ใหม่ๆ ออกวางขาย?

๔. หลักของเหตุและผล เป็นการวิเคราะห์หาเหตุและผล คล้ายกับอริยสัจจ์ ๔ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั เป้าหมายของกระบวนการว่า กระบวนกรต้องการให้ผเู้ ข้าร่วมเรียนรู้ ในแต่ละกิจกรรมถึงระดับใด โดยอาจพิจารณาเชือ่ มโยงถึงกระบวนการถัดไปด้วย เช่น ช่วงทีห่ นึง่ วิเคราะห์หาสาเหตุวา่ บทเรียน/ปรากฏการณ์นเ้ี กิดจากอะไร ช่วง ทีส่ อง วิเคราะห์ให้เห็นถึงสาเหตุจากตัวบุคคลและสิง่ แวดล้อมภายนอก ง้ คำ�ถามตามหลักเหตุและผล ประเด็นเรือ่ ง ตั ว อย่ า ง การตั พฤติกรรมการเปลีย่ นโทรศัพท์มอื ถือบ่อยๆ หลักคิด

แนวคิด/วิเคราะห์

ตัวอย่างคำ�ถาม

เหตุ

การคิดวิเคราะห์เพื่อหา สาเหตุทม่ี าของเหตุการณ์ หรือพฤติกรรม (คำ�ถาม มักขึน้ ต้นด้วยคำ�ว่า ทำ�ไม/ เพราะอะไร/เพราะเหตุใด) การหาผลลัพธ์/บทเรียนที่ เกิดขึน้ จากเหตุปจั จัยต่างๆ อย่างรอบด้าน

• ทำ�ไมเรามักเปลีย่ นโทรศัพท์ มือถือบ่อยๆ ทั้งที่เครื่องเดิมก็ยัง คงใช้งานได้ดอี ยู?่ • เพราะเหตุใดเราจึงต้องมีโทรศัพท์ ทีท่ ำ�ได้หลายอย่างในเครือ่ งเดียว? • หลังจากซือ้ โทรศัพท์มอื ถือเครือ่ ง ใหม่แล้ว เรารูส้ กึ อย่างไรบ้าง? • ความรูส้ กึ นัน้ อยูก่ บั เรานานแค่ไหน? • นอกจากความรูส้ กึ นัน้ แล้ว ยังส่ง ผลกระทบต่อตัวเราและคนรอบข้าง อืน่ ๆ อีกหรือไม่ อย่างไร?

ผล

ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๑๑๙


๕. การแตกองค์ประกอบ เป็นการตัง้ คำ�ถามเพือ่ ให้เห็นรายละเอียด มัก ใช้ประกอบการตัง้ คำ�ถามแนวทางอืน่ ๆ เช่น เรามีความทุกข์ในเรือ่ งอะไรบ้าง? จากนัน้ นำ�คำ�ตอบทีไ่ ด้ มาแยกย่อยลงไปอีก เช่น ทุกข์จากการไม่มเี งิน หน้าตา ไม่สวย/หล่อ เรียนไม่เก่ง พ่อแม่ดดุ า่ แฟนทิง้ เป็นต้น ซึง่ การถามวิธนี ส้ี ามารถ เชือ่ มโยงไปสูต่ น้ เหตุหรือรากเหง้าของความทุกข์ได้ แล้วหาวิธแี ก้ไขทีต่ น้ เหตุนน้ั

เมื ่ อ จอบทื ่ อ เจอดิ น แข็ ง

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ใส ่ ใ จ

ผลลัพธ์ทเ่ี กิดขึน้ ก็คอื แรงสะท้อนทีก่ ระเด้งกลับมา ถ้าแรงมากก็อาจจะทำ�ให้เราล้มไปเลย แต่ถา้ ไม่แรงมาก ก็อาจจะแค่ทำ�ให้แขนของเราสะท้าน เมือ่ ไรทีเ่ ราตัง้ คำ�ถามออกไป ย่อมต้องรูแ้ ละเข้าใจเนือ้ หา เรือ่ งนัน้ ๆ ในระดับหนึง่ มิใช่หวังทีจ่ ะหาคำ�ตอบจากผูเ้ ข้าร่วม ข้างหน้า โดยเฉพาะบทเรียนทีเ่ ป็นประสบการณ์ดา้ นใน เพราะมีความ เป็นไปได้วา่ ถ้าเราไม่รหู้ รือเข้าใจเนือ้ หาอย่างชัดเจน คำ�ถามทีต่ ง้ั ออกไปก็จะไม่แหลมคม ทำ�ให้ผเู้ ข้าร่วมไม่เข้าใจและถามกลับมาได้

๒.๓ เคี ย ว (การคิ ด ) ผูเ้ ขียนได้พดู ถึงเรือ่ งเคียว ในหัวข้อการเกีย่ วไป บ้างแล้ว ซึง่ หลักใหญ่ใจความทีอ่ ยากนำ�มาเสนอ อีกครัง้ ก็คอื การเหนีย่ วรวงข้าวมาไว้เป็นกำ� ก่อน ทีจ่ ะตัดให้ขาดในคราวเดียว เทียบกับกระบวนการ คิดได้วา่ เป็นการคิดวิเคราะห์เชือ่ มโยงประเด็นต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างแยบคาย ไม่ว่าจะเป็นประเด็นจาก การตั้งคำ�ถามหรือวงแลกเปลี่ยนสนทนา แล้ว สามารถนำ�พาไปสู่การปะทะสังสรรค์ได้อย่าง แหลมคมและมีพลัง ๑๒๐ • ฤดู เ ก็ บ เกี ่ ย ว


อาจกล่าวได้วา่ ทักษะในการวิเคราะห์เป็นสิง่ จำ�เป็นต่อการจัดกระบวนการ อย่างยิง่ โดยเฉพาะในการถอดบทเรียน หลังจากทีผ่ เู้ ข้าร่วมได้ผา่ นกระบวนการ ต่างๆ ข้างต้นมาแล้ว ขัน้ ต่อมาคือการนำ�ข้อมูลหรือบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ ในลักษณะ ของข้อค้นพบ เชือ่ มโยงกับเหตุปจั จัยทีท่ ำ�ให้เกิดขึน้ โดยเฉพาะเหตุปจั จัยทีส่ ง่ ผล ต่อการเรียนรูส้ กู่ ารเปลีย่ นแปลงในระดับต่างๆ ซึง่ แนวทางในการคิดวิเคราะห์นน้ั มีความคล้ายคลึงกับแนวทางในการตัง้ คำ�ถามนัน่ เอง

ช่ ว งเวลาที ่ เ หมาะสมในการถอดบทเรี ย น

ส้อมพรวน ชวนคิด

ในการถอดบทเรียนครัง้ หนึง่ ๆ นัน้ สามารถ บูรณาการกระบวนการต่างๆ เข้าด้วยกัน หรือเพิม่ เงือ่ นไข เข้าไปก็ได้ ขึน้ อยูก่ บั บริบทของแต่ละพืน้ ที่ ซึง่ การเลือกวิธี ถอดบทเรียน ไม่มหี ลักสูตรหรือรูปแบบทีต่ ายตัวสามารถ ปรับเปลีย่ นไปตามสถานการณ์ แม้ว่าจะมีเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและวิธีเก็บเกี่ยว ทีเ่ หมาะสมแล้ว แต่สง่ิ สำ�คัญทีค่ นปลูกต้นไม้ไม่ควรละเลย อีกอย่างก็คอื การเลือกช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม ครัง้ หนึง่ ทีมกระบวนกรได้กำ�หนดช่วงเวลาการถอดบทเรียนไว้หลัง จากจบกิจกรรมในแต่ละวัน เพราะเห็นว่าเป็นบทเรียนทีเ่ พิง่ เกิดขึน้ จะมี ความสดใหม่ และเร้าพลังการเรียนรูใ้ นช่วงต่อๆ ไปได้ดี แต่มีอยู่วันหนึ่งที่ผู้เข้าร่วมต้องบำ�เพ็ญประโยชน์ด้วยการสร้างฝาย ชะลอนํา้ เหน็ดเหนือ่ ยมาตลอดทัง้ วัน แต่กระบวนกรก็ยงั คงกิจกรรมการ ถอดบทเรียนไว้ตามแผนเดิม ในขณะทีผ่ เู้ ข้าร่วมเหนือ่ ยล้าจนไม่สามารถ ใคร่ครวญบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ ได้ กระบวนกรเองก็ตอ้ งเหนือ่ ยกับการ พยายามถอดบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ ออกมาให้ได้ เป็นสภาพทีว่ า่ ต่างคน ต่างหมดแรง บทเรียนทีเ่ กิดในคืนนัน้ จึงสรุปได้วา่ ไม่ควรถอดบทเรียนใน ช่วงเวลาทีห่ มดแรง ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว • ๑๒๑


บทที​ี่​่

แต่​่งกิ่ง เติมปุ๋ย

(การติ ด ตามแบบเสริ ม พลั ง )


แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย

( การติ ด ตามแบบเสริ ม พลั ง )

แผนที ่ ค วามคิ ด

ต้นไม้สะสมแร่ธาตและสารอาหารจากธรรมชาติเพือ่ การเจริญเติบโต จน เมือ่ ถึงช่วงเวลาทีโ่ ตเต็มที่ ต้นไม้กจ็ ะแปรสภาพสารอาหารทีส่ ะสมมา ให้ออกมา ในรูปของดอกและผล เพือ่ แพร่กระจายเผ่าพันธุต์ อ่ ไป หากเป็นพืชล้มลุก หลังจากให้ผลแล้ว ลำ�ต้นก็จะแห้งเหีย่ วล้มตายไป คน ปลูกต้นไม้รู้ดีว่า ควรปล่อยให้ซากพืชเหล่านั้นได้คลุมดินจนย่อยสลายไปเอง ถือเป็นการรักษาสภาพดินให้เหมาะสำ�หรับการงอกของเมล็ดพันธุร์ นุ่ ต่อไป และถ้าเป็นต้นไม้ใหญ่ หลังจากผ่านฤดูกาลของการให้ดอกให้ผลแล้ว ก็ ถึงเวลาทีค่ นปลูกต้นไม้จะได้แต่งกิง่ และเติมปุย๋ เพือ่ ให้ตน้ ไม้ได้มเี วลาพักฟืน้ และปรับสภาพตัวเอง เตรียมพร้อมสำ�หรับการมาเยือนของฤดูกาลใหม่ ทัง้ นี้ การจัดกระบวนการโดยมาก มักจะสิน้ สุดลงหลังจากทำ�กิจกรรมครบ และถอดบทเรียนโครงการ ปล่อยผู้เข้าร่วมกลับไปสู่ชีวิตประจำ�วัน พร้อมกับ ต้นไม้แห่งความสุขในหัวใจ ในขณะทีค่ นปลูกต้นไม้เองก็ได้เก็บดอกเก็บผลมา ใส่ไว้ในตะกร้า ตัง้ ไว้บนหิง้ แล้วทุกอย่างก็จบลงเพียงเท่านัน้ แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย • ๑๒๓


ในบทนี ้ . ..มี อ ะไร เพือ่ ให้การจัดกระบวนการเรียนรูส้ กู่ ารเปลีย่ นแปลง ไม่มจี ดุ จบ ตรงที่การ (มีแนวโน้มว่าจะ) เปลี่ยนแปลง(อันแสนสั้น) เช่นนี้ เราจึงควรมีปฏิบตั กิ ารทีเ่ รียกว่า การติดตามแบบเสริมพลังหรือ การดูแลต้นไม้หลังเก็บเกีย่ ว ซึง่ มีแนวทางหลักอยู่ ๒ ประการ คือ ๑. การแต่งกิง่ (การสนับสนุนช่วงปรับตัว) ๒. การเติมปุย๋ (การเสริมพลังหลังเปลีย่ นแปลง) อย่างไรก็ตาม การแบ่งแยกช่วงเวลาของการปรับตัวและการเปลีย่ นแปลง ไม่ได้มเี ครือ่ งมือวัดทีช่ ดั เจน แนวทางดังกล่าวจึงไม่สามารถือเป็นกฎเกณฑ์ตายตัว ได้ ผูเ้ ขียนเพียงแต่แยกเป็นประเด็นไว้ เพือ่ ให้งา่ ยต่อการทำ�ความเข้าใจเท่านัน้ ทัง้ นี้ อาจจะมีวธิ กี ารอืน่ ๆ นอกเหนือจากนี้ ซึง่ คนปลูกต้นไม้สามารถนำ�มา บูรณาการเข้าด้วยกัน เพือ่ ให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละพืน้ ที่

ต้ น ไม้ ใ นป่ า เติ บ โตได้ โดยไม่ ต ้ อ งตั ด หรื อ เติ ม อะไร เข้ า ไป แล้ ว ทำ � ไมต้ น ไม้ ใ นใจจึ ง ต้ อ งแต่ ง กิ ่ ง และใส่ ป ุ ๋ ย

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

หากมนุษย์ไม่เข้าไปแทรกแซงระบบนิเวศภายในป่า ต้นไม้ ก็สามารถปรับสภาพเพื่อการอยู่รอดได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมี ปัจจัยในการเจริญเติบโตตามธรรมชาติอย่างสมบูรณ์ แต่สายใยของระบบนิเวศภายในป่า ต่างจากความสัมพันธ์ ของมนุษย์ ทีม่ คี วามซับซ้อน และบางครัง้ ก็ไม่ได้เป็นไปอย่างเกือ้ กูล ผืนดิน ในหัวใจของบางคนอาจเต็มไปด้วยทะเลทราย หรือก้อนหินทีแ่ หลมคม และแข็งกระด้าง ยากทีต่ น้ ไม้ชนิดไหนจะเติบโตขึน้ มาได้ ด้วยเหตุนเ้ี อง เราจึงจำ�เป็นต้องมีคนปลูกต้นไม้ และมีการดูแล ต้นไม้ จนเมือ่ ระบบนิเวศในสังคมเกิดความสมบูรณ์และสมดุลแล้ว นัน่ แหละ คนปลูกต้นไม้จงึ ควรไปทำ�อย่างอืน่ ๑๒๔ • แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย


การเตรี ย มตั ว ก่อนทีค่ นปลูกต้นไม้จะนำ� กรรไกรตัดกิ่งหรือกระสอบปุ๋ย ออกจากบ้านนัน้ ก็ยอ่ มต้องมีการ ตระเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมเสียก่อน ไม่วา่ จะเป็น การลับคมและการตรวจสภาพความพร้อมในการ ใช้งาน เพราะการลงพื้นที่แต่ละครั้งย่อมมีคุณค่า และมูลค่าตามมาด้วยเสมอ การเตรียมความพร้อมในที่นี้ หมายถึงการ ทบทวนชุดข้อมูลทีม่ อี ยูท่ ง้ั หมดร่วมกับทีมทำ�งาน ซึง่ ได้แก่ • เป้าหมายของโครงการ • เนือ้ หาและกิจกรรมทีเ่ ราได้ทำ�ไป • ข้อเรียนรูจ้ ากการถอดบทเรียน • แผนอนาคต พันธะสัญญา ปณิธาน เงือ่ นไข หรือข้อตกลง หลังจากจบกิจกรรมครัง้ ก่อน (ระหว่าง เรากับผูเ้ ข้าร่วม) • ทบทวนแผนการดำ�เนินงาน อย่างไรก็ตาม ในการลงพื้นที่ปฏิบัติจริงย่อม จะมีเหตุปจั จัยอืน่ ทีเ่ ราคาดไม่ถงึ เข้ามา และอาจเป็น สาเหตุทท่ี ำ�ให้คนปลูกต้นไม้ทดท้อได้ ซึง่ เป็นเรือ่ ง ทีเ่ คยเกิดขึน้ กับคนปลูกต้นไม้หลายๆ คนมาแล้ว ดังนัน้ นอกจากการตระเตรียมอุปกรณ์ตา่ งๆ ให้พร้อมแล้ว เรายังต้องเสริมพลังใจให้กับตัวเอง และทีมงานด้วย

ก่ อ นออกเดิ น ทาง ขอให้ ค นปลู ก ต้ น ไม้ ไ ด้ เ ปิ ดกลั บ ไปที ่ หน้ า ๒๒ (ภาคสอง: ลุ ย โคลน) อี ก ครั ้ ง แต่ ง กิ ่ ง เติ ม ปุ ๋ ย • ๑๒๕


๑. การแต่ ง กิ ่ ง (สนั บ สนุ น ช่ ว งปรั บ ตั ว ) หลังจากที่เพิ่งผ่านฤดูการเก็บเกี่ยว ต้นไม้ ก็ตอ้ งมีการปรับสภาพ เหมือนกับผูเ้ ข้าร่วมทีผ่ า่ น กระบวนการมาแล้ว ก็ต้องปรับความคิดหรือ ความเชือ่ ทีม่ มี าแต่เดิม เพือ่ เปิดรับความคิดใหม่ๆ เข้ามาสู่ชีวิตในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งต่างจาก สถานการณ์ภายในค่าย/การอบรม ทีม่ กี ารจัดสรร อย่างเหมาะสม ทัง้ นี้ รวมถึงการปรับพฤติกรรม หรือการกระทำ�ด้วย แต่ผเู้ ขียนก็ไม่ได้หมายความ ว่าต้องเปลีย่ นใหม่ทง้ั หมดเสียทีเดียว ช่วงเวลาเช่นนี้ ผูเ้ ข้าร่วมต้องการการสนับสนุนจากทีมคนปลูกต้นไม้อย่างยิง่ ซึง่ สิง่ ทีเ่ ราพึงกระทำ�ในช่วงนี้ คือ การติดตามสนับสนุน ซึง่ มีแนวทาง ดังนี้

๑.๑ ลิ ดกิ ่ ง (ตั ด ทอนวิ ถ ี ท ี ่ ส ุ ่ ม เสี ่ ย ง) หลังจากต้นไม้ได้ผา่ นฤดูกาลต่างๆ มาแล้ว กิง่ ไม้บางกิง่ อาจถูกด้วงชอนไช จนแห้งเหีย่ วคาต้น รอเวลาผุพงั ลงมา หากทิง้ ไว้นานเข้า อาจเป็นแหล่งสะสมของ ความชืน้ และเชือ้ รา ลุกลามไปจนอาจทำ�ให้ตน้ ไม้ตายได้ คนปลูกต้นไม้จงึ ควร ลิดกิง่ ทีม่ ลี กั ษณะดังกล่าวลง เช่นเดียวกับการทีค่ นปลูกต้นไม้ในหัวใจ จะต้องหมัน่ หาข้อมูลและสังเกต ผูเ้ ข้าร่วม ถึงวิถชี วี ติ ก่อนทีจ่ ะมาเข้าร่วมกระบวนการ ทัง้ ในแง่ของความคิด ความ เชือ่ ค่านิยม และพฤติกรรม หากมีประเด็นไหนทีค่ าดว่าจะสุม่ เสีย่ งต่อการเกิด ความทุกข์หรือความเสียหาย ก็ควรหาแนวทางในการตัดทอนวิถเี หล่านัน้ ลง อาจ จะทำ�ได้ทง้ั แบบฉับพลันทันทีและค่อยเป็นค่อยไป ขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยแวดล้อม การลิดกิง่ สามารถทำ�ได้หลายวิธี เช่น • การทบทวนปณิธานทีผ่ เู้ ข้าร่วมได้ตง้ั ไว้บวกกับการขอร้อง • ท้าทายให้มพี ลังในการเอาชนะความอ่อนแอภายใน หรือยับยัง้ ความอยาก • สร้างแรงจูงใจเชิงบวก ชืน ่ ชม ให้กำ�ลังใจในความพยายาม แม้จะยังทำ�ได้ไม่ดนี กั ๑๒๖ • แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย


• ชักชวนให้เข้าร่วมกิจกรรม หรือมอบหมายหน้าทีใ่ ห้รบั ผิดชอบ เพือ่ สร้างความ ภาคภูมใิ จ (คุณค่า) ในตัวเอง • สร้างชุมชนของกัลยาณมิตรหรือกลุม่ เพือ่ น ให้กำ�ลังใจหนุนเสริมซึง่ กันและกัน • และอืน่ ๆ ผูเ้ ข้าร่วมส่วนใหญ่ เมือ่ ออกจากกระบวนการกลับไปใช้ชวี ติ ตามปกติทบ่ี า้ น หรือโรงเรียนแล้ว ก็มกั กลับไปมีความคิดหรือพฤติกรรมตามความคุน้ เคยแบบ เดิมๆ โดยอาจมาจากปัจจัยภายในและแรงเร้าจากสภาพแวดล้อมภายนอกก็ได้ ยกตัวอย่าง น้องวัยรุน่ ชายคนหนึง่ ทีเ่ ดิมมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ ดืม่ เหล้า และ ทะเลาะวิวาทแทบทุกวัน ในวันสุดท้ายของกระบวนการ เขาตั้งปณิธานว่า พอ กลับไปสิง่ แรกทีจ่ ะทำ� คือ การขอโทษแม่ และจะพยายามลดการสูบบุหรีแ่ ละ ดืม่ เหล้าลง เขาเชือ่ ว่าจะสามารถเลิกได้ในทีส่ ดุ แต่จากการลงพืน้ ทีต่ ดิ ตาม หลังจากเวลาผ่านไปประมาณ ๒๐ วัน พบว่า น้องวัยรุน่ คนนีก้ ลับไปมีพฤติกรรมเหมือนเดิม ผูเ้ ขียนยังไม่ทนั ได้ทวงถามสัญญา ว่าเขาได้กลับไปขอโทษแม่หรือไม่ ก็เหมือนจะมีคำ�ตอบกลับมาให้ในทำ�นอง ทีว่ า่ “ยังไม่ทนั ทีผ่ มจะก้าวเข้าบ้านเลย แม่กต็ ะโกนด่ามาแล้ว” กับกรณีเช่นนี้ เราอาจจะต้องกลับมาทบทวนถึงขอบเขตการทำ�งานกัน อีกครัง้ ว่า ควรกว้างไกลไปจนถึงพืน้ ทีส่ ว่ นใดของผูเ้ ข้าร่วม ซึง่ เรือ่ งนี้ ผูเ้ ขียนจะ ได้พดู ถึงในหัวข้อต่อๆ ไป

๑.๒ แต่ ง ก้ า น (ตั ด แต่ ง วิ ถ ี ท ี ่ ด ี อ ยู ่ แ ล้ ว ) ต้นไม้ต้นหนึ่งมีกิ่งก้านสาขามากมาย ผู้เขียนเชื่อว่า ในจำ�นวนมากมาย นัน้ ย่อมจะมีกง่ิ ทีด่ อี ยูม่ ากกว่ากิง่ ทีผ่ พุ งั แต่เรามักจะไปสนใจกิง่ ทีผ่ พุ งั เน่าเสีย เสียเป็นส่วนใหญ่ ไม่คอ่ ยได้หนั มาดูแลกิง่ ทีด่ อี ยูแ่ ล้วสักเท่าไร ทัง้ ทีก่ ง่ิ ทีด่ เี หล่านี้ สามารถให้ดอกให้ผลได้ ในขณะทีเ่ ราตัดทอนกิง่ ทีเ่ ป็นเชือ้ ราลง เราก็ควรทีจ่ ะตัดแต่งกิง่ ทีด่ ี เพือ่ ให้ แข็งแรงสมบูรณ์ยง่ิ ขึน้ ด้วย เหมือนกับการลงพืน้ ทีต่ ดิ ตามสนับสนุนการปรับเปลีย่ น ของผูเ้ ข้าร่วม ด้วยวิธเี ดียวกับการลิดกิง่ คือ การเก็บข้อมูลและสังเกต เมือ่ เรา สามารถค้นพบความคิด ความเชือ่ ค่านิยม พฤติกรรมทีด่ แี ละสร้างสรรค์ ก็ควร ให้การสนับสนุนและส่งเสริม ซึง่ มีแนวทางคล้ายกับการลิดกิง่ นัน่ เอง คือ แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย • ๑๒๗


• การทบทวนปณิธานทีผ่ เู้ ข้าร่วมได้ตง้ั ไว้ พร้อมกับการยืนยันในสิง่ ทีท่ ำ� • ท้าทายให้มพี ลังพัฒนาตัวเองให้ดยี ง่ิ ขึน้ รวมถึงเผือ่ แผ่ไปยังผูอ้ น่ื ด้วย • สร้างแรงจูงใจเชิงบวก ชืน ่ ชม ให้กำ�ลังใจในความพยายาม แม้จะยังทำ�ได้ไม่ดนี กั • ชักชวนให้เข้าร่วมกิจกรรม หรือมอบหมายบทบาทหน้าทีใ่ ห้รบั ผิดชอบ เพือ่ สร้างความภาคภูมใิ จ(คุณค่า)ในตัวเอง • สร้างชุมชนของกัลยาณมิตรหรือกลุม่ เพือ่ น ให้กำ�ลังใจ หนุนเสริมซึง่ กันและกัน • และอืน่ ๆ ทั้งนี้ ภายในต้นไม้ต้นเดียว คนปลูกต้นไม้ย่อมต้องทำ�ทั้ง ๒ อย่าง ไม่มี ต้นไม้ตน้ ใดทีม่ แี ต่กง่ิ ทีเ่ น่าเสีย และไม่มตี น้ ไม้ตน้ ใดทีม่ แี ต่กง่ิ ทีส่ มบูรณ์แข็งแรง ทุกต้นต่างมีทั้งกิ่งที่ดีและกิ่งที่เสียปะปนกันไป

พี ่ เ ลี ้ ย งทุ ก เวที . ..?

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

กว่าต้นไม้จะเติบโต หยัดยืนด้วยตัวเอง มิตอ้ งประคบ ประหงมกันไปอีกนานเลยหรือ เราเองก็ตอ้ งทำ�อย่างอืน่ ด้วยนะ... เรื่องนี้ผู้เขียนเห็นด้วย เราไม่สามารถดูแลผู้เข้าร่วม ตลอดไปได้ ย่อมต้องมีวนั ทีพ่ วกเขาจะเติบโต เป็นไม้ใหญ่ แผ่รม่ เงาให้กบั ผูอ้ น่ื ต่อไป เพียงแต่กอ่ นทีจ่ ะถึงวันนัน้ เรา ต้องพร้อมทีจ่ ะดูแลประคับประคองให้เขาเติบโตขึน้ มาให้ได้ ด้วยความทุม่ เททัง้ แรงกายและแรงใจ (บางครัง้ รวมถึงทุนทรัพย์สว่ นตัว) เท่านัน้ จึงจะสามารถเป็นฟันเฟืองตัวแรก ในการทีจ่ ะไปผลักดันให้ฟนั เฟืองตัวอืน่ ๆ ในสังคม ร่วมขับเคลือ่ นการ เปลีย่ นแปลงสูส่ ขุ ภาวะทางปัญญาอย่างแท้จริงและยัง่ ยืนได้ ซึง่ ในการลงมือปฏิบตั กิ ารจริงๆ บ่อยครัง้ เราเองก็ตอ้ ง ทบทวน ยืนยัน ท้าทาย ชืน่ ชมและสร้างชุมชนกัลยาณมิตรด้วยเหมือนกัน

๑๒๘ • แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย


๒. เติ ม ปุ๋ย (เสริ ม พลั ง หลั ง เปลี่ ย นแปลง) หลังจากทีค่ นปลูกต้นไม้ได้ลดิ บางกิง่ ลงและแต่ง บางกิ่งให้โล่งปล่อยต้นไม้ให้พักฟื้นและปรับสภาพ จากนั้นก็ถึงเวลาที่จะได้ใส่ปุ๋ยบำ�รุงส่วนต่างๆ ซึ่งมี วิธกี ารทีแ่ ตกต่างหลากหลายตามลักษณะของปุย๋ และ ผลผลิตทีต่ อ้ งการ ในการให้ปยุ๋ ต้นไม้ในหัวใจของผูเ้ ข้าร่วมก็มหี ลาย วิธเี ช่นเดียวกันซึง่ คนปลูกต้นไม้สามารถเลือกใช้ได้ตาม ความเหมาะสม โดยไม่มลี ำ�ดับขัน้ หรือกฎเกณฑ์ตายตัว นอกจากนัน้ การลงพืน้ ทีต่ ดิ ตามครัง้ หนึง่ ๆ ยังสามารถ นำ�วิธกี ารต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันได้วธิ กี ารให้ปยุ๋ ในแบบต่างๆ ได้แก่

๒.๑ การหมั ก คลุ ม ดิ น (เสริ ม พลั ง ด้ ว ยการ แปรเปลี ่ ย นความทุ ก ข์ / ความผิ ด พลาด)

ในทางการเกษตร เราไม่ควรการนำ�กิง่ ไม้ ใบไม้ทเ่ี กิดเชือ้ รา (บางชนิด) มาหมักเป็นปุย๋ เนือ่ งจาก จะทำ�ให้เชือ้ ราแพร่กระจายทำ�ความเสียหาย มากยิง่ ขึน้ แต่การปลูกต้นไม้ในหัวใจ ไม่มขี อ้ ยกเว้นเช่นนัน้ เราสามารถ นำ�ความทุกข์หรือความผิดพลาดในอดีตมาหมักบ่ม เป็นปุย๋ แห่งประสบการณ์หม่ คลุมผืนดิน เพือ่ ให้ตน้ ไม้ได้ดดู ซึมไปสร้างความแข็งแรงต่อไป ในทางปฏิบตั ิ เราอาจเริม่ ต้นด้วยการสร้างพืน้ ทีป่ ลอดภัย ภายใต้บรรยากาศทีส่ บายๆ ผ่อนคลาย (เพราะประสบการณ์ความผิดพลาดในชีวติ ถือเป็นบาดแผลทีเ่ ราควรระมัดระวัง) จากนัน้ ถอดบทเรียนทีเ่ กิดจากการ เปลี่ยนแปลง แล้วนำ�บทเรียนที่เกิดขึ้นมาเชื่อมโยงกับแนวทางในการ เสริมพลัง (แบบเดียวกับการแต่งก้าน)

แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย • ๑๒๙


แบ่ ง ทุ ก ข์ ปั น สุ ข

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ค ิ ด

การล้อมวงสนทนาถึงปัญหาอุปสรรคทีแ่ ต่ละคน พบเจอ จากการพยายามปรับเปลีย่ นตัวเอง โดยเฉพาะ อุปสรรคทีเ่ กิดจากคนใกล้ตวั ถือเป็นการเสริมพลังอย่างหนึง่ เพราะเป็นการสร้างความรูส้ กึ ร่วม หรือประสบการณ์รว่ ม ทำ�ให้ รูส้ กึ ว่าเราไม่ได้โดดเดีย่ วหรือมีความทุกข์เพียงคนเดียว มีคนที่ ลำ�บากเหมือนกัน บางคนอาจจะแย่ยง่ิ กว่าเราด้วยซ้ำ�ไป เช่น บางคนรูส้ กึ น้อยใจทีพ่ อ่ แม่ไม่ชม เวลาทีต่ ง้ั ใจเรียนหรือช่วยทำ�งาน บ้าน (จากเดิมที่มักจะเที่ยวเตร่และไม่สนใจเข้าเรียน) เพื่อนคนหนึ่งจึง แลกเปลีย่ นกลับมาว่า พ่อแม่อาจจะรับรูแ้ ละชืน่ ชมอยูใ่ นใจ แต่อาจเขินทีจ่ ะ พูดออกมาก็ได้ และให้กำ�ลังใจว่า เพือ่ นโชคดีแล้วทีม่ พี อ่ แม่อยูด่ ว้ ย เพราะ ตัวเขาเองนัน้ ไม่มพี อ่ แม่ให้ทำ�ดีอวด อยูก่ บั ญาติทส่ี นใจแต่ลกู ของตัวเอง ไม่วา่ จะปรับเปลีย่ นตัวเองให้ดขี น้ึ แค่ไหน ญาติคนนัน้ ก็ไม่เคยสนใจเลย ในบรรยากาศการแบ่งปันเช่นนี้ สมาชิกภายในวงมักทำ�หน้าที่ ให้กำ�ลังใจซึง่ กันและกันไปโดยอัตโนมัติ หรือบางครัง้ ก็ชว่ ยหาทาง ออกให้ดว้ ย

๒.๒ การพ่ น ใบ (เสริ ม พลั ง ด้ ว ยการลงมื อ ทำ � /ยํ ้ า ประสบการณ์ ต รง) การให้ปยุ๋ ด้วยการฉีดพ่นเป็นละอองฝอยนี้ สารอาหารจะไปจับอยูท่ ส่ี ว่ นต่างๆ ของต้น โดยเฉพาะทีใ่ บ จากนัน้ ใบจะดูดซึมสารอาหารไปใช้งานผ่านทางปากใบ เป็นวิธที ง่ี า่ ย สะดวก และรวดเร็ว แต่มขี อ้ ควรใส่ใจอยูป่ ระการหนึง่ คือ คนปลูก ต้นไม้จะต้องดูทศิ ทางลมให้ดเี สียก่อน ก่อนทีจ่ ะฉีดพ่น การชักชวนผูเ้ ข้าร่วมให้มาทำ�กิจกรรมต่างๆ หลังสิน้ สุดกระบวนการหลัก ไปแล้ว ถือเป็นวิธที จ่ี ะสร้างและเสริมพลังในการปรับเปลีย่ นตัวเองได้ดี เพราะ จะเป็นการยํา้ ลงไปในความเชือ่ แบบใหม่ หรือพฤติกรรมแบบใหม่ได้อย่างเป็น รูปธรรมชัดเจน ทัง้ นี้ ในการออกแบบกิจกรรมช่วงแรกๆ ควรเป็นกิจกรรมทีม่ คี วาม สอดคล้องหรือสนับสนุนบทเรียนทีผ่ เู้ ข้าร่วมได้เคยผ่านมาแล้ว ๑๓๐ • แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย


ลักษณะของกิจกรรม ไม่จำ�เป็นต้องมีขน้ั ตอน มากมาย หรือใช้เวลาข้ามวันข้ามคืน อาจจะเป็น กิจกรรมเล็กๆ ทีส่ ามารถทำ�ร่วมกันได้ในวัน หยุดสุดสัปดาห์ เช่น การชวนผู้เข้าร่วมไป เป็นอาสาสมัครช่วยงานที่วัด ในวันพระที่ ตรงกับวันหยุด การปั่นจักรยานเก็บขยะ ข้างทาง หรือการไปลงแขกดำ�นา/เกีย่ วข้าว ให้กบั คนทีย่ ากจนหรือสุขภาพไม่ดี เป็นต้น ในการทำ�กิจกรรมร่วมกันแต่ละครั้ง ควรจะมีการถอดบทเรียนเพือ่ เสริมพลังด้วย และเครือ่ งมือในการถอดบทเรียน ที่ดีอย่างหนึ่งก็คือ วงสุนทรียสนทนาและการเขียนบันทึก ซึ่งควรจะเป็นสมุด บันทึกทีผ่ เู้ ข้าร่วมสามารถเก็บไว้กบั ตัวได้ และไม่จำ�เป็นต้องเขียนบันทึกอย่าง เดียว ผูเ้ ข้าร่วมสามารถวาดการ์ตนู ระบายสี หรือทำ�อย่างไรกับสมุดบันทึกของ ตัวเองก็ได้ อย่างไรก็ตาม เรื่องที่คนปลูกต้นไม้พึงใส่ใจเวลาที่ใช้เครื่องฉีดพ่น ก็เป็น เรือ่ งเดียวกับทีเ่ ราพึงใส่ใจด้วยเหมือนกัน นัน่ คือ การดูทศิ ทางลม การดูทศิ ทางลมในทีน่ ้ี หมายถึง การพิจารณาบริบทแวดล้อมผูเ้ ข้าร่วม ไม่ ว่าจะเป็นช่วงเวลา (ใกล้สอบ/เบียดบังเวลาช่วยงานทางบ้าน) ท่าที/ความเข้าใจ ของผูป้ กครอง ท่าทีของเพือ่ นๆ ทีไ่ ม่ได้มาร่วม สุขภาพของผูเ้ ข้าร่วม ระยะทาง ความเสีย่ ง/อันตรายในการเดินทางมาร่วมกิจกรรม เป็นต้น

๒.๓ การละลายที ่ โคนต้ น (เสริ ม พลั ง ด้ ว ยการสื ่ อ สารเชื ่ อ มโยง) ปุย๋ ทีใ่ ห้ทางโคนต้นลักษณะนี้ มักจะเป็นปุย๋ เม็ด หลังจากหว่านลงไปแล้วก็ ต้องคอยรดนํา้ เพือ่ ให้ปยุ๋ ค่อยๆ ละลายซึมลงไปในดิน ดังนัน้ คนปลูกต้นไม้จงึ ต้องหมัน่ รดนํ้าอย่างสมํ่าเสมอ ในปริมาณทีเ่ หมาะสม เช่นเดียวกับการใช้ชอ่ งทางการติดต่อสือ่ สารเพือ่ เชือ่ มโยงถึงกัน ทัง้ ในการ แลกเปลีย่ นข้อมูล ความคิดเห็น ให้กำ�ลังใจรวมถึงการนัดหมายเพือ่ ทำ�กิจกรรม ร่วมกัน ซึง่ ประโยชน์ทส่ี ำ�คัญของการสือ่ สารถึงกันเป็นระยะ ก็คอื การรับรูค้ วาม เป็นไปของกันและกัน สามารถให้กำ�ลังใจ ช่วยเหลือกันได้อย่างทันท่วงที แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย • ๑๓๑


วิ ธ ี ก ารหรื อ ช่ อ งทางในการติ ด ต่ อ สื ่ อ สาร มี ห ลายรู ป แบบ เช่ น • โทรศัพท์ (สะดวก รวดเร็ว ง่าย แต่มคี า่ ใช้จา่ ย) • จดหมาย/ไปรษณียบัตร (ราคาถูก แต่ชา้ ข้อความจำ�กัด) • จดหมายอิเลคทรอนิคหรืออีเมล์ (E-mail) (ราคา ไม่แพง รวดเร็ว ไม่จำ�กัดข้อความ/รูปภาพ แต่ถา้ ไม่มี อินเตอร์เน็ต ก็ไม่สะดวก) • ระบบชุมชนออนไลน์ (Social Network) เช่น ทวิสเตอร์ เอ็มเอสเอ็น แชต และเฟสบุค๊ (ราคาไม่แพง รวดเร็ว ไม่จำ�กัดข้อความ/รูปภาพ สามารถสือ่ สารแบบเรียลไทม์ แต่ถา้ ไม่มอี นิ เตอร์เน็ต ก็ไม่สะดวก) อย่างไรก็ตาม ช่องทางการสื่อสารข้างต้น ถือเป็นการสื่อสารแบบ เสมือนจริง คือ ไม่ใช่การพบปะพูดคุยกันแบบเจอตัวจริงๆ ซึง่ คนปลูกต้นไม้ ควรพิจารณาความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์จากช่องทางเหล่านีใ้ นการ เสริมพลังด้วย เพราะความสะดวกรวดเร็วมักเป็นดาบสองคมเสมอ

วิ ธ ี เ สริ ม พลั ง ที ่ เ ร็ ว และง่ า ยที ่ ส ุ ด คื อ ...?

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ท ำ �

การรดนํ้าใจ เพราะเพียงแค่ยกหูโทรศัพท์ ก็ สามารถรินรดนํ้าใจให้กนั และกันได้แล้ว แต่มขี อ้ แม้ ว่า อย่ายกบ่อยจนเกินไปนัก เพราะปริมาณนํา้ ทีม่ าก เกินไปอาจจะทำ�ให้รากเน่าได้

๑๓๒ • แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย


๒.๔ การดู ด ซึ ม ทางราก (เสริ ม พลั ง ด้ ว ยการสร้ า งสรรค์ บ ริ บ ทแวดล้ อ ม) กลไกหลักในการลำ�เลียงอาหารและ นํ้าของต้นไม้คือการดูดซึมผ่านขนราก และเยือ่ เจริญส่งมาตามระบบท่อลำ�เลียง ซึง่ ผูเ้ ขียนมองว่าเป็นระบบทีน่ า่ อัศจรรย์มาก การทีท่ อ่ ลำ�เลียงเส้นเล็กๆ สามารถนำ�นํา้ จากใต้ดนิ ต้านแรงโน้มถ่วงของโลกขึน้ มา เป็นระยะหลายเมตร นอกเหนือจากนํา้ ยังมี แร่ธาตุที่จำ�เป็นต่อการเจิรญเติบโตอีก หลายชนิด ด้วยความเข้าใจในธรรมชาติขอ้ นี้ คนปลูกต้นไม้จงึ เรียนรูท้ จ่ี ะนำ�ปุย๋ มาละลาย ในนํา้ แล้วรดลงไปรอบๆ โคนต้น ให้ปยุ๋ ได้ซมึ ลงดินในการติดตามเสริมพลังก็ เช่นกัน นอกเหนือจากตัวของผูเ้ ข้าร่วมแล้ว ผูค้ นทีอ่ ยูแ่ วดล้อมผูเ้ ข้าร่วม ก็นบั เป็น เป้าหมายหนึง่ ของเราด้วย ซึง่ ได้แก่ • คนในครอบครัว (พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพน่ี อ้ ง) • คนในโรงเรียน (ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ครู เพือ่ น(ร่วมชัน้ /ร่วมโรงเรียน) • คนในชุมชน (นับจากเพือ่ นบ้าน ขยายไปจนครอบคลุมทัง้ ชุมชน/หมูบ่ า้ น) • คนในสังคม (เริม่ นับจากคนในชุมชน ขยายออกไปจนจรดสังคมโลก) หลังจากทีเ่ ห็นผูค้ นทีจ่ ะเป็นกลุม่ เป้าหมายของเราแล้ว ผูเ้ ขียนเชือ่ ว่า หลาย คนอาจจะเกิดคำ�ถาม (กึง่ ลังเลสงสัย) ว่า “เราเป็นแค่คนตัวเล็กๆ จะทำ�อะไร ทีม่ ขี นาดใหญ่และซับซ้อนอย่างนัน้ ได้อย่างไร?” อาจจะไม่ใช่ผู้คนทั้งหมดที่เราจะต้องทำ�งานด้วย แต่การทำ�งานกับผู้คน กลุม่ เล็กๆ ย่อมส่งผลถึงคนกลุม่ ใหญ่ไม่ทางใดก็ทางหนึง่ ดังนัน้ คนทีเ่ ราจะทำ�งาน ด้วย (ในทีน่ )้ี ก็คอื คนกลุม่ ที่ ๑ และ ๒ และอาจขยายไปถึงกลุม่ ที่ ๓ ก็ได้

แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย • ๑๓๓


คนในครอบครั ว คนในครอบครัวถือเป็นคนทีใ่ กล้ชดิ และมีผลกระทบต่อการ เปลีย่ นแปลงของผูเ้ ข้าร่วมมากทีส่ ดุ และเป็นกลุม่ ทีท่ ำ�งานด้วย ยากทีส่ ดุ ! ซึง่ หากจะให้เขียนแนวทางการทำ�งานร่วมกับคนใน ครอบครัวของผูเ้ ข้าร่วมแล้ว สามารถแยกออกเป็นหนังสือเล่มใหม่ได้อกี เล่มเลย ทีเดียว ดังนัน้ ผูเ้ ขียนจึงขอสรุปเป็นแนวทางในการปฏิบตั สิ น้ั ๆ ดังต่อไปนี้ • จุดเริม่ ต้นทีด่ ี คือ การสร้างความคุน้ เคย/พืน้ ทีไ่ ว้วางใจ สร้างความเชือ่ ใจ ทีอ่ ยูบ่ นฐานเดียวกัน คือ ความปรารถนาดีทจ่ี ะเห็นผูเ้ ข้าร่วมทีเ่ ป็นลูกหลานของ เขาเองเติบโตเป็นคนดี มีความสุข รูจ้ กั คิด มีภมู คิ มุ้ กันชีวติ (หลักการคล้ายคลึง กับการสร้างความไว้วางใจทัว่ ๆ ไป) • แสวงหาข้อมูล เกีย่ วกับทัศนคติ ความคิด หรือความกังวลใจ สถานการณ์ ภายในครอบครัว ด้วยการรับฟังด้วยใจอย่างใคร่ครวญ • แสวงหาแนวทางในการสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงของผู้เข้าร่วมร่วมกัน ซึง่ แต่ละครอบครัวก็จะมีแนวทางทีแ่ ตกต่างกันออกไป • ติดตามเสริมพลังทัง้ ระดับครอบครัวและตัวผูเ้ ข้าร่วม • เชิญชวนผูป้ กครองเข้าร่วมกิจกรรม เพือ่ ให้เห็นถึงศักยภาพ/ความสามารถ ของลูกหลาน และเพือ่ ให้เกิดความไว้วางใจ ทัง้ นี้ วิธที จ่ี ะได้รบั ความร่วมมือจาก ผูป้ กครองได้ดขี น้ึ คือการประสานงานผ่านโรงเรียน

คนในโรงเรี ย น บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรงเรียนและผู้เข้าร่วมหลักๆ ได้แก่ ครูและเพื่อน ทั้งเพื่อนที่ร่วมชั้นเรียนและร่วมโรงเรียน ซึง่ เป็นกลุม่ บุคคลทีผ่ เู้ ข้าร่วมใช้เวลาส่วนใหญ่ดว้ ย ดังนัน้ จึง ถือว่าเป็นกลุม่ ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการเปลีย่ นแปลงเป็นอย่างมาก (ต่างจากผลกระทบทีค่ รอบครัวมีตอ่ ผูเ้ ข้าร่วม) การทำ�งานหรือการขอความร่วมมือจากครู มักเป็นการทำ�งานผ่านระบบ (ราชการ) ซึง่ ถือเป็นทัง้ โอกาสและอุปสรรค เพราะบางโรงเรียนก็ให้ความร่วมมือ ๑๓๔ • แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย


เป็นอย่างดี แต่กบั บางโรงเรียนก็ไม่รบั ความร่วมมือใดๆ เลยก็มี ซึง่ มาจากหลาย เหตุปจั จัย เช่น • การเห็นความสำ�คัญและให้การสนับสนุนของผูบ้ ริหารสถานศึกษา ถือ เป็นตัวเร่งปฏิกริ ยิ าทีด่ ี เนือ่ งจาก จะทำ�ให้ครูให้ความสำ�คัญตามมาด้วย (แต่ พบเป็นส่วนน้อย) • ครูมีความกระตือรือร้นในการสนับสนุน (ส่วนใหญ่มักทำ�กิจกรรมเพื่อ สังคมนอกเวลาราชการ-พบไม่มากนัก) แนวทางในการติดตามเสริมพลังร่วมกับครูและเพือ่ นของผูเ้ ข้าร่วม มีดงั นี้ • การทำ�ความเข้าใจระบบการทำ�งานของครูและโรงเรียน (ระบบราชการ) โดยเฉพาะการประสานงานเพือ่ ขอความร่วมมือในช่วงแรกๆ จะช่วยให้เราประมาณการได้วา่ ครูคนไหน โรงเรียนอะไร ทีใ่ ห้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทัง้ นี้ เรา อาจจะถามข้อมูลจากตัวผูเ้ ข้าร่วมโดยตรงก็ได้วา่ หากจะติดต่อประสานงานกับ ทางโรงเรียนจะสะดวกไหม และควรติดต่อผ่านใคร (หรืออาจจะเป็นครูคนทีพ่ า ผูเ้ ข้าร่วมมาร่วมกิจกรรมในครัง้ แรก) • เราสามารถเชือ่ มโยงแนวทางการเสริมพลังผูเ้ ข้าร่วม เข้ากับหลักสูตรการ เรียนการสอน/กิจกรรมภายในโรงเรียนได้ ด้วยหลักคิดทีว่ า่ ทุกฝ่ายต่างได้รบั ประโยชน์รว่ มกัน • ทำ�ความเข้าใจสถานการณ์การทำ�งานของครู เช่น ภาระการสอน งาน อืน่ ๆ ในหน้าที่ เพือ่ หาวิธใี นการติดต่อประสานงานให้สอดคล้องกับแต่ละคน • ในการประสานงานกับเพื่อนๆ ของผู้เข้าร่วม ควรเริ่มจากเพื่อนที่สนิท ภายในกลุม่ เดียวกัน แล้วชักชวนให้ไปร่วมกิจกรรมต่างๆ ด้วยกัน • ในการประสานงานเพื่อขอความร่วมมือในครั้งแรก เราอาจใส่เงื่อนไข การเข้าร่วมกิจกรรม โดยรวมเรือ่ งการให้ความร่วมมือในการทำ�กิจกรรมเพือ่ เสริมพลัง (กิจกรรมต่อเนือ่ ง) เข้าไปด้วยก็ได้

แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย • ๑๓๕


ครู เ ป็ น เพื ่ อ น กั บ เพื ่ อ นเป็ น ครู ครู เ ป็ น เพื ่ อ น

ส้อมพรวน ชวนคิด

ในการติดตามการดำ�เนินโครงการของครูภาพ โรงเรียน ห้องสอนศึกษา, ครูสุมาลี โรงเรียนเสลภูมิวิทยา, ครูพจน์ โรงเรียนเรียนรูก้ ายใจ และครูอกี มากมายทีเ่ อ่ยไม่หมดในทีน่ ้ี ผูเ้ ขียนกลับมาด้วยความอิม่ เอิบใจทุกครัง้ ไม่ใช่จากคำ�สัง่ สอน ของพวกท่าน ตรงกันข้ามพวกท่านแทบจะไม่ได้เอ่ยปากสัง่ สอน ผูเ้ ขียนเลย พวกท่านสอนจากการกระทำ� จากสิง่ ทีท่ ำ�เพือ่ ลูกศิษย์ของท่าน ครูคนหนึง่ เปิดบ้านให้ลกู ศิษย์ทบ่ี า้ นอยูไ่ กลได้มาพัก ดูแลทัง้ การ อยูก่ ารกินและการเล่าเรียน ส่วนอีกคน (กับสามีทเ่ี ป็นครูดว้ ยกัน) ขับรถ ไปรับไปส่งเด็กๆ ดึกๆ ดืน่ ๆ เวลาทีต่ อ้ งมาทำ�กิจกรรม หรือแม้กระทัง่ เวลาเดือดร้อน ต้องขึน้ โรงขึน้ ศาล ก็มาขอความช่วยเหลือจากครู ดึกดืน่ แค่ไหนครูกช็ ว่ ย ไกลแค่ไหนครูกไ็ ป และอีกคนหนึง่ มักหาเวลา (ทีไ่ ม่ ค่อยมี) มาจัดกระบวนการส่งเสริม ผลักดันเด็กๆ รุน่ แล้วรุน่ เล่า ให้ได้ เรียนรู้ โดยเฉพาะการเท่าทันสภาวะภายใน ทีแ่ ม้จะไม่มงี บประมาณ ครู ก็พยายามสรรหามาจนได้การทำ�เช่นนี้ ไม่ได้ทำ�ให้เงินเดือนของครูเพิม่ ขึน้ เลย บางทีอาจจะลดลงด้วยซ้ำ� แต่แน่นอนว่า ความสุขของครูเพิม่ ขึน้

เพื ่ อ นเป็ น ครู

ในการทำ�กิจกรรมร่วมกับน้องเยาวชนที่คุมประพฤติหรือต้องโทษ สาเหตุสำ�คัญทีท่ ำ�ให้ตอ้ งโทษ คือ การทำ�ตามเพือ่ น หรือทำ�เพือ่ เพือ่ น น้องวัยรุน่ หญิงคนหนึง่ เล่าให้ฟงั ว่า ความผิดพลาดอย่างแรกของเธอ คือ การเข้าไปเกีย่ วข้องกับยาเสพติด ความผิดพลาดอย่างทีส่ อง คือ การคบ เพือ่ นคนนี้ และความผิดพลาดทีส่ ำ�คัญทีส่ ดุ คือ การช่วยเหลือเพือ่ นคนนี้ การแบกรับความผิดไว้แต่เพียงผูเ้ ดียว ทำ�ให้เธอรูซ้ ง้ึ ถึงคำ�ว่า ”เพือ่ น” เพราะคนทีเ่ ธอเรียกว่า “เพือ่ น” นัน้ กลับบอกกับใครต่อใคร ว่าไม่รจู้ กั เธอมาก่อน

๑๓๖ • แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย


คนในชุ ม ชน นอกเหนือจากบ้านและโรงเรียนแล้ว ยังมีเพือ่ นบ้านทีอ่ ยู่ ไม่ใกล้ไม่ไกลจากผูเ้ ข้าร่วม แม้จะไม่ได้มอี ทิ ธิพลต่อการเปลีย่ น แปลงของผูเ้ ข้าร่วมโดยตรง แต่ในทางอ้อมย่อมส่งผลไม่มาก ก็นอ้ ย จะยกเว้นก็แต่เพือ่ นบ้านในกรุงเทพมหานครเท่านัน้ ในต่างจังหวัด มีผปู้ กครองไม่นอ้ ยทีเ่ พือ่ นบ้านหรือคนในชุมชน มีอทิ ธิพล ต่อบรรยากาศภายในครอบครัวมากกว่าคนในครอบครัวเสียเอง ไล่ไปตั้งแต่ เรือ่ งเลีย้ งหมาเลีย้ งแมว จนกระทัง่ ถึงอนาคตของลูก นอกเหนือจากคนในชุมชนแล้ว นิยามของชุมชนยังหมายรวมถึงองค์กรที่ ทำ�หน้าทีบ่ ริหารจัดการภายในชุมชนนัน้ ๆ ด้วย ไม่วา่ จะเป็น องค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ ระดับต่างๆ เช่น หมูบ่ า้ น อบต. เทศบาล กระทัง่ ระบบอาวุโสหรือจารีต ประเพณี ก็ถอื ว่าเป็นการปกครองทีไ่ ด้รบั การยอมรับจากคนในชุมชนอีกรูปแบบหนึง่ ดังนัน้ ถ้าหากเราสามารถหาช่องทางทำ�งานร่วมกับกลไกการปกครองของ ชุมชนดังกล่าวได้ ก็จะเป็นการเสริมพลังทีน่ ำ�ไปสูค่ วามยัง่ ยืนในอนาคตได้ เพราะ นัน่ หมายถึงการส่งไม้ตอ่ ให้กบั คนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ที่ ในการดูแลและสร้างเสริมความ มัน่ คงในการเปลีย่ นแปลงตัวเองของผูเ้ ข้าร่วม ซึง่ ถือได้วา่ เป็นบุคคลทีม่ คี วาม พร้อมในหลายด้าน ทัง้ งบประมาณ สถานที่ เครือ่ งไม้เครือ่ งมือ รวมถึงอำ�นาจ ในการขอความร่วมมือจากบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง อย่างไรก็ตาม การติดตามเสริมพลังทีเ่ กีย่ วข้องกับชุมชนนี้ ถือได้วา่ เป็นการ ทำ�งานในระดับทีใ่ หญ่และมีความซับซ้อนมากขึน้ ซึง่ อาจแยกออกเป็นอีกส่วน หนึง่ ต่างหากเลยก็ได้ แต่การทีผ่ เู้ ขียนนำ�มาบรรจุไว้ในหัวข้อนี้ ก็เพือ่ จะให้เห็น ถึงบริบทที่อยู่แวดล้อมผู้เข้าร่วมเท่านั้น หากคนปลูกต้นไม้มีความสนใจที่จะ ทำ�งานร่วมกับคนหรือองค์กรในชุมชน ก็ต้องทำ�การศึกษารายละเอียดต่างๆ ให้เข้าใจชัดเจนเสียก่อน ซึง่ ผูเ้ ขียนจะขอไม่กล่าวถึงในทีน่ ้ี

แต่ ง กิ่ง เติ ม ปุ๋ ย • ๑๓๗


๓ ภาคสาม

แลคลั ง

๑๓๘ • ภาคสาม แลคลั ง


หากจะประเมินแสนยานุภาพของกองทัพ ให้ดทู ก่ี นุ ซือ อย่าดู ทีจ่ ำ�นวนพลทหารหรืออาวุธ หากจะประเมินความสามารถของคนปลูกต้นไม้ ให้ดทู ต่ี น้ ไม้ กับของเหลือใช้ในสวน อย่าดูทห่ี อ้ งเก็บอุปกรณ์ และ...หากจะประเมินความสามารถของกระบวนกร ให้ดูที่ ความเนียนและความนิง่ อย่าดูทเ่ี ครือ่ งมือ ทีก่ ล่าวเช่นนี้ ผูเ้ ขียนไม่ได้หมายความว่า เครือ่ งมือไม่สำ�คัญ แต่เป็นเพราะผูเ้ ขียนให้ความสำ�คัญกับการใช้เครือ่ งมือมากกว่า หากยังจำ�ได้ ผูเ้ ขียนได้เคยหยิบยกภาษิตทีป่ ราชญ์โบราณท่าน หนึง่ ได้กล่าวไว้วา่ ซามูไรทีไ่ ร้ดาบ ก็เหมือนกับซามูไรทีม่ ดี าบ เพียงแต่ไม่มดี าบเท่านัน้ คนปลูกต้นไม้หรือกระบวนกร ไม่วา่ จะอยูใ่ นสถานการณ์ใด ก็ตาม ย่อมปรับเปลี่ยนพลิกแพลงสิ่งที่อยู่รอบตัว ให้มาเป็น เครือ่ งมือทีม่ ปี ระสิทธิภาพได้เสมอ เป็นสภาวะทีล่ ว่ งพ้นจากการ ยึดติดกับรูปแบบ หรือเครือ่ งมือเพียงไม่กอ่ี ย่าง แต่กว่าจะเป็น ซามูไรผูไ้ ร้ดาบได้ ก็ยอ่ มต้องผ่านการเป็นซามูไรผูม้ ดี าบเสียก่อน เนือ้ หาในภาคทีส่ ามนี้ เป็นการรวบรวมเรือ่ งราวการปลูกต้นไม้ ของเพือ่ นบ้าน และเครือ่ งไม้เครือ่ งมือบางส่วน เพือ่ ให้ผอู้ า่ น ได้หยิบฉวยไปใช้ในการฝึกฝนตนเอง จนกว่าจะถึงวันที่ไม่ จำ�เป็นต้องมีดาบและคูม่ อื ฯเล่มนี!้

ภาคสาม แลคลั ง • ๑๓๙


บทที​ี่​่

ชมสวนเพื่อนบ้าน (ตั ว อย่ า งกรณี ศ ึ ก ษา)


ชมสวนเพื่อ นบ้ า น

( ตั ว อย่ า งกรณี ศ ึ ก ษา)

แผนที ่ ค วามคิ ด

การเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่น ถือว่าเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการ แสวงหาความรู้ เพราะเราไม่สามารถลงมือทำ�และถอดบทเรียนเองได้ทกุ เรือ่ ง เหมือนอย่างทีน่ างอินทิรา คานธี อดีตนายกรัฐมนตรีอนิ เดีย ได้เคยกล่าวไว้วา่ ถ้าคนสองคนมีเงินคนละ ๑ รูปี เมือ่ นำ�เงินมาแลกกัน เขาก็จะมีเงินคนละ ๑ รูปกี ลับบ้าน แต่หากคน ๒ คน มีความรูค้ นละเรือ่ ง และนำ�ความรูม้ าแลกกัน เมือ่ กลับบ้านเขาทัง้ สองจะมีความรูค้ นละ ๒ เรือ่ งกลับไป บทที่ ๘ นี้ ผูเ้ ขียนได้นำ�เรือ่ งราวทีน่ า่ สนใจของเพือ่ นๆ นักปลูกต้นไม้กลาง ใจมาแบ่งปัน หากไม่เหนือ่ ยล้าไปเสียก่อน ผูอ้ า่ นก็จะมีเรือ่ งราวหรือบทเรียนที่ น่าสนใจกลับบ้านคนละ ๗ เรือ่ งด้วยกัน (บวกเรือ่ งของเราอีก ๑) ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น • ๑๔๑


บทเรี ย นน่ า สนใจ ทัง้ นี้ เรือ่ งทีผ่ เู้ ขียนหยิบยกขึน้ มานำ�เสนอ ไม่ได้มหี ลักเกณฑ์ ในการคัดเลือกใดๆ ทัง้ สิน้ ไม่วา่ จะเป็นกระบวนการทีส่ มบูรณ์แบบ ผลสัมฤทธิท์ บ่ี รรลุเป้าหมาย หรือแม้แต่วธิ ปี ฏิบตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) ผูเ้ ขียนมีเพียงเหตุผลเดียว คือ การมีแง่มมุ ทีน่ า่ สนใจ ซึ่งความจริงแล้วทุกโครงการต่างก็มีแง่มุมนี้ด้วยกันทั้งนั้น แต่ ผูเ้ ขียนไม่สามารถนำ�เรือ่ งทัง้ หมดมาใส่ไว้ในพืน้ ทีอ่ นั จำ�กัดนีไ้ ด้ จึงขอหยิบยกมาเพียง ๖ เรือ่ งเท่านัน้ ซึง่ ได้แก่ ๑. โครงการ ศิลปะติดดิน ศิลปินหลังห้อง ๒. โครงการ ค่ายชีวติ ไตรสิกขา เด็กปัญญาทำ�ได้ ๓. โครงการ เพือ่ นต่างวัย ๔. โครงการ ค่ายเยาวชนกับสิทธิมนุษยชน ๕. โครงการ เยาวชนค้นธรรม นำ�ทางสูค่ วามสุขด้วยปัญญา ๖. โครงการ ศรัทธาแห่งสายนํ้า (โครงการย่อยที่ ๓ ฟืน้ ฟูชวี ติ จิตวิญญาณ ความศรัทธาต่อสายนํ้า อ.ฮอด จ.เชียงใหม่)

เกมหาขุ ม ทรั พ ย์ !

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ท ำ �

เพือ่ ให้การเรียนรูบ้ ทเรียนของเพือ่ นนักปลูกต้นไม้ เกิด มรรคผลมากยิง่ ขึน้ ผูเ้ ขียนขอเชิญชวนทุกท่านมาช่วยกันหา ขุมทรัพย์ทเ่ ี รียกว่า สิง่ ทีน่ า่ สนใจ (Key Message) ในแต่ละเรือ่ ง/ โครงการ ซึง่ อาจจะมีมากกว่า ๑ เรือ่ งก็ได้ โดยจะมีพน้ื ทีว่ า่ ง ท้ายเรือ่ ง ให้ผอู้ า่ นได้บนั ทึกสิง่ ทีน่ า่ สนใจนัน้ ด้วยตัวเอง กติกามีเพียง ๑ ข้อ คือ ห้ามลอกคำ�ตอบของคนอืน่ เพราะไม่มี คำ�ตอบใดถูกหรือผิด มีแต่คำ�ตอบทีต่ า่ งกันเท่านัน้ หรือถ้าหาไม่เจอ จะสร้างขุมทรัพย์อนั ใหม่เลย ก็ไม่ถอื ว่าผิดกติกา หากผูอ้ า่ นเตรียมปากกาพร้อมแล้ว เราไปเริม่ เรือ่ งทีห่ นึง่ กันเลย! ๑๔๒ • ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น


โครงการศิ ล ปะติ ด ดิ น ศิ ล ปิ น หลั ง ห้ อ ง

ดำ � เนิ น การโดย กลุ ่ ม กิ ่ ง ก้ า นใบ จ.อุ ต รดิ ต ถ์ (สนั บ สนุ น ช่ ว งปรั บ ตั ว )

เพียงเห็นชื่อโครงการก็คาดเดาได้แล้วว่า กระบวนการหลักต้องเป็นเรื่อง เกีย่ วกับศิลปะอย่างแน่นอน และเพียงแค่เห็นคำ�ว่า “ศิลปะ” หลายคนอาจจะตา เป็นประกาย ในขณะทีบ่ างคนกลับรูส้ กึ หนาวๆ ร้อนๆ เพราะไม่คอ่ ยถูกโรคกับ การขีดๆ เขียนๆ สักเท่าไร ยิง่ กับเยาวชนกลุม่ เสีย่ ง หรือในทีน่ เ้ี ราเรียกว่า “เด็กหลังห้อง” นัน้ ยิง่ มอง ไม่เห็นจุดที่จะมาบรรจบกันได้เลย แต่อย่างไรก็ตาม เรื่องนี้ก็ได้เกิดขึ้นแล้ว ภายใต้ความมุง่ หวังว่ากระบวนการเรียนรูผ้ า่ นศิลปะนีจ้ ะช่วยลดพฤติกรรมเสีย่ ง และทำ�ให้ผเู้ ข้าร่วมมีแนวทางในการใช้ชวี ติ อย่างมีคณ ุ ค่าได้ เครือ่ งมือทางศิลปะทีท่ มี คนปลูกต้นไม้เลือกใช้ มีความแตกต่างหลากหลาย มาก ไม่วา่ จะเป็น การปัน้ การวาด การเขียน การแสดงละคร ดนตรี หรืออะไร ทีน่ อกเหนือจากนีก้ ไ็ ด้ ตามแต่ความสนใจของผูเ้ ข้าร่วม ไม่มกี ารจำ�กัดรูปแบบ และทีส่ ำ�คัญคือ ไม่ตอ้ งสวยงาม นอกเหนือจากเครือ่ งมือทีห่ ลากหลายและหลักการทีล่ ะลายความเกร็งแล้ว ทีมคนปลูกต้นไม้ยงั ได้รอ้ ยเรียงเนือ้ หาไว้สอดคล้องกับวิธกี ารอีกด้วย ตัวอย่างเช่น ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น • ๑๔๓


การจั ด ค่ า ยครั ้ ง ที ่ ๑ ค่ า ยศิ ล ปะ สะท้ อ นตั ว ตน ค้ น พบปั ญ ญา ประกอบด้ ว ย...

• กิจกรรมเตรียมความพร้อม เช่น การ วาดภาพหน้าเพือ่ นด้วยเส้นเดียว การ จัดองค์ประกอบภาพด้วยการต่อตัว • กิจกรรมทบทวนตัวเอง เช่น การวาด แผนทีช่ วี ติ การสร้างสรรค์งานจากวัสดุ ธรรมชาติ (สำ�รวจตัวเองและความ สัมพันธ์กบั กลุม่ /สังคม) ๑๔๔ • ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น

• เรียนรูน ้ ยิ ามของความสุข ผ่านการ แสดงละคร หัวข้อ “ความสุขคืออะไร?” • กิจกรรมปัน้ ฝัน เพือ่ ค้นหาความใฝ่ฝนั ที่อยู่ในใจ เพื่อการมองเห็น/มองหา เป้าหมายของชีวติ • กิจกรรมภาพสะท้อนการอยูร่ ว่ มกัน ในสังคม เป็นการเขียนถ่ายทอดแง่คดิ การใช้ชีวิตในอนาคตด้วยวิธีใดก็ได้ เช่น เรือ่ งเล่า นิทาน กลอน เพลง ฯลฯ


ทัง้ นี้ ในระหว่างจัดกระบวนการ ทีมคนปลูกต้นไม้ได้วางกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับ พลังกลุม่ และสันทนาการคัน่ เป็นระยะๆ โดยลักษณะของกิจกรรมมีความสอด คล้อง หรือส่งไม้ตอ่ ให้กบั กิจกรรมทางศิลปะ ซึง่ เป็นกิจกรรมหลักไปในตัวด้วย

การจั ดกิ จ กรรมครั ้ ง ที ่ ๒ , ๓, ๔... ส่วนการจัดค่ายครัง้ ๒ เป็นการนำ� บทเรียนและทักษะต่างๆ ไปต่อยอด ทางความคิดและให้ผเู้ ข้าร่วมเรียนรู้ ถึงการแบ่งปันไปด้วย โดยการให้ผู้ เข้าร่วม ช่วยกันคิดออกแบบการจัด กิจกรรมวันเด็กให้กบั น้องๆ ทีอ่ ยูโ่ รงเรียน ในอ.ลับแล ซึง่ ไกลออกไปอีก กิจกรรมครัง้ ที่ ๓ เป็นการจัดนิทรรศการ (ปล่อยของ-เพือ่ ให้เกิดความภูมใิ จ) กิจกรรมครัง้ ที่ ๔ เป็นการถอดบทเรียนทัง้ ในระดับผูเ้ ข้าร่วม และคนทำ�งาน ทัง้ นี้ ข้อสังเกตทีส่ ำ�คัญอย่างหนึง่ ทีผ่ เู้ ขียนเห็นว่าส่งผลต่อการให้ความร่วม มือในการทำ�งานศิลปะของผู้เข้าร่วมเป็นอย่างยิ่ง คือ การสัมผัสได้ถึงความ ปลอดภัยในพืน้ ทีแ่ ห่งนี้ ซึง่ ความรูส้ กึ เช่นนีม้ ที ม่ี าจากหลายส่วนประกอบกัน ไม่วา่ จะเป็นท่าทางของคนปลูกต้นไม้ (ทีค่ อ่ นข้างเป็นศิลปินและเป็นกันเอง) ความ สามารถเฉพาะตัว (สร้างความชืน่ ชมและยอมรับ) ความยืดหยุน่ ผ่อนคลาย และ ทีส่ ำ�คัญ คือ การเปิดกว้างทางความคิด โดยไม่มกี ารตัดสินถูกผิดนัน่ เอง

บั น ทึ ก ลายแทงขุ ม ทรั พ ย์

ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น • ๑๔๕


โครงการค่ า ยชี ว ิ ต ไตรสิ ก ขา เด็ ก ปั ญ ญาทำ � ได้

ดำ � เนิ น การโดย ครู โ ต้ ง พรมกุ ล และคณะ ร.ร.ฉะเชิ ง เทราปั ญ ญานุ ก ู ล จ.ฉะเชิ ง เทรา

การทีค่ นปลูกต้นไม้ของโครงการนีเ้ ป็น ครู อาจจะไม่ใช่เรือ่ งแปลกทีค่ รูจะ มาจัดกระบวนการให้กบั ศิษย์ แต่ศษิ ย์ในทีน่ ต้ี า่ งจากศิษย์ทว่ั ๆ ไปตรงทีว่ า่ พวก เขาส่วนใหญ่มีไอคิวอยู่ระหว่าง ๕๐-๗๐ ในขณะที่คนปกติจะมีไอคิวระหว่าง ๙๐-๑๑๐ นอกจากนัน้ ยังมี เด็กออทิสติกและเด็กดาว์นซินโดรมด้วย ซึง่ ในทีน่ ้ี เราจะเรียกพวกเขาว่า เด็กปัญญา องค์ประกอบหลักของโครงการ คือ ผูเ้ ข้าร่วมทีเ่ ป็นเด็กปัญญา กับ กระบวนกร ทีเ่ ป็นพระ! ปกติเพียงแค่ให้พวกเขานัง่ นิง่ ๆ สัก ๒ - ๓ นาทีกถ็ อื ว่าเป็นเรือ่ งยากอยูแ่ ล้ว แล้วการทีพ่ ระกระบวนกรนำ�เนือ้ หาธรรมะ (หลักไตรสิกขา) มาจัดกระบวนการ ให้กบั ผูเ้ ข้าร่วมทีพ่ เิ ศษอย่างนี้ จึงเป็นเรือ่ งทีไ่ ม่ธรรมดาอย่างแน่นอน หลักการสำ�คัญทีถ่ อื ได้วา่ เป็นหัวใจในการจัดกระบวนการครัง้ นี้ คือ ความ เข้าใจธรรมชาติการเรียนรูข้ องผูเ้ ข้าร่วม ซึง่ ได้แก่ การเรียนซ้ำ�ไปซ้ำ�มา (Repetition) เพือ่ ให้เกิดเป็นทักษะ ภายใต้บรรยากาศทีผ่ อ่ นคลาย (Relaxation) ไม่ ตึงเครียด แต่ตอ้ งเร้าความอยากรูอ้ ยากเห็น นอกจากนัน้ เรือ่ งทีเ่ รียนต้องสอด คล้องกับชีวติ ประจำ�วัน และนำ�ไปใช้ได้ (Routine) ๑๔๖ • ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น


จากหลักการข้างต้น ผนวกกับเนือ้ หาธรรมะแบบลงมือปฏิบตั ิ เช่น การเดิน จงกรม การสวดมนต์หรือพระคาถาประกอบท่าทาง การทำ�ท่าโยคะหรือการ เคลือ่ นไหวอย่างมีสติ และการบำ�เพ็ญประโยชน์ ซึง่ ทีมคนปลูกต้นไม้ได้มกี าร วางโครงสร้างการจัดกระบวนการไว้ ๕ ช่วงหลักๆ ได้แก่

ช่ ว งที ่ ๑ การเตรียมความพร้อม เป็นการทำ�ความรูจ้ กั คุน้ เคย ระหว่างผูเ้ ข้าร่วม

พระ กระบวนกร ครูผดู้ แู ล เช่น การแนะนำ�ตัว การสนทนากลุม่ ย่อย เกมตามหาหัวใจ (ต่อจิก๊ ซอว์รปู หัวใจ) เป็นต้น ช่ ว งที ่ ๒ การฝึกสติในชีวติ ประจำ�วัน เป็นกิจกรรมฝึกสติอย่างง่ายประกอบกับ การบรรยายธรรมทีก่ ระชับและเข้าใจง่าย เช่น การสวดมนต์ประกอบ ท่าทาง การเคลือ่ นไหวอย่างมีสติ การบรรยายธรรมเกีย่ วกับมารยาท คนดี นิทานชาดก ช่ ว งที ่ ๓ การสร้างความสัมพันธ์ทเ่ี อือ้ อาทร เป็นกิจกรรมทีส่ ะท้อนความเชือ่ ม โยงระหว่างผูเ้ ข้าร่วมกับคนทีใ่ กล้ชดิ ในชีวติ ประจำ�วัน เช่น พ่อแม่ เพือ่ น ครู โดยใช้คำ�ถามเกี่ยวกับชีวิตประจำ�วัน ให้ช่วยกันคิดในกลุ่มย่อย และออกมาเล่าให้เพื่อนๆ กลุ่มอื่นฟัง หรือสื่อเกี่ยวกับความสัมพันธ์ แม่-ลูก แล้วให้ผเู้ ข้าร่วมออกมาพูดสารภาพสิง่ ทีไ่ ม่ดที ท่ี ำ�กับแม่ ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น • ๑๔๗


ช่ ว งที ่ ๔ สร้างความเคยชินทีด่ ี เป็นการสร้างพฤติกรรมหรือการกระทำ�ทีด่ ี ผ่าน

การลงมือปฏิบตั ิ หรือการบำ�เพ็ญประโยชน์ เช่น การทำ�ความสะอาด ด้วยการล้างห้องนํา้ ขัดล้างพืน้ โบสถ์ กวาดถนน เก็บขยะ การช่วยเหลือ ผูส้ งู อายุดว้ ยการประคองเดิน การช่วยถือของ เป็นต้น ช่ ว งที ่ ๕ การสรุปบทเรียนและเน้นยํา้ การฝึกปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจำ�วัน เป็นการ เน้นยํา้ ถึงหลักการและวิธปี ฏิบตั ทิ ไ่ี ด้เรียนรูม้ า เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมนำ�ไป ปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจำ�วันหลังจากสิน้ สุดโครงการ โดยการจัดบรรยากาศ กึง่ พิธกี รรม มีการผูกข้อมือ พระกระบวนกรกล่าวให้พรและพูดความ รูส้ กึ และขอให้ผเู้ ข้าร่วมให้คำ�สัญญาในการทีจ่ ะประพฤติตวั เป็นเด็กดี ตามทีไ่ ด้ฝกึ มา

ขอเวลาอี ก สั ก นิ ด

ส ้ อ ม พ ร วน ช วน ใส ่ ใ จ

การจัดกระบวนการกับผูเ้ ข้าร่วมทีเ่ ป็นเด็กปัญญานี้ มีรายละเอียดในการดูแลเอาใจใส่หลายอย่าง ซึง่ ต้องอาศัยความ เข้าใจและการทุ่มเทจากผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นสิ่งที่ ผูเ้ ขียนสัมผัสได้ เมือ่ เห็นการทำ�งานของทีมพระกระบวนกร และครูโรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกลู ทีพ่ ร้อมจะให้เวลา ทัง้ ตอนทีท่ ำ�กิจกรรมและการทำ�กิจวัตรประจำ�วัน รวมถึงการดูแลเอาใจใส่ ทีค่ อ่ นข้างใกล้ชดิ เพราะเด็กบางคนจำ�เป็นต้องกินยาเพือ่ ลดความ ก้าวร้าว หรืออาการไม่อยูน่ ง่ิ

บั น ทึ ก ลายแทงขุ ม ทรั พ ย์

๑๔๘ • ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น


โครงการเพื ่ อ นต่ า งวั ย

ดำ � เนิ น การโดย กลุ ่ ม ผู ้ น ำ � เยาวชนบั ว ขาว ร.ร.บั ว ขาว ต.บั ว ขาว อ.กุ ฉ ิ น ารายณ์ จ.กาฬสิ น ธุ ์

เพือ่ นผูม้ วี ยั แตกต่างกันในทีน่ ้ี หมายถึง น้องๆ เยาวชนกับผูส้ งู อายุทด่ี อ้ ย โอกาสในชุมชน ซึง่ ไม่เคยรูจ้ กั กันมาก่อน ทีมคนปลูกต้นไม้มคี วามมุง่ หวังว่า จะสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ ข้าร่วม ทัง้ ๒ วัยผ่านการเยีย่ มบ้านและทำ�กิจรรมต่างๆ ร่วมกันทุกสัปดาห์ ตลอดระยะ เวลา ๑ เดือน แต่กอ่ นทีผ่ เู้ ยาว์วยั จะออกเยีย่ มบ้านนัน้ ทีมคนปลูกต้นไม้กม็ กี ระบวนการ เพื่อเตรียมความพร้อมให้ด้วย ซึ่งเป็นการฝึกทักษะในการสื่อสารกับผู้สูงอายุ รวมถึงทักษะในการทำ�กิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ได้แก่ การอ่านหนังสือ การนวด ผ่อนคลาย การทำ�อาหาร การทำ�ขนมอย่างง่าย การเย็บถุงผ้า การปลูกผักสวน ครัว การพับถุงกระดาษ และการบรรยายข้อมูลเกีย่ วกับสถานทีส่ ำ�คัญ เพือ่ พา ผูส้ งู วัยนัง่ รถสามล้อเครือ่ งไหว้พระชมเมือง หลังจากนัน้ ก็ถงึ เวลาทีเ่ พือ่ นทัง้ ๒ วัยจะได้มาพบกัน โดยทีมคนปลูกต้นไม้ ได้มกี ารจัดกิจกรรมแรกพบเพือ่ นต่างวัย เพือ่ ทำ�ความรูจ้ กั และคุน้ เคยกันก่อน แล้วจึงให้ผเู้ ข้าร่วมทีเ่ ป็นเยาวชนลงพืน้ ทีเ่ ยีย่ มเยียนผูส้ งู อายุตามบ้าน โดยเยาวชน ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น • ๑๔๙


๒ คน ต่อผู้สูงวัย ๑ คน และใช้เวลาทำ� กิจกรรมต่างๆ ร่วมกันครัง้ ละ ๑-๒ ชัว่ โมง ซึง่ บางครัง้ เราพบว่า ผูส้ งู วัยบางคนมีความรู้ เรือ่ งการรำ�ไทเก๊กด้วย แล้วท่านก็ถา่ ยทอด ความรูใ้ ห้กบั เพือ่ นผูเ้ ยาว์วยั เป็นการตอบ แทนกลับมา จากที่ได้พบปะกันทุกสัปดาห์ ทำ�ให้ทั้ง ๒ ฝ่ายต่างรอคอยที่จะได้พบเจอกัน ซึ่งถือ เป็นกฎข้อหนึง่ ของความผูกพัน ดังนัน้ ภาพ น้องๆ เยาวชนคอยดูแลประคองผูส้ งู อายุใน กิจกรรมสุดท้าย คือ การนั่งสามล้อเครื่อง ไหว้พระชมเมือง จึงเป็นภาพที่ไม่แปลกไป จากความคาดหมายเลย ในกระบวนการเก็บเกีย่ ว ทีมคนปลูกต้นไม้ ได้จัดกระบวนการในลักษณะการบายศรีสู่ ขวัญเวทีผสู้ งู อายุ แสดงมุทติ าจิต (กล่าวขอ ขมาลาโทษ) และทางผูส้ งู อายุกไ็ ด้นำ�สิง่ ของ มารับขวัญหลาน ซึง่ แม้จะเป็นสิง่ เล็กๆ น้อยๆ ไม่มรี าคาค่างวดอะไร แต่กเ็ ป็นสิง่ ทีม่ คี ณ ุ ค่า ทางจิตใจอย่างไม่อาจประเมินราคาได้

บั น ทึ ก ลายแทงขุ ม ทรั พ ย์

๑๕๐ • ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น


โครงการค่ า ยเยาวชนกั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน

ดำ � เนิ น การโดย กลุ ่ ม อาสาสมั ค รลางริ น กรุ ง เทพมหานคร

ผูอ้ า่ นหลายคนอาจจะตัง้ คำ�ถามว่า เรือ่ งสิทธิมนุษยชน ซึง่ ถือว่าเป็นประเด็น ทางสังคมทีค่ อ่ นข้างร้อน จะเกีย่ วกับการปลูกต้นไม้แห่งความสุขได้อย่างไร หากย้อนกลับไปบทที่ ๒ หัวข้อ “ทีม่ าของความสุข” ข้อทีว่ า่ ด้วย การคิดถึง ผู้อื่นมากกว่าตัวเอง และ การรู้จักคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นประโยชน์เกื้อกูล อาจทำ�ให้เรามองภาพความเชือ่ มโยงได้ชดั ขึน้ การทีเ่ ราได้เกิดมาบนผืนแผ่นดินไทย มีปจั จัย ๔ ในการดำ�รงชีวติ เป็นเรือ่ ง ทีธ่ รรมดามาก แต่สำ�หรับใครหลายๆ คน แค่การมีบตั รประจำ�ตัวประชาชนหรือ การมีขา้ วกินครบ ๓ มือ้ ถือเป็นเรือ่ งทีพ่ เิ ศษมากๆ ผูเ้ ขียนไม่ได้หมายความเพียง แค่ให้เราแบ่งปันข้าวของทีเ่ รามีเท่านัน้ แต่หมายถึงการปฏิบตั ติ อ่ ผูค้ นเหล่านัน้ อย่างทีม่ นุษย์พงึ ปฏิบตั ติ อ่ กัน ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น • ๑๕๑


โดยหลักการนี้ กลุม่ คนหนุม่ สาวอดีตอาสาสมัครนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน ทีเ่ รียกตัวเองว่า “อาสาสมัครลางริน” ได้จดั กระบวนการกับน้องๆ เยาวชนคน รุ่นใหม่ เพื่อเปิดและเปลี่ยนทัศนคติที่มีต่อผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในสังคม แต่การที่จะหล่อหลอมความคิดดังกล่าวภายในเวลา ๕ วัน ๔ คืน เป็นเรื่องที่ ค่อนข้างยาก แต่กใ็ ช่วา่ จะเป็นไปไม่ได้เลย กระบวนการทีช่ ว่ ยย่นระยะเวลาในการเรียนรูไ้ ด้ดที ส่ี ดุ อย่างหนึง่ คือ การ ลงพืน้ ทีจ่ ริงและการลงมือปฏิบตั จิ ริง ดังนัน้ การทีจ่ ะเข้าใจสภาวะของคนทีถ่ กู ละเมิดหรือด้อยโอกาสได้ ก็ตอ้ งไปหาผูค้ นเหล่านัน้ ไปแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ลองกิน ลองอยูอ่ ย่างทีพ่ วกเขาเป็น ทีมคนปลูกต้นไม้จงึ ได้ออกแบบกระบวนการ โดยเริม่ จากกิจกรรมสันทนาการเพือ่ เตรียมความพร้อม แลกเปลีย่ นทัศนคติ (เดิม) ทีม่ ตี อ่ แรงงานข้ามชาติ จากนั้นก็พาผู้เข้าร่วมลงพื้นที่โรงงานและย่านที่พักอาศัยของแรงงานข้ามชาติ แลกเปลีย่ นประสบการณ์กบั ผูใ้ ช้แรงงาน ทำ�กิจกรรมร่วมกับเด็กๆ ทีอ่ าศัยอยูใ่ น ชุมชน และเข้าพักในสถานทีท่ ไ่ี ม่คอ่ ยสะดวกสบายหลังจากทีผ่ เู้ ข้าร่วมได้เรียนรู้ ผ่านการมอง การฟัง และการสัมผัสในพืน้ ทีจ่ ริงแล้ว ทีมคนปลูกต้นไม้กพ็ าผูเ้ ข้า ร่วม มาขยายขอบเขตการเรียนรูใ้ นอีกมิตหิ นึง่ ซึง่ ก็คอื การเรียนรูผ้ า่ นการลงมือ ๑๕๒ • ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น


ปฏิบตั จิ ริง หมายความว่า ฝึกเป็นผูท้ ถ่ี กู จำ�กัดหรือถูกละเมิดสิทธิผา่ นเกมหรือ สถานการณ์จำ�ลอง ถือเป็นการจัดสรรฐานการเรียนรู้ทั้ง ๓ มิติ คือ ฐานคิด ฐานใจ และฐานกาย ได้อย่างครบถ้วน อย่างไรก็ตาม การจัดกระบวนการสำ�หรับเนือ้ หาทีค่ อ่ นข้างลึกซึง้ หรือซับซ้อน ให้เป็นเรือ่ งทีง่ า่ ยและสนุกสนานได้นน้ั ทีมคนปลูกต้นไม้จะต้องมีความเข้าใจ เนือ้ หาและบริบทแวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้องอย่างถ่องแท้ และสามารถนำ�มาคลีค่ ลาย ผ่านคำ�พูดหรือกิจกรรมทีเ่ ข้าใจได้งา่ ย ผูเ้ ข้าร่วมจึงจะเกิดการเรียนรูแ้ ละนำ�ไป ปรับใช้ได้จริง

บั น ทึ ก ลายแทงขุ ม ทรั พ ย์

ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น • ๑๕๓


โครงการเยาวชนค้ น ธรรม นำ � ทางสู ่ ค วามสุ ข ด้ ว ยปั ญ ญา

ดำ � เนิ น การโดย คณะบุ ค คล ต.กุ ด ข้ า วปุ ้ น อ.กุ ด ข้ า วปุ ้ น จ.อุ บ ลราชธานี

ในชุมชนหนึง่ ๆ ไม่ได้มแี ต่เด็กหรือเยาวชนทีต่ น่ื เช้า แล้วแบกกระเป๋าไปโรงเรียนเท่านัน้ แต่ยงั มีเยาวชนทีเ่ รียนในศูนย์การเรียนรูต้ ามอัธยาศัย (กศน.เดิม) รวมถึงเยาวชนทีไ่ ม่ได้เรียนหนังสือ และทีเ่ รียนจบไปแล้วด้วย แต่ “เยาวชน” ไม่วา่ จะอยูใ่ นบทบาทหน้าทีใ่ ด ก็ยงั คงหมายถึง บุคคลผูม้ ี อายุไม่เกิน ๒๕ ปีทง้ั นัน้ และด้วยเหตุนเ้ี อง กลุม่ เป้าหมายหลักของทีมคนปลูก ต้นไม้แห่งกุดข้าวปุน้ จึงประกอบด้วยน้องๆ เยาวชนทีม่ คี วามแตกต่างหลากหลาย ลึกลงไปในความหลากหลาย งานนีม้ เี ยาวชนชายทีเ่ ป็นคูอ่ ริกนั มาร่วมขบวนด้วย! หากพิจารณาถึงรูปแบบการจัดกระบวนการของโครงการ ไม่ได้มกี จิ กรรม ทีแ่ ปลกใหม่แต่อย่างใด ไม่วา่ จะเป็นการอบรมเพือ่ ละลายพฤติกรรมและสร้าง ภาวะผูน้ ำ� การบำ�เพ็ญประโยชน์ในชุมชน การเดินทางไปเรียนรู/้ ทดลองใช้ชวี ติ ในชุมชนทีพ่ ง่ึ พาตัวเอง การปฏิบตั ธิ รรม และการถอดบทเรียน ๑๕๔ • ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น


แต่ในรอยต่อระหว่างกิจกรรมเหล่านั้น มีพื้นที่ว่างที่คนปลูกต้นไม้เปิดไว้ เพือ่ ให้สายลมได้พดั ผ่าน โดยเฉพาะสายลมของการให้โอกาสและความเข้าใจ เป็นโอกาสที่ทำ�ให้เกิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม รับฟังทุกความคิดเห็นโดย ปราศจากการตัดสิน โดยเฉพาะการเปิดพืน้ ทีส่ ำ�หรับบุคคลทีม่ พี ฤติกรรมเสีย่ ง หรือไม่เป็นทีย่ อมรับของสังคม ให้มาร่วมเรียนรูก้ บั คนอืน่ ๆ และเปิดพืน้ ทีใ่ ห้ได้ ทำ�กิจกรรมทีส่ ร้างสรรค์เพือ่ คนอืน่ ในสังคม โดยให้สงั คมหรือชุมชนได้รบั รูแ้ ละ มีโอกาสในการสนับสนุน ถือเป็นโอกาสในการสร้างประสบการณ์เชิงบวกของ ทัง้ ๒ ฝ่าย เพือ่ นำ�ไปสูก่ ารปรับเปลีย่ นพฤติกรรมทีย่ ง่ั ยืนต่อไป ส่วน ความเข้าใจ เป็นคำ�ทีม่ ขี อบเขตกว้างมาก ในการจัดกระบวนการหนึง่ ๆ ทีมคนปลูกต้นไม้ต้องมีความเข้าใจในหลายๆ เรื่อง ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเนื้อหา ขัน้ ตอนวิธกี าร สถานที่ สังคมวัฒนธรรม สภาพภูมอิ ากาศ ฯลฯ และในทีน่ ้ี คน ปลูกต้นไม้ได้ทำ�ความเข้าใจกับธรรมชาติของผูเ้ ข้าร่วมทีแ่ ตกต่างหลากหลาย ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น • ๑๕๕


และได้หยิบยกขึน้ มาเป็นปัจจัยในการเรียนรู้ เช่น ผูเ้ ข้าร่วมกลุม่ เสีย่ ง จะมีระบบ หัวหน้ากลุม่ /แก๊งค์ปกครองอยูใ่ นแต่ละพืน้ ที่ หากเราสามารถเข้าถึงหรือได้รบั การยอมรับจากหัวหน้ากลุม่ ก็จะสามารถชักชวนหรือโน้มน้าวสมาชิกคนอืน่ ๆ ให้เข้ามาร่วมกระบวนการได้ และเมือ่ เกิดปัญหาท่าทีขน้ึ ระหว่างจัดกระบวนการ ก็สามารถให้หวั หน้ากลุม่ เข้ามามีสว่ นร่วมในการไกล่เกลีย่ ได้ นอกจากปัจจัยสนับสนุนต่างๆ ข้างต้นแล้ว การติดตามและเสริมพลังก็เป็น อีกกลไกหนึง่ ทีจ่ ะสร้างความมัน่ คงเข้มแข็งให้กบั ผูเ้ ข้าร่วม โดยเฉพาะกรณีทค่ี น ปลูกต้นไม้เป็นคนในชุมชนเดียวกัน และมีตน้ ทุนทางสังคมทีด่ ี ในการผลักดัน และเกาะติดการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของผูเ้ ข้าร่วม ตัวอย่างเช่น การทีค่ นปลูก ต้นไม้ดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทำ�ให้มโี อกาสติดตาม และ สร้างเครือข่ายหรือกลุม่ ขึน้ มาเพือ่ ทำ�กิจกรรมต่างๆ ร่วมกันได้เป็นระยะ เช่น การ เป็นอาสาสมัครช่วยอำ�นวยการด้านความปลอดภัยในช่วงเทศกาลต่างๆ จากเดิม อาจใช้เวลาในการเทีย่ วเตร่หรือเฉลิมฉลองจนเกิดเหตุทะเลาะวิวาท เป็นต้น

บั น ทึ ก ลายแทงขุ ม ทรั พ ย์

๑๕๖ • ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น


โครงการศรั ท ธาแห่ ง สายนํ ้ า

ตอน ฟื ้ น ฟู ช ี ว ิ ต จิ ต วิ ญ ญาณ ความศรั ท ธาต่ อ สายน้ ำ � อ.ฮอด จ.เชี ย งใหม่ ดำ � เนิ น การโดย สถาบั น ปั ญ ญาปี ต ิ

เด็กและเยาวชนในชนบท กำ�ลังได้รบั ผลกระทบจากความเปลีย่ นแปลงที่ ไม่สอดคล้องกับวิถชี มุ ชน โดยเฉพาะความเปลีย่ นแปลงทีม่ าจากกระแสบริโภค นิยม ทำ�ให้ไม่ภาคภูมใิ จในวิถชี วี ติ และภูมปิ ญ ั ญาของชุมชน และด้วยการทีค่ น ปลูกต้นไม้ได้เข้าไปใช้ชวี ติ ในชุมชนดังกล่าว จึงได้มแี นวคิดทีจ่ ะจัดกระบวนการ เรียนรูเ้ พือ่ ให้เด็กและเยาวชนในชุมชน ได้มพี น้ื ทีใ่ นการเรียนรูแ้ ละทำ�กิจกรรม ทีส่ ร้างสรรค์อย่างต่อเนือ่ ง คนปลูกต้นไม้ได้ออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยเชือ่ มโยงกระบวนการสร้างความมัน่ คงภายใน เข้ากับการจัดการความสัมพันธ์กบั ชุมชนและระบบ นิเวศธรรมชาติภายนอก โดยมีหลักการและแนวทางในการจัดกระบวนการ สำ�คัญ ๔ ช่วง ได้แก่ ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น • ๑๕๗


ช่ ว งที ่ ๑ เปิดพืน้ ทีก่ ารเรียนรูร้ ว่ มกัน เป็นการจัดกระบวนการเพือ่ เปิดมุมมองและ

สร้างความสนใจใคร่รู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ที่อยู่รอบตัว โดย ผ่านการทำ�กิจกรรม เช่น ค่ายเรียนรูแ้ ละสำ�รวจพืน้ ทีต่ น้ น้ำ� ช่ ว งที ่ ๒ สร้างการเรียนรูด้ า้ นในและพัฒนาศักยภาพ หลังจากทีผ่ เู้ ข้าร่วมเกิด ความสนใจหรือเห็นความสำ�คัญของการเข้าร่วมกระบวนการแล้ว คน ปลูกต้นไม้ก็ได้จัดกระบวนการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ด้านในและ พัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ เรียนรูเ้ รือ่ งพลังกลุม่ การฝึกคิดวิเคราะห์ เชือ่ มโยง และฝึกการสือ่ สาร (การฟัง/การตัง้ คำ�ถาม) และแน่นอนว่า ต้องเป็นการฝึกทีเ่ ชือ่ มโยงกับวิถชี วี ติ และธรรมชาติในชุมชนด้วย

ช่ ว งที ่ ๓ เรียนรูผ้ า่ นปฏิบตั กิ ารและเชือ่ มโยงกับคนในชุมชน เป็นการลงมือปฏิบตั ิ

โดยให้ผเู้ ข้าร่วมมีสว่ นร่วมในการรออกแบบวิธกี าร ซึง่ ได้แก่ การชักชวน คนในครอบครัวมาร่วมบวชป่า หรือลดขยะภายในครัวเรือน การกำ�หนด ปฏิทนิ กิจกรรมและนัดหมายเป็นระยะ เช่น การสำ�รวจและจัดทำ�ภูมิ ประเทศจำ�ลอง บวชป่า ทำ�แนวกันไฟ เพาะกล้าไม้ ปลูกต้นไม้ ทำ�ฝาย กัน้ นํา้ ทำ�ประปาภูเขา สำ�รวจและจัดทำ�เส้นทางศึกษาธรรมชาติ เป็นต้น

๑๕๘ • ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น


ช่ ว งที ่ ๔ ถอดบทเรียนเพือ่ นำ�ไปปรับใช้ในชีวติ ประจำ�วัน เป็นกระบวนการประมวล

บทเรียนจากการเข้าร่วมกิจกรรมทัง้ หมด เชือ่ มโยงกลับไปสูแ่ นวทาง ปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจำ�วันอย่างเป็นรูปธรรม โดยให้ผเู้ ข้าร่วมช่วยกันคิดหา วิธที ส่ี อดคล้องกับบริบทของตัวเอง เช่น การลดความฟุม่ เฟือย โดยการ ปลูกผักกินเอง อดออม กินขนมให้นอ้ ยลง ใช้นํา้ อย่างประหยัด เป็นต้น การเรียนรู้เรื่องความสัมพันธ์เชื่อมโยง ระหว่างการจัดการวิถีชีวิตของคน ในชุมชนกับระบบนิเวศในธรรมชาติ เป็นการเรียนรูท้ ค่ี ขู่ นานไปกับการเติบโต ภายใน ซึง่ ต้องใช้เวลาและความต่อเนือ่ ง และยิง่ ถ้าเรามุง่ หวังให้เกิดการรวมกลุม่ ทีย่ ง่ั ยืน เพือ่ มาทดแทนคนปลูกต้นไม้รนุ่ เก่าแล้ว ก็แทบจะเรียกได้วา่ ต้องเป็น การเรียนรูท้ ค่ี ลุกคลีและเติบโตไปพร้อมๆ กัน ทัง้ คนปลูกต้นไม้รนุ่ เก่าและ (ว่าที)่ คนปลูกต้นไม้รนุ่ ใหม่

บั น ทึ ก ลายแทงขุ ม ทรั พ ย์

ชมสวนเพื ่ อ นบ้ า น • ๑๕๙


บทที​ี่​่

เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ (ตั ว อย่ า งเกม/กิ จ กรรม)


เครื่อ งไม้ เ ครื่อ งมื อ

( ตั ว อย่ า งเกม/กิ จ กรรม)

แผนที ่ ค วามคิ ด การทีจ่ ะเป็นคนปลูกต้นไม้ทด่ี นี น้ั การมีวนิ ยั และความใฝ่รเู้ ป็นคุณสมบัติ อันดับต้นๆ ทีพ่ งึ มี สิง่ หนึง่ ทีจ่ ะสะท้อนความมีวนิ ยั และความใฝ่รไู้ ด้ก็ คือ ห้อง หรือลิน้ ชักทีเ่ ราใช้เก็บเครือ่ งมือในการปลูกต้นไม้นน่ั เอง แต่ทง้ั นี้ ผูเ้ ขียนไม่ได้หมายความว่า การสะสมเครือ่ งมือมากๆ หรือการจัด ห้องให้เป็นระเบียบเรียบร้อย จะหมายถึงการเป็นคนปลูกต้นไม้ทด่ี ี วินยั ทีผ่ เู้ ขียนหมายถึงนัน้ คือการหมัน่ นำ�เครือ่ งมือออกมาใช้และลับคม อยูเ่ สมอ หลังจากใช้เสร็จแล้วก็ควรทีจ่ ะทำ�ความสะอาด อันไหนหักบิน่ ก็ซอ่ มแซม หรือพัฒนาให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ คนปลูกต้นไม้ทห่ี ยิบเครือ่ งมือชิน้ เดิมไปใช้ ตลอด โดยไม่ซอ่ มแซมเลย สักวันก็คงทือ่ บิน่ ใช้การไม่ได้ เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๖๑


ส่วน ความใฝ่รู้ นัน้ ผูเ้ ขียนหมายถึง การใส่ใจเสาะแสวงหาเพือ่ ฝึกฝนการ ใช้เครือ่ งมือใหม่ๆ อยูเ่ ป็นนิจ แม้กระทัง่ กิง่ ไม้ทต่ี กอยูข่ า้ งทางก็สามารถนำ�มา ดัดแปลงเป็นอุปกรณ์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพได้ ดังนัน้ ไม่วา่ ห้องเก็บของของเราจะมี เครือ่ งมือมากมายสักเพียงใด ก็ขอให้เว้นทีว่ า่ งเอาไว้อยูเ่ สมอ

ในบทนี ้ . ..มี อ ะไร ในบทนี้ ผูเ้ ขียนได้นำ�ตัวอย่างเกมหรือกิจกรรมบาง ส่วนมาแบ่งปัน เพื่อที่คนปลูกต้นไม้จะได้นำ�ไปต่อยอด หรือปรับใช้ตอ่ ไป อย่างไรก็ตาม ผูเ้ ขียนขอยํ้าอีกครัง้ ว่า เกมหรือกิจกรรมเหล่านี้ เป็นเพียงส่วนหนึง่ ทีต่ ดั ทอนมาจากสายธาร ของกระบวนการเท่านัน้ การนำ�ไปปรับใช้จงึ ควรพิจารณา ถึงบริบทโดยรอบให้เหมาะสมด้วย และเพือ่ ให้สอดคล้อง กับแนวทางการจัดกระบวนการทีผ่ เู้ ขียนได้นำ�เสนอในบท ก่อนๆ จึงแบ่งเกม/กิจกรรมตามลำ�ดับขัน้ และลักษณะการ ดำ�เนินงานออกเป็น ๒ หมวด ดังนี้ ๑. เตรียมความพร้อม ๒. กิจกรรมหลัก ทัง้ นี้ ผูเ้ ขียนไม่ได้นำ�ตัวอย่างกิจกรรมทีใ่ ช้ในการถอด บทเรียนและการติดตามผลแบบเสริมพลังมาไว้ในทีน่ ด้ี ว้ ย เนือ่ งจากเห็นว่า ได้กล่าวถึงรูปแบบและแนวทางในการ ดำ�เนินกิจกรรมไว้ในบทที่ ๖ และ ๗ แล้ว

หมายเหตุ ในการอธิบายกิจกรรม ผูเ้ ขียนได้ใช้คำ�ว่า “กระบวนกร” แทน “คน ปลูกต้นไม้” หรือ “ผูด้ ำ�เนินกระบวนการ” หรือ “วิทยากรกระบวนการ” และใช้คำ�ว่า “ผู้เข้าร่วม” แทน “ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ” หรือ “เจ้าของหัวใจ” ๑๖๒ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


อุ ป กรณ์ พ ื ้ น ฐาน ในการจัดกระบวนการแต่ละครัง้ อุปกรณ์พน้ื ฐานทีม่ กั จะต้องมีตดิ ไว้อยูเ่ สมอ ได้แก่ ๑. ระฆังญีป่ นุ่ ๒. นาิกาจับเวลา ๓. กระดาษฟลิปชาร์ต (Flipchart) ๔. กระดาษ เอ ๔ ๕. สีชอล์กหรือปากกาเคมี

ตารางดั ช นี เกม/กิ จ กรรม ประเภท

เกม/กิจกรรม แบบที่ ๑ แนะนำ�ตัวเอง แบบที่ ๒​เกมเรียกชือ่ +ปรบมือ แบบที่ ๓ แนะนำ�ตัวเองผ่านป้ายชือ่

๑.๒ สอบอารมณ์ (check in)

แบบที่ ๑ ท่าทางบอกอารมณ์ แบบที่ ๒ พูดถึงตัวเองและเพือ่ น แบบที่ ๓ แทนความรูส้ กึ ด้วย... แบบที่ ๔ ประมวลความรูส้ กึ แบบที่ ๕ ต้นไม้ความกังวล-ความหวัง

๑.๓ ละลายพฤติกรรม

เกม มดตาย เกม นักสืบ เกม แมวจับหนู เกม นักฆ่า (Killer) เกม ยอดมนุษย์ เกม ตบพืน้

๑.เตรี ย มความพร้ อ ม

๑.๑ แนะนำ�ตัวเอง/จดจำ�ชือ่ เพือ่ น

เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๖๓


๒. กิ จ กรรมหลั ก

ประเภท

เกม/กิจกรรม

๑.๓ ละลายพฤติกรรม (ต่อ)

เกม มังกรลอดถํ้า เกม จ่ายตลาด เกม ตัวระบาด (เชือ้ โรค) เกม หอยเปลีย่ นฝา เกม ปลาร้า ปลาทู เกม ทำ�อะไรดีจะ๊ ? เกม เสร็จฉันละเธอ เกม ขนมไทย

๑.๔ เตรียมเข้าสูก่ จิ กรรมหลัก

เกม ขับรถ เกม เหยีย่ วต้อนลูกไก่ เกม อวนจับปลา เกม ตุก๊ แก ๒ วิญญาณ/กาวดักหนู เกม เรียงลำ�ดับ

๑.๕ การภาวนาแบบต่างๆ

ฝึกภาวนาแบบ นับเลขในใจ (Heart Math) การภาวนาด้วยก้อนกรวดตามวิถขี อง ท่านติช นัท ฮันห์ การผ่อนพักตระหนักรู้

๒.๑ พลังกลุม่

กิจกรรม แม่นํ้าพิษ กิจกรรม เป็ดเจ้าปัญหา/ เป็ดชิงพืน้ ที่ กิจกรรม ตัวต่อมหาสนุก

๒.๒ เรืยนรูเ้ รือ่ งอำ�นาจ/ ความรุนแรง-สันติวธิ ี

กิจกรรม แม่เหล็ก กิจกรรม ชิงเมือง/ตีเมือง กิจกรรม ความรุนแรง

๑๖๔ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


เกม/กิจกรรม

๒.๓ เข้าใจตัวเอง ผูอ้ น่ ื และธรรมชาติ

กิจกรรม ภาพสะท้อนชีวติ กิจกรรม ๔ ช่องสะท้อนตัวตน กิจกรรม เดินเสีย่ ง กิจกรรม สายธารชีวติ กิจกรรม เมือ่ ฉันพิการ กิจกรรม จัดดอกไม้ (เยียวยาภายใน)

๒.๔ ความสัมพันธ์/ความเชือ่ มโยง

กิจกรรม เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว (สามเหลีย่ มด้านเท่า)

๒. กิ จ กรรมหลั ก

ประเภท

เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๖๕


๑. เกม/กิ จ กรรมเตรี ย มความพร้ อ ม เกมหรือกิจกรรมในหมวดนี้ มักใช้ในช่วงเริ่มต้นของกระบวนการ โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ ให้เกิดความผ่อนคลาย สร้างความสัมพันธ์คนุ้ เคยทัง้ ระหว่าง ทีมงานกับผูเ้ ข้าร่วม และระหว่างผูเ้ ข้าร่วมด้วยกันเอง เป็นการเตรียมความพร้อม ของผูเ้ ข้าร่วมก่อนทีจ่ ะเข้าสูก่ ระบวนการหลักต่อไป

๑.๑ แนะนำ � ตั ว เอง/จดชื ่ อ เพื ่ อ น แบบที ่ ๑

แนะนำ � ตั ว เอง

วิธกี าร ๑. กระบวนกรและผูเ้ ข้าร่วมนัง่ ล้อมเป็นวงกลม ๒. ให้ผเู้ ข้าร่วมแนะนำ�ตัวเองคร่าวๆ ตามหัวข้อดังต่อไปนี้ • ชือ่ -นามสกุล • ชือ่ เล่น • ทีม่ า เช่น โรงเรียน อำ�เภอ/จังหวัด (ในกรณีทม่ี าจากต่างที)่ • แรงจูงใจสำ�คัญในการเข้าร่วมโครงการ • ความคาดหวังหลังจากจบโครงการ

วิธกี าร แบบที ่ ๒ ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมนัง่ ล้อมเป็นวงกลม ๒. ให้บอกชือ่ เล่นจนรอบวง โดยมีวธิ กี ารบอก ดังนี้ เกม • เริม่ ด้วยการปรบมือ ๒ ที ตบเข่า ๒ ที เรี ย กชื ่ อ • ดีดนิว้ ซ้าย-ขวา (หรือขวา-ซ้ายตามถนัด) โดยจังหวะทีด่ ดี +ปรบมื อ ครัง้ แรกให้พดู ชือ่ ตัวเอง และจังหวะ ๒ พูดชือ่ เพือ่ นทีน่ ง่ั ขวามือ • บอกต่อๆ กันไปเรือ่ ยๆ ๓. ถ้าใครทำ�พลาดต้องมานัง่ ด้านหน้า กรณีทผ่ี เู้ ข้าร่วมไม่รจู้ กั กันหรือไม่สนิทกันมาก่อน ควรทำ� ป้ายชือ่ ก่อนทำ�กิจกรรม ๑๖๖ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


แบบที ่ ๓

แนะนำ � ตั ว ผ่ า น ป้ า ยชื ่ อ

อุปกรณ์ ๑. กระดาษการ์ด ๒๐๐ แกรมขึน้ ไป ๒. อุปกรณ์ตกแต่งเท่าทีห่ าได้ เช่น สีชอล์ก สีไม้ สีนํา้ ไหมพรม กระดาษสี กระดาษห่อของขวัญ กระดาษสา กระดาษลูกฟูก กากเพชร ด้ายสีตา่ งๆ สำ�ลี เศษผ้า เศษวัสดุเหลือใช้ ฯลฯ ๓. กรรไกร และ กาว วิธกี าร ๑. กระบวนกรนำ�อุปกรณ์ทำ�ป้ายชือ่ มาวางกระจายไว้กลางห้อง ๒. ให้ผเู้ ข้าร่วมทำ�ป้ายชือ่ ด้วยตัวเอง โดยไม่จำ�กัดรูปแบบและ ขนาด แต่ขอให้สะท้อนความเป็นตัวตนของเรา ๓. ใช้เวลาประมาณ ๑๕ นาที ๔. แบ่งกลุม่ ย่อย เพือ่ เล่าถึงตัวเราผ่านป้ายชือ่

๑.๒ สอบอารมณ์ (check in) แบบที ่ ๑

ท่ า ทาง บอก อารมณ์

วัตถุประสงค์ เพือ่ ตรวจสอบสภาวะอารมณ์ผเู้ ข้าร่วมและเริม่ สร้างความคุน้ เคย วิธกี าร ๑. กระบวนกรและผูเ้ ข้าร่วมนัง่ ล้อมเป็นวงกลม ๒. ให้ผเู้ ข้าร่วมลุกขึน้ ยืนทีละคน เพือ่ แนะนำ�ตัวเองตามหัวข้อ ดังต่อไปนี้ • ให้บอกชือ่ เล่น • ตัง้ แต่ชว่ งเช้าทีเ่ ริม่ ออกเดินทางมา มีความรูส้ กึ อย่างไร โดยให้แสดงท่าทางแทนคำ�พูด

วัตถุประสงค์ เพือ่ สะท้อนความรูส้ กึ และความคิดของผูเ้ ข้าร่วมในช่วง พู ด ถึ ง ทีผ่ า่ นมา และทำ�ให้รจู้ กั กันมากขึน้ ตั ว เอง วิธกี าร และเพื ่ อ น ๑. กระบวนกรและผูเ้ ข้าร่วมนัง่ ล้อมเป็นวงกลม แบบที ่ ๒

เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๖๗


๒. ให้ผเู้ ข้าร่วมแนะนำ�ตัวเองตามหัวข้อดังต่อไปนี้ • บอกชือ่ เล่น พูดถึงตัวเองสัน้ ๆ ว่าชีวติ ช่วงนีเ้ ป็นอย่างไรบ้าง • พูดถึงด้านดีของเพือ่ นทีอ่ ยูข่ วามือ การสอบอารมณ์วธิ นี ้ี ใช้ในกรณีทผ่ี เู้ ข้าร่วมได้ผา่ นการทำ�กิจกรรมร่วมกันมาแล้วอย่างน้อย ๑ ครั้ง พอหลังจากกลับไปสู่ ชีวติ ประจำ�วันแล้วก็กลับมาทำ�กิจกรรมร่วมกันอีก วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบสภาวะอารมณ์ของผู้เข้าร่วมโดยรวม เพื่อ พิจารณาต่อว่าจะดำ�เนินกระบวนการตามแผนทีว่ างไว้ตอ่ ไป แทน ความรู ้ ส ึ ก หรือควรมีกจิ กรรมอืน่ เข้ามาปรับสภาพให้พร้อมก่อน วิธกี าร ด้ ว ย... ๑. กระบวนกรและผูเ้ ข้าร่วมนัง่ ล้อมเป็นวงกลม ๒. กระบวนกรเชือ้ เชิญผูเ้ ข้าร่วมให้กลับมาอยูก่ บั ตัวเอง ๓. จากนัน้ ให้ผเู้ ข้าร่วมเทียบเคียงว่า สัตว์ชนิดไหนทีจ่ ะแทน สภาวะของตัวเรา ณ ขณะนีไ้ ด้? พร้อมกับบอกเหตุผล นอกจากแทนความรูส้ กึ ด้วยชนิดของสัตว์แล้ว ยังสามารถปรับ เปลีย่ นเป็นอย่างอืน่ ได้ เช่น การพยากรณ์อากาศ (เช่น ตอนนี้ ในใจของเรา มีเมฆคลุมเครือ เหมือนฝนจะตก) หรือแทนด้วย ชนิดของดอกไม้ เป็นต้น แบบที ่ ๓

วัตถุประสงค์ เพือ่ ตรวจสอบความรูส้ กึ การเรียนรู้ สภาวะภายในของผูเ้ ข้าร่วม ประมวล (เทียบเคียงกับความรูส้ กึ /ความคาดหวังทีม่ ใี นช่วงแรก) ความรู ้ ส ึ ก วิธกี าร ๑. กระบวนกรและผูเ้ ข้าร่วมนัง่ ล้อมเป็นวงกลม ๒. ให้ผเู้ ข้าร่วมบอกความรูส้ กึ ทีม่ ตี ง้ั แต่เริม่ กระบวนการ-ปัจจุบนั โดยสรุปย่อออกมาเป็น ๑ คำ� ๓. มีเงือ่ นไขว่า ไม่ให้ซํ้ากับคนอืน่ เป็นการสอบอารมณ์ชว่ งแรกของวันที่ ๒ เป็นต้นไป แบบที ่ ๔

๑๖๘ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


แบบที ่ ๔

ต้ น ไม้ ความกั ง วล ความหวั ง

วัตถุประสงค์ เพือ่ ตรวจสอบอารมณ์ความรูส้ กึ ของผูเ้ ข้าร่วม และดูความ คาดหวังของผูเ้ ข้าร่วม อุปกรณ์ ๑. กระดาษ post it สีชมพูและสีเขียว อย่างละห่อ ๒. ปากกา ๓. กระดาษฟลิปชาร์ต ๒ แผ่น โดยวาดเป็นรูปต้นไม้ความ กังวล และต้นไม้ความหวัง แผ่นละต้น วิธกี าร ๑. แจกกระดาษ post it ให้ผเู้ ข้าร่วมคนละ ๒ ใบๆ ละสี • สีชมพู เขียนความกังวล กลัว ความรูส้ กึ ไม่ดี ลงในกระดาษ (เป็นอุบายให้สง่ิ ทีเ่ ราไม่อยากมีในตัว ให้ออกไป) • สีเขียว เขียนความหวัง อาจจะต่อตัวเอง การอบรม สังคม ประเทศชาติ ฯลฯ ๒. ไม่ตอ้ งลงชือ่ ๓. นำ�กระดาษ post it ทีเ่ ขียนแล้วไปแปะบนต้นไม้

๑.๓ ละลายพฤติ ก รรม เกม มดตาย

วัตถุประสงค์ เพือ่ ความสนุกสนานทีเ่ น้นการใช้ฐานกาย วิธกี าร ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมยืนกระจายไปทัว่ ห้อง ๒. กระบวนกรสาธิตท่าประกอบคำ�สัง่ ทัง้ ๔ ท่า ได้แก่ • “มดตาย” ให้ลงไปนอนดิน้ เหมือนมดตาย • “มอเตอร์ไซค์” ให้ ๒ คน จับคู่ เกาะไหล่แล้ววิง่ ไปด้วยกัน • “ไฟเขียวไฟแดง” ให้จบั กลุม่ ๓ คน คนหนึง่ นัง่ คนหนึง่ คุกเข่า และอีกคนยืนเป็น ๓ ระดับ แล้วทำ�มือกระพริบๆ เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๖๙


• “วงหมอลำ�” ให้จบั กลุม่ ๔ คน มี ๑ คนยืนอยูข่ า้ งหน้า เป็นนักร้อง และอีก ๓ คนเป็นคนเต้นอยูข่ า้ งหลัง ๓. กระบวนกรออกคำ�สัง่ ให้ทำ�ท่าต่างๆ ติดๆ กัน ๔. เมือ่ ผูเ้ ข้าร่วมเริม่ เหนือ่ ย ให้สง่ั ท่าสุดท้ายเป็น มดตาย แล้วให้นอนลงไปเลย เกมนีผ้ เู้ ขียนเคยเล่นกับทัง้ เด็กประถมและผูส้ งู อายุวยั ๖๐ กว่าปี ปรากฏว่าระดับความสนุกไม่แตกต่างกัน เพียงแต่ ความกระชัน้ ในการออกคำ�สัง่ แตกต่างกันเล็กน้อยเท่านัน้

เกม นั ก สื บ

วัตถุประสงค์ เพือ่ ความสนุก ลุน้ และฝึกการสังเกตฝ่ายตรงข้าม อุปกรณ์ ๑. กระดาษแผ่นเล็ก สำ�หรับเขียนชือ่ ๒. ปากกา วิธกี าร ๑. แบ่งผูเ้ ข้าร่วมออกเป็น ๒ ฝ่ายเท่าๆ กัน ๒. มีคนทีน่ ง่ั อยูต่ รงกลาง ๑ คน ๓. ให้ผเู้ ข้าร่วมเขียนชือ่ ของตัวเองลงในกระดาษ ๔. รวบรวมชือ่ ทีไ่ ด้สลับกับกลุม่ ตรงข้าม ๕. ผูเ้ ข้าร่วมจากกลุม่ ๑ ถือชือ่ ของคนทีอ่ ยูก่ ลุม่ ๒ ไปหาคน กลาง ๑ ชือ่ (โดยกลุม่ ที่ ๒ ไม่รวู้ า่ ชือ่ ทีอ่ ยูใ่ นกระดาษเป็น ใคร คนในกลุม่ ต้องช่วยกันเดา หรือดูทา่ ทีกลุม่ ๑ เอง) ๖. จากนัน้ ให้คนทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ ๒ เป็นฝ่ายถือชือ่ ของคนทีอ่ ยู่ ในกลุม่ ๑ ออกไป ๑ ชือ่ และถ้าคนทีอ่ ยูก่ ลุม่ ๒ เป็นคนเดียว กับชือ่ ทีก่ ลุม่ ๑ เพิง่ ถือออกไป ก็จะถูกยิง เช่น ตะวันอยูก่ ลุม่ ๑ ถือชือ่ ของกุหลาบออกไปหาคนกลาง แล้วถ้าคนในกลุม่ ๒ เลือกกุหลาบให้เป็นคนถือชือ่ ออกไป กุหลาบก็จะถูกยิง แต่ถา้ เลือกคนอืน่ ทีไ่ ม่ใช่กหุ ลาบก็จะรอดไป ๗. สลับกันเดินออกไปจนกว่ากระดาษรายชือ่ จะหมด ทีมไหน เหลือสมาชิกเยอะกว่าจะเป็นฝ่ายชนะ

๑๗๐ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


เกม แมวจั บ หนู

เกม นั ก ฆ่ า

วัตถุประสงค์ เพือ่ ความสนุกสนานทีใ่ ช้ฐานกาย กติกา แมว ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมเรียงแถวตอน กระจายออกเป็นรัศมี (ดังรูป) ๒. คนทีย่ นื อยูห่ น้าสุดเป็นหนูจะต้อง วิง่ หนีแมวไปต่อท้ายแถวอืน่ และต้องสะกิดคนในแถว ให้รตู้ วั เพือ่ ทีค่ นหน้าสุดจะได้วง่ิ หนีแมวไปต่อแถวอืน่ ๓. ถ้าแมวจับหนูได้ จะกลายมาเป็นหนู แล้วหนูตวั นัน้ ก็จะ กลายเป็นแมวต่อไป วัตถุประสงค์ เพือ่ ความสนุกสนาน (แบบลุน้ และกดดัน) ขณะเดียวกัน ก็สามารถเป็นเกมทีน่ ำ�เข้าสูเ่ นือ้ หาได้ ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับวิธี เล่นของแต่ละคน การหลบหลีก การเผชิญหน้า และฝึกสังเกต วิธกี าร ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมยืนล้อมวงกัน ให้ทกุ คนหลับตา ๒. กระบวนกรจะเดินไปรอบๆ แตะทีห่ ลังบางคน ซึง่ หมาย ความว่าคนๆ นัน้ คือ นักฆ่าซึง่ ส่วนใหญ่จะมี ๓ คน ๓. เมือ่ พร้อมแล้วให้ทกุ คนลืมตา นักฆ่าก็จะเริม่ ทำ�งาน ๔. วิธกี ารฆ่า คือ เมือ่ นักฆ่ากระพริบตาข้างเดียวใส่ใคร ให้คนๆ นัน้ นับ ๑ - ๓ ในใจแล้วร้องว่า “โอ้ย! ตายแล้ว” ๕. นักฆ่ามีเป้าหมาย คือ ฆ่าให้หมดทุกคน ๖. คนธรรมดาต้องช่วยกันจับนักฆ่า ให้ได้ โดยคนธรรมดา ๒ คนที่ สังเกตเห็นนักฆ่าให้ยกมือ นับ ๑-๓ แล้วยิงไปทีน่ กั ฆ่าพร้อมๆ กัน ถ้าเป็นนักฆ่าจริง นักฆ่าจะตาย แต่ถา้ ไม่ใช่ คนยิงจะต้องตาย ๗. ห้ามพูดคุยกัน เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๗๑


วัตถุประสงค์

เกม เพือ่ กระตุน้ ให้เกิดความตืน่ ตัว ยอดมนุ ษ ย์ วิธกี าร

ท่าที๑่

ท่าที๒่

ท่าที๓่

๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมยืนล้อมเป็นวงกลม ๒. กระบวนกรสาธิตท่ายอดมนุษย์ทง้ั ๓ ท่า (ดังภาพ) ๓. จากนัน้ ให้ผเู้ ข้าร่วมซ้อมทำ�ท่าจนคล่อง โดยเวลาทีท่ ำ�​ ท่าต้องทำ�เสียงปล่อยพลัง อึช๊ !! ออกมาด้วย ๔. กระบวนกรเชิญอาจารย์เจ้าสำ�นักมาตรวจสอบ โดย อาจารย์จะเดินไปรอบๆ วง ถ้าอาจารย์ไปหยุดทีใ่ ครแล้ว ทำ�ท่าใด ลูกศิษย์ตอ้ งทำ�ท่าทีต่ า่ งไป แต่ถา้ เผลอทำ�ท่า เดียวกับอาจารย์กต็ อ้ งออกมาเป็นคนตรวจสอบแทน ๕. จากนัน้ ให้เพิม่ จำ�นวนอาจารย์ออกเป็น ๒ คน เพือ่ ให้การตรวจสอบเข้มข้นยิง่ ขึน้ คนทีเ่ ป็นอาจารย์ควรมี เทคนิคในการหลอกล่อให้ยอมมนุษย์ตายใจ พอเผลอก็ กระโดดไปทำ�ท่าตรงหน้า ด้วยความตกใจ ตั้งตัวไม่ทัน หลายคนก็มกั ทำ�ท่าเดียวกับอาจารย์

เกม ตบพื ้ น

วัตถุประสงค์ เพือ่ เรียกสติ สร้างความตืน่ ตัว โดยไม่ตอ้ งขยับตัว สามารถ ใช้เป็นเกมทีเ่ บรกเปลีย่ นบรรยากาศได้ โดยเฉพาะช่วงบ่ายทีผ่ เู้ ข้าร่วมรูส้ กึ ง่วง อุปกรณ์ ๑. ปากกาเคมี ๑ ด้าม วิธกี าร ๑. กระบวนกรและผูเ้ ข้าร่วมนัง่ ล้อมเป็นวง โดยให้หวั เข่าชิดกัน ๒. วางมือสองข้างลงบนพืน้ ในลักษณะไขว้มอื กับคนข้างๆ ๓. ยกมือตบพืน้ ทีละมือ เริม่ จากคนแรกไล่ไปรอบวงโดยให้ดู ทีล่ ำ�ดับของมือ ไม่ใช่ทค่ี น ๔. ถ้ามีคนตบมือ ๒ ครัง้ จะต้องย้อนกลับ ๕. ถ้ามีคนตบมือพลาด จะใช้ปากกาขีดทีห่ ลังมือ ๖. พอจบเกม นับจำ�นวนเพือ่ หาคนทีพ่ ลาดเยอะทีส่ ดุ

๑๗๒ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


เกม มั ง กรลอดถํ ้ า วัตถุประสงค์ เพือ่ สร้างความรูส้ กึ เป็นทีม และความสนุกสนาน วิธกี าร ๑. แบ่งผูเ้ ข้าร่วมออกเป็น ๓ แถวเท่าๆ กัน และให้ยนื เป็นแถว ตอนลึกจับมือกันไว้ ๒. ให้ผเู้ ข้าร่วมนับเลข โดยเริม่ นับจากหัวแถว และจำ�หมาย เลขประจำ�ตัวของตัวเองไว้ ๓. กระบวนกรจะเรียกทีละ ๒ หมายเลขทีต่ ดิ กัน ๔. ให้หมายเลขคูน่ น้ั ยกมือขึน้ เพือ่ ให้คนหัวแถวและหางแถว วิง่ มาลอด (จะต้องจับมือกันตลอด) เช่น หมายเลข ๓-๔ ก็ให้หมายเลข ๓ และ ๔ ยกมือทีจ่ บั กันขึน้ ให้คนอืน่ ลอด เกมนีจ้ ะต้องมีผเู้ ล่นมากกว่า ๓๐ คนขึน้ ไป เนือ่ งจากในแต่ละ แถวจะต้องมีคนมากกว่า ๑๐ คน เพือ่ ความสนุกในการหา หมายเลขและการแข่งขันว่าแถวไหนจะทำ�ได้เร็วกว่ากัน (ยิง่ ผูเ้ ข้าร่วมมีจำ�นวนเยอะเท่าไรก็ยง่ิ สนุกมากขึน้ )

เกม จ่ า ยตลาด

วัตถุประสงค์ เพือ่ ความสนุกสนาน แบบเบาๆ วิธกี าร ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมนัง่ ล้อมเป็นวงกลม ทุกคนจะต้องมีเบาะนัง่ ยกเว้น ๑ คนที่จะต้องเป็นคนซื้อของ (มีเบาะเท่ากับ จำ�นวนคนทีน่ ง่ั อยู)่ • คนทีน่ ง่ั อยูถ่ ามว่า “เธอจะไปไหน?” • คนทีเ่ ดินซือ้ ของตอบว่า “ฉันจะไปตลาด” เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๗๓


• คนทีน่ ง่ั อยูถ่ ามว่า “เธอจะไปซือ้ อะไร?” • คนทีเ่ ดินซือ้ ของตอบว่า “ฉันจะไปซือ้ ...” ๒. แล้วให้แต่ละคนนึกถึงยีห่ อ้ ของสินค้าชนิดนัน้ ๆ แล้วหันไป กระซิบกับคนซ้ายมือ (เพือ่ เป็นพยาน) ๓. เมือ่ คนซือ้ บอกยีห่ อ้ ทีต่ รงกับใครก็ให้ออกไปเดินต่อแถวด้าน หลังคนซือ้ ไปเรือ่ ยๆ จน คนซือ้ ตะโกนว่า “ตลาดวาย” ให้ ทุกคนรีบวิง่ หาทีน่ ง่ั ให้เร็วทีส่ ดุ ๔. เหลือ ๑ คน เป็นคนซือ้ ของต่อไป

เกม ตั ว ระบาด (เชื ้ อ โรค)

วัตถุประสงค์ ประชากร เพือ่ ความสนุกสนาน ดาวติ ๊ ด และได้เคลือ่ นไหวฐานกาย วิธกี าร ๑. สมมติให้ผเู้ ข้าร่วมทุกคนเป็นประชากร ดาวติด๊ ซึง่ จะมีทา่ เดินในแบบเฉพาะ คือ เท้าต่อกัน มือแบะออก และมีเสียง ติด๊ ๆๆ (ดังภาพที่ ๑) ๒. อยู่มาวันหนึ่ง ก็มีตัวเชื้อโรคเกิดขึ้นมาบนดาวติ๊ด ซึ่งตัว เชื้อโรคนี้ก็จะมีท่าเดินเหมือนกับประชากรดาวติ๊ดด้วย เหมือนกัน แต่ตา่ งตรงที่ พอตัวเชือ้ โรคนีไ้ ปแตะทีใ่ คร คนนัน้ จะต้องตัวแข็งทันที ๓. หลังจากนัน้ เพือ่ นทีป่ กติดกี ต็ อ้ งเข้ามาช่วย โดยมีวธิ กี าร คือ คนปกติ ๒ คน เข้ามาจับมือกัน (ดังภาพที่ ๒) แล้วก็ ต้องบอกว่า “เธอเป็นอิสระแล้วๆๆ” ๓ รอบ โดยทีต่ อ้ งส่าย สะโพกและย่อเข่าลงด้วย วิธเี ลือกตัวเชือ้ โรค ให้ขออาสาสมัคร (ทีม่ ที า่ ทางจะเดินได้เร็ว) แต่ถา้ ประชากร มีจำ�นวนมาก และเดินได้เร็ว ให้เพิม่ จำ�นวนตัวเชือ้ โรคเข้าไปอีก วิ ธ ี ช ่ ว ย ประชากรดาวติ ๊ ด

๑๗๔ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


เกม หอย เปลี ่ ย นฝา

เกม ทำ � อะไรดี จ๊ ะ ?

วัตถุประสงค์ เพือ่ ความสนุกสนานและแบ่งกลุม่ ไปด้วยในตัว วิธกี าร ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมจับกลุม่ ๓ คน โดย ๒ คนจับมือกัน (เป็นฝา) ล้อมคนที่ ๓ ทีอ่ ยูต่ รงกลาง (เป็นหอย) ไว้ ๒. เมือ่ กระบวนกรบอกว่า “หอยเปลีย่ นฝา” ให้หอยวิง่ ไป หาฝาใหม่ ๓. เมือ่ กระบวนกรบอกว่า “ฝาเปลีย่ นหอย” ให้ฝาทัง้ ๒ คน จับมือกันย้ายไปหาหอยตัวใหม่ ๔. เมือ่ กระบวนกรบอกว่า “๓ ฝา ๑ หอย” ให้จบั มือกัน เป็นฝา ๓ คน และมีหอยอยูต่ รงกลาง ๑ คน ๕. เมือ่ กระบวนกรบอกว่า “หอยระเบิด” ให้ทกุ คนตะโกน ว่า “ตูม!” แล้วจับมือเป็นฝาเป็นหอยกันใหม่ ๖. จนท้ายที่สุด กระบวนกรบอกว่า “๒ ฝา ๒ หอย” เมื่อ จับมือกันครบแล้วก็ให้นง่ั ลง (จำ�นวนฝากับหอยสามารถ ปรับเปลีย่ นได้ตามขนาดของกลุม่ ทีต่ อ้ งการ) เกมนีถ้ อื เป็นเกมคลาสสิคอีกเกมหนึง่ ในแต่ละพืน้ ทีก่ จ็ ะมี การปรับเปลีย่ นวิธเี รียกไปต่างๆกัน ซึง่ เท่าทีผ่ เู้ ขียนได้ยนิ มา มีวธิ เี รียกดังนี้ ผึง้ เปลีย่ นรัง กระรอกเปลีย่ นรัง ขีเ้ ปลีย่ นหลุม ปลาร้าเปลีย่ นไห ผีเปลีย่ นหลุม วัตถุประสงค์ เพือ่ แบ่งกลุม่ และสัมผัสสร้างความคุน้ เคยกันเล็กน้อย วิธกี าร ๑. กระบวนกรร้องเพลงถามผูเ้ ข้าร่วมว่า “ทำ�อะไรดีจะ๊ ?” ให้ผเู้ ข้าร่วมตอบว่า “ทำ�อะไรดีละ่ ?” ๒. จากนัน้ กระบวนกรจะบอกว่าให้ทำ�อะไร เช่น ให้คน ๓ คน หันหลังชนกัน, ให้คน ๖ คน เอานิว้ หัวแม่เท้าชนกัน ฯลฯ จนคำ�สัง่ สุดท้าย ให้คน ๕ คน เอาแขนคล้องกัน เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๗๕


เกม ปลาร้ า ปลาทู

เกม เสร็ จ ฉั น ละเธอ

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ได้สนุกสนานและถูก เนือ้ ตัวกันนิดหน่อยเพือ่ สร้าง ความคุน้ เคยระหว่างกัน วิธกี าร ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมจับคูก่ นั จากนัน้ ให้นง่ั หันหน้าเข้าหากัน วางมือ ทัง้ สองไว้ระดับอกสลับกัน (ดังภาพ) ให้ตกลงกันเองว่า ใครจะเป็นปลาร้าและใครจะเป็นปลาทู ๒. จากนัน้ กระบวนกรเล่าเรือ่ งไปเทีย่ วตลาด เมือ่ ได้ยนิ คำ�ว่า “ปลาร้า” ให้คนทีเ่ ป็นปลาร้าตีมอื ปลาทู ซึง่ พยายามจะ หลบไม่ให้ถกู ตี และเมือ่ ใดได้ยนิ คำ�ว่า “ปลาทู” ให้ปลาทู ตีมอื คนทีเ่ ป็นปลาร้า ซึง่ พยายามจะหลบไม่ให้ถกู ตี วัตถุประสงค์ เพือ่ สร้างความคุน้ เคยและความสนุกสนาน วิธกี าร ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมเดินไปทัว่ ห้อง เมือ่ กระบวนกรให้สญ ั ญาณ “หยุด” ให้ผเู้ ข้าร่วมหยุดอยูก่ บั ที่ แล้วจับคูก่ บั คนทีอ่ ยูใ่ กล้ๆ ๒. กระบวนกรให้คำ�สัง่ รอบละหนึง่ คำ�สัง่ เช่น (๑) บอกชือ่ จังหวัดทีม่ ตี วั สะกด “ร” อยูด่ ว้ ย (๒) ชือ่ ดอกไม้ทม่ี กี ลิน่ หอม ฯลฯ ๓. เมือ่ กระบวนกรให้คำ�สัง่ เสร็จแล้ว ให้สลับกันตอบ เมือ่ กระบวนกรเคาะระฆังแล้วใครทีย่ งั ไม่ได้พดู (หรือกำ�ลัง จะพูด) ให้ถอื ว่าแพ้ ๔. กระบวนกรบอกให้คนแพ้เอามือไขว้หลัง คนชนะอาจจะ เขีย่ คาง จีเ้ อว ฯลฯ ๕. เล่นจำ�นวน ๕ รอบ โดยครัง้ สุดท้ายให้ผลัดกันนวด

๑๗๖ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


เกม ขนมไทย

วัตถุประสงค์ เพือ่ แบ่งกลุม่ และสัมผัสสร้างความคุน้ เคย วิธกี าร ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมจับกลุม่ กันตามคำ�สัง่ ดังนี้ ถ้าได้ยนิ ว่า... ปาท่องโก๋ ให้ ๒ คนคล้องแขนกัน แซนวิช ให้ ๓ คนประกบกัน ขนมชัน้ ให้ ๔ คนเรียงกัน รวมมิตร ให้ ๕ คนจับมือกันเป็นวงกลม ๒. รอบสุดท้าย ให้ผเู้ ข้าร่วมจับกลุม่ เป็นขนมชัน้ (กลุม่ ละ ๔ คน)

๑.๔ เตรี ย มเข้ า สู ่ ก ิ จ กรรมหลั ก เกม ขั บ รถ

วัตถุประสงค์ เพือ่ สร้างความคุน้ เคยกันมากขึน้ โดยสามารถนำ�ไปสูก่ จิ กรรมหลัก เรือ่ งความไว้วางใจได้ดว้ ย อุปกรณ์ ๑. ผ้าปิดตา จำ�นวนครึง่ หนึง่ ของจำ�นวนผูเ้ ข้าร่วมทัง้ หมด ๒. ซีดเี พลงบรรเลงทีม่ จี งั หวะสนุกๆ วิธกี าร ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมจับคูก่ นั ๒. กระบวนกรแจกผ้าปิดตาคูล่ ะ ๑ อัน (คนทีป่ ดิ ตา คือ คนที่ ยืนอยูข่ า้ งหน้า และ คนทีไ่ ม่ปดิ ตา คือ คนทีย่ นื อยูข่ า้ งหลัง) ๓. ให้ยนื หันหน้าไปทางเดียวกัน ๔. ไม่พดู คุยกัน ให้คนทีป่ ดิ ตาสัมผัสอารมณ์ความรูส้ กึ ทีเ่ กิดขึน้ ๕. ให้คนทีอ่ ยูข่ า้ งหลังจับไหล่เพือ่ นแน่นๆ แล้วพาเพือ่ นออกเดิน ไปรอบๆ ห้อง โดยขอให้เพือ่ นปลอดภัย เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๗๗


๖. ส่วนคนทีป่ ดิ ตา ให้ปล่อยตัวปล่อยใจไปตามเพือ่ น ไป ตามจังหวะเพลง ๗. กลับมาอยูก่ บั ลมหายใจ ถ้าพร้อมแล้วออกเดินทางได้! ๘. กระบวนกรหาสิง่ ของทีจ่ ะเป็นอุปสรรคมาวางขวางทางเดิน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ กิง่ ไม้ เป็นต้น ๙. แลกเปลีย่ นความรูส้ กึ และบทเรียน กระบวนกรสามารถกระตุน้ /ท้าทายให้ผเู้ ข้าร่วมเพิม่ ความเร็ว ขึน้ เรือ่ ยๆ ได้

เกม เหยี ่ ย ว ต้ อ นลู ก ไก่

เกม อวน จั บ ปลา

วัตถุประสงค์ นอกจากความสนุกสนานและการได้ใช้ฐานกายอย่างเต็มที่ ยังสามารถนำ�เข้าสู่เนื้อหาเรื่องที่เกี่ยวกับอำ�นาจ หรือการ ปกป้องเยาวชนจากการคุกคามของสือ่ ทีไ่ ม่เหมาะสมได้ดว้ ย วิธกี าร ๑. แบ่งผูเ้ ข้าร่วมเป็น ๔ กลุม่ ๆ ละ ๔ คน ๒. ให้ตกลงกันว่าใครจะเป็นหมายเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๓. ให้ ๒ ๓ ๔ จับมือกันเป็นวงกลม แล้ว ๑ ออกไปนอกวง ๔. ให้ ๑ ทำ�อย่างไรก็ได้ แตะให้โดนหมายเลข ๒ ดังนัน้ ๓ ๔ จะต้องช่วยกันป้องกัน ๕. จากนัน้ ให้สลับบทบาท ๖. แลกเปลีย่ นความรูส้ กึ และบทเรียน วัตถุประสงค์ เพือ่ ความสนุกสนาน และเตรียมเข้าสู่ กิจกรรมหลักทีม่ เี นือ้ หาเกีย่ วกับอำ�นาจได้ วิธกี าร ๑. สมมติให้ผเู้ ข้าร่วมทัง้ หมดเป็นปลา โดยกำ�หนดขอบเขตของห้องประชุมเป็นท้องทะเล ๒. ขออาสาสมัคร ๑ คน มาแหวกว่ายเป็นอวน ๓. กติกามีอยูว่ า่ ถ้าปลายมือทัง้ ๒ ด้านของอวนไปแตะปลา ตัวไหน ให้ปลาตัวนัน้ กลายเป็นอวน โดยจับมือต่อจากอวน

๑๗๘ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


๔. แต่ช่องว่างระหว่างอวนจะไม่สามารถจับปลาได้ จะมี เพียงปลายมือแต่ละด้านของอวนเท่านั้นที่จับปลาได้ ๕. ให้อวนออกล่าปลาให้ได้มากทีส่ ดุ ปลาตัวไหนทีห่ นีรอด ได้นานทีส่ ดุ จะถือว่าชนะ ๖. ถ้าอวนขาด ถือว่าเกมจบ วัตถุประสงค์

เกม เพือ่ อุน่ เครือ่ งจินตนาการ และเตรียมตัวเข้าสูก่ จิ กรรมหลัก ตุ ๊ ก แก ทีเ่ กีย่ วกับจินตนาการ/ศิลปะ ๒ วิ ญ ญาณ วิธกี าร (กาวดั ก หนู )

๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมหาพืน้ ทีส่ ว่ นตั วเพือ่ สร้างกล่องแก้วทีส่ ามารถ กันตัวเองออกจากคนอืน่ ได้ ให้อยูก่ บั ลมหายใจของตัวเอง ๒. เลือกมือข้างทีถ่ นัดน้อยกว่าอีกข้าง วางกดลงไปกับพืน้ ให้แน่นทีส่ ดุ ให้รสู้ กึ เหมือนกับว่ามีกาวติดมือเรากับพืน้ ให้สงั เกตความรูส้ กึ ทีเ่ กิดขึน้ ๓. ใช้มอื ข้างทีถ่ นัดดึงมือทีต่ ดิ กาวขึน้ มา ราวกับมีคน ๒ คน กำ�ลังต่อสูก้ นั อยู่ ให้มแี รงต้านเกิดขึน้ จริงๆ ใช้กลยุทธ์ทกุ รูปแบบทีท่ ำ�ให้ดงึ มืออีกข้างขึน้ ให้ได้ สังเกตความรูส้ กึ ๔. สลับมือ แล้วสังเกตความรูส้ กึ ทีเ่ กิดขึน้ ณ ขณะนัน้ ด้วย ๕. ย้ายพืน้ ทีม่ าเป็นผนังห้อง ยืนในท่าทีส่ บายๆ วางมือทัง้ สองข้างบนผนังเสมือนถูกติดกาว ให้รู้สึกว่ามือทั้งสอง เป็นส่วนเดียวกับผนัง ให้รา่ งกายส่วนอืน่ ๆ พยายามดึง มือออกจากผนัง สังเกตความรูส้ กึ ๖. แนบตัวกับผนังห้อง ให้รสู้ กึ เหมือนว่ามีกาวติดอยูด่ า้ นหลัง ตอนแรกยังไม่รสู้ กึ ตัว (ทำ�ความคุน้ เคยกับผนัง) ๗. ให้รู้สึกว่าเรากำ�ลังพยายามดึงตัวออกมาจากผนัง ให้ รับรูถ้ งึ ความยืดและหนืด ก่อนทีจ่ ะดีดกลับเข้าไปใหม่ ๘. จากนัน้ เราจะเริม่ มีพลังมากกว่าแรงดึงดูด ค่อยๆ ออกมา ได้ไกลขึน้ แม้จะยังดีดกลับไป แต่เราก็มาได้ไกลขึน้ เรือ่ ยๆ แบ่งระดับตามระยะทางได้เป็น ๑-๕ ระดับ ๙. เขียนบันทึกความรูส้ กึ /บทเรียน เป็นเวลา ๕ นาที เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๗๙


วัตถุประสงค์ เกม อ่ สร้างความคุน้ เคย ความรูส้ กึ ร่วม เพือ่ ตรวจสอบข้อมูล เรี ย งลำ � ดั บ เพื บางอย่างของผูเ้ ข้าร่วม เช่น ช่วงอายุ งานอดิเรก ความสนใจ วิธกี าร ให้ผเู้ ข้าร่วมเข้าแถวเรียงลำ�ดับตามโจทย์อย่างรวดเร็ว โจทย์ ๑. ลำ�ดับชือ่ โดยใช้พยัญชนะตัวสุดท้ายของชือ่ จริง จาก ก–ฮ ๒. เรียงลำ�ดับตามจำ�นวนพยางค์ของชือ่ เล่น ชือ่ จริง และ นามสกุลจากน้อยไปมาก (หากพยางค์เท่ากัน ให้ดจู ำ�นวน สละเสียงสัน้ ยาว หรืออาจใช้ความรูส้ กึ วัดความสัน้ ยาวก็ได้) ๓. เรียงลำ�ดับตามวัน-เดือนเกิด ๔. เรียงลำ�ดับตามอายุ จากน้อยไปมาก กระบวนกรสามารถปรับโจทย์ให้สอดคล้องกับเนือ้ หาหรือ ประเด็นทีต่ อ้ งการได้ เช่น หากเนือ้ หาเกีย่ วกับเยาวชนทีต่ ดิ เกมคอมพิวเตอร์ ก็อาจจะปรับโจทย์เป็น เรียงลำ�ดับจำ�นวน ชัว่ โมงทีเ่ ล่นเกมใน ๑ วันจากน้อยไปมากก็ได้

๑.๕ การภาวนาแบบต่ า งๆ ฝึ ก ภาวนา

แบบนั บ เลขในใจ (Heart Math)

๑๘๐ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ

วัตถุประสงค์ เพือ่ ช่วยให้ผเู้ ข้าร่วมมีความสงบและผ่อนคลายได้เร็วขึน้ และพร้อมสำ�หรับการทำ� วิธกี าร ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมนัง่ ในท่าทีส่ บายๆ ๒. ให้กำ�หนดตัวเลขขึน้ ภายในใจ ๒ ชุดๆ ละ ๒ ตัว เช่น หายใจเข้า ๑-๒, หายใจออก ๓-๔ ๓. ชุดตัวเลขดังกล่าวหมายถึงระยะความสัน้ ยาวของ ลมหายใจ ซึง่ จะช่วยกำ�หนดให้ลมหายใจเข้า-ออก มีความยาวทีใ่ กล้เคียงกัน


การภาวนาด้ ว ยก้ อ นกรวดตามวิ ถ ี ข องท่ า น ติ ช นั ท ฮั น ห์ การภาวนาด้วยก้อนกรวดโดยเฉพาะในตอนเช้า เป็นการเริม่ ต้น วันใหม่ที่ดีกับตัวเอง ทั้งนี้ เคยมีการใช้การภาวนากับคนไข้ เบาหวาน ปรากฏว่าได้ผลดีมาก วัตถุประสงค์ เพือ่ สร้างความสงบภายในของผูเ้ ข้าร่วมและบรรยากาศภายนอกโดยรวม อีกทัง้ เป็นการดึงพลังชีวติ ขึน้ มาโดยผ่านการเชือ่ มโยงกับธรรมชาติดว้ ย อุปกรณ์ ๑. ระฆังญีป่ นุ่ ๒. ก้อนกรวดกลม (จำ�นวนคน x 4) วิธกี าร ๑. วางก้อนหินไว้ตรงหน้าผูเ้ ข้าร่วมคนละ ๔ ก้อน ๒. กระบวนกรนำ�ภาวนา

ก้ อ นที ่ ๑

ก้ อ นที ่ ๒

ก้ อ นที ่ ๓

ก้ อ นที ่ ๔

๓. ก้อนที่ ๑ ฉันเป็นดั่งดอกไม้ ฉันสดชื่น ให้เราจินตนาการว่ามีสวนดอกไม้ ทะเลสาบภูเขาใหญ่ เบือ้ งบนเป็นท้องฟ้ากว้าง ฟ้าสีคราม ฉันเป็นดัง่ ดอกไม้ ฉันสดชืน่ หายใจเข้า-ดอกไม้ หายใจออก-สดชืน่ ๔. ก้อนที่ ๒ ฉันเป็นดัง่ ขุนเขา ฉันมัน่ คง หายใจเข้า-ขุนเขา หายใจออก-มัน่ คง ๕. ก้อนที่ ๓ ฉันเป็นดัง่ นํา้ ใส ฉันสงบนิง่ หายใจเข้า-น้ำ�ใส หายใจออก-สงบนิง่ ๖. ก้อนที่ ๔ ฉันเป็นดัง่ ความว่าง ฉันเป็นอิสระ หายใจเข้า-ความว่าง หายใจออก -อิสระแล้วปล่อยตัวเองให้เป็นอิสระ เบา สบาย เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๘๑


การผ่ อ นพั ก ตระหนั ก รู ้

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้มชี ว่ งเวลาทีไ่ ด้พกั ผ่อนและผ่อนคลาย อย่างเต็มที่ อีกทัง้ ยังเป็นการเตรียมร่างกายและจิตใจให้ พร้อมสำ�หรับกิจกรรมในช่วงต่อไป อุปกรณ์ ๑. ระฆังญีป่ นุ่ ๒. เสือ่ หรือผ้าสำ�หรับปูนอน ๓. นาิกา ๔. เครือ่ งเสียงและแผ่นซีดเี พลงบรรเลง วิธกี าร ๑. กระบวนกรนำ�ผ่อนพัก โดยการพูดช้าๆ มีเสียงดนตรี คลอเบาๆ ทัง้ นีก้ ระบวนกรไม่จำ�เป็นต้องพูดตลอดเวลา ๔๐ นาที อาจจะนำ�ผ่อนพักเพียง ๑๐ นาทีแรก หากผู้ เข้าร่วมคนไหนรูส้ กึ ผ่อนคลายจนง่วงก็สามารถหลับได้ เลย ใครไม่งว่ งก็ให้ฝกึ ตระหนักรูอ้ ยูก่ บั ความผ่อนคลายนัน้ ๒. เมือ่ ครบ ๔๐ นาที กระบวนกรปลุกผูเ้ ข้าร่วมให้รสู้ กึ ตืน่ ตัวและสดชืน่ ๓. หลังจากนัน้ อาจจะนวด หรือทำ�โยคะเพือ่ ยืดเส้นยืดสาย เล็กน้อย

• ตั ว อย่ า งบทนำ � ผ่ อ นพั ก ตระหนั ก รู ้ ท่าทีเ่ รานอนสบายทีส่ ดุ คือ ท่าโยคะ ท่าศพ แต่ถา้ ใครรูส้ กึ อึดอัด อยากนอน ตะแคงก็สามารถนอนตะแคงขวาได้ (การนอนตะแคงซ้ายจะกดทับหัวใจ) ให้รสู้ กึ ว่าแผ่นหลังของเราสัมผัสพืน้ หงายฝ่ามือ ขณะนีร้ า่ งกายของเราค่อยหนักขึน้ ๆ คล้ายกับว่ากำ�ลังจะจมลงไปในพืน้ ในช่วงเวลานีข้ อให้ปล่อยร่างกาย ปล่อยความ คิด ความรูส้ กึ ต่างๆ ไว้กบั ผืนแผ่นดินก่อน ฝากไว้กบั ผืนแผ่นดินทีเ่ ป็นเหมือนแม่ ของเรา ปล่อยให้แม่โอบกอดร่างกายของเราไว้ ไม่มสี ง่ิ ใดทีต่ อ้ งกังวล เมือ่ เราอยู่ ในอ้อมกอดของแม่ แม่ทย่ี ง่ิ ใหญ่ แม่ของโลกใบนี้ ปล่อยให้ทกุ อย่างดำ�เนินไป ตามทางของมัน เราใช้รา่ งกายของเรามานาน ให้เวลานีเ้ ป็นเวลาทีร่ า่ งกายของ ๑๘๒ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


เราได้พกั ผ่อนคลาย ค่อยๆ เคลือ่ นความรูส้ กึ ไปไว้ทเ่ี ท้า ผ่อนคลายปลายเท้า ปล่อยคลายฝ่าเท้าทัง้ สองข้าง นิว้ เท้า หน้าแข้ง น่อง ขาทัง้ สองข้าง ให้รสู้ กึ ผ่อน คลาย ผ่อนคลายสะโพก ช่องท้อง ส่งความรัก ความปรารถนาดีมาทีก่ ระเพาะ อาหารทีก่ ำ�ลังทำ�งานอย่างหนักในขณะนี้ ให้เขาได้ทำ�งานอย่างเต็มที่ ผ่อนคลาย บริเวณหน้าอก สีขา้ ง และผ่อนคลายทัว่ ทัง้ แผ่นหลัง ผ่อนคลายหัวไหล่ทแ่ี บกรับ ภาระ ความตึงเครียดต่างๆ ปล่อยวาง ผ่อนคลายแขน ฝ่ามือ และนิว้ มือทัง้ สอง ข้าง ค่อยเคลื่อนความรู้สึกผ่านลำ�คอที่บริเวณใบหน้า ผ่อนคลายทั่วทั้งศีรษะ ทัว่ ทัง้ ร่างกาย ให้เราลองจินตนาการว่า เรากำ�ลังเป็นก้อนหินเล็กๆ ก้อนหนึง่ ทีก่ ำ�ลังจะ จมลงไปในแม่นํา้ ทีก่ ว้างใหญ่ ก้อนหินค่อยๆ ดิง่ ลงไปในแม่นํา้ ทีก่ ว้าง ลึกๆๆๆ ลงไปหยุดนิง่ ใต้ผนื ทราย ใต้แม่นํา้ นัน้ สายนํา้ นิง่ สงบ ทรายขาวละเอียด เราหยุด นิง่ บนผืนทราย ไร้นํ้าหนัก มีแต่ความเย็นสบาย ปล่อยให้สายนํ้าค่อยๆ ซึมซับ เข้าผิวร่างกายของเรา รูส้ กึ เย็นสบาย ปล่อยให้ความเหนือ่ ยล้าทัง้ กายและใจซึม ไปกับสายนํ้า คงเหลือไว้แต่ความเย็นสบาย ปล่อยให้สายน้ำ�โอบอุม้ ตัวเราไว้ เมือ่ เราอยูใ่ นอ้อมกอดของสายนํา้ เย็นสบาย ผ่อนคลาย ไร้นํา้ หนัก ให้สายนํา้ คอยดูแลเรา ใครรูต้ วั ว่าร่างกายของเราต้องการพักผ่อน ก็ขอให้หลับลงไปเลย ไม่มสี ง่ิ ใด ที่ต้องเป็นกังวล ถ้าใครไม่รู้สึกง่วง ให้อยู่กับความรู้สึกในใจของเรา บ้านที่อยู่ ภายในใจของเรา (เมือ่ เวลาผ่านไปประมาณ ๔๐ นาที กระบวนกรปลุกผูเ้ ข้าร่วมให้ตน่ื ตัวสัน้ ๆ) ให้รสู้ กึ ว่าเราเป็นหนึง่ เดียวกับสายนํา้ รูส้ กึ ว่าเรากำ�ลังมีแรงกายแรงใจเพือ่ จะเรียนรูต้ อ่ ไปในยามบ่ายนี้ กะพริบเปลือกตาช้าๆ ดึงความรูส้ กึ กลับคืนมา บิด ขีเ้ กียจไปทางซ้ายทางขวาค่อยๆ ตะแคงตัวลุกขึน้ ในท่านัง่ หมายเหตุ ๑. การผ่อนพักตระหนักรู้ มักจะทำ�ช่วงบ่ายก่อนเริม่ กิจกรรมอืน่ ๆ ๒. ทีม่ าของบทนำ�ผ่อนพักตระหนักรู:้ เสมสิกขาลัย เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๘๓


๒. กิ จ กรรมหลั ก กิจกรรมในหมวดนี้มีจุดมุ่งหมายในการสร้างการเรียนรู้ ตามเนื้อหาหรือ วัตถุประสงค์ทว่ี างเอาไว้ ส่วนใหญ่การร้อยเรียงกระบวนการมักวางกิจกรรมหลัก ไว้ในแต่ละช่วงอย่างเชือ่ มโยงกัน ดังนัน้ กิจกรรมทีผ่ เู้ ขียนยกมาเป็นตัวอย่างนี้ จึงไม่ใช่กจิ กรรมทีบ่ รรลุผลสมบูรณ์ดว้ ยตัวเองจะต้องมีบริบทอืน่ ๆ แวดล้อมด้วย

๒.๑ พลั ง กลุ ่ ม กิ จ กรรม แม่ น ้ ำ � พิ ษ

วัตถุประสงค์ เพือ่ สร้างการเรียนรูเ้ กีย่ วกับพลังกลุม่ และเพือ่ ให้ ผูเ้ ข้าร่วมได้เรียนรูก้ ารทำ�งานเป็นทีม เรียนรูบ้ ทบาทของ ตัวเองทีม่ ตี อ่ ทีม และบทบาททีท่ มี มีตอ่ ตัวเอง และหาก ผูเ้ ข้าร่วมเป็นกลุม่ ทีม่ าจากโรงเรียนหรือองค์กรเดียวกัน ก็สามารถเชือ่ มโยงกลับไปถึงบทบาทของแต่ละคนทีม่ ี ต่อความเป็นกลุม่ /ทีมในชีวติ จริงได้

อุปกรณ์ ๑. แผ่นพลาสติกหรือกระดาษ ขนาด เอ ๔ (ส่วนใหญ่ใช้เสือ่ นํา้ มัน เนือ่ งจากมี ความทนทาน) จำ�นวนเท่ากับ จำ�นวนผูเ้ ข้าร่วม/๒ + ๑ เช่น มีผเู้ ข้าร่วมทัง้ หมด ๓๒ คน ก็จะใช้แผ่นพลาสติกจำ�นวน ๓๒/๒ + ๑ = ๑๗ แผ่น ๒. เชือก ๒ เส้น เพือ่ ทำ�แนวแม่นํ้า โดยแต่ละเส้นมีความยาวเท่ากับ จำ�นวน ผูเ้ ข้าร่วม x๒ เมตร (ช่วงก้าวยาวๆ) + ๒ เมตร (๑ ช่วงก้าว) ๓. นาิกา ๔. ปากกาเคมี ๑ ด้าม ๕. ระฆัง เพือ่ ให้สญ ั ญาณก่อนปล่อยนํ้าจากเขือ่ น ๑๘๔ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


โจทย์/กติกา ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมทุกคนเดินผ่านแม่นํา้ พิษ ตัง้ แต่จดุ เริม่ ต้นจนถึงจุดสุดท้ายอย่าง ปลอดภัย โดยต้องมีสว่ นหนึง่ ส่วนใดของร่างกายทีช่ ดิ กันตลอดต่อเนือ่ ง จน กระทัง่ คนสุดท้ายข้ามพ้นเส้นชัย ๒. หากหลุดจากกันต้องเริม่ ต้นใหม่ ๓. มีหนิ (แผ่นพลาสติก) ให้จำ�นวนตามสูตรข้างต้น

จุ ด เริ ่ ม ต้ น

เส้ น ชั ย

๔. ถ้าส่วนหนึง่ ส่วนใดของร่างกายออกนอกก้อนหินจะกลายเป็นคนพิการ (กระบวนกรใช้ปากกาเคมีขดี ส่วนนัน้ ) แล้วส่วนนัน้ จะใช้งานไม่ได้อกี ต่อไป ๕. ถ้าผูเ้ ข้าร่วมใช้เวลาในการข้ามแม่นํา้ นานเกินไป เหนือแม่นํา้ มีเขือ่ นทีพ่ ร้อม จะปล่อยนํ้า ซึง่ จะถือว่าเกมยุติ แต่จะมีสญ ั ญาณเตือนก่อนล่วงหน้า ๖. ถ้าหินลอยอยูเ่ ฉยๆ โดยไม่มคี นถือไว้ จะโดนจระเข้ (กระบวนกร) แย่งไป หมายเหตุ ในระหว่างทีผ่ เู้ ข้าร่วมทำ�กิจกรรม กระบวนกรควรสังเกตบรรยากาศ สถานการณ์ ท่าทีและบทบาทของแต่ละคน เพือ่ เป็นข้อมูลในการชวนคุย การกำ�หนดเวลาปล่อยนํ้าจากเขื่อนไว้ในตอนต้น จะเป็นเงื่อนไขที่ช่วย กระตุน้ ให้ผเู้ ข้าร่วมต้องช่วยกันหาทางออก และกระตุน้ ให้ผเู้ ข้าร่วมบางคนแสดง บทบาทผูน้ ำ�โดยธรรมชาติ ซึง่ สามารถนำ�ประเด็นนีม้ าชวนคุยได้ จากประสบการณ์ของผูเ้ ขียน มีหลายครัง้ ทีผ่ เู้ ข้าร่วมขอต่อเวลาเพือ่ ทีจ่ ะไป ให้ถงึ เส้นชัยให้ได้ ในกรณีเช่นนี้ ขึน้ อยูก่ บั สถานการณ์/บริบทแวดล้อม ณ ขณะ นัน้ ๆ ว่าการยืดเวลาออกไปจะทำ�ให้เกิดการเรียนรูอ้ ย่างทีต่ ง้ั ใจไว้หรือไม่ เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๘๕


กิ จ กรรม เป็ ด เจ้ า ปั ญ หา (เป็ ด ชิ ง พื ้ น ที ่ )

ที ่ ว ่ า ง เป็ ด

วัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบพลังกลุ่ม และเรียนรู้ถึง บุคลิกของตัวเองในการทำ�งานหรือแก้ไข สถานการณ์รว่ มกับคนอืน่ ในขณะเดียวกัน ก็เป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ ล่น ด้วย เพราะมีศตั รูคนเดียวกัน คือ เป็ด อุปกรณ์ ๑. เบาะรองนัง่ หรือกระดาษ เอ ๔ จำ�นวนเท่ากับจำ�นวนผูเ้ ข้าร่วม + ๑ ๒. กระดาษกาว (ในกรณีทใ่ี ช้กระดาษ) ๓. ระฆัง ๔. นาิกาจับเวลา

วิธกี ารดำ�เนินกิจกรรม ๑. สมมติให้แผ่นกระดาษ/เบาะรองนัง่ เป็นรัง โดยวางกระจายไปทัว่ ห้อง แล้ว ให้แต่ละคนยืนอยูบ่ นรัง ๒. จะมีรงั ว่างอยู่ ๑ รัง ๓. จะมีเป็ดตัวหนึง่ เดินด้วยความเร็วคงทีเ่ พือ่ แย่งชิงรังว่างนัน้ ป ผล ๔. สมาชิกทุกคนต้องช่วยกันปิดพืน้ ทีว่ า่ งให้นานทีส่ ดุ เท่าทีท่ ำ�ได้ ตารางสรุ กิ จ กรรมฯ ๕. ทุกคนจะต้องมีสว่ นร่วม เวลา (วิ น าที ) คนเสี ย พื ้ น ที ่ รอบที ่ ๖. ห้ามย้ายรัง ๗. ห้ามกัก๊ ยืนขาละรัง ๘. ห้ามขวางกัน้ หรือทำ�ร้ายเป็ด ๙. บันทึกเวลาทีป่ กป้องทีว่ า่ งได้นานทีส่ ดุ ในแต่ละรอบ และชือ่ คนทีเ่ สียพืน้ ที่ ๑๐. แลกเปลีย่ นความรูส้ กึ /บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ หมายเหตุ ในกรณีทผ่ี เู้ ข้าร่วมมีการประสานความร่วมมือหรือวางแผนได้ดมี าก สามารถ ป้องกันที่ว่างได้นาน กระบวนกรอาจจะเพิ่มจำ�นวนเป็ดขึ้นมาได้ โดยการขอ อาสาสมัครจากผูเ้ ข้าร่วม ๑๘๖ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


กิ จ กรรม ตั ว ต่ อ มหาสนุ ก

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้เรียนรูป้ จั จัยทีเ่ ป็นอุปสรรค หรือข้อจำ�กัดในการทำ�งานร่วมกัน และได้เรียนรู้ สภาวะภายในของตัวเองขณะทำ�งานร่วมกับผูอ้ น่ื ภายใต้เงื่อนไขหรือข้อจำ�กัดที่เป็นอุปสรรค ซึ่ง สามารถเชือ่ มโยงสูส่ ถานการณ์ในชีวติ ประจำ�วันได้

อุปกรณ์ ๑. ชุดตัวต่อเลโก้ตน้ แบบ ซึง่ กระบวนกรจะต้องต่อไว้กอ่ น โดยไม่ให้ผเู้ ข้าร่วมเห็น ๒. ตัวต่อเลโก้สำ�หรับแต่ละกลุม่ ๓. เชือก ใช้ขงึ ทำ�เขต วิธกี ารดำ�เนินกิจกรรม ๑. แบ่งผูเ้ ข้าร่วมออกเป็น ๘ กลุม่ ๆ ละ ๕ – ๖ คน โดยแต่ละคนในกลุม่ มีหน้าที่ ต่างกัน (ดูรายละเอียดหัวข้อ บทบาท และภาพประกอบ) ๒. สมาชิกภายในกลุม่ ทุกคน ต้องช่วยกันต่อตัวต่อให้เหมือนกับต้นแบบทุก ประการ ทัง้ สี รูปร่างและขนาด ๓. เมือ่ หมดเวลาแล้ว นำ�ผลงานของแต่ละกลุม่ มาเทียบกับต้นแบบ ๔. แลกเปลีย่ นบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ ๕. ใช้เวลาประมาณ ๔๕ นาที ๒

๔ ๕

เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๘๗


๓ ทำ�หน้าที่ สังเกตการณ์

๑ ถ่ายทอด ให้ ๒

๒ รับไปบอกต่อ

๔-๖ ฟังจาก ๒ แล้วลงมือทำ�

บทบาท ๑. หมายเลข ๑ เป็นคนทีเ่ ห็นต้นแบบ: ไม่สามารถมาหากลุม่ ได้ ๒. หมายเลข ๒ เป็นคนรับสารจากหมายเลข ๑ มาถ่ายทอดกับกลุม่ : ไม่เห็น ต้นแบบและห้ามลงมือทำ� ทัง้ นี้ หมายเลข ๒ จะวิง่ ไปคุยกับหมายเลข ๑ กี่ รอบก็ได้ และจะวิง่ มาบอกหมายเลข ๔ – ๖ ทีอ่ ยูใ่ นห้องกีร่ อบก็ได้ ๓. หมายเลข ๓ เป็นคนสังเกตการณ์: ต้องเอามือไขว้หลังตลอดเวลา ห้ามพูด หรือส่งสัญญาณใดๆ ทำ�ได้เพียงพยักหน้าและส่ายหน้าเท่านัน้ แต่สามารถ เดินไปได้ทกุ ที่ ๔. หมายเลข ๔ – ๖ เป็นคนลงมือทำ�: ต่อตัวต่อให้ได้ตามแบบ โดยไม่สามารถ ลุกไปไหนได้ หมายเหตุ การจัดเตรียมสถานที่ ควรให้แต่ละเขตอยูห่ า่ งกันพอสมควร หรืออาจจะอยู่ คนละห้องก็ได้ และควรมีกระบวนกรประจำ�อยูแ่ ต่ละจุด เช่น จุดทีห่ มายเลข ๑ และ ๒ มาพบกัน และภายในห้องทีห่ มายเลข ๔-๖ นัง่ ต่อตัวต่อ ในกรณีทไ่ี ม่มอี ปุ กรณ์ทเ่ี ป็นชุดตัวต่อเลโก้ เราสามารถใช้การวาดภาพแทน ได้ โดยทีก่ ระบวนกรวาดภาพต้นแบบ (ส่วนใหญ่จะเป็นภาพเรขาคณิต) แล้วให้ ผูเ้ ข้าร่วมช่วยกันวาดให้เหมือนกับต้นแบบ โดยแต่ละบทบาททำ�หน้าทีเ่ หมือน กับการต่อเลโก้ ๑๘๘ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


๒.๒.๑ อำ � นาจ กิ จ กรรม แม่ เ หล็ ก

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้เรียนรูถ้ งึ เรือ่ งอำ�นาจ ทัง้ ในด้าน ทีเ่ ป็นผูม้ อี ำ�นาจและเป็นผูถ้ กู สัง่ การโดยผูม้ อี ำ�นาจ วิธกี ารดำ�เนินกิจกรรม ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมจับกลุม่ ๓ คน แล้วนับเลข ๑,๒,๓ และ จำ�หมายเลขประจำ�ตัวของตัวเองไว้ ๒. รอบที่ ๑ ให้ฝา่ มือของคนทีน่ บั ๑ เป็นแม่เหล็ก และ หน้าของคนทีเ่ หลือเป็นเหล็ก ไม่วา่ ฝ่ามือของหมายเลข ๑ จะพาไปไหน ใบหน้าของหมายเลข ๒ และ ๓ ต้อง ตามไปด้วย ๓. สลับหมายเลข ๒ และ ๓ เป็นแม่เหล็กในรอบต่อไป ๔. แลกเปลีย่ นบทเรียนทีเ่ กิดขึน้

๒.๒.๒ ความรุ น แรง-สั น ติ ว ิ ธ ี กิ จ กรรม ความรุ น แรง

วัตถุประสงค์ เพือ่ สร้างการเรียนรูเ้ รือ่ งทีม่ าของความรุนแรง ทีม่ า จากภายในของแต่ละคน รวมถึงวิธที ห่ี ลากหลายในการ ใช้ความรุนแรงและสันติวธิ ี อุปกรณ์ เชือกหรือกระดาษกาว เพือ่ ขึงทำ�เส้นแบ่งเขต วิธกี าร ๑. แบ่งผูเ้ ข้าร่วมเป็น ๒ ฝ่าย โดยคนทีอ่ ยูต่ รงข้ามกัน ให้มรี ปู ร่างใกล้เคียงกัน ๒. ทำ�อย่างไรก็ได้ ให้คนทีฟ่ ากตรงข้ามมาอยูฟ่ ากเรา ให้ได้มากทีส่ ดุ ๓. การข้ามฟากแต่ละครัง้ นับเป็น ๑ แต้ม เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๘๙


กิ จ กรรม

ตี เ มื อ ง/ชิ ง เมื อ ง แบ่ ง กลุ ่ ม และ ตั ้ ง ชื ่ อ เมื อ งสมมติ เตรี ย มฟั ง อธิ บ าย สถานการณ์ จากกระบวนกร วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้เรียนรูถ้ งึ เรือ่ งความรุนแรง โดยเฉพาะความรุนแรงทีม่ า จากความคุ้นชินหรือสัญชาตญาณภายในของแต่ละคน ให้ผู้เข้าร่วมได้เห็น (ตระหนัก) ถึงธรรมชาติภายในทีม่ กั จะใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหา เพือ่ ทีจ่ ะได้แสวงหาทางในการสร้างสันติวธิ จี ากภายในต่อไป วิธกี ารดำ�เนินกิจกรรม ๑. แบ่งผูเ้ ข้าร่วมเป็น ๔ กลุม่ ๆ ละ ๕ คนขึน้ ไป (จำ�นวนกลุม่ และสมาชิกต่อกลุม่ ขึน้ อยูก่ บั จำ�นวนผูเ้ ข้าร่วม) ๒. ให้แต่ละกลุม่ อยูค่ นละมุมห้อง สมมติให้แต่ละกลุม่ เป็นเมืองๆ หนึง่ และตัง้ ชือ่ ๓. กระบวนกรอธิบายสถานการณ์วา่ ช่วงนีไ้ ด้เกิดวิกฤตทางธรรมชาติ ทำ�ให้ขา้ ว ยากหมากแพง ประชาชนกำ�ลังจะอดตาย ดังนัน้ เราต้องไปตีเมืองอืน่ เพือ่ เอา ทรัพยากรมาเลีย้ งประชาชนของเรา และเอาตัวเชลยมาเป็นแรงงานในเมือง ของเรา (กระบวนกรสามารถแต่งหรือปรับเปลีย่ นเรือ่ งตามความเหมาะสม) ๔. พอกระบวนกรบอกว่า “ให้เมือง...ไปตีเมือง...” ให้สมาชิกของเมืองนัน้ ไปแย่ง ชิงพลเมืองๆ นัน้ มาให้ได้มากทีส่ ดุ ภายในเวลา ๑๐ วินาที ๕. เมือ่ กระบวนกรเคาะระฆัง จะถือว่าสิน้ สุดต่อรอบ ให้กลับเมืองของตัวเอง ๖. แลกเปลีย่ นบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ หมายเหตุ ก่อนทำ�กิจกรรม ขอให้ผเู้ ข้าร่วมถอดเครือ่ งประดับทีม่ คี า่ หรืออาจจะทำ�ให้ ได้รบั บาดเจ็บออกก่อน ๑๙๐ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


๒.๓ เข้ า ใจตั ว เอง ผู ้ อ ื ่ น และธรรมชาติ กิ จ กรรม ภาพสะท้ อ นชี ว ิ ต

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมมีชว่ งเวลาทีไ่ ด้ใคร่ครวญตัวเอง และ ทำ�ความเข้าใจสภาวะของตัวเอง ณ ขณะปัจจุบนั นอกจาก นัน้ ยังเป็นการผ่อนคลายภายใต้บรรยากาศทีเ่ ป็นธรรมชาติอกี ด้วย อุปกรณ์ ๑. กระดาษา เอ ๔ หรือสมุดบันทึก ๒. ปากกา วิธกี ารดำ�เนินกิจกรรม ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมเขียนเรือ่ งราวทีส่ ะท้อนภาพชีวติ โดยใช้ สรรพสิ่งที่อยู่รอบตัว ณ ขณะนั้น (เลือกมาเพียง ๑ อย่าง) เป็นสือ่ แทนภาวะชีวติ ๒. ก่อนลงมือเขียน ขอให้ผเู้ ข้าร่วมอยูก่ บั สิง่ ทีเ่ ลือกมานัน้ สักครูก่ อ่ น แล้วลงมือเขียนโดยไม่ตอ้ งกังวลเรือ่ งของ ภาษาหรือรูปประโยคทีใ่ ช้ ๓. ผูเ้ ข้าร่วมสามารถเดินไปเขียนทีไ่ หนก็ได้ ๔. ใช้เวลาประมาณ ๓๐ นาที ๕. แบ่งปันบทบันทึกร่วมกัน หมายเหตุ ส่วนใหญ่สถานที่ที่ใช้ในการทำ�กิจกรรมจะเป็น สถานทีท่ างธรรมชาติทร่ี ม่ รืน่ มีพน้ื ทีท่ ผ่ี เู้ ข้าร่วมรูส้ กึ ถึง ความเป็นส่วนตัวและผ่อนคลาย หลายครัง้ ทีเ่ ราจะได้พบ ว่า ทุกคนมีความเป็นกวีอยูใ่ นตัว เรือ่ งนี้ แม้แต่ตวั ผูเ้ ข้า ร่วมเองก็ไม่รมู้ าก่อน จนกว่าจะได้ผา่ นการลงมือทำ�

เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๙๑


กิ จ กรรม ช่ อ งสะท้ อ นตั ว ตน

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้มองเห็นและเข้าใจความแตกต่าง ของคน ซึง่ นำ�ไปสูก่ ารยอมรับความแตกต่างหลากหลาย นัน้ ๆ โดยเฉพาะความต่างทีม่ กั ทำ�ให้ไม่พอใจหรือเกิด ความขัดแย้ง อุปกรณ์ ๑. กระดาษ เอ ๔ ๒. ปากกา

กระบวนการดำ�เนินกิจกรรม ๑. แจกกระดาษ เอ ๔ ให้ผเู้ ข้าร่วมคนละแผ่น แล้วให้พบั เป็น๔ ช่องเท่าๆ กัน • ช่องที่ ๒ ให้เขียนพฤติกรรมทีท่ ำ�ให้โกรธ ไม่พอใจ ขุน่ เคืองมาก (อาจเป็น คนใกล้ชดิ ก็ได้) • ช่องที่ ๓ ให้เขียนพฤติกรรมทีค่ วรจะเป็นในเชิงบวกทีต่ รงข้ามกับช่องที่ ๒ (ข้อดีในตัวเอง) ๒. แบ่งกลุม่ ผูเ้ ข้าร่วมออกเป็นกลุม่ ละ ๖-๗ คน ๓. แลกเปลีย่ นภายในกลุม่ ให้ชอ่ งที่ ๑ และ ๔ เป็นมุมมองทีค่ นอืน่ มองเข้ามา โดย • ช่องที่ ๑ เป็นมุมมองทีเ่ ป็นบวกของเจ้าของอารมณ์นน้ั ๆ • ช่องที่ ๔ เป็นมุมมองทีเ่ ป็นลบทีค่ นอืน่ มองเรา ๑๙๒ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


กิ จ กรรม เดิ น เสี ่ ย ง

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้เรียนรูถ้ งึ ภาวะของความเสีย่ ง ต่อเรื่องต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ ไม่ว่าจะระวังตัวเอง แค่ไหนก็ตาม

วิธกี ารดำ�เนินกิจกรรม ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมมารวมกันทีล่ านกว้างๆ ยืนตำ�แหน่งใดก็ได้ ไม่ใส่รองเท้า ๒. หลังจากนัน้ ให้ผเู้ ข้าร่วมค่อยๆ หลับตาลง แล้วออกเดินไปตามจำ�นวนก้าว ทีก่ ระบวนกรบอก ซึง่ จะเดินท่าไหน ทิศไหนก็ได้ ๓. เริม่ จาก ๑ ก้าว ...๓ ก้าว ...๔ ก้าว ...๗ ก้าว ...๑๒ ก้าว ...๑๗ ก้าว … ๔. ถ้ามีใครชนกันให้นง่ั ลงและลืมตาได้ ส่วนคนทีย่ งั ไม่ชนกับใครก็ให้ฟงั คำ�สัง่ และเดินไปเรือ่ ยๆ ๕. แลกเปลีย่ นบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ หมายเหตุ กระบวนกรสามารถเชือ่ มโยงบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ เข้ากับเนือ้ หาทีท่ ำ�อยูไ่ ด้ เช่น ความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดปัญหาการกระทบกระทัง่ ภายในกลุม่ เพือ่ น หรือองค์กร กล่าวคือ ในขณะทีเ่ ราระมัดระวังตัวเองอย่างทีส่ ดุ แล้ว แต่กย็ งั มีคนทีม่ าชนเรา จนได้ หรือในแง่ของการใช้ชวี ติ ถ้าขาดการยับยัง้ ใคร่ครวญ ก็อาจจะไปชนคนอืน่ ได้งา่ ยๆ เป็นต้น

เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๙๓


กิ จ กรรม

สายธารชี ว ิ ต

แลกเปลี ่ ย นประสบการณ์

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้ใคร่ครวญชีวติ ในช่วงทีผ่ า่ นมาทัง้ เรือ่ งทีท่ ำ�ให้มคี วามสุข และเรือ่ งทีท่ ำ�ให้ทกุ ข์ และเรียนรูท้ จ่ี ะยอมรับตัวเองให้มากพอทีก่ ล้าจะเปิดเผย เรือ่ งราวของตัวเองกับผูอ้ น่ื นอกจากนัน้ ผูเ้ ข้าร่วมยังได้เรียนรูท้ จ่ี ะรับฟังและเข้าใจคนอืน่ ด้วย และเป็น การสร้างพืน้ ทีป่ ลอดภัยขึน้ ภายในกลุม่ อุปกรณ์ เครือ่ งเสียงและแผ่นซีดเี พลงบรรเลงเบาๆ วิธกี ารดำ�เนินกิจกรรม ๑. แบ่งผูเ้ ข้าร่วมเป็นกลุม่ ละประมาณ ๔ - ๕ คน ๒. กระบวนกรชีแ้ จงกติกา โดยเฉพาะการรับฟังด้วยใจ ไม่ตดั สิน และให้เคารพ ซึง่ กันและกัน โดยการไม่นำ�เรือ่ งราวทีไ่ ด้ยนิ ออกไปเล่าทีอ่ น่ื ๓. ให้ผเู้ ข้าร่วมนัง่ ในท่าทีผ่ อ่ นคลาย ค่อยๆ หลับตาลงเบาๆ จากนัน้ กระบวนกร นำ�เข้าสูก่ ารทบทวนช่วงชีวติ ในวัยเด็ก เหตุการณ์ทก่ี ระทบความรูส้ กึ หรือยัง ฝังใจอยูจ่ นทุกวันนี้ ๔. เมือ่ พลังภายในกลุม่ พร้อมแล้ว ให้แต่ละคนได้แลกเปลีย่ นประสบการณ์ชวี ติ ๕. ใช้เวลาคนละประมาณ ๕ - ๗ นาที หมายเหตุ ในช่วงทีท่ บทวนชีวติ กระบวนกรอาจให้ผเู้ ข้าร่วมจับมือกันก็ได้ กรณีนจ้ี ะช่วย สร้างพลังภายในกลุม่ ผูเ้ ข้าร่วมทีเ่ ป็นผูใ้ หญ่ได้ดี เพราะผ่านประสบการณ์ในชีวติ มามากมาย อาจจะมีเรือ่ งทีส่ ะสมไว้ภายในจำ�นวนมาก ๑๙๔ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


กิ จ กรรม เมื ่ อ ฉั น พิ ก าร

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้เรียนรูแ้ ละเข้าใจการใช้ชวี ติ และ ความรู้สึกของคนพิการ ซึ่งสามารถนำ�ไปสู่การปรับ เปลีย่ นทัศนคติและการปฏิบตั ติ วั ต่อคนพิการได้ อุปกรณ์ ๑. ผ้าปิดตา ๒. เก้าอีล้ อ้ เข็น ๓. เครือ่ งอุดหู (ears plug) วิธกี ารดำ�เนินกิจกรรม ๑. กระบวนกรอธิบายทำ�ความเข้าใจถึงความสำ�คัญ ของกิจกรรม และขอความร่วมมือ (หรือท้าทาย) เพือ่ ให้เกิดการเรียนรูร้ ว่ มกัน ๒. จากนัน้ ให้ผเู้ ข้าร่วมจับสลากประเภทของการพิการ เช่น ตาบอด ไม่มขี า หูหนวก มีแขนข้างเดียว เป็นใบ้ เป็นต้น ทัง้ นี้ อาจจะใช้เกมในการเลือกก็ได้ ๓. ให้ผเู้ ข้าร่วมดำ�รงบทบาทนัน้ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ หรือตลอดทัง้ วัน หรือตลอดการอบรม ทัง้ ตอนทีท่ ำ� ภารกิจส่วนตัว และตอนทีท่ ำ�กิจกรรมอืน่ ๆ (กระบวนกรเป็นผูพ้ จิ ารณาเพือ่ กำ�หนดเงือ่ นไขต่างๆ ให้สอด คล้องกับบริบทและวัตถุประสงค์ทว่ี างไว้) ๔. แลกเปลีย่ นบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ หมายเหตุ ในระหว่างทีท่ ำ�กิจกรรม ผูเ้ ข้าร่วมอาจรูส้ กึ หงุดหงิด คับข้องใจ หรืออยากเลิกบทบาทของตัวเอง กระบวนกร ต้องสังเกตและจับสัญญาณดังกล่าวอย่างทันท่วงที

เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๙๕


วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมคลีค่ ลายหรือได้รบั การเยียวยาภายใน โดยพลังของธรรมชาติและความสงบ รวมถึงเรียนรูท้ จ่ี ะอยู่ กับตัวเองอย่างช้าๆ ฝึกสังเกตความรูส้ กึ ต่างๆ ทีผ่ ดุ ขึน้ มา อุปกรณ์ ๑. แจกันที่มีรูปทรงและขนาดแตกต่างหลากหลาย แต่ ไม่จำ�เป็นต้องซือ้ มาทุกอันสามารถใช้ขวดโหล แก้วนํา้ หรือวัสดุอน่ื ๆ ร่วมได้ จำ�นวนมากกว่าผูเ้ ข้าร่วม ๒. ถังใส่นํา้ ๒ ใบ (ใบหนึง่ ใส่นํา้ สำ�หรับล้างดอกไม้และ แจกัน ส่วนอีกใบใส่นํ้า เพือ่ ใส่แจกัน) ๓. ผ้าปูพน้ื ขนาดประมาณ ๒x๓ เมตร สำ�หรับวางดอกไม้ ๔. ระฆังญีป่ นุ่ วิธกี ารดำ�เนินกิจกรรม ๑. กระบวนกรเชิญให้ผู้เข้าร่วมนั่งในท่าที่สบาย ผ่อนคลาย จากนั้นนำ�สู่การ ภาวนา ให้นกึ ถึงความงามของธรรมชาติ นำ�สูก่ ารเปิดใจรับฟังเสียงจากธรรม ชาติและเสียงทีม่ าจากภายในของตัวเอง สัมผัสถึงการเชือ่ มโยงทีเ่ กิดขึน้ ใช้ เวลาช่วงนีป้ ระมาณ ๑๕-๒๐ นาที ๒. จากนัน้ ให้ผเู้ ข้าร่วมออกไปเดินเก็บดอกไม้ (ซึง่ หมายรวมถึงกิง่ ไม้ ใบหญ้า ก้อนกรวด ฯลฯ) โดยไม่พดู คุยกัน ขอให้ผเู้ ข้าร่วมได้อยูก่ บั ตัวเองและธรรมชาติ ใช้เวลาช่วงนีอ้ กี ประมาณ ๒๐ นาที ๓. เมือ่ กลับมา ให้นำ�ดอกไม้และสิง่ ทีเ่ ก็บมาทัง้ หมด วางไว้บนผืนผ้ากลางห้อง ดอกไม้เหล่านีจ้ ะไม่มเี จ้าของอีกต่อไป ทุกคนสามารถเลือกหยิบมาจัดแจกันได้

กิ จ กรรม จั ด ดอกไม้

ขัน ้ ตอนการจัดดอกไม้ เดิมมี ๑๔ ขัน้ ตอน แต่ในทีน่ ผ้ี เู้ ขียนจะขอย่นย่อมาบางส่วนเท่านัน้ คือ ๑. ผูเ้ ข้าร่วมสามารถจัดดอกไม้ได้ทกุ ทีท่ อ่ี ยูบ่ ริเวณนี้ (ตามสภาพ) เดินหาทีท่ เ่ี รา อยากจะให้ตรงนัน้ มันสวย (ใช้ใจรูส้ กึ ) เดินหาไปรอบๆ ๒. เมือ่ เลือกสถานทีแ่ ล้วให้ทำ�ความสะอาด ยืนทำ�ใจให้สงบ บอกกับตรงนัน้ ว่า เรากำ�ลังจะมาทำ�ให้พน้ื ทีต่ รงนีส้ วยงามและคนทีเ่ ดินผ่านมาได้มองเห็น บอกกับตัวเราเองว่าพร้อมทีจ่ ะจัดแล้ว ทำ�ใจให้สงบ ๑๙๖ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


๓. เดินมาทีด่ อกไม้ เลือกดอกไม้ทร่ี สู้ กึ ว่าดึงดูดใจเรามากทีส่ ดุ เลือกทีละ ๑ อย่าง อยูก่ บั ปัจจุบนั ขณะ อย่าคาดหวังว่าอยากจะจัดอะไร แบบไหน ดูให้ชอบ ให้ เขาได้โชว์ความงามเต็มที่ ได้แล้วนำ�มาวางในทีท่ เ่ี ราจะจัด ให้เขาอยูต่ รงนี้ ก่อนทีจ่ ะจัด ให้พจิ ารณาดอกไม้กอ่ น เขามีเกสรเล็กๆ มีกลีบสีเหลือง หยัก กลีบใบ รูปร่างเป็นอย่างไร พิศดูขา้ งหน้า ข้างๆ ข้างหลัง ชัง่ นํา้ หนักว่าประมาณ เท่าไร มองให้ละเอียดตอนนีเ้ รากำ�ลังจะจัดเขาแล้ว ให้เขาได้เผยความงาม ให้เต็มที่ พิจารณาแล้วให้วางลง ๔. เลือกแจกัน พิจารณาดูวา่ เราจะเลือกอันไหนทีส่ วยถูกใจ ลืมดอกไม้ไปก่อน ให้อยูก่ บั แจกันทีเ่ ราจะเลือก ดูให้ทว่ั เลือกได้แล้วหยิบแจกันวางในทีท่ เ่ี ราจะจัด ๕. พิจารณาดูวา่ ให้ดา้ นหน้าโชว์ความงามให้เห็น เรายืนอยูต่ รงไหนของแจกัน แล้วสวยให้ยนื มุมนัน้ แล้วปักดอกไม้ ค่อยๆ ปัก ค่อยๆ ปล่อย สวยอย่างทีใ่ จ ต้องการหรือยัง ๖. ถ้ายังยกขึน้ มาปักใหม่ ถอยออกมาดู ถ้ารูส้ กึ ว่าขาดอะไรไปให้หยิบขึน้ มาเพิม่ ทีล่ ะดอก ทีละใบ (วนกลับไปสูก่ ารพิจารณาเหมือนกัน ทำ�ความสะอาดดอก ใบเหล่านัน้ ด้วยก็ได้) ๗. เล็งว่าจะเติมตรงไหนลงไป จะตัดหรือหักก็ได้ แล้วก็ปกั ลงไป ถอยออกมาดู ถ้าไม่สวยทีด่ อกแรก ก็ตอ้ งถอดดอกทีส่ องก่อนแล้วค่อยถอดอันแรก แล้วปัก ลงไปใหม่ ทำ�ตามลำ�ดับ เพราะทุกการกระทำ�มีความหมาย เราจะละเลย การจัดดอกอืน่ ๆ ไม่ได้ เช่น เมือ่ นำ�ดอกไม้ดอกที่ ๕ มาปัก แล้วรูส้ กึ ว่าไม่สวย อยากจะขยับดอกที่ ๒ ก็ตอ้ งถอดดอกที่ ๕ ดอกที่ ๔ ดอกที่ ๓ ออกก่อนแล้ว จึงถอดดอกที่ ๒ จัดให้ตรงใจ แล้วจึงค่อยปักดอกที่ ๓ ดอกที่ ๔ แล้วก็ดอกที่ ๕ ลงไปตามลำ�ดับ ๘. ดูวา่ ให้สวยทีส่ ดุ ในใจของเราก็พอแล้ว ได้แค่ไหนก็แค่นน้ั ๙. จากนัน้ นำ�กระดาษและปากกามาเขียนบันทึก ซึง่ อาจจะเป็นบทกวี จดหมาย บทเพลง ความรูส้ กึ ทีเ่ กิดขึน้ หรือวาดภาพก็ได้ ๑๐. แบ่งปันความรูส้ กึ /บทเรียนทีเ่ กิดขึน้ หมายเหตุ คนทีจ่ ะเป็นกระบวนกรนำ�กิจกรรมนี้ ควร (จำ�เป็น) ทีจ่ ะต้องผ่านการทำ� กิจกรรมนีม้ าก่อน เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๙๗


๒.๔ ความสั ม พั น ธ์ / ความเชื ่ อ มโยง กิ จ กรรม เด็ ด ดอกไม้ สะเทื อ นถึ ง ดวงดาว

ระยะห่าง จากเพือ่ น คนที่ ๑

เรา

แบบที ่ ๑

ระยะห่าง จากเพือ่ น คนที่ ๒

ระยะห่าง จากเพือ่ น คนที่ ๑

เรา

ระยะห่าง จากเพือ่ น คนที่ ๒

แบบที ่ ๒

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้เรียนรูถ้ งึ สายใยความสัมพันธ์ทซ่ี บั ซ้อนอย่างเป็นรูปธรรม วิธกี ารดำ�เนินกิจกรรม ๑. ให้ผเู้ ข้าร่วมยืนเป็นวงกลม มองหน้าเพือ่ น แล้วเลือกเพือ่ นไว้ในใจ ๒ คน ๒. เราจะรักษาความสมดุล เป็นปกติ ไม่ใกล้เกินไป ไม่ไกลเกินไป (เพราะถ้า ใกล้เกินไปจะทำ�ให้รสู้ กึ ถูกแทรกแซง ไกลเกินไปก็เป็นความเหินห่าง) ๓. ให้ผเู้ ข้าร่วมเดินไปรอบๆ ห้อง ในขระเดียวกันก็ตอ้ งรักษาสมดุล โดยเว้นระยะ ห่างจากคนที่ ๑ และ ๒ เท่ากัน และระยะจากเรากับ ๑ และ ๒ เท่ากัน โดย อาจจะเป็นสามเหลีย่ มด้านเท่า หรือ เส้นตรงก็ได้ ดังภาพ ๔. ผูเ้ ข้าร่วมไม่สามารถเปลีย่ นคนทีอ่ ยูใ่ นใจระหว่างทาง ๕. ไม่สามารถพูดคุยกันได้ ๖. ให้สงั เกตความรูส้ กึ ทีเ่ กิดขึน้ ภายใน ๗. แลกเปลีย่ นบทเรียนทีเ่ กิดขึน้

๑๙๘ • เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ


มีเพียงชีวติ เพือ่ ผูอ้ น่ื เท่านัน้ ทีม่ คี ณ ุ ค่าแก่การมีชวี ติ -ไอน์สไตน์-

เครื ่ อ งไม้ เ ครื ่ อ งมื อ • ๑๙๗


ปุ ๋ ย บำ � รุ ง ดิ น

(แหล่ ง ข้ อ มู ล ประกอบการเขี ย น)


หนั ง สื อ /เอกสารที ่ น ่ า สนใจ • การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน. ป.อ.ปยุตโต. มูลนิธโิ กมลคีมทอง. ๒๕๔๙ • ความสุขคืออะไร. ออสการ์ เบรอนีฟเิ ย. (นฤมล พลฤทธิ์ และ อิสระพร บวรเกิด แปล). สำ�นักพิมพ์อมรินทร์. ๒๕๕๒ • ความสุขในโลก. ระวี ภาวิไล. สำ�นักพิมพ์ผเี สือ้ . ๒๕๔๒ • คูม่ อื กระบวนกร: ศาสตร์และศิลป์แห่งการหันหน้าเข้าหากัน. วิศษิ ฐ์ วังวิญญู, วิธาน ฐานะวุฑฒ์ และณัฐฬส วังวิญญู. สำ�นักพิมพ์วงนํา้ ชา. ๒๕๕๐ • มีเธอจึงมีฉนั : คำ�ประกาศแห่งการพึง่ พา. สาทิศ กุมาร. (ทาคินแี ปล). สำ�นักพิมพ์สวนเงินมีมา. ๒๕๔๗ • นพลักษณ์: แผนทีเ่ ข้าถึงคนเข้าถึงตน. คาร์เรน เวบบ์. (ทีมนพลักษณ์ไทย แปล). มูลนิธโิ กมลคีมทอง. ๒๕๕๒ • สุนทรียสนทนา. วิศษิ ฐ์ วังวิญญู. สำ�นักพิมพ์สวนเงินมีมา. ๒๕๕๒ • หันหน้าเข้าหากัน: บทสนทนาเรียบง่ายกอบกูค้ วามหวังในการก้าวไปสูอ่ นาคต. มาร์กาเล็ต เจ.วีตเลย์. (บุลยา แปล). สำ�นักพิมพ์สวนเงินมีมา. ๒๕๔๙

หนั ง สื อ /เอกสารประกอบการเขี ย น • การจัดการความรู:้ กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์สศู่ กั ยภาพ เสรีภาพ และ ความสุข. ประเวศ วะสี. สำ�นักพิมพ์กรีน-ปัญญาญาณ. ๒๕๕๐ • การเรียนรูท้ ท่ี ำ�ให้ผเู้ รียนเปลีย่ นแปลงหลากหลายมิต.ิ ปรีดา เรืองวิชาธร. รวม บทความการประชุมวิชาการ ประจำ�ปี ๒๕๕๑ จิตตปัญญาศึกษา: การศึกษา เพือ่ การพัฒนามนุษย์ โครงการศูนย์จติ ตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล • คำ�แนะนำ�จากนักปลูกต้นไม้อารมณ์ด.ี ลิซา เบนดาลล์. สรรสาระ (Reader’s Digest). ฉ.กันยายน ๒๕๔๙ • จิตผลิบาน. กลุม่ จิตวิวฒ ั น์. สำ�นักพิมพ์อมรินทร์. ๒๕๔๘ • ชุดความรูก้ ารอบรมกระบวนการแนวจิตตปัญญาศึกษา เล่ม ๖. โครงการวิจยั เพือ่ พัฒนาชุดการเรียนรูก้ ารอบรมและกระบวนการด้านจิตตปัญญาศึกษา • นานาวิธวี ทิ ยาการถอดบทเรียน. ศุภวัลย์ พลายน้อย. บริษทั พี.เอ.ลีฟวิง่ จำ�กัด. ๒๕๕๑ • บทเรียนจากเพือ่ นบ้าน. ฟิลลิป กัลเลย์. สรรสาระ (Reader’s Digest). ฉ. พฤศจิกายน ๒๕๔๑ ปุ๋ย บำ � รุ ง ดิ น • ๒๐๑


• บันทึกการอบรม การพัฒนากระบวนกรจิตตปัญญาศึกษา ครัง้ ที่ ๑-๗. เสมสิกขาลัย. ๒๕๕๑- ๒๕๕๒ • ปฐพีวทิ ยาเบือ้ งต้น. คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวทิ ยา. สำ�นักพิมพ์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. ๒๕๔๑ • พฤกษศาสตร์. ปริศนา สิรอิ าชา. สุวรี ยิ าสาส์น. ๒๕๔๘ • ไม้เลือ้ ยประดับ. อรชร พงษ์ไสว. สำ�นักพิมพ์บา้ นและสวน. ๒๕๔๔ • รายงานสรุป การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร: ฝึกทักษะการถอดบทเรียน โครงการ สุขแท้ดว้ ยปัญญาปี ๒. เครือข่ายพุทธิกา. ๒๕๕๓ • วิถมี นุษย์ในศตวรรษที่ ๒๑: สูภ่ พภูมใิ หม่แห่งการพัฒนา. ประเวศ วะสี. มูลนิธสิ ดศรี-สฤษดิว์ งศ์. ๒๕๔๕ • วิทยาการหลังเก็บเกีย่ วของพืช. สังคม เตชะวงค์เสถียร. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ๒๕๔๒ • วิทยาศาสตร์มชี วี ติ . จานิส ลอบบ์. (มีนา โอวรารินทร์ และ รัตนา ใจซือ่ สมบูรณ์ แปล). นานมีบคุ๊ ส์พบั ลิเคชัน่ . ๒๕๔๘ • ศิลปะการจัดกระบวนการเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลง: คูม่ อื กระบวนกรจิตต ปัญญา. ธนา นิลชัยโกวิทย์ และ อดิศร จันทรสุข. ศูนย์จติ ตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล. ๒๕๕๒ • สุขแท้ดว้ ยปัญญา: วิถสี สู่ ขุ ภาวะทางปัญญา. ไพศาล วิสาโล. เครือข่ายพุทธิกา. ๒๕๕๒ • อัจฉริยะสร้างสุข: คูม่ อื ดูแลสมองให้ฉลาดและมีความสุข. วนิษา เรซ. บริษทั อัจฉริยะสร้างได้จำ�กัด. ๒๕๕๒

เวปไซด์ ป ระกอบการเขี ย น ภาษาไทย

• กระดาษแผ่นเดียว บอกได้ถงึ การพึง่ พิงอาศัยกันและกันของสรรพสิง่ . ธนภณ สมหวัง. โพสต์โดย โป้โยคี. http://www.naturethai.org/forum/forum _posts.asp?TID=1934&get=last • การเก็บเกีย่ ว. http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/samunpai/ kankabkaiw.htm • การใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ตามแนวทฤษฎีใหม่. http://www2.swu.ac.th/royal/ book1/b1c3t8.html ๒๐๒ • ปุ๋ ย บำ � รุ ง ดิ น


• การปลูกมะม่วง. กรมวิชาการเกษตร. http://www.dsc.ac.th/inweb/student _job/samunpai/kankabkaiw.htm • การลำ�เลียงนํา้ ของพืช. http://203.113.101.214/biology/BioText/Student/ BE2542/STUD2542/s643/m14/s643g146.htm • ดอกทานตะวัน. http://www.the-than.com/FLower/F8.html • ดิน. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99 • ดินกับการเจริญเติบโตของพืช. http://www2.swu.ac.th/royal/book1/b1 c3t2.html • ดินและการเกิดดิน. http://www.ldd.go.th/thaisoils_museum/survey _1/soils.htm • ทราบหรือไม่ ว่าดินมีหน้าทีอ่ ะไร. http://www.farmkaset.org/contents/ default.aspx?content=00133 • ทานตะวัน. โพสต์โดย ณัฐ. http://www.siamsouth.com/smf/index.php ?topic=22923.0 • นํา้ บาดาลและระดับน้ำ�ใต้ดนิ . http://202.129.59.73/tn/groundwater/ ground%20water.htm • แนวพระราชดำ�ริดา้ นการอนุรกั ษ์และพัฒนาทรัพยากรดิน. http://www2.swu. ac.th/royal/book1/b1c3t7.html • เมฆ. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%86 • เมฆ หมอก และหยาดนํ้าฟ้า. http://www.rmutphysics.com/charud/ specialnews/6/clound/cloud_precip.htm • เมฆชนิดต่างๆ. http://www.thaiglider.com/th/story/29-cloud.html • เมล็ดพันธุแ์ ห่งความสุข. ติช นัท ฮันห์ (ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ แปล). http:// www.bloggang.com/viewblog.php?id=nanasaranae&date=0703-2005&group=1&gblog=8 • ยกย่องชายชราชาวจีนไร้ขา เดินหน้าปลูกป่านับ ๑๐ ปี. กระปุกดอทคอม. http:// hilight.kapook.com/view/58638 • ลักษณะของนํา้ ใต้ดนิ . http://www.rmutphysics.com/charud/naturemy stery/sci3/geology/8/index_ch_8-2.htm • วันนีข้ องนายดาบตำ�รวจวิชยั สุรยิ ทุ ธ. วันชัย ตันติวทิ ยาพิทกั ษ์. http://www. sarakadee.com/web/modules.php?name=Sections&op=view article&artid=327 ปุ๋ย บำ � รุ ง ดิ น • ๒๐๓


ภาษาอั ง กฤษ

• How to be Happy: And have fun changing the World. Michael Anthony. http://www.HowToBeHappy.org. • How to Grow A Tree or Shrub From Seed. http://www.treehelp. com/howto/howto-growa-tree-from-seed.asp • Plant a tree seed, save a planet. http://wwf.panda.org/how_you_ can_help/campaign/plant_seed/ • The Perfect Garden. Brigitte Norland. Message post to http://www. resurgence.org/magazine/article2710-the-perfect-garden.html • When is the Best Time to See Cherry Blossom in Japan?. Shizuko Mishima. http://www.bbg.org/discover/cherries/collection/

แหล่ ง เรี ย นรู ้ แ ละฝึ ก ฝน เสมสิ ก ขาลั ย

หน่วยงานการกุศลทีจ่ ดั การเรียนรู้ โดยมุง่ เน้นกระบวนการเรียนรูอ้ ย่างมีสว่ นร่วม ซึง่ เอือ้ ให้ผเู้ รียนได้ฝกึ ฝนตนเองในทุกด้านของชีวติ ที่อยู่: สำ�นักงานรามคำ�แหง เลขที่ ๒๙/๑๕ ถ.รามคำ�แหง ซรามคำ�แหง ๒๑ แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐ http://www.semsikkha.org

ศู น ย์ จ ิ ต ตปั ญ ญาศึ ก ษา

หน่วยงานทีข่ บั เคลือ่ นการศึกษาทีท่ ำ�ให้เข้าใจและเข้าถึงภาวะความเป็นมนุษย์ ทีแ่ ท้จริง ซึง่ จะนำ�ไปสูก่ ารเปลีย่ นมุมมองเกีย่ วกับโลกและผูอ้ น่ื ในทางทีเ่ กือ้ กูล ที่อยู่: มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ ๙๙๙ หมู่ที่ ๕ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐ http://www.ce.mahidol.ac.th

๒๐๔ • ปุ๋ ย บำ � รุ ง ดิ น


เกี ่ ย วกั บ ผู ้ เ ขี ย น

นางสาวสุ ว รรณนภา คำ � ไร สำ�หรับเธอ การปลูกต้นไม้ลงบนดินกับการปลูกต้นไม้กลางใจคน ถือเป็นงานแห่งชีวติ ทัง้ ๒ อย่าง และ ณ ขณะนี้ เธออาจจะกำ�ลังหว่านเมล็ดพันธุ์ ลงบนผืนแผ่นดิน เล็กๆ ในชนบทแห่งนัน้ หรือ อาจจะกำ�ลังเดินทางเพือ่ ไปหว่านเมล็ด พันธุแ์ ห่งความสุข ลงบนลานใจของใครบางคนอยูก่ ไ็ ด้ นับถอยหลังไปราวๆ ๔ ปีกอ่ น เธอได้มโี อกาสเข้ามาเรียนรูเ้ รือ่ งราว เกี่ยวกับการจัดกระบวนการเพื่อการเปลี่ยนแปลงภายใน หรือที่เธอ เรียกว่า กระบวนการปลุกพุทธะในใจคน (และใจตน) ซึ่งเป็นการ ฝึกฝนและขัดเกลาตนเองผ่านกระบวนการ ผสานกับการปฏิบตั ธิ รรม ไปพร้อมๆ กัน ทุกวันนี้ หากจะเปรียบระดับการเรียนรู้กับการเติบโตของต้นไม้ เธอบอกว่า อาจจะยังเป็นเพียงต้นกล้าเล็กๆ ทีเ่ พิง่ ทวนทานกระแสลม มาไม่กฤ่ี ดู มีโอนเอนบ้าง หักรานบ้าง แต่กเ็ ชือ่ มัน่ อยูเ่ สมอว่า แก่นแท้ ภายในจะค่อยๆ มัน่ คงเข้มแข็งขึน้ เพราะสารอาหารหลักทีไ่ หลผ่าน ท่อลำ�เลียงขึน้ มาหล่อเลีย้ งต้นกล้าต้นนัน้ คือ ความรักและศรัทธา ทีม่ ี ต่อความจริง ความดี และความงาม


แด่...คนปลูกต้นไม้ ขอเพียงเธอ “รัก” ในสิง่ ทีท่ ำ� ไม่วา่ ผลจะเป็นอย่างไร ย่อม “งดงาม” เสมอ เพราะความรัก จะทำ�ให้เธอรักในสิง่ ทีต่ ามมาด้วย และเมือ่ เธอรักในสิง่ ทีต่ ามมา ความงดงามย่อมปรากฏ อุปสรรคและความล้มเหลว อาจทำ�ให้เธอท้อแท้และเหนือ่ ยล้า แต่จะไม่ทำ�ให้ “รัก” ทีม่ อี ยูล่ ดน้อยลง และเมือ่ เธอพักผ่อนอย่างเต็มทีแ่ ล้ว เธอก็พร้อมทีจ่ ะเริม่ ต้นใหม่อกี ครัง้ ...และอีกครัง้ เพือ่ นเอ๋ย...ทางสายนีช้ า่ งโดดเดีย่ วนัก เธออาจจำ�ต้องร้องไห้เพียงลำ�พัง ท่ามกลางกระแสลมอันแหลมคม เธออาจเจ็บปวดและยากเข็ญ แต่ฉนั ก็เชือ่ มัน่ อย่างเต็มหัวใจ ว่า “รัก” จะยังคงอยูใ่ นใจของเธอ เธออาจสงสัยว่าทำ�ไม นัน่ เป็นเพราะฉัน “รัก” ใน “รัก” ของเธอ ขอเพียงเธอ “รัก” ในสิง่ ทีท่ ำ� ต้นไม้แห่งความสุข ก็จะผลิบานงดงาม ขอเพียงเธอ “รัก” ในสิง่ ทีท่ ำ� ความโดดเดีย่ วจะไม่ทำ�ให้เธอเดียวดายอีกต่อไป




“...หนังสือเล่มนีเ้ ป็นคูม่ อื ทีไ่ ม่เหมือนกับคูม่ อื ทัว่ ๆ ไป เพราะนำ�พา ผูอ้ า่ นไปรูจ้ กั กับการปลูกต้นไม้ทกุ แง่ทกุ มุม ราวกับจะเป็นคูม่ อื ปลูก ต้นไม้ ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะว่า การปลูกทัศนคติอันเป็นที่มาแห่ง ความสุขใจนั้น ไม่ได้ต่างจากการปลูกต้นไม้เลย เพราะเป็นกระบวนการที่อิงกฎธรรมชาติเหมือนกัน แม้เหตุปัจจัยจะต่างกันแต่ก็ อาศัยกระบวนการที่เป็นเหตุเป็นผลคล้าย ๆ กัน ใช่แต่เท่านั้นการ อุปมาโดยมีการปลูกต้นไม้เป็นตัวเปรียบ ยังช่วยให้เข้าใจกระบวนการ ปลูกทัศนคติและความสุขได้งา่ ยขึน้ ขณะเดียวกันก็เชือ่ ว่าผูท้ อ่ี า่ นและ ใช้คมู่ อื เล่มนี้ จะมีฉนั ทะในการปลูกต้นไม้มากขึน้ เป็นผลพลอยได้ ซึง่ ย่อมช่วยให้ผปู้ ลูกมีความสุขและช่วยให้โลกนีง้ ดงามขึน้ ด้วย...”

พระไพศาล วิสาโล

“ความสุขของคนเรามีอยูร่ ายรอบตัว แต่เรามักเข้าไม่ถงึ หนังสือเล่มนี้ จะพาคุณไปสำ�รวจและค้นหา วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่าน ประสบการณ์ตรงที่ ช่วยให้เข้าถึงความสุขทีล่ กึ ซึง้ ด้วยตัว คุณเอง ผูเ้ ขียนใช้กระบวนการปลูกต้นไม้อปุ มาให้เห็นขัน้ ตอนการ จัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างอ่อนโยน ลุ่มลึก และเข้าใจง่าย ซึ่ง ใครๆ ก็สามารถทำ�ได้เพียงแค่เราใส่ใจ จริงใจ และตั้งใจลงมือทำ� ด้วยความเพียร” วรรณา จารุสมบูรณ์ ISBN 978-616-90932-6-8


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.