สารบัญ
หน้า
คํานํา ภาพกิจกรรม
ก–ง
บทสรุปผู้บริหาร
1-7
บทนํา
8 - 11
บทที่ 1 โครงสร้างองค์กรและโครงสร้างการบริหารงาน
12 - 27
บทที่ 2 ผลงานพันธกิจหลัก 2.1 ด้านการศึกษา 2.2 ด้านการวิจัย 2.3 ด้านการบริการวิชาการ 2.4 ด้านการบริการรักษาพยาบาล 2.5 ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ บทที่ 3 ด้านทรัพยากรบุคคล
28 - 41 41 - 82 82 - 92 92 - 108 109 -118 119 - 126
บทที่ 4 ด้านการเงินการคลังและการพัสดุ
127 - 138
บทที่ 5 ด้านสารสนเทศ
139 - 144
บทที่ 6 ด้านวิเทศสัมพันธ์
145 - 154
บทที่ 7 ด้านการพัฒนาคุณภาพงาน
155 - 164
บทที่ 8 ภาควิชา/ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี/กลุ่มสาขาวิชา
165 - 219
บทที่ 9 โครงการที่เป็นผลงานเด่น
220 - 251
บทที่ 10 ด้านมูลนิธิรามาธิบดี
252 - 256
บทที่ 11 สมาคมศิษย์เก่า/สภาอาจารย์/หอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์รามาธิบดี
257 - 263
บทที่ 12 ก้าวต่อไปของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
264 - 278
สารบัญตาราง ตารางที่
หน้า
2.1.1
จํานวนหลักสูตรและจํานวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2556
2.1.2 2.2.1 2.2.2 2.2.3 2.2.4
จํานวนกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษา ผลงานทรัพย์สนิ ทางปัญญา กิจกรรม R2R Club ที่นําเสนอในปีงบประมาณ 2556 กิจกรรม Research club และ R2R club รายชื่อผู้ได้รับทุนพัฒนาศักยภาพในการทําวิจัยของอาจารย์แพทย์ ระดับต้น การให้บริการของงานสนับสนุนการวิจัยทางคลินิก ปีงบประมาณ 2554 - 2556 รายได้จากการจัดจําหน่ายหนังสือและตํารา/สื่อวีดิทัศน์ ทางการแพทย์ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 สวัสดิการของบุคลากรรามาธิบดี การจัดกิจกรรม/สวัสดิการบุคลากร ปีงบประมาณ 2554 – 2556 จํานวนบุคลากรแยกตามสายงาน กลุม่ ตําแหน่งและประเภทการจ้าง โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาของคณะฯ กับสถาบันการศึกษา ในต่างประเทศ การลงนามความร่วมมือด้านวิชาการและการวิจัยกับสถาบัน การศึกษา/องค์กรระหว่าง ประเทศอย่างเป็นทางการ ชาวต่างชาติที่เข้ามาเยี่ยมชม/ดูงานภายในคณะฯ จําแนกตาม ภูมิภาคและประเทศ ปีงบประมาณ 2556
2.2.5 2.3.2.1 3.2.1 3.2.2 3.3.1 6.1.1 6.2.1 6.3.1
28 39 42 - 43 48 - 49 50 51 54 87 121 122 126 146 - 148 149 - 150 151
สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 2.1.1 2.1.2 2.1.3 2.1.4 2.1.5 2.1.6 2.1.7 2.1.8
2.1.9
2.1.10 2.1.11 2.1.12 2.2.1 2.2.2 2.2.3
หน้า อัตราการรับนักศึกษาใหม่เทียบกับแผนที่กาํ หนดไว้ในหลักสูตร ปีการศึกษา 2554 - 2556 อัตราหลักสูตรที่ดําเนินการประเมินและปรับปรุงหลักสูตร ภายใน 5 ปีตามข้อกําหนดของ สกอ. ปีการศึกษา 2554 - 2556 อัตราการสําเร็จการศึกษาภายในวงรอบหลักสูตร ปีการศึกษา 2553 - 2555 อัตราการสอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ ปีการศึกษา 2553 - 2555 ระยะเวลาเฉลี่ยที่ใช้ในการสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรปริญญาโท - เอก) ปีการศึกษา 2553 - 2555 จํานวนนักศึกษาที่ได้รับรางวัล ในปีการศึกษา 2553 - 2555 ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนของ หลักสูตร ปีการศึกษา 2553 - 2555 (เกณฑ์ประเมิน 5 ระดับ) ร้อยละของความพึงพอใจของการเป็นนักศึกษารามาธิบดีในระดับ มาก - มากที่สุด ปีการศึกษา 2553 – 2555 (ร้อยละของนักศึกษาที่ ประเมิน > 4 จากเกณฑ์ประเมิน 5 ระดับ) ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจโดยรวมของผู้ใช้บัณฑิตต่อบัณฑิตระดับ ปริญญาตรี โทและเอก ปีการศึกษา/ปีการศึกษาสําเร็จของบัณฑิต 2553 – 2555 (เกณฑ์การประเมิน 5 ระดับ) ผลงานวิจัยด้านการศึกษา พ.ศ. 2554 - 2556 อาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาทางด้านการศึกษา ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ร้อยละงบประมาณการศึกษาต่องบประมาณทั้งหมด ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ปีพ.ศ. 2554 - 2556 จํานวนผลงานวิจยั ที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ปีพ.ศ. 2554 - 2556 การจัดสรรทุนอุดหนุนการวิจัยเงินรายได้คณะฯ ปีงบประมาณ 2554 – 2556
29 29 29 30 30 30 31 31
31
32 32 32 41 42 44
แผนภูมิที่ 2.2.4 2.2.5 2.2.6 2.2.7 2.2.8 2.2.9 2.2.10 2.3.2.1 2.3.2.2 2.3.2.3 2.4.1 2.4.2 2.4.3 2.4.4 2.4.5 2.4.6 2.4.7
หน้า ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ทุนอุดหนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัยมหิดล (ภาครัฐและองค์กรอิสระ) ปีงบประมาณ 2554 - 2556 โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์ในงานประจํา จําแนกตามประเภท โครงการ ปีงบประมาณ 2556 จํานวนเงินรางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ระดับสากล ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จํานวนเงินสนับสนุนค่าตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับสากล ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จํานวนโครงการวิจัยที่ Submit เพื่อขอใช้บริการที่ งานห้องปฏิบัติการวิจัย ประจําปีงบประมาณ 2556 การจัดจําหน่ายสื่อทางการแพทย์ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ความพึงพอใจในการใช้สื่อวีดิทัศน์ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ความพึงพอใจจุลสารข่าวฯ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยนอก ในระดับพอใจ - พอใจมาก จําแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ป่วยนอก จําแนกตามสิทธิการจ่าย ค่ารักษาพยาบาล อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกกลับมารักษาในครั้งต่อไป จําแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกจะแนะนําผู้อื่นมารักษาที่ รพ.รามาธิบดี จําแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยใน ในระดับพอใจ - พอใจมาก จําแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ป่วยใน จําแนกตามสิทธิการจ่าย ค่ารักษาพยาบาล อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยในกลับมารักษาในครั้งต่อไป จําแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล
45 46 46 47 52 52 53 87 88 89 95 96 96 97 97 98 98
แผนภูมิที่ 2.4.8 2.4.9 2.4.10 2.4.11 2.4.12 2.4.13
3.2.1 3.3.1 4.2.1 4.2.2 4.2.3 6.1.1 6.1.2 6.1.3 6.3.1 8.1 8.2 8.3 8.4
หน้า อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยในจะแนะนําผู้อื่นมารักษาที่ รพ.รามาธิบดี จําแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล ผู้ป่วยนอก คลินิกปกติและคลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ ปีงบประมาณ 2556 ผู้ป่วยนอก คลินิกพรีเมี่ยม ปีงบประมาณ 2556 ผู้ป่วยใน ปีงบประมาณ 2556 อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยคลินิกพรีเมี่ยมและคลินิกปกติ ปีงบประมาณ 2556 อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยใน โดยภาพรวมของศูนย์การแพทย์ สมเด็จพระเทพรัตน์ (SDMC) และอาคารหลัก (RAMA) ปีงบประมาณ 2556 การจัดสวัสดิการบุคลากร ปีงบประมาณ 2554 – 2556 บุคลากรเต็มเวลา ปีงบประมาณ 2554 - 2556 การเบิก-จ่ายในกรณีเร่งด่วน ณ จุดให้บริการวัสดุ Express ปีงบประมาณ 2556 การขยายเครือข่ายหน่วยงานรับบริจาค การประหยัดงบประมาณในการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 นักศึกษาระดับปริญญาตรีทมี่ ปี ระสบการณ์ทางวิชาการ/วิชาชีพ ในต่างประเทศ (ระหว่าง 2-4 และ 4 สัปดาห์) นักศึกษาต่างชาติแลกเปลี่ยนทั้งสามระดับการศึกษา (ระหว่าง 2-4 และ 4 สัปดาห์) ผู้เข้ารับการอบรม Short-course Training ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ชาวต่างชาติที่เข้ามาเยี่ยมชม/ดูงานภายในคณะฯ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ ปีงบประมาณ 2554 – 2556 ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยเครื่อง PET-CT ปีงบประมาณ 2554 – 2556 ผู้รับบริการวิสัญญี ปีพ.ศ. 2555 - 2556 ผู้รับบริการ แบ่งตาม ASA classification ปีงบประมาณ 2556
99 104 104 105 105 106
123 125 133 137 138 145 145 146 151 182 182 188 189
แผนภูมิที่ 9.1 9.2 9.3 9.4 9.5 9.6 9.7 9.8 9.9 9.10 9.11 9.12 9.13 9.14 9.15
หน้า ผู้มารับบริการคลินิกพิเศษพรีเมี่ยม (Premium Clinic) ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ผู้มารับบริการตรวจ Echocardiogram ของ Non-Invasive ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ผู้มารับบริการรักษา ณ ห้อง Cath Lab ปีงบประมาณ 2554 - 2556 บุคลากรของคณะฯ ที่ได้รับการฝึกอบรมกู้ชีพ (CPR) ปีงบประมาณ 2554 - 2556 การให้บริการของสถานพยาบาล Rama-SCG ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ผู้มาใช้บริการสถานพยาบาล Toyota – Rama ณ สาขาสําโรง : มกราคม – 30 กันยายน 2556 ผู้มาใช้บริการศูนย์สลายนิ่ว ปีงบประมาณ 2554 - 2556 สัดส่วนผู้ขอรับคําปรึกษาจากศูนย์พิษวิทยา จําแนกตามอาชีพ สัดส่วนการขอรับคําปรึกษาจากศูนย์พิษวิทยา จําแนกตามภูมิภาค สัดส่วนการขอรับคําปรึกษาจากศูนย์พิษวิทยา จําแนกตามกลุ่ม ของสารพิษ ผู้รับบริการประจําปีงบประมาณ 2556 ผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วยเครื่องรังสีศัลยกรรม CyberKnife เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเครื่องรังสีศัลยกรรม CyberKnife ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ผู้ป่วยที่ตรวจด้วยเครื่องรังสีศัลยกรรม แบ่งตามรอยโรคในส่วนต่างๆ ปีงบประมาณ 2556 อัตราการอยู่รอดของผู้ป่วยไตเทียมที่ได้รับการฟอกเลือดที่ หน่วยไตเทียม ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์
222 222 223 223 224 224 229 232 232 233 236 241 241 242 245
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
คณะกรรมการประจําส่วนงาน/คณะกรรมการบริหาร 1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556
แถวยืนจากซ้ายไปขวา
ศ. ประทักษ์ โอประเสริฐสวัสดิ์
รศ. ศิรินธรา สิงหรา ณ อยุธยา
ศ. อร่าม โรจนสกุล
รองคณบดีฝ่ายวิจัย
รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์
ผู้อํานวยการศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
แถวนั่งจากซ้ายไปขวา
อ. สาธิต กรเณศ
หัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ (ตั้งแต่ 20 ต.ค. 2555)
ศ. วินิต พัวประดิษฐ์
รศ. โฉมชบา สิรินันทน์
คณบดี
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
แถวยืนจากซ้ายไปขวา
รายงานประจําปี 2556
รศ. ดร. พรรณวดี พุธวัฒนะ
ศ. คลินิกครรชิตเทพ ตั่นเผ่าพงษ์
รองคณบดีฝ่ายสร้างเสริมสุขภาพและวัฒนธรรม
รองคณบดี
รศ. พงษ์ศักดิ์ โค้วสถิตย์
หัวหน้าภาควิชากุมารเวชศาสตร์ (ถึง 30 เม.ย.2556)
ผู้อํานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ (ตั้งแต่ 8 มี.ค.2556)
รองคณบดีฝ่ายสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์
แถวนั่งจากซ้ายไปขวา
(ตั้งแต่ 1 ก.ค. 2556)
ผศ. ดร. จริยา วิทยะศุภร
ศ. สฤกพรรณ วิไลลักษณ์
ศ. สุรเดช หงส์องิ
ผู้อํานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
หัวหน้าภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
กรรมการประจําส่วนงาน ประเภทคณาจารย์ประจํา
แถวยืนจากซ้ายไปขวา
นางเรวดี รุง่ จตุรงค์
รศ. ชาญยุทธ ศุภชาติวงศ์
เลขานุการคณะฯ
รองคณบดีฝ่ายอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม (ถึง 1 ก.ค.2556)
หัวหน้าภาควิชาออร์โธปิดิกส์
แถวนั่งจากซ้ายไปขวา
ศ. คลินิกพรชัย มูลพฤกษ์
กรรมการประจําส่วนงาน ประเภทคณาจารย์ประจํา
(ตั้งแต่ 2 ก.ค. 2556)
รศ. สาธิต โหตระกิตย์
รองคณบดีฝ่ายการคลัง ผู้อํานวยการศูนย์สนับสนุนพันธกิจ
รศ. ธันย์ สุภัทรพันธุ์ รองคณบดีฝ่ายบริการ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
แถวยืนจากซ้ายไปขวา
ศ. อําไพวรรณ จวนสัมฤทธิ์ รศ. จิรพร เหล่าธรรมทัศน์
ผู้อํานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์
รองคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร
แถวนั่งจากซ้ายไปขวา ศ. วชิร คชการ
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
รศ. สุรศักดิ์ ลีลาอุดมลิปิ
ศ. สมนึก ดํารงกิจชัยพร
ผู้อํานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี รองคณบดีฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
แถวยืนจากซ้ายไปขวา
ศ. อภิชาติ จิตต์เจริญ
กรรมการประจําส่วนงาน ประเภทคณาจารย์ประจํา
อ. ธัชพงศ์ งามอุโฆษ
กรรมการประจําส่วนงาน ประเภทคณาจารย์ประจํา
รศ. สรายุทธ สุภาพรรณชาติ
ผู้อํานวยการศูนย์สนับสนุนพันธกิจ (ถึง 30 เม.ย.2556)
หัวหน้าภาควิชากุมารเวชศาสตร์ (ตั้งแต่ 1 พ.ค. 2556)
แถวนั่งจากซ้ายไปขวา
ผศ. ดร. ชูศักดิ์ โอกาศเจริญ
ศ. มาโนช หล่อตระกูล
อ. โยเซฟ ซื่อเพียรธรรม
รองคณบดีฝ่ายสารสนเทศ
หัวหน้าภาควิชาจิตเวชศาสตร์
รองคณบดีฝ่ายทรัพยากรบุคคล
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
แถวยืนจากซ้ายไปขวา
รศ. มะลิ รุ่งเรืองวานิช
นายอาคม เลิศสุภานันท์
กรรมการประจําส่วนงาน จากสายงานสนับสนุนทั่วไปและสนับสนุนวิชาการ
รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ
แถวนั่งจากซ้ายไปขวา
รศ. สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์ รองคณบดีฝ่ายการศึกษา
น.ส. จงรักษ์ อุตรารัชต์กิจ
รศ. ศันสนีย์ วงศ์ไวศยวรรณ
ผศ. สมใจ แดงประเสริฐ
กรรมการประจําส่วนงาน จากสายงานสนับสนุนวิชาชีพเฉพาะ
หัวหน้าภาควิชาพยาธิวิทยา
หัวหน้าภาควิชารังสีวิทยา
แถวยืนจากซ้ายไปขวา
รศ. รุ่งโรจน์ เลิศวิทยาสกุล
ผศ. ธงชัย พงศ์มฆพัฒน์
หัวหน้าภาควิชาจักษุวิทยา
หัวหน้าภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา (ตั้งแต่ 19 พ.ค. 2556)
แถวนั่งจากซ้ายไปขวา
ผศ. กาญจน์ลักษณ์ คันธพสุนธรา
ผศ. นพวรรณ แสนเจริญสุทธิกุล
ศ. รณชัย คงสกนธ์
อ. ดร. บวรศม ลีระพันธ์
หัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมาย และความผิดปกติของการสื่อความหมาย
หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู
รองคณบดีฝ่ายการพัสดุ
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการ (กรรมการบริหาร)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
แถวยืนจากซ้ายไปขวา
รายงานประจําปี 2556
ผศ. ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา
ศ. ปิยะมิตร ศรีธรา
หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
หัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์
แถวนั่งจากซ้ายไปขวา
รศ. วิชัย อิทธิชัยกุลฑล
หัวหน้าภาควิชาวิสัญญีวิทยา
ศ. วิชัย เอกพลากร
รศ. ปราณี พลังวชิรา
หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ชมุ ชน หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว
อ. ภุชงค์ ลิขิตธนสมบัติ
รองคณบดีฝ่ายอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม (ตั้งแต่ 2 ก.ค. 2556)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
กิจกรรม
โครงการ “ Hand cleaning moving together ” คณบดีพร้อม แพทย์ พยาบาลและบุคลากร ร่วมพิธีรณรงค์การล้างมือ 22 มกราคม 2556 ณ บริเวณทางเข้าอาคารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์
คณะกรรมการประจําส่วนงาน เข้าเยี่ยมผู้บริหารสถานสงเคราะห์เด็ก อ่อนพญาไท (ปากเกร็ด) พร้อมหารือและติดตามผลความร่วมมือ 20 ธันวาคม 2555 ณ สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไท (ปากเกร็ด)
รางวัลคุณภาพการจัดการบริหารจัดการภาครัฐ (กพร.) ประจําปี 2555 ประเภทนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ ระดับดี เรื่องการบริหารเคมีบําบัดแบบเบ็ดเสร็จ 9 มกราคม 2556 ณ ศูนย์ประชุมวายุภักษ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
รางวัลคุณภาพการจัดการบริหารจัดการภาครัฐ (กพร.) ประจําปี 2555 ประเภทนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ ระดับดีเด่น เรื่องการออกกําลังกายฟื้นฟูสมรรถภาพไทชิชี่กง 9 มกราคม 2556 ณ ศูนย์ประชุมวายุภักษ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
งานเปิดตัวนิตยสารวาไรตี้สุขภาพ @Rama อย่างเป็นทางการ 26 พฤศจิกายน 2555 ณ บริเวณอาคารวิจัยและสวัสดิการ
โครงการแบ่งรัก ปันยิ้ม ร่วมเสวนาพิเศษ เรื่อง “ภาพรวมการให้บริการของคณะฯ 14 กุมภาพันธ์ 2556 ณ อาคารศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
-ก-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
กิจกรรม
คณบดีให้การต้อนรับและลงนามความร่วมมือ (MOU) กับผู้แทน School of Medicine Shinshu University ประเทศญี่ปุ่น 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องประชุมท่านผู้หญิงวิระยา ชั้น 5 ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์
คณบดีและนายวิเชียร เอมประเสริฐ์สุข รองกรรมการผูจ้ ัดการใหญ่ บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ประเทศไทยจํากัด พร้อมทีมผู้บริหารร่วม เปิด Medical care clinic with Ramathibodi hospital 19 กุมภาพันธ์ 2556 ณ บริษัทโตโยต้าฯ (สาขาสําโรง)
การอบรมเจ้าหน้าที่ฝ่ายโภชนาการ เรื่องการบริการอย่างไรให้มีความสุข คณาจารย์เข้าร่วมกิจกรรมในพิธีปัจฉิมโอวาทแก่นักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 6 เนื่องในโอกาสจบการศึกษาแพทย์รามาธิบดี รุ่นที่ 43 15 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้อง 623 อาคารเรียนรวม และ 18 กุมภาพันธ์ 2556 ณ หอประชุมอารี วัลยะเสวี 16 - 17 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ผึ้งหวานรีสอร์ท จ.กาญจนบุรี
โครงการพัฒนาต้นแบบระบบอาหารสุขภาพและระบบเกษตรกรรม ยั่งยืนระดับองค์กร รองคณบดีฝ่ายสร้างเสริมสุขภาพและวัฒนธรรม และคณะทํางานพร้อมด้วยผู้แทนหน่วยงานและบุคลากร ประกอบพิธี ถวายภัตตาหารเพล 25 มีนาคม 2556 ณ คลอง 13 จ.ปทุมธานี
-ข-
ผู้แทนฝ่ายการพยาบาลต้อนรับและแสดงความยินดีกับ บุคลากรที่จบหลักสูตรพยาบาล และเตรียมเข้าปฏิบัติงานในคณะฯ 1 เมษายน 2556 ณ หอประชุมอารี วัลยะเสวี ชั้น 2 อาคาร 1
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
กิจกรรม
คณบดีและผู้ว่าการฝ่ายบริหารการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย คณบดีเข้าร่วมพิธีลงนามความร่วมมือพัฒนาหลักสูตร เปิดโครงการวิจัย "การศึกษาระยะยาวถึงอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการ “การจัดการมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) สาขาวิชาการจัดการ เกิดโรคหัวใจหลอดเลือดและเมแทบอลิซึมในพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิต สุขภาพแบบองค์รวม” โดยมีอธิการบดีเป็นประธานฯ แห่งประเทศไทย" 13 มิถุนายน 2556 ณ อาคารประชาสัมพันธ์ 30 พฤษภาคม 2556 ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขมุ วิท การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จ.นนทบุรี
รองคณบดี และคณะกรรมการคณะฯ ได้ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ 3 กรกฎาคม 2556 ณ สตูดิโอ สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี
คณบดี และคณาจารย์ เข้าร่วมในพิธี ไหว้ครูรามาธิบดี ประจําปี 2556 27 มิถุนายน 2556 ณ หอประชุมอารี วัลยะเสวี
งาน “คืนสู่เหย้าศิษย์เก่าแพทย์รามาธิบดี ประจําปี 2556 งานปาฐกถา รจิต บุรี ครั้งที่ 24 เรือ่ งภูมิคุ้มกันสําหรับวิชาชีพเวชกรรม Ramathibodi alumni night 2013: Home coming day” 3 พฤษภาคม 2556 ณ ห้อง 910 ABC อาคารเรียนและปฏิบัติการ “กลั บ มาเถิดวันวาน” 27 กรกฎาคม 2556 ณ ห้องประชุม 910 อาคาร รวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี เรียนและปฏิบัตกิ ารรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
-ค-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
กิจกรรม
งานมหกรรมคุณภาพ (Quality conference) ครั้งที่ 20 หัวข้อ “เริ่มให้ถูกสู่สิ่งที่ดกี ว่า” (Right first time better life & Better care) 22 - 23 สิงหาคม 2556 ณ ห้องประชุม ชั้น 9 อาคารเรียน และปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
คณะกรรมการประจําคณะฯ ต้อนรับคณะกรรมการตรวจประเมินตาม เกณฑ์คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (EdPEx) ประจําปี 2555 2 3 กันยายน 2556 ณ ห้องประชุมอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ
คณบดีพร้อมด้วยคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ ร่วมแสดงความยินดีแด่ ศ.เกียรติคุณ นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ เนื่องในโอกาสได้รับรางวัล “ผู้นําสร้างเสริมสุขภาพดีเด่น (Best health promotion practice awards)” 2 กันยายน 2556 ณ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
งาน “ก้าวสู่ปีที่ 3 ผู้ป่วยทุกคนคือครอบครัวของเรา” เนื่องในโอกาส เปิดให้บริการศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ก้าวสู่ปที ่ี 3 14 สิงหาคม 2556 ณ โถงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตน์
งานรักษ์รามาฯ ครั้งที่ 3 เสวนาเรือ่ ง: “ย้อนรอยประวัติการศึกษา.... ทีมงาน Telly vision ถ่ายทําสารคดีภายใน“ศูนย์รงั สีวนิ ิจฉัยก้าวหน้า” รามาธิบดี” ได้รับเกียรติจากอดีตบุคคลสําคัญด้านการศึกษาของคณะฯ ได้รับยกย่องให้เป็นหน่วยงานดีเด่นของชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และ 2 สิงหาคม 2556 ณ หอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ฯ ชั้น 2 อาคารเรียน เทคโนโลยี จากคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี และปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 24 กันยายน 2556 ณ ศูนย์รังสีวินิจฉัยก้าวหน้าและรังสีร่วมรักษา
-ง-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บทสรุปผู้บริหาร คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ประกอบด้วย 16 ภาควิชา 1 โรงเรียน พยาบาลรามาธิบดี 2 กลุ่มสาขาวิชา 1 โรงพยาบาล 2 ศูนย์การแพทย์ 3 สํานักงาน 1 ศูนย์สนับสนุนพันธกิจ และ 1 สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณบดีเป็นผู้บริหารสูงสุด เป็นประธานคณะกรรมการประจําส่วนงาน และคณะกรรมการบริหารคณะฯ โดยใช้แผนยุทธศาสตร์ของคณะฯ ปีงบประมาณ 2556 -2560 เชื่อมโยง กับแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อมุ่งเป็นสถาบันทางการแพทย์ ชั้นนําในระดับสากล มีบุคลากรทํางานเต็มเวลา 8,636 คน (ณ 30 กันยายน 2556) คณะฯ มีนโยบายให้การพัฒนาคุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจํา ปรับปรุงกระบวนการ ทํ างานอย่ างต่ อ เนื่ อ ง (Continuous quality improvement-CQI) โดยใช้ ห ลั ก การของ Deming cycle (PDCA) ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้สู่ความเป็นเลิศและ สร้างสรรค์นวัตกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มหกรรมคุณภาพ Quality conference ส่งเสริมและสนับสนุน ให้ พั นธกิ จ/หน่ วยงาน วางระบบ กํากับ ติดตามและประเมิน ผลการพั ฒ นาคุณ ภาพตามมาตรฐานของ มหาวิทยาลัยและมาตรฐานสากล เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ (TQA) Education criteria for Performance Excellence (EdPEx), Hospital accreditation (HA) จากสถาบั น รั บ รอง คุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.) รับการรับรอง ISO จากสํานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กระทรวงสาธารณสุข การพัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพและสามารถเก็บข้อมูลผลงานให้อยู่ ในฐานข้ อ มู ล อย่ า งเป็ น ระบบ เพื่ อ นํ า มาประกอบการตั ด สิ น ใจบนพื้ น ฐานความเป็ น จริ ง เช่ น ระบบ Enterprise resource planning (ERP) การพั ฒ นาระบบ Hospital information system (HIS) การ พัฒนาระบบ Radio - frequency identification (RFID) เป็นต้น ด้านการพัสดุได้พัฒนาระบบการจัดซื้อ จั ด จ้ างให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เกิ ด โครงการ Central procurement ลดขั้ น ตอนกระบวนการทํ า งานให้ มี ประสิทธิภาพสูงสุด มีกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือเกื้อกูลสังคมไทย เช่น จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ในโครงการ พระราชทานความช่ วยเหลื อของสํ านั กราชเลขาธิ การ โครงการมู ลนิ ธิพระดาบสสั ญ จร ความช่ วยเหลื อ แก่สถานสงเคราะห์บ้านเด็กอ่อนพญาไท ชุมชนซอยสวนเงิน การออกหน่วยเยี่ยมบ้านผู้ป่วย โครงการ ช่ วยเหลื อเกื้ อกู ลผู้ ที่ ด้ อยโอกาสของมู ลนิ ธิรามาธิบดี โครงการพั ฒ นาต้ นแบบระบบอาหารสุ ขภาพและ ระบบเกษตรกรรมยั่งยืนระดับองค์กร (รังสิตคลอง 13) เป็นต้น สรุปผลการดําเนินงาน ดังนี้ ด้านการศึกษา - การเรียนการสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี บัณฑิตศึกษาและการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางรวม 107 หลักสูตร นักศึกษาใหม่ 854 คน นักศึกษาคงอยู่ 3,137 คน และ ผู้สําเร็จการศึกษา 693 คน - หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต มีผลสําเร็จการศึกษาในวงรอบหลักสูตร มากกว่าร้อยละ 95.00 และนักศึกษาแพทย์ที่สําเร็จในปีการศึกษา 2555 สอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานทางวิชาชีพและได้รับใบประกอบ วิชาชีพเวชกรรม ร้อยละ 100 -1-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
- หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2555 สอบผ่านเกณฑ์
มาตรฐานทางวิชาชีพในการสอบครั้งแรก ร้อยละ 91.06 - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2555 สอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานทางวิชาชีพในการสอบครั้งแรก ร้อยละ 100 - นักศึกษาแพทย์คนแรกของคณะฯ ได้รับทุนในโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล จากมูลนิธิ รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจําปี 2556 ได้แก่ นักศึกษาแพทย์ศุภวิชญ์ เจษฎาชัย ชั้นปีที่ 6 - การสมัครสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ระบบรับตรงของกลุ่มสถาบัน แพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย ประจําปีการศึกษา 2556 มีนักเรียนแจ้งความจํานงในการเลือกเข้าศึกษา ต่อที่คณะฯ เป็นจํานวนรวมมากที่สุดในประเทศ - พั ฒ นาหลั ก สู ต รแพทยศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต (หลั ก สู ต รนานาชาติ ) เพื่ อ ให้ มี ค วามทั น สมั ย และ สอดคล้องกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AEC) - โครงการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ด้านการศึกษา - แยกระบบงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลังปริญญาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยแยกงานด้าน ประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลังปริญญาออกจากส่วนของการศึกษาระดับปริญญา เพื่อให้การประกัน คุณภาพตรงตามเป้าหมายของหลักสูตร ทําให้สามารถเยี่ยมสํารวจได้อย่างครบถ้วนทุกหลักสูตรอย่างแท้จริง - ปรับปรุงการบริหารจัดการหอพักแพทย์ประจําบ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเข้าพักภายใน 2 สัปดาห์แรก เป็นปีแรกในรอบ 20 ปี และได้รับคําชื่นชมจากราชวิทยาลัย สาขาต่างๆ ที่มาเยี่ยมว่าเป็น หอพักที่สะอาด เรียบร้อย และปลอดภัย ด้านการวิจัย - ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ 188 เรื่อง - จํานวนผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) 1,077 เรื่อง รวม 4,226 ครั้ง - การจดทรัพย์สินทางปัญญาผลงานวิจัย สิทธิบัตร 5 รายการ อนุสิทธิบัตร 7 รายการ และลิขสิทธิ์ 7 รายการ - สนับสนุนนักวิจัยรุ่นใหม่ สร้างนักวิจัย และสร้างเครือข่ายนักวิจัยในสาขาวิชาต่างๆ ให้มีการทําวิจัย ร่วมกันและกระตุ้นให้บุคลากรมีความสนใจในการทําวิจัยเพิ่มขึ้น โดยสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงิน รายได้ ค ณะฯ 9,597,365 บาท เงิ น รายได้ ม หาวิท ยาลั ย มหิ ด ล 949,480 บาท งบประมาณแผ่ น ดิ น 13,170,000 บาท และแหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัยมหิดล (ภาครัฐและองค์กรอิสระ) 30,071,267 บาท - โครงการวิจัยในงานประจํา (Routine to research : R2R) มีโครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์ในงาน ประจําเสนอขอรับทุน 36 โครงการ - สร้างระบบฐานข้อมูลผลงานวิจัยและระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิจัยที่สมบูรณ์
-2-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
- ส่ ง เสริ ม อาจารย์ ให้ ส ามารถพั ฒ นาศั กยภาพในการทํ าวิ จั ยได้ อย่ างเต็ มที่ ด้ วยการให้ ทุ นพั ฒ นา
ศักยภาพในการทําวิจัยของอาจารย์แพทย์ - ส่งเสริมให้เกิดงานวิจัยที่มีคุณภาพด้วยการให้รางวัลและค่าตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับสากล ด้านการบริการวิชาการ - สนับสนุนกิจกรรมในการสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการให้แก่บุคลากรของคณะฯ เพื่อส่งผลในการ พัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศให้มีคุณภาพและมาตรฐานในการให้การรักษาและดูแลผู้ป่วยได้เป็น อย่างดีและมีประสิทธิภาพ โดยมีจุดประสงค์หลักในการบริหารจัดการองค์ความรู้ด้านสุขภาพเพื่อชี้นําการ สร้างสุขภาวะของสังคม - พัฒนาระบบการลงทะเบียนออนไลน์ ทําให้สะดวกต่อการนําส่งเงินค่าลงทะเบียนและประหยัดเวลา ในการจัดทําเอกสารและหลักฐานและผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมสามารถตรวจสอบสถานการณ์ลงทะเบียน - พัฒนากระบวนการบริหารจัดการโครงการตํารารามาธิบดี เพื่อให้เกิดความชัดเจน โปร่งใสในการ ปฏิบัติงานโดยยกเลิกระเบียบ/ประกาศเดิม และใช้ประกาศคณะฯ ฉบับใหม่ จัดจําหน่ายตํารา/หนังสือทาง วิชาการ และหนังสือความรู้สุขภาพเพื่อประชาชน - ศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง ผลิตสือ่ สารสนเทศ ผลิตเว็บไซต์ และการประชุมระบบ Teleconference เพื่อส่งเสริมให้มีการศึกษาด้วยตัวเองตลอดเวลาที่ประกอบวิชาชีพเวชกรรม เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะวิชาชีพทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการแพทย์แขนงต่างๆ ด้านการบริการรักษาพยาบาล - จัดตั้งคณะกรรมการอํานวยการบริการสุขภาพ เพื่อบริหารจัดการตามนโยบายสุขภาพของคณะฯ อย่างมีบูรณาการ ใช้ทรัพยากรสุขภาพอย่างคุ้มค่า โปร่งใส เป็นธรรมและมีประสิทธิภาพ - บูรณาการงานด้านบริการรักษาพยาบาลกับพันธกิจอื่นๆ ผ่านแผนยุทธศาสตร์ด้านบริการรักษาพยาบาล - วางระบบ Ramathibodi medical healthcare system เพื่อบูรณาการการใช้ทรัพยากรสุขภาพ ของคณะฯ ให้ครอบคลุมกลุ่มผู้รับบริการเป้าหมายทุกกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพ - วางระบบการกํากับการใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติตามนโยบายของกรมบัญชีกลาง - ดูแลสวัสดิการบุคลากรของคณะฯ มหาวิทยาลัยมหิดล และผู้ป่วยที่มีอุปการคุณ - รับการตรวจเยี่ยมเพื่อต่ออายุการรับรองกระบวนการคุณภาพ (Re-accreditation survey) ครั้งที่ 3 จากสถาบันรับรองคุณ ภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.) ตั้งแต่ 23 สิงหาคม 2556 ถึง 22 สิงหาคม 2559 - เปิดให้บริการผ่าตัดแบบ Hybrid surgery และการผ่าตัดโดยใช้หุ่นยนต์ Robot - มุ่ งเน้ น การให้ บ ริ ก ารรั ก ษาพยาบาลที่ เป็ น เลิ ศ แก่ ผู้ ป่ ว ยทุ ก กลุ่ ม รวมทั้ งเป็ น แหล่ ง ฝึ ก อบรม ผู้เชี่ยวชาญและบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขตลอดจนสนับสนุนการวิจัยทางการแพทย์
-3-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
- บริการผู้ป่วย ผู้ป่วยนอก (ไม่รวม Premium clinic)
1,461,409 ราย
Premium clinic - ศูนย์การแพทย์สริ ิ กิต์ิ (CVMC)
24,628 ราย
- ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
286,793 ราย
ผู้ป่วยใน
42,001 ราย
- ผู้ป่วยในทัว่ ไป
37,473 ราย
- ผู้ป่วยในสูติกรรม
4,528 ราย
ทารกแรกเกิด
3,903 ราย
Short stay service
29,020 ราย
เตียงผู้ป่วย (ณ 1 เม.ย. 56)
1,018 เตียง
เตียงทารกแรกเกิด (Crib) (ณ 1 เม.ย. 56)
58 เตียง
ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ - ศูนย์นโยบายและการจัดการสุขภาพ (Center for Health Policy and Management) - ชมรมรามาธิบดีอาวุโส เป็นศูนย์กลางให้สมาชิกได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ ด้านต่างๆ ร่วมกันพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพและส่งเสริมความสุข - สร้างเสริมสุขภาพ ให้เกิดแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพของบุคลากรเพื่อลด ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังที่สมั พันธ์กับอาหารด้วยวิธีทางโภชนาการ เช่น โครงการรามาสดใส ใส่ใจสุขภาพ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อกลุ่มภาวะโรคเมตาบอลิก โครงการค้นคนค้นงานต้นแบบสร้างแรงจูงใจ เพื่อสุขภาพ คลินิกสร้างเสริมสุขภาพด้านโภชนบําบัด - โครงการปัจฉิมนิเทศผู้เกษียณ เพื่อเตรียมการในการดูแลรักษาสุขภาพช่วงชีวิตหลังเกษียณจากงาน สิทธิประโยชน์ สวัสดิการด้านต่างๆ รวมทั้งการเสริมสร้างคุณภาพและคุณค่าของชีวิต - โครงการลานดนตรี เพื่อช่วยผ่อนคลายความเครียดให้แก่ผู้ป่วยและญาติที่มารับบริการ ณ อาคาร หลักและอาคารสมเด็จพระเทพรัตน์ มุ่งสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และสร้างสรรค์ความรื่นรมย์ภายใน โรงพยาบาล - โครงการจิตอาสารามาธิบดี เพื่อเพิ่มคุณภาพในการดูแล อํานวยความสะดวกให้แก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้มารับบริการให้มีประสิทธิภาพและทั่วถึง - โครงการมิตรภาพบําบัดรามาธิบดี เพื่อเสริมสร้างพลังอํานาจของผู้ป่วยและบุคลากร กลุ่มโรค เรื้อรัง โรคติดเชื้อ และกลุ่มเสี่ยงทางสุขภาพ ให้สามารถช่วยเหลือกันเองในการดูแลสุขภาพ และเพิ่มความ เข้มแข็งของกลุ่มที่มีอยู่ 26 กลุ่ม และสนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มใหม่
-4-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
- โครงการปันความรู้ สู่สุขภาพดี เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะความรู้ ความชํานาญด้านสุขภาพให้แก่ครู
และพี่เลี้ยงเด็กภายในสถานสงเคราะห์บ้านเด็กอ่อนพญาไท คณะฯ กําหนดให้การทํานุบํารุงศิลปวัฒ ธรรม สอดแทรกในทุกพั นธกิจของคณะฯ โดยสืบทอด ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของชาติ เพื่อเป็นการพัฒนาคน ด้านจิตใจ การคิด ปัญญา โดยแสดงออกทาง พฤติกรรมที่เหมาะสมงดงาม มีทั้งกิจกรรมที่มุ่งในกลุ่มนักศึกษา บุคลากร บุคคลภายนอกเข้ามามีส่วนร่วม ในกิจกรรมถวายพระพรและจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ วันสําคัญของคณะฯ การทําบุญเดือนเกิดของ บุคลากรทุกเดือน และวันสําคัญทางพุทธศาสนา การเรียนการสอนและจัดแสดงนาฏศิลป์และดนตรีไทย เนื่องในโอกาสต่างๆ เรื่องที่น่ายินดี - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อสถาบันการแพทย์ แห่ งใหม่ที่ ตําบลบางปลา อําเภอบางพลี จังหวัดสมุท รปราการ ว่า “สถาบั น การแพทย์จักรีนฤบดิ น ทร์ (Chakri Naruebodindra Medical Institute)” และให้ เชิญ ตราสั ญ ลักษณ์ งานเฉลิ ม พระเกี ยรติ เนื่ องใน โอกาสพระราชพิ ธี ม หามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 7 รอบ มาประดิ ษ ฐานที่ อาคารสถาบั นฯ ตั้งแต่ 8 มีนาคม 2556 - คณะฯ ได้รับการจัดอันดับโดยหนังสือ The Company ซึ่งทําการวิจัยเพื่อค้นหา The best of the best ในแต่ละกลุ่มตัวแปร โดยศึกษาจาก 285 บริษัท ซึ่งดําเนินการมาเป็นเวลา 16 ปีแล้ว ผลการวิจัย พบว่า ปีพ.ศ. 2556 โรงพยาบาลรามาธิบดีได้รับค่าเฉลี่ยสูงสุด ลําดับที่ 1 ในกลุ่มโรงพยาบาล ซึ่งได้ค่าเฉลี่ย รวมทุกตัวแปรย่อยรวมกันคือ 7.04 หากดูค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวแปรอื่นประกอบที่ทําให้ประเมินได้ว่าโรงพยาบาล รามาธิบดี มีภาพลักษณ์ประสบความสําเร็จอย่างมากในประเด็นภาพลักษณ์หรือแบรนด์ของกิจการ (Image of brands owned) ซึ่งได้ค่าคะแนนเฉลี่ย 7.68 รองลงมาคือ ความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovation) ได้คะแนนเฉลี่ย 7.59 - องค์การฮีโมฟีเลียโลก ได้มอบเกียรติบัตรแก่คณะฯ เมื่อ 29 พฤศจิกายน 2555 ที่ได้มีบทบาท สําคัญในการดูแลผู้ป่วยฮีโมฟีเลียอย่างดี - ศูนย์รังสีวินิจฉัยก้าวหน้า ได้รับการยกย่องให้เป็นหน่วยงานดีเด่นของชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี จากคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี เมื่อ 24 กันยายน 2556 - คณะฯ ได้รับเกียรติบัตรจากการเข้าร่วมนําเสนอผลงานวิชาการ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในงานประชุมวิชาการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ครั้งที่ 2 ณ ห้องแซฟไฟร์ อาคารอิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี เมื่อ 22 สิงหาคม 2556 - สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) ได้ออกประกาศคณะอนุกรรมการพัฒนา ระบบราชการเฉพาะกิ จเกี่ยวกับ การยกระดับ คุณ ภาพมาตรฐาน และลดขั้ น ตอนระยะเวลาการปฏิ บั ติ ราชการ เพื่ออํานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน เรื่องผลการพิจารณารางวัล -5-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บริการภาครัฐแห่งชาติ ประจําปี 2556 ได้รับรางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ ระดับดี 1 ผลงาน คือ ผลงาน “แถบฉุกเฉินกู้ชีพเด็กรามาธิบดี" หรือ "Ramathibodi pediatric emergency card (RPED)" ของ ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน - สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) สรพ. มอบ รางวัล “Caregiver” ให้แก่ นางสาวอรณีย์ ศรีสุข สังกัดงานการพยาบาลป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ ในงานประชุมวิชาการ SHA conference & sharing ภายใต้แนวคิด “คุณภาพ คุณค่า คุณธรรม” 19 – 21 ธันวาคม 2555 ณ โรงแรม อิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค กรุงเทพฯ - ศาสตราจารย์ น ายแพทย์ วิ นิ ต พั ว ประดิ ษ ฐ์ คณบดี รั บ รางวั ล ศิ ษ ย์ เก่ าดี เด่ น คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจําปี 2555 โดยรับมอบโล่รางวัล 24 ตุลาคม 2555 ณ ห้องบรรยาย LO1 อาคาร เรียนรวม (ตึกกลม) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - รองศาสตราจารย์จิรพร เหล่าธรรมทัศ น์ รองคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร ดํารงตําแหน่งประธาน คณะกรรมการบริหารราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย วาระพ.ศ. 2556 – 2558 - ศาสตราจารย์ เกี ยรติ คุ ณ วั น ดี วราวิ ท ย์ และ ศาสตราจารย์ เกี ยรติ คุ ณ ดร.วิ จิ ตร บุ ณ ยะโหตระ รับรางวัลมหิดลทยากร ประจําปี 2555 - ศาสตราจารย์ ค ลิ นิ ก พรชั ย มู ล พฤกษ์ ภาควิ ช าออร์ โ ธปิ ดิ ก ส์ รั บ รางวั ล มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ประจําปีการศึกษา 2555 สาขาการบริการ - ศาสตราจารย์ ว ชิ ร คชการ รองคณบดี ฝ่ า ยวิ ช าการ รั บ รางวั ล ศิ ษ ย์ เก่ า ดี เด่ น บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจําปี 2555 - ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกวลิน เลขานนท์ และ อาจารย์ ดร. บวรศม ลีระพันธ์ รับพระราชทานทุน ส่งเสริมบัณฑิต มูลนิธิ “อานันทมหิดล” เป็นเวลา 3 ปี ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2556 เป็นต้นไป - สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) แจ้งผลการคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการ Global Young Scientists Summit ประจําปี พ.ศ. 2557 ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงคัดเลือก อาจารย์นายแพทย์พรเทพ ตั่นเผ่าพงษ์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ เป็นตัวแทนประเทศไทย เข้าร่วมการประชุม 19 - 24 มกราคม 2557 ณ ประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ - ศาสตราจารย์ป ระกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูล นิธิรณรงค์ เพื่ อการไม่ สูบบุ ห รี่และอดีตคณบดี คณะฯ รับรางวัลผู้นําสร้างเสริมสุขภาพดีเด่นโดยคณะกรรมการจัดการประชุมนานาชาติด้านการสร้างเสริม สุขภาพ ครั้งที่ 21 ที่ศูนย์ประชุมพีช พัทยา จังหวัดชลบุรี 29 สิงหาคม 2556 - รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ ลีลาอุดมลิปิ ผู้อํานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี ได้รับคัดเลือกให้ดํารง ตําแหน่งประธานคณะกรรมการโรงพยาบาลในกลุ่มสถาบันแพทย์แห่งประเทศไทย (UHOSNET) - ผลการคัดเลือกข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย และลูกจ้างดีเด่น ของคณะฯ ประจําปี 2556 1. ข้าราชการ ตําแหน่งประเภทวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุเทพ วาณิชย์กุล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ -6-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
-
รายงานประจําปี 2556
2. ข้าราชการ ตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน นางสาวอาภากร พุ่มโรย ฝ่ายการพยาบาล งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ 3. ลูกจ้างประจําเงินงบประมาณ นายสมศักดิ์ สุขกาย งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ 4. ลูกจ้างประจําเงินนอกงบประมาณ ประเภทที่ตําแหน่งเหมือนข้าราชการ นายณัฏฐภพ ช่วงสันเทียะ ฝ่ายการพัสดุ 5. ลูกจ้างประจําเงินนอกงบประมาณ ประเภทที่ตําแหน่งเหมือนลูกจ้างประจําเงินงบประมาณ นายวิชาญ อภิวันท์ งานรักษาความปลอดภัย 6. พนักงานมหาวิทยาลัย ตําแหน่งประเภทวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 7. พนักงานมหาวิทยาลัย ตําแหน่งประเภทวิชาชีพ หรือบริหารงานทั่วไป นางพิมพ์ชณก จันท์โชติกุล ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ ฝ่ายการพยาบาล ผลการคัดเลือกบุคลากรสายสนับสนุนผู้มผี ลงานดีเด่น ประจําปี 2556 1. ด้านบริการ นางนิทัศน์ทอง อ่อนปาน ฝ่ายการพยาบาล งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ 2. ด้านบริหาร นางเรวดี รุ่งจตุรงค์ สํานักงานคณบดี 3. ด้านวิชาชีพ นางวรกต สุวรรณสถิต ภาควิชาอายุรศาสตร์ 4. ด้านสร้างสรรค์นวัตกรรม นางนพกาญน์ วรณการโสภณ ฝ่ายการบริการพยาบาล งานการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
-7-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บทนํา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 270 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0-2201-1000 โทรสาร 0-2354-7233 Website : http://www.ra.mahidol.ac.th
ประวัติความเป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี" เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2508 และทรงมีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 ต่อมาเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2508 ได้เสด็จพระราชดําเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคาร หลังแรก และในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 เวลา 15.00 น. ได้เสด็จพระราชดําเนินทรงประกอบพิธีเปิด คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี อย่างเป็นทางการ ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องในปีพ.ศ. 2507 ซึ่งรัฐบาล ได้วางนโยบายหลักในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 ระยะที่ 2 พ.ศ. 2507 – 2509 ให้มี การผลิตแพทย์และพยาบาลเพิ่ม การก่อตั้งในช่วง พ.ศ. 2508 – 2512 มีศาสตราจารย์นายแพทย์ชัชวาล โอสถานนท์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ในขณะนั้นปฏิบัติหน้าที่รักษาการคณบดี ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2512 สภามหาวิทยาลัยมหิดล ได้แต่งตั้งให้ ศาสตราจารย์นายแพทย์อารี วัลยะเสวี ดํารงตําแหน่งคณบดีท่านแรก -8-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะแพทยศาสตร์ซึ่งจัดตั้งเป็น ลําดับที่สี่ของประเทศไทย เป็นเวลามากกว่า 40 ปี มีพันธกิจหลักในด้านการผลิตบัณฑิตทางการแพทย์และ การพยาบาล ฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ ทําการวิจัย และการให้การรักษาพยาบาล ตลอดจนการสร้าง เสริมสุขภาพ คณาจารย์และบุคลากรของคณะฯ มุ่งมั่นปฏิบัติตามพันธกิจอย่างเต็มที่ สามารถผลิตบุคลากร ทางการแพทย์ ห ลากหลายสาขาที่ มี คุ ณ ภาพออกไปปฏิ บั ติ ง านตามสถานพยาบาลต่ า งๆ ทั่ ว ประเทศ สร้างสรรค์งานวิจัยจนได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้นําในระดับประเทศและภูมิภาค ผลงานวิจัยหลายเรื่องได้ นําไปใช้แก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศและนานาชาติ ผลงานทางด้านสร้างเสริมสุขภาพ มีความโดด เด่นจนได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นคณะแพทยศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพชั้นนํา คณะฯ เป็นผู้นาํ ในการสร้างแนวความคิดริเริ่มด้านการบริหารจัดการองค์กรด้านสุขภาพของ ประเทศไทยในหลากหลายมิติ เป็นจุดเริ่มต้นของแนวคิดทางด้านการศึกษาแพทยศาสตร์และพยาบาลศาสตร์ มาไว้ในคณะเดียวกัน สนับสนุนให้อาจารย์ได้มีเวลาในการทําการวิจัยและเตรียมการสอนมากขึ้น เป็น โรงพยาบาลแห่งแรกในประเทศไทยที่นําระบบเวชระเบียนและสถิติมาใช้ เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่มี ตําแหน่งเลขานุการภาควิชา และตําแหน่งธุรการหอผู้ป่วย (Ward clerk) รวมทั้งได้จัดตั้งมูลนิธิโรงพยาบาล ของรัฐแห่งแรกขึ้นในประเทศไทย คือ มูลนิธิรามาธิบดี เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล และรองศาสตราจารย์ ดร. รจนา ทรรทรานนท์ ได้วางรากฐานงานทางด้านโสตสัมผัสวิทยาและการแก้ไขการพูด และได้เริ่มจัดการเรียน การสอนในหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย ตั้งแต่ปีพ.ศ.2519 ซึ่งนับเป็นสถาบันแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีการผลิตบุคลากรระดับประกาศนียบัตร สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย (หลักสูตร 1 ปี) เมื่อสําเร็จการศึกษาปฏิบัติงานในตําแหน่งเจ้าหน้าที่ วิทยาศาสตร์ สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย ต่อมาได้พัฒนาการศึกษาโดยจัดทําหลักสูตรอนุปริญญา สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย ในปี พ.ศ. 2542 โดยให้เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์เข้ารับการศึกษา เพิ่มเติมอีก 2 ปี เพื่อสําเร็จการศึกษาออกไปปฏิบัติงานในตําแหน่งพนักงานวิทยาศาสตร์ ในโรงพยาบาลต่างๆ สําหรับหลักสูตรปริญญาตรีหรือวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย 4 ปี เริ่ม รับนักศึกษารุ่นแรกด้วยการสอบเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของประเทศ (Entrance) ในปีการศึกษา 2547 นอกจากนั้นยังได้ปรับเปลี่ยนคุณวุฒิการศึกษาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต เป็นวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เมื่อปี พ.ศ. 2542 คณะฯ มีการพัฒนาการบริการรักษาพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันมีโรงพยาบาลในสังกัด 3 แห่ง คือ โรงพยาบาลรามาธิบดี ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ และศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ ผลการรักษา ในหลายสาขาอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานสากล สร้างความเชื่อมั่นศรัทธาให้แก่ประชาชนคนไทยทั่วประเทศ ส่งผลให้มีผู้รับบริการเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว แม้ว่าทางคณะฯจะก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมมาโดยลําดับ แต่ก็ ยังไม่พอเพียงสําหรับผู้ป่วยทั้งที่มารักษาด้วยตนเองและที่ส่งต่อมาจากโรงพยาบาลอื่นๆ ซึ่งเป็นประเด็น ปัญหาสําคัญที่ผู้บริหารคณะฯ พยายามหาทางแก้ไขมาโดยตลอด
-9-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ปณิธาน
รายงานประจําปี 2556
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นสถาบันทางการแพทย์ชั้นนําในระดับสากล บูรณาการการศึกษา การวิจัย และการบริการสุขภาพเพื่อสุขภาวะของสังคม มุ่งเรียนรู้ คู่คุณธรรม นําสู่คุณภาพ (To be a learning organization with integrity and quality) เป็นประทีปส่องทางด้านสุขภาพของประเทศ
วัฒนธรรมองค์กร ใฝ่เรียนรู้และพัฒนาตนอย่างต่อเนื่องจนเกิดนวัตกรรม กล้านําสิ่งใหม่เข้ามาเพื่อทําให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กรโดยคํานึงถึงความพึงพอใจและตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการ
คณะฯ ได้กําหนดปัจจัยแห่งความสําเร็จ 4 ด้าน คือ ความเป็นเลิศด้านการศึกษา (Education excellence)
ผลิตบัณฑิตที่มคี ุณธรรม มีพหุศักยภาพ ในการพัฒนาสุขภาวะของ สังคม มีความเป็นสากล
ความเป็นเลิศด้านการวิจยั (Research excellence)
มีงานวิจัยทีม่ ีคณ ุ ภาพได้มาตรฐานสากล งานวิจัยและนวัตกรรม สามารถนําไปใช้แก้ไขปัญหาสุขภาพของประเทศ
ความเป็นเลิศด้านการบริการ สุขภาพ (Health service excellence)
สร้างรูปแบบบริการสุขภาพแบบองค์รวมในปัญหาสุขภาพสําคัญ ระดับประเทศและพัฒนาความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมการบริการ สุขภาพโดยเน้นผู้ป่วยทีม่ ีปัญหาซับซ้อนเพื่อตอบสนองความต้องการ ด้านบริการสุขภาพของสังคม
ความเป็นเลิศด้านบริการวิชาการ สู่สังคม (Academic excellence)
จัดการความรูด้ ้านสุขภาพเพื่อชี้นําการสร้างสุขภาวะของสังคม
- 10 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
แผนยุทธศาสตร์ RAMA scorecard สิ้นสุดลงในปีงบประมาณ 2555 ประกอบกับ มหาวิทยาลัยมหิดล ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2556 – 2559 และเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) คณะกรรมการประจําส่วนงานจึงทบทวนนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภาวะคุกคาม ความท้าทายและความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ ตลอดจนสมรรถนะหลัก ของคณะฯ เพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงจากทั้ ง ภายในและภายนอก มี ก ารปรั บ วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ เป้ าประสงค์ ตั วชี้ วัด ระดั บคณะฯ และกํ าหนดให้ ภาควิชา/สํ านั กงาน/หน่ วยงานจั ดทํ าแผนปฏิ บั ติ การ (Action plan) ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ระดับคณะฯ ปีงบประมาณ 2556 – 2560 ประกาศใช้เมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2556 เป็นต้นมา มีการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ฯ โดยใช้กลไกการมอบหมายงานจาก คณบดีสู่รองคณบดี ผู้อํานวยการโรงพยาบาล/ศูนย์การแพทย์ หัวหน้าภาควิชา และผู้อํานวยการโรงเรียน พยาบาลรามาธิ บ ดี โดยการจั ด ทํ า ข้ อ ตกลงการปฏิ บั ติ (Performance Agreement: PA) รวมทั้ ง การ สื่อสารแผนยุทธศาสตร์ฯ ผ่านเอกสารและที่ประชุมต่าง ๆ ของคณะฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านที่ประชุมของ ทุกภาควิชาและโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี รวมทั้งประชาสัมพันธ์ทางโปสเตอร์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไปยังบุคลากรทั่วทั้งคณะฯ การติดตามผลการดําเนินงานฯ กําหนดให้งานนโนยายและแผนติดตามและ ประเมินผลฯ อย่างต่อเนื่ องทุ กไตรมาส เพื่อนํ าเสนอคณะกรรมการบริหารคณะฯ และคณะกรรมการ ประจําส่วนงาน กรณีที่ตัวชี้วัดไม่บรรลุเป้าหมาย รองคณบดีผู้รับผิดชอบเป็นผู้ชี้แจง ข้อเสนอแนะหรือแนว ทางแก้ ไข มีการสรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณและความคืบหน้าของโครงการแผนปฏิบัติการ เสนอ กรรมการงบประมาณของคณะฯ เพื่ อ เป็ น ข้ อมู ล ประกอบการจัด สรรงบประมาณ รวมทั้ งการกํ าหนด อัตรากําลังบุคลากรอย่างเหมาะสม คณะผู้บริหารสูงสุด คณบดีเป็นผู้บริหารสูงสุดของคณะฯ และเป็นประธานคณะกรรมการประจําส่วนงาน ซึ่งประกอบด้วย คณบดี รองคณบดี ผู้อํานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้อํานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ ผู้อํานวยการศูนย์ การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ ผู้อํานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี หัวหน้าภาควิชา ผู้แทนคณาจารย์ ประจําจากการเลือกตั้ง 4 คน และผู้แทนบุคลากรสายสนับสนุนจากการเลือกตั้ง 2 คน เลขานุการคณะฯ ทําหน้าที่เลขานุการของคณะกรรมการฯ และมีผู้ช่วยเลขานุการฯ 1 คน คณะกรรมการประจําส่วนงาน บริหารจัดการและสนับสนุนส่งเสริม การดําเนินพันธกิจ ให้ เป็นไปตามนโยบาย โดยภาควิชา/โรงเรียน พยาบาลรามาธิบดี และหน่วยงานต่างๆ ทําหน้าที่สร้างผลงานให้สอดคล้องตามนโยบายที่คณะกรรมการ ประจําส่วนงาน กําหนดและถ่ายทอดลงสู่การปฏิบัติโดยผ่านการสื่อสารหลากหลายช่องทาง
- 11 -
- กุมารเวชศาสตร์ - จักษุวิทยา - จิตเวชศาสตร์ - พยาธิวิทยา - รังสีวิทยา - วิสัญญีวิทยา - เวชศาสตร์ครอบครัว - เวชศาสตร์ฉุกเฉิน - เวชศาสตร์ชุมชน - เวชศาสตร์ฟื้นฟู - ศัลยศาสตร์ - สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา - โสต ศอ นาสิกวิทยา - ออร์โธปิดิกส์ - อายุรศาสตร์ - วิทยาศาสตร์สื่อความหมาย และความผิดปกติของการ สื่อความหมาย
ภาควิชา
โรงพยาบาล
ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์
- ระบาดวิทยาคลินิกและชีวสถิติ - โภชนศาสตร์
กลุ่มสาขาวิชา
- 12 -
- งานบริหารการศึกษา - งานกิจการนักศึกษา - งานแพทยศาสตรศึกษา - งานการศึกษาหลังปริญญา - งานบริหารทรัพยากรการเรียนรู้ - งานโรงเรียนการบริหารงานโรงพยาบาล
สานักงานการศึกษา
สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์
- งานห้องปฏิบัติการวิจัย - งานบริหารทั่วไปสนับสนุนการวิจัย - งานสนับสนุนการวิจัยทางคลินิก - งานบริการวิชาการ - งานการศึกษาต่อเนื่อง
สานักงานวิจัย วิชาการ และนวัตกรรม
- ฝ่ายการแพทย์และทันตกรรม - งานการแพทย์และทันตแพทย์ - งานรังสีวิทยา - ฝ่ายการพยาบาล - งานการพยาบาลผู้ป่วยใน - งานการพยาบาลผู้ป่วยนอก - งานการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต - งานการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดและคลอดบุตร - ฝ่ายสนับสนุนทางการแพทย์ - งานเภสัชกรรม - งานเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ - งานเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ - ฝ่ายสนับสนุนทั่วไป - งานผู้ป่วยสัมพันธ์ - งานประชาสัมพันธ์และธุรกิจ - งานพัฒนาคุณภาพงาน - งานบริหารศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
ศูนย์สนับสนุนพันธกิจ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
บทที่ 1 โครงสร้างองค์กรและโครงสร้างการบริหารงาน
- ฝ่ายการแพทย์ - ฝ่ายการพยาบาล - งานผู้ป่วยใน - งานผู้ป่วยนอก - งานการพยาบาลผู้ป่วยใน - ฝ่ายการพยาบาล - งานการพยาบาลผู้ป่วยนอก - งานบริหารฝ่ายการพยาบาล - งานการพยาบาลห้องผ่าตัดและวิกฤต - งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ - งานการแพทย์และเภสัชกรรม - งานการพยาบาลจักษุ โสต ศอ นาสิกวิทยา - งานการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต - งานบริหารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ - งานการพยาบาลป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ - งานการพยาบาลผ่าตัด - งานการพยาบาลศัลยศาสตร์ - งานการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา - งานการพยาบาลเวชศาสตร์ครอบครัวและเวชศาสตร์ฉุกเฉิน - งานการพยาบาลอายุรศาสตร์ - งานการพยาบาลออร์โธปิดิกส์และเวชศาสตร์ฟื้นฟู - งานการพยาบาลบริการเฉพาะ - ฝ่ายโภชนาการ - งานโภชนบริหาร - งานโภชนบาบัดและโภชนศึกษา - งานโภชนบริการ - ฝ่ายเภสัชกรรม - งานบริหารเวชภัณฑ์ - งานผลิตยา - งานบริการเภสัชกรรมคลินิก - งานบริการเวชภัณฑ์ - งานบริการผ้า - งานทันตกรรม - งานเวชระเบียน - งานอุปกรณ์การแพทย์ - งานเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ - งานเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ - งานบริหารการรักษาพยาบาล - งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ - งานสังคมสงเคราะห์ - งานผู้ป่วยสัมพันธ์และบริการผู้ป่วย - งานบริหารโรงพยาบาลรามาธิบดี - งานคุ้มครองผู้รับบริการและควบคุมคุณภาพการบริการรักษาพยาบาล
โรงพยาบาลรามาธิบดี
โรงเรียนพยาบาล รามาธิบดี
1.1 โครงสร้างองค์กร (Organization chart)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ณ 30 กันยายน 2556
- ฝ่ายวิศวกรรมบริการ - งานวิศวกรรมเครื่องกล - งานวิศวกรรมสุขาภิบาล - งานวิศวกรรมโยธาและอุตสาหการ - งานวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - ฝ่ายการคลัง - งานบัญชี - งานจัดเก็บค่ารักษาพยาบาล - งานการเงิน - งานงบประมาณและบริหารทั่วไป - ฝ่ายการพัสดุ - งานจัดซื้อและบริหารสัญญา - งานบริหารพัสดุ - งานพัฒนาและดูแลสินทรัพย์ - ฝ่ายทรัพยากรบุคคล - งานบริหารทรัพยากรบุคคล - งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล - งานกลยุทธ์ทรัพยากรบุคคล - ฝ่ายสารสนเทศ - งานสารสนเทศเพื่อการบริหาร - งานเวชสารสนเทศคลินิก - งานสารสนเทศคลังข้อมูล - งานโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ - งานกฎหมาย - งานสื่อสารองค์กร - งานนโยบายและแผน - งานตรวจสอบภายใน - งานบริหารและธุรการ - งานบริหารความเสี่ยง - งานรักษาความปลอดภัย - งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ - งานพัฒนาคุณภาพงาน - งานบริหารทรัพยากรสุขภาพ - งานสร้างเสริมสุขภาพ - งานวิเทศสัมพันธ์ - งานโสตทัศนศึกษา - งานบริหารกายภาพ สิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
สานักงานคณบดี
รายงานประจาปี 2556
- วิทยาศาสตร์สื่อความหมาย และความผิดปกติของการ สื่อความหมาย
- อายุรศาสตร์
- ออร์โธปิดิกส์
- โสต ศอ นาสิกวิทยา
- สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
- ศัลยศาสตร์
- เวชศาสตร์ฟื้นฟู
- เวชศาสตร์ชุมชน
- เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
- เวชศาสตร์ครอบครัว
- วิสัญญีวิทยา
- รังสีวิทยา
- พยาธิวิทยา
- จิตเวชศาสตร์
- จักษุวิทยา
- กุมารเวชศาสตร์
หัวหน้าภาควิชา
ผู้อานวยการ ศูนย์สนับสนุนพันธกิจ
ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์ สมเด็จพระเทพรัตน์
หน.งานบริการวิชาการ หน.งานการศึกษาต่อเนื่อง
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ **
หน.งานห้องปฏิบัติการวิจัย หน.งานบริหารทั่วไปสนับสนุนการวิจัย หน.งานสนับสนุนการวิจัยทางคลินิก
รองคณบดีฝ่ายวิจัย
- 13 -
** เป็นตาแหน่งเดียวกัน
หน.ฝ่ายการแพทย์และทันตกรรม หน.งานการแพทย์และทันตแพทย์ หน.งานรังสีวิทยา หน.ฝ่ายการพยาบาล หน.งานการพยาบาลผู้ป่วยใน หน.งานการพยาบาลผู้ป่วยนอก หน.งานการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต หน.งานการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดและคลอดบุตร หน.ฝ่ายสนับสนุนทางการแพทย์ หน.งานเภสัชกรรม หน.งานเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ หน.ฝ่ายสนับสนุนทั่วไป หน.งานผู้ป่วยสัมพันธ์ หน.งานประชาสัมพันธ์และธุรกิจ หน.งานพัฒนาคุณภาพงาน หน.งานบริหารศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
หมายเหตุ
ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ หน.ฝ่ายการพยาบาล หน.งานการพยาบาลผู้ป่วยใน หน.งานการพยาบาลผู้ป่วยนอก หน.งานการพยาบาลห้องผ่าตัดและวิกฤต หน.งานการแพทย์และเภสัชกรรม หน.งานบริหารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์
ผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี
รองคณบดีฝ่ายบริการ
หน.กลุ่มสาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิกและชีวสถิติ หน.กลุ่มสาขาวิชาโภชนศาสตร์
รองคณบดีฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา **
คณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
หน.ฝ่ายการแพทย์ หน.งานผู้ป่วยใน หน.งานผู้ป่วยนอก หน.ฝ่ายการพยาบาล หน.งานบริหารฝ่ายการพยาบาล หน.งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ หน.งานการพยาบาลจักษุ โสต ศอ นาสิกวิทยา หน.งานการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต หน.งานการพยาบาลป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ หน.งานการพยาบาลผ่าตัด หน.งานการพยาบาลศัลยศาสตร์ หน.งานการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา หน.งานการพยาบาลเวชศาสตร์ครอบครัวและเวชศาสตร์ฉุกเฉิน หน.งานการพยาบาลอายุรศาสตร์ หน.งานการพยาบาลออร์โธปิดิกส์และเวชศาสตร์ฟื้นฟู หน.งานการพยาบาลบริการเฉพาะ หน.ฝ่ายโภชนาการ หน.งานโภชนบริหาร หน.งานโภชนบาบัดและโภชนศึกษา หน.งานโภชนบริการ หน.ฝ่ายเภสัชกรรม หน.งานบริหารเวชภัณฑ์ หน.งานผลิตยา หน.งานบริการเภสัชกรรมคลินิก หน.งานบริการเวชภัณฑ์ หน.งานบริการผ้า หน.งานทันตกรรม หน.งานเวชระเบียน หน.งานอุปกรณ์การแพทย์ หน.งานเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ หน.งานเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ หน.งานบริหารการรักษาพยาบาล หน.งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ หน.งานสังคมสงเคราะห์ หน.งานผู้ป่วยสัมพันธ์และบริการผู้ป่วย หน.งานบริหารโรงพยาบาลรามาธิบดี หน.งานคุ้มครองผู้รับบริการและควบคุมคุณภาพการ บริการรักษาพยาบาล
ผู้อานวยการ โรงเรียนพยาบาล รามาธิบดี
1.2 โครงสร้างการบริหารงาน (Administration chart)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ณ 30 กันยายน 2556
รองคณบดีฝ่ายสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์
หน.งานการศึกษาหลังปริญญา หน.งานโรงเรียนการบริหารงานโรงพยาบาล
รองคณบดีฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา**
หน.งานกิจการนักศึกษา
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
หน.งานบริหารการศึกษา หน.งานแพทยศาสตรศึกษา หน.งานบริหารทรัพยากรการเรียนรู้
รองคณบดีฝ่ายการศึกษา
หน.งานกฎหมาย หน.งานบริหารและธุรการ
เลขานุการคณะฯ
หน.งานโสตทัศนศึกษา
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ **
หน.งานวิเทศสัมพันธ์
รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์
หน.งานสร้างเสริมสุขภาพ
รองคณบดีฝ่ายสร้างเสริมสุขภาพและวัฒนธรรม
หน.งานพัฒนาคุณภาพงาน
รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ
หน.งานนโยบายและแผน หน.งานตรวจสอบภายใน หน.งานบริหารความเสี่ยง หน.งานบริหารทรัพยากรสุขภาพ
รองคณบดี
หน.งานสื่อสารองค์กร
รองคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร
หน.ฝ่ายสารสนเทศ หน.งานสารสนเทศเพื่อการบริหาร หน.งานเวชสารสนเทศคลินิก หน.งานสารสนเทศคลังข้อมูล หน.งานโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ
รองคณบดีฝ่ายสารสนเทศ
หน.ฝ่ายทรัพยากรบุคคล หน.งานบริหารทรัพยากรบุคคล หน.งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล หน.งานกลยุทธ์ทรัพยากรบุคคล
รองคณบดีฝ่ายทรัพยากรบุคคล
หน.ฝ่ายการพัสดุ หน.งานจัดซื้อและบริหารสัญญา หน.งานบริหารพัสดุ หน.งานพัฒนาและดูแลสินทรัพย์
รองคณบดีฝ่ายการพัสดุ
หน.ฝ่ายการคลัง หน.งานบัญชี หน.งานจัดเก็บค่ารักษาพยาบาล หน.งานการเงิน หน.งานงบประมาณและบริหารทั่วไป
รองคณบดีฝ่ายการคลัง
หน.ฝ่ายวิศวกรรมบริการ หน.งานวิศวกรรมเครื่องกล หน.งานวิศวกรรมสุขาภิบาล หน.งานวิศวกรรมโยธาและอุตสาหการ หน.งานวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน.งานรักษาความปลอดภัย หน.งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ หน.งานบริหารกายภาพ สิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
รองคณบดีฝ่ายอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
รายงานประจาปี 2556
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
คณะกรรมการประจาส่วนงาน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.
คณบดี รองคณบดี รองคณบดีฝ่ายบริการ รองคณบดีฝ่ายวิจัย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายการพัสดุ รองคณบดีฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา รองคณบดีฝ่ายการคลัง รองคณบดีฝ่ายการศึกษา รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา รองคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ รองคณบดีฝ่ายอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
ศาสตราจารย์วินิต พัวประดิษฐ์ ศาสตราจารย์คลินิกครรชิตเทพ ตั่นเผ่าพงษ์ รองศาสตราจารย์ธันย์ สุภัทรพันธุ์ ศาสตราจารย์ประทักษ์ โอประเสริฐสวัสดิ์ ศาสตราจารย์วชิร คชการ ศาสตราจารย์รณชัย คงสกนธ์ ศาสตราจารย์สมนึก ดารงกิจชัยพร รองศาสตราจารย์สาธิต โหตระกิตย์ รองศาสตราจารย์สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์ รองศาสตราจารย์โฉมชบา สิรินันทน์ รองศาสตราจารย์จิรพร เหล่าธรรมทัศน์ รองศาสตราจารย์มะลิ รุ่งเรืองวานิช รองศาสตราจารย์ชาญยุทธ ศุภชาติวงศ์ (ถึง 1 ก.ค. 56) อาจารย์ภุชงค์ ลิขิตธนสมบัติ (ตั้งแต่ 2 ก.ค. 56) 14. รองคณบดีฝ่ายสร้างเสริมสุขภาพและวัฒนธรรม รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณวดี พุธวัฒนะ 15. รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ รองศาสตราจารย์นาวาโทหญิงศิรินธรา สิงหรา ณ อยุธยา 16. รองคณบดีฝ่ายสารสนเทศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ โอกาศเจริญ 17. รองคณบดีฝ่ายทรัพยากรบุคคล อาจารย์โยเซฟ ซื่อเพียรธรรม 18. รองคณบดีฝ่ายสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ รองศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ โค้วสถิตย์ (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56) 19. ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ ศาสตราจารย์อร่าม โรจนสกุล 20. ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ ศาสตราจารย์อาไพวรรณ จวนสัมฤทธิ์ 21. ผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ ลีลาอุดมลิปิ 22. ผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จริยา วิทยะศุภร 23. หัวหน้าภาควิชากุมารเวชศาสตร์ รองศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ โค้วสถิตย์ (ถึง 30 เม.ย. 56) รองศาสตราจารย์สรายุทธ สุภาพรรณชาติ (ตั้งแต่ 1 พ.ค. 56) 24. หัวหน้าภาควิชาจักษุวิทยา รองศาสตราจารย์รุ่งโรจน์ เลิศวิทยาสกุล 25. หัวหน้าภาควิชาจิตเวชศาสตร์ ศาสตราจารย์มาโนช หล่อตระกูล 26. หัวหน้าภาควิชาพยาธิวิทยา รองศาสตราจารย์ศันสนีย์ วงศ์ไวศยวรรณ 27. หัวหน้าภาควิชารังสีวิทยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมใจ แดงประเสริฐ 28. หัวหน้าภาควิชาวิสัญญีวิทยา รองศาสตราจารย์วิชัย อิทธิชัยกุลฑล 29. หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว รองศาสตราจารย์ปราณี พลังวชิรา - 14 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
30. 31. 32. 33.
รายงานประจาปี 2556
หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู หัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์
34. หัวหน้าภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา 35. หัวหน้าภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา
36. หัวหน้าภาควิชาออร์โธปิดิกส์
37. หัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ 38. หัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมาย และความผิดปกติของการสื่อความหมาย 39. กรรมการประจาส่วนงาน ประเภทคณาจารย์ประจา 40. กรรมการประจาส่วนงาน ประเภทคณาจารย์ประจา 41. กรรมการประจาส่วนงาน ประเภทคณาจารย์ประจา 42. กรรมการประจาส่วนงาน ประเภทคณาจารย์ประจา 43. กรรมการประจาส่วนงาน จากสายงานสนับสนุนวิชาชีพเฉพาะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา ศาสตราจารย์วิชัย เอกพลากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์นพวรรณ แสนเจริญสุทธิกุล ศาสตราจารย์กฤษฎา รัตนโอฬาร (ถึง 19 ต.ค. 55) อาจารย์สาธิต กรเณศ (ตั้งแต่ 20 ต.ค. 55) ศาสตราจารย์สฤกพรรณ วิไลลักษณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชิต ชีวเรืองโรจน์ (ถึง 18 พ.ค. 56) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธงชัย พงศ์มฆพัฒน์ (ตั้งแต่ 19 พ.ค. 56) รองศาสตราจารย์วิวัฒน์ วจนะวิศิษฐ (ถึง 1 ก.ค. 56) รองศาสตราจารย์ชาญยุทธ ศุภชาติวงศ์ (ตั้งแต่ 2 ก.ค. 56) ศาสตราจารย์ปิยะมิตร ศรีธรา ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาญจน์ลกั ษณ์ คันธพสุนธรา ศาสตราจารย์อภิชาติ จิตต์เจริญ ศาสตราจารย์คลินิกพรชัย มูลพฤกษ์ อาจารย์ธัชพงศ์ งามอุโฆษ ศาสตราจารย์สุรเดช หงส์อิง นางสาวจงรักษ์ อุตรารัชต์กิจ (ถึง 10 ก.ย. 56) นางเพ็ญศรี เลาสวัสดิ์ชัยกุล (ตั้งแต่ 11 ก.ย. 56) นายอาคม เลิศสุภานันท์ (ถึง 10 ก.ย. 56)
44. กรรมการประจาส่วนงาน จากสายงาน สนับสนุนทั่วไปและสนับสนุนวิชาการ
นายทวิช ฉิมประสาท (ตั้งแต่ 11 ก.ย. 56) นางเรวดี รุ่งจตุรงค์ เลขานุการคณะกรรมการฯ นางสุชาดา แก้วบุบผา ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการฯ
45. เลขานุการคณะฯ 46. หัวหน้างานบริหารและธุรการ
- 15 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
คณะกรรมการบริหาร 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.
คณบดี รองคณบดี รองคณบดีฝ่ายบริการ รองคณบดีฝ่ายวิจัย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายการพัสดุ รองคณบดีฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา รองคณบดีฝ่ายการคลัง รองคณบดีฝ่ายการศึกษา รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา รองคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ รองคณบดีฝ่ายอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อม
14. รองคณบดีฝ่ายสร้างเสริมสุขภาพ และวัฒนธรรม 15. รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ 16. รองคณบดีฝ่ายสารสนเทศ 17. รองคณบดีฝ่ายทรัพยากรบุคคล 18. รองคณบดีฝา่ ยสถาบันการแพทย์ จักรีนฤบดินทร์ 19. ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์ สมเด็จพระเทพรัตน์ 20. ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ 21. ผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี 22. ผู้อานวยการศูนย์สนับสนุนพันธกิจ
23. ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการ 24. นางเรวดี รุ่งจตุรงค์ 25. นางสุชาดา แก้วบุบผา
ศาสตราจารย์วินิต พัวประดิษฐ์ ประธาน ศาสตราจารย์คลินิกครรชิตเทพ ตั่นเผ่าพงษ์ กรรมการ รองศาสตราจารย์ธันย์ สุภัทรพันธุ์ กรรมการ ศาสตราจารย์ประทักษ์ โอประเสริฐสวัสดิ์ กรรมการ ศาสตราจารย์วชิร คชการ กรรมการ ศาสตราจารย์รณชัย คงสกนธ์ กรรมการ ศาสตราจารย์สมนึก ดารงกิจชัยพร กรรมการ รองศาสตราจารย์สาธิต โหตระกิตย์ กรรมการ รองศาสตราจารย์สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์ กรรมการ รองศาสตราจารย์โฉมชบา สิรินันทน์ กรรมการ รองศาสตราจารย์จิรพร เหล่าธรรมทัศน์ กรรมการ รองศาสตราจารย์มะลิ รุ่งเรืองวานิช กรรมการ รองศาสตราจารย์ชาญยุทธ ศุภชาติวงศ์ กรรมการ (ถึง 1 ก.ค. 56) อาจารย์ภุชงค์ ลิขิตธนสมบัติ (ตั้งแต่ 2 ก.ค. 56) รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณวดี พุธวัฒนะ กรรมการ รองศาสตราจารย์นาวาโทหญิงศิรินธรา สิงหรา ณ อยุธยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ โอกาศเจริญ อาจารย์โยเซฟ ซื่อเพียรธรรม รองศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ โค้วสถิตย์ (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56) ศาสตราจารย์อร่าม โรจนสกุล
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ศาสตราจารย์อาไพวรรณ จวนสัมฤทธิ์ กรรมการ รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ ลีลาอุดมลิปิ กรรมการ รองศาสตราจารย์สรายุทธ สุภาพรรณชาติ กรรมการ (ถึง 30 เม.ย. 56) รองศาสตราจารย์สาธิต โหตระกิตย์ (ตั้งแต่ 1 พ.ค. 56) อาจารย์ ดร.บวรศม ลีระพันธ์ กรรมการ เลขานุการคณะฯ กรรมการ และเลขานุการ หัวหน้างานบริหารและธุรการ ผู้ช่วยเลขานุการ - 16 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ผู้ช่วยคณบดี 1. 2. 3. 4.
7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการ (ด้านพัฒนาระบบบริการยาและเวชภัณฑ์) ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการ (ด้านประสานความร่วมมือ ฝ่ายการพยาบาล และร่วมพัฒนาการบริการของคณะฯ) ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัย ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัย ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัย ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ
5. 6.
- 17 -
รองศาสตราจารย์พรชัย สิมะโรจน์ อาจารย์ ดร.บวรศม ลีระพันธ์ นางอารีย์ บุญบวรรัตนกุล นางพัชรินทร์ สุวรรณกูฏ อาจารย์อิทธิรัตน์ วัชราชานนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรณู พุกบุญมี
รองศาสตราจารย์นาวาเอกอนันต์ โฆษิตเศรษฐ รองศาสตราจารย์อนุชิต ปุญญทลังค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์รพีพร โรจน์แสงเรือง อาจารย์ภูริช ประณีตวตกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์เรือเอกวรสรวง ทองสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตรประอร งามอุโฆษ อาจารย์สุธิดา สัมฤทธิ์ อาจารย์สุธัญญ์ ศรีแสงแก้ว ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาบอรุณ เลิศขจรสุข อาจารย์สรศักดิ์ ศุภผล (ถึง 30 มิ.ย. 56) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทศพล ลิ้มพิจารณ์กิจ (ตั้งแต่ 15 ก.ค. 56) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรีดา สัมฤทธิ์ประดิษฐ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิทักษ์ สันตนิรันดร์ รองศาสตราจารย์จิตติวัฒน์ สุประสงค์สิน ศาสตราจารย์สุรเดช หงส์อิง อาจารย์วิชช์ เกษมทรัพย์ ศาสตราจารย์อภิชาติ จิตต์เจริญ ศาสตราจารย์จุมพล วิลาศรัศมี ศาสตราจารย์ศิริวรรณ จิรสิริธรรม รองศาสตราจารย์ชลทิพย์ วิรัตกพันธ์ อาจารย์ ดร.เสริมศรี สันตติ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35.
รายงานประจาปี 2556
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายทรัพยากรบุคคล ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายทรัพยากรบุคคล ผู้ช่วยคณบดีฝา่ ยการพัสดุ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการพัสดุ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสารสนเทศ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสารสนเทศ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสารสนเทศ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร
36. ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54.
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสร้างเสริมสุขภาพ และวัฒนธรรม ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสร้างเสริมสุขภาพ และวัฒนธรรม ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสร้างเสริมสุขภาพ และวัฒนธรรม ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการคลัง - 18 -
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพัตรา ลีลาภิวัฒน์ นางสาวพจนี รอดจินดา (ถึง 30 พ.ค. 56) รองศาสตราจารย์เฉลิมชัย ชินตระการ นางสาวสมพร โชติวิทยธารากร รองศาสตราจารย์สิทธิ์ พงษ์กิจการุณ อาจารย์ศนิ มลกุล อาจารย์กติ ิพล นาควิโรจน์ ศาสตราจารย์อลิสา ลิ้มสุวรรณ (ถึง 30 มิ.ย. 56) ทันตแพทย์หญิงนฤมล ทวีเศรษฐ์ (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56) ผู้ช่วยศาสตราจารย์เฉลิมพงษ์ ฉัตรดอกไม้ไพร (ถึง 6 พ.ค. 56) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาวิทย์ เพียรวิจิตร อาจารย์จิราภรณ์ อรุณากูร อาจารย์ธเนศ แก่นสาร อาจารย์โสมรัชช์ วิไลยุค อาจารย์ ดร.วิทยา สังขรัตน์ อาจารย์พิชญา ทองโพธิ์ รองศาสตราจารย์อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ อาจารย์สิรินทร ฉันศิริกาญจน อาจารย์วิไล ตั้งปนิธานดี รองศาสตราจารย์เรือเอกศิริไชย หงษ์สงวนศรี รองศาสตราจารย์ทวีกิจ นิ่มวรพันธุ์ รองศาสตราจารย์นพดล ลาภเจริญทรัพย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิติกุล ลีละวงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปกรณ์ เจียระคงมั่น อาจารย์อรพิชญา ไกรฤทธิ์ อาจารย์วรวรรณ วัฒนาวงศ์สว่าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัจฉริย สาโรวาท นางสาวอัญชลี ถือทอง (ตั้งแต่ 7 ม.ค. 56)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
รองผู้อานวยการโรงพยาบาล/ศูนย์การแพทย์ฯ/โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.
รองผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี รองผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี รองผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี รองผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี รองผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี
รองศาสตราจารย์วินัย วนานุกูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย เวียงธีรวัฒน์ นายแพทย์ณรงค์ฤทธิ์ มัศยาอานนท์ อาจารย์ภุชงค์ ลิขิตธนสมบัติ (ถึง 1 ก.ค. 56) ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาธร มาลาธรรม (ตั้งแต่ 15 ก.ย. 56)
รองผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ รองผู้อานวยการศูนย์การแพทย์ สมเด็จพระเทพรัตน์ รองผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี รองผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี รองผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี รองผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี รองผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
รองศาสตราจารย์ประภาพรรณ ศรีจินไตย อาจารย์ไพโรจน์ บุญคงชื่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์เรณู พุกบุญมี (ถึง 31 ต.ค. 55) รองศาสตราจารย์อรสา พันธ์ภักดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์สตรีรัตน์ ธาดากานต์ อาจารย์ ดร.เสริมศรี สันตติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิกุล ตันติธรรม (ตั้งแต่ 1 พ.ย. 55)
ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์การแพทย์ฯ/ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 1. ผู้ช่วยผู้อานวยการอาวุโส ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ 2. ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ 3. ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ ฝ่ายนโยบายและพัฒนาคุณภาพ 4. ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์การแพทย์ สมเด็จพระเทพรัตน์ ฝ่ายการแพทย์
5. ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ 6. ผูช้ ่วยผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ 7. ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ด้านวิจัยและวิชาการ - 19 -
รองศาสตราจารย์ประสาทนีย์ จันทร นางสาวจริยา ตันติธรรม นางศิริลักษณ์ เกี่ยวข้อง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดรุณีวัลย์ วโรดมวิจิต (ถึง 31 พ.ค. 56) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปารวี สุวรรณาลัย (ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 56) ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกภพ สิระชัยนันท์ รองศาสตราจารย์ปิยะ สมานคติวัฒน์ (ตั้งแต่ 8 พ.ย. 55) รองศาสตราจารย์มณี อาภานันทิกุล
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
8. ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ด้านกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ 9. ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ด้านวิเทศสัมพันธ์ 10. ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ด้านพัฒนาคุณภาพ 11. ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ด้านบริหาร ณ ศาลายา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พูลสุข เจนพานิชย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันทนา มณีศรีวงศ์กูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์มุกดา เดชประพนธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย
สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ 1. รองคณบดีฝ่ายสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์
2. 3.
4.
5. 6. 7. 8. 9.
รองศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ โค้วสถิตย์ (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56) ผู้อานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ รองศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ โค้วสถิตย์ (ตั้งแต่ 8 มี.ค. 56) รองผู้อานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประสิทธิ์ กี่สุขพันธุ์ (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56) รองผู้อานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ รองศาสตราจารย์สรายุทธ สุภาพรรณชาติ ฝ่ายบริการ (ถึง 30 เม.ย. 56) อาจารย์ไพโรจน์ บุญคงชื่น (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56) รองผู้อานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ฝ่ายนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ อาจารย์ ดร.บวรศม ลีระพันธ์ (ถึง 30 มิ.ย. 56) ฝ่ายนโยบายและแผน อาจารย์ ดร.บวรศม ลีระพันธ์ (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56) รองผู้อานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ดร.สมรักษ์ สหพงศ์ (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56) ฝ่ายวางแผนและจัดเตรียมทรัพยากรการเรียนรู้ รองผู้อานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ นางสาวพจนี รอดจินดา (ถึง 14 ก.ค. 56) ฝ่ายวางแผนด้านการพยาบาล รองผู้อานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ศาสตราจารย์บุญส่ง องค์พิพัฒนกุล ฝ่ายวางแผนด้านงานวิจัย (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56) รองผู้อานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์ ฝ่ายการศึกษาพยาบาลศาสตร์ (ถึง 14 ก.ค. 56) รองผู้อานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ดร.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56) ฝ่ายสารสนเทศ - 20 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
10. รองผู้อานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ นายกนก จุฑามณี (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56) ฝ่ายโลจิสติกส์ 11. ผู้อานวยการการก่อสร้างสถาบันการแพทย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เลิศฤทธิ์ จงมั่นคงชีพ จักรีนฤบดินทร์ 12. รองผู้อานวยการการก่อสร้างสถาบันการแพทย์ นายปรีชา โพธิสัตย์ จักรีนฤบดินทร์
กรรมการสภาอาจารย์รามาธิบดี ชุดที่ 21 (ก.ค. 56 – เม.ย. 58) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภากร จันทนมัฏฐะ อาจารย์ธัชพงศ์ งามอุโฆษ ศาสตราจารย์อลิสา ลิ้มสุวรรณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วีรพัฒน์ สุวรรณธรรมา ผู้ช่วยศาสตราจารย์จารูญ ตั้งกีรติชัย รองศาสตราจารย์ชลทิพย์ วิรตั กพันธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธีรวัฒน์ ชลาชีวะ
ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
8. อาจารย์อิทธิรัตน์ วัชรานานันท์
กรรมการ
9. อาจารย์วิชช์ เกษมทรัพย์
กรรมการ
10. อาจารย์ไพศาล บุญสะกันต์
กรรมการ
11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชรินทร์ นินทจันทร์
กรรมการ
12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิราภรณ์ จันทร์ดา
กรรมการ
13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาวิทย์ เพียรวิจิตร
กรรมการ
หัวหน้างานบริหารทั่วไปและธุรการ (เลขานุการภาควิชา) 1. 2. 3. 4. 5.
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ภาควิชาจักษุวิทยา ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ ภาควิชาพยาธิวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา
นางลักษณา ชิตามระ นางสาวชุติกุล ทองสมมาตร นางสาวอัญชลี บุรสมบูรณ์ นางสาวนฤมล จินดา นางพิมพิลา ขาวขา (ถึง 30 ต.ค. 55) นางสาวสมพิศ เฉพาะคุณ (ตั้งแต่ 1 พ.ย. 55) นางสาวเกลียวพร พักตร์โฉม นางผาณิต สินธุเสก
6. ภาควิชาวิสัญญีวิทยา 7. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว - 21 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
8. 9. 10. 11. 12.
รายงานประจาปี 2556
ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ภาควิชาศัลยศาสตร์ ภาควิชาสูติศาสตร์ - นรีเวชวิทยา
นางสาววันทนา พุ่มพวง นางผ่องศรี เจริญรักษ์ นายปริทัศน์ รัตนะวรรณาภรณ์ นายเสงี่ยม ไตรหัตถทรัพย์ นางสาวประไพ อ้นองอาจ (ถึง 10 มิ.ย. 56) นางธัญญพิชญ์ ประสิทธิแพทย์ (ตั้งแต่ 11 มิ.ย. 56) นางสาวจรวยพร สุเนตรวรกุล นางสาวศศิธร พึ่งโพสภ นางสาวเพ็ญศิริ พระรามชัย (ถึง 30 เม.ย. 56) นางณัฐนพิน รัตโน (ตั้งแต่ 1 พ.ค. 56) นางสาวฐิติมา สุพะรัง
13. ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 14. ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ 15. ภาควิชาอายุรศาสตร์ 16. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมาย และความผิดปกติของการสื่อความหมาย
หัวหน้าฝ่ายบริหารโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 1. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
นางภคมน สัมมาเทศน์ (ตั้งแต่ 7 มิ.ย. 56)
หัวหน้ากลุ่มสาขาวิชา 1. กลุ่มสาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิกและชีวสถิติ 2. กลุม่ สาขาวิชาโภชนศาสตร์
อาจารย์ ดร.อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร รองศาสตราจารย์ ดร.ปรียา ลีฬหกุล
หัวหน้าฝ่าย/งาน สังกัดโรงพยาบาลรามาธิบดี 1. หัวหน้าฝ่ายการแพทย์ - หัวหน้างานผู้ป่วยใน - หัวหน้างานผู้ป่วยนอก 2. หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล - หัวหน้างานบริหารฝ่ายการพยาบาล - หัวหน้างานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ - หัวหน้างานการพยาบาลจักษุ โสต ศอ นาสิกวิทยา - หัวหน้างานการพยาบาลจิตเวช และสุขภาพจิต - 22 -
นายแพทย์ณรงค์ฤทธิ์ มัศยาอานนท์ (รักษาการ) - อยู่ระหว่างการสรรหา - อยู่ระหว่างการสรรหา นางสาววิมลวัลย์ วโรฬาร นายพรภิรมย์ หลงทรัพย์ นางสาววิมลวัลย์ วโรฬาร (ถึง 31 ม.ค. 56) นางสาววรรณา คงวิเวกขจรกิจ (ตั้งแต่ 1 ก.พ. 56) นางสาววนิดา ลิขิตสินโสภณ นางสาวดุสิดา เครือคาปิว
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
- หัวหน้างานการพยาบาลป้องกันโรค และส่งเสริมสุขภาพ - หัวหน้างานการพยาบาลผ่าตัด - หัวหน้างานการพยาบาลศัลยศาสตร์
นายสุชาติ สุจินตวงษ์ นางธนพร มาสมบูรณ์ นางอารีย์ บุญบวรรัตนกุล (ถึง 31 ม.ค. 56) นางสาวสุวิรัช รัตนมณีโชติ (ตั้งแต่ 1 ก.พ.56 ถึง 1 ก.ย.56) นางอารีย์ บุญบวรรัตนกุล (ตัง้ แต่ 2 ก.ย. 56) นางสาวนวพร โลหเจริญวนิช
- หัวหน้างานการพยาบาลสูติศาสตร์นรีเวชวิทยา - หัวหน้างานการพยาบาลเวชศาสตร์ ครอบครัวและเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
นางสาวอุสาห์ รุจิระวิโรจน์ (ถึง 31 ม.ค. 56)
- หัวหน้างานการพยาบาลอายุรศาสตร์ - หัวหน้างานการพยาบาลออร์โธปิดิกส์ และเวชศาสตร์ฟื้นฟู - หัวหน้างานการพยาบาลบริการเฉพาะ 3. หัวหน้าฝ่ายโภชนาการ - หัวหน้างานโภชนบริหาร - หัวหน้างานโภชนบาบัดและโภชนศึกษา - หัวหน้างานโภชนบริการ 4. หัวหน้าฝ่ายเภสัชกรรม
- หัวหน้างานบริหารเวชภัณฑ์ - หัวหน้างานผลิตยา - หัวหน้างานบริการเภสัชกรรมคลินิก - หัวหน้างานบริการเวชภัณฑ์ 5. หัวหน้างานบริการผ้า 6. หัวหน้างานทันตกรรม 7. หัวหน้างานเวชระเบียน - 23 -
นางเพ็ญจิต งามนิธิพร (ตั้งแต่ 1 ก.พ. 56) นางสาวปรานอม ฉิมอินทร์ นางเพ็ญศรี เลาสวัสดิ์ชัยกุล นางสาวอัจฉรา สืบสงัด นางพรรณอร หงษ์โต - อยู่ระหว่างการสรรหา นางสาวธัญวรินทร์ ตั้งเสริมวงศ์ นางจุฑามาศ สนธิรัตน นางพัชรินทร์ สุวรรณกูฎ (ถึง 30 พ.ย. 55) นางศุภศิล สระเอี่ยม (ตั้งแต่ 1 ธ.ค. 55 ถึง 15 ส.ค. 56) นายแพทย์ณรงค์ฤทธิ์ มัศยาอานนท์ (รักษาการ) (ตัง้ แต่ 16 ส.ค. 56) นางสาววีระวรรณ เยาว์วิวัฒน์ นางสาวสุธีตา ด่านอุดมชาญ นางสาวนันทพร เล็กพิทยา นางสาวรัตนา แต้ศิริ นางรติกร ยุทธารักษ์ นายมณฑล สุวรรณนุรักษ์ นางสาวพาที แสงฉาย
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
8. หัวหน้างานอุปกรณ์การแพทย์ 9. หัวหน้างานเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ 10. หัวหน้างานเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ 11. 12. 13. 14. 15. 16.
หัวหน้างานบริหารการรักษาพยาบาล หัวหน้างานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ หัวหน้างานสังคมสงเคราะห์ หัวหน้างานผู้ป่วยสัมพันธ์และบริการผู้ป่วย หัวหน้างานบริหารโรงพยาบาลรามาธิบดี หัวหน้างานคุ้มครองผู้รับบริการและควบคุม คุณภาพการบริการรักษาพยาบาล
นายวสันต์ ทิมา นางสาวรุ้งสวรรค์ สุวัฒโน รองศาสตราจารย์ปิยะ สมานคติวัฒน์ (ถึง 31 ม.ค. 56) นางสาวสุวรรณี ลิ่มศิลา (ตั้งแต่ 1 ก.พ. 56) นางสายพิรุณ ประสาทพันธ์ นางปราณี เคหะจินดาวัฒน์ นางศรีสุภา แก้วประพาฬ นายพงษ์ศักดิ์ สมรรคเสวี นางวิไลวรรณ ชัยพจน์พานิช นางสาวหอมจันทร์ หอมแก่นจันทร์
หัวหน้าฝ่าย/งาน สังกัดศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ 1. หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล - หัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยใน - หัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยนอก - หัวหน้างานการพยาบาลห้องผ่าตัด และวิกฤต 2. หัวหน้างานการแพทย์และเภสัชกรรม 3. หัวหน้างานบริหารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์
นางสาวสุภาณี วิไลนาโชคชัย นางสาวรัมภา เทศะกรณ์ นางสาวสุเนตร นุชจะโป๊ะ (ตั้งแต่ 3 ม.ค. 56) นางสาวอัญณา พันธุนาถวิริยกุล ศาสตราจารย์อาไพวรรณ จวนสัมฤทธิ์ (รักษาการ) นางสาวเนติกา ขันติวัฒนา (ถึง 13 ก.พ. 56) นางสาวพิชญาพรรณ กลิ่นรื่น (ตั้งแต่ 14 ก.พ. 56 ถึง 14 ส.ค. 56) นางนงลักษณ์ ตติยวุฒิ (ตั้งแต่ 15 ส.ค. 56)
หัวหน้าฝ่าย/งาน สังกัดศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ 1. หัวหน้าฝ่ายการแพทย์และทันตกรรม - หัวหน้างานการแพทย์และทันตแพทย์ - หัวหน้างานรังสีวิทยา 2. หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล - หัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยใน - หัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยนอก - หัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต - หัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัด และคลอดบุตร - 24 -
- อยู่ระหว่างการสรรหา นางสาวอินทร์ภัค ตันพันธุ์วงศ์ (ตั้งแต่ 1 ธ.ค. 55) นางสาวสุรภี อ่าโต นางสาววิมลวัลย์ วโรฬาร (ถึง 31 มี.ค. 56) นางสาววาธินี คัชมาตย์ (ตั้งแต่ 1 เม.ย. 56) นางสาววาธินี คัชมาตย์ นางวันทนา วีระถาวร นางณัฎฐา สรนันต์ศรี (ตั้งแต่ 18 ม.ค. 56) นางปราณี สงวนชื่อ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
3. หัวหน้าฝ่ายสนับสนุนทางการแพทย์ - หัวหน้างานเภสัชกรรม - หัวหน้างานเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ - หัวหน้างานเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ 4. หัวหน้าฝ่ายสนับสนุนทั่วไป - หัวหน้างานผู้ป่วยสัมพันธ์ - หัวหน้างานประชาสัมพันธ์และธุรกิจ - หัวหน้างานพัฒนาคุณภาพงาน - หัวหน้างานบริหารศูนย์การแพทย์ สมเด็จพระเทพรัตน์
- อยู่ระหว่างการสรรหา นางสาวพัชรินทร์ สุภาพโสภณ นางโสภา หลิ่วโรจนทรัพย์ นางสาวอรอุษา เสาแบน - อยู่ระหว่างการสรรหา - อยู่ระหว่างการสรรหา - อยู่ระหว่างการสรรหา รังสิมา เกียรติยุทธชาติ (ตั้งแต่ 1 มี.ค. 56) นางวารี อัศวเสนา
หัวหน้างาน สังกัดสานักงานวิจัย วิชาการและนวัตกรรม 1. 2. 3. 4. 5.
หัวหน้างานห้องปฏิบัติการวิจัย หัวหน้างานบริหารทั่วไปสนับสนุนการวิจัย หัวหน้างานสนับสนุนการวิจัยทางคลินิก หัวหน้างานบริการวิชาการ หัวหน้างานการศึกษาต่อเนื่อง
นางสาววาสนา สถิตย์จันทรากุล นางณรังษี จ้อยเจนสินธุ์ นางถิรดา กันยายน นางสาวณัฏฐ์ตวัน จิรัชยาปกรณ์ นางจารุวรรณ ลีลาภรณ์
หัวหน้างาน สังกัดสานักงานการศึกษา 1. หัวหน้างานบริหารการศึกษา 2. หัวหน้างานกิจการนักศึกษา 3. หัวหน้างานแพทยศาสตรศึกษา 4. หัวหน้างานการศึกษาหลังปริญญา 5. หัวหน้างานบริหารทรัพยากรการเรียนรู้ 6. หัวหน้างานโรงเรียนการบริหารงานโรงพยาบาล
นางสาวกชมน หมั่นหา นางสุวรรณา พุฒนวล นางสาวรัตนา ศรีตองอ่อน (ถึง 13 ม.ค. 56) นางสาวปิยาภรณ์ วงค์คาจันทร์ (ตั้งแต่ 25 ม.ค. 56) นางสาวรจเรข รัตนาจารย์ ดร.สมรักษ์ สหพงศ์ นางสาวนิธิวดี หนูไฉยา
หัวหน้าฝ่าย/งาน สังกัดสานักงานคณบดี 1. หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรมบริการ - หัวหน้างานวิศวกรรมเครื่องกล - หัวหน้างานวิศวกรรมสุขาภิบาล - หัวหน้างานวิศวกรรมโยธาและอุตสาหการ - หัวหน้างานวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
- 25 -
นายพูนพงษ์ ธีระนังสุ นายสมจินต์ ทองคาวงศ์ นายณรงค์ชัย ทองรัตน์แก้ว - อยู่ระหว่างการสรรหา นายสมชาย รุ่งนพรัตน์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
2. หัวหน้าฝ่ายการคลัง - หัวหน้างานบัญชี - หัวหน้างานจัดเก็บค่ารักษาพยาบาล - หัวหน้างานการเงิน - หัวหน้างานงบประมาณและบริหารทั่วไป 3. หัวหน้าฝ่ายการพัสดุ - หัวหน้างานจัดซื้อและบริหารสัญญา - หัวหน้างานบริหารพัสดุ - หัวหน้างานพัฒนาและดูแลสินทรัพย์ 4. หัวหน้าฝ่ายทรัพยากรบุคคล
6. 7. 8. 9. 10. 11.
- หัวหน้างานบริหารทรัพยากรบุคคล - หัวหน้างานพัฒนาทรัพยากรบุคคล - หัวหน้างานกลยุทธ์ทรัพยากรบุคคล หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศ - หัวหน้างานสารสนเทศเพื่อการบริหาร - หัวหน้างานเวชสารสนเทศคลินิก - หัวหน้างานสารสนเทศคลังข้อมูล - หัวหน้างานโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ หัวหน้างานกฎหมาย หัวหน้างานสื่อสารองค์กร หัวหน้างานนโยบายและแผน หัวหน้างานตรวจสอบภายใน หัวหน้างานบริหารและธุรการ หัวหน้างานบริหารความเสี่ยง
12. 13. 14. 15. 16.
หัวหน้างานรักษาความปลอดภัย หัวหน้างานอาคารสถานที่และยานพาหนะ หัวหน้างานพัฒนาคุณภาพงาน หัวหน้างานบริหารทรัพยากรสุขภาพ หัวหน้างานสร้างเสริมสุขภาพ
5.
- 26 -
นางสม ไวทยานนท์ นางสาวกันยารัตน์ ผ่องรัตนนันท์ (ตั้งแต่ 1 มิ.ย.56) นายสานิตย์ ทองแดง (ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 56) นางสาลินี คงทองวัฒนา (ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 56) นางสาวจินตนา อุณหโชค (ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 56) นางเพ็ญรุ่ง ยงศิริกุล นางนุงนุช ช่วงสันเทียะ นางสุภาพ โพธิสัตย์ นายจเร ทั่งโต นางปฐมาพร จิรันธร (ถึง 30 มิ.ย. 56) นางกาญจนา คงแสงชู (ตั้งแต่ 1ก.ค. 56) นายประภพ มิตรสงเคราะห์ นางกาญจนา คงแสงชู - อยู่ระหว่างการสรรหา นางณัชปภา ธรณินทร์ นายดนัยภพ คมนาคม (ตั้งแต่ 8 มี.ค. 56) นายโชติพงษ์ ศรีสวัสดิ์ (ตั้งแต่ 9 พ.ย. 55) นายสมชาย เลี่ยงโรคาพาธ (ตั้งแต่ 1 พ.ค. 56) นางสาวศรีทอง พลวิเศษ (ตัง้ แต่ 1 พ.ค. 56) นางสาวศรัญญา โสดานิล นางพัชรี ภูรีนันทนิมิต นางสาวสุนิสา ไวยเจริญ นายเอกพันธ์ ศรีพันธุ์ (ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 55) นางสุชาดา แก้วบุบผา นางสาววรรณธนี สมศักดิธ์ นากุล (ถึง 31 ก.ค. 56) นายปฏิภาณ แซ่หลิม (ตั้งแต่ 1 ส.ค. 56) นายชาลี พลสินพยัคฆ์ นางสาวสุวิมล ปัญญาใส นางสาวสดศรี พูลผล นางหทัยกร กิตติมานนท์ นางสาวปสุตา อนินชลัย
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
17. หัวหน้างานวิเทศสัมพันธ์
นางสาวพัชรภรณ์ นุชอุดม (ถึง 13 มี.ค. 56) นางสาววิริยา สาราญ (ตั้งแต่ 14 มี.ค. ถึง 17 เม.ย. 56) นางสาวโนรี พรรคพิบูล (ตั้งแต่ 18 เม.ย. 56 ถึง 30 มิ.ย. 56) นางสาวสุนทรี จิตสุรภิญโญ (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56 ถึง 31 ส.ค. 56) นางสาวจรัมพร หาญพล (ตั้งแต่ 1 ก.ย. 56) นางสาวบงกช ทองวรินทร์ - อยู่ระหว่างการสรรหา -
18. หัวหน้างานโสตทัศนศึกษา 19. หัวหน้างานบริหารกายภาพ สิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย
- 27 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
บทที่ 2 ผลงานตามพันธกิจ 2.1 ด้านการศึกษา 2.1.1 ด้านการศึกษาระดับปริญญาและระดับหลังปริญญา 1) จานวนหลักสูตรและนักศึกษา ตารางที่ 2.1.1 จานวนหลักสูตรและจานวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2556 ระดับหลักสูตร 1. ระดับปริญญาตรี 1.1 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต 1.2 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต 1.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาความ ผิดปกติของการสื่อความหมาย 2. ระดับปริญญาโท 2.1 หลักสูตรปกติ 2.2 หลักสูตรโครงการร่วม 2.3 หลักสูตรนานาชาติ (โครงการร่วม) 2 3. ระดับปริญญาเอก 3.1 หลักสูตรปกติ 3.2 หลักสูตรโครงการร่วม 3.3 หลักสูตรนานาชาติ 3 3.4 หลักสูตรนานาชาติ (โครงการร่วม) 4 4. การฝึกอบรมแพทย์ประจาบ้าน 5. การฝึกอบรมแพทย์ประจาบ้านต่อยอด 5.1 การฝึกอบรมแพทย์ประจาบ้านต่อยอด 5.2 การฝึกอบรมแพทย์ประจาบ้านต่อยอด(คณะฯ) 6. หลักสูตรประกาศนียบัตร 1 ปี รวม 1
จานวน หลักสูตร 3 1 1 1
จานวนนักศึกษา รับใหม่ คงอยู่ 1 463 1,982 180 1,042 253 848 30 92
สาเร็จ 358 156 179 23
14 11 2 1 4 1 1 2 28 57 40 17
107 87 19 1 3 0 0 3 176 101 83 18
387 349 37 1 45 15 12 18 534 185 160 25
76 67 9 0 16 1 3 0 12 161 78 62 16
1
4
4
4
107
854
3,137
693
หมายเหตุ รวมนักศึกษารับใหม่ 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการระบาดทางการแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) อยู่ในความรับผิดชอบระหว่างคณะ สาธารณสุขศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน และกลุ่มสาขาระบาดวิทยาคลินิกและสถิติ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 3 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ปริวรรต (หลักสูตรนานาชาติ) เป็นหลักสูตรเปิดใหม่ในปีการศึกษา 2556 อยู่ใน ความรับผิดชอบของสานักงานวิจัย วิชาการและนวัตกรรม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 4 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล (หลักสูตรนานาชาติ-โครงการร่วม) รายงานเฉพาะผู้สาเร็จการศึกษาในปี การศึกษา 2555 โดยไม่นับรวมหลักสูตร จานวนนักศึกษารับใหม่และคงอยู่ เนื่องจากเปลี่ยนความรับผิดชอบเป็นของคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นเวลา 4 ปี ตั้งแต่ปีการศึกษา 2556-2559
- 28 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.1.1 อัตราการรับนักศึกษาใหม่เทียบกับแผนที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ปีการศึกษา 2554 - 2556
แผนภูมิที่ 2.1.2
อัตราหลักสูตรที่ดาเนินการประเมินและปรับปรุงหลักสูตร ภายใน 5 ปีตามข้อกาหนดของ สกอ. ปีการศึกษา 2554 - 2556 100
ร้อยละของหลักสูตรทีด่ ำเนินกำร
100
100
100
100
80
2554 2555
60
2556
40 20 0 ภาพรวม
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
2) ความสาเร็จของนักศึกษาในหลักสูตรระดับต่างๆ แผนภูมิที่ 2.1.3 อัตราการสาเร็จการศึกษาภายในวงรอบหลักสูตร ปีการศึกษา 2553 - 2555
หมายเหตุ 1. วงรอบหลักสูตรระดับปริญญาตรี : แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) 6 ปี พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) และ วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) 4 ปี 2. วงรอบหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา : ระดับปริญญาโท 5 ปี และระดับปริญญาเอก 8 ปี
- 29 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.1.4 อัตราการสอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ ปีการศึกษา 2553 - 2555 ข. อัตราการสอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ ในการสอบครั้งแรก ก. อัตราการสอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ เมื่อสาเร็จการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
ร้อยละ 100 80 60 40 20 0
100
100
2553
2554
ร้อยละ 100 80 60 40 20 0
100
2555 ปี การศึกษา
2553
2554
2555
100
98.76
100
91.06
พย.บ.
วท.บ.
R
F
หมายเหตุ พย.บ. = ผลการสอบอนุมัติใบประกอบวิชาชีพโดยสภาการพยาบาลของบัณฑิตหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วท.บ. = ผลการสอบอนุมัติใบประกอบวิชาชีพของบัณฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย R = ผลการสอบเพื่อวุฒิบตั รแสดงความรู้ความชานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจาบ้าน F = ผลการสอบเพื่อวุฒิบตั รแสดงความรู้ความชานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจาบ้านต่อยอด
แผนภูมิที่ 2.1.5 ระยะเวลาเฉลี่ยที่ใช้ในการสาเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรปริญญาโท - เอก) ปีการศึกษา 2553 - 2555 ระยะเวลา (เดือน) 80
65.68
60
2553 2554
46.62
2555
40 20 0
ปริญ ญาโท
ปริญ ญาเอก
แผนภูมิที่ 2.1.6 จานวนนักศึกษาที่ได้รับรางวัล ในปีการศึกษา 2553 - 2555
ปีการศึกษา ภาพรวม
ปริญญาตรี
บัณฑิตศึกษา
- 30 -
แพทย์ประจาบ้านและ แพทย์ประจาบ้านต่อ ยอด
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
3) ความพึงพอใจของนักศึกษา แผนภูมิที่ 2.1.7 ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร ปีการศึกษา 2553 - 2555 (เกณฑ์ประเมิน 5 ระดับ) 5
ค่ าเฉลีย่ ความพึ งพอใจ
4
3.93
4.14
4.00
3.88
3.83
4.13
2553 2554
3
2555
2 1 0 ภาพรวม
ปริ ญ ญาตรี
ปริ ญ ญาโท
ปริ ญ ญาเอก
แพทย์ป ระจาบ้ า น
แพทย์ป ระจาบ้ า นต่อยอด
แผนภูมิที่ 2.1.8 ร้อยละของความพึงพอใจของการเป็นนักศึกษารามาธิบดีในระดับมาก - มากที่สุด ปีการศึกษา 2553 – 2555 (ร้อยละของนักศึกษาที่ประเมิน > 4 จากเกณฑ์ประเมิน 5 ระดับ) ร้อยละ
4) ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต แผนภูมิที่ 2.1.9 ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจโดยรวมของผู้ใช้บัณฑิตต่อบัณฑิตระดับปริญญาตรี โทและเอก ปีการศึกษา/ปีการศึกษาสาเร็จของบัณฑิต 2553 – 2555 (เกณฑ์การประเมิน 5 ระดับ) ปีการศึกษา / ปีการศึกษาสาเร็จของบัณฑิต
(เกณฑ์ประเมินระดับ 5)
- 31 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
5) การเรียนรู้และการพัฒนาด้านการศึกษา แผนภูมิที่ 2.1.10 ผลงานวิจัยด้านการศึกษา พ.ศ. 2554 - 2556
เรือ่ ง 20
18
15
15
15
10
8
5 0 2553
2554
2555
2556
พ.ศ.
แผนภูมิที่ 2.1.11 อาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาทางด้านการศึกษา ปีงบประมาณ 2554 - 2556 คน
ต่ างประเทศ
400 350 300 250 200 150 100 50 0
ภายในประเทศ ภายในคณะฯ
2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
แผนภูมิที่ 2.1.12 ร้อยละงบประมาณการศึกษาต่องบประมาณทั้งหมด ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ร้อยละ 100 80 60 40 20 0
งบด้ านการศึ กษา งบด้ านอืน่ ๆ
2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2556 ปรับผลผลิต แยกด้านงบสนับสนุนออกจากผู้สาเร็จฯ
- 32 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ผลงานดีเด่น / ผลงานที่ภาคภูมิใจ ก. ระดับปริญญาตรี 1) ระดับคณะฯ 1.1 นักศึกษาแพทย์คนแรกของคณะฯ ได้รับทุนในโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล จาก มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจาปี 2556 ได้แก่ นักศึกษาแพทย์ศุภวิชญ์ เจษฎาชัย ชั้นปีที่ 6 ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธาน ได้จัดตั้ง “โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล” ขึ้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2550 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนไทย ที่รักและมุ่ งมั่ น ในวิชาชีพ ด้านการแพทย์ ดาเนิน ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท สมเด็จพระมหิ ตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เพื่อสร้างสรรค์สุขภาพอนามัยของมวลมนุษยชาติ โดยให้ทุนแก่นักเรียน แพทย์ปีสุดท้ายไปศึกษาวิจัยต่างประเทศ 1 ปี และเป็นตัวแทนมหาวิทยาลัยโครงการเยาวชนคนเก่งใน โครงการด้วยรักและห่วงใยในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รุ่น 6 ประจาปี 2556 เมื่อเดือนกันยายน 2556 1.2 โครงการละครเวที Rama D’RAMA เปิดโอกาสให้นักศึกษาแพทย์แสดงออกเชิงศิลปะอย่าง สร้างสรรค์ เรียนรู้การทางานเป็นทีม และการเสียสละเพื่อส่วนรวม จัดแสดงละครเวที การกุศล เพื่อนา รายได้สมทบทุนให้แก่คณะฯ ผ่านทางมูลนิธิรามาธิบดีมาอย่างต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2555 คณะกรรมการ นักศึกษาแพทย์ รุ่นที่ 47 จัดหารายได้ 691,152 บาท 1.3 การสมัครสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ระบบรับตรงของกลุ่ม สถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย ประจาปีการศึกษา 2556 มีนักเรียนแจ้งความจานงในการเลือกเข้า ศึกษาต่อที่คณะฯ เป็นจานวนรวมมากที่สุดในประเทศ 1.4 บัณฑิตรามาธิบดีทั้งระดับปริญญาและหลังปริญญาทุกหลักสูตรได้งานหรือศึกษาต่อ ร้อยละ 100 ภายใน 6 เดือนหลังสาเร็จการศึกษา 1.5 อาจารย์และศิษย์เก่าที่ได้รบั รางวัลทางด้านการศึกษา ดังนี้ 1.5.1 รางวัลระดับชาติ - รองศาสตราจารย์นายแพทย์ประชา นันท์นฤมิต ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ได้รับโล่ ประกาศเกียรติคุณอาจารย์แพทย์ที่ประพฤติตนดีเด่นด้านคุณธรรม จริยธรรม ประจาปีการศึกษา 2556 จากแพทยสภา 27 มิถุนายน 2556 - นายแพทย์ ชยุ ต รา วรรุ ตม์ ได้ รั บ ใบประกาศเกี ยรติ คุ ณ รางวั ลบั ณ ฑิ ตแพทย์ ดี เด่ น ประจาปี 2555 จากมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก 2 กันยายน พ.ศ.2556 - ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ เกวลิ น เลขานนท์ ภาควิ ช าจั ก ษุ วิ ท ยา และอาจารย์ ดร. นายแพทย์บวรศม ลีระพันธ์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน ได้รับเงินพระราชทานทุนส่งเสริมบัณฑิต จากแผนก แพทยศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล 3 ปี (เดือนละ 20,000 บาท) ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2556 เป็นต้นไป
- 33 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
- ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สมจิต หนุเจริญกุล ได้รับ“ดาราอวอร์ด” รางวัลสาหรับคน ปลุกหัวใจสังคมด้วย “หัวใจโพธิสัตว์” ปีที่ 2 เพื่อเชิดชูและยกย่องผู้บาเพ็ญประโยชน์ มีคุณธรรม เป็นต้นแบบ การใช้ชีวิตที่ดีงาม และทางานเกื้อกูลเสียสละเพื่อสังคมประเทศชาติ จากเสถียรธรรมสถาน 31 ตุลาคม 2556 1.5.2 รางวัลระดับมหาวิทยาลัย - ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงวันดี วราวิทย์ และศาสตราจารย์เกียรติคุณวิจิตร บุณ ยะโหตระ ได้รับรางวัลมหิดลทยากร จากสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหิดลในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจาปี 2555 - รองศาสตราจารย์ สุ ป าณี เสนาดิ สั ย รางวั ล มหิ ด ลทยากร ในงาน “43 ปี วั น พระราชทานนามมหาวิทยาลัยมหิดล" จากมหาวิทยาลัยมหิดล มีนาคม 2556 - ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สมจิต หนุเจริญกุล ได้รับพระราชทานปริญญาพยาบาล ศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 16 กันยายน 2556 1.5.3 รางวัลระดับคณะฯ - รองศาสตราจารย์ ดร.มณี อาภานั น ทิ กุ ล ได้ รั บ รางวั ล ศิ ษ ย์ เก่ า ดี เด่ น สาขาวิ จั ย รองศาสตราจารย์ไสว นรสาร ได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ประเภทอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แสงทอง ธีระทองค า ได้รับ รางวัล ศิ ษ ย์เก่าดีเด่น สาขาบ าเพ็ ญ ประโยชน์ ต่อ สังคม จากสมาคมศิ ษ ย์เก่าพยาบาล รามาธิบดี พ.ศ.2556 2) ระดับหลักสูตร : 2.1 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต มีผลสาเร็จการศึกษาในวงรอบหลักสูตร มากกว่าร้อยละ 95.00 และนักศึกษาแพทย์ที่สาเร็จในปีการศึกษา 2555 สอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานทางวิชาชีพและได้รับใบประกอบ วิชาชีพเวชกรรม ร้อยละ 100 2.2 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต บัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2555 สอบผ่านเกณฑ์ มาตรฐานทางวิชาชีพในการสอบครั้งแรก ร้อยละ 91.06 2.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย บัณฑิตที่สาเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2555 สอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานทางวิชาชีพในการสอบครั้งแรก ร้อยละ 100 2.4 นักศึกษาได้รับรางวัลจากองค์กรและหน่วยงานภายนอกระดับชาติ ดังนี้ - นางสาวทิพย์ธัญญา เหมะธุลินทร์ หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และ นางสาวพิชยาพร พงศ์อธิโมกข์ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาความผิดปกติการสื่อความหมาย ได้รับรางวัล นิสิตนักศึกษา ดีเด่นด้านคุณธรรมจริยธรรม ในโครงการเชิดชูคนดี พัฒนาคุณธรรมจริ ยธรรมนิสิตนักศึกษาอย่างยั่งยืนจาก เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาคกลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมศึกษา 22 พฤษภาคม 2556 - นักศึกษาแพทย์กิตติพงศ์ คาสุข หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต นางสาวกิรจิมา นวลทองและ นายอภิรัฐ บุญโฉลก หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาความผิดปกติการสื่อความหมาย ได้รับรางวัลเชิดชู เกียรติความประพฤติดี ประจาปี พ.ศ.2556 วันวิสาขบูชา จากพุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 29 พฤษภาคม 2556 - 34 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
- นางสาวสุพัตรา จันทวงษ์ หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้มีผลการ เรียนดี ประพฤติดี เสียสละและบาเพ็ญ ประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม จากโครงการนักศึกษาเพื่อรับรางวัล พระราชทานระดับสถาบัน ประจาปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยมหิดล - นักศึกษาแพทย์ณัฐพล พึ่งคา ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณนักศึกษาแพทย์ที่ประพฤติตนดีเด่น ด้านคุณธรรมจริยธรรม วันไหว้ครู ประจาปีการศึกษา 2556 จากแพทยสภา 27 มิถุนายน 2556 - นักศึกษาแพทย์อติพร เทอดโยธิน ได้รับทุนสนับสนุนโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยีส าหรับ เด็ ก และเยาวชน ส านั ก งานพั ฒ นาวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี แ ห่ งชาติ ปีการศึกษา 2556 และได้รับรางวัลพระราชทาน ระดับอุดมศึกษา ประจาปีการศึกษา 2555 จากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 15 กรกฎาคม 2556 และได้รับรางวัล คนดีศรีมหิดล จาก สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์ 5 พฤศจิกายน 2555 - นางสาวธนัญญา ฉายะรถี หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ได้รับรางวัลผลการศึกษายอดเยี่ยม ทางวิทยาศาสตร์ระดับมหาวิทยาลัย ชั้นปีที่ 1 (กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) จากมูลนิธิศาตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ และสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจาปีการศึกษา 2556 25 สิงหาคม 2556 - นางสาวจีรวรรณ ประจักษ์จิตต์ หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ได้รับเกียรติบัตรนักศึกษา พยาบาลดีเด่น จากสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย ประจาปี 2556 30 สิงหาคม 2556 - นางสาวปวิน รัต น์ ปั ญ จธารากุ ล หลั ก สูต รพยาบาลศาสตรบั ณ ฑิ ต ได้ รับ ทุ น ส่ งเสริม และ สนับสนุนการศึกษาจาก มูลนิธิประสาท-จินตนา ยูนิพันธุ์ สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย ประจาปี 2556 30 สิงหาคม 2556 - นักศึกษาแพทย์ส กล เจริญ วีรกุล ได้รับตาแหน่ง ประธานสหพั นธ์นิสิตนักศึกษาแพทย์แห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สพท.) ปีการศึกษา 2556 แผนงานในปีงบประมาณ 2557 1. การพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตใหม่ เพือ่ ให้เหมาะกับความต้องการของสังคมและ ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 2. โครงการต้นกล้ารามาธิบดีและโครงการต้นกล้าดอกแก้วรามาธิบดี เพื่อเพิ่มศักยภาพให้นักศึกษา แพทย์และนักศึกษาพยาบาลให้มีคุณสมบัติที่เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง มีความพร้อมและมีทัศนคติที่ดีต่อ การเป็นอาจารย์แพทย์และอาจารย์พยาบาล ช่วยเพิ่มจานวนอาจารย์และสร้างความยั่งยืนให้รามาธิบดี 3. การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาด้วยเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็น เลิศ (Education criteria for performance excellence : EdPEx) 4. การพัฒนาการเรียนการสอนที่เน้นระบบความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นข้อกาหนดสาคัญด้านการศึกษา เพื่อเตรียมนักศึกษาแพทย์และนักศึกษาพยาบาลให้มีทักษะและมีความรู้ความสามารถผ่านการฝึกปฏิบัติกับ ผู้ป่วยจาลองและหุ่นจาลองก่อนที่จะได้ไปฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยจริง - 35 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
5. ปรับปรุงวิธีการสอบสัมภาษณ์ผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ให้สามารถวัด สมรรถนะด้านอื่นๆ เป็นเกณฑ์ ในการพิจารณารับเข้าศึกษาต่อด้วย โดยมุ่งคัดเลือกผู้สมัครที่เหมาะกับ คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของรามาธิบดี คือ มีคุณธรรม มีพหุศักยภาพในการพัฒนาสุขภาวะของ สังคม และมีความเป็นสากล 6. โครงการพัฒนาศักยภาพอาจารย์พยาบาลด้านการศึกษา เพื่อสร้างความเป็นเลิศด้านการศึกษาและ การวิจัยด้านการศึกษาของโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 7. พั ฒ นาระบบการเรีย นออนไลน์ ในหลั ก สู ต รแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต พยาบาลศาสตรบั ณ ฑิ ต และ การศึกษาหลังปริญญา ผ่านโปรแกรม Moodle เพื่อเพิ่มศักยภาพและส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้สาหรับ การปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน การเรียนรู้ที่ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น ข. ระดับหลังปริญญา 1. ระดับคณะฯ 1.1 พัฒนาศักยภาพให้แก่ บุคลากร อาจารย์ และผู้บริหารการศึกษา โดยจัดโครงการสาคัญ ดังนี้ - โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ผู้บริหารการศึกษา (สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ)” มีผู้ผ่านการ อบรม 35 คน เป็นบุคลากร อาจารย์ และผู้บริหารการศึกษา ภายนอกคณะฯ 24 คน และในคณะฯ 11 คน โดยมีคะแนนความพึงพอใจในหลักสูตร 3.50 จากคะแนนเต็ม 4 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.55 1.2 พัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัย และสอดคล้องกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AEC) โดย โครงการพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 1.3 ปรับปรุงระบบงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลังปริญญาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดย โอนงานด้านประกั นคุ ณ ภาพการศึกษาที่ รวมอยู่ในส่วนของการศึกษาระดับ ปริญ ญา (Undergrad) มา ดาเนินการเอง เพื่อให้การประกันคุณภาพตรงตามเป้าหมายของหลักสูตร ทาให้สามารถเยี่ยมสารวจได้อย่าง ครบถ้วนทุกหลักสูตรอย่างแท้จริง 1.4 การจัดหลักสูตรกลางสาหรับแพทย์ประจาบ้านต่อยอด คือ หลักสูตรการบริหารเบื้องต้นระดับ แพทย์ประจาบ้านต่อยอด โดยมีแพทย์ประจาบ้านต่อยอดผ่านการอบรม 31 คน และได้รับคะแนนความ พึงพอใจในหลักสูตร 3.58 จากคะแนนเต็ม 4 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.53 1.5 ปรับ ปรุงการบริห ารจัดการหอพั กแพทย์ป ระจาบ้ านได้อย่างมี ป ระสิท ธิภ าพ ท าให้ แพทย์ ประจาบ้านที่ประสงค์เข้าพักได้ภายใน 2 สัปดาห์แรก เป็นปีแรกในรอบ 20 ปี และได้รับคาชื่นชมจากราช วิทยาลัย สาขาต่างๆ ที่มาเยี่ยมว่าเป็นหอพักที่สะอาด เรียบร้อย และปลอดภัย 1.6 อาจารย์ที่ได้รับรางวัลทางด้านการศึกษา ดังนี้ 1. รางวัลระดับชาติ - ศาสตราจารย์ส มนึ ก ดารงกิจชัยพร ได้ รับ รางวัลที่ 3 ในการประกวดผลงานทาง วิชาการประเภท Oral presentation จากผลงานวิจัยเรื่อง “Preliminary data of residency training among the alumni of Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital” ในงานการประชุมวิชาการ - 36 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แพทยศาสตรศึกษาแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 8 - 9 ตุลาคม 2555 ณ คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัย ขอนแก่น 2. ระดับหลักสูตร 2.1 ระดับปริญญาโท นางสาวสิริญญา พลวัฒน์ หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล เวชปฏิบัติชุมชน (ภาคปกติ) รางวัลโปสเตอร์ดีเด่นในการนาเสนอผลงาน ในการประชุม The 8th Asia Pacific conference on clinical nutrition ณ ประเทศญี่ปุ่น 8 – 12 มิถุนายน 2556 2.2 ระดับแพทย์ประจาบ้าน 2.2.1 แพทย์ประจาบ้าน สอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพในครั้งแรก ร้อยละ 98.76 2.2.2 แพทย์ประจาบ้านได้รับรางวัลจากองค์กรและหน่วยงานภายนอกระดับชาติ - แพทย์ ห ญิ งธัญ วัฒ น์ สายสงเคราะห์ ได้ รับ รางวั ล ที่ 2 ในการประกวด ผลงานวิจัยแพทย์ประจาบ้าน จากราชวิทยาลัยออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย 20 - 23 ตุลาคม 2555 - แพทย์หญิงเกตวีร์ โกฏิมนัสวนิชย์ แพทย์หญิงฐาปนี อัจฉริยวงศ์ และแพทย์ หญิงปริศนา แซ่โง้ว ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นจากงานประชุมวิชาการราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่ง ประเทศไทย เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2556 - แพทย์ ห ญิ ง ปั ญ ชิ ก า ลื อ ตระกู ล ได้ รั บ รางวั ล ผลงานวิ จั ย ดี เด่ น จากงาน ประชุมวิชาการราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย เมื่อเดือนสิงหาคม 2556 - แพทย์หญิงนวรัตน์ อภิรักษ์กิตติกุล ได้รับรางวัลที่ 3 ผลงานวิจัยดีเด่นจาก งานประชุมวิชาการราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิกแพทย์แห่งประเทศไทย 9 พฤษภาคม 2556 2.3 ระดับแพทย์ประจาบ้านต่อยอด 2.3.1 แพทย์ประจาบ้านต่อยอด สอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพในครั้งแรก ร้อยละ 100 2.3.2 แพทย์ประจาบ้านต่อยอด ได้รับรางวัลจากองค์กรและหน่วยงานภายนอกระดับชาติ และนานาชาติ - แพทย์หญิงอังสนา ภู่เผือกรัตน์ แพทย์ประจาบ้านต่อยอด อนุสาขาอายุรศาสตร์ โรคติดเชื้อ รับรางวัล ID Week International Investigator Award จาก Infectious Disease Society of America ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา 17 ตุลาคม 2555 - นายแพทย์ ป ระมาณ เฟื่ อ งฟ้ า แพทย์ ป ระจ าบ้ านต่ อ ยอด อนุ ส าขาภาพ วินิจฉัยชั้นสูง รับรางวัล Travel Award จากการเสนอผลงานเรื่อง Local recurrence and metastasis of giant cell tumor of extremities: Relationship with pretreatment imaging and type of surgery (Electronic Poster) ณ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เมื่อ 20 ตุลาคม 2555
- 37 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนการดาเนินงานในปีงบประมาณ 2557 1. พั ฒ นาหลั ก สู ต รให้ มี ค วามทั น สมั ย และสอดคล้ อ งกั บ การเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น (AEC) โดย โครงการพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) ต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2556 2. จัดหาทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน โดยการจัดการโครงจัดหาสื่อการเรียนการสอนระดับ การศึกษาหลังปริญญาที่เหมาะสม และทันสมัย 3. โครงการทุนสนับสนุนการแลกเปลี่ยนแพทย์ประจาบ้านกับนานาชาติ ต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2556 4. โครงการทุนสนับสนุนการนาเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติสาหรับแพทย์ประจา บ้านและแพทย์ประจาบ้านต่อยอด ต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2556 5. พัฒนาโปรแกรมแบบรายงานประเมินตนเองด้านการศึกษาระดับหลักสูตรหลังปริญญา 2.1.2 ด้านกิจการนักศึกษา งานกิจการนักศึกษา สนับสนุนทางด้านการศึกษาเพื่อตอบสนองพันธกิจทางด้านการศึกษาของคณะฯ โดยมุ่งพัฒนานักศึกษาให้มีพหุศักยภาพส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความสุข เพื่อให้ได้บัณฑิตที่สมบูรณ์ ดังนี้ 1) การจัดการสร้างความพร้อมในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยแก่นักศึกษา ปลูกฝังให้นักศึกษาเกิด ความรักความผูกพันและความภูมิใจในคณะฯ ดังนี้ 1.1 โครงการปฐมนิเทศนักศึกษารามาธิบดี ชั้นปีที่ 1 ทั้ง 3 หลักสูตร พิธีการมอบเสื้อกาวน์แก่ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 การมอบเสื้อปฏิบัติการแก่นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา ความผิดปกติของการสื่อความหมาย พิธีมอบหมวกแก่นักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 2 1.2 จัดสวัสดิการที่จาเป็นและเหมาะสมสาหรับนักศึกษา 3 หลักสูตร ได้แก่ จัดหาทุนการศึกษา ทั้งจากภายในและภายนอกคณะฯ การจัดสรรและดูแลหอพักนักศึกษา การส่งเสริมสุขภาพนักศึกษา โดย การจัดหาวัคซีนในราคาต้นทุนแก่นักศึกษา และสวัสดิการในด้านการรักษาพยาบาล 1.3 จัดระบบอาจารย์ที่ปรึกษา 2) การพัฒนานักศึกษาที่มุ่งเน้นทั้งสุขภาพกาย ใจ สังคม และคุณธรรมจริยธรรม โดยมุ่งสร้างค่านิยม ที่เหมาะสม 2.1 การจัดการศึกษาวิชาพัฒนาตน (Self development) จานวน 6 หน่วยกิต เพื่อให้นักศึกษาได้ เรียนรู้เรื่องอื่นๆ นอกเหนือไปจากวิชาการทางการแพทย์ ซึ่งเป็นการเปิดโลกทัศน์และเอื้อต่อการประกอบ วิชาชีพ และการดารงชีวิตของนักศึกษา อาทิเช่น วิชาศิลปะป้องกันตัว วิชาพัฒนาตนและเจริญสติ วิชา ศิลปะการแสดง วิชาลีลาศ วิชาตามรอยพ่อ เป็นต้น 2.2 ส่งเสริมประสบการณ์เรียนรู้ผ่านกิจกรรมนอกหลักสูตรต่างๆ ที่สอดคล้องกับ Mahidol core value และการมุ่งเน้นพัฒนานักศึกษาให้มีคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ (เป็นคนดี มีปัญญา นาพาสุข) โดยประสานความร่วมมือกับสโมสรนักศึกษารามาธิบดี โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ชมรมต่างๆ ของนักศึกษา ไม่น้อยกว่า 50 โครงการ
- 38 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
2.3 การจัดกิจกรรมในรูปแบบ Transformative learning และ Social responsibility ให้แก่ นักศึกษาทั้ง 3 หลักสูตร 2.4 การจัดสรรทุนเพื่อให้นักศึกษาทาวิจัย และนาเสนอผลงานวิชาการทั้งในและต่างประเทศ 3) การสร้างเครือข่ายทั้งในและนอกประเทศ เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักศึกษา ต่างคณะฯ ต่างมหาวิทยาลัย และต่างประเทศ ทั้งในด้านวิชาการ การดาเนินชีวิต และศิลปะวัฒนธรรม อาทิเช่น โครงการค่ายจริยธรรมสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแพทย์แห่งประเทศไทย(สพท.) โครงการมหกรรมกีฬา ระหว่างคณะฯ โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาแพทย์ไทย - ญี่ปุ่น เป็นต้น 4) ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน ผลการดาเนินงานที่สาคัญ ตารางที่ 2.1.2 จานวนกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษา ปีงบประมาณ 2556
ประเภทกิจกรรม/โครงการ วิชาการ กีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ บาเพ็ญประโยชน์ และรักษาสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างความผูกพัน ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ด้านคุณธรรมจริยธรรม อื่นๆที่เกี่ยวกับคุณภาพบัณฑิต รวม หมายเหตุ
1* 14 11 5 1 8 4 17
2* 10 3 1 7 2 2 7
3* 1 0 2 1 1 1 2
4* 5 1 0 1 0 0 4
รวม 30 15 8 10 11 7 30
60
32
8
11
111
1* หมายถึง หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต 2* หมายถึง หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต 3* หมายถึง หลักสูตรวทบ.สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย 4* หมายถึง ทาร่วมกัน
การปรับปรุงหอพักแพทย์ นโยบายเรื่องการปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ของหอพักนักศึกษา เพื่อให้เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข งานกิ จ การนั ก ศึ ก ษาร่ว มกั บ งานอาคารสถานที่ แ ละสิ่ งแวดล้ อ ม โดยเปลี่ ย นโต๊ ะ อ่ านหนั งสื อ 512 ตั ว ปรับปรุงพื้นทางเดิน ชั้น 2 – 3 – 4 และ ทาสีอาคารหอพักนักศึกษาแพทย์ทั้งภายใน และภายนอกอาคาร งานเด่น/ความสาเร็จที่ภาคภูมิใจ 1. จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีคุณสมบัติบัณฑิตที่พึงประสงค์ “เป็นคนดี มีปัญญา นาพาสุข” และมีพหุศักยภาพสอดคล้องตามเกณฑ์ สกอ. และวัฒนธรรมองค์กรของมหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol core value) ได้ครบทั้ง 3 หลักสูตร รวมทั้งนักศึกษาทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยเฉลี่ย 1 - 2 กิจกรรม/ปี - 39 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
2. จั ด กิ จ กรรมเชิ งบู รณาการด้ านการศึ ก ษา และส่ งเสริ ม กิ จ กรรมบ าเพ็ ญ ประโยชน์ เพื่ อ สั งคม
แก่นักศึกษาทั้ง 3 หลักสูตร อาทิ โครงการสื่อความหมายด้วยสายใยเพื่อในหลวง โครงการบาเพ็ญประโยชน์ พัฒนาจิตอาสา โครงการค่ายแห่งการเรียนรู้ สู่ความเป็นแพทย์ที่มั่นใจ 3. การสร้างเครือข่ายกิจกรรมนักศึกษาและทีมบริหารงานกิจการนักศึกษาทั้งภายในและภายนอกคณะฯ เพื่อสนับสนุน และเอื้ออานวยความสะดวกในการประสานงาน และจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ได้แก่ โครงการ นักศึกษาแลกเปลี่ยนกับต่างประเทศ การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษาต่างสถาบันในโอกาสต่างๆ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เจ้าหน้าที่กิจการนักศึกษา แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 1. พัฒนากิจกรรมนักศึกษาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข มีความเป็นผู้นา ทางานร่ วมกับผู้อื่นได้ และมีจิตสานึกผูกพันกับสถาบัน ดังนี้ - ส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดการพัฒนาอย่างเต็มพหุศักยภาพ ผ่านการทากิจกรรมเสริมหลักสูตร อย่างต่อเนื่องและทั่ วถึง เพื่อพัฒ นาคุณ ลักษณะอันพึงประสงค์ และสร้างจิตสานึกให้นักศึกษาเข้าใจถึง ปณิธานของมหาวิทยาลัยมหิดลที่มุ่งประโยชน์เพื่อส่วนรวม - ขยายช่องทางการรับฟังความคิดของผู้รับบริการเพื่อตอบสนองให้ตรงตามความต้องการของผู้รับ บริการมากยิ่งขึ้น 2. ส่งเสริมให้มีกิจกรรมร่วมกันระหว่างนักศึกษาและศิษย์เก่า เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็น รามาธิบดีและชาวมหิดล
โครงการละครเวที Rama D’RAMA ประจาปี 2555 เรือ่ ง “ระหว่างทาง”
โครงการ “ค่ายรามาปณิธาน ครั้งที่ 18” ประจาปี 2555
- 40 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
กิจกรรมแนวทางจิตตปัญญาศึกษา/จิตอาสา
2.2 ด้านการวิจัย คณะฯ สนับสนุนการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย โดยในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ดังแผนภูมิที่ 2.2.1 และ 2.2.2 แผนภูมิที่ 2.2.1 ผลงานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ปีพ.ศ. 2554 - 2556 จานวน(เรื่อง) 300 250
230
221
256
246
188
178
200 150
อาจารย์แพทย์ อาจารย์พยาบาล รวม
100 50
9
10
2554
2555
10
0 2556 (1 ม.ค. – 30 ก.ย. 56)
- 41 -
ปี พ.ศ.
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.2.2 จานวนผลงานวิจัยที่ได้รบั การอ้างอิง (Citation) ปีพ.ศ. 2554 - 2556 เรื่อง/ครั้ง 5,000
4,226
4,210 3,661
4,000 3,000
จานวนเรื่อง
2,000
จานวนครง
1,000
1,077 606
634
0 2554
ปีพ.ศ. 2556 (1 ม.ค. – 30 ก.ย. 56)
2555
2.2.1 การสร้างมูลค่าเพิ่มแก่การดาเนินงานวิจัย และผลงานวิจัย ได้แก่ สนับสนุนการจดทรัพย์สิน ทางปัญญา จาแนกเป็น สิทธิบัตร 5 รายการ อนุสิทธิบัตร 7 รายการ และลิขสิทธิ์ 7 รายการ ตารางที่ 2.2.1 ผลงานทรัพย์สินทางปัญญา ลาดับ ที่ 1. 2. 3. 4. 5.
1.
ชื่อทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิบัตร แท่งขยายรูทวาร 4 ขนาดใน 1 แท่ง นวัตกรรมอุปกรณ์ทดสอบการเปิดปิดของลิ้นหัวใจไมตรัล (จัมโบ้ Valve tester) ท่อส่องกล้องผ่าตัดตัวนาลายละเอียด อุปกรณ์ดูดเสมหะสาหรับเด็ก อุปกรณ์ถ่วงน้าหนักที่กระดูกสันหลังส่วนไอแมค-รามา สาหรับวินิจฉัยโรคด้วยเครื่องมือเอ็มอาร์ไอ (AIMC-Rama lumbar spine compression device for MRI ) อนุสิทธิบัตร ลาโพงช่วยบันทึกเสียงเพื่อใช้สนับสนุนการพัฒนาสื่อในระบบ E-Learning - 42 -
ผู้ประดิษฐ์/ผู้สร้างสรรค์ พญ.พรศรี ธนะฉัตรชัยรัตนะ นางพิมพ์ณดา พิชัยภาณุพัฒน์ พญ.พรศรี ธนะฉัตรชัยรัตนะ นางสาวจงรักษ์ อุตรารัชต์กิจ รศ. จิรพร เหล่าธรรมทัศน์
นายอรุณ เล้าเฮง
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ลาดับ ชื่อทรัพย์สินทางปัญญา ที่ 2. Simple and accurate bedside diagnostic kit for determining Hemophilia A and B: A revised version/ ชุดตรวจวินิจฉัยแยกโรคฮีโมฟีเลีย เอ และ บี 3. ชุดอุปกรณ์สาหรับทา Lung Lavarge 4. ชุดเทียบวัด DNA มาตรฐานสาหรับประมาณค่าขนาดของ DNA ตัวอย่าง (Molecular markers for size estimation of DNA) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการเทียบวัด DNA มาตรฐานสาหรับประมาณขนาดของ DNA ตัวอย่างที่นามา วิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ 5. Ramathibodi pediatric emergency drug card (Rama PED card) 6. เข็มตรวจต่อมน้าลาย (Rama sialogram) 7. กระบอกหัก ampoule ยา ลิขสิทธิ์ 1. โปรแกรมความหนาแน่นของกระดูก (Hologic) 2. โปรแกรมความหนาแน่นของกระดูก (iReport) 3. รามาพร้อมอ่าน (รพอ.) / Rama early literacy (REL) 4. Electronic perioperative nursing record (EPNR) 5. โปรแกรม Consultation online "Refer to amb" 6. Panya registration system 7. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการให้คาปรึกษา
ผู้ประดิษฐ์/ผู้สร้างสรรค์ นายวีระศักดิ์ ศาสนกุล และคณะ น.ส.วนิดา สอดสี ผศ. ธีรพงษ์ กระแจะจันทร์
นพ. ไชยพร ยุกเซ็น นางพิณพิชญา เพื่องทิพรังสี นางสาวนิตยา ทรัพย์วงศ์เจริญ ผศ. ชนิกา ศรีธรา ผศ. ชนิกา ศรีธรา รศ. นิชรา เรืองดารกานนท์ นางเพียรจิตต์ ภูมิสิริกุล นางวิลาวัณย์ ประสารอธิคม นายปัญญา สารภี น.ส.กนกพร เรืองเพิ่มพูล
2.2.2 การเสริมสร้างบรรยากาศและปัจจัยเกื้อหนุนด้านการวิจัย 2.2.2.1 ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินรายได้คณะฯ คณะฯ สนับสนุนนักวิจัยของคณะฯ โดยเฉพาะนักวิจัยรุ่นใหม่ สร้างนักวิจัย และ สร้างเครือข่ายนักวิจัยในสาขาวิชาต่างๆ ให้มีการทาวิจัยร่วมกัน และกระตุ้นให้บุคลากรมีความสนใจใน การทาวิจัยเพิ่มขึ้นการสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินรายได้คณะฯ เมื่อ เปรียบเทียบ 3 ปีย้อนหลัง พบว่าปีงบประมาณ 2554 - 2556 มีโครงการวิจัยเสนอขอรับทุน 7,121,179 บาท 7,566,250 บาท และ 9,597,365 บาท ตามลาดับ โครงการที่ได้รับอนุมัติ จาแนกเป็น 6 ประเภท (แผนภูมิที่ 2.2.3)
- 43 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ประเภทที่ 1 ทุน Biomedical research ประเภทที่ 2 ทุนวิจัยคลินิกขนาดกลาง ประเภทที่ 3 ทุนวิจัยร่วมคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีและคณะวิทยาศาสตร์ ประเภทที่ 4 ทุน Health service research ประเภทที่ 5 ทุนวิจัยด้านการศึกษา ประเภทที่ 6 ทุนวิจัยเพื่อปรับปรุงคุณภาพงาน พบว่า ทุนประเภทที่ 1 Biomedical research มีผู้เสนอขอรับทุนมากที่สุด ร้อยละ 84.22 อันดับสองเป็นทุนประเภทที่ 3 ทุนวิจัยรามา-คณะวิทย์ ร้อยละ 13.03 อันดับสามเป็นทุนประเภทที่ 5 ด้านการศึกษา ร้อยละ 1.42 ของจานวนโครงการทั้งหมด แผนภูมิที่ 2.2.3 การจัดสรรทุนอุดหนุนการวิจัยเงินรายได้คณะฯ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 97 9,5
10,000,000 0 ,25
Biomedical research คลินิก นาดกลาง
3, 8 40
2 7,1
3, 2 39
รามา-คณะวิทย์
5,8 1
7,000,000
66 7,5
5,9 1
8,000,000
79 1,1
รวมทกประเภท
8,0 8
9,000,000
5 ,36
2, 7 25
จานวนเงิน (บาท)
6,000,000
Health research
5,000,000
การศึกษา
4,000,000
0
0
28
2554
0 0
20 0,2 30 ,250 20
2555
5 1,2 0
ปรบปรงคณภาพ
00 0,0
0
1,000,000
0 1,0
40 0,9
00 0,0
43 19 40
2,000,000
92 70 00
3,000,000
2556
40 00 8,2 ,4 12 136
0
ปีงบประมาณ
ผลจากการที่คณะฯ ให้ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินรายได้คณะฯ โดยสนับสนุนแพทย์ประจาบ้าน/ แพทย์ผู้ช่วยอาจารย์/ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สามารถสร้างผลงานวิจัยให้เป็นที่ยอมรับ หรือการ ได้ ม าซึ่ ง องค์ ค วามรู้ ใหม่ เช่ น การได้ รั บ การตี พิ ม พ์ ในวารสารวิ ช าการระดั บ สากลน้ อ ย ดั งนั้ น ใน ปีงบประมาณต่อไปจะเพิ่มความเข้มข้นในการพิจารณาโครงการวิจัยในแง่ของคุณภาพโครงการวิจัยให้ มากขึ้น และเพิ่มประสิทธิภาพของการตรวจสอบ ติดตามผลโครงการวิจัยที่อยู่ระหว่างรับทุน เพื่อให้การ จัดสรรทุนอุดหนุนการวิจัยเงินรายได้คณะฯ เกิดประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยกาหนดวงเงิน 10 ล้านบาท 2.2.2.2 ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดลมีนโยบายจัดสรรทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อส่งเสริมให้มีการ ทาวิจัยค้นคว้าเพื่อสร้างองค์ความรู้ นาไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่อประชาชนและภาคเอกชน อันจะ นาไปสู่การพึ่งตนเอง ลดการนาเข้า เพิ่มมูลค่าผลผลิตภายในประเทศ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ - 44 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ประเทศ อีกทั้งเพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพและเป็นกาลังสาคัญในการสร้าง ความเข้ม แข็งของมหาวิท ยาลั ย มหิ ด ล เพื่ อพั ฒ นาศั ก ยภาพไปสู่ ระดั บ สากล โดยแบ่ งเงิน ทุ น เป็ น 4 ประเภท คือ ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นกลาง ทุนส่งเสริมโครงการวิจัยประยุกต์ และทุ น ส่งเสริม โครงการวิจัยมุ่ งเป้ าหมาย คณะฯ มีบุ ค ลากรที่ ส่งขอทุ น อุ ดหนุ น การวิจัยเงิน รายได้ มหาวิทยาลัยมหิดล จานวนไม่มาก (แผนภูมิที่ 2.2.4) โดยหน่วยวิเคราะห์ข้อมูลและทุนวิจัย ได้มีการ ประสานงานกับแหล่งทุนและเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์แหล่งทุนนี้ให้มีการรับทราบเพิ่มมากขึ้น
แผนภูมิที่ 2.2.4 ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จานวนเงิน (บาท) 2,000,000
1,700,000
1,500,000 1,000,000
949,480
960,000
500,000 0 2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
2.2.2.3 ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินงบประมาณแผ่นดิน แหล่งทุนอุดหนุนการวิจัยนี้เป็นแหล่งทุนหนึ่งที่ให้การสนับสนุนงบประมาณ ดาเนินการวิจัยในวงเงินสูง แต่ระยะเวลาการเสนอโครงการวิจัยมีเพียงปีละครั้งและต้องเสนอล่วงหน้า 2 ปี กระบวนการพิจารณาใช้เวลาค่อนข้างนานประมาณ 1 ปี พบว่าคณะฯ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงิน งบประมาณแผ่นดินในปี 2556 เพิ่มขึ้น (แผนภูมิที่ 2.2.5) แต่อย่างไรก็ตาม คณะฯ ให้ความสาคัญและ พยายามป้องกันปัญหาที่โครงการวิจัยอาจจะได้รับเงินอนุมัติจานวนไม่มากนักที่อาจเกิดขึ้นได้ จึงได้ปรับ กระบวนการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนจากแหล่งทุนนี้เป็นเชิงรุกด้วยการประชาสัมพันธ์แหล่งทุน และรวบรวมหัวข้องานวิจัย แหล่งทุนวิจัยขนาดใหญ่ที่น่าสนใจ เพื่อร่วมกันพัฒนาโครงร่างงานวิจัย และ เสนอขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดินเพิ่มขึ้น
- 45 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.2.5 ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จานวนเงิน (บาท)
13,170,000
14,000,000 12,000,000 10,000,000
7,400,000
8,000,000
6,094,000
6,000,000 4,000,000 2,000,000 0
2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
2.2.2.4 ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินจากแหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัยมหิดล (ภาครัฐ และองค์กรอิสระ) เมื่ อเปรียบเที ยบข้ อมู ล 3 ปี พบว่า ในปี งบประมาณ 2556 คณะฯ ได้ รั บทุ น อุดหนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัยมหิดลเพิ่มขึ้น (แผนภูมิที่ 2.2.6) คณะฯ สนับสนุนให้ นักวิจัยได้รับอุดหนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ผ่านการสนับสนุนทางด้านต่างๆ อาทิ ทุนอุดหนุน การวิจัยเงินรายได้คณะฯ เป็นทุนที่ให้การสนับสนุนนักวิจัยรุ่นใหม่ในระยะเริ่มต้น เพื่อสามารถต่อยอด โครงการวิจัยและได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัยมหิดล หรือทุนพัฒนา ศักยภาพในการทาวิจัยของอาจารย์ที่มีเงื่อนไขให้ผู้รับทุนทุกระดับจะต้องได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก แหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัยมหิดล ภายในระยะเวลาที่กาหนด แผนภูมิที่ 2.2.6 ทุนอุดหนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัยมหิดล (ภาครัฐและองค์กรอิสระ) ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จานวนเงิน (บาท) 35,000,000
30,071,267
30,000,000
22,027,665
25,000,000 20,000,000 15,000,000
10,496,387
10,000,000 5,000,000 0
2554
2555
- 46 -
2556
ปีงบประมาณ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
2.2.3 การวิจัยในงานประจาทุกพันธกิจ คณะฯ ได้ดาเนินการโครงการวิจัยในงานประจา (Routine to research : R2R) เข้าสู่ปี ที่ 6 โดยใช้ ก ารวิจั ย เป็ น เครื่อ งมื อ การพั ฒ นาตามวิสั ย ทั ศ น์ ข องคณะฯ โดยมี วัต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่ อ เสริมสร้างความเข้มแข็งและความสามารถทางวิชาการ และการวิจัยของบุคลากรทุกระดับของคณะฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการส่ งเสริ ม การวิ จั ย เพื่ อ การปฏิ บั ติ ที่ เป็ น เลิ ศ ด าเนิ น การผ่ า นทางหน่ ว ย วิเคราะห์ข้อมูลและทุนวิจัย ด้วยระบบฐานข้อมูล เพื่อบริหารจัดการทางด้านการวิจัย การอานวยความ สะดวกแก่ บุ คลากรด้ วยกระบวนการลงทะเบี ยนที่ สะดวก การประชาสั มพั นธ์ ผ่ าน Internet/Intranet website มีโครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์ในงานประจาเสนอขอรับทุน 36 โครงการ (แผนภูมิที่ 2.2.7)
แผนภูมิที่ 2.2.7 โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์ในงานประจา จาแนกตามประเภทโครงการ ปีงบประมาณ 2556 จานวนโครงการ 12
12
10
10 8 6 4 2
5 3
3
0
0
ย วิท
ย์ พ ภา พท แ ร า รส ก์ า รกิ ตร บ ส า าศ
3
า ร น พ กา ึกษ ภา สน ร บ ธ รา ศ น มิ ส ละ ก ยส สร รแ ฝ่า ิร า ห าร้ งเ บ ส งา น
ๆ อื่น
ประเภทโครงการ
2.2.4 พัฒนากิจกรรม Research club ให้เป็นแหล่งความคิดและความร่วมมือด้านการวิจยั การดาเนินการโครงการ Research club เป็นปีที่ 8 ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสร้างบรรยากาศ การวิจัยให้เกิดขึ้นภายในคณะฯ อย่างสม่าเสมอ โดยเลือกสถานที่เป็นห้องประชุมสานักงานวิจัย เพื่อสร้าง บรรยากาศที่ดีในสานักงานวิจัย และส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาความรู้ และทักษะการทาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ อันจะเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒ นางานวิจัย ของคณะฯ ให้สมบูรณ์ ขึ้น ในปีนี้ได้เกิดกิจกรรม ลักษณะเดียวกัน คือ R2R club ขึ้น เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การวิจัยในงานประจาของบุคลากรคณะฯ อีก ทั้งเป็นเวทีสาหรับรายงานความก้าวหน้าการดาเนินงานของผู้วิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยเงินรายได้ คณะฯ และกลุ่มผู้ปฏิบัติในงานประจานาสู่งานวิจัย (Routine to research : R2R) - 47 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ด้านการสร้างบรรยากาศของการวิจัย (Research atmosphere) ในช่วงกลางวัน เวลา 11.30 – 13.30 น. ของทุกวันจันทร์สัปดาห์ที่ 2 ของเดือน สาหรับ Research club และทุกวันจันทร์ สั ป ดาห์ ที่ 4 ของเดื อ น ส าหรั บ R2R club ที่ ป ระกอบด้ ว ยวิ ท ยากรที่ เป็ น นั ก วิ จั ย หั ว หน้ า โครงการ (Principle investigator) ที่มีความชานาญในสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ จากทั้งภายในและ ภายนอกคณะฯ และนักวิจัยในงานประจา ซึ่งเป็นบุคลากรภายในคณะฯ เป็นหลัก ตารางที่ 2.2.2 กิจกรรม R2R Club ที่นาเสนอในปีงบประมาณ 2556 ลาดับ ชื่อเรื่อง หัวหน้าโครงการ ที่ 1. การลดขั้นตอนการตรวจของผู้ป่วยโรคมะเร็งเด็ก นางณัชชา จงศุภางครัตน์ 2. 3. 4. 5. 6.
ยาระบายที่ใช้ร่วมในการตรวจการทางานของไต (Intravenous pyelography IVP) ความพึงพอใจของผู้มารับบริการเอกซเรย์ด้าน รังสีวินิจฉัย อาคาร 1 คณะฯ ปีพ.ศ. 2554 ผลของการลงกิจกรรม Early bonding และ กระตุ้นการดูดนมแม่ครั้งแรกในห้องคลอด โรงพยาบาลรามาธิบดี ความพึงพอใจของรังสีแพทย์และแพทย์ ประจาบ้านต่อภาพถ่ายรังสีทรวงอกของเด็ก ผลิตฝายางครอบท่อแทงเจาะ (TROCAR)
7.
การเสริมสร้างความมั่นใจในบทบาทครูคลินิก และความพึงพอใจในการเรียนการสอนของ นักศึกษาพยาบาลที่เรียนวิชาการสอนใน คลินิก: การสอนจุลภาค 8. การสารวจความคิดเห็นในการพัฒนาความรู้ ด้านการศึกษาของคณาจารย์ คณะ แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 9. โครงการสร้างเสริมสุขภาพในบุคลากร รามาธิบดี ด้วยการออกกาลังกายแบบฮูลาฮูป ในกลุ่มที่เสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุง 10. การสารวจความคิดเห็นในการพัฒนาความรู้ ของบุคลากรสายสนับสนุนด้านการศึกษา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
- 48 -
สังกัด ฝ่ายการพยาบาล
นางพิณพิชญา เฟื่องทิพรังสี ภาควิชารังสีวิทยา น.ส.มันทิรา ลีลาศวัฒนกุล ภาควิชารังสีวิทยา นางสาวยิ่งขวัญ อยู่รัตน์
ฝ่ายการพยาบาล
นายอรุณ เจ็งที
ภาควิชารังสีวิทยา
นางณิชา ปิยสุนทราวงษ์
ฝ่ายการพยาบาล
รศ.ดร.สุภาพ อารีเอื้อ
โรงเรียนพยาบาล รามาธิบดี
น.ส.ปิยาภรณ์ วงศ์คาจันทร์ งานบริหาร การศึกษา ผศ.ดร.ลดาวัลย์ อุ่นประเสริฐ โรงเรียนพยาบาล รามาธิบดี น.ส.นงนุช พันธุตา
งานบริหาร การศึกษา
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ลาดับ ชื่อเรื่อง ที่ 11. ไขปัญหากับงานประกันคุณภาพการศึกษา
หัวหน้าโครงการ
สังกัด
นางธารทิพย์ มาลัยศิริรัตน์ งานบริหาร การศึกษา 12. ความสัมพันธ์ระหว่างโรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล อ.พญ.ธนิตา หิรัญเทพ ภาควิชาจิตเวช และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มอี าการปวด ศาสตร์ 13. ความสัมพันธ์อุปกรณ์ช่วยยกผนังหน้าท้อง สาหรับใช้ในการผ่าตัดตกแต่งหน้าท้อง 14. กระบวนการส่งต่อผู้ป่วยจากแพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทางด้านจิตเวช 15. ความผูกพันต่อองค์กร กรณีศึกษา บุคลากร ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 16. การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนทางการ พยาบาลโดยใช้หลักจิตปัญญาศึกษา(ระยะ 1) 17. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนเรื่องการให้คาปรึกษา 18. การศึกษาลักษณะภูมิหลังครอบครัวเด็กที่ถูก ทารุณกรรมทางเพศ 19. ความต้องการในการพัฒนาตนเองของ บุคลากรในโรงพยาบาลรามาธิบดี 20. ผลการพัฒนารูปแบบการบริการเพื่อการเลิก สูบบุหรี่ ต่อความสาเร็จในการเลิกสูบบุหรี่ คลินิกเลิกบุหรีโ่ รงพยาบาลรามาธิบดี 21. การพัฒนาโปรแกรมช่วยงานบริการอาหาร ทางสายให้อาหารสาหรับผู้ปว่ ยนอกเพื่อลด ขั้นตอนการทางาน 22. เหลาคาถามงาน R2R ให้คมชัด
- 49 -
นพ.สันติภาพ แซ่อึ้ง ดร.สายสุนีย์ ทับทิมเทศ นางวารี อัศวเสนา
ภาควิชา ศัลยศาสตร์ ภาควิชาเวชศาสตร์ ครอบครัว ภาควิชารังสีวิทยา
น.ส.กนกพร เรืองเพิ่มพูน
โรงเรียนพยาบาล รามาธิบดี น.ส.กนกพร เรืองเพิ่มพูน โรงเรียนพยาบาล รามาธิบดี นางสายทิพย์ เจ็งที งานสังคม สงเคราะห์ น.ส.ละออ นาคกุล ภาควิชา อายุรศาสตร์ นางอารยา หาอุปละ หน่วยให้คาปรึกษา และสร้างเสริม สุขภาพ น.ส.ทัชชภร มนัสกิจสาราญ ฝ่ายโภชนาการ
นพ.สุธีร์ รัตนะมงคลกุล
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องค์รักษ์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ลาดับ ชื่อเรื่อง ที่ 23. ตัวอย่างที่ประสบผลสาเร็จและการวัดผลลัพธ์ 24. การค้นหาปัญหาจากสายธารแห่งคุณค่า Value Stream Mapping (VSM) และ Clinical Tracer
หัวหน้าโครงการ นพ.อัครินทร์ นิมมานนิตย์ รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจารัสเลิศ
สังกัด คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล
หมายเหตุ ลาดับที่ 22 – 24 เป็นบุคลากรภายนอกคณะฯ ที่เชิญมาร่วมกิจกรรม R2R Club
ตารางที่ 2.2.3 กิจกรรม Research club และ R2R club กิจกรรม จานวนโครงการ Routine to research (R2R) จานวนกิจกรรม R2R/Research club ที่นาเสนอ - R2R club (ครั้ง) - Research club (ครั้ง) จานวนบุคลากรที่เข้าร่วมฟัง R2R/Research club - R2R club (คน) - Research club (คน)
2554 26
ปีงบประมาณ 2555 14
2556 36
17 7
18 2
24 5
405 645
687 51
313 218
2.2.5 สร้างระบบฐานข้อมูลผลงานวิจัยและระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิจัยที่สมบูรณ์ การด าเนิ น งานทางด้ า นการบริ ห ารงานวิ จั ย ผ่ า นระบบสารสนเทศเพื่ อ การจั ด การ สานักงานอัตโนมัติ เป็นการเตรียมความพร้อมเรื่องของข้อมูลที่ทันสมัย เชื่อมต่อกับงานนโยบายและ แผน พร้อมทั้งสามารถตอบคาถามการประเมินคุณภาพขององค์กรต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกคณะฯ 2.2.6 ส่งเสริมอาจารย์ให้สามารถพัฒนาศักยภาพในการทาวิจัยได้อย่างเต็มที่ ด้วยการให้ทุน พัฒนาศักยภาพในการทาวิจัยของอาจารย์แพทย์ การให้ทุนพัฒนาศักยภาพในการทาวิจัยของอาจารย์แพทย์ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ในการ ทาวิจัยของอาจารย์แพทย์ ให้สามารถผลิตงานวิจัยที่มีคุณภาพ และสร้างนักวิจัยที่มีศักยภาพในการเป็น ผู้นากลุ่มวิจัยในอนาคต อันจะเป็นการวางรากฐานงานวิจัยของคณะฯ ให้มั่นคง ตลอดจนสนับสนุนการเรียน การสอนและการบริการให้มีประสิทธิภาพนามาซึ่งประโยชน์และความก้าวหน้าสู่คณะฯ มหาวิทยาลัยฯ และประเทศชาติ โดยได้ดาเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 6 ในปีงบประมาณ 2556 มีอาจารย์ที่ได้รับทุน พัฒนาศักยภาพในการทาวิจัยเฉพาะของอาจารย์แพทย์ระดับต้น 6 คน (ตารางที่ 2.2.4)
- 50 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ตารางที่ 2.2.4 รายชื่อผู้ได้รับทุนพัฒนาศักยภาพในการทาวิจัยของอาจารย์แพทย์ ระดับต้น ลาดับ ชื่อ (ต้นสังกัด) ที่ 1. อาจารย์นพพร อภิวัฒนากุล (ภาควิชากุมารเวชศาสตร์) 2.
3. 4.
5. 6.
โครงการวิจัยที่ดาเนินการ
บทบาทและกลไกของ Human gamma delta T-cells ในการกาจัดเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อรา [Bactericidal and fungicidal activity of human T-cells] อาจารย์พรเทพ ตั่นเผ่าพงษ์ โครงการสร้างฐานข้อมูลโรคท่อน้าดีตีบตันแต่กาเนิด (ภาควิชากุมารเวชศาสตร์) ในเด็ก โดยการศึกษาหาความถูกต้องแม่นยาและ คุณค่าของรหัสวินิจฉัยโรค ICD-10 ในการค้นหา ผู้ป่วย [Cohort creation of children with biliary atresia by determining the precision and value of ICD-10 diagnostic code for case identification] อาจารย์ดลนิภัทร เดชสุพงศ์ ความชุกของพาหะโรคพันธุกรรมชนิดยีนด้อยใน (สานักงานวิจัย วิชาการและ ประเทศไทย [Carrier screening for autosomal นวัตกรรม) recessive diseases in Thailand] อาจารย์นวลกันยา สถิระพงษะสุทธิ การวิเคราะห์โปรตีนโอมในปัสสาวะของผู้ป่วย (สานักงานวิจัย วิชาการและ Autosomal dominant polycystic kidney นวัตกรรม) disease ที่มีพัฒนาการของโรคที่แตกต่างกัน [Differential urinary proteome profiling of autosomal dominanat] อาจารย์ประภาพร พิสิษฐ์กลุ การศึกษาตัวบ่งชี้และกลไกระดับโมเลกุลของโรค (ภาควิชาอายุรศาสตร์) เอสแอลอี [Molecular markers and mechanisms in systemic lupus erythematosus] ผศ. พิมพ์ใจ นิภารักษ์ การศึกษาความผิดปกติระดับยีน TET2, ASXL1, (ภาควิชาอายุรศาสตร์) IDH1, IDH2, PHF6, CEBPA, FLT-3 (ITD), NPM1, C-KIT, WT1, RUNX1, MLL และ DNMT3A ในผู้ป่วยไทยทีไ่ ด้รับการวินิจฉัยมะเร็งเม็ดเลือดขาว เฉียบพลันชนิดมัยอิลอยด์ : การศึกษาโดย สหสถาบัน [The mutation of TET2, ASXL1, IDH1, IDH2, PHF6, CEBPA, FLT-3 (ITD), NPM1, C- KIT, WT1, RUNX1, MLL and DNMT3A in Thai adult acute myeloid leukemia patients: A multicenter study]
- 51 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
2.2.7 ส่งเสริมให้เกิดงานวิจัยที่มีคุณภาพด้วยการให้รางวัลและค่าตีพิมพ์ผลงานวิจัย การพัฒนาคุณภาพของงานวิจัย ตลอดจนส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับสากล เป็ น นโยบาย เพื่ อ มุ่ งสู่ เป้ าหมายตามวิสั ยทั ศ น์ ข องคณะฯ จานวนผลงานวิจั ยที่ ได้ รับ การตี พิ ม พ์ ใน วารสารวิชาการระดับสากล และค่า Impact factor เฉลี่ยของวารสารจึงเป็นเรื่องสาคัญมาก การให้ รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับสากล (แผนภูมิที่ 2.2.8 และ 2.2.9) โดยใช้ ค่า Impact factor ของวารสาร และ Journal ranking เป็นเกณฑ์การให้เงินรางวัล ยังพบว่าค่าเฉลี่ย ของ Impact factor ของผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์วารสารวิชาการระดับสากลมีค่าสูงขึ้นไม่มากนัก แผนภูมิที่ 2.2.8 จานวนเงินรางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับสากล ปีงบประมาณ 2554 - 2556 เงินรางวัล (บาท) 2,000,000
1,971,900 1,558,400
1,500,000
1,129,700
1,000,000 500,000 0
2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
แผนภูมิที่ 2.2.9 จานวนเงินสนับสนุนค่าตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับสากล ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จานวน (บาท) 1,000,000 900,000 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000 0
989,207
549,485 379,119
2554
2555
- 52 -
2556
ปีงบประมาณ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
สานักงานวิจัย วิชาการและนวัตกรรม ให้การสนับสนุนการทาวิจัยของบุคลากรภายในคณะฯ ด้าน ห้องปฏิบัติการวิจัย บุคลากรช่วยงานวิจัย ให้คาปรึกษางานวิจัยอย่างเป็นระบบ รวมทั้งหน่วยจริยธรรมการ วิจัยในคนให้บริการปรึกษาการเขียนขออนุมัติการทาวิจัยในคน และหน่วยวิจัยทางคลินิก สนับสนุนการทา Clinical research ประสานกั บ ทางหน่ ว ยงานซึ่ ง ต้ อ งการท างานวิ จั ย ด้ า น Clinical trial และบริ ก าร รวบรวมและจัดทาเอกสารให้สมบูรณ์เพื่อจัดส่งให้กับ Ethic committee รวมทั้งประสานงานกับ Clinical research nurse และ Clinical laboratory assistance ในการทา Clinical research trial ดังนี้ งานบริการด้านห้องปฏิบัติการ ให้การสนับสนุนโครงการวิจัยของบุคลากรในคณะฯ เพื่อให้ทา งานวิจัยได้สะดวกขึ้น ในปีงบประมาณ 2554 - 2556 จานวนโครงการวิจัยที่ Submit เพื่อขอใช้บริการที่ งานห้องปฏิบัติการวิจัย จานวน 33, 43 และ 49 โครงการ ตามลาดับ (แผนภูมิที่ 2.2.10) ด้านงานบริการ วิจัยได้เปิดบริการวิจัยทางห้องปฏิบัติการ 3 รายการ คือ การวิเคราะห์ลาดับเบส ของ DNA, Gene scan และ การวิเคราะห์ปริมาณ Vitamin C ในเลือด โดยพบว่า ในปีงบประมาณ 2554 - 2556 สามารถก่อให้เกิด รายได้ 1,425,640 บาท 1,373,100 บาท และ 1,083,649 บาท ตามลาดับ แผนภูมิที่ 2.2.10 จานวนโครงการวิจัยที่ Submit เพื่อขอใช้บริการที่งานห้องปฏิบัตกิ ารวิจัย ประจาปีงบประมาณ 2556 จานวน (เรือ่ ง) 20
15
โครงการวิจยใหม่ โครงการวิจยต่อเนื่อง
14
14
โครงการวิจยที่ ด้รบการตีพิมพ์ 10 6
5
7 5 2
2
3
2
1
2
2
0 ีวโมเลกล
ีวเคมี
เ ลล์
จล ีววิทยา
ห้องปฏิบัติการ
งานสนั บ สนุ น การวิ จั ย ทางคลิ นิ ก ให้ การสนั บ สนุ นการท า Clinical research ให้ บ ริ การแก่ โครงการวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากภายนอกคณะฯ (ตารางที่ 2.2.5)
- 53 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ตารางที่ 2.2.5 การให้บริการของงานสนับสนุนการวิจัยทางคลินิก ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ปีงบประมาณ หน่วย ผลงาน นับ 2554 2555 2556 หน่วยจริยธรรมในคน 1. ผู้มาขอใช้บริการ ราย 2,966 2,600 2,273 2. ออกใบรับรอง โครงการ 2,139 1,850 2,077 3. รายได้จากการให้บริการค่าธรรมเนียม การวิจัย 3.1 ค่าธรรมเนียมการพิจารณาโครงการ 450,000.00 410,000.00 370,000.00 จากภาคเอกชน (Submission fee) บาท 3.2 ค่าธรรมเนียมการพิจารณาโครงการ บุคลากรภายนอกคณะ 3.3 ค่า Overhead expense 3.4 ค่า Data transfer จากภาคเอกชน หน่วยวิจัยทางคลินิก 1. ค่า Overhead expense นาเข้า มหาวิทยาลัย ร้อยละ 4 2. ค่า Overhead expense นาเข้า คณะฯ ร้อยละ 16 3. ค่า Drug storage 4. ค่าเก็บเอกสาร
บาท
14,400.00
บาท บาท
5,134,576.00 336,000.00
บาท บาท บาท บาท
22,200.00
9,600.00
7,151,046.63 10,265,447.00 192,000.00 520,000.00
-
-
306,909.60
-
-
5,179,002.00
-
-
37,200.00 6,000.00
แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 1. การจัดทาฐานข้อมูลผู้ป่วย (Cohort registry) 2. การวิจัยมุ่งเป้าสู่ความเป็นเลิศอย่างมีมาตรฐานสากล (โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยหน่วยชีวโมเลกุล) 3. จัดตั้งศูนย์บริการครบวงจรสาหรับงานวิจัยอย่างมีมาตรฐานสากล 4. โครงการพัฒนาศักยภาพคณาจารย์ประจาด้านการวิจัย 5. โครงการพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมในงานประจาเพื่อนาไปใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพของประเทศ 6. โครงการประยุกต์พัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมสู่สังคมและเชิงพาณิชย์
- 54 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ผลงานวิจัยทีต่ ีพิมพ์เผยแพร่ในระดับสากล/ระดับชาติ เฉพาะชื่อแรกของภาควิชา/โรงเรียนพยาบาลฯ และกลุ่มสาขา ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ 1. Treepongkaruna S., Jitraruch S., Kodcharin P., Charoenpipop D., Suwannarat P., Pienvichit P., Kobayashi K., Wattanasirichaigoon D.Neonatal intrahepatic cholestasis caused by citrin deficiency: Prevalence and SLC25A13 mutations among Thai infants. BMC Gastroenterology. 2012; 15;12:141. 2. Khositseth A., Wanitkun S.Patent ductus arteriosus associated with pulmonary hypertension and desaturation.Cardiology Journal. 2012;19(5):543-6. 3. Chanlen T., Hongeng S., Nasongkla N.Tri-component copolymer rods as an implantable reservoir drug delivery system for constant and controllable drug release rate. Journal of Polymer Research. 2012;19(12):1-12. 4. Wongkittichote P., Tungpradabkul S., Wattanasirichaigoon D., Jensen L.T.Prediction of the functional effect of novel SLC25A13 variants using a S. cerevisiae model of AGC2 deficiency. Journal of Inherited Metabolic Disease. 2012; 36(5):821-30. 5. Limsuwan A., Choubtum L., Wattanasirichaigoon D. 5'UTR repeat polymorphisms of the BMPR2 gene in children with pulmonary hypertension associated with congenital heart disease. Heart lung and circulation. 2012;22(3):204-10. 6. Sasanakul W., Kadegasem P., Chaiyaratana W., Wongwerawattanakoon P., Sirachainan N., Chuansumrit A.Simple and accurate bedside diagnostic kit for determining haemophilia A and B: A revised version.Haemophilia. 2012;19(1):48-9. 7. Hutspardol S., Pakakasama S., Kanta K., Nuntakarn L., Anurathapan U., Sirachainan N., Songdej D., Sawangpanich R., Tiyasirichokchai R., Rerkamnuaychoke B., Hongeng S.Interphase-FISH screening for eight common rearrangements in pediatric B-cell precursor acute lymphoblastic leukemia. International Journal of Laboratory Hematology. 2012;35(4):406-15. 8. Chaneiam N., Changtam C., Mungkongdee T., Suthatvoravut U., Winichagoon P., Vadolas J., Suksamrarn A., Fucharoen S., Svasti S. A reduced curcuminoid analog as a novel inducer of fetal hemoglobin. Annals of Hematology. 2013;92(3):379-86. 9. Chuansumrit A. Thalassaemia and dengue virus infection. Paediatrics and International Child Health. 2013;33(1):1-2.
- 55 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
10. Manuyakorn W., Howarth P.H., Holgate S.T. Airway remodelling in asthma and novel therapy. Asian Pacific Journal of Allergy and Immunology. 2013;31(1):3-10. 11. Nuntnarumit P., Sangsuksawang N. A randomized controlled trial of 1% aqueous chlorhexidine gluconate compared with 10% povidone-iodine for topical antiseptic in neonates: Effects on blood culture contamination rates. Infection Control and Hospital Epidemiology. 2013;34(4):430-2. 12. Nuntnarumit P., Swatesutipun B., Udomsubpayakul U., Thanacharoenpipat P. A randomized controlled trial of plastic drape for prevention of hypothermia during umbilical catheterization. American Journal of Perinatology. 2013;30(10):839-42. 13. Rianthavorn P., Kerr S.J., Lumpaopong A., Jiravuttipong A., Pattaragarn A., Tangnararatchakit K., Avihingsanon Y., Thirakupt P., Sumethkul V. Outcomes and predictive factors of pediatric kidney transplants: An analysis of the Thai transplant registry. Pediatric Transplantation. 2013;17(2):112-8. 14. Sasanakul W., Kadegasem P., Chaiyaratana W., Wongwerawattanakoon P., Sirachainan N., Chuansumrit A. Simple and accurate bedside diagnostic kit for determining haemophilia A and B: A revised version. Haemophilia. 2013;19(1):e48-9. 15. Sirachainan N., Iamsirirak P., Chuansumrit A., Sasanakul W., Kadegasem P., Wongwerawattanakoon P., Charoenkwan P. No evidence of hemostasis disturbance in Thai children with iron deficiency anemia. Annals of Hematology. 2013;92(2):287-8. 16. Sruamsiri R., Chaiyakunapruk N., Pakakasama S., Sirireung S., Sripaiboonkij N., Bunworasate U., Hongeng S. Cost utility analysis of reduced intensity hematopoietic stem cell transplantation in adolescence and young adult with severe thalassemia compared to hypertransfusion and iron chelation program. BMC Health Services Research. 2013; 5;13:45. 17. Tangnararatchakit K. Response. Transplantation proceedings. 2013;45(1):444-5. 18. Chen J., Lee V., Luo C.J., Chiang A.K.S., Hongeng S., Tan P.L., Tan A.M., Sanpakit K., Li C.F., Lee A.C.-W., Chua H.C., Okamoto Y. Allogeneic stem cell transplantation for children with acquired severe aplastic anaemia: A retrospective study by the Viva-Asia blood and marrow transplantation group. British Journal of Haematology. 2013;162(3):383-91. 19. Chuansumrit A., Anantasit N., Sasanakul W., Chaiyaratana W., Tangnararatchakit K., Butthep P., Chunhakan S., Yoksan S. Tumour necrosis factor gene polymorphism in dengue infection: Association with risk of bleeding. Paediatrics and International Child Health. 2013;33(2):97-101. - 56 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
20. Chuansumrit A., Sirachainan N., Panuwannakorn M., Wongwerawattanakoon P., Kadegasem P., Choeyprasert W., Sasanakul W. Safety and efficacy of recombinant activated factor VII for long-term secondary prophylaxis in a haemophilia boy with hightitre inhibitors. Haemophilia. 2013;19(3):e182-3. 21. Engkakul P., Mahachoklertwattana P., Jaovisidha S., Chuansumrit A., Poomthavorn P., Chitrapazt N., Chuncharunee S. Unrecognized vertebral fractures in adolescents and young adults with thalassemia syndromes. Journal of Pediatric Hematology Oncology. 2013;35(3):212-7. 22. Hutspardol S., Sirachainan N., Anurathapan U., Pakakasama S., Songdej D., Chuansumrit A., Sirireung S., Panthangkool W., Hongeng S. Allogeneic hematopoietic stem cell transplantation for children with severe aplastic anemia. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(SUPPL.1):S18-24. 23. Khositseth A., Chokechuleekorn J., Kuptanon T., Leejakpai A. Rhythm disturbances in childhood obstructive sleep apnea during apnea-hypopnea episodes. Annals of Pediatric Cardiology. 2013;6(1):39-42. 24. Murguia-Peniche T., Mihatsch W.A., Zegarra J., Supapannachart S., Ding Z.-Y., Neu J. Intestinal mucosal defense system, Part 2. Probiotics and prebiotics. Journal of Pediatrics. 2013;162(3 SUPPL.):S64-71. 25. Viprakasit V., Nuchprayoon I., Chuansumrit A., Torcharus K., Pongtanakul B., Laothamatas J., Srichairatanakool S., Pooliam J., Supajitkasem S., Suriyaphol P., Tanphaichitr V.S., Tuchinda S. Deferiprone (GPO-L-ONE) monotherapy reduces iron overload in transfusiondependent thalassemias: 1-year results from a multicenter prospective, single arm, open label, dose escalating phase III pediatric study (GPO-L-ONE; A001) from Thailand. American Journal of Hematology. 2013;88(4):251-60. 26. Anurathapan U., Pakakasama S., Rujkijyanont P., Sirachainan N., Songdej D., Chuansumrit A., Sirireung S., Charoenkwan P., Jetsrisuparb A., Issaragrisil S., Ungkanont A., Sruamsiri R., Srisala S., Andersson B.S., Hongeng S. Pretransplant immunosuppression followed by reduced-toxicity conditioning and stem cell transplantation in high-risk thalassemia: A safe approach to disease control. Biology of Blood and Marrow Transplantation. 2013;19(8):1259-62.
- 57 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
27. Choeyprasert W., Sawangpanich R., Lertsukprasert K., Udomsubpayakul U., Songdej D., Unurathapan U., Pakakasama S., Hongeng S. Cisplatin-induced ototoxicity in pediatric solid tumors: The role of glutathione S-transferases and megalin genetic polymorphisms. Journal of Pediatric Hematology Oncology. 2013;35(4):e138-43. 28. Intusoma U., Mo-suwan L., Ruangdaraganon N., Panyayong B., Chongsuvivatwong V. Effect of television viewing on social-emotional competence of young Thai children. Infant Behavior and Development. 2013;36(4):679-85. 29. Ngoenmak T., Yimyam P., Treepongkaruna S. Reliability and validity of Thai version ROME III questionnaire for children with functional gastrointestinal disorders. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(7):790-3. 30. Nuntnarumit P., Sangsuksawang N. Reply to Maiwald et al. Infection control and hospital epidemiology. 2013;34(8):873-4. 31. Wananukul S., Chatproedprai S., Chunharas A., Limpongsanuruk W., Singalavanija S., Nitiyarom R., Wisuthsarewong W. Randomized, double-blind, split-side, comparison study of moisturizer containing licochalcone a and 1% hydrocortisone in the treatment of childhood atopic dermatitis. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(9):1135-42. 32. Chaithirayanon S, Chunharas A. Survey of birthmarks and cutaneous skin lesions in newborns. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(Suppl1):S49-53. 33. Witthayapraphakorn L, Khositseth A, Jiraviwatana T, Siripornpitak S, Pornkul R, Anantasit N, Vaewpanich J.Appropriate length and position of the central venous catheter insertionvia right internal jugular vein in children. Indian Pediatr. 2013;50(8):749-52. 34. Poomthavorn P, Chawalitdamrong P, Hongeng S, Mahachoklertwattana P, Pakakasama S, Khlairit P, Chailurkit LO. Gonadal function of beta-thalassemics following stem cell transplantation conditioned with myeloablative and reduced intensity regimens. Journal of pediatric endocrinology and metabolism. 2013;26(9-10):925-32. 35. Khositseth A, Muangyod N, Nuntnarumit P. Perfusion index as a diagnostic tool for patent ductus arteriosus in preterm infants. Neonatology 2013;104:250–4. 36. Manuyakorn W, Siripool K, Kamchaisatian W, Pakakasama S, Visudtibhan A, Vilaiyuk S, Rujirawat T, Benjaponpitak S. Phenobarbital-induced severe cutaneous adverse drug reactions are associated with CYP2C19*2 in Thai children. Pediatric allergy and immunology. 2013;24(3):299-303.
- 58 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
37. Chunharas A, Hetrakul P, Boonyobol R, Udomkitti T, Tassanapitikul T, Wattanasirichaigoon D. Medical students themselves as surrogate patients increased satisfaction, confidence, and performance in practicing injection skill. Medical teacher. 2013;35(4):308-13. 38. Anantasit N, Vilaiyuk S, Kamchaisatian W, Supakornthanasarn W, Sasisakulporn C, Teawsomboonkit W, Benjaponpitak S. Comparison of conjunctival and nasal provocation tests in allergic rhinitis children with Dermatophagoides pteronyssinus sensitization. Asian pacific journal of allergy and immunology. 2013;31(3):227-32. 39. Neu J, Mihatsch WA, Zegarra J, Supapannachart S, Ding ZY, Murguía-Peniche T. Intestinal mucosal defense system, Part 1. Consensus recommendations for immunonutrients. J Pediatr. 2013;162(3 Suppl):S56-63. 40. Napolitano M, Giansily-Blaizot M, Dolce A, Schved JF, Auerswald G, Ingerslev J, Bjerre J, Altisent C, Charoenkwan P, Michaels L, Chuansumrit A, Di Minno G, Caliskan U, Mariani G. Prophylaxis in congenital factor VII deficiency: Indications, efficacy and safety, Results from the seven treatment evaluation registry (STER). Haematologica-The Hematology Journal. 2013;98(4):538-44. 41. Tammachote R, Tongkobpetch S, Srichomthong C, Phipatthanananti K, Pungkanon S, Wattanasirichaigoon D, Suphapeetiporn K,Shotelersuk V. A common and two novel GBA mutations in Thai patients with Gaucher disease. Journal of Human Genetics. 2013;58(9):594-9. 42. Haahtela T, Holgate S, Pawankar R, Akdis CA, Benjaponpitak S, Caraballo L, Demain J, Portnoy J, von Hertzen L. The biodiversity hypothesis and allergic disease: World allergy organization position statement. World Allergy Organization Journal. 2013;6(1):3. ภาควิชาจักษุวิทยา 43. Rojanaporn D., Kaliki S., Shields C.L., Shields J.A.Morning glory disc anomaly with peripheral retinal nonperfusion in 4 conse cutive cases. Archives of Ophthalmology. 2012;130(10):1327-30. 44. Kaliki S., Shields C.L., Rojanaporn D., Al-Dahmash S., McLaughlin J.P., Shields J.A., Eagle Jr. R.C. High-risk retinoblastoma based on international classification of retinoblastoma: Analysis of 519 enucleated eyes. Ophthalmology. 2013;120(5):997-1003. 45. Kaliki S., Shields C.L., Rojanaporn D., Badal J., Devisetty L., Emrich J., Komarnicky L., Shields J.A. Scleral necrosis after plaque radiotherapy of uvual melanoma: A case-control study. Ophthalmology. 2013;120(5):1004-11. - 59 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
46. Shields C.L., Kaliki S., Al-Dahmash S., Rojanaporn D., Shukla S.Y., Reilly B., Shields J.A. Retinal vasoproliferative tumors: Comparative clinical features of primary vs secondary tumors in 334 cases. JAMA Ophthalmology. 2013;131(3):328-34. 47. Chang D.S., Boland M.V., Arora K.S., Supakontanasan W., Chen B.B., Friedman D.S. Symmetry of the pupillary light reflex and its relationship to retinal nerve fiber layer thickness and visual field defect. Investigative Ophthalmology and Visual Science. 2013;54(8) :5596-601. 48. Lekhanont K., Jongkhajornpong P., Choubtum L., Chuckpaiwong V. Topical 100% serum eye drops for treating corneal epithelial defect after ocular surgery. BioMed Research International. 2013;Article ID 521315,7. 49. Wuthisiri W., Lingao M.D., Capasso J.E., Levin A.V. Lyonization in ophthalmology. Current Opinion in Ophthalmology. 2013;24(5):389-97. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ 50. Miller S., Ittasakul P., Wang P.W., Hill S.J., Childers M.E., Rasgon N., Ketter T.A. Enhanced ziprasidone combination therapy effectiveness in obese compared to nonobese patients with bipolar disorder. Journal of Clinical Psychopharmacology. 2012;32(6):814-9. 51. Thavichachart N., Kongsakon R., Lo W.T.L., Lim L., Singh S., Sobrevega E., Banaag C., Bautista J., Evangelista M.L., Dimatalac B., Choi A., Nerapusee O. The psychopathological characteristics of treatment discontinuation group in 6-month treatment with paliperidone ER. International Journal of Clinical Practice. 2012;66(10):969-75. 52. Ittasakul P, Archer A, Kezman J, Atsariyasing W, Goldman MB. Rapid rechallenge with clozapine following pronounced myocarditi in a treatment-resistance schizophrenia patient. Clinical schizophrenia and related psychoses. 2013;18:1-11. ภาควิชาพยาธิวิทยา 53. Butthep P., Chunhakan S., Yoksan S., Tangnararatchakit K., Chuansumrit A. Alteration of cytokines and chemokines during febrile episodes associated with endothelial cell damage and plasma leakage in dengue hemorrhagic fever. Pediatric infectious disease Journal. 2012;31(12):e232-8. 54. Manosuthi W., Sukasem C., Lueangniyomkul A., Mankatitham W., Thongyen S., Nilkamhang S., Manosuthi S., Sungkanuparph S. Impact of pharmacogenetic markers of
- 60 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
CYP2B6, clinical factors, and drug-drug interaction on efavirenz concentrations in HIV/ tuberculosis-coinfected patients. Antimicrobial Agents and Chemotherapy. 2013;57(2):1019-24. 55. Krajaejun T., Lowhnoo T., Yingyong W., Rujirawat T., Fucharoen S., Strobel GA. In vitro antimicrobial activity of volatile organic compounds from Muscodor crispans against the pathogenic oomycete Pythium insidiosum. Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health. 2012 ;43(6):1474-83. 56. Srisawasdi P., Suwalak T., Sukasem C., Chittamma A., Pocathikorn A., Vanavanan S., Puangpetch A., Santon S., Chantratita W., Kiertiburanakul S., Kroll MH. Small-dense LDL cholesterol/large-buoyant LDL cholesterol ratio as an excellent marker for indicating lipodystrophy in HIV-Infected patient. American Journal of Clinical Pathology. 2013;140(4): 506-15. 57. Sukasem C., Tunthong R., Poungpetch A., Pairoj V., Srichunrasami C., Santon S., Vathesatogkit P., Chantratita W. CYP2C19 polymorphisms in Thai population and their clinical response to clopidogrel in patients with atherothrombotic-risk factors. Pharmacogenomics and Personalized Medicine. 2013;22(6):85-91. 58. Sukasem C., Sungkanuparph S.Would a CYP2B6 test help HIV patients being treated with efavirenz?. Pharmacogenomics. 2013 ;14(9):999-1001. 59. Tan-Kam T., Suthisisang C., Pavasuthipaisit C., Limsila P., Puangpetch A., Sukasem C. Importance of pharmacogenetics in the treatment of children with attention deficit hyperactive disorder: A case report. Pharmacogenomics and Personalized Medicine. 2013;6:3-7. 60. Sitthinamsuwan P., Angkathunyakul N., Chuangsuwanich T., Inthasorn P. Neuroendocrine carcinomas of the uterine cervix: A clinicopathological study. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013 ;96(1):83-90. 61. Sukasem C., Chamnanphon M., Koomdee N., Puangpetch A., Santon S., Jantararoungtong .T, Prommas S., Chantratita W., Manosuthi W. High plasma efavirenz concentration and CYP2B6 polymorphisms in Thai HIV-1 infections. Drug Metabolism and Pharmacokinetics. 2013;28(5):391-7. 62. McNamara KM., Yoda T., Miki Y., Chanplakorn N., Wongwaisayawan S., Incharoen P., Kongdan Y., Wang L., Takagi K., Mayu T., Nakamura Y., Suzuki T., Nemoto N., Miyashita M., Tamaki K., Ishida T., Ohuchi N., Sasano H. Androgenic pathway in triple negative invasive ductal tumors: Its correlation with tumor cell proliferation. Cancer Science. 2013 ;104(5):639-46.
- 61 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
63. Cheunsuchon B., Incharoen P., Chawanasuntorapoj R., Chanchairujira T., Shayakul C. Glomerular macrophage is an indicator of early treatment response in diffuse proliferative lupus nephritis. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013 ;96 Suppl 2:S246-51. 64. Chareonsirisuthigul T., Khositnithikul R., Intaramat A., Inkomlue R., Sriwanichrak K., Piromsontikorn S., Kitiwanwanich S., Lowhnoo T., Yingyong W., Chaiprasert A., Banyong R., Ratanabanangkoon K., Brandhorst TT., Krajaejun T. Performance comparison of immunodiffusion, enzyme-linked immunosorbent assay, immunochromatography and hemagglutination for serodiagnosis of human pythiosis. Diagnostic Microbiology and Infectious Disease. 2013 ;76(1):42-5. 65. Larbcharoensub N., Boonsakan P., Kanoksil W., Wattanatranon D., Phongkitkarun S., Molagool S., Watcharananan SP. Fungal appendicitis: A case series and review of the literature. The Southeast Asian journal of tropical medicine and public health. 2013 ;44(4):681-9. 66. Srisawasdi P., Prasertsincharoen N., Kroll M.H.Porcine pancreas: A superior source of cholesterol esterase for total serum cholesterol assay by the enzymatic kinetic method. Journal of Clinical Laboratory Analysis. 2012;26(6):420-30. 67. Suankwan U., Larbcharoensub N., Viseshsindh W., Wiratkapun C., Chalermsanyakorn P. A clinicopathologic study of tuberculous epididymo-orchitis in Thailand. Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health. 2012;43(4):951-8. 68. Pengpanichpakdee N., Thadtapong T., Auparakkitanon S., Wilairat P.Plasma membrane CA2+-atpase sulfhydryl modifications: Implication for oxidized red cell. Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health. 2012;43(5):1252-7. 69. Peonim V., Sujirachato K., Srisont S., Udnoon J.Pathology of HIV seropositive: Forensic autopsy study in a tertiary care hospital, Bangkok, Thailand. Journal of the Medical Association of Thailand. 2012;95(8):1059-65. 70. Peonim V., Sujirachato K., Udnoon J., Chudoung U., Wongwichai S.Aberrant abdominal umbilical arteries in VACTERL - association: A first case report. Journal of the Medical Association of Thailand. 2012;95(10):1352-6. 71. Houngkamhang N., Vongsakulyanon A., Peungthum P., Sudprasert K., Kitpoka P., Kunakorn M., Sutapun B., Amarit R., Somboonkaew A., Srikhirin T. ABO blood-typing using an antibody array technique based on surface plasmon resonance imaging. Sensors (Switzerland). 2013;13(9):11913-22.
- 62 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
72. Larbcharoensub N., Chongtrakool P., Wirojtananugoon C., Watcharananan S.P., Sumethkul V., Boongird A., Jirasiritham S. Treatment of a brain abscess caused by Scedosporium apiospermum and Phaeoacremonium parasiticum in a renal transplant recipient. Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health. 2013;44(3):484-9. 73. Peonim V., Worasuwannarak W., Sujirachato K., Teerakamchai S., Srisont S., Udnoon J., Chudoung U. Comparison between prostate specific antigen and acid phosphatase for detection of semen in vaginal swabs from raped women. Journal of Forensic and Legal Medicine. 2013;20(6):578-81. 74. Sanyear C., Butthep P., Nithipongvanich R., Sirankapracha P., Winichagoon P., Fucharoen S., Svasti S. Cardiomyocyte ultrastructural damage in B-thalassaemic mice. International Journal of Experimental Pathology. 2013;94(5):336-42. 75. Srisawasdi P., Vanavanan S., Rochanawutanon M., Pornsuriyasak P., Tantrakul V., Kruthkul K., Kotani K. Heterogeneous properties of intermediate- and low-density lipoprotein subpopulations. Clinical Biochemistry. 2013;46(15):1509-15. 76. Arnold M.-L., Heinemann F.M., Horn P., Ziemann M., Lachmann N., Muhlbacher A., Dick A., Ender A., Thammanichanond D., Fischer G.F., Schaub S., Hallensleben M., Mytilineos J., Hitzler W.E., Seidl C., Doxiadis I.I.N., Spriewald B.M. 16th IHIW: Anti-HLA alloantibodies of the of IgA isotype in re-transplant candidates. International Journal of Immunogenetics. 2013;40(1):17-20. 77. Khuntayaporn P., Montakantikul P., Santanirand P., Kiratisin P., Chomnawang M.T. Molecular investigation of carbapenem resistance among multidrug-resistant pseudomonas aeruginosa isolated clinically in Thailand. Microbiology and Immunology. 2013;57(3):170-8. 78. Sudta P., Jiarawapi P., Suksamrarn A., Hongmanee P., Suksamrarn S. Potent activity against multidrug-resistant mycobacterium tuberculosis of α-mangostin analogs. Chemical and Pharmaceutical Bulletin. 2013;61(2):194-203. 79. Tan-kam T., Suthisisang C., Pavasuthipaisit C., Limsila P., Puangpetch A., Sukasem C. Importance of pharmacogenetics in the treatment of children with attention deficit hyperactive disorder: A case report. Pharmacogenomics and Personalized Medicine. 2013;6(1):3-7. 80. Tantrawatpan C., Intapan P.M., Janwan P., Sanpool O., Lulitanond V., Srichantaratsamee C., Anamnart W., Maleewong W. Molecular identification of
- 63 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
Paragonimus species by DNA pyrosequencing technology. Parasitology International. 2013;62(3):341-5. 81. Jumroon N., Santanirand P. Multiple combination patterns of OXA-type carbapenemhydrolyzing and metallo-B-lactamases encoding genes among clinically isolated acinetobacter baumannii. International Journal of Pharma and Bio Sciences. 2013;4(2):B908-17. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 82. Pokpalagon P., Hanucharurnkul S., McCorkle R., Tongprateep T., Patoomwan A. Viwatwongkasem C. Comparison of care strategies and quality of life of advanced cancer patients from four different palliative care settings. Pacific Rim International Journal of Nursing Research 2012; 16(4): 326-42. 83. Mekwiwatanawong C., Hanucharurnkul S., Piaseu N., Nityasuddhi D. Comparison of outcomes of patients with diabetes receiving care by way of three primary care practice models. Pacific Rim International Journal of Nursing Research 2013; 17(1): 39-55. 84. Aree-Ue S., Petlamul M. Osteoporosis knowledge, health beliefs, and preventive behavior: A comparison between younger and older women living in a rural area. Health Care for Women International. 2013; 34(12): 1051-1066. 85. Duangbubpha S., Hanucharurnkul S., Pookboonmee R., Orathai P., Kiatboonsri C. Chronic care model implementation and outcomes among patients with COPD in care teams with and without advanced practice nurses. Pacific Rim International Journal of Nursing research. 2013; 17(2): 102-16. 86. Piaseu N., Kasemsuk W., Jarupat Mauo S., Hanucharurnkul S. Structure, process, and outcomes of healthcare service provision, at two primary care settings, by and advanced community nurse practitioner and a general nurse practitioner. Pacific Rim International Journal of Nursing research.. 2013; 17(2): 117-30. 87. ทัศนา ทวีคณ ู พัชรินทร์ นินทจันทร์ โสภิณ แสงอ่อน ปัจจัยทานายความเครียดของนักศึกษา พยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิต วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2555; 22(3): 1-11 88. สุดา รองเมือง กนกพร เรืองเพิ่มพูน พัชรินทร์ นินทจันทร์ ผลของกลุม่ ส่งเสริมการปรับตัว ทางสังคมโดยใช้เทคนิคละครจิตบาบัดในนักศึกษาพยาบาล รามาธิบดีพยาบาลสาร 2556; 19(1): 114-28. 89. ผจงจิต ไกรถาวร นพวรรณ เปียซื่อ สุวัจนา น้อยแนม ปัจจัยทานายความรู้สึกเป็นส่วนหนึง่ ของชุมชน วารสารพยาบาลสาธารณสุข 2556; 27(1): 1-15.
- 64 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
90. ประนอม ภู่ศรีทอง วรพรรณ ผดุงโยธี การประเมินผลการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ศักยภาพการเรียนรู้ของนักศึกษาในวิชาการพยาบาลมารดา-ทารกและผดุงครรภ์ รามาธิบดีพยาบาลสาร 2556; 19(2): 235-48. 91. พัชรินทร์ นินทจันทร์ โสภิณ แสงอ่อน ทัศนา ทวีคูณ ความแข็งแกร่งในชีวิต เหตุการณ์ที่ สร้างความยุ่งยากใจและสุขภาพจิตของนักศึกษามหาวิทยาลัย วารสารการพยาบาลและสุขภาพ 2556; 7(2): 12-24. ภาควิชารังสีวทิ ยา 92. Saksobhavivat N., Jaovisidha S., Sikulchayanonta V., Nartthanarung A.Parosteal ossifying lipoma of the fibula: A case report with contrast-enhanced MR study and a review of the literature. Singapore Medical Journal. 2012;53(8):e172-5. 93. Swangsilpa T., Yongvithisatid P., Pairat K., Dechsupa P., Dhanachai M., Dangprasert S., Narkwong L., Sitathanee C., Puataweepong P., Puddhikarant P., Jiarpinitnun C., Witoonpanich P., Ukhumpun T., Khaophong J.Preliminary experience of cyberKnife treatment of primary non-small cell lung cancer. Journal of the Medical Association of Thailand. 2012;95(10):1335-43. 94. Puataweepong P., Dhanachai M., Dangprasert S., Narkwong L., Sitathanee C., Junwityanujit T.The clinical results of pediatric brain tumors treated with linac based stereotactic radiosurgery and radiotherapy.Journal of the Medical Association of Thailand. 2012;95(11):1466-71. 95. Nardo L., Alizai H., Virayavanich W., Liu F., Hernandez A., Lynch J.A., Nevitt M.C., McCulloch C.E., Lane N.E., Link T.M. Lumbosacral transitional vertebrae: Association with low back pain. Radiology. 2012;265(2):497-503. 96. Nguyen C.T., Saksobhavivat N., Shanmuganathan K., Steenburg S.D., Moeslein F.M., Mirvis S.E., Chiu W. Erratum to: MDCT diagnosis of post-traumatic hepatic arterioportal fistulas. Emergency Radiology. 2013;20(3):233. 97. Panpikoon T., Treesit T., Thapaneeyakorn J., Wedsart B., Inman T. Efficacy of percutaneous radiofrequency ablation of hepatic malignant tumors using a perfusedcooled electrode. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(1):77-82. 98. Tuntiyatorn L., Nantawas B., Sirsachainan N., Larbcharoensub N., Visudtibhan A., Hongeng S. Apparent diffusion coefficients in evaluation of pediatric brain tumors. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(2):178-84.
- 65 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
99. Wiratkapun C., Chansanti O., Wibulpolprasert B., Lertsittichai P. Focal fibrosis of the breast diagnosed by core needle biopsy under imaging guidance. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(3):340-5. 100. Wiratkapun C., Jaiyen R., Lertsithichai P., Wedsart B., Jatchavala J., Jaovisidha S., Chirappapha P., Pongtippan A., Aroonroch R. Ultrasound predictors of thyroid cancer. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(2):225-30. 101. Wongwaisayawan S., Suwannanon R., Kaewlai R. Imaging of cervicothoracic junction trauma. Reports in Medical Imaging. 2013;6(1):11-27. 102. Hemachudha T., Ugolini G., Wacharapluesadee S., Sungkarat W., Shuangshoti S., Laothamatas J. Human rabies: Neuropathogenesis, diagnosis, and management. The Lancet Neurology. 2013;12(5):498-513. 103. Jaovisidha S., Siriapisith R., Chitrapazt N., De Zordo T., Woratanarat P., Subhadrabandhu T., Sirikulchayanonta V., Siriwongpairat P. Radiological findings in 31 patients with chondroblastoma in tubular and non-tubular bones. Singapore Medical Journal. 2013;54(5):275-80. 104. Kositwattanarerk A., Changmuang W., Sangsuriyan J., Thongklam K., Sritara C., Utamakul C., Chamroonrat W., Thamnirat K., Anongpornyochkul Y., Chancharunee S. 131I rituximab treatment in patient with relapsed non-Hodgkin's lymphoma: The first case report in Thailand. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(6):756-60. 105. Nguyen C., Saksobahavivat N., Shanmuganathan K., Steenburg S., Moeslein F., Mirvis S.E., Chiu W. MDCT diagnosis of post-traumatic hepatic arterio-portal fistulas. Emergency Radiology. 2013;20(3):225-32. 106. Siripornpitak S., Pornkul R., Khowsathit P., Layangool T., Promphan W., Pongpanich B. Cardiac CT angiography in children with congenital heart disease. European Journal of Radiology. 2013;82(7):1067-82. 107. Swangsilpa T., Yongvithisatid P., Pairat K., Dechsupa P., Dhanachai M., Dangprasert S., Narkwong L., Sitathanee C., Puataweepong P., Puddhikarant P., Jiarpinitnun C., Witoonpanich P., Ruangkanchanasetr R., Ukhumpun T., Khaophong J. Preliminary experience of cyberKnife? Treatment of lung metastasis: The question about real clinical benefit. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(5):603-13.
- 66 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
108. Chanthanaphak E., Pongpech S., Jiarakongmun P., Kobkitsuksakul C., Chi C.T., Terbrugge K.G. Filum terminale arteriovenous fistulas: The role of endovascular treatment. Journal of Neurosurgery: Spine. 2013;19(1):49-56. 109. Sritara C., Ongphiphadhanakul B., Chailurkit L., Yamwong S., Ratanachaiwong W., Sritara P. Serum uric acid levels in relation to bone-related phenotypes in men and women. Journal of Clinical Densitometry. 2013;16(3):336-40. 110. Tuntiyatorn L., Saksornchai P., Tunlayadechanont S. Identification of stroke mimics among clinically diagnosed acute strokes. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(9):1191-8. 111. Varavithya V., Phongkitkarun S., Raungrongmorakot K., Rujiwetpongstorn J., Chittacharoen A. The influence of MR imaging on changes in patient counseling in obstetric patients with suspected fetal anomalies by ultrasound. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(7):839-48. 112. Virayavanich W., Alizai H., Baum T., Nardo L., Nevitt M.C., Lynch J.A., McCulloch C.E., Link T.M. Association of frequent knee bending activity with focal knee lesions detected with 3T magnetic resonance imaging: Data from the osteoarthritis initiative. Arthritis Care and Research. 2013;65(9):1441-8. 113. Wiratkapun C., Keeratitragoon T., Lertsithichai P., Chanplakorn N. Upgrading rate of papillary breast lesions diagnosed by core-needle biopsy. Diagnostic and Interventional Radiology. 2013;19(5):371-6. 114. Chamroonrat W, Zhuang H. Early acute hematogenous osteomyelitis detected by bone scintigraphy but not MRI. Clinical nuclear medicine. 2013;38(4):285-8. 115. Wong DF, Waterhouse R, Kuwabara H, Kim J, Brašić JR, Chamroonrat W, Stabins M, Holt DP, Dannals RF, Hamill TG, Mozley PD. 18F-FPEB, A PET radiopharmaceutical for quantifying metabotropic glutamate 5 receptors: a first-in-human study of radiochemical safety, biokinetics, and radiation dosimetry. Journal of Nuclear Medicine. 2013;54(3):388-96. 116. Rodesch G, Picard L, Berenstein A, Biondi A, Bracard S, Choi IS, Feng L, Hyogo T, Lefeuvre D, Leonardi M, Mayer T, Miyashi S, Muto M, Piske R, Pongpech S, Reul J, Soderman M, Chuh DS, Tampieri D, Taylor A, Terbrugge K, Valavanis A, van den Berg R. Editorial: Interventional neuroradiology: A Neuroscience sub-specialty?. Interventional Neuroradiology. 2013;19(3):263-70.
- 67 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา 117. Tan W.-F., Steadman R.H., Farmer D.G., Hong J.C., Busuttil R.W., Apinyachon W., Xia V.W.Pretransplant neurological presentation and severe posttransplant brain injury in patients with acute liver failure. Transplantation. 2012;94(7):768-74. 118. Prachanpanich N., Apinyachon W., Ittichaikulthol W., Moontripakdi O., Jitaree A. A comparison of dexmedetomidine and propofol in patients undergoing electrophysiology study. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(3):307-11. 119. Paiboonworachat S., Thienthong S., Nimmaanrat S., Niruthisard S., Ittichaikulthol W., Ploypetch T. Pain related articles published in Thailand in the last 20 years. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(8):943-6. ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน 120. Suriyawongpaisal P., Thakkinstian A., Jiwattanakulpaisarn P. The effect of police density to improve motorcycle helmet use in Thailand. Indian Journal of Public Health Research and Development. 2013;4(1):202-7. 121. Suriyawongpaisa P., Thakkinstian A., Rangpueng A., Jiwattanakulpaisarn P., Techakamolsuk P. Disparity in motorcycle helmet use in Thailand. International Journal for Equity in Health. 2013;12(1):74. ภาควิชาศัลยศาสตร์ 122. Kongcharoensombat W., Tantirangsee N., Chaimuangraj S., Leelanuphun C., Kochakarn W., Patcharatrakul S.Comparison of extraperitoneal laparoscopic radical prostatectomy and open retropubic radical prostatectomy at Ramathibodi Hospital, Thailand: A retrospective review. Journal of the Medical Association of Thailand. 2012;95(8):1035-40. 123. Wilasrusmee C., Sukrat B., McEvoy M., Attia J., Thakkinstian A. Systematic review and meta-analysis of safety of laparoscopic versus open appendicectomy for suspected appendicitis in pregnancy. British Journal of Surgery. 2012;99(11):1470-8. 124. Saetia K., Phankhongsab A., Kuansongtham V., Paiboonsirijit S. Comparison between minimally invasive and open transforaminal lumbar interbody fusion. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(1):41-6. 125. Ungbhakorn P., Chalermsanyakorn P., Nilskulwat S., Kochakarn W. Estrogen and progesterone receptors in patients with bladder pain syndrome. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(3):302-5. - 68 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
126. Chanprasopon P., Kongchareonsombat W., Leenanupunth C., Kijvikai K., Viseshsindh W. The best calyceal tract approach for treating renal stones with percutaneous nephrolithotomy. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(5):575-9. 127. Hiranyatheb P., Euanorasetr C., Suwanthanma W., Supsamutchai C. Upper gastrointestinal bleeding from gastric splenosis; A case report and literature review. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(6):749-55. 128. Saema A., Patcharatrakul S., Kongchareonsombat W. Laparoscopic radical prostatectomy in a cadaveric renal transplant patient: First case in Thailand and the authors first experience - A case report. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(5):633-36. 129. Sangkum P., Patcharatrakul S., Khongchareonsombat W. Open-assisted laparoscopic radical cystectomy using an ileal neobladder with intracorporeal urethraneobladder anastomosis: Technique and early experiences. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(5):564-8. 130. Wijitsettakul U., Pempongkosol S. The efficacy and safety of on-demand Elonza; A generic product of sildenafil in Thai men with erectile dysfunction. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(6):683-8. 131. Ngodngamthaweesuk M., Attanawanich S., Kijjanon N. Video-assisted thoracic surgery lobectomy for lung cancer in Ramathibodi Hospital. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(7):819-23. 132. Sarnvivad P., Bumpenboon A., Chumnanvej S. Retrospective long term outcome following microvascular decompression surgery in Thai patients with trigeminal neuralgia. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(7):801-6. 133. Wiratkapun C., Jaiyen, R., Lertsithichai P., Wedsart, B., Jatchavala, J., Jaovisidha, S., Chirappapha, P., Aroonroch, R. Ultrasound predictors of thyroid cancer. Journal of the Medical Association of Thailand.2013;96(2):225-30. 134. Attanawanich S., Ngodgnamthaweesuk M., Kitjanon N., Sitthisombat C. Pulmonary cusp augmentation in repair of tetralogy of Fallot. Asian Cardiovascular and Thoracic Annals. 2013;21(1):9-13. 135. Wiratkapun C., Keeratitragoon T., Lertsithichai P., Chanplakorn N. Upgrading rate of papillary breast lesions diagnosed by core-needle biopsy. Diagnostic and Interventional Radiology. 2013;19(5):371-6. - 69 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ภาควิชาสูติศาสตร์ - นรีเวชวิทยา 136. Thanapprapasr D., Wilailak S.TGCS's annual meeting, August 10-12, 2012. Journal of Gynecologic Oncology. 2012;23(4):215-6. 137. Chan K.K.L., Chen C.-A., Nam J.-H., Ochiai K., Wilailak S., Choon A.-T., Sabaratnam S., Hebbar S., Sickan J., Schodin B.A., Sumpaico W.W. The use of HE4 in the prediction of ovarian cancer in asian women with a pelvic mass. Gynecologic Oncology. 2013;128(2):239-44. 138. Thanapprapasr D., Cheewakriangkrai C., Likittanasombut P., Thanapprapasr K., Mutch D.G. Targeted endometrial cancer therapy as a future prospect. Women's Health. 2013;9(2):189-99. 139. Tongboonchoo C., Tungtrongchitr A., Phonrat B., Preutthipan S., Tungtrongchitr R. Association of MTHFR C677T polymorphism with bone mineral density of osteoporosis in postmenopausal Thai women. Journal of the Medical Association of Thailand. 2013;96(2):133-9. 140. Chaikittisilpa S., Nimnuan C., Chirawatkul S., Jirapinyo M., Techatraisak K., Rattanachaiyanont M., Srisuparp S., Panyakhamlerd K., Jaisamrarn U., Taechakraichana N., Limpongsanurak S. Development and validation of the menopause-specific quality of life scale for menopausal Thai women. Climacteric. 2013;16(3):387-92. 141. Phongnimitr T., Liang Y., Srirattana K., Panyawai K., Sripunya N., Treetampinich C., Parnpai R. Effect of L-carnitine on maturation, cryo-tolerance and embryo developmental competence of bovine oocytes. Animal Science Journal. 2013;84(11):719-25 142. Sophonsritsuk A., Appt S.E., Clarkson T.B., Shively C.A., Espeland M.A., Register TC. Differential effects of estradiol on carotid artery inflammation when administered early versus late after surgical menopause. Menopause. 2013;20(5):540-7. 143. Poomthavorn P., Chaya W., Mahachoklertwattana P., Sukprasert M., Weerakiet S. Glucose metabolism in obese and lean adolescents with polycystic ovary syndrome. Journal of Pediatric Endocrinology and Metabolism. 2013;26(3-4):319-24. 144. Thanapprapasr D., Thanapprapasr K. Molecular therapy as a future strategy in endometrial cancer. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention. 2013;14(6):3419-23. ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 145. Ritthipravat P., Kumdee O., Bhongmakapat T. Efficient missing data technique for prediction of nasopharyngeal carcinoma recurrence. Information Technology Journal. 2013;12(6):1125-33.
- 70 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ 146. Chaiamnuay S., Chailurkit L.-O., Narongroeknawin P., Asavatanabodee P., Laohajaroensombat S., Chaiamnuay P. Current daily glucocorticoid use and serum creatinine levels are associated with lower 25(OH) vitamin D levels in Thai patients with systemic lupus erythematosus. Journal of Clinical Rheumatology. 2013;19(3):121-5. 147. De Mattos C.B.R., Angsanuntsukh C., Arkader A., Dormans J.P. Chondroblastoma and chondromyxoid fibroma. Journal of the American Academy of Orthopaedic Surgeons. 2013;21(4):225-33. ภาควิชาอายุศาสตร์ 148. Bumrerraj S, Kaczorowski J, Kessomboon P, Thinkhamrop B, Rattarasarn C. Diagnostic performance of 2 h postprandial capillary and venous glucose as a screening test for abnormal glucose tolerance. Prim Care Diabetes 2012; 6: 207-11 149. Chailurkit LO, Aekplakorn W, Ongphiphadhanakul B. The association between vitamin D status and type 2 diabetes in a Thai population, a cross-sectional study. Clinical endocrinology.2012 Nov;77(5):658-64 150. Hattapornsawan Y, Pangsuwan S, Ongphiphadhanakul B, Udomsubpayakun U. Prevalence of vitamin D deficiency in nurses at the Royal Irrigation Hospital. Journal of the Medical Association of Thailand = Chotmaihet thangphaet.2012 Dec;95(12):1569-74 151. Wiboonchutikul S, Sungkanuparph S, Kiertiburanakul S, Chailurkit LO, Charoenyingwattana A, Wangsomboonsiri W, Chantratita W, Ongphiphadhanakul B. Vitamin D Insufficiency and Deficiency among HIV-1-Infected Patients in a Tropical Setting. Journal of the International Association of Physicians in AIDS Care. 2012 Sep-Oct;11(5):305-10. 152. Khovidhunkit W, Silaruks S, Chaithiraphan V, Ongphiphadhanakul B, Sritara P, Nimitphong H, Benjanuwattra T, Ambegaonkar BM. Prevalence of dyslipidemia and goal attainment after initiating lipid-modifying therapy: a Thai multicenter study. Angiology. 2012 Oct;63(7):528-34. 153. Sirachainan E, Jaruhathai S, Trachu N, Panvichian R, Sirisinha T, Ativitavas T, Ratanatharathorn V, Chamnanphon M, Sukasem C. CYP2D6 polymorphisms influence the efficacy of adjuvant tamoxifen in Thai breast cancer patients. Pharmacogenomics and personalized medicine. 2012;5:149-53 154. Ratanakorn D, Keandoungchun J, Tegeler CH. Coexistent extra- and intracranial stenosis, cervical atherosclerosis, and abnormal ankle brachial index in acute ischemic - 71 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
stroke. Journal of stroke and cerebrovascular diseases : the official journal of National Stroke Association. 2012 Nov;21(8):782-9 155. Namwongprom S, Rojnastein S, Mangklabruks A, Soontrapa S, Taya P, Ongphiphadhanakul B. Discrepancy of left and right hip bone mineral density (BMD) in Thai women: diagnostic agreement and misclassification. Annals of nuclear medicine.2012 Dec;26(10):787-93 156. Jiamsakul A, Kantor R, Li PC, Sirivichayakul S, Sirisanthana T, Kantipong P, Lee CK, Kamarulzaman A, Ratanasuwan W, Ditangco R, Singtoroj T, Sungkanuparph S; TREAT Asia Studies to Evaluate Resistance – Monitoring Study (TASER-M). Comparison of predicted susceptibility between genotype and virtual phenotype HIV drug resistance interpretation systems among treatment-naive HIV-infected patients in Asia: TASER-M cohort analysis. BMC research notes. 2012 Oct 24;5:582 157. Kiertiburanakul S, Luengroongroj P, Sungkanuparph S. Clinical Characteristics of HIV-Infected Patients Who Survive after the Diagnosis of HIV Infection for More Than 10 Years in a Resource-Limited Setting. Journal of the International Association of Physicians in AIDS Care. 2012 Nov-Dec;11(6):361-5. 158. Nimitphong H, Holick MF, Fried SK, Lee MJ. 25-hydroxyvitamin D₃ and 1,25dihydroxyvitamin D₃ promote the differentiation of human subcutaneous preadipocytes. PloS one.2012;7(12):e52171. doi: 10.1371/journal.pone.0052171. 159. Vathesatogkit P, Sritara P, Kimman M, Hengprasith B, E-Shyong T, Wee HL, Woodward M. Associations of lifestyle factors, disease history and awareness with healthrelated quality of life in a Thai population. PloS one. 2012;7(11):e49921. doi: 10.1371/journal.pone.0049921 160. Chailurkit LO, Aekplakorn W, Ongphiphadhanakul B. High vitamin D status in younger individuals is associated with low circulating thyrotropin. Thyroid : official journal of the American Thyroid Association.2013 Jan;23(1):25-30. 161. Charatcharoenwitthaya N, Nanthakomon T, Somprasit C, Chanthasenanont A, Chailurkit LO, Pattaraarchachai J, Ongphiphadhanakul B. Maternal vitamin D status, its associated factors and the course of pregnancy in Thai women. Clinical endocrinology.2013 Jan;78(1):126-33. 162. Intragumtornchai T, Bunworasate U, Siritanaratkul N, Khuhapinant A, Nawarawong W, Norasetthada L, Lekhakula A, Rujirojindakul P, Sirijerachai C, Chansung K, Suwanban T, Chuncharunee S, Niparuck P, Wongkhantee S, Mongkonsritragoon W, Numbenjapon T. - 72 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
Inferior progression-free survival for Thai patients with diffuse large B-cell lymphoma treated under Universal Coverage Scheme: the impact of rituximab inaccessability. Leukemia & lymphoma. 2013 Jan;54(1):83-9. 163. Sohn AH, Srikantiah P, Sungkanuparph S, Zhang F. Transmitted HIV drug resistance in Asia. Current Opinion in HIV and AIDS. 2013 Jan;8(1):27-33. 164. Manosuthi W, Thongyen S, Nilkamhang S, Manosuthi S, Sungkanuparph S. HIV-1 drug resistance-associated mutations among antiretroviral-naive thai patients with chronic HIV-1 infection. Journal of Medical Virology. 2013 Feb;85(2):194-9. 165. Chartsrisak K, Vipattawat K, Assanatham M, Nongnuch A, Ingsathit A, Domrongkitchaiporn S, Sumethkul V, Distha-Banchong S. Mineral metabolism and outcomes in chronic kidney disease stage 2-4 patients. BMC nephrology.2013 Jan 16;14(1):14. 166. Chitasombat M, Supparatpinyo K. Penicillium marneffei Infection in Immunocompromised Host. Current Fungal Infection Report 2013; 7: 44-50 167. Prangthip P, Surasiang R, Charoensiri R, Leardkamolkarn V, Komindr S, Yamborisut U, Vanavichit A, Kongkachuichai R. Amelioration of hyperglycemia, hyperlipidemia, oxidative stress and inflammation in steptozotocin-induced diabetic rats fed a high fat diet by riceberry supplement. Journal of Functional Foods. 2013;5(1):195-203. 168. Vachiramon V, Sobanko JF, Rattanaumpawan P, Miller CJ. Music reduces patient anxiety during mohs surgery: an open-label randomized controlled trial. Dermatologic Surgery. 2013 Feb;39(2):298-305. 169. Hermanns P, Refetoff S, Sriphrapradang C, Pohlenz J, Okamato J, Slyper L, Slyper AH. A clinically euthyroid child with a large goiter due to a thyroglobulin gene defect: clinical features and genetic studies. Journal of Pediatric Endocrinology and Metabolism. 2013;26(1-2):119-23. 170. Nguyen JV, Rutnin S, Rubin AI. Dermatopathology diagnosis. Circumscribed acral hypokeratosis. Cutis; cutaneous medicine for the practitioner. 2013 Jan;91(1):10, 19-20. 171. Namwongprom S, Rojanasthien S, Mangklabruks A, Soontrapa S, Wongboontan C, Ongphiphadhanakul B. Effect of fat mass and lean mass on bone mineral density in postmenopausal and perimenopausal Thai women. International Journal of Women's Health. 2013;5:87-92 172. Sirivarasai J, Wananukul W, Kaojarern S, Chanprasertyothin S, Thongmung N, Ratanachaiwong W, Sura T, Sritara P. Association between Inflammatory Marker, Environmental Lead Exposure, and Glutathione S-Transferase Gene. BioMed Research International.2013;2013:474963.
- 73 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
173. Junhasavasdikul D, Theerawit P, Kiatboonsri S. Association between admission delay and adverse outcome of emergency medical patients. Emergency Medicine Journal.2013 Apr;30(4):320-3. 174. Kanchana S, Kanchana S, Vijitsopa T, Thammakumpee K, Yamwong S, Sawanyawisuth K. Clinical Factors Predictive of Pneumonia Caused by Pandemic 2009 H1N1 Influenza Virus. American Journal of Tropical Medicine and Hygiene. 2013 Mar; 88(3):461-3. 175. Pratipanawatr T, Rawdaree P, Chetthakul T, Bunnag P, Ngarmukos C, Benjasuratwong Y, Leelawatana R, Kosachunhanun N, Plengvidhya N, Deerochanawong C, Suwanwalaikorn S, Krittiyawong S, Mongkolsomlit S, Komoltri C; TDR Working Group. Smoking and death in Thai diabetic patients: the Thailand Diabetic Registry cohort. Journal of the Medical Association of Thailand = Chotmaihet thangphaet.2013 Mar;96(3):280-7. 176. Warodomwichit D, Sritara C, Thakkinstian A, Chailurkit LO, Yamwong S, Ratanachaiwong W, Ongphiphadhanakul B, Sritara P. Causal inference of the effect of adiposity on bone mineral density in adults.Clinical endocrinology.2013 May;78(5):694-9. 177. Saetung S, Chailurkit LO, Ongphiphadhanakul B. Thai traditional massage increases biochemical markers of bone formation in postmenopausal women: a randomized crossover trial. BMC complementary and alternative medicine.2013 Mar 25;13:69. doi:10.1186/1472-6882-13-69. 178. Nimitphong H, Saetung S, Chanprasertyotin S, Chailurkit LO, Ongphiphadhanakul B. Changes in circulating 25-hydroxyvitamin D according to vitamin D binding protein genotypes after vitamin D3 or D2 supplementation. Nutrition Journal.2013 Apr 4;12:39. doi: 10.1186/ 1475-2891-12-39. 179. Cilloni D, Carturan S, Bracco E, Campia V, Rosso V, Torti D, Calabrese C, Gaidano V, Niparuck P, Favole A, Signorino E, Iacobucci I, Morano A, De Luca L, Musto P, Frassoni F, Saglio G. Aberrant activation of ROS1 represents a new molecular defect in chronic myelomonocytic leukemia. Leukemia Research. 2013 May;37(5):520-30. 180. Witoonpanich R, Dejthevaporn C, Pulkes T, Tunlayadechanont S, Boonkongchuen P, Pongpakdee S, Vincent A. Prevalence, clinical features and treatment outcomes of patients with myasthenia gravis positive for antibodies to muscle-specific kinase in Thailand. Journal of Clinical Neuroscience. 2013 May;20(5):707-9.
- 74 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
181. Dejthevaporn C, Papsing C, Phakdeekitcharoen B, Jaovisidha S, Phudhichareonrat S, Witoonpanich R, Pulkes T. Long-term effectiveness of acetazolamide on permanent weakness in hyperkalemic periodic paralysis. Neuromuscular Disorders.2013 May;23(5):445-9. 182. Kulkantrakorn K, Tanyakitpisal P, Towanabut S, Dejthevaporn C, Rangseekajee P, Pongpakdee S, Laptikultham S, Rodprasert K, Setthawatcharawanich S, Thinkhamrop B. Rivastigmine patch for treatment of Alzheimer's disease in clinical practice in Thailand. Psychogeriatrics. 2013 Mar;13(1):1-8. 183. Chanprapaph K, Roongpisuthipong W, Thadanipon K. Annular leukocytoclastic vasculitis associated with anti-tuberculosis medications: a case report. Journal of Medical Case Reports.2013 Jan 31;7(1):34. 184. Zhong N, Lin J, Mehta P, Ngamjanyaporn P, Wu TC, Yunus F. Real-life effectiveness of budesonide/formoterol maintenance and reliever therapy in asthma patients across Asia: SMARTASIA study. BMC pulmonary medicine.2013 Apr 4;13(1):22. doi: 10.1186/1471-2466-13-22. 185. Disayabutr S, Tscheikuna J, Tangsujaritvijit V, Nana A. Experience of percutaneous dilatational tracheostomy by using Grigg's technique in Siriraj Hospital. Journal of the Medical Association of Thailand = Chotmaihet thangphaet.2013 Feb;96 Suppl 2:S22-8. 186. Chankhamhaengdecha S, Hadpanus P, Aroonnual A, Ngamwongsatit P, Chotiprasitsakul D, Chongtrakool P, Janvilisri T. Evaluation of Multiplex PCR with Enhanced Spore Germination for Detection of Clostridium difficile from Stool Samples of the Hospitalized Patients. BioMed research international.2013;2013:875437. 187. Apiyasawat S, Sritara P, Ngarmukos T, Sriratanasathavorn C, Kasemsuwan P. Association of statin therapy with ventricular arrhythmias among patients with acute coronary syndrome. Heart Asia. 2013 Mar 11;5(1):39-41. 188. Eksombatchai D, Boonsarngsuk V, Amornputtisathaporn N, Suwatanapongched T, Kurimoto N. Tracheobronchial involvement in relapsing polychondritis diagnosed on endobronchial ultrasound. Internal Medicine.2013;52(7):801-5. 189. Suanprasert N, Yadee T, Mahasirimongkol S, Jongjaroenprasert W, Tantirithisak T. Aspirin non-responder in Thai ischemic stroke patients. Journal of the Medical Association of Thailand = Chotmaihet thangphaet.2013 May;96(5):523-30. 190. Pongchaiyakul C, Limpawattana P, Kotruchin P, Rajatanavin R. Prevalence of sarcopenia and associated factors among Thai population. Journal of Bone and Mineral Metabolism. 2013 May;31(3):346-50. - 75 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
191. Kyaw NL, Thanachartwet V, Kiertiburanakul S, Desakorn V, Chamnanchanunt S, Chierakul W, Manosuthi W, Pitisuttithum P, Sungkanuparph S. Baseline CD4 cell counts and outcomes among adult treatment naive HIV patients after taking fixed dose combination GPO-VIR-S and GPO-VIR-Z in Thailand. Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health.2013 Mar;44(2):232-43. 192. Maenthaisong R, Tacconelli S, Sritara P, Del Boccio P, Di Francesco L, Sacchetta P, Archararit N, Aryurachai K, Patrignani P, Suthisisang C. Clinical pharmacology of cyclooxygenase inhibition and pharmacodynamic interaction with aspirin by floctafenine in Thai healthy subjects. International Journal of Immunopathology and Pharmacology .2013 Apr-Jun;26(2):403-17. 193. Katekao W, Yamwong S, Nathisuwan S, Likittanasombat K. Retrospective cohort study of association of NSAIDS exposure and outcome of acute decompensated congestive heart failure. Journal of the Medical Association of Thailand = Chotmaihet thangphaet.2013 Apr;96(4):423-31. 194. Trachoo O, Assanatham M, Jinawath N, Nongnuch A. Chromosome 20p inverted duplication deletion identified in a Thai female adult with mental retardation, obesity, chronic kidney disease and characteristic facial features. European Journal of Medical Genetics.2013 Jun;56(6):319-24. 195. Soon SS, Lim HY, Lopes G, Ahn J, Hu M, Ibrahim HM, Jha A, Ko BS, Lee PW, Macdonell D, Sirachainan E, Wee HL. Roles of cancer registries in enhancing oncology drug access in the Asia-pacific region. Asian Pacific journal of cancer prevention : APJCP. 2013;14(4):2159-65. 196. Taher AT, Porter JB, Viprakasit V, Kattamis A, Chuncharunee S, Sutcharitchan P, Siritanaratkul N, Galanello R, Karakas Z, Lawniczek T, Habr D, Ros J, Zhang Y, Cappellini MD. Deferasirox demonstrates a dose-dependent reduction in liver iron concentration and consistent efficacy across subgroups of non-transfusion-dependent thalassemia patients. American journal of hematology.2013 Jun;88(6):503-6. 197. Ratanakorn D, Kongsakorn N, Keandoungchun J, Tegeler CH. Prevalence and predictors of carotid stenosis in Thai patients with ocular disorders. Journal of clinical neuroscience : official journal of the Neurosurgical Society of Australasia.2013 Jun;20(6):862-6.
- 76 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
198. Chin RC, Guenette JA, Cheng S, Raghavan N, Amornputtisathaporn N, CortésTélles A, Webb KA, O'Donnell DE. Does the respiratory system limit exercise in mild chronic obstructive pulmonary disease? American journal of respiratory and critical care medicine.2013 Jun 15;187(12):1315-23. 199. Sumethkul K, Boonyaratavej S, Kitumnuaypong T, Angthararuk S, Cheewasat P, Manadee N, Sumethkul V. The predictive factors of low serum 25-hydroxyvitamin D and vitamin D deficiency in patients with systemic lupus erythematosus. Rheumatology international.2013 Jun;33(6):1461-7. 200. Butthongkomvong K, Sirachainan E, Jhankumpha S, Kumdang S, Sukhontharot O. Treatment Outcome of Palliative Chemotherapy in Inoperable Cholangiocarcinoma in Thailand. Pacific journal of cancer prevention : APJCP.2013; 14(6): 3565-3568 201. Atichartakarn V, Chuncharunee S, Yamwong S, Yingchoncharoen T, Jongjirasiri S, Archararit N, Udomsubpayakul U. Pulmonary Artery Pressure Correlates Directly with Spleen Volume in Non-Splenectomized Hemoglobin E/β-Thalassemia Patients. Acta haematologica.2013 Jun 1;130(3):172-175. 202. Chuncharunee S, Atichartakarn V, Archararit N, Aryurachai K. Correction of coagulation and inflammation activation by chronic blood transfusion in an asplenic patient with haemoglobin E/β-thalassaemia and pulmonary arterial hypertension. Transfusion medicine (Oxford, England).2013 Aug;23(4):276-8. 203. Wadell K, Webb KA, Preston ME, Amornputtisathaporn N, Samis L, Patelli J, Guenette JA, O'Donnell DE. Impact of Pulmonary Rehabilitation on the Major Dimensions of Dyspnea in COPD. 2013 Aug;10(4):425-35 204. Boonsarngsuk V, Pongtippan A, Juthakarn S. The effect of aspiration pressure over endobronchial ultrasound-guided transbronchial needle aspiration on the diagnosis of intrathoracic lymphadenopathies. Lung. 2013 Aug;191(4):435-40. 205. Oyomopito RA, Li PC, Sungkanuparph S, Phanuphak P, Tee KK, Sirisanthana T, Kantipong P, Oka S, Lee CK, Kamarulzaman A, Choi JY, Sohn AH, Law M, Chen YM; on behalf of The TREAT Asia Studies to Evaluate Resistance (TASER) and The TREAT Asia HIV Observational Database. Evaluating Immunologic Response and Clinical Deterioration in Treatment-Naive Patients Initiating First-Line Therapies Infected With HIV-1 CRF01_AE and Subtype B. Journal of acquired immune deficiency syndromes (1999). 2013 Mar 1;62(3):293-300 - 77 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
206. Byakwaga H, Petoumenos K, Ananworanich J, Zhang F, Boyd MA, Sirisanthana T, Li PC, Lee C, Mean CV, Saphonn V, Omar SF, Pujari S, Phanuphak P, Lim PL, Kumarasamy N, Chen YM, Merati TP, Sungkanuparph S, Ditangco R, Oka S, Tau G, Zhou J, Law MG, Emery S. Predictors of Clinical Progression in HIV-1-Infected Adults Initiating Combination Antiretroviral Therapy with Advanced Disease in the Asia-Pacific Region: Results from the TREAT Asia HIV Observational Database. Journal of the International Association of Providers of AIDS Care.2013 Jul-Aug;12(4):270-7. 207. Kiertiburanakul S, Chaiwarith R, Sirivichayakul S, Ditangco R, Jiamsakul A, Li PC, Kantipong P, Lee C, Ratanasuwan W, Kamarulzaman A, Sohn AH, Sungkanuparph S; for the TREAT Asia Studies to Evaluate Resistance Surveillance and Monitoring Studies. Comparisons of Primary HIV-1 Drug Resistance between Recent and Chronic HIV-1 Infection within a Sub-Regional Cohort of Asian Patients. PLoS ONE 2013 8(6): e62057. doi:10.1371/journal.pone.0062057 208. Sungkanuparph S, Jiamsakul A, Kiertiburanakul S, Sirivichayakul S, Praparattanapan J, Kantor R; TREAT Asia Studies to Evaluate Resistance. Rilpivirine Resistance-Associated Mutations Among Antiretroviral-Naive Patients Infected With HIV-1 in Asia. Journal of acquired immune deficiency syndromes (1999). 2013 Mar 1;62(3):e98-e100. 209. Kimman M, Vathesatogkit P, Woodward M, Tai ES, Thumboo J, Yamwong S, Ratanachaiwong W, Wee HL, Sritara P. Validity of the Thai EQ-5D in an occupational population in Thailand. Quality of life research : an international journal of quality of life aspects of treatment, care and rehabilitation.2013 Aug;22(6):1499-506. 210. Lam CS, Anand I, Zhang S, Shimizu W, Narasimhan C, Park SW, Yu CM, Ngarmukos T, Omar R, Reyes EB, Siswanto B, Ling LH, Richards AM. Asian Sudden Cardiac Death in Heart Failure (ASIAN-HF) registry. European journal of heart failure.2013 Aug;15(8):928-36. 211. Hori M, Connolly SJ, Zhu J, Liu LS, Lau CP, Pais P, Xavier D, Kim SS, Omar R, Dans AL, Tan RS, Chen JH, Tanomsup S, Watanabe M, Koyanagi M, Ezekowitz MD, Reilly PA, Wallentin L, Yusuf S; the RE-LY Investigators. Dabigatran Versus Warfarin: Effects on Ischemic and Hemorrhagic Strokes and Bleeding in Asians and Non-Asians With Atrial Fibrillation. Stroke; a journal of cerebral circulation.2013 Jul;44(7):1891-1896 212. Connolly SJ, Wallentin L, Ezekowitz MD, Eikelboom J, Oldgren J, Reilly PA, Brueckmann M, Pogue J, Alings M, Amerena JV, Avezum A, Baumgartner I, Budaj AJ, Chen JH, Dans AL, Darius H, Di Pasquale G, Ferreira J, Flaker GC, Flather MD, Franzosi MG, Golitsyn SP, Halon DA, Heidbuchel H, Hohnloser SH, Huber K, Jansky P, Kamensky G, Keltai - 78 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
M, Kim SS, Lau CP, Le Heuzey JY, Lewis BS, Liu L, Nanas J, Omar R, Pais P, Pedersen KE, Piegas LS, Raev D, Smith PJ, Talajic M, Tan RS, Tanomsup S, Toivonen L, Vinereanu D, Xavier D, Zhu J, Wang SQ, Duffy CO, Themeles E, Yusuf S. The Long-Term Multicenter Observational Study of Dabigatran Treatment in Patients With Atrial Fibrillation (RELYABLE) Study. Circulation. 2013 Jul 16;128(3):237-43. 213. Nawathe A, Ariyarajah V, Apiyasawat S, Barac I, Spodick DH. Correlation of echocardiographic left atrial abnormality with myocardial ischemia during myocardial perfusion assessment in the presence of known left ventricular hypertrophy. The American journal of cardiology.2013 Aug 1;112(3):416-9. 214. Simone B, De Stefano V, Leoncini E, Zacho J, Martinelli I, Emmerich J, Rossi E, Folsom AR, Almawi WY, Scarabin PY, den Heijer M, Cushman M, Penco S, Vaya A, Angchaisuksiri P, Okumus G, Gemmati D, Cima S, Akar N, Oguzulgen KI, Ducros V, Lichy C, Fernandez-Miranda C, Szczeklik A, Nieto JA, Torres JD, Le Cam-Duchez V, Ivanov P, CantuBrito C, Shmeleva VM, Stegnar M, Ogunyemi D, Eid SS, Nicolotti N, De Feo E, Ricciardi W, Boccia S. Risk of venous thromboembolism associated with single and combined effects of Factor V Leiden, Prothrombin 20210A and Methylenetethraydrofolate reductase C677T: a meta-analysis involving over 11,000 cases and 21,000 controls. European journal of epidemiology.2013 Aug;28(8):621-47 215. Suthipinittharm P, Noppakun N, Kulthanan K, Jiamton S, Rajatanavin N, Aunhachoke K, Sindhavanonda J, Akraphan R, Manapajon A. Opinions and perceptions on acne: a community-based questionnaire study in Thai students. Journal of the Medical Association of Thailand = Chotmaihet thangphaet.2013 Aug;96(8):952-9 216. Vachiramon V. A concise approach to childhood hypopigmentation. Journal of cutaneous and aesthetic surgery. 2013 Apr;6(2):73-4. 217. Boonpiyathad S, Pornsuriyasak P, Buranapraditkun S, Klaewsongkram J. Interleukin-2 levels in exhaled breath condensates, asthma severity, and asthma control in nonallergic asthma. Allergy and asthma proceedings : the official journal of regional and state allergy societie.2013 Sep;34(5):35-41. 218. Obiagwu C, Ariyarajah V, Apiyasawat S, Spodick DH. Correlation of echocardiographic left atrial abnormality with myocardial ischemia during myocardial perfusion assessment in patients with left bundle branch block. The American journal of cardiology.2013 Sep1;112 (5):660-3. - 79 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
219. Ruangkanchanasetr P, Mahanonda N, Raungratanaamporn O, Ruckpanich P, Kitiyakara C, Chaiprasert A, Adirekkiat S, Punpanich D, Vanavanan S, Chittamma A, Supaporn T. Effect of enhanced external counterpulsation treatment on renal function in cardiac patients. BMC nephrology.2013 Sep11;14(1):193. 220. Sensorn I, Sirachainan E, Chamnanphon M, Pasomsub E, Trachu N, Supavilai P, Sukasem C, Pinthong D. Association of CYP3A4/5, ABCB1 and ABCC2 polymorphisms and clinical outcomes of Thai breast cancer patients treated with tamoxifen. Pharmacogenomics and personalized medicine.2013 Aug 26;6:93-8. 221. Pulkes T. Adult-onset spinocerebellar ataxia due to MTATP6 mutations: are they more common than previously thought? Journal of neurology, neurosurgery, and psychiatry.2012 Sep;83(9):857-8. 222. Apiwattanakul M, Asawavichienjinda T, Pulkes T, Tantirittisak T, Hemachudha T, Horta ES, Jenkins SM, Pittock SJ. Diagnostic utility of NMO/AQP4-IgG in evaluating CNS inflammatory disease in Thai patients. Journal of the neurological sciences.2012 Sep 15;320(1-2):118-20. 223. Mok CC, Yap DY, Navarra SV, Liu ZH, Zhao MH, Lu L, Takeuchi T, Avihingsanon Y, Yu XQ, Lapid EA, Lugue-Lizardo LR, Sumethkul V, Shen N, Chen SL, Chan TM; Asian Lupus Nephritis Network (ALNN). Overview of Lupus Nephritis Management Guidelines and Perspective from Asia. Nephrology (Carlton, Vic.). 2014 Jan;19(1):11-20. doi: 10.1111/nep.12136. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน 224. Trakulsrichai S., Boonsri C., Chatchaipun P., Chunharas A. Accuracy of three methods used for Thai children's body weight estimation. Journal of the Medical Association of Thailand. 2012;95(9):1194-9. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย 225. รศ.ดร.สุมาลี ดีจงกิจ ปัญหาการสื่อความหมายของเด็กสมองใหญ่พิการ วารสารวิจัยและ พัฒนาการศึกษาพิเศษ 2013;2(1):22-28. กลุ่มสาชาวิชาระบาดวิทยาและชีวสถิติ 226. Kongtharvonskul J., Attia J., Thamakaison S., Kijkunasathian C., Woratanarat P., Thakkinstian A. Clinical outcomes of double- vs single-bundle anterior cruciate ligament reconstruction: A systematic review of randomized control trials. Scandinavian Journal of Medicine and Science in Sports. 2013;23(1):1-14.
- 80 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
227. Rattanasiri S., McDaniel D.O., McEvoy M., Anothaisintawee T., Sobhonslidsuk A., Attia J., Thakkinstian A. The association between cytokine gene polymorphisms and graft rejection in liver transplantation: A systematic review and meta-analysis. Transplant Immunology. 2013;28(1):62-70. 228. Vejakama P., Thakkinstian A., Ingsathit A., Dhanakijcharoen P., Attia J. Prognostic factors of all-cause mortalities in continuous ambulatory peritoneal dialysis: A cohort study. BMC Nephrology. 2013 Jan 31;14:28. 229. Ingsathit A., Kamanamool N., Thakkinstian A., Sumethkul V. Survival advantage of kidney transplantation over dialysis in patients with hepatitis C: A systematic review and meta-analysis. Transplantation. 2013;95(7):943-8. 230. Ingsathit A., Kantachuvesiri S., Rattanasiri S., Avihingsanon Y., Premasathian N., Pongskul C., Jittikanont S., Lumpaopong A., Sumethkul V. Long-term outcome of kidney retransplantation in comparison with first kidney transplantation: A report from the Thai transplantation registry. Transplantation Proceedings. 2013;45(4):1427-30. 231. Numthavaj P., Tanjararak K., Roongpuvapaht B., Mcevoy M., Attia J., Thakkinstian A. Efficacy of mitomycin C for postoperative endoscopic sinus surgery: A systematic review and meta-analysis. Clinical Otolaryngology. 2013;38(3):198-207. 232. Thakkinstian A., McKay G.J., Silvestri J., Chakravarthy U., Attia J. Five authors reply. American Journal of Epidemiology. 2013;177(9):1024-5. 233. Yongcharoen S., Rattanasiri S., McDaniel D.O., McEvoy M., Viwatwongkaseam C., Rojanavipart P., Thakkinstian A. Meta-analysis of cytokine gene polymorphisms and outcome of heart transplantation. BioMed Research International. 2013:387184. 234. Thakkinstian A, Nickel JC. Efficacy of intravesical chondroitin sulphate in treatment of interstitial cystitis/bladder pain syndrome (IC/BPS): Individual patient data (IPD) metaanalytical approach. Canadian Urological Association journal. 2013;7(5-6):195-200. 235. Thakkinstian A, Attia J, Anothaisintawee T, Nickel JC. Alpha-blockers, antibiotics and anti-inflammatories have a role in the management of chronic prostatitis/chronic pelvic pain syndrome. BJU Int. 2012;110(7):1014-22. 236. Sukrat B, Wilasrusmee C, Siribumrungwong B, McEvoy M, Okascharoen C, Attia J, Thakkinstian A. Hemoglobin concentration and pregnancy outcomes: A systematic review and meta-analysis. BioMed Research International. 2013;2013:769057.
- 81 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
สานักงานวิจัย วิชาการและนวัตกรรม 237. Muanprasat C., Wongborisuth C., Pathomthongtaweechai N., Satitsri S., Hongeng S. Protection against oxidative stress in Beta thalassemia/hemoglobin E erythrocytes by inhibitors of glutathione efflux transporters. PLoS ONE. 2013;8(1):1-6. 238. Manuyakorn W., Siripool K., Kamchaisatian W., Pakakasama S., Visudtibhan A., Vilaiyuk S., Rujirawat T., Benjaponpitak S. Phenobarbital-induced severe cutaneous adverse drug reactions are associated with CYP2C19*2 in Thai children. Pediatric Allergy and Immunology. 2013;24(3):299-303.
2.3 ด้านบริการวิชาการ 2.3.1 บริการวิชาการ คณะกรรมการบริหารการบริการวิชาการ ได้กาหนดนโยบายและแผนงานด้านบริการวิชาการ โดย มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมและผลักดันให้คณะฯ เป็นผู้นาทางวิชาการ โดยการเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้า ทางวิชาการและเทคโนโลยีที่ ทั น สมั ยให้ แก่ บุ คลากรทางการแพทย์ในระบบสาธารณสุขทั้ งภายในและ ภายนอกคณะฯ รวมทั้งการสนับสนุนกิจกรรมในการสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการให้แก่บุคลากรของ คณะฯ เพื่อส่งผลในการพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศให้มีคุณภาพและมาตรฐานในการให้การรักษา และดูแลผู้ป่วยได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ โดยมีจุดประสงค์หลักในการบริหารจัดการองค์ความรู้ด้าน สุขภาพเพื่อชี้นาการสร้างสุขภาวะของสังคม ดังนี้ 1. โครงการบริหารจัดการและเผยแพร่องค์ความรู้เพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านการแพทย์และ สาธารณสุขระดับประเทศและนานาชาติ เป็นโครงการแผนยุทธศาสตร์ระดับคณะฯ ปีงบประมาณ 2556 - 2560 ซึ่ งสอดคล้ อ งกั บ เป้ าประสงค์ เชิ งยุ ท ธศาสตร์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลด้ าน Health care and service excellence โดยการเผยแพร่องค์ความรู้ได้ดาเนินการในลักษณะของประชุมวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ เพื่อ ตอบสนองความต้องการทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ ดังนี้ ปีงบประมาณ 2556 2555 2554
วิชาการ ภาควิชา วิชาการ ภาควิชา วิชาการ ภาควิชา
ระดับคณะฯ 9 9 2
การจัดประชุม/อบรมทางวิชาการ (เรื่อง) ระดับ ระดับชาติ รวม นานาชาติ 36 87 40 2 27 1 84 40 7 51 1 111 56 1 - 82 -
เป้าหมาย KPI คณะฯ 70 67 92
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
คณะฯ กาหนดเป้าหมาย KPI ด้านบริการวิชาการในหัวข้อการจัดประชุม/อบรมทางวิชาการระดับชาติ 70 ครั้ง โดยมีกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนระดับ 1 – 5 ซึ่งในปี งบประมาณ 2556 จัดประชุมวิชาการ จานวน 87 ครั้ง ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่กาหนดและอยู่ในเกณฑ์การให้คะแนนระดับ 5 การจัด ประชุ ม /อบรมทางวิชาการในปี งบประมาณ 2556 มี ผู้เข้าร่วมประชุม /อบรมทางวิชาการ 11,457 คน แบ่งเป็นชาวไทย 11,407 คน และชาวต่างประเทศ 50 คน โดยมีรายรับ 100 ล้านบาท การประเมินความพึงพอใจในการจัดประชุม/อบรมทางวิชาการ 87 โครงการ ผู้เข้าร่วมประชุม 11,457 คน มีผู้ตอบแบบสอบถาม 9,968 ราย คิดเป็นร้อยละ 87 จากผู้เข้าร่วมประชุม/อบรมทางวิชาการทั้งหมด ผล การประเมินในภาพรวมพบว่า ร้อยละ 98.5 มีความเห็นว่าเนื้อหาหลักสูตรตรงกับวัตถุประสงค์ของการ อบรม และวิทยากรมีความรู้ความชานาญในเนื้อหาของหลักสูตรในระดับมากถึงมากที่สุด ร้อยละ 95.5 เห็นว่า ได้รับความเอาใจใส่และอานวยความสะดวกจากเจ้าหน้าที่ประสานงานการอบรมในระดับมากถึงมากที่สุด และร้อยละ 90.5 มีความเห็นว่าเอกสารประกอบการอบรมมีความชัดเจนเข้าใจง่ายและเป็นประโยชน์ใน ระดับที่มากถึงมากที่สุด และร้อยละ 95.5 มีความประสงค์จะเข้าร่วมการประชุม/อบรมทางวิชาการที่ คณะฯ จัดขึ้นอีก การประกันคุณภาพการศึกษาของสานักงานการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้กาหนดให้สถาบันอุดมศึกษา ของรัฐนาผลการสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ซึ่งจะอยู่ในรูปของ “ร้อยละความพึงพอใจ” มา คานวณในภาพรวม โดยความพึ งพอใจในการจัดประชุม/อบรมทางวิชาการในภาพรวมของคณะฯ อยู่ ระหว่าง 90.5 – 98.5 คิดค่าคะแนนตามเกณฑ์ สกอ. ได้คะแนนระดับ 3 2. พัฒนาระบบการลงทะเบียนออนไลน์ ปัจจัยสาคัญในการจัดประชุม/อบรมทางวิชาการ คือ ระบบ การลงทะเบียนที่ดีสามารถแสดงให้เห็นถึงสมรรถนะในการบริหารจัดการงานประชุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้มีการพัฒนาปรับปรุงและคิดค้นระบบการลงทะเบียนที่เหมาะสมกับคณะฯ มาอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน ได้ใช้ระบบลงทะเบียนออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ โดยสามารถแยกประเภทของผู้ลงทะเบียน กาหนดอัตรา ค่าลงทะเบี ยนในแต่ล ะประเภท จัดพิ มพ์ ป้ ายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม รายงานผลในรูป แบบ Excel โดย สามารถแสดงรายการลงทะเบียนในแต่ละวันของแต่ละเรื่อง พร้อมบอกสถานะการลงทะเบียนว่าชาระ ค่าลงทะเบียนแล้วหรือไม่ สามารถกาหนดจานวนผู้เข้าร่วมประชุม และแสดงจานวนคงเหลือที่รับได้ของ การประชุม/อบรมนั้นๆ ซึ่งผู้เข้าร่วมประชุมสามารถตรวจสอบได้ในระบบว่าสามารถลงทะเบียนเข้าร่ วม ประชุมในเรื่องนั้นๆ อีกได้หรือไม่ ระบบการลงทะเบียนนี้ ผู้ที่ลงทะเบียนสามารถพิมพ์ใบชาระเงินค่าลงทะเบียน (Pay – In) เพื่อไปชาระ ค่าลงทะเบียนที่เคาน์เตอร์ธนาคาร ซึ่งในส่วนนี้ธนาคารจะเป็นผู้สรุปรายชื่อผู้ลงทะเบียนและแจ้งให้ฝ่ายการคลัง และงานบริการวิชาการได้รบั ทราบตรงกัน ทาให้สะดวกต่อการนาส่งเงินค่าลงทะเบียนเข้าบัญชีรายได้คณะฯ และยังประหยัดเวลาในการจัดทาเอกสารและหลักฐานประกอบการนาส่งเงินค่าลงทะเบียนอีกด้วย ผู้ลง ทะเบียนเข้าร่วมประชุมสามารถตรวจสอบสถานการณ์ลงทะเบียนได้ที่ http://academic.ra.mahidol.ac.th
- 83 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
คณะฯ ได้มีการจัดประชุมวิชาการประจาปีขึ้นทุกปี โดยกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่จะเป็นบุคลากรภายใน คณะฯ จึงได้ทาการพัฒ นาและผลิตเครื่องมือเพื่ อใช้ร่วมกับระบบการลงทะเบียน (Panya registration system) เป็นนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ของงานบริการวิชาการ เพื่อพัฒนาระบบการลงทะเบียนหน้างานของ บุคลากรภายในคณะฯ โดยออกแบบและสร้างเครื่องอ่านรหัส RFID (Smart card) และเขียนโปรแกรมให้ เกิดความเชื่อมโยงกับระบบลงทะเบียนบุคลากรภายใน กับข้อมูลบัตรประจาตัวบุคลากร ซึ่งจะช่วยอานวย ความสะดวกในการลงทะเบียน พร้ อมทั้งช่วยลดต้นทุนในการจัดทาป้ายชื่อผู้เข้าร่วมประชุมโดยผู้เข้าร่วม ประชุมนาบัตรประจาตัวบุคลากรมาใช้ในการลงทะเบียนได้เลย อีกทั้งเครื่องดังกล่าวมีต้นทุนที่ต่ากว่าราคา ตลาดมาก แต่มีประสิทธิภาพในการใช้งานเทียบเท่ากับเครื่อง Scan บัตรบันทึกเวลาปฏิบัติงานของคณะฯ โดยได้ดาเนินการแจ้งจดทรัพย์สินทางปัญญาไปยังมหาวิทยาลัยมหิดล ตามหนังสืองานบริการวิชาการ ที่ 951/2556 เมื่อ 12 กันยายน 2556และให้ข้อมูลข่าวสารได้เผยแพร่ไปสู่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและ ครบถ้วนสมบูรณ์ การใช้ระบบสารสนเทศจึงเป็นช่องทางสาคัญ การสื่อสารประชาสัม พันธ์โดยได้จัดทา Website และทาเนียบ E-mail ของผู้เข้าร่วมประชุม/อบรมในแต่ละสาขาวิชาเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ หัวข้อการประชุม/อบรมทางวิชาการ
- 84 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
3. โครงการตารารามาธิบดี ได้มีการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการในการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดความ ชัดเจน โปร่งใสในการปฏิ บั ติ งาน โดยคณะฯ ได้ยกเลิ กระเบี ยบ/ประกาศเดิ ม และถือใช้ประกาศคณะฯ ที่ เกี่ยวข้องกับโครงการตารารามาธิบดีฉบับใหม่ 4 ฉบับ ดังนี้ ประกาศคณะฯ เรื่องการบริหารจัดการและการดาเนินงานของโครงการตารารามาธิบดี พ.ศ. 2555 ประกาศคณะฯ เรื่องหลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเสนอขอรับทุนโครงการตารารามาธิบดี พ.ศ. 2555 ประกาศคณะฯ เรื่อ งหลั กเกณฑ์ แ ละอัต ราการจ่ายเงิน ค่าเบี้ ย ประชุม และค่ าตอบแทนให้ แ ก่ ผู้ปฏิบัติงานในโครงการตารารามาธิบดี พ.ศ. 2555 คาสั่งคณะฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการโครงการตารารามาธิบดี คณะกรรมการโครงการตารารามาธิบดี มีมติอนุมัติทุนสนับสนุนการเขียน ดังนี้ 1. ทุนสนับสนุนการเขียนตารา/หนังสือทางวิชาการ 5 ทุน ดังนี้ เรื่อง การทาหน้าที่ผิดปกติของเซลล์บุผิว ในหลอดเลือดในโรคธาลัสซีเมีย การพยาบาลปริศัลยกรรม การพยาบาลสุขภาพที่บ้าน การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ผู้เขียน รศ.พรรณี บุตรเทพ
สังกัด ภาควิชาพยาธิวิทยา
ผศ.ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล นางสุลักษณ์ วงศ์ธีรภัค รศ.ไสว นรสาร นพ.ธีระศักดิ์ แก้วอมตวงศ์
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ฝ่ายการพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ภาควิชาอายุรศาสตร์
2. ทุนสนับสนุนการเขียนหนังสือความรู้สุขภาพเพื่อประชาชน 3 ทุน ดังนี้ เรื่อง ผู้เขียน สังกัด ไส้เลื่อน ศ.จุมพล วิลาศรัศมี ภาควิชาศัลยศาสตร์ โรคย้าคิดย้าทา พญ.ธนิตา หิรัญเทพ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ มะเร็งเต้านม รศ.ชลทิพย์ วิรัตกพันธ์ ภาควิชารังสีวิทยา มีผลงานที่สาเร็จและดาเนินการเข้าสู่กระบวนการผลิตและจัดจาหน่าย ดังนี้ 1. ตารา/หนังสือทางวิชาการ 3 เล่ม ตารา/หนังสือทางวิชาการ ผู้เขียน สังกัด กฎหมายสาหรับพยาบาล ผศ.แสงทอง ธีระทองคา โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี การผ่าตัดแบบมีความรุนแรงน้อยใน รศ.สมพล เพิม่ พงศ์โกศล ภาควิชาศัลยศาสตร์ ศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะ เล่ม 1 และ 2
- 85 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
การจัดจาหน่ายตารา/หนังสือทางวิชาการ และหนังสือความรู้สุขภาพเพื่อประชาชน จานวน 4,441 เล่ม เป็นเงิน 573,792 บาท 2. หนังสือความรู้สุขภาพเพื่อประชาชน 7 เล่ม หนังสือความรู้สุขภาพเพื่อ ผู้เขียน ประชาชน โรคหลอดเลือดดา ศ.จุมพล วิลาศรัศมี แผลเบาหวาน ศ.จุมพล วิลาศรัศมี กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ : ปัญหาที่ไม่ควรละเลย ศ.วชิร คชการ เลือดออกในสมอง นพ.สรยุทธ ชานาญเวช โรคภูมิแพ้ในเด็ก : สาเหตุและการป้องกัน รศ.สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์ การเตรียมตัวก่อนการดมยาสลบ ศ.ศิริวรรณ จิรสิริธรรม มารู้จักโรคเอสแอลอีกันเถอะ พญ.พรทิพย์ งามจรรยาภรณ์
สังกัด ภาควิชาศัลยศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์
2.3.2 ศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการศึกษาด้วยตัวเองตลอดเวลาที่ประกอบวิชาชีพเวช กรรม เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและทักษะวิชาชีพ ทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการแพทย์แขนงต่างๆ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนี้ 1. ให้การรับรองหน่วยคะแนนของแพทย์ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง 35 กิจกรรม และออกใบประกาศนียบัตรรับรองการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องของแพทย์ 517 ฉบับ 2. ศูนย์จาหน่ายสื่อการศึกษาทางการแพทย์ จัดจาหน่ายหนังสือ ตาราทางการแพทย์ สื่อวีดิ ทัศน์ทางการแพทย์ รวมถึงสื่อการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบต่างๆ ที่เป็นผลงานของบุคลากรคณะฯ การจั ด จ าหน่ า ยสื่ อ ฯ ด าเนิ น การในเชิ งรุก ครบวงจร ประกอบด้ ว ยการจั ด กิ จ กรรม Road show เช่ น กิจกรรมการบรรยายความรู้สู่ประชาชน จัดโดยงานการพยาบาลป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ 6 เดือน ต่อ 1 ครั้ง การประชุม วิชาการประจาปี 2556 ณ อาคารสมเด็จพระเทพรัตน์ เดือนละ 1 ครั้ง การจัด จ าห น่ าย สื่ อ ฯ ผ่ าน ระบ บ เค รื อ ข่ ายอิ น เท อ ร์ เ น็ ต ภ าย ใน เว็ บ ไซ ต์ ศู น ย์ ก ารศึ ก ษ าต่ อ เนื่ อ ง http://ramacme.ra.mahidol.ac.th และเว็บไซต์เพื่อประชาชน http://ramaclinic.ra.mahidol.ac.th เพื่ออานวยความสะดวกต่อบุคลากรทางการแพทย์ ประชาชน และผู้สนใจในการสั่งซื้อ ยอดรวมของการจัด จาหน่ายสื่อฯ 111,138 บาท
- 86 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.3.2.1 การจัดจาหน่ายสื่อทางการแพทย์ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 (เรื่อง)
1,586
1,600
2554
1,400 1,200 1,000 800
2555
1,043 734
2556
836 571
600
390
400 200 0
หนังสือ
สื่อวีดิทัศน์
ตารางที่ 2.3.2.1 รายได้จากการจัดจาหน่ายหนังสือและตารา/สื่อวีดิทัศน์ทางการแพทย์ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ปีงบประมาณ 2554 2555 2556
หนังสือและตาราทางการแพทย์ (บาท) 83,251 69,465 25,868
สื่อวีดิทัศน์ (บาท) 207,766 58,470 85,270
ด้ านการประชาสั ม พั น ธ์ แ ละส่ งเสริ ม การตลาด จั ด ท าโครงการสมาชิ ก สั ม พั น ธ์ (การส่ ง ข่ าวสาร ผลิตภั ณฑ์ ) ศู นย์ จาหน่ ายสื่ อการศึ กษาทางการแพทย์ ด าเนิ นการประชาสั มพั นธ์ผ่ านสื่ อวิทยุ (สถานี วิทยุ คลื่น FM96.5 MHz. คลื่นความคิด) ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 56 เว็บไซต์ ได้แก่ เว็บไซต์หน่วยงานทางการแพทย์ เว็บไซต์สมาคมการแพทย์ไทย ชมรมการแพทย์ไทย และราชวิทยาลัยแพทย์ และ www.facebook.com ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ จานวน 1 สื่อ ได้แก่ จุลสารข่าวศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง (จัดส่งไปยังโรงพยาบาลทั่วประเทศ 830 แห่ง โรงเรียนมัธยมประจาจังหวัด/อาเภอทั่วประเทศ 854 แห่ง กรมราชทัณฑ์ 68 แห่ง สมาชิกภาค ประชาชน 450 คน และดาเนินการประชาสัมพันธ์ไปยังห้องสมุดประจาจังหวัด/อาเภอทั่วประเทศ 762 แห่ง ) ผ่านการจัดแสดงและออกบูทภายในคณะฯ 13 ครั้ง การติดตามและประเมินผลความพึงพอใจต่อคุณภาพสินค้า ซึ่งผลการประเมินอยู่ในระดับดี ทั้ งนี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการที่ครบทุกมิติ จัดทาแบบประเมินความพึงพอใจต่อพนักงานขายและการ บริการในภาพรวม คะแนนความพึงพอใจอยู่ระดับ 4.29 อยู่ในระดับดี
- 87 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
3. ผลิตและพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ 42 เรื่อง ได้แก่ การถ่ายทอดและบันทึกเทปวีดิทัศน์การประชุม วิชาการประจาปี 2556 กิจกรรมการบรรยายความรู้สู่ประชาชน จัดโดยงานการพยาบาลป้องกันโรคและ ส่งเสริมสุขภาพ ผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อออกอากาศในรายการ IP-TV (www.mahidol.ac.th) เป็นต้น แผนภูมิที่ 2.3.2.2 ความพึงพอใจในการใช้สื่อวีดิทศั น์ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ระดับความพึงพอใจ 5.00 4.06
4.30
4.55
2554 2555 2556
4.00 3.00 2.00 1.00 0.00 2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
4. ผลิตจุลสารข่าวศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง เผยแพร่ทุก 3 เดือน ฉบับที่ 32 (ต.ค. - ธ.ค. 55) ฉบับที่ 33 (ม.ค. - มี.ค. 56) ฉบับ ที่ 34 (เม.ย. - มิ.ย. 56) และฉบับที่ 35 (ก.ค. - ก.ย. 56) การจัดท า หนังสือพ๊อกเก็ตบุ๊คเพื่อสุขภาพสาหรับประชาชน เรื่องรู้รอบโรคกับรามาคลินิกดอทคอม เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารทางด้านสุขภาพแก่ ประชาชนทั้งภายในและภายนอกคณะฯ ให้ได้รับความสะดวก รวดเร็ว และ สามารถเข้าถึงประชาชนได้ง่ายที่สุด โดยจัดจาหน่ายและเผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชนและผู้มาใช้บริการตาม หน่วยตรวจโรค ภาควิชาฯ ห้องพักผู้ป่วย จุดประชาสัมพันธ์ ศูนย์เสริมพลังสร้างสุขสุขภาพ ห้องสมุดคณะฯ รวมถึงสมาชิกลูกค้าสัมพันธ์ หน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาลประจาจังหวัด/ อาเภอทั่วประเทศ โรงเรียน มัธยมศึกษาประจาจังหวัด/อาเภอทั่วประเทศ กรมราชทัณฑ์ และขยายไปยังห้องสมุดประจาจังหวัด/อาเภอ ทั่วประเทศ พร้อมทั้ งติดตามและประเมินผลเพื่อปรับปรุงคุณ ภาพให้สอดคล้องตามความต้ องการของ ผู้รับบริการมากที่สุด
- 88 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.3.2.3 ความพึงพอใจจุลสารข่าวฯ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ระดับความพึงพอใจ 5.00
4.30
4.34
4.32
4.00
2554 2555
3.00
2556
2.00 1.00 0.00 2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
5. ผลิตสื่อสารสนเทศ การผลิตเว็บไซต์ และการประชุมระบบ Teleconference มีเว็บไซต์ 3 เว็บไซต์ ได้แก่
http://ramaclinic.ra.mahidol.ac.th
http://ramaclinic.ra.mahidol.ac.th/rmcl/
http://ramacme.ra.mahidol.ac.th
เว็บไซต์เพื่อประชาชน http://ramaclinic.ra.mahidol.ac.th สถิติจานวนผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ (ข้อมูลจากศูนย์วิจัยอินเทอร์เน็ตไทย truehits.net) ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จานวน Page preview 843,136 ครั้ง 655,791 และ 641,928 ครั้ง ตามลาดับ ในปีงบประมาณ 2556 เว็บไซต์มีการเพิ่มเนื้อหา สาระน่ารู้เรื่องสุขภาพใหม่ๆ รวมทั้งลงบทความ (เนื้อหาในการจัดบรรยายความรู้สู่ประชาชน) เพื่อให้ความรู้ กับผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์มากขึ้น จัดทาข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงานที่ให้บริการและประเภทของการบริการ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ ข้อมูลที่ควรทราบในการมารับการรักษาพยาบาลเบื้องต้น รวมไปถึงตารางแพทย์ ออกตรวจตามหน่วยตรวจต่างๆ เพื่อเป็นการให้ข้อมูลที่ถูกต้องกับผู้เข้ามาใช้งานเว็บไซต์
- 89 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
เว็บไซต์สาหรับผู้มีปัญหาทางสายตา http://ramaclinic.ra.mahidol.ac.th/rmcl/ สถิติจานวนผู้ เข้าชมเว็บไซต์ (ข้อมูลจากศูนย์วิจัยอินเทอร์เน็ตไทย truehits.net) ปีงบประมาณ 2555 – 2556 จานวน Page preview 3,577 ครั้ง และ 13,386 ครั้ง ในปีงบประมาณ 2556 เว็บไซต์ได้รับการปรับปรุงเพิ่มเติม ตามความต้องการของผู้ใช้งาน มีการเพิ่มฟังก์ชั่นในเรื่องของการสมัครเป็นสมาชิกเพื่อเข้าสู่ระบบ สาหรับ เข้าใช้งานในส่วนของการถามตอบปัญหาสุขภาพ มีการจัดทาหมวดหมู่ของกระดานถามตอบปัญหาสุขภาพ เพื่อความสะดวกและใช้งานที่ง่ายขึ้น รวมไปถึงการเพิ่มเนื้อหาสาระน่ารู้เรื่องสุขภาพใหม่ๆ มากขึ้น จัดทา ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงานที่ให้บริการและประเภทของการบริการ หมายเลขโทรศัพท์ ติดต่อ ข้อมูลที่ควร ทราบในการมารับการรักษาพยาบาลเบื้องต้น เพื่อเป็นการให้ข้อมูลที่ถูกต้องกับผู้เข้ามาใช้งานเว็บไซต์ เว็บไซต์ศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง http://ramacme.ra.mahidol.ac.th สถิติจานวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ (ข้อมูลจากศูนย์วิจัยอินเทอร์เน็ตไทยtruehits.net) ปีงบประมาณ 2554 – 2556 จานวน Page preview 70,531 ครั้ง 50,126 ครั้ง และ 47,174 ครั้ง ตามลาดับ ในปีงบประมาณ 2556 เว็บไซต์มีการจัดทาข้อมูล เกี่ยวกับการจัดอบรมและการจัดประชุมต่างๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องทางการแพทย์ รวมไปถึงการให้ข้อมูล ข่าวสารในเรื่องระเบียบและกฎเกณฑ์เพิ่มเติมใน การเก็บหน่วยคะแนนการศึกษาต่อเนื่อง ให้บริการข้อมูล ทางการแพทย์ บทความที่น่าสนใจ เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกกับผู้เข้ามาใช้งานเว็บไซต์ ผลการประเมินความพึงพอใจการใช้งานเว็บไซต์ มีการจัดทาสถิติเพื่อวัดผลการประเมินความพึงพอใจ จากผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์โดยให้ทาแบบสอบถามความพึงพอใจจากหน้าเว็บไซต์ ปีงบประมาณ 2254 – 2556 ความพึงพอใจอยู่ที่ระดับ 3.4, 3.71 และ 3.13 ตามลาดับ จานวนการถามตอบปัญหาสุขภาพกับรามาคลินิก http://ramaclinic.ra.mahidol.ac.th/board ปี 2554 - 2556 มีกระทู้คาถามจานวน 270, 489 และ 383 คาถาม ตามลาดับ จานวนสมาชิกเว็บบอร์ด http://ramaclinic.ra.mahidol.ac.th/board ปี 2554 - 2556 จานวนสมาชิก 403, 673 และ 583 คน ตามลาดับ เนื่องจากคณะฯ มีนโยบายการปรับปรุงเว็บไซต์ส่วนกลางของคณะฯ และต้องการให้ทุกเว็บไซต์ที่ อยู่ภายใต้มีการดาเนินงานของการพั ฒนาเว็บไซต์ที่เป็นไปในรูปแบบและทิศทางเดียวกัน ดังนั้นการจัดทา เว็บไซต์ในช่วงเวลาปัจจุบันจึงอาจมีการพัฒนาที่ช้าลง แต่ยังคงมีการลงเนื้อหาที่สาคัญอยู่ตลอดเช่นเดิม 6. การประชุ ม ระบบ Teleconference การจั ด การประชุ ม ทางไกลและพั ฒ นาระบบการส่ ง สัญญาณภาพและเสียงผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปควบคู่กัน โดยให้บริการกับภาควิชาต่างๆ ภายใน คณะฯ 12 ภาควิช า และหน่ วยงานภายในคณะฯ 8 หน่ วยงาน การเปิ ด ระบบเครือ ข่ ายเพื่ อ เชื่ อ มต่ อ สัญ ญาณการจัดการประชุ มทางไกลกับสถาบั นที่ผลิตบุคลากรทางการแพทย์ต่างๆ 9 สถาบัน ได้แก่ คณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิท ยาลั ย ศรีน คริน ทรวิโรฒ วิท ยาเขตองครัก ษ์ คณะแพทยศาสตร์ม หาวิท ยาลั ย สงขลานคริน ทร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา รวมไปถึงโรงพยาบาลเครือข่าย ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด 28 แห่ง การประชาสัมพันธ์ แผนการดาเนินงาน รูปแบบ และวิธีการ ดาเนินงานไปตาม ภาควิชา/หน่วยงาน โดยใช้กิจกรรม Road show 6 ภาควิชา ได้แก่ วิสัญญีวิทยา รังสี วิทยา จิตเวชศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ พยาธิวิทยา และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
- 90 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
สถิ ติ ระบบการจัด กิ จกรรมการประชุ ม ทางไกล Teleconference ดั งนี้ ระบบ IP 84 ครั้ง ระบบ IPTV 2 ครั้ง ระบบ CCTV 1 ครั้ง ระบบ DVTS 7 ครั้ง การประเมินความพึงพอใจการจัดประชุมทางไกล Teleconference ปีงบประมาณ 2554 – 2556 จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม 94 94 และ 142 คน ตามลาดับ ส่วนความพึงพอใจอยู่ที่ระดับ 3 ทั้ง 3 ปีงบประมาณ 7. ผลงานที่ภาคภูมิใจ ส่งเสริมบุคลากรให้เข้าร่วมการประกวดผลงานทั้งภายในและภายนอก คณะฯ ซึ่งเป็นสิ่งหนึ่งทีส่ ร้างความภาคภูมใิ จและเป็นการรับรองว่าบุคลากรของคณะฯ ผลิตผลงานทีม่ ีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ โดยผลงานทีไ่ ด้ส่งเข้าประกวด และรับรางวัลประจาปี 2556 ได้แก่ - การนาเสนอผลงานคุณ ภาพ/นวัตกรรมการพัฒ นาคุณ ภาพโรงพยาบาลหัวข้อเรื่อง พัฒนาเว็บไซต์เพื่อผู้พิการทางสายตาและผู้ที่มีปัญหาบกพร่องทางการมองเห็น ในงานมหกรรมคุณภาพถนน ราชวิ ถี ครั้ ง ที่ 2 “เพิ่ ม พลั ง ให้ อ งค์ ก รผ่ า นเครื อ ข่ า ยคุ ณ ภาพ” (Maximizing healthcare resource through networking)
- การนาเสนอโปสเตอร์บุคคลต้นแบบสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเอง บุคคลผู้ลดน้าหนักตัว ด้วยการเลือกออกกาลังกาย คัดเลือกผลงานโดยงานสร้างเสริมสุขภาพ ในงานมหกรรมคุณภาพ (Quality conference) ครั้งที่ 20 “เริ่มให้ถูก สู่สิ่งที่ดีกว่า” (Right first time : Better life, Better care)
- 91 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
- การเข้าร่วมประกวด Poster presentation ในการสัมมนาวิชาการประจาปี ครั้งที่ 11 สานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร โครงการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อผู้พิการทางสายตาและผู้มีปัญหาทางการ มองเห็น และ โครงการสร้างสรรค์สื่อ เสริมสร้างสุขภาพ - การเข้ าร่ วมประกวดตั้ งชื่ อ โครงการพั ฒ นาต้ นแบบระบบอาหารสุ ขภาพและระบบ เกษตรกรรมยั่งยืนระดับองค์กร (Organization-supported agriculture system) จัดโดยศูนย์เสริมพลัง สร้างสุขภาพ
2.4 ด้านการรักษาพยาบาล 2.4.1 ผลงานด้านบริการรักษาพยาบาล 1. การจัดตั้งคณะกรรมการอานวยการบริการสุขภาพ ตามคาสั่งที่ 764/2555 14 พฤศจิกายน 2555 เพื่อทาหน้าที่บริหารจัดการตามนโยบายสุขภาพของคณะฯ อย่างมีบู รณาการ ใช้ทรัพยากรสุขภาพ อย่างคุ้มค่า โปร่งใส เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ 2. บูรณาการงานด้านบริการรักษาพยาบาล ซึ่งอยู่ในพันธกิจการบริการสุขภาพของคณะฯ กับ พันธกิจอื่นๆ ผ่านการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านบริการรักษาพยาบาล โดยให้ความสาคัญกับการกาหนด ต าแหน่ งใหม่ ท างกลยุ ท ธ์ (New strategic positioning) รวมกั บ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิภ าพการด าเนิ น งาน (Operation effectiveness)
- 92 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
3. การวางระบบ Ramathibodi medical healthcare system เพื่อบูรณาการการใช้ทรัพยากร สุขภาพของคณะฯ ให้ครอบคลุมกลุ่มผู้รับบริการเป้าหมายทุกกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นธรรม
4. สร้างระบบการดูแลผู้ป่วยที่มอี ุปการคุณ (VIP) ของคณะฯ 5. วางระบบการกากับการใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติตามนโยบายของกรมบัญชีกลาง เพื่อให้ มีการใช้ทรัพยากรสุขภาพของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 6. สร้างความร่วมมือกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ด้ าน Healthcare logistic เพื่อนาไปสู่การลดต้นทุนด้านบริการสุขภาพของประเทศ 7. สร้างความร่วมมือทางการแพทย์ระหว่างคณะฯกับสถาบันการแพทย์แผนจีนผ่านโรงพยาบาล หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เพื่อนาไปสู่การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์ทางเลือก 8. คณะฯ ได้รับการรับรองคุณภาพจากการตรวจเยี่ยมเพื่อต่ออายุการรับรองกระบวนการคุณภาพ (Re-accreditation survey) ครั้งที่ 3 จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.) 25 - 26 มิถุนายน 2556 ตั้งแต่ 23 สิงหาคม 2556 ถึง 22 สิงหาคม 2559 9. ดูแลสวัสดิการบุคลากรของคณะฯ และมหาวิทยาลัยมหิดล 9.1 การวางระบบ Admit บุคลากร/ญาติสายตรงของคณะฯ กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน 9.2 การวางระบบตรวจรักษาบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล 10. การได้รับการคัดเลือกจากนิตยสาร The Company ให้เป็น Thailand’s most admired company ในกลุ่ม “โรงพยาบาล” ประจาปี 2013 (จานวน 23 โรงพยาบาล) โดยมีคะแนนเป็นอันดับ 1 ของกลุ่มโรงพยาบาลในทุกกลุ่มตัวแปร (6 ตัวแปร ได้แก่ Innovation, Corporate CSR Image, Business Achievement & Practice, Services, Image of brand owned, Management) และมี ค ะแนนรวม สูงสุดในทุกปัจจัยรวมกันอยู่ใน 11 อันดับแรกของ 285 บริษัทที่ได้รับการประเมิน
- 93 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
BEST กลุ่มโรงพยาบาล ลา ดับ 1. 2. 3.
เฉลี่ย เฉลี่ยรวมในแต่ละกลุ่มตัวแปรย่อย บริษัท Innovation CSR BIZ Service Image Management รวม 7.04 โรงพยาบาลรามาธิบดี 7.59 6.83 6.57 6.74 7.68 6.80 6.67 โรงพยาบาลศิริราช 7.21 6.53 6.17 6.47 7.19 6.43 6.66 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 7.00 6.25 6.42 6.67 7.22 6.42 สภากาชาดไทย 4. 6.61 โรงพยาบาลบารุงราษฎร์ 7.14 6.37 6.22 6.33 7.22 6.39 5. 6.32 โรงพยาบาลสมิติเวช 6.67 5.97 6.01 6.36 6.86 6.04 6. 6.24 โรงพยาบาลยันฮี 6.70 5.82 5.91 6.27 6.76 5.98 7. 6.17 กรุงเทพดุสิตเวชการ 6.61 6.01 5.77 6.06 6.63 5.92 8. 5.75 โรงพยาบาลปิยะเวท 6.09 5.45 5.55 5.85 6.15 5.41 9. 5.63 โรงพยาบาลพระรามเก้า 5.93 5.37 5.40 5.72 6.05 5.32 10. 5.58 เปาโลเมดิค 5.89 5.41 5.25 5.61 5.96 5.35 The Best of the Best ลาดับ เฉลี่ยรวม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
7.61 7.53 7.52 7.35 7.30 7.26 7.18 7.16 7.15 7.04
บริษัท
กลุ่มธุรกิจ
ปตท. โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย ปูนซิเมนต์ไทย สิงห์ คอร์เปอเรชั่น ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ยูนิลีเวอร์ ไทย เทรดดิ้ง ธนาคารกสิกรไทย โซนี่ ไทย โรงพยาบาลรามาธิบดี
- 94 -
กลุ่มพลังงาน กลุ่มยานยนต์ กลุ่มวัสดุก่อสร้าง กลุ่มเครื่องดื่ม กลุ่มอาหาร กลุ่มสื่อสาร + ไอที กลุ่มพาณิชย์ กลุ่มธนาคาร กลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มโรงพยาบาล
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
การติดตามตัวชี้วัดด้านบริ การรักษาพยาบาล เพื่อให้บรรลุผลสาเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร ตามปีงบประมาณ ได้แก่ 1. จานวนศูนย์ความเป็นเลิศ (Center of excellence) ที่มีผลการรักษาในระดับเอเชีย เป้าหมาย ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2556 5 ศูนย์ 1. Imaging center 1. Imaging center 1. Imaging center 2. Hemophilia center 2. Hemophilia 2. Hemophilia center 3. Organ center 3. Organ transplantation 3. Organ transplantation center transplantation center center หมายเหตุ อีก 2 ศูนย์ คือ Toxicology center และ Bone marrow transplantation center อยูร่ ะหว่างการประเมิน 2. ความพึงพอใจผู้ป่วยนอก แผนภูมิที่ 2.4.1 อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยนอก ในระดับพอใจ - พอใจมาก จาแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล
สิทธิการจ่ายค่า รักษาพยาบาล
- 95 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.4.2 คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ป่วยนอก จาแนกตามสิทธิการจ่าย ค่ารักษาพยาบาล
แผนภูมิที่ 2.4.3 อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกกลับมารักษาในครั้งต่อไป จาแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล
- 96 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.4.4 อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกจะแนะนาผู้อื่นมารักษาที่ รพ.รามาธิบดี จาแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล
3. ความพึงพอใจผู้ป่วยใน แผนภูมิที่ 2.4.5 อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยใน ในระดับพอใจ - พอใจมาก จาแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล
- 97 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.4.6 คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ป่วยใน จาแนกตามสิทธิการจ่าย ค่ารักษาพยาบาล
แผนภูมิที่ 2.4.7 อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยในกลับมารักษาในครั้งต่อไป จาแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล
- 98 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
แผนภูมิที่ 2.4.8
รายงานประจาปี 2556
อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยในจะแนะนาผู้อื่นมารักษาที่ รพ.รามาธิบดี จาแนกตามสิทธิการจ่ายค่ารักษาพยาบาล
2.4.2 ผลงานของโรงพยาบาลรามาธิบดี 1. ด้านบริการผู้ป่วย 1.1 การพัฒ นากระบวนการบริการผู้ป่วยเป็นแบบ One stop service ของหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ งานเวชระเบียน หน่วยตรวจสอบสิทธิประโยชน์ ทีมพยาบาลคัดกรอง และทีมผู้ป่วยสัมพันธ์ ณ จุด บริการผู้ป่วยนอกที่อาคาร 1 โรงพยาบาลรามาธิบดี และศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ ผลงานเรื่อง “การลดขั้ น ตอนการให้ บ ริ ก ารด้ วยระบบการรั บ รองสิ ท ธิล่ ว งหน้ า ” น าเสนอในงานมหกรรมคุ ณ ภาพ (Quality conference) ประจาปี 2556 1.2 การวางระบบการให้บริการผู้ป่วยที่เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการรักษาพยาบาลและ อยู่ในระบบเยียวยาของคณะฯ 1.3 โครงการ Social round โดยทีมพยาบาลเยี่ยมเยียนผูป้ ่วยในที่เป็นชาวต่างชาติ 1.4 การวางระบบสนับสนุนทางการแพทย์ต่อคณะองคมนตรี 2. ด้านคุณภาพการบริการ 2.1 โครงการอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ลดลงต่อเนื่อง โดยคณะกรรมการป้องกันและควบคุม การติดเชื้อในโรงพยาบาล ได้รับรางวัลดีเด่น ประเภทรางวัลเพิ่มคุณค่าสู่การเรียนรู้จากแนวทางปฏิบัติที่ดี เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยด้วย SIMPLE ในการประชุม HA national forum ครั้งที่ 14 2.2 โครงการ Hand cleaning moving together โดยคณะกรรมการป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อในโรงพยาบาล ได้รับรางวัลดีเด่น ประเภทรางวัลเพิ่มคุณค่าสู่การเรียนรู้จากแนวทางปฏิบัติที่ดีเพื่อ ความปลอดภัยของผู้ป่วยด้วย SIMPLE ในการประชุม HA national forum ครั้งที่ 14 2.3 โครงการระบบบริหารคุณภาพ 5 หน่วยงาน
- 99 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ISO 9001:2008 ที่ งานเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ งานเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ และงานบริการผ้า HACCP ที่หน่วยงานฝ่ายโภชนาการ การตรวจประเมินเพื่ อรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลและผดุงครรภ์ ของฝ่ายการ พยาบาล โดยสภาการพยาบาลแห่งประเทศไทย 2.4 การวางระบบ Medication reconciliation 2.5 แผนงานคุณภาพ 5 ส. และพัฒนาพื้นที่ส่วนกลาง 2.6 แผนงาน Surgical safety checklist 2.7 การปรับ/ยกเลิก/พัฒนาเอกสารคุณภาพ (QP/WI) ด้านบริการรักษาพยาบาล 3. ด้านกระบวนการทางาน 3.1 จัดให้มีระบบประสานงานข้ามหน่วยงานย่อย (Unit network) ที่จัดทีมเป็นทวิภาคี เพื่อให้ มีการปรับกระบวนการทางานสนองตอบกันและกัน และสะท้อนผลลัพธ์การบริการของหน่วยงานที่รับ บริการ นามาซึ่งการพัฒนา 3.2 พัฒนาให้มีระบบสนับสนุนบริการกลางแก่หอผู้ป่วยต่าง ๆ เพื่อให้มีประสิทธิภาพ คุ้มทุน และรับรู้ความต้องการของผู้ใช้ ได้แก่ 3.2.1 การจัดหาครุภัณฑ์ทางการแพทย์ สนับสนุนการบริการภาควิชา/หอผู้ป่วย/หน่วยตรวจ ร่วมกับฝ่ายพัสดุ (Central procurement) โดยคณะกรรมการอุปกรณ์การแพทย์ งานบริหารโรงพยาบาล และงานอุปกรณ์การแพทย์ ทาให้เพิ่มประสิทธิภาพการจัดหาอุปกรณ์การแพทย์ที่สนับสนุนการบริการ รวดเร็ว ทันปีงบประมาณ 3.3.2 การดาเนินการจัดหาให้บริการอุปกรณ์การแพทย์ส่วนกลางโดยมีบรรทั ดฐาน มีการ บารุงรักษาอุปกรณ์สม่าเสมอ และมีมาตรฐานพร้อมใช้ มีปริมาณเพียงพอ และมีประโยชน์สูงสุด (Maximum utilization) แก่ผู้ใช้และโรงพยาบาล 3.3 ริเริ่มระบบจ่ายผ้าสู่หอผู้ป่วย/หน่วยบริการ แบบ Refill ตามความต้องการใช้จริง (On demand) โดยหลักการว่า “ผ้ามีคุณภาพ พอเพียงต่อการใช้งาน” 3.4 ดาเนินปรับระบบ Refill สารน้า (IV Fluid) จากคลังน้าเกลือไปยังหอผู้ป่วยและหน่วย บริการตามความต้องการ (On demand) เพื่อลดขนาด Stock ที่หอผู้ป่วย 3.5 ริเริ่มพัฒนา Logistics ที่นายา เวชภัณฑ์ฯ เครื่องมือแพทย์ และผ้า จากหน่วยงานต้นทาง ไปสู่หอผู้ป่วย โดยความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ลดความสูญเสีย มีประสิทธิภาพ วัสดุนาส่งคง คุณภาพ 3.6 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริการผู้ป่วย 4. ด้านธุรกิจการเงิน 4.1 ดาเนินการเพิ่มประสิทธิภาพ และมาตรฐานของระบบคลังยา คลังเวชภัณฑ์การแพทย์ เพื่อ สนับสนุนงานบริการการรักษาพยาบาล ประกอบด้วย - 100 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
4.1.1 ริเริ่มการทามาตรฐานสากลของรหัสยา/เวชภัณฑ์แบบระบบ GS1 โดยการทา Electronic data interchange (EDI) ร่วมกับโรงพยาบาลศิริราช และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล เพื่อให้การเชื่อมต่อข้อมูลสินค้ากับ Supplier อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะนาไปสู่การจัดหายา/เวชภัณฑ์ ที่คล่องตัวแบบ Vendor inventory management 4.1.2 พัฒนาระบบการตรวจนับคลังยา/เวชภัณฑ์ทางการแพทย์ ตั้งแต่คลังกลางไปถึงคลังย่อย ต่างๆ อย่างเป็นระบบเพื่อความถูกต้อง และจัดหาเพื่อสนองการบริการอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมใช้ ถูกต้องตามระเบียบพัสดุ และเป็นระบบการตรวจนับตามมาตรฐานบริหารคลัง เช่น บริษัทเอกชน โดยมีการตรวจสอบโดยหน่วยงานตรวจสอบภายในของคณะฯ 4.2 การจัดทาโครงการ Public private partnership กับภาคเอกชน 4.2.1 โครงการ Point of care test 4.2.2 โครงการจัดหาเครื่อง IV pump 4.2.3 โครงการจัดหา Intermittent calf compression 4.3 แผนการดาเนินการทาสัญญาจะซื้อ จะขาย ของยาและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ทันก่อนเริ่ม ปีงบประมาณ 2557 5. ด้านวิจัยและนวัตกรรม 5.1 โครงการแถบฉุกเฉินกู้ชีพเด็กรามาธิบดี (Ramathibodi pediatic emergency card : RPED) โดยทีมงานเวชศาสตร์ฉุกเฉินได้รับรางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ ระดับดี จากคณะอนุกรรมการพัฒนา ระบบบริการราชการ (อ.ก.พ.ร.) ปี 2556 5.2 ผลงานวิจัยเรื่องรามาธิบดียางครอบท่อแทงเจาะ เพื่อป้องกันลมรั่วขณะผ่าตัดผ่านกล้อง โดย นางณิชา ปิยสุนทราวงษ์ ได้รับรางวัลผลงาน R2R ดีเด่นกลุ่มสิ่งประดิษฐ์ ประจาปี 2556 จากสถาบันวิจัย ระบบสาธารณสุข (สวรส.) 6. ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก 6.1 เข้าร่วมลงนาม Memorandum of understanding : MOU กับเครือข่ายคุณภาพถนนราชวิถี 7 สถาบัน ในงานมหกรรมคุณภาพถนนราชวิถี ครั้งที่ 2 1 - 2 สิงหาคม 2556 เพื่อประสานความร่วมมือ การพัฒนาคุณภาพการบริการรักษาพยาบาล 6.2 การซ้อมรับภาวะฉุกเฉินหมู่ภาคสนามจริงร่วมกับหน่วยงานบริเวณถนนราชวิถีเป็นครั้งแรก ได้แก่ เขตราชเทวี โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลพระมงกุฎ โรงพยาบาลพญาไท สถานีตารวจพญาไท สถานี ดับเพลิง 11 กันยายน2556 6.3 ร่วมเป็นสถาบันหลักในคณะกรรมการประสานการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขระดับพื้นที่ คณะที่ 3 ตามคาสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 95/2556 17 มกราคม 2556 6.4 การร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ วิจัยและพัฒนา กับสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 30 กันยายน 2556 - 101 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
7. ด้านสุขภาพบุคลากรของคณะฯ และมหาวิทยาลัย 7.1 การตรวจสุขภาพประจาปีของคณะฯ 7.2 การวางระบบ Admit บุคลากรและญาติสายตรง กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน 7.3 การวางระบบตรวจรักษาบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล แผนการดาเนินงานปีงบประมาณ 2557 1. ด้านบริการผู้ป่วย : การอานวยความสะดวกแก่ญาติผู้ป่วยที่เสียชีวิตกรณีผู้ป่วยใน 2. ด้านคุณภาพการบริการ 2.1 ดาเนินการต่อเนื่องโครงการระบบบริหารคุณภาพ 4 หน่วยงาน ISO 9001:2008 ที่ งานเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ งานเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ และงานบริการผ้า HACCP ที่หน่วยงานฝ่ายโภชนาการ 2.2 โครงการ Clinical microsystem: Functional frontline unit เพื่อเพิ่มคุณค่าการบริการ จุดบริการส่วนหน้า โดยให้คาปรึกษาเป็นพี่เลี้ยงด้านการพัฒนาคุณภาพ 2.3 แผนงานคุณภาพ 5 ส. ในพื้นที่หน่วยงานควบคู่กับแผนงานคุณภาพ 5 ส. ในพื้นที่ส่วนกลาง 2.4 เจ้าภาพจัดงานมหกรรมคุณภาพถนนราชวิถี 7 สถาบัน ครั้งที่ 3 3. ด้านกระบวนการทางาน 3.1 การบริหารจัดการระบบยา 3.1.1 การจัดส่งยาแบบ Unit dose สาหรับผู้ป่วยใน 3.1.2 การวางระบบ Medication reconciliation 3.1.3 การควบคุมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (DUE) 3.2 โครงการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการรับและจาหน่ายผู้ป่วยใน โดยใช้เครื่องมือคุณภาพ Lean six sigma 3.3 การพัฒนาระบบ Logistic ภายในโรงพยาบาล 4. ด้านธุรกิจการเงิน 4.1 โครงการ Vendor inventory management ของยา/เวชภัณฑ์ทางการแพทย์ 4.2 ขยายความร่วมมือกับเอกชน (Public private partnership) : Smart infusion pump 5. ด้านวิจัยและนวัตกรรม โครงการ R2R : เครื่องนับผ้า เครื่อง Infusion pump สาหรับอาหารปั่น เครื่องชั่งน้าหนักเตียงผู้ป่วย อุปกรณ์ Vein viewer Training infusion nurse for PICC line HOME TPN และเวชสารสนเทศสาหรับ พยาบาลเยี่ยมบ้าน 6. ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก 6.1 ความร่วมมือระหว่างคณะฯ กับสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 7. ด้านสุขภาพบุคลากรของคณะฯ และมหาวิทยาลัย ได้แก่ - 102 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
7.1 การตรวจสุขภาพประจาปีของคณะฯ 7.2 การวางระบบ Admit บุคลากรและญาติสายตรง กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน 7.3 การวางระบบตรวจรักษาบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล 2.4.3 ผลงานของศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ 2.4.3.1. การป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ (CAUTI) ใน หอผู้ป่วยหนักศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ โดยหอผู้ป่วยหนักศูนย์การแพทย์สริ ิกิติ์ได้รับรางวัลชมเชย ประเภท รางวัลเพิ่มคุณค่าสู่การเรียนรู้จากแนวทางปฏิบัติที่ดีเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยด้วย SIMPLE ในการ ประชุม HA National Forum ครั้งที่ 14 2.4.3.2. การเปิดให้บริการผ่าตัดแบบ Hybrid surgery และการผ่าตัดโดยใช้หุ่นยนต์ Robot 2.4.3.3. การเปิดให้บริการหอผู้ป่วยพิเศษ ชั้น 7 ชั้น 8 และชั้น 9 (หลังปิดซ่อมปรับปรุง) แผนการดาเนินงานศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ปี 2557 1. การจัดตั้งห้องผสมยา ซึง่ เป็นโครงการในลักษณะของ Public private partnership 2. การจัดตั้ง Simulation center 3. การพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยตามมาตรฐาน JCI 4. จัดซ้อมอัคคีภัยทั้งอาคารของอาคารศูนย์การแพทย์สิรกิ ิติ์ 2.4.4 ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ มุ่งเน้นการให้บริการรักษาพยาบาลที่เป็นเลิศแก่ผู้ป่วยทุกกลุ่ม เป็นแหล่งฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญและ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขตลอดจนสนับสนุนการวิจัยทางการแพทย์ โดยเพิ่มการให้บริการ รักษาพยาบาลคลินิกจักษุทั้งในคลินิกปกติและคลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2555 คลินิกที่เปิดให้บริการที่ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ ได้แก่ คลินิกปกติและคลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ 6 คลินกิ ได้แก่ อายุรกรรม โสต ศอ นาสิก ศัลยกรรม ผิวหนัง ออร์โธปิดิกส์ และจักษุ คลินิกพรีเมี่ยม 11 คลินิก ได้แก่ ศูนย์ศัลยกรรมเลเซอร์ผิวหนัง หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกพิเศษเวช สาอางและศัลยกรรมตกแต่ง หน่วยตรวจสุขภาพ หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกพิเศษสุภาพสตรี หน่วยตรวจผู้ป่วย นอกพิเศษอายุรกรรม หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกพิเศษเด็ก หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกพิเศษศัลยกรรมและกระดูก หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกพิเศษโสต ศอ นาสิก หน่วยเทคโนโลยีการเจริญพันธุ์ หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกพิเศษ จักษุ และจิตเวช
- 103 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.4.9 ผู้ป่วยนอก คลินิกปกติและคลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ ปีงบประมาณ 2556 จานวน (ราย)
แผนภูมิที่ 2.4.10 ผู้ป่วยนอก คลินิกพรีเมี่ยม ปีงบประมาณ 2556 จานวน (ราย)
ตั้งแต่มกราคม 2556 มีการปรับช่วงเวลาในการบันทึกข้อมูล ดังนี้ คลินิกพรีเมี่ยมในเวลา คือ เวลา 06.01 - 16.00 น. คลินิกพรีเมี่ยมนอกเวลา คือ เวลา 16.01 - 24.00 น.
- 104 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.4.11 ผู้ป่วยใน ปีงบประมาณ 2556 จานวน (ราย)
แผนภูมิที่ 2.4.12 อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยคลินิกพรีเมี่ยมและคลินิกปกติ ปีงบประมาณ 2556 Good ร้อยละ
Target > 90 % THIP
- 105 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
แผนภูมิที่ 2.4.13 อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยใน โดยภาพรวมของศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ (SDMC) และอาคารหลัก (RAMA) ปีงบประมาณ 2556 ร้อยละ
แผนการดาเนินงาน สนับสนุนให้หน่วยงานดาเนินการตามแผนโครงการพัฒนาการบริการรักษาพยาบาลและเพื่อเพิ่มความ ปลอดภัยแก่ผู้ป่วยที่หน่วยงานได้จัดทาขึ้น จัดทาตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน (Key performance indicators : KPI) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือวัดผลการดาเนินงานหรือประเมินผลการดาเนินงานของแต่ละหน่วยงาน และเพื่อ ผลักดันให้เกิดการปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง โดยกาหนดแนวทางและรูปแบบในการบันทึกข้อมูล และจะได้ติดตามความคืบหน้าเป็นรายไตรมาส ผลงานที่ภาคภูมิใจ หน่วยงานจากภาครัฐบาลและเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ 48 หน่วยงาน ให้ความสนใจ เข้าศึกษาดูงาน ด้านการบริหารจัดการที่มุ่งเน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง ระบบการบริการรักษาพยาบาลที่ มุ่งเน้นคุณภาพและความปลอดภัยสูงสุด การใช้เครื่องมือทางการแพทย์และเทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่ สาหรับบริการผู้ป่วย โครงการพัฒนาคุณภาพงานเข้าร่วมประกวดในงานมหกรรมคุณภาพ (Quality conference) ครั้ง ที่ 20 ประจาปี 2556 แบ่งเป็น CQI 23 เรื่อง Kaizen 28 เรื่อง เรื่องเล่าเร้าพลัง 10 เรื่อง รวม 61 เรื่อง มี หน่วยงานและบุคลากรได้รับรางวัลจากการส่งผลงานเข้าร่วมงานมหกรรมคุณภาพ รวม 11 รางวัล
- 106 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
คณะผู้แทนจาก Zhejiang chinese medical university สาธารณรัฐประชาชนจีน 8 พฤศจิกายน 2555
เจ้าหน้าที่จากประเทศเวียดนามเยี่ยมชม งานเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ 24 มิถุนายน 2556
บริษัท Toyota tsusho corporation (Japan) ประเทศญี่ปนุ่ 13 พฤศจิกายน 2555
โรงพยาบาลบุรีรัมย์เยี่ยมชมห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยา จังหวัดบุรีรัมย์ 21 กันยายน 2555
งานมะเร็งเต้านม 11 ตุลาคม 2555
วันโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังโลก 11 พฤศจิกายน 2555
- 107 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
วันเบาหวานโลก 13 - 14 พฤศจิกายน 2555
งานวันเด็กแห่งชาติ 12 มกราคม 2556
เทศกาลสงกรานต์ 9 – 12 เมษายน 2556
งานวันพ่อแห่งชาติ 4 ธันวาคม 2555
- 108 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
2.5 ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ คณะฯ ก าหนดและให้ ความส าคั ญ กั บการสร้างเสริ มสุ ขภาพเป็ นพั นธกิ จ ด้ านการบริ การสุ ขภาพ ที่เป็นส่วนหนึ่งของการบริการวิชาการสู่สังคม มีกระบวนการดาเนินงานที่มุ่งสู่กลุ่มเป้าหมาย 3 กลุ่มหลัก คือ บุคลากร ผู้ป่วยและญาติ ชุมชนและสังคม โดยบูรณาการกับพันธกิจอื่นๆ มุ่งสู่การมีสุขภาพที่ดีอย่าง เป็นองค์รวมในทุกระยะของชีวิต มีงานสร้างเสริมสุขภาพเป็นผู้ดาเนินงาน และประสานงานกับภาควิชา และหน่วยงานต่างๆ ภายใต้การกากับดูแลของคณะกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ และมีรองคณบดีด้านสร้าง เสริมสุขภาพเป็นผู้รับผิดชอบ กลุ่มบุคลากร 1. ชมรมรามาธิ บ ดี อ าวุ โส มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางให้ ส มาชิ ก ได้ แ ลกเปลี่ ยนเรี ย นรู้ ประสบการณ์ด้านต่างๆ ร่วมกัน ที่จะพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพและส่งเสริมความสุข อีกทั้งยัง เป็นศูนย์กลางการติดต่อประสานงานและอานวยความสะดวกให้แก่สมาชิกในการรับบริการด้านสุขภาพ ภายในโรงพยาบาลรามาธิบดี ตัวชี้วัด
เป้าหมาย
จานวนครั้งของการจัดกิจกรรม จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ ความพึงพอใจระดับมาก-มากที่สุด จานวนครั้งของการจัดกิจกรรม เสริมพลังคลังปัญญา - จานวนครั้งของการจัดกิจกรรม รามาอาวุโสสัญจร
ร้อยละ 90 ของแผนงานของชมรม ฯ 80 คนต่อครั้ง ร้อยละ 80 4 ครั้ง
ร้อยละ 100 85-150 คน/ครั้ง ร้อยละ 100 5 ครั้ง
2 ครั้ง
2 ครั้ง
-
ผลลัพธ์
2. โครงการรามาสดใส ใส่ใจสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือบุคลากรที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด และลดความรุนแรงของโรคเรื้อรังที่สัมพันธ์กับอาหาร ด้วยวิธีทางโภชนาการ
- 109 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ตัวชี้วัด - จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
ผลลัพธ์
30 คน
- จานวนผู้เข้าร่วมโครงการที่มี ผู้ที่มีน้าหนักลดลง ร้อยละ 90 สุขภาพดีขึ้น ผูท้ ี่มีดัชนีมวลกายลดลง ร้อยละ 80 ผู้ที่มีไขมันในเลือดลดลง ร้อยละ 90
33 คน (บุคลากร 28 คน บุคคลภายนอก 5 คน) ร้อยละ 92.59 ร้อยละ 88.89 ร้อยละ 96.30
3. โครงการติดตามผลรามาสดใส ใส่ใจสุขภาพ มีวัตถุป ระสงค์เพื่ อสร้างความยั่งยืนในการดูแล สุขภาพ กระตุ้นและส่งเสริมให้บุคลากรออกกาลังกายด้วยการเดิน และเสริมสร้างความต่อเนื่องในการดูแล สุขภาพอย่างถูกวิธีให้แก่บุคลากร ตัวชี้วัด - ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพดีขึ้น - ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลลัพธ์ (ร้อยละ) 90 90 80 90
ผลลัพธ์ทางสุขภาพอื่นๆ ดังนี้ - มีวินัยในการรับประทานอาหาร การออกกาลังกาย มีความยับยั้งชั่งใจเวลารับประทาน รู้จักเลือก อาหารที่ควรรับประทาน พฤติกรรมในการรับประทานอาหารเปลี่ยน (4 คน) - หายปวดหัวเข่า (2 คน) ปวดหลังน้อยลง ลดโรค (1 คน) - ร่างกายเปลี่ยน ไขมันลดลง เอาเสื้อผ้าสวยๆ ที่เคยใส่ไม่ได้มาใช้ได้อีก มั่นใจที่จะลดน้าหนักต่อไป (2 คน)
- 110 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
4. โครงการปัจฉิมนิเทศผู้เกษียณจากงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรได้รับความรู้ ที่จาเป็น เพื่อ เตรียมการในการดู แลรักษาสุ ขภาพช่ วงชี วิ ตหลั งเกษี ยณจากงาน สิ ทธิประโยชน์ สวัสดิ การด้ านต่ างๆ รวมทั้งการเสริมสร้างคุณภาพและคุณค่าของชีวิต ตัวชี้วัด - ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ต่อกิจกรรมในคณะฯ - ความพึงพอใจต่อกิจกรรมนอกคณะฯ
เป้าหมาย
ผลลัพธ์(ร้อยละ)
ภาพรวม ร้อยละ 80 ร้อยละ100 เรื่องสถานที่ การประสานงาน อาหาร ร้อยละ 83.78 - 95.95 ประโยชน์ที่ได้รับ ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ร้อยละ 97.30
5. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อกลุ่มภาวะโรคเมตาบอลิก มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากร มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกาลังกาย การ จัดการความเครียดเพื่อลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเมตาบอลิก ตัวชี้วัด - จานวนผู้ที่มีความเชื่อในความ สามารถในการดูแลตนเองดีขึ้น - จานวนผู้ที่มีพฤติกรรมการดูแล ตนเองดีขึ้น
- จานวนผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกาย ลดลง - จานวนผู้ที่เส้นรอบเอวลดลง - จานวนผูท้ ี่มีความพึงพอใจในระดับ มากขึ้นไป
เป้าหมาย ร้อยละ 80 พฤติกรรมการกินดีขึ้น ร้อยละ 80 พฤติกรรมการออกกาลังกายดีขึ้น ร้อยละ 80 การจัดการความเครียดดีขึ้น ร้อยละ 80 พฤติกรรมการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนดีขึ้น ร้อยละ 80 พฤติกรรมสุขภาพรวมที่ดีขึ้น ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 - 111 -
ผลลัพธ์ (ร้อยละ) 50 80 80 80 70 80 80 70 100
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
6. โครงการค้นคนค้นงานต้นแบบสร้างแรงจูงใจเพื่อสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาบุคคลและ หน่วยงานต้นแบบที่ประสบความสาเร็จด้านการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อเป็นแบบอย่างและแรงจูงใจในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด - มีผู้เสนอรายชื่อบุคคล/หน่วยงาน - มีผู้ผ่านการคัดเลือก
เป้าหมาย 20 คน/หน่วยงานขึ้นไป บุคคล จานวน 3 คน หน่วยงาน จานวน 1 หน่วยงาน
ผลลัพธ์ 9 คน 1หน่วยงาน ร้อยละ100 ร้อยละ100
7. คลินิกสร้างเสริมสุขภาพด้านโภชนบาบัด เปิดให้ บริการรับปรึกษาด้านโภชนาการ เป็นประจา ทุกวันพุธและพฤหัสบดี 8.30 - 11.30 น. มีผู้รับบริการเฉลี่ย 60 รายต่อสัปดาห์ เป็นบุคลากร ร้อยละ 60 ญาติผู้ป่วย ร้อยละ 30 และผู้ป่วย ร้อยละ 10 ปัญ หาที่พบมากเรียงตามลาดับ คือ อ้วน ไขมันในเลือด ผิดปกติ กระดูกบาง ผอม ผู้ที่มาติดตามผลอย่างน้อย 2 ครั้งมีผลลัพธ์ทางโภชนาการดีขึ้น
- 112 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
กลุ่มผู้ป่วยและญาติ 1. โครงการลานดนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยผ่อนคลายความเครียดให้แก่ผู้ป่วยและญาติที่มารับ บริการโรงพยาบาลรามาธิบดี จัด ณ อาคารหลักและอาคารสมเด็จพระเทพรัตน์ มุ่งสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ต่อสุขภาพ และสร้างสรรค์ความรื่นรมย์ภายในโรงพยาบาล ผู้มาบรรเลงดนตรีและขับร้องเป็นอาสาสมัคร มีจานวนนักร้อง นักดนตรี มี 25 วง 380 คน หมุนเวียนกัน จัดตารางไว้ล่วงหน้า 1 เดือน เป็นวง ดนตรีจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ โรงเรียน มหาวิทยาลัย สมาคมต่างๆ บุคลากรภายในคณะ รวมถึง ผู้ที่มีชื่อเสียงในวงสังคมและบันเทิง นักดนตรีอาสามีความสุขที่ได้ช่วยบรรเทาความทุกข์กาย สร้างความ สบายใจ และบรรยากาศที่ดีในโรงพยาบาล ผู้รับบริการของโรงพยาบาลพอใจ ชื่นชมมาก มีสื่อมวลชนนาไป เผยแพร่และหน่วยงานขอมาเยี่ยมชมและดูงานจานวนมาก
2. โครงการจิตอาสารามาธิบดี มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มคุณภาพในการดูแล อานวยความสะดวก ให้แก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้มารับบริการของโรงพยาบาลรามาธิบดี ให้มีประสิทธิภาพและทั่วถึง อีกทั้งยังเป็น การกระตุ้น และปลูกจิตสานึกที่ดีให้แก่ประชาชน นักเรียน นักศึกษา ให้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสังคม ตัวชี้วัด เป้าหมาย - จานวนอาสาสมัครจิตอาสาทีส่ มัครเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 300 คน - อาสาสมัคร ผู้ป่วย และบุคลากรของหน่วยงานที่เข้าร่วม ร้อยละ 80 โครงการ มีความพึงพอใจโครงการระดับมากถึงมากที่สุด
ผลลัพธ์ 389 คน ร้อยละ 77.77
อาสาสมัครจิตอาสาร่วมปฏิบัติงาน ประกอบด้วย นักเรียน ร้อยละ 26 นักศึกษา ร้อยละ 35 ประชาชนทั่วไป ร้อยละ 21 หน่วยงาน/องค์กร ร้อยละ 18
- 113 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
3. โครงการมิตรภาพบาบัดรามาธิบดี มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างพลังอานาจของผู้ป่วย/บุคคล ตามประเด็นทางสุขภาพที่สาคัญ มีทั้งกลุ่มโรคเรื้อรัง โรคติดเชื้อ และกลุ่มเสี่ยงทางสุขภาพ ให้สามารถ ช่วยเหลือกันเองในการดูแลสุขภาพในกลุ่ม ได้ต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ โดยมีบุคลากรสุขภาพเป็นผู้ให้ การสนับสนุน ในปีนี้จัดกิจกรรมสร้างเครือข่ายอาสาสมัครผู้ป่วยให้มีการช่วยเหลือกันข้ามกลุ่ม ตัวชี้วัด เป้าหมาย - จานวนกลุ่มผู้ปว่ ยมีความสาเร็จระดับ 3** ขึน้ ไป ร้อยละ 50 กลุ่มผู้ป่วยและญาติ มีการดาเนินการอย่าง ต่อเนื่องภายในศูนย์เสริมพลังสร้างสุขภาพ ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ชมรมผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช กลุ่มเบาหวานในผู้ใหญ่ ชมรมธาลัสซีเมีย ชมรมฟื้นฟูชีวิตใหม่
-
22 ครั้ง 2 ครั้ง 4 ครั้ง 1 ครั้ง 2 ครั้ง
ผลลัพธ์ ร้อยละ 69.23 (18 จาก 26 กลุ่ม )
22 ครั้ง จานวน 264 คน 2 ครั้ง จานวน 18 คน 4 ครั้ง จานวน 51 คน 1 ครั้ง จานวน 2 คน 2 ครั้ง จานวน 22 คน
**หมายเหตุ : ระดับ 1 เริ่มจัดตั้งกลุ่ม ระดับ 2 มีแผนการดาเนินงาน ระดับ 3 มีกิจกรรมดาเนินงานตามแผน มีการติดตามผลลัพธ์ ระดับ 4 มีกิจกรรมดาเนินงานตามแผน ติดตาม วิเคราะห์ ปรับปรุง ระดับ 5 มีกิจกรรมดาเนินงานตามแผน มีการติดตาม ประเมินวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นที่ยอมรับสามารถ Benchmark ได้
4. โครงการพัฒนาเครือข่ายมิตรภาพบาบัดรามาธิบดี มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจในการ ดาเนินงานของกลุ่มมิตรภาพบาบัดรามาธิบดี การสนับสนุนระหว่างกลุ่ม เพิ่มความเข้มแข็งของกลุ่มที่มีอยู่ และสนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มใหม่ ในการดูแลเพื่อนสมาชิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด
เป้าหมาย
ผลลัพธ์
จานวนกลุ่ม/ชมรม เข้าร่วมกิจกรรมของกลุม่ มิตรภาพบาบัดรามาธิบดี - อาสาสมัคร สมาชิกชมรม/กลุ่มผู้ป่วยและญาติ มีความพึงพอใจโครงการระดับมากถึงมากที่สุด
ร้อยละ 80
ร้อยละ 55.17 (16 จาก 26 กลุ่ม) ร้อยละ100
-
- 114 -
ร้อยละ 80
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
กลุ่มชุมชนและสังคม 1. โครงการปันความรู้ สู่สุขภาพดี มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะความรู้ ความชานาญ ด้านสุขภาพให้แก่ครู และพี่เลี้ยงเด็ก ภายในสถานสงเคราะห์บ้านเด็กอ่อนพญาไท ตัวชี้วัด - จานวนครั้งของการจัดกิจกรรม - ความพึงพอใจของครู/พี่เลี้ยงเด็กที่เข้ารับการ อบรมระดับมากถึงมากที่สุด
เป้าหมาย จานวน 2 ครั้ง ร้อยละ 80
จานวนครูและพี่เลี้ยงเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรม ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครัง้ ที่ 3 ครั้งที่ 4
10 ตุลาคม 2555 16 ตุลาคม 2555 12 พฤศจิกายน 2555 19 พฤศจิกายน2555
ผลลัพธ์ จานวน 4 ครั้ง ร้อยละ 85.72 จานวน 42 คน จานวน 50 คน จานวน 50 คน จานวน 41 คน
คณะฯ กาหนดให้การทานุบารุงศิลปวัฒธรรม สอดแทรกในทุกพันธกิจของคณะฯ โดยสืบทอด ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของชาติ เพื่อเป็นการพัฒนาคน ด้านจิตใจ การคิด ปัญญา โดยแสดงออกทาง พฤติกรรมที่เหมาะสมงดงาม มีทั้งกิจกรรมทีม่ ุ่งในกลุ่มนักศึกษา บุคลากร บุคคลภายนอกเข้ามามีส่วนร่วม ในกิจกรรมถวายพระพรและจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ วันสาคัญของคณะฯ การทาบุญเดือนเกิดของ บุคลากรทุกเดือน และวันสาคัญทางพุทธศาสนา การเรียนการสอนและจัดแสดงนาฏศิลป์และดนตรีไทย เนื่องในโอกาสต่างๆ ดังนี้ - 115 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
1. กิจกรรมถวายพระพรและจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ สถาบันพระมหากษัตริย์ 3 ครั้ง 2. กิจกรรมวันสาคัญของคณะฯ และวันสาคัญ ได้แก่ 2.1 งานครบรอบ 44 ปี การเปิดดาเนินการของคณะฯ 2.2 งานเชิดชูเกียรติและแสดงความยินดีกับคณาจารย์ผู้ได้รับรางวัลระดับมหาวิทยาลัย 2.3 สัปดาห์อนุรักษ์มรดกไทยและวันมุทิตาจิต ผู้อาวุโส(หลังเกษียณ) ตามประเพณีสงกรานต์ 3. นาฏศิลป์และดนตรีไทย 3.1 จัดการเรียนการสอนนาฏศิลป์ สาหรับบุคลากรและนักศึกษา สัปดาห์ละ 2 ครั้ง 3.2 จัดการเรียนการสอนดนตรีไทย สารับบุคลากรและนักศึกษา สัปดาห์ละ 3 ครั้ง 3.3 เผยแพร่ชื่อเสียงของคณะฯ ด้านศิลปวัฒนธรรม ด้วยการจัดแสดงดนตรีและนาฏศิลป์ไทย ทั้งภายในและภายนอกคณะฯ ในงานการประชุมระดับคณะฯ ระดับมหาวิทยาลัย และระดับนานาชาติ ที่มา จัดประชุมในประเทศไทย รวม 12 ครั้ง 4. ร่วมจัดทาเว็บไซด์ “บารุงศิลปวัฒนธรรม” ด้านศาสนา ภายใต้เว็บไซด์ของคณะฯ และ สื่อ Social network 4.1 ทางเว็บไซด์ของคณะฯ และรามาแชนแนล 4.2 เฟซบุ๊ค นาเสนอกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมและศาสนา
http://www.ra.mahidol.ac.th/
https://www.facebook.com/RamaBuddhismClub?fr ef=ts
5. การจัดกิจกรรมทางพุทธศาสนา มีบุคลากรจากหน่วยงานต่างๆ ทีม่ ีความสนใจทางศาสนาพุทธรวมกัน สนับสนุนการตั้งเป็นชมรมพุทธธรรมรามาธิบดี มีการดาเนินกิจกรรมมาอย่างต่อเนื่องประมาณ 40 ปี ดังนี้ 5.1 เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในด้านศาสนาพุทธ 5.1.1 จัด บรรยายธรรมเดื อ นละ 1 - 2 ครั้ง ในช่วงพั ก กลางวัน รวมตลอดปี 20 ครั้ง มี ผู้เข้าร่วมรับฟังเป็นบุคลากรและบุคลากรภายนอกครั้งละ 100 ถึง 500 คน 5.1.2 สนทนานาพาสู่ธรรม ประมาณ 2 เดือน/ครั้ง ในเวลาช่วงกลางวันตลอดปีจัด 8 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 ถึง 100 คน 5.1.3 ผลิ ตสื่ อเผยแพร่ธรรมะ โดยใช้งบประมาณสนับสนุนจากคณะฯ และจากหน่วยงาน ภายนอกเผยแพร่แก่บุคลากรและบุคคลภายนอก - 116 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
5.2 สนับสนุนการปฏิบัติธรรม 5.2.1 นิมนต์พระสงฆ์ 1 รูป รับบิณฑบาตรจากบุคลากรนักศึกษาทุกวันราชการ 5.2.2 จากวัดสู่วอร์ด นิมนต์พระสงฆ์ รับบิณฑบาต ณ หอผู้ป่วย สัปดาห์ละ 2 วัน ได้แก่ วันพฤหัสบดี ที่อาคารหลักและวันศุกร์ที่อาคารศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ เอื้อให้ผู้ป่วย ญาติ ผู้ดูแล และบุคลากรที่หอผู้ป่วยได้มีโอกาสทาบุญโดยไม่ติดข้อจากัดในด้านสถานที่และการปฏิบัติงาน ซึ่งมีผู้เข้าร่วม กิจกรรมวันละประมาณ 50 - 80 ราย 5.2.3 ทาบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารในวันสาคัญต่างๆ ได้แก่ วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ วัน คล้ ายวันพระราชสมภพในสมเด็ จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี วันมาฆบู ชา วิสาขบู ชา วันอาฬหบูชา วันเข้าพรรษา (ถวายเทียนจานาพรรษา) 5.2.4 สวดมนต์ยามเช้า บุคลากรนัดหมายเข้าร่วมสวดมนต์ก่อนเริ่มทางาน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง (วันอังคารที่อาคารหลัก วันศุกร์ที่อาคารศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์) 5.2.5 ปฏิบัติธรรมระยะสั้น สาหรับผู้เริ่มต้น - ในโครงการพัฒนาจิตให้เกิดปัญญา มุ่งให้เกิด การคิดเป็ น เห็ นถูก จัดการกั บความรู้สึ ก คาพู ด การแสดงของตนเอง ใช้เวลารุ่นละ 2 วัน เช้าไป - เย็นกลั บ ในกรุ งเทพมหานคร จั ด 2 รุ่ น มี ผู้ เข้ า ร่ ว มโครงการรวม 50 คน ผลการประเมิ น อยู่ ร ะดั บ ดี - ดี ม าก ร้อยละ 90 5.2.6 ปฏิบัติธรรมยามเย็น 4 ครั้ง/เดือน ทุกวันพฤหัสบดี ในช่วงเวลา 16.30 – 18.30 น. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 ถึง 100 คน 5.2.7 โครงการ “สานสัมพันธ์ มหิดล ครั้งที่ 4” พุทธศาสน์ศึกษาในประเทศแถบเอเชีย ณ ประเทศกัมพูชา และประเทศภูฏาน 1 - 5 กุมภาพันธ์ 2556 มีผู้เข้าร่วม 29 คน 5.2.8 โครงการธรรมะสัญจร จังหวัดสกลนครและจังหวัดนครพนม 8 - 10 ธันวาคม 2555 มีผู้เข้าร่วม 58 คน 5.2.9 กิจกรรมพัฒนาจิตให้เกิดปัญญา มีผู้เข้าร่วม 20 - 25 คน 5.3 กิจกรรมวันสาคัญทางศาสนา 5.3.1 โครงการกฐินตกค้าง รวบรวมปัจจัยเพือ่ ทอดกฐินแก่วดั ที่ไม่ได้รับการกฐินในพรรษา ณ วัดป่าบ้านค้อ จังหวัดอุดรธานี ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2555 5.3.2 วันอาสาฬหบูชาและถวายเทียนจานาพรรษา 9 วัด มีบุคลากรและบุคคลภายนอก ผู้เข้าร่วม 300 คน 6. งานด้านอื่นๆ 6.1 ให้คาปรึกษาแก่ ภาควิชา/หน่วยงาน ทางด้านศาสนกิจ เช่น ทาบุญสานักงาน ทาบุญงาน มุทิตาจิต และด้านการปฏิบัติธรรม กรณีจัดให้มีการบรรยายธรรม กรณีพิเศษที่จัดขึ้นภายในคณะฯ
- 117 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
6.2 ร่วมกิจกรรมด้านศาสนากับหน่วยงานภายนอกคณะฯ มีความร่วมมือในการดาเนินกิจกรรม ต่างๆ เช่น เครือข่ายมหิดลพญาไท กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม องค์การเภสัชกรรม เป็นต้น 6.3 ทัศนศึกษาพิพิธภัณฑ์พระพุทธศาสนา วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพฯ 2 ครั้งๆ ละ 30 คน
กิจกรรมบรรยายธรรม
กิจกรรมถวายเทียนจานาพรรษา
การแสดงดนตรีไทย
- 118 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บทที่ 3 ด้านทรัพยากรบุคคล 3.1 ด้านทรัพยากรบุคคล คณะฯ เล็งเห็นถึงความสําคัญของการพัฒนาบุคลากร และสนับสนุนให้บุคลากรเกิดความเชี่ยวชาญ ในวิ ช าชี พ เพื่ อ มุ่ ง เน้ น การพั ฒ นาบุ ค ลากร และสนั บ สนุ น พั น ธกิ จ หลั ก ของคณะฯ ให้ ส ามารถบรรลุ ประสิทธิผลตามแผนที่วางไว้ โดยมีโครงการพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (Individual development plan : IDP) ปีงบประมาณ 2556 - 2560 จํานวน 3 โครงการ ดังนี้ 3.1.1 โครงการสร้างผู้จัดการศูนย์ความเป็นเลิศ (ที่เป็นบุคลากรสายสนับสนุน) ด้วยแผนพัฒนา รายบุคคล (Individual Development Plan) การพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศให้ไปสู่การให้บริการสุขภาพ แบบองค์รวม และสร้างนวัตกรรมในการบริการสุขภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการด้านบริการสุขภาพของ สั ง คม ตามยุ ท ธศาสตร์ ข องคณะฯ ในด้ า นความเป็ น เลิ ศ ด้ า นการบริ ก ารสุ ข ภาพ (Health Service Excellence) จําเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการพัฒนาผู้ที่ทําหน้าที่ในการบริหารจัดการศูนย์ฯ อย่างเป็นระบบ และมีแบบแผน เพื่อให้สามารถรองรับการทํางานของแพทย์ และผู้เชี่ยวชาญภายในศูนย์ได้อย่างครบวงจร ทั้ งนี้ การพิ จ ารณาคุ ณ สมบั ติ ข องผู้ จัด การศู น ย์ ฯ ตลอดจนวิธีก าร และกระบวนการคั ด เลื อ ก จําเป็นต้องมีกระบวนการที่เป็นระบบ ประกอบกับการพัฒนาศักยภาพหลาย ๆ ด้าน จะช่วยผลักดันให้ ผู้จัดการศูนย์ฯ สามารถบริหารจัดการศูนย์ฯ ไปสู่ความเป็นเลิศด้านการรักษาพยาบาล และการให้บริการ แบบครบวงจร (Comprehensive center of Excellence) ได้ในที่สุด ผลการดําเนินงาน 1. ร่างแนวทางในการดําเนินการในการสรรหาผู้ที่มีคณ ุ สมบัติเหมาะสม โดยจะใช้ Competency เป็น เครื่องมือในการประเมิน 2. ออกแบบการประเมินผลโครงการสร้างผู้จดั การศูนย์ความเป็นเลิศ ด้วยแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) 3. ดําเนินการหารือกับรองคณบดีฝ่ายบริการ เกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศ จํานวน 7 โครงการ ดังนี้ - โครงการศูนย์มะเร็ง (Cancer center) - โครงการศูนย์ส่องกล้อง (Endoscopic center) - โครงการศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะและไขกระดูก (Organ and bone-marrow transplantation center) - โครงการศูนย์โรคการนอนหลับ (Sleep disorder center) - โครงการศูนย์พิษยา (Toxicology center) - โครงการศูนย์รังสีวินิจฉัย (Imaging center) - โครงการศูนย์รังสีรวมพิกัด (Radio surgery center) 4. กําหนดแนวทางการสรรหา โดยสัมภาษณ์อาจารย์ที่เป็นหัวหน้าศูนย์ฯ เพื่อนํามาเป็นแนวทางใน การสรรหาผู้จดั การศูนย์ฯ อื่น ๆ - 119 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
3.1.2 โครงการสร้างอาจารย์แพทย์ต้นแบบ (Role model) ด้วยแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan) อาจารย์แพทย์ที่มีคุณลักษณะที่เป็นแบบอย่างที่ดี เป็นหัวใจสําคัญของการผลิต นักศึกษาให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ จากการมีต้นแบบที่ดี และยังเป็นการตอบสนองยุทธศาสตร์ระดับ คณะฯ ในด้ า นความเป็ น เลิ ศ ทางการศึ ก ษา (Education excellence) ที่ มี เป้ า ประสงค์ ในการพั ฒ นา นักศึกษาแพทย์ให้เป็นผู้มีคุณธรรม มีพหุศักยภาพในการพัฒนาสุขภาวะของสังคมและมีความเป็นสากล ดังนั้น คณะฯ จึงเห็นความสําคัญ ของการสร้างอาจารย์แพทย์ที่เป็ นต้นแบบที่ดี เพื่อให้ได้รับการ พัฒนาอย่างรอบด้าน เช่น ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้เพื่อเป็นแนวทางแก่นักศึกษาให้สามารถนํา ความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในด้านการศึกษา การเป็นแบบอย่างที่ดีทางด้านคุณธรรม จริยธรรม การพัฒนา ความเป็นคนดี ส่งผลให้นักศึกษาแพทย์กลายเป็นบัณฑิตที่มีคุณธรรม มีพหุศักยภาพในการพัฒนาสุขภาวะ ของสังคมและมีความเป็นสากลต่อไป ผลการดําเนินงาน 1. จัดประชุมคณะทํางานเพื่อวางแผนการดําเนินการ 2. อยู่ระหว่างการวิเคราะห์ และกําหนดความสามารถที่ต้องพัฒนาของอาจารย์แพทย์และจัดทํา แผนพัฒนา 3.1.3 โครงการการก้าวหน้าในตําแหน่งของบุคลากรสายสนับสนุนด้วยแผนพัฒนารายบุคคล (Individual development plan) และปฏิบัติงานอย่างเต็มประสิทธิภาพ การสนับสนุนให้บุคลากรมี ความก้าวหน้ าในตํ าแหน่ง เป็ นการพัฒ นาทัก ษะ แรงจูงใจ และคุณ ค่าในตนเองของบุ คลากร ส่ งผลให้ บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มศักยภาพเพื่อนําไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ของคณะฯ และสอดคล้อง กั บ ยุ ท ธศาสตร์ ม หาวิ ท ยาลั ย ในการสร้ า งความเป็ น เลิ ศ ด้ า นทรั พ ยากรบุ ค คล (Human resource excellence) ผู้ขอตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษ ต้องได้รับการประเมินฯ ทั้งด้านปริมาณงานและคุณภาพงาน ในหน้าที่ สมรรถนะหลักและสมรรถนะตามสายงาน คณะฯ จึงได้เห็นความสําคัญในการดําเนินการด้วย แผนพั ฒ นารายบุ ค คล ในการให้ ค วามรู้ การฝึ กทั ก ษะ การสร้างแรงจู งใจ รวมถึ งการให้ คํ าปรึก ษากั บ บุคลากรสายสนับสนุนอย่างใกล้ชิด เพื่อให้การขอตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษประสบผลสําเร็จ ผลการดําเนินงาน 1. จัดประชุมเพื่อสร้างความรู้พื้นฐานในการให้คําปรึกษาแก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อขอตําแหน่งชํานาญ การพิเศษ ให้กับคณะทํางาน 2. จัดประชุมชี้แจง ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2556 พร้อมแจกแบบสอบถามให้กับกลุ่มเป้าหมาย ซึ่ง เป็นบุคลากร สายสนับสนุน (ทั่วไป) มีผู้เข้าฟังจํานวน 138 คน จาก 211 คน (เฉพาะกลุ่มเป้าหมาย) 3. ส่งบุคลากรกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมหลักสูตรที่เกีย่ วข้องและเป็นประโยชน์แก่การขอ ตําแหน่งฯ จากสถาบันต่างๆ
- 120 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
4. รวบรวมรายชื่อผู้ที่ผ่านการอบรมแล้ว เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาต่อไป พร้อมทั้งร่วมกัน วางแผน และกําหนดแนวทางในการพัฒนากลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมแล้ว เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และส่งผลให้บุคลากรสามารถส่งผลงานขอความก้าวหน้าในตําแหน่งได้ประสบความสําเร็จ 5. มีการปรับจํานวนกลุ่มเป้าหมาย จากเดิม บุคลากรสายสนับสนุนทั่วไป (ประมาณ 400 คน) เป็ น บุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น ทั้ ง หมด (ประมาณ 2,200 คน) เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ข อง มหาวิทยาลัย 3.2 ด้านสวัสดิการ คณะฯ ให้ความสําคัญเรื่องการจัดสวัสดิการ การดูแลความเป็นอยู่และการเสริมสร้างสุขภาวะแก่ บุคลากรรามาธิบดีทุกสายงาน เพื่อเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคลากรทุกคนได้ทํางานอย่างมีความสุข โดย มอบหมายให้ ค ณะอนุ กรรมการสวัส ดิการคณะฯ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากภาควิชา/สํ านั กงานและ หน่ วยงาน จํ านวน 15 คน ตามระเบี ย บคณะกรรมการสวัส ดิ ก าร มหาวิท ยาลั ย มหิ ด ล ว่าด้ ว ยการจั ด สวั ส ดิ ก ารภายในมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล พ.ศ.2550 รั บ ผิ ด ชอบในการกํ าหนดนโยบาย อํ า นวยการและ ดําเนินการจัดสวัสดิการให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบุคลากร คณะอนุกรรมการสวัสดิการคณะฯ ได้กําหนดวิสัยทัศน์ คือ “รามาธิบดี : บ้านดี บุคลากรมีสุข” โดย ดําเนินการผ่านพันธกิจ 4 ด้าน คือ “ช่วยเหลือ ผูกพัน สุขสันต์ มั่นคง” (ตารางที่ 3.2.1 และ 3.2.2) ตารางที่ 3.2.1 สวัสดิการของบุคลากรรามาธิบดี สวัสดิการ ด้านการช่วยเหลือค่าครองชีพ เงินช่วยเหลือค่าเล่าเรียนบุตร เงินทุนการศึกษาบุตร เงินยืมค่าเล่าเรียนบุตร ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยรามาธิบดี การให้เงินช่วยเหลือกรณีประสบอุบัติเหตุระหว่างปฏิบัติหน้าที่ การให้เงินช่วยเหลือกรณีประสบภัยธรรมชาติ เงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัยร่วมกับธนาคาร การให้บริการร้านค้าและบริการ เช่น ศูนย์อาหารรามาธิบดี ศูนย์อาหารศูนย์การแพทย์สมเด็จ พระเทพรัตน์ ตู้กดเงินสดอัตโนมัติ (ATM) ร้านสะดวกซื้อ ร้านถ่ายเอกสาร ศูนย์หนังสือรามาธิบดี เป็นต้น ด้านการส่งเสริมความผูกพันต่อองค์กร การเยี่ยมไข้ คลอดบุตร - 121 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
สวัสดิการ รางวัลบุคลากรดีเด่นและทําชื่อเสียงให้คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ของที่ระลึกแด่ผู้เกษียณอายุราชการ ดอกไม้สําหรับพิธีศพญาติสายตรง จัดทํานามบัตร ด้านการสร้างความสุขสันต์ให้แก่บุคลากรรามาธิบดี กิจกรรมกีฬาและนันทนาการ เช่น การแข่งขันกีฬาภายในคณะฯ การแข่งขันกีฬาเพื่อเชื่อม ความสัมพันธ์กับองค์กรอื่นๆ โครงการก้าวย่างอย่างมีสติ เป็นต้น โครงการพิเศษ เช่น งานทําบุญเดือนเกิดบุคลากรรามาธิบดี งานวันรามาสามัคคี เป็นต้น ด้านการเสริมสร้างความมัน่ คงในอนาคต ตรวจสุขภาพประจําปี การจัดทําประกันอุบัติเหตุผู้เดินทางไปปฏิบัติราชการนอกเขตกรุงเทพฯ และต่างประเทศ เงินฌาปนกิจศพเจ้าหน้าที่ โครงการร้านค้าสวัสดิการรามาธิบดี ตารางที่ 3.2.2 การจัดกิจกรรม/สวัสดิการบุคลากร ปีงบประมาณ 2554 – 2556 กิจกรรม/สวัสดิการ
2554
2555
2556
‐ เงินช่วยเหลือกรณีเจ้าหน้าที่ประสบอุบัติเหตุหรือ
848 469 1 84 103 1,313 64 291 36
750 447 2 84 2,570 1,319 58 393 30
837 568 1 90 3 1,381 94 350 1,977 29
อันตรายขณะปฏิบัติหน้าที่ (ราย) ‐ ดอกไม้สําหรับพิธีศพญาติสายตรง (ราย) ‐ ของที่ระลึกบุคลากรเกษียณอายุราชการ (ราย)
101 87
137 98
158 88
‐ เงินช่วยเหลือการศึกษาบุตร (ราย) ‐ เงินการศึกษาบุตร (ราย) ‐ เงินยืมค่าเล่าเรียนบุตร (ราย) ‐ ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย (รายต่อเดือน) ‐ เงินช่วยเหลือกรณีประสบภัยธรรมชาติ (ราย) ‐ โครงการเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัยร่วมกับธนาคาร (ราย) ‐ ร้านค้าและบริการ (ตําแหน่ง) ‐ การเยี่ยมไข้ คลอดบุตรเจ้าหน้าที่ (ครั้ง) ‐ ตรวจสุขภาพประจําปี (ราย)
- 122 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
กิจกรรม/สวัสดิการ ‐ โครงการพิเศษ เช่น ทําบุญเดือนเกิด รามาพาตะลุย
รามาน้อย งานวันรามาสามัคคี (โครงการ) ‐ ศูนย์กีฬาและสโมสร (ครั้ง) - ฟิตเนส - แบดมินตัน - ปิงปอง - แอโรบิค - เทนนิส - บาสเกตบอล - ตระกร้อ - ฟุตซอล - วอลเล่ย์บอล ‐ การจัดทําประกันอุบัติเหตุ สําหรับผู้เดินทางไปปฏิบัติ ราชการนอกเขตกรุงเทพฯ และต่างประเทศ - รายปี (คน) - รายครั้ง (ครัง้ ) ‐ เงินช่วยเหลือค่าฌาปนกิจศพเจ้าหน้าที่ (ราย)
2554
2555
2556
22
16
22
57,037 10,713 10,005 3,657 3,535 3,285 1,191 2,252 1,380
55,206 9,218 1,391 3,631 6,250 2,732 1,179 2,194 484
63,156 8,641 2,391 2,042 6,547 2,559 1,238 3,355 1,080
710 3,752 5
748 3,566 4
790 1,843 6
แผนภูมิที่ 3.2.1 การจัดสวัสดิการบุคลากร ปีงบประมาณ 2554 – 2556 จํานวน(บาท) 25,000,000
20,813,193.72
มั่นคง
20,000,000 15,000,000
14,296,080.87 8,918,150.67
สุขสันต์** ผูกพัน*
10,000,000
ช่วยเหลือ
5,000,000 0
2554
2555
*
2556
ปีงบประมาณ
หมายเหตุ * จัดงานวันรามาสามัคคี ซึ่งในปีงบประมาณ 2555 ได้งดจัดเพราะมีเหตุการณ์มหาอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 ** การตรวจสุขภาพบุคลากรประจําปี จํานวน 2,680,880 บาท - 123 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โครงการรามาน้อย ครั้งที่ 13 - 14
โครงการรามาพาตะลุย
โครงการทําบุญเดือนเกิด
- 124 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
3.3 ด้านอัตรากําลังบุคลากร แผนภูมิที่ 3.3.1 บุคลากรเต็มเวลา ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จํานวน (คน) 8,800
8,636
8,600 8,400
8,146
8,200 8,000
7,845
7,800 7,600 7,400 2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
จากแผนภูมิที่ 3.3.1 บุคลากรเต็มเวลา ปีงบประมาณ 2554 - 2556 มีจํานวนเพิ่มขึ้นด้วยเหตุผลต่างๆ ดังนี้ 1. การขยายตัวของคณะฯ และการเปิดให้บริการเพิ่ม เช่น การเปิดจุดให้บริการเพิ่ม ณ ศูนย์การแพทย์ สมเด็จพระเทพรัตน์ การเตรียมอัตรากําลังเพื่อรองรับการเปิดดําเนินการสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ เป็นต้น 2. การจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศต่างๆ เพื่อสนับสนุนพันธกิจของคณะฯ และเพิ่มประสิทธิภาพ ด้าน การศึกษา บริการสุขภาพ การวิจัย การบริการวิชาการ 3. การโอนย้ายของบุคลากรจากหน่วยงานที่ไม่ได้สังกัดคณะฯ เข้ามาเป็นบุคลากรภายใต้สังกัดคณะฯ เช่น ศูนย์สนับสนุนพันธกิจ เป็นต้น
- 125 -
20
7
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
อาจารย์
144
41
40
20
105
87
465
510
805
210
2
2
947
297
2
2
รวม
ลจ.ประจา เงินนอกงบฯ
ลจ.แพทย์ นอกงบฯ ชค.
1
7
2
21
3
28 121 182 303
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
ลจ.ประจาเงินงบฯ
441 2,092 2,533 165 187 352 143 244 387 314 437 751
1,351 1,396 142
91
569
1
350
108
82
28
ชาย หญิง
ลจ.ชั่วคราว นอกงบฯ
-126-
105 348 453 349 2,231 2,580 670 3,109 3,779 165
187
352 143 244 387 322 460 782 121 182 303
8,636
7,917
4,641
2,815
461
719
3
389
166
118
43
ผลรวม ทั้งหมด
รายงานประจาปี 2556
44 261 305 104 1,907 2,011 670 3,107 3,777 165 187 352 143 244 387 322 460 782 121 182 303
45
45
14
324
1
206
67
42
8
รวม
พร.ส่วนงานฯ
แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 - จัดทำแผนพัฒนำบุคลำกรรำยบุคคล (Individual development plan: IDP)
รวมทั้งสิ้น
สายสนับสนุน ผลรวม
85 108
23
31
สนับสนุนทั่วไป
26
16 150 166
5
39
58
36
15
87 148 245
32
38
13
4
วิชาชีพเฉพาะ
สายสนับสนุน วิชาการ
61
23
รองศาสตราจารย์
นักวิจัย
11
หญิง
พนักงานมหาวิทยาลัย
ชาย หญิง รวม ชาย
ศาสตราจารย์
กลุ่มตาแหน่ง
สายวิชาการ ผลรวม
สายวิชาการ
สายงาน
ข้าราชการ
ตารางที่ 3.3.1 จานวนบุคลากรแยกตามสายงาน กลุ่มตาแหน่งและประเภทการจ้าง
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บทที่ 4 ด้านการเงินการคลังและการพัสดุ 4.1 ด้านการเงินการคลัง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี งบแสดงฐานะทางการเงิน ณ 30 กันยายน 2556 และ 30 กันยายน 2555 สินทรัพย์ หน่วย : บาท 30 ก.ย.2556
30 ก.ย.2555
ร้อยละ เพิ่ม (ลด)
1,248,246,258.85 1,219,119,573.33 1,251,022,824.23 26,599,012.66 45,091,550.29 707,462,738.05 33,944,367.94 4,531,486,325.35
1,200,402,750.65 572,353,040.57 1,621,742,573.99 12,689,207.33 28,588,013.38 796,807,397.64 26,724,436.65 4,259,307,420.21
3.99 113.00 (22.86) 109.62 57.73 (11.21) 27.02 6.39
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
2,942,255,554.74 8,248,371,787.74 149,040,577.95 11,339,667,920.43
2,886,663,965.16 6,566,693,830.65 161,267,947.26 9,614,625,743.07
1.93 25.61 (7.58) 17.94
รวมสินทรัพย์
15,871,154,245.78
13,873,933,163.28
14.40
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล - สุทธิ ลูกหนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ ลูกหนี้อื่น - สุทธิ ยา เวชภัณฑ์และวัสดุทั่วไป สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน
- 127 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี งบแสดงฐานะทางการเงิน ณ 30 กันยายน 2556 และ 30 กันยายน 2555 หนี้สนิ และส่วนของทุน หน่วย : บาท ร้อยละ เพิ่ม(ลด)
30 ก.ย.2556
30 ก.ย.2555
816,838,486.96 7,683,428.59 344,898,490.07 4,997,040.90 22,744,172.35 1,197,161,618.87
1,351,549,829.31 22,407,040.10 235,640,904.94 8,146,464.78 15,224,045.67 1,632,968,284.80
(39.56) (65.71) 46.37 (38.66) 49.40 (26.69)
600,489,803.69 600,489,803.69 1,797,651,422.56
332,503,446.60 332,503,446.60 1,965,471,731.40
80.60 80.60 (8.54)
หนี้สนิ หมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สนิ หมุนเวียน หนี้สนิ ไม่หมุนเวียน รายได้จากการบริจาครอการรับรู้ รวมหนี้สนิ ไม่หมุนเวียน รวมหนี้สนิ ส่วนของทุน ทุนประเดิม กําไร (ขาดทุน) สะสม กําไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจาก การปรับมูลค่าเงินลงทุน รวมส่วนของทุน
9,913,537,057.65 4,135,931,138.77 24,034,626.80
9,913,537,057.65 1,872,820,267.00 122,104,107.23
120.84 (80.32)
14,073,502,823.22
11,908,461,431.88
18.18
รวมหนี้สนิ และส่วนของทุน
15,871,154,245.78
13,873,933,163.28
14.40
- 128 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี งบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุด 30 กันยายน 2556 และ 30 กันยายน 2555 หน่วย : บาท ต.ค. - ก.ย.2556
ต.ค. - ก.ย.2555
ร้อยละ เพิ่ม(ลด)
รายได้จากรัฐบาล รายได้เงินงบประมาณจากรัฐบาล และหน่วยงานอื่น 3,956,951,048.50 2,697,980,070.68 46.66 รายได้จากแหล่งอื่น รายได้จากการให้บริการรักษาพยาบาล - สุทธิ 8,360,996,929.25 7,040,265,581.80 18.76 รายได้จากการให้บริการวิชาการและวิจัย 352,758,646.65 237,686,390.29 48.41 รายได้จากการจัดการศึกษา 20,845,372.00 21,993,358.84 (5.22) รายได้จากการรับบริจาค 963,606,799.81 124,422,780.82 674.46 รายได้อื่น 698,392,473.02 440,207,458.33 58.65 รวมรายได้ 14,353,551,269.23 10,562,555,640.76 35.89 ค่าใช้จ่ายจากการดําเนินงาน วัสดุที่ใช้ในการรักษาพยาบาล 5,248,379,947.88 4,938,930,014.62 6.27 ค่าใช้จ่ายบุคลากร 3,547,922,881.17 2,817,983,974.69 25.90 ค่าใช้จ่ายในการดําเนินการ 1,802,196,932.91 2,050,236,269.88 (12.10) ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย 1,441,699,673.47 1,022,990,046.48 40.93 ค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้เกิดจากการดําเนินงาน 50,240,962.03 2,343,016.02 2,044.29 รวมค่าใช้จ่าย 12,090,440,397.46 10,832,483,321.69 11.61 รายได้สูง/(ต่ํา)กว่าค่าใช้จ่าย - สุทธิ 2,263,110,871.77 (269,927,680.93) 938.41
- 129 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
รายงานทางการเงินรวม การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน (Ratio analysis) คําอธิบาย
หน่วย
แสดงถึงสภาพคล่องในการบริหารงาน บอก ความสามารถในการชําระหนี้สินหมุนเวียน ด้วยสินทรัพย์หมุนเวียน แสดงถึงความสามารถในการชําระหนี้สิน หมุนเวียนด้วยสินทรัพย์หมุนเวียนเร็ว โดย ปกติอัตราส่วนควรมีค่าเท่ากับ 1 เท่า จึงจะถือว่าสามารถชําระหนี้ได้ทันที แสดงถึงความสามารถในการชําระหนี้สิน หมุนเวียนด้วยเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสด
เท่า
กันยายน 2556 2555 3.79 2.61
เท่า
3.11
2.08
เท่า
1.04
0.74
แสดงถึงการเก็บสินค้าคงเหลือ(ยา) ว่าใช้ เดือน เวลานานเพียงใด เพื่อวัดประสิทธิภาพใน การบริหารสินค้าคงเหลือ ระยะเวลาเฉลี่ยใน แสดงถึงการเก็บสินค้าคงเหลือ(เวชภัณฑ์) เดือน การถือครอง ว่าใช้เวลานานเพียงใด เพื่อวัดประสิทธิภาพ เวชภัณฑ์ ในการบริหารสินค้าคงเหลือ อัตราส่วนหนี้สินรวม แสดงถึงความสามารถในการนําสินทรัพย์ เท่า ต่อสินทรัพย์รวม ไปจ่ายชําระหนี้ของคณะฯ (Debt to total asset ratio) อัตราส่วนหนี้สินรวม แสดงถึงโครงสร้างของเงินทุนของคณะฯ เท่า ต่อส่วนของทุนรวม (Debt to equity ratio)
1.46
1.76
3.28
3.61
0.11
0.14
0.13
0.17
ลําดับ อัตราส่วน ที่ 1. อัตราส่วนทุน หมุนเวียน (Current ratio) 2. อัตราส่วนทุน หมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) 3.
4.
5.
6.
7.
อัตราส่วนเงินสด และรายการเทียบ เท่าเงินสด (Cash ratio) ระยะเวลาเฉลี่ยใน การถือครองยา
- 130 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
รายงานทางการเงินรวม การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน (Ratio analysis) ลําดั อัตราส่วน บที่ 8. อัตราผลตอบแทน จากสินทรัพย์ (Return on assets) 9. อัตราผลตอบแทน จากส่วนของทุน (Return on equity) 10. อัตรากําไรก่อนหัก ดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และ ค่าใช้จ่ายตัดจ่าย (EBITDA margin) 11. อัตราส่วนกําไรจาก การดําเนินงานต่อ ยอดรายได้ (Operating margin)
คําอธิบาย ใช้ประเมินความคุ้มค่าของการลงทุนเมื่อ เทียบกับสินทรัพย์ที่มีไว้ใช้ดําเนินงาน
กันยายน 2556 2555 ร้อยละ 14.26 (1.95) หน่วย
แสดงให้เห็นว่าเงินลงทุนในส่วนของเจ้าของ ร้อยละ 16.08 จะได้รับผลตอบแทนกลับคืนมาใน อัตราส่วนเท่าไร
(2.27)
อัตราส่วนระหว่างกําไรจากการดําเนินงาน ก่อนหักค่าเสื่อมราคาและค่าใช้จ่ายตัดจ่าย ดอกเบี้ยจ่ายและภาษี กับรายได้จากการ ดําเนินงาน
ร้อยละ 25.81
7.13
ใช้ประเมินความสามารถในการบริหาร จัดการในการสร้างกําไรต่อยอดรายได้
ร้อยละ 15.77
(2.56)
- 131 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
4.2 ด้านการพัสดุ ดําเนินงานในเชิงรุกทุกด้านเพื่อให้เกิดความโปร่งใส รวดเร็ว มีคุณภาพ ตอบสนองต่อการใช้พัสดุ อย่างยั่งยืน มีดุลยภาพและมีส่วนร่วมต่อสังคม ดังนี้ 1. การจัดหาพัสดุ ในระบบ Central procurement Central procurement เป็นการปรับเปลี่ยนระบบการจัดซื้อ เป็นการทบทวนและจัดการภารกิจใน แต่ละพันธกิจของภาควิชา/หน่วยงาน ขจัดความซ้ําซ้อน และผิดพลาดในกระบวนการจัดหา โดยหน่วยงาน ที่รับภาระหน้าที่ในการจัดหาของคณะฯ คือ ฝ่ายการพัสดุ และอีก 12 หน่วยงาน ซึ่งมีการแบ่งขอบเขตใน การจัดหาตามความรู้ความชํานาญของแต่ละหน่วยงาน ทั้งนี้ในส่วนของการจัดหาเข้าคลังสํารองวัสดุนั้นมี ความสําคัญ มาก โดยได้จัดหาวัสดุที่หน่วยงานเคยซื้อเป็ นค่าใช้จ่ายเข้าสู่คลังสํารองไว้ เพื่อให้ภาควิชา/ หน่วยงานสามารถเบิกวัสดุที่ต้องการใช้ได้อย่างเป็นระบบ การจัดหาพัสดุ ประเภทครุภณ ั ฑ์ที่ดินสิ่งปลูกสร้าง วัสดุสํารองคลังทั่วไป งานจ้างฯ งานปรับปรุงฯ ดังนี้ ประเภทการจัดหา ค่าใช้จ่าย/นอกคลัง วัสดุสํารองคลัง ครุภัณฑ์/ที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ต่ํากว่าเกณฑ์ งานซ่อมปรับปรุง รวม
จํานวน (รายการ) 1,068 1,622 350 128 161 3,329
มูลค่า (บาท) 514,934,117.07 51,210,121.64 910,367,579.19 5,756,758.31 8,034,318.19 1,490,302,894.40
2. โครงการวัสดุ Express เพิ่มประสิทธิภาพการเบิก-จ่ายวัสดุคลังทั่วไป ดังนี้ 1. เพิ่มช่องทางการเบิก-จ่ายวัสดุในกรณีหน่วยงานมีความจําเป็นเร่งด่วน 2. ลดภาระการจัดหาของภาควิชา/หน่วยงาน โดยฝ่ายการพัสดุจัดหาให้เพื่อให้ภาควิชา/หน่วยงาน ปฏิบัติงานตามพันธกิจของตนได้อย่างเต็มที่ 3. จัดหาวัสดุสาํ รองคลังที่เหมือนกัน แทนการจัดหาหลายหน่วยงาน (Commonality of preaches requirement) การเบิกวัสดุ กรณีต้องการใช้เร่งด่วน (ทุกหมวด) 3 ข้อ ดังนี้ 1. จําเป็นต้องใช้เร่งด่วนหากล่าช้าอาจทําให้คณะได้รับความเสียหาย และในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น ไฟฟ้าดับ ท่อน้ําแตก ฯลฯ หรือเกิดเหตุการณ์ทางธรรมชาติ 2. ใบรั บ รองแพทย์ ที่ ถู ก ควบคุ ม โดยงานบริห ารโรงพยาบาลรามาธิบ ดี ต้ องผ่ านการอนุ มั ติ จาก ผู้อํานวยการโรงพยาบาลฯ ก่อนทุกครั้งที่เบิกเล่มใหม่ - 132 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
3. จําเป็นต้องใช้ แต่ไม่ได้เบิกวัสดุแบบปกติ หรือเบิกแต่ไม่เพี ยงพอต่อการใช้งานซึ่งถ้าภาควิชา/ หน่วยงานจําเป็นต้องใช้วัสดุตามเงื่อนไข ดังกล่าวให้ส่งใบขอเบิกวัสดุเหมือนการเบิกวัสดุแบบปกติทั่วไป ณ จุด ให้บริการ “วัสดุ Express” ที่มีสัญลักษณ์ และรอรับวัสดุทันที หรือรับในวันทําการถัดไปในกรณีวัสดุคงคลัง มียอดคงเหลือเป็นศูนย์
สัญลักษณ์ การให้บริการวัสดุ Express
แผนภูมิที่ 4.2.1 การเบิก-จ่ายในกรณีเร่งด่วน ณ จุดให้บริการวัสดุ Express ปีงบประมาณ 2556 จํานวน (บาท)
38,392
40,000 35,000 30,000 25,000
15,000
19,834
18,915
20,000 11,594
13,794
13,715
11,555
9,191
8,744
8,546
10,000
5,107
5,000
950
0
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
3. โครงการการเรียกดูข้อมูลสัญญาในระบบ Intranet ระบบงานด้านการพัสดุไม่ว่าจะเป็นเรื่องพื้นฐานทั่วไปอย่างเช่น การเบิกวัสดุ หรือเรื่องใหญ่ๆ เช่น เอกสารการจัดซื้อหรือเอกสารสัญญาพัสดุราคาสูง ทุกเรื่องล้วนเกี่ยวข้องกับกระดาษและเอกสาร ฝ่ายการพัสดุ ต้องปฏิบั ติงานภายใต้ข้อบั งคับมหาวิทยาลัยมหิดลว่าด้วยการพัส ดุ พ.ศ.2551 อีกทั้ งยังคงมีหลายส่วน เกี่ยวข้องกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ รวมทั้งหนังสือเวียนของคณะรัฐมนตรีต่างๆ อีกมาก พบว่ามีปัญหาและอุปสรรค ดังนี้ ปริมาณเอกสารมีจํานวนมาก พื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารมีไม่เพียงพอ ส่งสําเนาสัญญาให้แก่ภาควิชา/หน่วยงานล่าช้า เอกสารประกอบสัญญาสูญหาย - 133 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ค้นหาเอกสารสัญญาล่าช้า ผู้รบั บริการไม่พึงพอใจ
โปรแกรมในการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
ผลการปฏิบัตงิ านก่อนและหลังการใช้โปรแกรมในการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ในระบบ Intranet การดําเนินการ กิจกรรม หมายเหตุ งานเดิม งานใหม่ (เฉลีย่ ) 1. ลดปริมาณการใช้กระดาษ (รีม/เดือน) 80 43.33 2. ค้นหาเอกสารสัญญาได้อย่างรวดเร็ว (เรื่อง/นาที) 20 2.83 3. เอกสารประกอบสัญญาสูญหาย (เรื่อง/ปี) 2 0 ระบบเดิมต้องใส่ 4. ลดพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสาร (ตารางเมตร) 61.02 49.35 กล่องวางซ้อนกัน ทําให้เสียพื้นที่ใน การปฏิบัติงาน
5. ความพึงพอใจของภาควิชา/หน่วยงาน (ร้อยละ)
ไม่ได้มี การวัด
87.52
4. พัสดุเชิงรุก “บุรุษไปรษณีย์พสั ดุ” ถูกต้อง ฉับไว ประทับใจผู้บริการ การรับ-ส่งหนังสือหลายประการ เช่น รับ-ส่งหนังสือล่าช้า เอกสารถูกตีกลับ ไม่ถึงมือผู้รับ เมื่อเอกสาร หายมีการทวงถามจากเจ้าของเรื่อง หรือบุคลากรขาดการทบทวนเอกสารในการจัดส่ง เป็นต้น เนื่องจาก เอกสารทางด้านการพัสดุมีความสําคัญมาก ตัวอย่างเช่น ถ้าเอกสารสูญหาย จะต้องมีการแจ้งความ เป็นต้น ประชุม วางแผน เตรียมความพร้อมเพื่อให้การปฏิบัติงานจริงสามารถแก้ไขปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นอย่าง เป็นระบบ และการได้มีบทบาทสําคัญในการช่วยให้ฝ่ายการพัสดุสามารถสนับสนุนทุกพันธกิจของคณะฯ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ - มีระบบการจัดการเชิงรุกมากขึ้น ลดการรอคอยเอกสาร (Delay) - พัฒนาระบบที่ช่วยให้ลดขั้นตอนในการทํางานซ้ําซ้อน (Defects) - 134 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
- จัดระบบการขนย้ายเอกสารทุกประเภท - มีการแจ้งรับเอกสารให้ถูกต้องและชัดเจน - เพื่อการสะท้อนความคิดเห็นของผู้รับบริการได้โดยตรง
ปฏิบัติงานตามหลัก PPM model (Procurement postman model) โดยนําหลัก PDCA มาประยุกต์ใช้ ผลการปฏิบัตกิ ารบุรุษไปรษณีย์พสั ดุ ตัวชี้วัด 1. จํานวนความผิดพลาดที่ในการส่งเรื่องนําเสนอคืนแก่ ผู้เกี่ยวข้อง/ภาควิชา/หน่วยงาน (ครั้ง) 2. จํานวนเอกสารสูญหาย (เรื่อง) 3. จํานวนของผู้ติดตามเรื่องนําเสนอล่าช้าไม่ทันเวลา (ครัง้ ) 4. สามารถสร้างความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ร้อยละเฉลี่ย)
ก่อนทําโครงการ หลังทําโครงการ (จํานวน/ปี) (จํานวน/ปี) 17 0 2 49 60
0 0 92.27
และ“บุรุษไปรษณีย์พัสดุ” ถูกต้อง ฉับไว ประทับใจ ผู้รับ บริการ ยังได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อัน ดับ 2 Continuous quality improvement (CQI) ใ น งานมหกรรมคุ ณภาพ (Quality conference) ครั้งที่ 20 ประจําปี 2556 22 – 23 สิงหาคม 2556 ณ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 5. E-catalog การจัดหาคลังวัสดุสํารองคลังและดําเนินการบริหารจัดการ ควบคุมดูแลการเบิก - จ่ายพัสดุจาก คลั งพั ส ดุ ได้ พ บปั ญ หาการเบิ ก วั ส ดุ ผิ ด รายการและความไม่ ส ะดวกในการเบิ ก -จ่ ายวั ส ดุ ให้ กั บ ภาควิช า หน่วยงานได้มีแนวคิดที่จะพัฒนาระบบคลังวัสดุให้มีประสิทธิภาพและให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อคณะฯ และ ได้รับข้อเสนอจากการประชุมหารือร่วมกับภาควิชา/หน่วยงาน จึงก่อให้เกิดโครงการ E-catalog โดยมี วัตถุประสงค์ ดังนี้ - 135 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
- เพื่อแก้ปัญหาการเบิก-จ่ายวัสดุผิดพลาด - เพื่อเป็นการอํานวยความสะดวกให้แก่ภาควิชาหน่วยงาน - เพื่อเป็นให้บุคลากรใช้วัสดุได้อย่างถูกวิธีตามคุณลักษณะการใช้งาน - เพื่อเป็นการสร้างความตระหนักรู้ในการใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า
ภาพ Version ล่าสุด E-catalog (Phase I)
6. โครงการ พัสดุ Charity จากจุ ด เริ่ ม ต้ น เล็ ก ๆ ที่ ต้ อ งการจะจํ า หน่ า ยพั ส ดุ ที่ เสื่ อ มสภาพออกจากพื้ น ที่ โดยรวดเร็ ว เมื่ อ ปีงบประมาณ 2551 มาถึงวันนี้ โครงการพัสดุ Charity ได้กลายเป็น 1 ในโครงการสําคัญระดับส่วนงานของ คณะฯ ตามยุทธศาสตร์ Academic excellence (ความเป็นเลิศด้านบริการวิชาการสู่สังคม) ยุทธศาสตร์ 5 social responsibility เนื่องด้วยคณะฯ สามารถสร้างคุณประโยชน์ให้กับสังคม เช่น ได้ เพิ่ ม บทบาทในการรับ ผิ ด ชอบต่ อ สั งคม โดยการบริจ าคพั ส ดุ ที่ ห มดความจําเป็ น ต้ อ งใช้ ให้ หน่วยงานที่ขาดแคลนงบประมาณ เพื่อสร้างคุณค่าและเป็นการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน ช่วยรักษาและต่อชีวิตผู้ป่วยยากไร้ในถิ่นทุรกันดาร ที่ขาดแคลนเครื่องมือแพทย์ที่ทันสมัย เช่น บริจาคเครื่องเอกซเรย์เจาะชิ้นเนื้อเต้านมแบบดิจิทัล ให้กับโรงพยาบาลพัทลุง ซึ่งเครื่องนี้เป็นเครื่องแรกของ จังหวัดพัทลุง บริจาคเครื่องถ่ายเอกซเรย์ฟัน ให้กับโรงพยาบาลสูงเม่น จังหวัดแพร่ เป็นต้น
- 136 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ช่วยเสริมสร้างความรู้ ปลูกปัญญา และพัฒนาการศึกษาของชาติ โดยการบริจาคพัสดุที่จําเป็นต่อ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สํานักงานอื่นๆ รวมทั้งเครื่องมือที่เป็นประโยชน์ ในการศึ ก ษาระดั บ มหาวิท ยาลั ย เช่ น บริจ าคเครื่อ งนั บ แยกเซลล์ ให้ กั บ ภาควิช าพยาธิชี ววิท ยา คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล บริจาคเครื่องถ่ายเอกซเรย์เต้านมแบบดิจิทัล ให้กับมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี เป็นต้น ประหยัดงบประมาณประเทศได้ เพราะหน่วยงานราชการที่ขาดแคลนงบประมาณสามารถนํา พัสดุที่ได้รับบริจาคจากคณะฯ ไปใช้งานต่อได้ จัดระบบพื้นที่ การจําหน่ายพัสดุ จากเดิมที่พัสดุรอจําหน่ายวางอยู่ทั่วไปตามพื้นที่ส่วนกลาง ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างคุณค่าและประโยชน์ให้กับสังคมได้อย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง ส่วนสําคัญที่ทําให้เกิดประโยชน์ดังที่กล่าวมาข้างต้น คือ การขยายเครือข่ายหน่วยงานรับบริจาค ซึ่ง โครงการนี้ได้ที่การกําหนดตัวชี้วัด และสามารถปฏิบัติตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ได้ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ตัวชี้วัด 1. จําหน่ายโดยการโอน/บริจาค (ครั้ง) 2. หน่วยงานที่รับโอน/บริจาค (หน่วยงาน) 3. ร้อยละของพัสดุที่หน่วยงานผู้รับโอน/บริจาคสามารถนําไปใช้งานต่อได้ (เฉลี่ยร้อยละ) 4. ความพึงพอใจของหน่วยงานผู้รับโอน/บริจาค (เฉลี่ยร้อยละ)
ค่าเป้าหมาย 45 45 80 85
แผนภูมิที่ 4.2.2 การขยายเครือข่ายหน่วยงานรับบริจาค จํานวนหน่วยงาน
296
300
245
250
192
200 150 100 50
19
30
2547
2548
55
79
92
2550
2551
128
140
2552
2553
0 2549
2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
- 137 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โครงการพั สดุ Charity สามารถประหยัดงบประมาณภายในคณะฯ ในส่วนของการหมุนเวียนใช้ ระหว่างหน่วยงาน (แผนภูมิที่ 4.2.3) แผนภูมิที่ 4.2.3 การประหยัดงบประมาณในการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 ราคา (บาท)
29,122,559.56
30,000,000 25,000,000 20,000,000
20,820,030.63 14,118,825.55
15,000,000 10,000,000 5,000,000 0 2554
2555
- 138 -
2556
ปีงบประมาณ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บทที่ 5 ด้านสารสนเทศ คณะฯ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทํางานที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสารสนเทศขึ้นเพื่อช่วย กําหนดนโยบาย กํากับดูแล ประสานงาน และดําเนินงานด้านสารสนเทศ ซึ่งมีความแตกต่างบางประการจาก คณะกรรมการที่มีขึ้นในปีงบประมาณก่อนๆ ดังนี้ 1. คณะกรรมการสารสนเทศ 2. คณะทํางานวางระบบเวชสารสนเทศเพื่องานบริการผู้ป่วย 3. คณะกรรมการพัฒนาระบบงาน SAP 4. คณะทํางานพัฒนาระบบงาน SAP ด้านงบประมาณ พัสดุ และทรัพยากรบุคคล 5. คณะทํางานพัฒนาระบบงาน SAP ด้านการเงินการคลังและบัญชีบริหาร โครงสร้างของคณะกรรมการดั งกล่าว ช่วยให้ มี ก ารทํ างานร่วมกั น ระหว่างฝ่ายสารสนเทศกั บ หน่วยงานอื่นๆ ในแต่ละพันธกิจ อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การบริหารงานด้านสารสนเทศ แบ่งโครงสร้างออกเป็น 4 งาน คือ 1. งานโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ รับผิดชอบดูแลโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ของระบบ สารสนเทศของคณะฯ ตั้งแต่ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย เครื่องแม่ข่าย อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล และ ระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. งานเวชสารสนเทศคลิ นิ ก รั บ ผิ ดชอบการพั ฒ นาและบํ ารุ งรั กษาซอฟต์ แวร์ ระบบสารสนเทศ โรงพยาบาล (Hospital information systems) และระบบสารสนเทศที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ พั น ธกิ จ ด้ า นการ บริการรักษาพยาบาลของคณะฯ 3. งานสารสนเทศเพื่อการบริหาร รับผิดชอบการพัฒนาและบํารุงรักษาซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร (Enterprise resource planning) และระบบสารสนเทศอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับพันธกิจ ด้านการบริการรักษาพยาบาลของคณะฯ 4. งานสารสนเทศคลังข้อมูล รับผิดชอบการพัฒนาระบบรายงานข้อมูลในรูปแบบต่างๆ และการขอ ข้อมูลจากระบบสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ของคณะฯ ตลอดจนการพัฒนาระบบคลังข้อมูล และระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร 1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ 1.1 การจัดหาครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ การจัดหาครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์โดยเงินงบประมาณดังนี้ 1.1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก 354 ชุด 1.1.2 เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง 50 ชุด 1.1.3 เครื่องคอมพิวเตอร์แบบ All-in-one 150 ชุด 1.1.4 เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค 20 ชุด - 139 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
1.1.5 เครื่องพิมพ์ Thermal 20 ชุด 1.1.6 เครื่องพิมพ์ขนาดเล็ก 10 ชุด 1.1.7 เครื่องสแกนเนอร์ความเร็วสูง 3 ชุด 1.1.8 เครื่องสแกนเนอร์ขนาดกลาง 4 ชุด 1.1.9 เครื่องอ่านบาร์โค้ดเส้นเดียว 180 ชุด 1.1.10 เครื่องอ่านบาร์โค้ดหลายเส้น 50 ชุด 1.1.11 เครื่องอ่านบาร์โค้ดไร้สาย 20 ชุด 1.1.12 เครื่องสํารองกระแสไฟฟ้า 35 ชุด การจัดหาครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์โดยเงินงบประมาณโครงการไทยเข้มแข็ง ดังนี้ 1.1.13 เครื่องอ่านบาร์โค้ดชนิดไร้สายแบบ 1 มิติ 50 ชุด 1.1.14 เครื่องอ่านบาร์โค้ดชนิดไร้สายแบบ 2 มิติ 10 ชุด 1.1.15 เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก 150 ชุด 1.1.16 เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ 50 ชุด 1.1.17 เครื่องคอมพิวเตอร์ All-in-one 30 ชุด 1.1.18 เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค 10 ชุด 1.1.19 เครื่องสแกนเนอร์ขนาดกลาง 20 ชุด 1.1.20 อุปกรณ์ป้องกันไวรัส 1 ชุด 1.1.21 อุปกรณ์ Server load balance 1 ชุด 1.1.22 อุปกรณ์สํารองข้อมูล 1 ชุด 1.1.23 ตู้อุปกรณ์ Blade 1 ชุด 1.1.24 อุปกรณ์ VMWare server 1 ชุด 1.1.25 อุปกรณ์ DC controller server 1 ชุด 1.1.26 อุปกรณ์ Application server 8 ชุด 1.1.27 อุปกรณ์ Backup server 1 ชุด 1.1.28 อุปกรณ์แสดงผลชนิด LCD 1 ชุด 1.1.29 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบภายนอก (Storage) 1 ชุด 1.1.30 อุปกรณ์ Wireless LAN controller 1 ชุด 1.1.31 อุปกรณ์ Wireless access point แบบเสาอากาศภายใน 230 ตัว 1.1.32 อุปกรณ์ Gigabit POE switch ชนิด 24 Ports 12 ตัว 1.1.33 อุปกรณ์ Gigabit ชนิด 48 Ports 15 ตัว
- 140 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
1.2 การพัฒนาระบบเครือข่าย การเดินสาย Local area network เพิ่มเติมในจุดต่างๆ ที่มีความจําเป็นต้องใช้งานแล้ว ยังมีการ ติดตั้งและปรับปรุงระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless network) ในอาคารสมเด็จพระเทพรัตน์ อาคารศูนย์ การแพทย์สิริกิติ์ และอาคารอื่นๆ ของคณะฯ ตลอดจนติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย เช่น Network switches, Wireless controllers และ Intrusion prevention systems ทดแทนอุ ป กรณ์ ที่ มี อ ยู่ เดิ ม เพื่ อ รองรั บ ความจํ าเป็ น ในการใช้ งานที่ เพิ่ ม มากขึ้ น และปรับ ปรุ งคุ ณ ภาพของระบบเครือ ข่ าย ในปี งบประมาณนี้ ระบบเครือข่ายของคณะฯ ได้รับผลกระทบจากปริมาณการใช้งานอินเทอร์เน็ตและ Social media ที่เพิ่ม มากขึ้นในอัตราที่ระบบเครือข่ายของคณะฯ และของมหาวิทยาลัยไม่สามารถรองรับความต้องการได้ทัน ทํา ให้ ส่งผลกระทบต่ อความเร็วและเสถีย รภาพในการใช้งานอินเทอร์เน็ ตพอสมควร ซึ่ งได้มีการหารือเชิง นโยบายเกี่ ยวกับ ความเหมาะสมในการจํากั ดการใช้ งาน และการรณรงค์เพื่ อส่งเสริม การใช้งานระบบ สารสนเทศอย่างรับผิดชอบ (Responsible use policy) ควบคู่ไปกับการดําเนินการทางเทคนิคของทาง มหาวิทยาลัย ด้วยการใช้คุณสมบัติ Quality of service (QoS) ของอุปกรณ์เครือข่าย และการปรับปรุงขีด ความสามารถของระบบเครือข่ายและ Proxy servers จนในที่สุดความเร็วและเสถียรภาพในการใช้งาน อินเทอร์เน็ตก็อยู่ในระดับที่เป็นที่ยอมรับได้ของผู้ใช้งานส่วนใหญ่ ความสําคัญของการเพิ่มขีดความสามารถ ของระบบเครือข่ายให้ทันกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ปริมาณการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ โดยเฉพาะเนื่องจากมีการนําโทรศัพท์ Smart phones และอุปกรณ์พกพา (Mobile devices) มาใช้งาน เพิ่มมากขึ้นอย่างมาก และการรณรงค์เพื่อส่งเสริมการใช้งานระบบสารสนเทศอย่างรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง 1.3 การปรับปรุงเครื่องแม่ข่ายและระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง มีการปรับปรุงเครื่องแม่ข่าย (Servers) และระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1.3.1 การ Migrate ระบบปฏิบัติการของ Domain controllers 1.3.2 การอุดช่องโหว่ความปลอดภัยของระบบปฏิบัติการของเครื่องแม่ข่ายสําคัญๆ โดยใช้ Windows Server Update Services (WSUS) 1.3.3 การย้ายอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (Storage area network: SAN) และ Servers บางส่วน ไปยังห้อง Data center ของอาคารสมเด็จพระเทพรัตน์ 1.3.4 การปรับปรุงโครงสร้าง Architecture และ Configurations ของ Servers ต่างๆ เช่น Web service servers, Servers ที่รองรับระบบ Enterprise service bus (JCAPS), Servers ที่ให้บริการ ระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการ (Laboratory information system), Database servers 1.3.5 การปรับปรุงระบบไฟฟ้าสํารอง (UPS) และระบบปรับอากาศ การปรับปรุงระบบแจ้ง เตือนเหตุฉุกเฉิน และการปรับปรุงระบบการรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงห้อง Data center ปัญหา IT incidents ที่ต้องแก้ไขปัญหาหลายครั้ง ทั้งที่มีสาเหตุมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ และที่เกี่ยวข้องกับงานโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศโดยตรง เช่น ปัญหาของระบบไฟฟ้าของ Data center ปัญหาของระบบเครือข่ายจากสาเหตุภายนอก ปัญหาของการตั้งค่า Configurations ของ Servers บาง - 141 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ประการ และปัญหาการระบาดของไวรัสคอมพิวเตอร์ โดยมีการให้ความสําคัญกับการทํางานเชิงรุกเพื่อหา สาเหตุของปัญหาและการป้องกันเชิงระบบ การทํางานเป็นทีม การสื่อสารในระหว่างที่เกิดปัญหา การ ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องและหน่วยงานต่างๆ เพื่อการแก้ไขปัญหาร่วมกัน การจัดเตรียมแผนฉุกเฉินและ การทํางานของผู้ใช้งานในระหว่างที่เกิดเหตุขัดข้องของระบบสารสนเทศ การพัฒนาศักยภาพของทีมให้ สามารถทํางานแทนกันได้ การจัดทําเครื่องมือสนับสนุนการทํางานในกรณีฉุกเฉิน การทบทวนการแก้ไข ปัญหาเพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน และการจัดทํารายงานเหตุการณ์เพื่อประโยชน์ในการบันทึกและแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในอนาคต ซึ่งถือเป็นรูปแบบการทํางานแนวใหม่ที่เพิ่งมีการสนับสนุนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 2. การพัฒนางานด้านเวชสารสนเทศคลินกิ การปรับโครงสร้างการทํางานที่แยกทีมงานตามระบบงาน (Functional teams) ทําให้เกิดอุปสรรค ในการทํางานร่วมกันระหว่างทีมงานที่ดูแลระบบงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพและการ จัดทํ าเอกสารเกี่ยวกับการพั ฒ นาซอฟต์แวร์ เป็นการทํ างานแบบการบริหารโครงการ (Project based management) โดยมีผู้จัดการโครงการ (Project manager) เป็นผู้บริหารจัดการขอบเขต ระยะเวลา ทีมงาน และผลลัพธ์ของโครงการ โดยมีนักวิเคราะห์ระบบ (Systems analysts) และโปรแกรมเมอร์ (Developers) ที่เกี่ยวข้อง เป็นทีมงานหลักของแต่ละโครงการ และมีการนําซอฟต์แวร์การบริหารโครงการเข้ามาใช้ ซึ่งอยู่ ในช่วงของการปรับกระบวนการทํางานของทีมงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การทํางานแบบการบริหารโครงการมี ความราบรื่นและลงตัวที่สุด การปรับปรุงกระบวนการนําระบบสารสนเทศขึ้นใช้งาน (Deployment) และ การทดสอบระบบ โดยกําหนดให้มีการรายงานผลการทดสอบระบบ (Unit testing และ Integration testing) และบันทึกประกอบการพัฒนาระบบ (Release notes) ก่อนนําระบบขึ้นใช้งานจริง และมีกระบวนการ กลั่นกรองและตรวจสอบคุณภาพของการทดสอบและการจัดทําเอกสารที่เกี่ยวข้อง ซึ่งถือเป็นการพัฒนา คุณภาพของการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่มีการปรับปรุง การพัฒนาระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการบริการรักษาพยาบาล ดังนี้ 1. ปรับปรุงระบบบันทึกค่าบริการและค่าตอบแทนแพทย์ (Doctor’s fees) 2. เพิ่มคุณสมบัตกิ ารพิมพ์ใบประเมินราคาค่าเครื่องมือแพทย์สําหรับผู้ป่วยผ่าตัด 3. พัฒนาระบบบันทึกส่งเงินค่าผสมยาเคมีบําบัด 4. พัฒนาระบบเรียกดู บันทึก และแก้ไขเวชระเบียนสแกน 5. พัฒนาระบบรองรับค่าสัญญาณชีพ (Vital signs) จากอุปกรณ์เครื่องวัด Vital signs 6. ปรับปรุงโปรแกรมเพื่อรองรับการเปิดหอผู้ป่วยใหม่และการย้ายหอผู้ป่วยและหน่วยตรวจต่างๆ 7. ปรับปรุงโปรแกรมเพื่อรองรับนโยบายเรื่องสิทธิค่ารักษาพยาบาลและอัตราค่าบริการของผู้ป่วย ในหน่วยตรวจ 8. พัฒนาระบบสารสนเทศทางเภสัชกรรมเพิ่มเติม เช่น ระบบทะเบียนชื่อสารออกฤทธิ์ทางยา ระบบ ทะเบียนหมวด MIMS ระบบบริหารทะเบียนยา ระบบทะเบียนข้อความฉลากช่วย และระบบบริหารข้อมูล ตามนโยบายการใช้ยา - 142 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
9. ปรับปรุงใบสั่งยาให้มีการระบุเหตุผลในการใช้ยานอกบัญชียาหลัก (ตัวเลือก A-F) ตามหลักเกณฑ์ ของกรมบัญชีกลาง 10. พัฒนาโปรแกรมคิดราคาน้ําเกลือบนหอผู้ป่วย 11. ปรับปรุงโปรแกรมโภชนาการ เช่น การพิมพ์ฉลากอาหาร เป็นต้น 12. ปรับปรุงระบบห้องผ่าตัดตามความต้องการของผู้ใช้งาน เช่น การปรับปรุงรายงานข้อมูล การบันทึก ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการผู้ป่วยในห้องผ่าตัด เป็นต้น 13. พัฒนาระบบเพื่อรองรับการเชื่อมต่อของระบบ Point of care testing (POCT) 14. ปรับปรุงระบบงานการเงินเพื่อรองรับนโยบายเรื่องการเรียกเก็บค่าบริการ การออก Invoice รวมทั้ง การแสดงรายชื่อผู้บริจาคเงินให้กับมูลนิธิรามาธิบดีและผู้มีอุปการะคุณต่างๆ 15. พัฒนาระบบการสั่งยาผ่านคอมพิวเตอร์โดยแพทย์สําหรับหน่วยตรวจผู้ป่วยนอก (Ambulatory computerized physician order entry: CPOE) โดยเริ่มทดลองใช้ที่คลินิกเวชศาสตร์ครอบครัว การอบรมผู้ใช้งานเกี่ยวกับระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นใหม่หรือมีการแก้ไข รวม 53 ครั้ง และการศึกษา หาข้อมูลเกี่ยวกับการปรับปรุงระบบการทํางานของทีมรับแจ้งปัญ หาสารสนเทศ (Help desk) โดยการ จัดหาระบบสารสนเทศเพื่อช่วยในการบริหารจัดการ Call center ปีงบประมาณถัดไป 3. การพัฒนางานสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3.1 ระบบการเงินและบัญชี (Financial and accounting system) 3.1.1 พัฒนาระบบการโอนเงินผ่านธนาคารแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Outbound) เพื่อให้ข้อมูลที่ เชื่อมโยงกับธนาคาร เป็นมาตรฐานเดียวกัน 3.1.2 พัฒนาระบบการออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย (ภ.ง.ด.3 และ ภ.ง.ด.53) ตามประกาศกรมสรรพากร ปี 2555 3.1.3 พัฒนาระบบใบแนบแบบยื่นรายการภาษีเงินได้ หัก ณ ทีจ่ ่าย (ภ.ง.ด.3 และ ภ.ง.ด.53) ตามรูปแบบกรมสรรพากรกําหนด เพื่อสะดวกกับการตรวจสอบ 3.1.4 พัฒนาระบบสํารวจทรัพย์สินถาวร ให้ค่าเสือ่ มราคาสะสม และ มูลค่าคงเหลือตรงตาม แหล่งเงิน (Fund) ที่นโยบายกําหนด 3.1.5 พัฒนาระบบใบแจ้งการนําเงินเข้าบัญชีธนาคาร ผ่าน Web intranet (Payment on web) อยู่ในระหว่างการพัฒนา 3.2 ระบบงบประมาณ (Fund management system) 3.2.1 พัฒนาระบบงบประมาณ สําหรับการกําหนดวงเงินงบประมาณเพื่อการบริหารของพันธกิจ 3.2.2 พัฒนาระบบสําหรับหน่วยงบประมาณ เพื่อจัดสรรงบประมาณสําหรับคลัง ฝ่ายเวชสารสนเทศ และศูนย์หัวใจ หลอดเลือด และเมแทบอลิซึม (CVMC) 3.3 ระบบจัดซื้อ - พัสดุ (Materials management system)
- 143 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
3.3.1 โครงการพัฒนาระบบเบิกพัสดุผ่านเว็บ (RROP: Ramathibodi reservation online project) 3.3.2 โครงการพัฒนาระบบจ่ายน้ําเกลือผ่านเว็บ 3.3.3 พัฒนาระบบการจัดซื้อแบบรวมศูนย์ (Central procurement) 3.3.4 พัฒนาระบบการจัดการคลังแบบแยกอาคาร และรวมอาคาร ของอาคารหลัก (Plants 1100, 1200) และศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ (Plants 1300, 1400) 3.4 ระบบ Staging ผู้ป่วยนอก 3.4.1 พัฒนาโปรแกรมการโอนข้อมูลส่งเบิกสิทธิข้าราชการ ส่งสํานักงานกลางสารสนเทศ บริการสุขภาพ (สกส.) ที่ได้ปรับปรุงเพิ่มเติมในส่วนของข้อมูลยา 3.4.2 พั ฒ นาโปรแกรมการโอนข้ อ มู ล ส่ งเบิ ก สิ ท ธิป ระกั น สุ ข ภาพทั้ งในและนอกเขต เข้ า โปรแกรม E-claim ที่ได้พัฒนาขึ้นใหม่ของประกันสุขภาพฯ 3.4.3 พั ฒ นาโปรแกรมการโอนข้อ มูล ส่งเบิ กสิท ธิป ระกัน สังคมรามาธิบ ดี เข้าสู่ โปรแกรม SSNData_main ที่ได้พัฒนาขึ้นใหม่ของสํานักงานประกันสังคม ผู้ป่วยใน 3.4.4 พัฒนาระบบแบ่งค่ารักษาพยาบาลเรียกเก็บตามสิทธิของผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ตาม ค่าใช้จ่ายที่แต่ละสิทธิกําหนด 3.4.5 พัฒนาระบบเปลี่ยนสิทธิค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน 3.4.6 พัฒนาระบบให้ส่วนลดค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในที่ตั้งเบิกไปแล้ว 3.4.7 พัฒนาระบบให้ส่วนลดค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในที่ยังไม่ตั้งเบิก 3.4.8 พัฒนาระบบแบ่งค่ารักษาพยาบาลเรียกเก็บตามสิทธิของผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน แบ่ง ทุกรายการ ร้อยละ 2 4. การพัฒนางานด้านสารสนเทศคลังข้อมูล 4.1 การจัดทํารายงานข้อมูลเป็นประจําทุกเดือน และการขอข้อมูลเป็นรายกรณีจากระบบสารสนเทศ (Ad-Hoc queries) 4.2 การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระบบคลังข้อมูล (Data warehouse) 4.3 ระบบธุรกิจอัจฉริยะ (Business intelligence) เพื่อเตรียมการสําหรับการจัดหาระบบที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนข้อมูลที่จะเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร เป็นการส่งเสริมการสร้างคุณค่าเชิง ยุทธศาสตร์ของข้อมูลสารสนเทศที่มีในระบบสารสนเทศอย่างเต็มที่ ในปีงบประมาณถัดไป
- 144 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บทที่ 6 ด้านวิเทศสัมพันธ์ 6.1 ด้านการศึกษา สนับสนุนยุทธศาสตร์สร้างความเป็นสากล Internationalization ด้วยการส่งเสริมและประสานงาน อํ านวยความสะดวกให้ นั ก ศึ ก ษาของคณะฯ ทั้ งในระดั บ ปริญ ญาตรี บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา แพทย์ ป ระจํ าบ้ าน (Resident) และแพทย์ประจําบ้านต่อยอด (Fellow) ไปเข้าสังเกตการณ์ทางคลินิกเสริมประสบการณ์พิเศษ และรับการฝึกอบรมระยะสั้นในสถาบันการศึกษาต่างประเทศทั้งที่มีและไม่มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างสถาบัน และประสานงานกับสถาบันที่มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือหรือกับนักศึกษาแพทย์วิชา เลือกจากต่างประเทศที่ประสงค์เข้าสังเกตการณ์ทางคลินิกที่คณะฯ (แผนภูมิที่ 6.1.1 และ 6.1.2)
แผนภู มิที่ 6.1.1 นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีประสบการณ์ทางวิชาการ/วิชาชีพในต่างประเทศ (ระหว่าง 2-4 และ 4 สัปดาห์)
จํานวน (คน) 60
47
39
ปริญญาตรี บัณฑิตศึกษา
40 21 20
2
2
2
0 2554
2555
ปีงบประมาณ
2556
แผนภูมิที่ 6.1.2 นักศึกษาต่างชาติแลกเปลี่ยนทัง้ สามระดั บการศึกษา (ระหว่าง 2-4 และ 4 สัปดาห์)
จํานวน (คน) 100 70
80 60
บัณฑิตศึกษา
46
42 5
4
4
2554
2555
2556
0
- 145 -
Resident/Fellow
36
27
40 20
ปริญญาตรี
83
ปีงบประมาณ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
แผนภูมิที่ 6.1.3 ผู้เข้ารับการอบรม Short-course Training ปีงบประมาณ 2554 - 2556
จํานวน (คน) 100
90 70
68
50
0 2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
การส่ ง นั ก ศึ ก ษาแพทย์ แ ละนั ก ศึ ก ษาพยาบาลของคณะฯ เข้ า ร่ ว มโครงการแลกเปลี่ ย นกั บ สถาบั น การศึก ษาใน 15 ประเทศทั้ งที่ มีแ ละไม่มี บั น ทึ ก ข้อตกลงความร่วมมื อ 47 คน โดยจําแนกเป็ น ประเทศ มหาวิทยาลัยในโครงการแลกเปลี่ยน ภาควิชา และช่วงเวลา (ตารางที่ 6.1.4) ตารางที่ 6.1.1 โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาของคณะฯ กับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ ประเทศ
สถาบันการศึกษา
Austria
University of Innsbruck
Croatia
Dubrava Hospital, Zagreb Charles University in Prague (2nd Faculty of Medicine) The University Hospital Brno
Czech Republic
สาขาวิชา Surgery Internal Medicine, ICU Internal Medicine, Nephrology Internal Medicine, Radiology Plastic Surgery and General Surgery Plastic Surgery
Internal Medicine - 146 -
จํานวน นักศึกษา 4 ม.ค. - 8 ก.พ. 56 4 ช่วงเวลา
4 - 31 ม.ค. 56
2
1 - 31 ม.ค. 56
2
1 - 31 ม.ค. 56
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ประเทศ Denmark
Finland
France
Germany
Poland Slovakia
Spain United Kingdom USA
สถาบันการศึกษา University College South Denmark University College Northern Denmark University of Eastern Finland, Kuopio Hospital Centre Hospital Universitaire Estaing Centre Hospital Universitaire Gabriel-Montpied Universitätsklinikum Freiburg
สาขาวิชา
จํานวน นักศึกษา 8 - 20 เม.ย. 56 4 ช่วงเวลา
Pediatric Surgery
1 - 31 ม.ค. 56
1
Gynecology-Obstetrics
2 - 26 ม.ค. 56
2
Internal MedicineNoninvasive Cardiology Ophthalmology General and Cardiovascular Surgery Neurology
2 - 25 ม.ค. 56
Medical University of Lodz Univerzitna Internal Medicine Nemocnica Bratislava Luis Paster Hospital General Surgery Plastic Surgery Parc Tauli Hospital Ophthalmology King’s College London Weil Medical Pediatrics College University of Miami Obstetrics and Gynecology Chicago Lakeshore Family Medicine Hospital - 147 -
รายงานประจําปี 2556
7 - 31 ม.ค. 56 3 - 31 ม.ค. 56
2
1 - 28 ม.ค. 56
2
1 ม.ค. - 28 ก.พ. 56
4
1 - 31 ม.ค. 56 1 - 31 ม.ค. 56 2 - 29 ก.ย. 56
2 1
13 ก.พ. - 24 มี.ค. 56 17 ก.พ. - 25 มี.ค.56 8 ก.ค. - 3 ส.ค. 56
4
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ประเทศ Australia Japan
สถาบันการศึกษา Monash University Mie Prefectural College of Nursing Juntendo University
Kobe University
Jichi University Taiwan
Tzu Chi General Hospital National Taiwan University
สาขาวิชา Radiology
จํานวน นักศึกษา 11 พ.ค. - 8 มิ.ย. 56 1 8 - 20 เม.ย. 56 12 ช่วงเวลา
Cardiovascular 10 มิ.ย. - 7 ก.ค. 56 Medicine and Dermatology Dermatology and Ophthalmology Cardiovascular 2 - 29 ก.ย. 56 Medicine and Pediatrics Internal Medicine and 8 ก.ค. - 4 ส.ค. 56 Pediatrics Plastic surgery and 2 - 29 ก.ย. 56 Cardiovascular Medicine Plastic Surgery and Hepato Biliary Pancreatic Surgery Anesthesiology 2 - 29 ก.ย. 56 General Surgery Family and 14 ม.ค. - 1 ก.พ. 56 Community Medicine, ER 8 - 20 เม.ย. 56
- 148 -
รายงานประจําปี 2556
4
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
6.2 ด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ คณะฯ ได้มีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา/องค์กรระหว่างประเทศ อีก 6 แห่ง (ตารางที่ 6.2.1) ตารางที่ 6.2.1 การลงนามความร่วมมือด้านวิชาการและการวิจัยกับสถาบันการศึกษา/องค์กรระหว่าง ประเทศอย่างเป็นทางการ ลําดับ สถาบัน/องค์กร ที่
ประเทศ
1. Yamagata University
ญี่ปุ่น
2. Shinshu University 3. Kobe University
ญี่ปุ่น
4. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Juntendo UniversityHitachi, Ltd., Japan
ญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
วันที่ หมดอายุ ประเภทของความร่วมมือ สัญญา 26 ธ.ค. 55 25 ธ.ค. 60 ด้านวิชาการ อาทิ การเยือน หรือแลกเปลี่ยนคณาจารย์อย่าง ไม่เป็นทางการ การจัดการ ประชุมหรือสัมมนาร่วมทาง วิชาการ ฯลฯ 21 ก.พ. 56 20 ก.พ. 61 ด้านวิชาการในการแลกเปลีย่ น คณาจารย์และนักวิจัย 31 พ.ค. 56 ตราบเท่าที่ ด้านวิชาการ การแลกเปลี่ยน ยังมีการ ข้อมูลทางวิชาการและนักศึกษา แลกเปลี่ยน ทางวิชาการ และ นักศึกษา ตาม ข้อตกลง 10 ก.ค. 56 9 ก.ค. 61 ความร่วมมือสามสถาบันทั้งด้าน วิชาการ อาทิ การแลกเปลี่ยน ข้อมูล การเยือนของคณาจารย์ และนักวิชาการระหว่าง มหาวิทยาลัยโดยมีบริษัท ฮิตาชิ จํากัดเป็นผู้สนับสนุน ด้านการ วิจัยพื้นฐานและทางคลินิกใน ด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ ชั้นนํา และด้านข้อมูลอุปกรณ์ วันที่ ลงนาม
- 149 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ลําดับ สถาบัน/องค์กร ที่
5. University of Florida
ประเทศ
สหรัฐอเมริกา
6. Australasian ออสเตรเลีย college of Health Service Management (ACHSM)
รายงานประจําปี 2556
วันที่ ลงนาม
วันที่ หมดอายุ สัญญา
ประเภทของความร่วมมือ
ในการก่อสร้างและบริหาร จัดการโรงพยาบาล 1 ส.ค. 56 31 ม.ค. 61 ด้านการส่งนักศึกษาของคณะฯ เข้าสังเกตการณ์ทางคลินิก (Clinical elective rotation) 28 ส.ค. 56 ส.ค. 59 ความร่วมมือด้านการส่งเสริม การบริหารการให้บริการทาง สุขภาพ การศึกษาในประเทศ และโอกาสในการพัฒนาของผู้ ประกอบอาชีพด้านสุขภาพให้ ก้าวหน้า อีกทั้งให้ความ ช่วยเหลือในการจัดตั้งสถาบัน บริหารงานบริการสุขภาพ ภายในคณะฯ
พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือสามสถาบัน : รามา-จุนเทนโด-ฮิตาชิ และ พิธีลงนามความร่วมมือกับ ACHSM
6.3 ด้านประชุม/สัมมนา/ดูงาน บุคลากรทางการแพทย์/คณะผู้บริหารจากสถาบันต่างประเทศ เข้าเยี่ยมชมดูงานภายในคณะฯ จํานวน 143 คน จาก 12 ประเทศ ทั้งทวีปอเมริกา ยุโรป เอเชียและออสเตรเลีย โดยมีวัตถุประสงค์ในการดูงาน ที่หลากหลาย อาทิ การเยี่ยมชมการดําเนินการด้านการบริหารโรงพยาบาลเพื่อสนับสนุนให้มีการเพิ่มพูน ประสบการณ์เกี่ยวกับวิทยาการทางการแพทย์และพยาบาลแขนงต่างๆ อีกทั้งยังส่งเสริมให้เกิดความสัมพันธ์ อันดีระหว่างกัน การหารือเกี่ยวกับการทํา Teleconference เพื่อแลกเปลี่ยนการบรรยายโดยอาจารย์แพทย์ - 150 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ การหารือเพื่อพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ทางด้านการศึกษา วิจัย การพัฒนาคุณภาพ การสอน รวมถึงการร่วมหารือเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างสถาบันในอนาคต ตารางที่ 6.3.1 ชาวต่างชาติที่เข้ามาเยี่ยมชม/ดูงานภายในคณะฯ จําแนกตามภูมิภาคและประเทศ ปีงบประมาณ 2556 ยุโรป ประเทศ จํานวน (คน) อังกฤษ 7 ฝรั่งเศส 4 เนเธอร์แลนด์ 1
อเมริกา ประเทศ จํานวน (คน) สหรัฐอเมริกา 4
12
4
เอเชีย/ออสเตรเลีย ประเทศ จํานวน (คน) จีน 5 อินโดนีเซีย 38 ญี่ปุ่น 34 เวียดนาม 9 เมียนมาร์ 10 บรูไน 10 ฮ่องกง 18 ออสเตรเลีย 3 127
แผนภูมิที่ 6.3.1 ชาวต่างชาติที่เข้ามาเยีย่ มชม/ดูงานภายในคณะฯ ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จํานวน (คน) 200
182 139
150
143
100 50 0
2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
- 151 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
6.4 กิจกรรมอื่นๆ การต้อนรับเจ้าหน้าที่จาก JICA เข้าร่วมประชุมด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน: Mass Casualty and Disaster Management Conference 2012 ผู้อํานวยการโรงพยาบาลฯ คณาจารย์ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะฯ พร้อมด้วยวิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิจากกรมการแพทย์ทหารบกและโรงพยาบาลพระปิ่นเกล้า ให้การต้อนรับและจัดบรรยายพิเศษ แก่คณะเจ้าหน้าที่จาก Japanese International Cooperation Agency (JICA) และตัวแทนจากสาธารณรัฐ แห่งสหภาพเมียนมาร์ ที่เข้าร่วมการประชุม Mass Casualty and Disaster Management Conference 2012 ณ ห้องประชุม 621 อาคารเรียนรวม 15 ต.ค. 2555 เวลา 8.30 น. เกี่ยวกับการบริหารจัดการภัย พิบัติและการตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน และร่วมแบ่งปันประสบการณ์กับคณาจารย์และแพทย์เพื่อ พัฒนาระบบและการจัดการให้กับเวชศาสตร์ฉุกเฉิน อันเป็นประโยชน์ต่อการร่วมมือกันต่อไปในอนาคต
การต้อนรับเจ้าหน้าที่โครงการ Higher Education Leadership and Management (HELM) ประเทศอินโดนีเซีย คณะฯ ได้ต้อนรับและจัดการบรรยายพิเศษ 16 ตุลาคม 2555 ณ อาคารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ ให้ แ ก่ ค ณะผู้ ดู งานจากโครงการ Higher Education Leadership and Management (HELM) ซึ่ งเป็ น โครงการภายใต้การสนับสนุนของ United States Agency for International Development (USAID) มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาศักยภาพของสถาบันอุดมศึกษาจากประเทศอินโดนีเซียในการดําเนินกิจการ ของมหาวิทยาลัยด้านการวิจัย การเรียนการสอน และการบริการวิชาการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดย กิจกรรมหนึ่งภายใต้โครงการดังกล่าวคือ การพัฒนาผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษาผ่านการแลกเปลี่ยน เรียนรู้โดยการเยี่ยมชมมหาวิทยาลัยชั้นนําในภูมิภาค โดยมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นมหาวิทยาลัยที่ได้รับ คัดเลือกจาก USAID ในการแลกเปลี่ยนความรู้และเยี่ยมชมคณะฯ
- 152 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
การเดินทางเยือนมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียนตามนโยบายของอธิการบดีพร้อมด้วย คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อประชุมหารือด้านความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่างเดือนมกราคม พฤษภาคม 2556 ผู้แทนคณะฯ อันได้แก่ คณบดี รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ผู้อํานวยการโรงเรียนพยาบาลฯ และผู้ช่วยผู้อํานวยการโรงเรียนพยาบาลฯ ได้เดินทางเยือนมหาวิทยาลัยต่างๆ ในกลุ่มประเทศอาเซียน ได้แก่ University of Medicine 1, Yangon ณ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์/Hanoi Medical University, Vietnam National University (VNU) Hanoi, Vietnam National University (VNU) Ho Chi Minh City และ University of Medicine and Pharmacy ณ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม/University of Philippines, Anteneo de Manila University และ University of Santo Tomas ณ สาธารณรัฐ ฟิลิปปินส์/Universitas Gadjah Mada (UGM) และ Universitas Indonesia ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย และมหาวิทยาลัยในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐสิงคโปร์และประเทศมาเลเซีย เพื่อเยี่ยมชมรวมทั้งประชุมหารือกับผู้บริหารของสถานศึกษาถึงโอกาสในการร่วมมือกันระหว่างสถาบันใน อนาคต แผนการดําเนินการในปีงบประมาณ 2557 การเพิ่มจํานวนนักศึกษาแพทย์และพยาบาลของคณะฯ ให้มีโอกาสเพิ่มพูนความรู้ผ่านโครงการ นักศึกษาแลกเปลี่ยนกับสถาบันในต่างประเทศ การเพิ่มจํานวนศาสตาราจารย์อาคันตุกะ (Visiting Professor) และ รองศาสตราจารย์อาคันตุกะ (Visiting Associate Professor) ผู้มีความเชี่ยวชาญจากสถาบันต่างประเทศมาดําเนินการสอนให้ความรู้แก่ นักศึกษาของคณะฯ ความสอดคล้องกับ เป้าหมาย งบประมาณ ยุทธศาสตร์ของ ชื่อโครงการ ระยะเวลา ปีงบประมาณ (บาท) มหาวิทยาลัย 2557 Internationalization โครงการแลกเปลี่ยน 2556 - 2560 2,211,600 1. จํานวน (เฉพาะปี 2556) นักศึกษาที่มี นักศึกษา คณะ ประสบการณ์ทาง แพทยศาสตร์ วิชาการ/วิชาชีพใน โรงพยาบาล ต่างประเทศ 60 รามาธิบดีกับ คน (3 หลักสูตร) สถาบันการศึกษาใน 2. ความพึงพอใจ ต่างประเทศที่มี ของนักศึกษาที่เข้า บันทึกข้อตกลง ร่วมโครงการฯ ความร่วมมือ มากกว่าร้อยละ 80 - 153 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ของ ชื่อโครงการ ระยะเวลา มหาวิทยาลัย 2556 - 2560 Internationalization โครงการทุน สนับสนุน ศาสตราจารย์ อาคันตุกะ (Visiting Professor) และ รองศาสตราจารย์ อาคันตุกะ (Visiting Associate Professor) จาก สถาบันต่างประเทศ
- 154 -
รายงานประจําปี 2556
งบประมาณ (บาท) 7,000,000
เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2557 ศาสตราจารย์ อาคันตุกะ (Visiting Professor) และ รองศาสตราจารย์ อาคันตุกะ (Visiting Associate Professor) จํานวน 3 คน
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บทที่ 7 ด้านพัฒนาคุณภาพงาน คณะฯ มีนโยบายให้การพัฒนาคุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจํา มุ่งเป้าหมายสู่ความ เป็นเลิศสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะฯ และนโยบายคุณภาพของมหาวิทยาลัยมหิดล มีการใช้กระบวนการ ประกันคุณภาพในทุกพันธกิจ เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการดําเนินการ รองคณบดีผู้รับผิดชอบแต่ละพันธกิจ และทีม กําหนดวิธีดําเนินการ กํากับดูแลกระบวนการติดตามการดําเนินการ รวมทั้งการปรับปรุงพัฒนา เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพในงานประจําของตนเอง โดยมีรองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพและทีมพัฒนา คุณภาพทําหน้าที่วางนโยบายและแนวทางการดําเนินการพัฒนาคุณภาพให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติงาน ประจําปีของการดําเนินการพัฒนาคุณภาพ ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาคุณภาพของคณะฯ ปีงบประมาณ 2554 2555 2556 1. การปรับปรุงคุณภาพกระบวนการทํางานอย่างต่อเนื่อง (Continuous quality improvementCQI) โดยใช้หลักการของ Deming cycle คือ Plan-Do-Check-Act อัตราการได้ตรวจตามนัดภายใน 30 นาที 1.1 โครงการ “Lean health care” โดยนําร่องใน กระบวนการผูป้ ่วยในของหน่วยตรวจผู้ป่วยนอก ห้องผ่าตัด ร้ อ ยละ 80 (เป้ า หมายร้ อ ยละ 80) มี โสต ศอ นาสิกวิทยา/จักษุวิทยา/หน่วยตรวจความผิดปกติ กระบวนการทํ า งานหลั ก และกระบวน และการสื่อความหมาย การย่ อ ย ปรั บ ผั ง พื้ น ที่ และขยายผลสู่ กระบวนการผู้ป่วยใน กระบวนการผ่าตัด และกระบวนการตรวจพิเศษของทีมโสต ศอ นาสิกวิทยา ทีมจักษุวิทยา และปรับ กระบวนการหน่วยผู้ป่วยนอกของหน่วย ตรวจความผิดปกติและการสื่อความหมาย 1.2 โครงการ Strategic system thinking and Athisarn’s TIPS ครั้งที่ 1 (1 - 2 ธ.ค.2554) - ได้รับความรู้ภายหลังการอบรมในเรื่องแนวคิดการ 80.65 วิเคราะห์และเทคนิคการแก้ปัญหาด้วยแนวทาง Athisarn’s TIPS (Total integration problem solving) เพิ่มขึ้นจาก เดิมอย่างน้อย 2 ระดับ ร้อยละ 80 90.32 - ความรู้ภายหลังการอบรมเรื่องการคิดเชิงกลยุทธ์ อย่างเป็นระบบ (Strategic system thinking) เพิ่มขึ้นจาก เดิมอย่างน้อย 2 ระดับ (ร้อยละ 80) โครงการ/กิจกรรม
- 155 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โครงการ/กิจกรรม
2554 -
ปีงบประมาณ 2555 83.87
2556 -
(30 คน)
(29 คน)
(30 คน)
- สามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานได้ มากกว่าร้อยละ 60 1.3 โครงการอบรม Strategic system thinking and Athisarn’s TIPS ครั้งที่ 2 (5 มี.ค.2555) 83.33 - ความรู้ภายหลังการอบรมเรื่องการคิดเชิงกลยุทธ์ อย่างเป็นระบบ (Strategic system thinking) เพิ่มขึ้นจาก เดิมอย่างน้อย 2 ระดับ (ร้อยละ 80) - สามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานได้ 83.33 มากกว่าร้อยละ 60 1.4 โครงการให้คําปรึกษากลุ่มกิจกรรมคุณภาพ - จํานวนกิจกรรม Kaizen (1 เรื่อง/คน/ปี) 17 เรื่อง - จํานวน CQI (กลุ่มละ 1 เรื่อง/ปี) 27 เรื่อง ปีงบประมาณ 2556 ปรับตัวชี้วัด - จํานวนกิจกรรม Kaizen หรือ จํานวนกิจกรรม 25 เรื่อง 17 เรื่อง (25 กลุ่ม) (25 กลุ่ม) CQI ที่เกี่ยวข้องกับการทํางานหลักด้านคุณภาพงานลดความ ผิดพลาดจากการทํางาน (Quality) ด้านการลดต้นทุนของ การทํางาน (Cost) ด้านการลดระยะเวลาการส่งมอบ (Lead time) (กลุ่มละ 1 เรื่อง) ร้อยละ 100 - ผลงานที่ผ่านเกณฑ์การตัดสินประกวดผลงาน ร้อยละ 96 ร้อยละ 94.11 (ร้อยละ 80) ร้อยละ 100 - ความพึงพอใจของผู้เขาร่วมโครงการ (ร้อยละ 80) ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 1.5 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการเขียนเรื่อง เล่าเร้าพลัง (Narrative medicine) - จํานวนผลงานเรื่องเล่าเร้าพลัง 1 เรื่อง/คน 30 เรื่อง 36 เรือ่ ง 11 เรื่อง - ความพึงพอใจของผู้เขาร่วมโครงการ (ร้อยละ 80) ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 1.6 โครงการพัฒนากระบวนการทํางานพัฒนากระบวน ร้อยละ 74.45 การทํางานหลัก (Key process) ด้านบริการรักษาพยาบาล ระยะ 2 - อัตราบุคลากรที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ภายหลัง การอบรมเพิ่มขึ้น จากเดิมอย่างน้อย 2 ระดับ (ร้อยละ 70) - 156 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โครงการ/กิจกรรม 1.7 โครงการรณรงค์ Patient safety goals : SIMPLE ต่อเนื่อง เน้น Medication safety ม.ค.- ก.ย.2554 - จํานวนผู้ป่วยที่แพ้ยาซ้ํา (ราย) - อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาระดับ E-up ตัวชี้วัดตามเข็มมุ่งได้รับการปรับ ปี 2555 - อัตราการเกิดความคลาดเคลื่อนทางการผ่าตัด/ หัตถการ - อัตราการทํา Medication reconciliation โดย แพทย์ในผู้ป่วยที่ได้รับการ Admit - อัตราการทํา Medication reconciliation โดย สหสาขาวิชาชีพ ในผู้ป่วยที่ได้รับการ Admit 1.8 การบริหารความเสี่ยงและเครื่องมือคุณภาพ - ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความเข้าใจ ภายหลังการอบรม อยู่ในระดับดี - ดีมาก - ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมได้ตามเป้าหมาย 1.9 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรพัฒนา ศักยภาพบุคลากรด้านการพัฒนาคุณภาพ: TQA criteria (In house training) - อัตราของบุคลากรที่เข้ารับการอบรมเข้าใจเกณฑ์ รางวัลคุณภาพ เพิ่มขึ้นจากเดิมอย่างน้อย 2 ระดับ(ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80) - อัตราของบุคลากรที่สามารถนําความรู้ที่ได้รับไป ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเอง/พัฒนางาน/พัฒนาองค์กร และชุมชนระดับดี - ดีมาก (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) - ความพึงพอใจในการจัดอบรม (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- 157 -
2554
ปีงบประมาณ 2555
2556
1 0.77
-
-
-
0
0
-
ยังไม่ได้เก็บ ข้อมูล 27.26
62.34
(ก.พ. – พ.ค.)
(มิ.ย. – ส.ค.)
88.00
91.90
91.60
95.00
95.60
86.50
-
60.00
ผลการดําเนินงานปี 2556 - ผู้ที่มีความรู้เพิม่ ขึ้นจากเดิม อย่างน้อย 2 ระดับ ร้อยละ 84 - ผู้ที่สามารถนําความรู้ไป ประยุกต์ใช้ระดับดี - ดีมาก ร้อยละ 67 - ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม โครงการร้อยละ 96.7
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ปีงบประมาณ 2554 2555 2556 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนาองค์ความรูส้ คู่ วามเป็นเลิศ และสร้างสรรค์นวัตกรรม 2.1 โครงการเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 87.17 80.13 92.10 - อัตราบุคลากรที่เข้าร่วมโครงการได้รับความ พึงพอใจระดับดี - ดีมาก (ร้อยละ 80) 2.2 โครงการมหกรรมคุณภาพ Quality conference - อัตราของบุคลากรที่เข้าร่วมโครงการได้รับความ 82.80 77.30 95.78 พึงพอใจในภาพรวมของการจัดโครงการในระดับมาก ถึงมาก ที่สุด (ร้อยละ) 104 - จํานวนโครงการพัฒนาคุณภาพที่เข้าร่วมโครงการ 64 46 มหกรรมคุณภาพ (เรื่อง/ปี) 2.3 โครงการ Dean Innovation Award 11 17 15 - จํานวนโครงการพัฒนาคุณภาพที่เข้าร่วมโครงการ Dean Innovation Award (เรื่อง/ปี) 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ พันธกิจ/หน่วยงาน วางระบบ กํากับ ติดตามและประเมินผลการพัฒนา คุณภาพตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยและมาตรฐานสากล 3.1 เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ (TQA) บุคลากรเข้ารับการอบรมหลักสูตร TQA (คน) ระดับผู้บริหาร 4 6 6 - หัวหน้าภาควิชา/รองหัวหน้าภาควิชา 5 3 - รองคณบดี/ผช.คณบดี/เลขานุการคณะฯ 3 5 3 - หัวหน้าหน่วยงาน 3 3 5 เครือข่ายของหัวหน้าภาควิชา/หน่วยงาน 9 บุคลากรด้านพัฒนาคุณภาพ จํานวนบุคลากรเข้ารับการอบรมหลักสูตร (คน) 18 11 13 - TQA criteria (Level : 2) 8 2 3 - TQA application report writing 1 4 - TQA Internal organization assessment 2 - TQA organization gap analysis โครงการ/กิจกรรม
- 158 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ปีงบประมาณ 2554 2555 2556 1 - TQA Pre-Assessor 1 - TQA Assessor Training โครงการประเมินคุณภาพภายในคณะฯ (ก.พ. - มี.ค.2556) รายงานป้อนกลับจากการประเมิน (25 ก.ค. - 16 ส.ค.2556) คุณภาพภายใน 3.2 Education criteria for Performance Excellence (EdPEx) มหาวิทยาลัยมหิดลโดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ รายงานตรวจประเมินคณะฯ มีนโยบายในการปรับระบบคุณภาพของมหาวิทยาลัย เข้าสู่ ปีงบประมาณ 2555 ได้จัดทําขึ้นโดย เกณฑ์ EdPEx ให้ครบทุกส่วนงานในปีงบประมาณ 2558 โดย คณะผู้ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาที่ ได้มีการฝึกอบรมบุคลากรใน 9 คณะ ให้เป็นผู้ตรวจประเมิน ได้รับการแต่งตั้งโดยมหาวิทยาลัยมหิดล ภายในตามเกณฑ์ และซ้อมการตรวจเยี่ยม 3 ส่วนงาน คือ โดยใช้แนวทางตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ แห่งชาติ และเกณฑ์คุณภาพการศึกษา โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะเทคนิคการแพทย์ และเริ่มการ เพื่อการดําเนินการที่เป็นเลิศ ตรวจเยี่ยมส่วนงานที่เขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) (Educational criteria for ตามเกณฑ์ EdPEx ในปีงบประมาณ 2554 performance excellence 2012) คณะฯ ได้จัดทํารายงานการประเมินตนเอง และรับการ ตรวจเยี่ยมตามเกณฑ์ EdPEx 19 - 20 ก.ค.2555 โครงการอบรมเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกณฑ์ บุคลากรคณะฯ เข้าร่วมในโครงการฯ คุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการที่เป็นเลิศ Education 13 คน criteria for Performance Excellence (EdPEx) ซึ่งจัด โดยมหาวิทยาลัยมหิดล - มีส่วนงานจํานวน 9 ส่วนงาน เข้าร่วมโครงการฯ (10 ก.พ. 2553) ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะเทคนิคการแพทย์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร คณะพยาบาลศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์ และวิทยาลัยนานาชาติ และปีงบประมาณ 2556 เพิ่มอีก 13 ส่วนงาน ได้แก่ คณะสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย วิทยาลัยการจัดการ วิทยาลัยราชสุดา บัณฑิตวิทยาลัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร โครงการ/กิจกรรม
- 159 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โครงการ/กิจกรรม
2554
ศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันพัฒนาสสุขภาพอาเชียน สถาบันโภชนาการวิทยาเขตกาญจนบุรี คณะเวชศาสตร์ เขตร้อน และศูนย์จิตตปัญญาศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ จัดโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 3.3 ด้านสร้างเสริมสุขภาพ การประเมินตนเองด้านสร้างเสริมสุขภาพ ตาม มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ 3.4 ด้านการศึกษา - ร้อยละของหลักสูตรที่เข้าร่วมกระบวนการตรวจ ประเมินคุณภาพภายในด้านการศึกษา
- การประเมินคุณภาพภายนอกจากสํานักงานการ อุดมศึกษา ( 2 พ.ย.2553 และ 30 ส.ค.2554)
ปีงบประมาณ 2555
2556
ปีงบประมาณ 2556 บุคลากรคณะฯ เข้า ร่วมเป็นพี่เลี้ยงโครงการฯ 1 คน
เล่มรายงานผลการดําเนินการ ปีงบประมาณ 2555 62.00
100
อยู่ระหว่าง ดําเนินการ
(เข้าร่วมกับ โครงการ (ข้อมูล ประเมิน จะเสร็จ คุณภาพ ประมาณ พ.ย. ภายในคณะฯ) 2556)
ผ่านการ ประเมิน
ผ่านการ ประเมิน
ผ่านการ ประเมิน
(30 ส.ค. 2554)
(21 ส.ค. 2555)
( 1 ส.ค. 2556)
- การรับรองสถาบันการศึกษาการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ จากสภาการพยาบาล
รับการรับรอง 5 ปี ปีการศึกษา 2555 – 2559 (1พ.ค.2554 – 30 มิ.ย.2560)
3.5 ด้านบริการรักษาพยาบาล การเยี่ยมสํารวจเพื่อเฝ้าระวัง (Surveillance survey) คณะฯ โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การ มหาชน) 28 กุมภาพันธ์ 2555 นําเสนอความต่อเนื่อง (Sustainable) ของโครงการ Healing environment ใน หอผู้ป่วยหนักศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ - บุคลากรภายในคณะฯ รับการอบรมหลักสูตร HA (คน)
- 160 -
-
ผ่านการ ประเมิน
31
48
-
13
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โครงการ/กิจกรรม - คณะฯ รับการรับรอง Hospital Accreditation (HA) จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การ มหาชน) (สรพ.) - ภาควิชาพยาธิวิทยา รับการรับรอง ISO 15189 จากสํานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการกระทรวงสาธารณสุข
ปีงบประมาณ 2554 2555 2556 รับรอง 3 ปี 26 ก.พ.2553 – 25 ก.พ.2556 23 ส.ค.2556 – 22 ส.ค.2559 15 ม.ค.2550 - 14 ม.ค.2553 14 ม.ค.2553 - 13 ม.ค.2556 29 ส.ค.2556 - 28ส.ค.2558 27 มิ.ย.2556 - 26 มิ.ย.2558
- ภาควิชาพยาธิวิทยา รับการตรวจประเมินจริง (Onsite assessment) ISO/IEC 17025 19 - 20 พฤศจิกายน 2555 ด้านนิติเวชวิทยา ด้านมนุษย์พันธุศาสตร์ ด้าน พิษวิทยา จากสํานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กระทรวง สาธารณสุขและได้รับการรับรอง 3.6 ด้านการวิจัย - นางณิชา ปิยะสุนทราวงษ์ ได้รับรางวัล - รางวัล R2R จากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ผลงาน R2R ดีเด่น กลุ่มสิ่งประดิษฐ์ ประจําปี 2556 ผลงานเรื่อง “รามาธิบดี ยางครอบท่อแทงเจาะเพื่อป้องกันลมรั่ว ขณะผ่าตัดผ่านกล้อง” จากสถาบันวิจัย ระบบสาธารณสุข และภาคีเครือข่าย R2R - คณะฯ ได้รับการจัดลําดับความโดด - ผลการประเมินระดับองค์กร เด่นด้านบริหารในอันดับ 1 ของกลุ่ม ธุรกิจโรงพยาบาลจากการทําวิจัยใน หัวข้อ Thailand’s most admired company จากนิตยสาร The company ซึ่งเป็นกิจการในกลุ่ม โรงพยาบาลที่มีค่าเฉลี่ยรวมในกลุ่มตัว แปรย่อยในด้าน Innovation CSR BIZ Service image และ management สูงที่สุด โดยเฉพาะด้านภาพลักษณ์ (Image of brands owned) ซึ่งได้ค่า คะแนนเฉลี่ย 7.68 จาก 285 บริษัท - 161 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โครงการ/กิจกรรม 4. การฝึกอบรมมาตรฐานการบริการด้านสุขภาพระดับ สากลแห่งประเทศไทย (TITC) บุคลากรที่เข้ารับการอบรมหลักสูตร :- (คน) - การอบรม JCI standard & tool for accreditation and quality - การอบรมเชิงปฏิบัติการ Incident occurrence report (IOR) system and risk management concept - การอบรม Training of the trainers program with Collaboration between TITC and JCI - การอบรม Advanced professional hospital quality management - การอบรมการบริหารการเงินและพัสดุสําหรับ โรงพยาบาล - การถ่ายทอดความรู้จากการประชุม Hospital management Asia 2010 - การอบรมภาพรวมมาตรฐาน JCI ฉบับล่าสุด (ภาคภาษาไทย) - การอบรม Infection control training program for surgery provided by TITC collaboration with 3M - การอบรม Prevention of blood stream infection in collaboration with TITC and Baxter - การจัดการพัสดุสําหรับโรงพยาบาลขนาดกลางและ ขนาดย่อม - การอบรมการนิเทศทางการพยาบาลและการบริหาร ทรัพยากรบุคลากรทางสาธารณสุข - การอบรม การบริหารทรัพยากรบุคลากรทาง สาธารณสุข - การอบรม Negotiation and medico-legal - การอบรม JCI policy mandatory training Queen Sirikit Medical center - 162 -
2554
ปีงบประมาณ 2555
2556
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
10
-
63
-
-
52
-
-
24
-
-
7
-
-
12
-
-
16
-
-
10 460
-
-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โครงการ/กิจกรรม - ประชุมวิชาการ MOPH - TITC healthcare international forum - การอบรม Infusion pump care (15 ก.พ.2555) - การบรรยายโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อ การรับรองมาตรฐานโรงพยาบาลนานาชาติ (22 - 23 ก.พ.2555) - การบรรยายกฎหมายสาธารณสุข (9 มี.ค.2555) - การอบรมการจัดการพัสดุ เจาะลึกประเด็นปัญหา จุดเสี่ยง เทคนิคและวิธีการดําเนินการ (13 - 16 มี.ค.2555) - การบรรยาย Facility management (21 มี.ค.2555) - การบรรยาย มาตรฐานการดูแลสุขภาพระดับสากล (JCI) (4 - 5 พ.ค.2555) - การบรรยาย หน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินเคลื่อนที่ และการบริการทรัพยากรในภาวะภัยพิบัติ ( 14 พ.ค.2555) - การบรรยายเรื่องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฝ่าฟัน อุปสรรค สูค่ วามสําเร็จในงาน HA ( 7 มิ.ย.2555) - การบรรยาย Panel talk : Nutrition assessment tools: Share and learn from real life practice (19 มิ.ย.2555) - การอบรมหลักสูตรการสร้างระบบคุณภาพ โรงพยาบาลภายใน 24 ชั่วโมง (2 - 4 ก.ค.2556) - การอบรมหลักสูตร Human resource management (19-20 ส.ค.2556) - การอบรมหลักสูตร การจัดการขยะในโรงพยาบาล (11-12 ก.ย.2556)
- 163 -
2554 136
ปีงบประมาณ 2555 80
2556
-
23 300
-
-
30 15 30 50
-
-
200
-
-
80
-
-
50
-
-
-
60
-
-
60
-
-
60
-
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
รับการประเมินจาก สกอ. 1 สิงหาคม 2556 ห้องประชุมอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ ชั้น 5 ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์
อบรมเชิงปฏิบัติการ Lean ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ 15 - 17 มกราคม 2556 ห้อง 910 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวม ด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
อบรม SIPOC 18 มกราคม 2556 ห้อง 816 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวม ด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
อบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารคณะฯ สู่ความเป็นเลิศ 7 - 8 พฤษภาคม 2556 ห้อง 910 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวม ด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
รับการประเมินจาก QCC ปี 2556 18 มิถุนายน 2556 ห้องประชุม 1 ชั้น 6 อาคารเรียนรวม
โครงการอบรมผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน 19 กรกฎาคม 2556 ห้อง 621 ชั้น 2 อาคารเรียนรวม
งานมหกรรมคุณภาพปี 2556 22 - 23 สิงหาคม 2556 ห้อง 910 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
- 164 -
บทที่ 8 ภาควิชา/โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี/กลุ่มสาขาวิชา
- 165 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น ด้านการวิจัย 1. แพทย์หญิงสุมิตรา วัฒนาธิษฐาน แพทย์ประจําบ้าน นําเสนอผลงานวิจัยเรื่อง Immunogenicity of a Live-Attenuated Japanese Encephalitis Vaccine in Children after Hematopoietic Stem Cell Transplantation ได้ รับ รางวัล Resident Research Contest 2013 อัน ดั บ 1 จากสมาคมกุ ม ารแพทย์ แห่งประเทศไทยและราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย 24 - 26 เมษายน 2556 และได้รับรางวัลที่ 2 จากการประกวดผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการประจําปีของคณะฯ 1 - 3 พฤษภาคม 2556 2. แพทย์หญิงผาณิดา ไชยฤกษ์ แพทย์ประจําบ้านนําเสนอผลงานวิจัยเรื่อง A duster randomized controlled trial of New sexual education program for grade 7 school student in Bangkok ได้รับรางวัล Resident Research Contest 2013 อันดับ 2 จากสมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยและ ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย 24 - 26 เมษายน 2556 และได้รับรางวัลที่ 1 จากการประกวด ผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการประจําปีของคณะฯ 1 - 3 พฤษภาคม 2556 3. แพทย์หญิงดบัสวินี สุขโขใจวรัตนถ์กุล แพทย์ประจําบ้านต่อยอดสาขาต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม นํ า เสนอผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง Effects of Maternal lodine Supplementation during Pregnancy and Lactation on Neonatal Thyroid Stimulating Hormone (TSH) and lodine status ได้รับรางวัลที่ 2 จากการประกวดผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการประจําปีของคณะฯ 1 - 3 พฤษภาคม 2556 4. แพทย์หญิงสรินนา อรุณเจริญ แพทย์ประจําบ้านต่อยอดสาขาพัฒนาการเด็ก นําเสนอผลงานวิจัย เรื่ อ ง Assessment of Theory of Mind and Executive Function in High Functioning Autism by Using Computerized Games ได้ รั บ รางวั ล ที่ 3 จากการประกวดผลงานวิ จั ย ในการประชุ ม วิ ช าการ ประจําปีของคณะฯ 1 - 3 พฤษภาคม 2556 5. แพทย์หญิงบูรณี เศวตสุทธิพันธ์ แพทย์ประจําบ้านต่อยอดสาขาทารกแรกเกิด นําเสนอผลงานวิจัย เรื่อง The use of low-flow oxygen for positive pressure ventilation in neonatal resuscitation of preterm infants ได้รับรางวัลชมเชย จากการประกวดผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการประจําปีของคณะฯ 1 - 3 พฤษภาคม 2556 6. แพทย์หญิงณัฐรุจี วีวรรธนดิฐกุล แพทย์ประจําบ้านต่อยอดสาขาประสาทวิทยา นําเสนอผลงานวิจัย เรื่ อ ง Correlation between Neuron-Specific Enolasc with Neurological Outcome in 54 Comatose Pediatric Patients ได้รับรางวัลชมเชย จากการประกวดผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการประจําปีของ คณะฯ 1 - 3 พฤษภาคม 2556
- 166 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
7. แพทย์หญิงปองทอง ปูรานิธี แพทย์ประจําบ้านต่อยอดสาขาโรคภูมิแพ้ภูมิคุ้มกันและโรคข้อ นําเสนอ ผลงานวิ จั ยเรื่ อง Direct medical costs of Management of Thai Pediatric asthma ได้ รั บรางวั ลชมเชย จากการประกวดผลงานวิจัยในงาน National Asthma Meeting 2013 จากสมาคมสภาองค์กรโรคหืดแห่ง ประเทศไทย 8. อ.พญ.อรพร ดํ ารงวงศ์ ศิ ริ นํ าเสนอผลงานวิ จั ย แบบโปสเตอร์ เรื่ อ ง “Maternal zinc status is associated with breast milk concentration and zinc status of 4 - 6 month-old infants ณ ประเทศสเปน 15 - 20 กันยายน 2556 ด้านวิชาการ 1. หนังสือเวชบําบัดวิกฤตในเด็ก ฉบับเรียบเรียงครั้งที่ 4 จํานวน 846 หน้า โดยมี ศ.นพ.อนันต์ โฆษิตเศรษฐ ศ.พญ.อรุณวรรณ พฤทธิพันธุ์ อ.พญ.อัญชลี ลิ้มรังสิกุล อ.นพ.ชัยยศ คงคติธรรม อ.นพ.อุเทน ปานดี และ อ.พญ.โรจนี เลิศบุญเหรียญ เป็นบรรณาธิการ ด้านการบริการรักษาพยาบาล 1. ผลงานโครงการ R2R ผลลัพธ์ของการปฏิบัติงานเพื่อลดอุบัติการณ์ภาวะ ROP ในทารกเกิดก่อนกําหนด หอผู้ป่วยได้รับการนําเสนอ Poster presentation ในการประชุม 8th International Neonatal Nursing Conference 2013. 5 - 8 กันยายน 2556 ณ Northern Ireland, UK. 2. ผ ล งาน Effect of Intervention Pediatric VAP Bundle on VAP rate and Cost saving of ventilator circuit changes in PICU ได้รับการนําเสนอ Oral presentation ได้รับรางวัลชนะเลิศในงาน มหกรรมคุณภาพ (Quality conference) ครั้งที่ 20 ของคณะฯ 20 - 23 สิงหาคม 2556 3. ผลงานเรื่องเล่าเร้าพลังเรื่องสื่อรักสร้างสุข ได้รับการนําเสนอ Oral presentation ได้รับรางวัลรอง ชนะเลิศในงานมหกรรมคุณภาพ (Quality conference) ครั้งที่ 20 ของคณะฯ 20 - 23 สิงหาคม 2556 4. ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ Kaizen เรื่อง ชุดเก็บรักษาสายนําสัญญาณและ สายเคเบิลเครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ในงานมหกรรมคุณภาพ (Quality conference) ครั้งที่ 20 ของคณะฯ 20 - 23 สิงหาคม 2556 5. โครงการพัฒนาศักยภาพประชากรไทย : กลุ่มเด็กและวัยรุน่ เป็นกิจกรรมการพัฒนารูปแบบการดูแล แม่วัยรุ่นอย่างเป็นองค์รวม บุคคลที่ได้รบั รางวัล 1. ศ.เกียรติคุณวันดี วราวิทย์ ได้รับรางวัลมหิดลทยากร ประจําปี 2555 จากสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัย มหิดลในพระบรมราชูปถัมภ์ 2. รศ.สรายุทธ สุภาพรรณชาติ ได้รับรางวัลแพทย์มือสะอาดในดวงใจ ในโครงการ Hand Cleaning Moving Together จากคณะกรรมการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ของคณะฯ
- 167 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
3. รศ.ประชา นันท์นฤมิต ได้รบั รางวัลอาจารย์แพทย์ที่เป็นแบบอย่างประพฤติตนดีเด่นในเชิงคุณธรรม จริยธรรม จากแพทยสภา 4. ศ.อนันต์ โฆษิตเศรษฐ ได้รางวัลตํารารามาธิบดีประจําปี 2555 ในระดับดี เรื่องคลื่นไฟฟ้าหัวใจในเด็ก : การแปลผลและวินิจฉัยในเวชปฏิบัติ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข พิมพ์ครั้งที่ 2) จากงานบริการวิชาการ คณะฯ 5. รศ.อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์ ได้รางวัลตํารารามาธิบดีประจําปี 2555 ในระดับดีมาก เรื่องโรคลมชักในเด็ก จากงานบริการวิชาการ คณะฯ 6. ผศ.สุเทพ วาณิชย์กุล ได้รางวัลข้าราชการดีเด่นจากคณะฯ แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 1. ปรับปรุงหอผู้ป่วยเด็ก 5 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการผู้ป่วยและการเรียนการสอน 2. สาขาโรคภูมิแพ้ภูมิคุ้มกันและโรคข้อ เปิดหลักสูตรฝึกอบรมกุมารแพทย์อนุสาขาโรคข้อและรูมาติซึม ซึ่งเป็นสถาบันแห่งแรกที่เปิดสอนหลักสูตรนี้ในประเทศไทย 3. โครงการพัฒนารูปแบบของคลินิกเด็กสุขภาพดีเพื่อป้องกันโรคอ้วนในเด็ก สนับสนุนโดยสํานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผ่านเครือข่ายคนไทยไร้พุง 4. โครงการวัยใสใส่ใจสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการช่วยให้เด็กที่เป็นโรคอ้วน และผูป้ กครองมี ความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคอ้วน รวมถึงวิธีการบําบัดรักษาอย่างปลอดภัย 5. โครงการ Environmental Pediatrics จัดตั้งคลินิกให้บริการผู้ป่วยเด็กที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ชนิดต่างๆ ภายในคลินิก Ambulatory โดยเริ่มจากพิษสารตะกั่ว จัดให้มกี ารตรวจคัดกรองระดับสารตะกั่ว ในเด็กที่มารับการตรวจสุขภาพที่คลินิก Ambulatory 6. โครงการ Early life health โครงการสร้างเสริมสุขภาพปฐมวัยเพื่อป้องกันโรคและการตายก่อนวัย อันควรในกลุ่มมัชฌิมวัย สารตะกั่วเป็นพิษในเด็กไทยและมารดาขณะตั้งครรภ์ มลพิษทางอากาศต่อสุขภาพ เด็กในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 7. โครงการคัดกรองสุขภาพเด็กวัยเรียน จัดตั้งคลินิกคัดกรองสุขภาพเด็กวัยเรียน ในคลินิก Ambulatory การใช้แบบคัดกรองสุขภาพเด็กวัยเรียนโดยโรงเรียนต่างๆภายใต้การกํากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ
- 168 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาจักษุวิทยา ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น 1. โครงการจิตอาสาผ่าตัดรักษาโรคตา โครงการที่เกิดขึ้นจากความสําเร็จของโครงการผ่าตัดรักษาโรคตาเฉลิมพระเกียรติที่ทําในปี 2551 2555 จึงริเริ่มโครงการจิตอาสาผ่าตัดรักษาโรคตาขึ้นต่อเนื่อง โดยออกหน่วยจักษุแพทย์เคลื่อนที่ไปยัง โรงพยาบาลในต่างจังหวัดหรืออําเภอที่ห่างไกลชุมชน ซึ่งมีผู้ป่วยโรคตาจํานวนมากที่ยังไม่ได้รับการดูแลรักษา อย่ างเหมาะสม เนื่ อ งจากขาดแคลนจั กษุ แ พทย์ แ ละเครื่ อ งมื อ ที่ ทั น สมั ย รวมทั้ ง การเดิ น ทางเข้ า ถึ ง โรงพยาบาลที่ยากลําบากของผู้ป่วย วัตถุประสงค์เพื่อตรวจและผ่าตัดรักษาผู้ป่วยโรคตา เช่น ต้อกระจก ต้อเนื้อ หนังตาผิดปกติ ท่อน้ําตา อุดตันและตาเข เป็นต้น ซึ่งถือเป็นการช่วยเหลือสังคมและเป็นการนําแพทย์ประจําบ้านสาขาจักษุวิทยา ไป สังเกตและศึกษาการปฏิบัติงานการออกหน่วยและการทํางานของโรงพยาบาลชุมชน เมื่อ 8 – 10 ธันวาคม 2556 ณ โรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี มีผู้ป่วย 81 ราย และ 9 – 11 สิงหาคม 2556 ณ โรงพยาบาลปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา มีผู้ป่วย 162 ราย 2. งานประชุมวิชาการ เรื่อง “Neuro-Ophthalmology Review for Ophthalmology Residents” เมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้ องประชุมชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี เพื่ ออบรม ฟื้ นฟูและเผยแพร่ความรู้และความก้าวหน้ าใหม่ๆ ในสาขา NeuroOphthalmology ให้ แ ก่ แ พทย์ ป ระจํ า บ้ า นสาขาจั ก ษุ วิ ท ยา แพทย์ ป ระจํ า บ้ า นต่ อ ยอดสาขา NeuroOphthalmology จั ก ษุ แ พทย์ ทั่ ว ไป จั ก ษุ แ พทย์ ผู้ เชี่ ย วชาญสาขา Neuro-Ophthalmology และจั ก ษุ แพทย์สาขาอื่นๆ ทั่วประเทศ มีผู้เข้าร่วมประชุมมากกว่า 200 คน 3. จัดสอบความรูด้ ้านจักษุวิทยาของสภาจักษุวิทยานานาชาติ (International Council of Ophthalmology : ICO) ประจําประเทศไทย เป็นศูนย์จัดสอบความรู้ด้านจักษุวิทยาเป็นประจําทุกปี ได้มีการจัดสอบในวัน พฤหัสบดีที่ 18 เมษายน 2556 4. โครงการพัฒนาบุคลากรโครงการ “Go together” เมื่อ 23 – 24 กุมภาพันธ์ 2556 ณ โรงแรมเอวัน เดอะรอยัลครูส พัทยา จังหวัดชลบุรี โดย อาจารย์แพทย์ แพทย์ประจําบ้าน แพทย์ผู้ช่วยอาจารย์ พยาบาล และผู้ปฏิบัติงานพยาบาล ณ หน่วยตรวจโรคตา และเจ้าหน้าที่ภาควิชาฯ เพื่อให้บุคลากรได้ระดมความคิดที่ จะพัฒนาหน่วยงาน เสริมสร้างพลังในการพัฒนางานบริการให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมบุคลากรให้มีใจบริการ เป็นหนึ่งเดียวกัน และผลักดันให้องค์กรก้าวไปข้างหน้า สอดคล้องกับพันธกิจและวิสัยทัศน์ของคณะฯ 5. โครงการพัฒนาบุคลากรโครงการ “Team Building” เมื่อ 26 - 27 มกราคม 2556 ณ ธนูรีสอร์ท เขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี โดย อาจารย์แพทย์ แพทย์ประจําบ้าน แพทย์ผู้ช่วยอาจารย์ พยาบาล และผู้ปฏิบัติงานพยาบาล ณ ห้องผ่าตัดจักษุ และเจ้าหน้าที่ภาควิชาฯ เพื่อให้บุคลากรที่เข้ารับการสัมมนา สามารถนําแนวคิดการพัฒนาตนเองเพื่อการทํางานเป็นทีมมาสู่การปฏิบัติเพื่อให้การประสานงานระหว่าง - 169 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
หน่วย เป็นไปด้วยดีเกิดความร่วมมือร่วมใจในการให้บริการผู้ป่วยด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์และทําให้ ผู้ให้บริการมีความสุขซึ่งส่งผลให้องค์กรจักษุรามาเป็นองค์กรที่มีชีวิต 6. ผลงานวิจัย อาจารย์ป ระจํ าภาควิ ชา ผศ.พญ.เกวลิน เลขานนท์ ได้รั บ เลื อ กให้ รั บ รางวัล The Cornea Society Troutman Award ประจํ า ปี 2012 จาก The Cornea Society ในงานประชุ ม The 2012 Cornea Society/EBAA Fall Educational Symposium, Fri Nov 9th, 2012, The Palmer House Hilton, Chicago, IL, USA. และได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งใน The tear film and ocular surface (TFOS) young investigator committee เพื่ อ พิ จ ารณาผลงานวิ จั ย ทั้ ง Basic and clinical research เพื่ อ คั ด เลื อ ก งานวิจัยที่ดีเด่นเพื่อรับรางวัล 1. TFOS-ARVO Travel Awards ในงานประชุ ม The Association for Research in Vision and Ophthalmology (ARVO) ประจําปี 2013 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา 2. TFOS Taormina Travel Awards ในงานประชุม The Tear Film and Ocular Surface ประจําปี 2013 ที่ประเทศอิตาลี แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 มุมมอง/มิติ/ด้าน เป้าประสงค์ กิจกรรม/โครงการ Perspective (Goals) (Action Plans) 1. ให้ความรู้อาจารย์ แพทย์ Research เพิ่มผลผลิตและ ประจําบ้าน และแพทย์ คุณภาพงานวิจัยของ ประจําบ้านต่อยอด เรื่อง ภาควิชาฯ สถิติและระเบียบวิธีวิจัย 2. จัดอาจารย์ให้คําปรึกษา และช่วยเหลือด้านทําวิจัย Academic& เป็นสถาบันฝึกอบรม 1. จัดทํา Website เผยแพร่ service ข้อมูลภาควิชาฯ แพทย์ประจําบ้าน ด้านการจัดการเรียน และแพทย์ประจํา 2. ปรับปรุงหลักสูตรการ การสอน ฝึกอบรม บ้านต่อยอดชั้นนําใน ฝึกอบรมและการ ประเมินผล ภูมิภาคเป็นที่เลือก ดูงานของนักศึกษา 3. เปิดรับนักศึกษาแพทย์ แพทย์ประจําบ้าน และ แพทย์ แพทย์ประจํา จักษุแพทย์ เข้ามาศึกษา บ้าน และจักษุแพทย์ ดูงาน
- 170 -
ระยะเวลา ตัวชี้วัด/ ดําเนินการ เป้าหมาย ต.ค. 55 – ผลงานวิจัย ก.ย.59 ตีพิมพ์ 0.4 เรื่องต่อ อาจารย์ต่อปี ต.ค. 55 – - ปรับปรุง ก.ย.59 หลักสูตร แพทย์ประจํา บ้าน โดยเพิ่ม การเรียน ประกอบแว่น ภายในสิ้น แผน - จํานวน นักศึกษา แพทย์ แพทย์ ประจําบ้าน
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
มุมมอง/มิติ/ด้าน Perspective
เป้าประสงค์ (Goals)
รายงานประจําปี 2556
กิจกรรม/โครงการ (Action Plans)
ตัวชี้วัด/ เป้าหมาย และจักษุ แพทย์ ที่เข้า มาดูงาน ต.ค. 55 – จํานวนผู้ป่วย Academic & เป็นผู้นําในการให้ 1. โครงการให้บริการด้าน ก.ย.59 /ความพึง กระจกตาและเนื้อเยื่อ service บริการรักษาพยาบาล พอใจของ ด้านการบริการผู้ป่วย โรคทางจักษุวิทยา 2. โครงการให้บริการรักษาโรค ผู้ป่วย เนื้องอก และมะเร็งทาง จักษุวิทยา Academic & เผยแพร่ความรู้ด้าน 1. จัดประชุมวิชาการเพื่อเผย ต.ค. 55 – จัดประชุม แพร่ความรู้ด้านจักษุวิทยา ก.ย.59 service วิชาการด้าน จักษุวิทยาสู่จักษุ ด้านบริการวิชาการ แพทย์ บุคลากรทาง จักษุวิทยา ปีละ 2 ครั้ง การแพทย์และ สาธารณสุข Human resource บุคลากรมีคุณภาพ 1. จัดหาและพัฒนาบุคลากร ต.ค. 55 – ความพึงพอใจ focus ของบุคลากร และมีความสุขในการ เพื่อให้สามารถดําเนินการ ก.ย.59 ได้ตามวัตถุประสงค์ ทํางาน 2. จัดกิจกรรมสร้างสัมพันธ์ ระหว่างบุคลากร Administrative สร้างรายได้และลด 1. ทบทวนต้นทุนของหัตถการ ต.ค. 55 – จํานวนต้นทุน excellence ที่ทําบ่อย ก.ย.59 ของหัตถการ รายจ่าย โดยเพิ่ม ที่ได้รับการ ประสิทธิภาพในการ 2. โครงการพัฒนาภาควิชาฯ ทบทวน ทํางาน
- 171 -
ระยะเวลา ดําเนินการ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น - ส่งรายงาน Online ปรับปรุงวิธีการส่งรายงานและตรวจรายงานนักศึกษาแพทย์ ให้อาจารย์ผู้ดูแลจะ ตรวจรายงานทาง E-mail หากมีความเห็นเพิ่มเติมหรือข้อแก้ไขอาจารย์จะแก้ไขแล้วส่งกลับนักศึกษาแพทย์ ทาง E-mail เช่นเดียวกัน เป็นการปรับเปลี่ยนช่องทางให้มีความสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น - ประเมินการสอน Online ปรับเปลี่ยนรูปแบบการประเมินการสอนจากกระดาษเป็นประเมินการสอนบน Website : www.ramamental.com/student ทํ า ให้ ไ ด้ รั บ ความเห็ น จากนั ก ศึ ก ษาแพทย์ ผ่ า นแบบ ประเมิน Online เร็วขึ้นกว่าการใช้กระดาษ อํานวยความสะดวกให้กับนักศึกษาแพทย์มากขึ้น - เปิ ด หลั ก สูตรวิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิช าจิต วิท ยาเด็ก วัยรุ่น และครอบครัว (Master of Science Program in Child, Adolescent and Family Psychology) เป็ น การเปิ ด หลั ก สู ต รโดยความ ร่วมมือระหว่าง 3 สถาบัน ประกอบด้วย ภาควิชาจิตเวชศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ ศิริราชพยาบาล และ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ในการจัดการเรียนการสอน โดย เน้นให้ ความรู้ ความเข้าใจ การดูแล ความเชี่ยวชาญในการประเมิน ช่วยเหลือ บําบัดและฟื้ นฟู ด้าน จิตวิทยาเด็ก วัยรุ่น และครอบครัว - โครงการให้ความรู้ด้านจิตเวช บน Youtube เป็นการให้ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคทางด้านจิต เวชในสื่อออนไลน์ เพื่อให้บริการสร้างเสริมสุขภาพในช่องทางที่สะดวกแก่การเข้าถึงมากขึ้น บุคคลที่ได้รบั รางวัล นพ.อลงกรณ์ เถกิงศักดากุล แพทย์ประจําบ้านปีที่ 3 ได้รับรางวัลนักวิจัยรุ่นเยาว์ จากการนําเสนองานวิจัย เรื่อง "การศึกษาลักษณะอาการและความรุนแรงของโรคย้ําคิดย้ําทําในผู้ป่วยนอกแผนกจิตเวช โรงพยาบาล รามาธิบดี" ในการประชุมวิชาการจิตเวชศาสตร์ประจําปี ครั้งที่ 40 ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทยและกรมสุขภาพจิต 21 - 23 พฤศจิกายน 2555 แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 โครงการประชุมวิชาการ Rama Psychiatry Update 2014 สําหรับจิตแพทย์และแพทย์ทั่วไปที่สนใจ โครงการ ADHD เป็นโครงการติดตามผู้ป่วยสมาธิสั้นทั้งในระยะสั้นและการติดตาม 10 ปี ในด้าน ประสิทธิภาพการรักษา และผลข้างเคียงจากการรักษา เปรียบเทียบผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อผู้ป่วยระหว่าง ผู้ป่วยที่ติดตามการรักษาสม่ําเสมอและไม่สม่ําเสมอ ในด้านผลกระทบต่อการเรียน ปัญหาสุขภาพจิตต่างๆ รวมถึงการเป็นโรคทางจิตเวช และคุณภาพชีวิต โครงการ Cognitive Rehabilitation สําหรับฟื้ นฟู ปั ญหาด้าน cognitive function ในผู้ ป่ วย เช่น mild dementia, mild cognitive impairment หรือ traumatic brain injury โดยมีการประเมิน ด้วย neuropsychological tests อย่ างละเอี ยด และจั ดกิจกรรมที่ กระตุ้ นความสามารถของสมองทั้ งทางด้ าน attention, memory, executive function และ Visuospatial function - 172 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาพยาธิวิทยา ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น ด้านการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาจัดทําหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพยาธิวิทยา คลินิก หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านจัดทําหลักสูตรสาขาพยาธิวิทยากายวิภาค สาขาพยาธิวิทยา คลินิก สาขาพยาธิวิทยาทั่วไปและสาขานิติเวชศาสตร์ การพัฒนาหลักสูตร 1. หลักสูตรบัณฑิตศึกษาสาขาพยาธิวิทยาคลินิก โครงการประเมินและพัฒนาระบบการเรียนการ สอน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555) 13 - 15 พฤษภาคม 2556 ณ โรงแรม Springfield @ Sea Resort & Spa จ.เพชรบุรี 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต โครงการสัมมนารายงานความก้าวหน้า วิทยานิพนธ์ของนักศึกษา 21 - 22 มีนาคม 2556 ณ โรงแรม Siam @ Siam Design Hotel and Spa กรุงเทพฯ 3. หลั ก สู ต รบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาสาขาพยาธิ วิ ท ยาคลิ นิ ก โครงการสั ม มนาผลความก้ า วหน้ า ของงาน วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาทุกคนหมุนเวียนกันนําเสนออย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสําเร็จการศึกษา ได้ตามวงรอบที่กําหนด ด้านการวิจัย 1. โครงการวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยเงินรายได้คณะฯ 5 โครงการ 700,431 บาท 2. ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับสากลที่มี Peer review จํานวน 51 ฉบับ ที่บุคลากร ภาควิชาฯ เป็นชื่อแรก 15 ฉบับ ด้านการบริการรักษาพยาบาล ครอบคลุ มทุ กหน่ วยงานในภาควิ ช าฯ ทั้ งพยาธิ วิ ท ยาคลิ นิ ก และพยาธิ วิ ท ยากายวิ ภ าค รวม 27 ห้องปฏิบัติการ 300 ชนิดการทดสอบ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสากล ISO 15189 รวมทั้งการได้รับการ รับรองมาตรฐานการทดสอบ Lipid profile (Cholesterol, Triglyceride และ HDL-cholesterol) จาก Centers for Disease Control and Prevention การพัฒนาด้านการบริการรักษาพยาบาล 1. พัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางอณูชีววิทยาเพื่อลดหรือควบคุมการระบาด ลดอัตราการเจ็บป่วยและ อั ต ราการเสี ย ชี วิ ต จากโรคติ ด เชื้ อ อุ บั ติ ใ หม่ (New emerging) และอุ บั ติ ซ้ํ า (Re-emerging) ศ.วสั น ต์ จันทราทิตย์ ดร.เอกวัฒน์ ผสมทรัพย์ และคณะ
- 173 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
2. โครงการสร้างฐานข้อมูลพันธุกรรมและวิเคราะห์ข้อมูลแบบทั่วจีโนมจากข้อมูลพันธุกรรมจาก อาสาสมั ค รในโครงการความร่ ว มมื อ ระหว่ า งกรมวิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ แ ละ Center for genomic medicine, RIKEN ศ.วสันต์ จันทราทิตย์ ดร.เอกวัฒน์ ผสมทรัพย์ และคณะ 3. ต้นแบบด้านสุขภาพในการตรวจคัดกรองและวิเคราะห์พันธุกรรมเพื่อเลือกชนิดหรือปรับขนาดยา ให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล (เภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล) ผศ.ชลภัทร สุขเกษม 4. นโยบายระดับชาติ เรื่องโครงการนําร่อง “การป้องกันผื่น แพ้ยารุนแรงชนิ ด SJS/TEN จากยา Carbamazepine/Oxcarbamazepine ด้วยการประเมินความเสี่ยงทางพันธุกรรมชนิ ด HLA-B*15:12” ของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) โดยห้องปฏิบัติการเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์ เฉพาะบุคคลเป็นเครือข่ายที่ทําการตรวจคัดกรอง ด้านการบริการวิชาการ 1. โครงการศูนย์วินิจฉัยโรคเลือด จะจัดอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการตรวจวินิจฉัยธาลัสซีเมียทาง ห้องปฏิบัติการ ให้แก่นักเทคนิคการแพทย์ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ แพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์ที่ ปฏิบัติงานด้านโลหิตวิทยา โดยเน้นการฝึกอบรมในการปฏิบัติงานจากสิ่งส่งตรวจจริง ภายใต้การดูแลของ ผู้เชี่ยวชาญ เรียนรู้จากการสอนแสดงในบางกรณี เพื่อเพิ่มศักยภาพในการตรวจวินิจฉัย ธาลัสซีเมียทาง ห้องปฏิบัติการทั้งด้านเทคนิคทางห้องปฏิบัติการและการแปลผลการตรวจ สามารถนําไปใช้ปฏิบัติงานจริง อย่างมีประสิทธิภาพและมีมาตรฐาน การสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรห้องปฏิบัติการวินิจฉัยโรค เลือดในการให้บริการทางวิชาการ 1.1 การตรวจกรองเบื้องต้น รุ่นที่ 1 10 – 11 มิถนุ ายน 2556 และรุ่นที่ 2 8 – 9 กรกฎาคม 2556 1.2 การแปลผล Hb typing รุ่นที่ 1 12 – 14 มิถนุ ายน 2556 และรุ่นที่ 2 10 – 12 กรกฎาคม 2556 1.3 การตรวจยีน α-thalassemia 1ด้วยวิธี PCR รุ่นที่ 1 24 – 26 มิถุนายน 2556 และรุ่นที่ 2 29 – 31 กรกฎาคม 2556 2. ปฏิบัติหน้าที่ตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรมให้แก่กลุ่มเป้าหมายของโครงการเฉลิมพระเกียรติปกป้อง สิท ธิผู้ด้อยโอกาส ผู้ยากจน และคนยากไร้ สู่พลเมื องอาเซียน ตรวจพิสูจน์ สารพันธุกรรม (DNA) ให้ แก่ ผู้ยากไร้ ครั้งที่ 1 (กรุงเทพมหานคร) 25 มิถุนายน 2556 ณ บริเวณห้องโถง ชั้น 1 อาคารรัฐสภา 1 และ บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสารพันธุกรรม (DNA) โดย รศ.บุษบา ฤกษ์อํานวยโชค พร้อมบุคลากร จากห้องปฏิบัติมนุษย์พันธุศาสตร์และห้องปฏิบัติการนิติเวชศาสตร์ 3. โครงการนําร่องการให้บริการวิชาการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่น ผู้รับผิดชอบโครงการ รศ.บุษบา ฤกษ์อํานวยโชค ห้องปฏิบัติการมนุษย์พันธุศาสตร์ การบริการวิชาการที่ทํา ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม และผู้ด้อยโอกาส สามารถให้ความอนุเคราะห์ในการตรวจวิเคราะห์ดีเอ็นเอ ช่วยเหลือบุคคลที่ถูกกระทําทางเพศ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เกี่ยวข้องในคดี ให้สามารถดําเนินชีวิตที่ดีขึ้นได้รับ ความยุติธรรม ธํารงไว้ซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตลอดจนให้ได้มาซึ่งสิทธิตามกฎหมายของ ความเป็นไทย - 174 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
สถิติการให้บริการ รายการ 2554 บริการรับสิ่งส่งตรวจทางพยาธิวิทยาแก่ 9,347,920 โรงพยาบาลรัฐ (บาท)
2555 7,239,620
2556 รวมอยู่ใน ศูนย์บริการพยาธิ วิทยา รายรับศูนย์บริการพยาธิวิทยา (บาท) 125,099,860 130,191,145 159,064,145 บริการเจาะเลือดที่หน่วยชันสูตรผู้ป่วยนอก (ราย) 481,842 552,258 597,787 อัตราความถูกต้องของสิ่งส่งตรวจชันสูตร (ร้อยละ) 99.84 99.67 อาคารสมเด็จ พระเทพรัตน์ = 99.9 อาคารหลัก = 99.56 อัตราการรอคอยในการเจาะเลือด 90.10 90.0 อยู่ระหว่างเก็บ ภายใน 20 นาที (ร้อยละ) ข้อมูล อัตราความสอดคล้องจากการสุ่มตรวจซ้ํา (ร้อยละ) 99.88 99.67 99.50 อัตราความสอดคล้องหลักของการรายงานผล 100.00 97.70 98.31 วินิจฉัยมะเร็งชิ้นเนื้อเล็ก (Malignancy in biopsy specimen) (ร้อยละ) ผลงานเด่น - สํานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กระทรวงสาธารณสุข ได้มอบหนังสือเพื่อแสดงว่า ห้องปฏิบัติการ นิติเวชศาสตร์ พิษวิทยา และมนุษย์พันธุศาสตร์ ภาควิชาพยาธิวิทยา ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นห้องปฏิบัติการ ที่ผ่านการรับรองความสามารถตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2005 และข้อกําหนดและเงื่อนไขการรับรอง ความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบด้านนิติวิทยาศาสตร์ของสํานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ณ 27 มิถุนายน 2556 - สํานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กระทรวงสาธารณสุข ได้มอบหนังสือเพื่อแสดงว่า ห้องปฏิบัติการ ภาควิชาพยาธิวิทยา ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นห้องปฏิบัติการที่ผ่านการรับรองความสามารถตามมาตรฐาน ISO 15189:2007 และข้อกําหนดและเงื่อนไขการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบด้านการแพทย์ และสาธารณสุขของสํานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ณ 29 สิงหาคม 2556 - โครงการการศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์และการแปลผล Haplotype ของยีน CYP2B6 ซึ่งมีความสัมพันธ์ กับการออกฤทธิ์ของยาเอฟาวิเรนซ์ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี แบบที่ 1 ผศ.ชลภัทร สุขเกษม
- 175 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ด้านศิลปวัฒนธรรม ส่งเสริมสุขภาพ 1. โครงการสัมมนานอกสถานที่ระหว่างอาจารย์ แพทย์ประจําบ้าน และนักศึกษาปริญญาโท - เอก (สานสัมพันธ์ครู-ศิษย์) 2556 27 - 28 กรกฎาคม 2556 ณ A-One The Royal Cruise Hotel จ.ชลบุรี 2. พิ ธี ไหว้ ค รู ของภาควิ ชาฯ ประจํ าปี 2556 แพทย์ ป ระจํ าบ้ าน และนั กศึ กษาปริ ญ ญาโท - เอก สาขาพยาธิวิทยาคลินิก 25 กรกฎาคม 2556 เวลา 10.00 - 12.00 น. ณ บริเวณหน้าหอประชุมอารี วัลยะเสวี 3. งานเกษียณอายุราชการ บุคลากรภาควิชาฯ 20 กันยายน 2556 ณ หอประชุมอารี วัลยะเสวี 4. ร่วมพิธีถวายสักการะพระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถฯ เนื่องใน โอกาสวันคล้ายวันเฉลิมพระชนมพรรษา ประจําปี 2556 9 สิงหาคม 2556 เวลา 8.00 น. ณ หอประชุม อารี วัลยะเสวี 5. โครงการไหว้พระ 9 วัด เพื่อสืบสานวัฒนธรรมไทย 26 มกราคม 2556 จ.สมุทรสงคราม โครงการในปีงบประมาณ 2556 1. โครงการการวางแผนกลยุทธ์และการจัดการกระบวนการ (Strategic planning and process management) เพื่อทบทวนและปรับปรุงแผนกลยุทธ์และการจัดการกระบวนการให้ใช้ได้อย่างเหมาะสมที่ เป็นจริงในภาวะการณ์ปัจจุบัน และเพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการทํางานของบุคลากรใน ภาควิชาพยาธิวิทยาให้ดําเนินไปในทางเดียวกัน 24 - 25 สิงหาคม 2556 ณ Springfield @ Sea Resort & Spa ชะอํา จ.เพชรบุรี 2. โครงการสัมมนาการพัฒนาทีมงานเพื่อประสิทธิภาพขององค์กร รุ่นที่ 2 13 – 14 กรกฎาคม 2556 ณ A-One Pattaya Beach Hotel จ.ชลบุรี แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 1. สร้างและเผยแพร่ผลงานวิจัยทั้งปริมาณ คุณภาพ และคุณค่าเทียบเคียงกับสถาบันชั้นนําของประเทศ เพื่อให้มีปริมาณผลงานวิจัยที่มีคุณภาพตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติเพิ่มตามเกณฑ์ของคณะฯ 2. สร้างองค์กรต้นแบบด้านบริการทางการแพทย์และศูนย์ความเป็นเลิศด้านการรักษาพยาบาลในสาขา ซึ่งเป็นความต้องการของประเทศ - เป็นสถาบันหลักเพื่อการเทียบเคียงผลการตรวจวิเคราะห์ทางพยาธิวิทยา - มีการควบคุมคุณภาพงานบริการตามระบบสากล - ธํารงรักษามาตรฐานคุณภาพของงานบริการทั้งระบบ 3. สร้างรายได้และลดรายจ่ายโดยเพิ่มประสิทธิภาพของการดําเนินงาน - เพื่อจัดหารายได้ให้พอเพียง สําหรับพันธกิจต่างๆ - ลดรายจ่าย - จัดค่าตอบแทนการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม
- 176 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี มุ่งมั่นพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าเพื่อประโยชน์ต่อการสร้างสุขภาวะของ มวลมนุษยชาติ เน้นการผลิตบัณฑิตพยาบาลที่มีคุณภาพทั้งระดับปริญญาตรี โท เอก มีการฝึกอบรมการ พยาบาลเฉพาะทางสาขาต่างๆ ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ มีการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมพยาบาลขั้นสูง ระดับวุฒิบัตร (เทียบเท่าปริญญาเอก) มีการทําวิจัยสร้างความรู้ใหม่ๆ เป็นศูนย์ประสานงานองค์การอนามัย โลก เพื่อการพัฒนาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2539 จนกระทั่งปัจจุบัน และมีการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในทุกพันธกิจ 1. ผลการดําเนินงานเด่นและเป็นที่ภาคภูมิใจ 1.1 ด้ านการศึ ก ษาระดั บ ปริญ ญาตรี สามารถรั บ นั ก ศึ ก ษาได้ ม ากกว่าเป้ าหมาย 230 คน และ นักศึกษารุ่นที่ 40 ปีการศึกษา 2555 สอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพและผดุงครรภ์ ผ่านในครั้งแรก ได้ ร้อยละ 91.11 เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ถึง 24 วิชา ซึ่งทุกวิชาจัดแบบ Interactive และมีเนื้อหา Upload ขึ้นเกินร้อยละ 60 ของวิชา ถึง 18 วิชา และผลการ สอบเข้าเรียนระบบกลาง (Admission) จัดสอบโดยสมาคมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (สอท.) นักเรียน เลือกเข้าเรียนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คะแนนสูงสุดที่สอบเข้าได้เป็นอันดับ 3 ของประเทศ และ โรงเรียนฯ มีระบบคลังข้อสอบรวมทั้งข้อสอบที่ได้มาตรฐานร้อยละ 39.74 ของข้อสอบในคลัง
1.2 ด้านการศึกษาระดับปริญญาโท ผู้สําเร็จการศึกษา 79 คน นักศึกษาได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ในการประชุมวิชาการประจําปี 2556 ของคณะฯ ได้แก่ น.ส.ชญาน์นันท์ ใจดี สาขาฯ เด็ก สารนิพนธ์ดีเด่น ได้แก่ น.ส.ศรัณยา แสงมณี สาขาฯ ผู้ใหญ่ นักศึกษาได้รับรางวัลการนําเสนอโดยโปสเตอร์ดีเด่นในการประชุม นานาชาติที่ประเทศญี่ปุ่น ได้แก่ น.ส.สิริญญา พลวัต สาขาฯ เวชปฏิบัติชุมชน หลักสูตรฯ ที่ดําเนินการอย่าง ต่อเนื่อง 4 สาขา ได้แก่ สาขาการพยาบาลเด็ก สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่ สาขาการพยาบาลจิตเวชฯ สาขาการ พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน และหลักสูตรเปิดใหม่อีก 1 สาขา คือ สาขาการพยาบาลผดุงครรภ์ขั้นสูง นอกจากนี้ หลักสูตรนานาชาติ (Hybrid education program) ผ่านการพิจารณาจากสภามหาวิทยาลัยให้เป็นหลักสูตร เปิดใหม่
- 177 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
1.3 ด้านการศึกษาระดับปริญญาเอก เป็นการศึกษานานาชาติร่วมกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ มี ผู้ จ บการศึ ก ษา 12 คน นั กศึ ก ษาทุ ก คนมี โอกาสทํ าวิ จั ย ร่ วมกั บ อาจารย์ ในมหาวิ ท ยาลั ย ต่ างประเทศ ปั จ จุ บั น มี นั ก ศึ ก ษาต่ างชาติ เข้ า ศึ ก ษาเพิ่ ม ขึ้ น คื อ นั ก ศึ ก ษาจากประเทศ บั งคลาเทศ นั ก ศึ ก ษาที่ ได้ รั บ ทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภทบัณฑิตศึกษา ประจําปี 2556 จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จํานวน 2 คน คือ น.ส.กุลระวี วิวัฒนชีวิน และน.ส.นันทิยา เอกอธิคมกิจ 1.4 หลักสูตรฝึกอบรมพยาบาลขั้นสูงระดับวุฒิ บัตร (เทียบเท่ าปริญ ญาเอก) สาขาการพยาบาล อายุรศาสตร์-ศัลยศาสตร์ และสาขาการพยาบาลเด็ก โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีได้รับการรับรองให้เปิด หลักสูตร จากสภาการพยาบาล โดยวางแผนเปิดการฝึกอบรมในเดือนมกราคม 2557
1.5 ด้านวิเทศสัมพันธ์ จัดอบรมให้แก่อาจารย์และบุคลากรทางการแพทย์จากต่างประเทศ 12 คน ได้แก่ สหภาพเมียนมาร์ 7 คน และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 5 คน มีนักศึกษาแลกเปลี่ยนกับ โรงเรียนฯ เพิ่มมากขึ้น รวม 40 คน แบ่งเป็นนักศึกษาจากประเทศเดนมาร์ก 20 คน สวีเดน 6 คน ญี่ปุ่น 11 คน และไต้ ห วัน 3 คน มี นั กศึ ก ษาพยาบาลรามาธิบ ดี เข้ าร่วมโครงการแลกเปลี่ ย นกับ สถาบั น การศึก ษาใน ต่างประเทศ รวม 12 คน แบ่งเป็นประเทศเดนมาร์ก 4 คน ญี่ปุ่น 5 คน และไต้หวัน 3 คน
ผู้บริหารจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศมาเจรจาความร่วมมือกับโรงเรียนฯ ได้แก่ ประเทศเดนมาร์ก ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น จีน และไต้หวัน และผู้บริหารจากโรงเรียนฯ ไปเจรจาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ในต่างประเทศ ได้แก่ เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Polytechnic University, University of Hong Kong และ Chinese University of Hong Kong) และสาธารณรัฐไต้หวัน (National Taiwan University, Taipei Medical University แ ล ะ National Taipei University of Nursing and Health Sciences) - 178 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โรงเรียนฯ ในฐานะศูนย์ประสานงานองค์การอนามัยโลกด้านการพัฒนาการพยาบาลและผดุงครรภ์ใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (WHO Collaborating Centre for Nursing and Midwifery Development) ได้ร่วมจัดการประชุ ม Regional Meeting on Strengthening Quality of Midwifery Education and Service กับ World Health Organization/SEARO และเป็นตัวแทนดําเนินการจัดการประชุมเครือข่าย Southeast Asia Nursing and Midwifery Education Institution Network (SEANMEIN) 30 กรกฎาคม ถึง 1 สิงหาคม 2556
1.6 ด้านการบริการวิชาการ จัดประชุมวิชาการระดับชาติ 11 เรื่อง จํานวนผู้เข้าร่วมประชุม 1,981 คน ดําเนินการจัดประชุมระดับนานาชาติ 2 ครั้ง มีจํานวนผู้เข้าร่วมประชุม 869 คน (เป็นต่างชาติ 569 คน คนไทย 300 คน) การฝึกอบรมการพยาบาลเฉพาะทางระยะสั้น 4 เดือน รวม 9 หลักสูตร ได้แก่ การพยาบาล เฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติทารกแรกเกิด การพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบ ทางเดินหายใจ การพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติทางตา การพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาล ผู้ ป่ วยวิก ฤต (ผู้ ใหญ่ แ ละผู้ สู งอายุ ) การพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลควบคุ ม การติ ด เชื้ อ การ พยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลอุบัติเหตุและฉุกเฉิน การพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลรังสี และการพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติการบําบัดทดแทนไต (การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม) มี ผู้สําเร็จการอบรม 258 คน 1.7 ด้านการวิจัยและวิชาการ มีการนําเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 29 เรื่อง และมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์และอยู่ในกระบวนการการตอบรับการตีพิมพ์ทั้งสิ้น 50 เรื่อง แบ่งเป็น ระดับชาติ 39 เรื่อง และนานาชาติ 11 เรื่อง อาจารย์ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยระดับนานาชาติ 1 ทุน ทุนระดับชาติและ ทุนภายในมหาวิทยาลัย 20 ทุน ทุนโครงการพัฒนาศักยภาพประชากรไทย 9 ทุน มีอาจารย์พยาบาลได้รับ การอ้างอิงการตีพิมพ์ผลงานวิจัยติดอันดับ 6 ใน 10 ของ Most cited articles ในฐานข้อมูล Scopus ของคณะฯ การปรับปรุงและผลิตตําราทางการพยาบาล 3 เล่ม คือ กฎหมายสําหรับพยาบาล พยาธิสรีรวิทยาทางการ พยาบาล เล่ม 2 และการวิเคราะห์อํานาจการทดสอบและการประมาณค่าขนาดตัวอย่างโดยใช้โปรแกรม G*Power รามาธิบดีพยาบาลสารเป็นวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal citation Index: TCI) อยู่ในวารสารกลุ่มที่ 1 และอยู่ในฐานข้อมูล TCI สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
- 179 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
1.8 ด้านบริหาร มีผู้บริหารเกษียณอายุราชการ 4 คน มีการพัฒนาอาจารย์โดยการศึกษาต่อระดับ ปริญญาโท/เอก 10 คน (ปริญญาเอก ในประเทศ 2 คน ปริญญาเอก หลักสูตรนานาชาติ 3 คน ปริญญาเอก ต่างประเทศ 2 คน และ ปริญญาโท 3 คน) รับบุคลากรเป็นอาจารย์ 6 คน การปรับปรุงด้านโครงสร้างโดย ทาสีภายในและภายนอกอาคารโรงเรียนฯ และหอพักพยาบาล ณ ศาลายา รวมถึงอยู่ระหว่างดาเนินการ จัดเตรียมพิธีเปิดพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
1.9 ด้านการพัฒนาคุณภาพ นาเกณฑ์ EdPEx มาเป็นกรอบแนวคิดในการบริหารจัดการองค์กรเพื่อ พัฒนาสู่ความเป็นเลิศ โดยเชิญผู้มีความเชี่ยวชาญมาเป็นที่ปรึกษา วิเคราะห์บริบททีมนาของโรงเรียนฯ และ การวางแผนพัฒนาระบบรับฟังเสียงของลูกค้า (VOC: Voice of the customer) จัดกิจกรรมการจัดการ ความรู้ (KM: Knowledge management) โดยมีการถอดบทเรียน 4 เรื่อง 1.10 ด้านการประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร ดาเนินการเสริมสร้างภาพลักษณ์โรงเรียนฯ อย่าง ต่อเนื่อง โดยมีการจัดงานแถลงข่าวในหัวข้อ “โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ก้าวสู่ผู้นาด้านการพยาบาลแห่ง อาเซียน” ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนหลายแขนง ทั้งสื่อหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และข่าวออนไลน์ มีการ จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ทางการพยาบาลของโรงเรียนฯ การประชาสัมพันธ์ แนะนาหลักสูตรการพยาบาลผ่านสื่อ โซเชี ย ลมี เดี ย “อยากเรีย นพยาบาล” จั ด ส่ งเอกสารแผ่ น พั บ ไปยั งโรงเรีย นมั ธยมที่ มี ชื่ อ เสี ย งทั้ งในเขต กรุงเทพฯ และปริมณฑล สร้างสื่อวิดีทัศน์แนะนาโรงเรียนฯ ภาคภาษาอังกฤษ มีการเผยแพร่ความรู้ด้าน สุข ภาพผ่ านสื่ อ โซเชี ย ลมี เดี ย พั ฒ นาปรับ ปรุงเว็บ ไซต์ ทั้ งภาคภาษาไทยและภาษาอั งกฤษ ผลจากการ เสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์ พบว่าโรงเรียนฯ เป็นที่รู้จักของกลุ่มเป้าหมายเพิ่มขึ้น มีนักเรียนที่ มีภูมิลาเนาในเขตกรุงเทพฯ และปริม ณฑล สมัครเข้าศึกษาต่อ หลักสูตรพยาบาลศาสตร์ของโรงเรียนฯ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน และโรงเรียนฯยังคงมุ่งมั่นพัฒนาเสริมสร้างภาพลักษณ์และการประชาสัมพันธ์โรงเรียนฯ ต่อสาธารณชน 1.11 โรงเรียนฯ ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ เพชรบุ รี 16 กั น ยายน 2556 ซึ่ งโรงเรี ย นฯ จะเป็ น สถาบั น พี่ เลี้ ย งให้ แ ก่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ในวันดังกล่าวมี พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี ให้เกียรติเป็นสักขีพยาน ณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
- 180 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
2. นวัตกรรม/บุคคลที่ได้รับรางวัล 2.1 ผศ.ดร.นิโรบล กนกสุนทรรัตน์ ได้รบั อนุสิทธิบัตร เลขที่ 7297 “หลอดพยุงลำไส้” รับโล่เกียรติ คุณในงำน 44 ปี วันพระรำชทำนนำมมหำวิทยำลัยมหิดล 2.2 ผศ.ศิริลักษณ์ อภิวำณิ ชย์ ร่วมประดิษฐ์ผลงำน “ภำชนะบรรจุของมีคม” รับกำรรับรองตำม หนังสือรับรอง ประเภทสิทธิบัตรกำรออกแบบ จำกศูนย์บริหำรทรัพย์สินทำงปัญญำ มหำวิทยำลัยมหิดล 2.3 อำจำรย์สุภลักษณ์ เชยชม ได้รับรำงวัลบุคคลต้นแบบ ในกำรจัดทำโครงกำรค้นคนค้นงำน ต้นแบบสร้ำงแรงจูงใจเพื่อสุขภำพ ในงำนมหกรรมคุณภำพ (Quality conference) ครั้งที่ 20 ของคณะฯ 2.4 ศำสตรำจำรย์ ดร.รุจำ ภู่ไพบูลย์ ได้รับทุนอุดหนุนวิจัย โครงกำรสุขภำพพอเพียงภำยใต้ปรัชญำ เศรษฐกิจพอเพียง จำกสำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ 3. แผนงาน/โครงการในปี 2557 3.1 โครงกำรพัฒนำต้นกล้ำดอกแก้วเพื่อเป็นอำจำรย์พยำบำลรำมำธิบดี 3.2 โครงกำรพัฒนำศักยภำพอำจำรย์ด้ำนกำรศึกษำ 3.3 เปิดกำรเรียนกำรสอนหลักสูตรวุฒิบัตรฯ อย่ำงเป็นทำงกำร ประมำณเดือนมกรำคม 2557 3.4 เปิดกำรเรียนกำรสอนหลักสูตรพยำบำลศำสตรมหำบัณฑิตนำนำชำติ อย่ำงเป็นทำงกำร ประมำณเดือนสิงหำคม 2557 3.5 ส่งเสริมกำรตีพิมพ์งำนวิจัยระดับนำนำชำติของอำจำรย์พยำบำลอย่ำงต่อเนื่อง 3.6 พัฒนำภำษำอังกฤษของนักศึกษำพยำบำล อำจำรย์พยำบำล และผู้ช่วยอำจำรย์พยำบำลโดยใช้ Program english discovery
- 181 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ภาควิชารังสีวิทยา ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น การบริการรักษาพยาบาล แผนภูมิที่ 8.1 ผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ ปีงบประมาณ 2554 – 2556 จานวน (คน) 250,000 199,468
200,000
150,000
คลินิกในเวลาราชการ คลินิกนอกเวลาราชการ คลินิกพิเศษ Premium
228,722
134,115
100,000
83,913
85,906
51,374
50,000
64,707 54,633 32,171
61,131
76,384
1,424
0
2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
แผนภูมิที่ 8.2 ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยเครื่อง PET-CT ปีงบประมาณ 2554 – 2556 จานวน (ราย) 278
300 250
199
200 150 100 50
29
0
2554
2555
2556
หมายเหตุ เครื่อง PET-CT เปิดให้บริการในเดือน พ.ค. 2554 เป็นต้นมา
- 182 -
ปีงบประมาณ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
นวัตกรรม/ผลงานที่ได้รบั รางวัล - การประดิษฐ์เข็มสําหรับการตรวจต่อมน้ําลาย (RAMA Sialogram) คุณพิณพิชญา เฟื่องทิพรังสี และทีมงาน ได้รับใบประกาศเกียรติคุณในงานมหกรรมคุณภาพถนนราชวิถี ครั้งที่ 2 ภายใต้หัวข้อ “เพิ่มพลัง ให้ องค์กรผ่านเครือข่ายคุ ณ ภาพ”: Maximizing Healthcare Resource through Networking 1 - 2 สิงหาคม 2556 ณ ห้ องประชุม พิ บูลสงคราม ชั้น 12 อาคารเฉลิม พระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา โรงพยาบาลราชวิถี
- โครงการบูรณาการตรวจหาโรคมะเร็งลําไส้ใหญ่โดยใช้เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ทีม ศูนย์รังสีวินิจฉัยก้าวหน้า (ศูนย์ AIMC) ได้รางวัล Dean’s Innovation Awards จากงานมหกรรมคุณภาพ (Quality conference) ครั้งที่ 20 ประจําปี 2556 - วัส ดุ รองรับ เพื่ อ ให้ แ น่ น บริเวณศีรษะ, หั วเข่าในการตรวจ CT/MRI (อยู่ ระหว่างเริ่ม ดํ าเนิ น การ ทดลองใช้และจะขอจดสิทธิบัตรต่อไป) บุคคลากรที่ได้รับรางวัล/คําชมเชย - ผู้ ช่วยศาสตราจารย์ ป กรณ์ เจี ยระคงมั่น เข้ารับ รางวัล บุ ค คลต้ น แบบในวัน พระราชทานนาม (2 มีนาคม 2557) ภายใต้โครงการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์การ “บุคคลต้นแบบ” - นายแพทย์บดินทร์ นันทวาส นายขวัญชัย วิสุทธิสาโร นางสุรางค์ อยู่เจริญ และนางสาวชุติมา เพ็งโฉม ได้รบั คําชมเชยจากผู้รับบริการผ่านรองคณบดีฝ่ายบริการ
- 183 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
- นายแพทย์ศิโรช วงศ์ไวศยวรรณ ได้รับคําชมเชยจากผู้รับบริการผ่านรองคณบดีฝ่ายบริการ เรื่องการให้บริการรักษาผู้ป่วยเป็นอย่างดี ออกมาดูผู้ป่วยหลังฟิล์มพบผิดปกติรุนแรงออกไปบอกผลด้วย ตนเองพร้อมร่วมหาทางช่วยเหลือเพิ่มเติมกับทีมแพทย์สหสาขาว่าควรตรวจอะไรเพิ่มเติม แม้ว่าท้ายสุด ผู้ป่วยจะเสียชีวิต คุณหมอเป็นคนที่มีคุณธรรมน่าร่วมงานด้วยมากที่สุด มีความเอื้ออาทรแม้เพียงเล็กน้อย แต่มันยิ่งใหญ่ต่อภาพลักษณ์ของแพทย์เอกซเรย์ การพัฒนาบุคลากร - โครงการ “รู้รักษ์ ความเป็นไทย รวมใจตามรอยพ่อ” 24 เมษายน – 17 กรกฏาคม 2556 ณ อาคารนิทรรศรัตนโกสินทร์ พิพิธภัณฑ์วัดเทพศิรินทราวาส และพระที่นั่งอนันตสมาคม รวม 7 ครั้ง - นางสาวดุษฏี สุขวัฒนาชัยกูล ตําแหน่งพยาบาล เข้าร่วมการอบรม ICU 10 - 13 มิถนุ ายน 2556 - โครงการพัฒนาบุคลากรหลักสูตร “การพัฒนาตนเองเพื่อการทํางานร่วมกัน” ณ โรงแรม คลาสสิค คามิโอ จังหวัดระยอง 3 - 4 สิงหาคม 2556 - โครงการพัฒนาบุคลากรสาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ “บริการด้วยใจ วิถีไทยที่แท้” 13 กันยายน 2556 ณ ห้อง 611 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี - อาจารย์แพทย์ ฝึกอบรมด้านรังสีรักษาและมะเร็งวิทยา (Radiation Oncology) จํานวน 1 คน ระยะเวลา 1 ปี - นักฟิสิกส์การแพทย์ศึกษาต่อระดับ PhD. ด้านฟิสิกส์การแพทย์ (Medical Radiation Physics) เพื่อเตรียมเป็นอาจารย์ โดยจะรับผิดชอบการเรียนการสอนด้านฟิสิกส์การแพทย์ 2 คน ระยะเวลา 5 ปี การวิจัย (Research) - ผลงานวิจัย/ผลงานที่ตอบสนองแผนยุทธศาสตร์ของคณะฯ รวม 26 เรื่อง - วิทยานิพนธ์ นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรฟิสกิ ส์การแพทย์ ดําเนินการวิจัย รวม 16 เรื่อง การบริการวิชาการ (Academic-service) - โครงการอบรมให้ความรู้และเสริมทักษะการให้บริการผู้ป่วยทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์สําหรับพยาบาล 2 สิงหาคม 2556 เวลา 08.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม 910A ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้าน การแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี - จัดอบรมเรื่องการป้องกันอันตรายทางรังสี ให้กับกลุ่มงานพยาบาลในห้องผ่าตัดศัลยศาสตร์ 6, 13 มีนาคม 2556 ภาควิชาวิสัญ ญีวิทยา 11 มีนาคม 2556 แพทย์ประจําบ้าน ภาควิชาศัลยศาสตร์ 29 มีนาคม 2556 หน่วยตรวจโรคตา 29 มีนาคม 2556 บุคลากรในสาขาวิชารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา เดือนมีนาคม 2557 กลุ่มงานพยาบาลในห้องผ่าตัดออร์โธปิดิกส์ 5 เมษายน 2556 กลุ่มงานพยาบาลใน ห้องผ่าตัดศัลยศาสตร์ ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ 23 เมษายน 2556 กลุ่มงานพยาบาลในห้อง ผ่าตัดศัลยศาสตร์ ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ 24 เมษายน 2556 เจ้าหน้าที่ สาขาวิชารังสีวิทยาวินิจฉัย ภาควิชา รังสีวิทยา 17, 24 กันยายน 2556 - 184 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
- ให้ความรู้ในการประชุมวิชาการประจําปี 2556 “44 ปี รามาธิบดี” 1 พฤษภาคม 2556 - โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสําหรับแพทย์ประจําบ้านปีที่ 1 และปีที่ 2 ภาควิชารังสีวิทยา ประจําปี 2556 “Basic ultrasound course for Radiology residents” จัดเป็นประจําทุกปี การศึกษา (Academic) - ผลการสอบรวบยอดของนักศึกษาแพทย์ปี 5 (ปี 2555) มีคะแนนสูงขึ้นร้อยละ 94.00 - จั ด ทํ า สื่ อ การเรี ย นการสอนแบบ E-learning website ประกอบด้ ว ยเอกสารประกอบการสอน Powerpoint, VDO และแบบทดสอบของทุ ก รายวิ ชาเพื่ อ ลดการใช้ก ระดาษมากกว่าร้อ ยละ 90 ของ อาจารย์ที่ทําการสอน - ทบทวนและปรับปรุงกระบวนการคัดเลือกแพทย์ประจําบ้าน ระบบการ Rotation ได้ปรับเปลี่ยน ใหม่ตั้งแต่ปี 2553 - Open House แนะนํ าภาควิชาฯ ให้ ผู้สนใจสมัค รเข้ าอบรมแพทย์ประจําบ้ าน ได้รู้จักและเข้าใจ ลักษณะงานเพื่อลดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน และลดอัตราการลาออกระหว่างฝึกอบรม มีกระบวนการการ คัดเลือกและประเมินผลแพทย์ประจําบ้านทาง Online ที่ดี ชัดเจนของแต่ละหน่วย - การศึกษาริเริ่มการดูแลสุขภาพจิตของแพทย์ประจําบ้านด้านการประสานงานกับอาจารย์ ภาควิชา จิตเวชศาสตร์ เพื่อร่วมเป็นที่ปรึกษาในการบําบัดความเครียด - อัตราการสมัครอบรมแพทย์ประจําบ้านต่อยอด เมื่อจบการอบรมแพทย์ประจําบ้านปี 2555 (ร้อยละ 70 ) จากรามาธิบดี (เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2554 ร้อยละ 40) - อัตราการสอบผ่าน Radiology board examination เป็นร้อยละ 100 ติดต่อกัน 6 ปี (สถิติเท่าที่ ราชวิทยาลัยรวบรวมไว้ ปี 2549 - 2555) - ผลงานวิ จั ย ของแพทย์ ป ระจํ า บ้ า นที่ ไ ด้ ร างวั ล Travel Award จากการเสนอผลงานเรื่ อ ง Local Recurrence and Metastasis of Giant cell Tumor of Extremities: Relationship with pretreatment Imaging and Type of Surgery (Electronic Poster) 20 ตุลาคม 2555 ได้แก่ นายแพทย์ประมาณ เฟื่องฟ้า แพทย์ประจําบ้านต่อยอด อนุสาขาภาพวินิจฉัยชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 ประจําปีการศึกษา 2556 - นายแพทย์ปิยพล ชี้เจริญ เพื่อเข้าอบรมด้านรังสีวิทยา (Fellowship in Neuroradiology) ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของหลักสูตรแพทย์ประจําบ้านต่อยอด อนุสาขาภาพวินิจฉัยระบบประสาท ณ ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม 6 สิงหาคม 2556 – 1 พฤศจิกายน 2556 - นายแพทย์กุรุวินท์ ลิ้มสมุทรเพชร อบรมด้านรังสีวิทยา (Fellowship in Body Imaging) ณ ประเทศ ญี่ปุ่น 1 - 31 ตุลาคม 2556 - แพทย์หญิงกอสิริ พูลภิญโญ เสนอผลงาน (E-Poster Presentation) เรื่อง Two-year radiographic follow up of psoriatic patients with locally asymptomatic spine and sacroiliac joint ในการ ป ระชุ ม วิ ช าก าร KCR 2013 The 69th Korean Congress of Radiology and Annual Delegate Meeting of The Korean Society of Radiology ณ สาธารณรัฐเกาหลี 11 ตุลาคม 2556 - 185 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
นายแพทย์ประมาณ เฟื่องฟ้า และ นายแพทย์ปิยพล ชี้เจริญ แพทย์ประจําบ้านต่อยอด ออกหน่วย แพทย์อาสา เฉลิมพระเกียรติของแพทยสภาร่วมกับสถาบันพระปกเกล้าและนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร ธรรมาภิบาลสําหรับผู้บริหารการแพทย์รุ่นที่ 1 - นายแพทย์ กุ รุวิ น ท์ ลิ้ ม สมุ ท รเพชร และแพทย์ ห ญิ งสุ ริ ช า ประชุ ม ร่ว มรับ โทรศั พ ท์ ง านการกุ ศ ล “ราตรีสายธารแห่งศรัทธา” สถานีวิทยุโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ (ช่อง 9) 22 สิงหาคม 2556 -
การเงิน (Finance)
จัดซื้อครุภัณฑ์เครื่อง X-Ray superficial ราคา 8,000,000 บาท เพื่อใช้สําหรับรักษาโรคมะเร็งผิวหนัง แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 1. ความปลอดภัยการใช้รังสีของบุคลากรในสาขาวิชารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา 2. โครงการอบรมให้ความรู้และเสริมทักษะการให้บริการผู้ป่วยทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์สําหรับพยาบาล 3. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Basic ultrasound course of radiology residents 4. การพัฒนาคุณภาพทีมงานและระบบการทํางาน on the job training 5. ระบบจัดเก็บภาพทางการแพทย์ (PACS) 6. ระบบสารสนเทศทางรังสีวิทยา (RIS) 7. อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและพระพุทธศาสนา 8. การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันอันตรายจากรังสี
- 186 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น 1. รางวัลการประกวดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 1.1 รางวัลที่ 1 เรือ่ งห่วงล้อไม่ห่วงสาย 1.2 รางวัลที่ 2 เรือ่ งการพัฒนาการทํางานเพื่อป้องกันความผิดพลาดจากการให้ยาบรรเทาปวดกลุ่ม opioid ซ้ําที่หอ้ ง PACU 2. รางวัลประกวดผลงาน Kaizen 2.1 รางวัลที่ 2 เรือ่ ง ผ้าห่มอุ่นกายไร้รอยต่อทอเต็มฝัน 3. โครงการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านต่อยอดเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญ อนุสาขาวิสัญญีวิทยา สําหรับผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านต่อยอดฯ อนุสาขาวิสัญญีวิทยา สําหรับผู้ป่วยโรคทาง ระบบประสาท และได้รับการอนุมัติจากราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย ให้เป็นสถาบันฝึกอบรม ในสาขาดังกล่าว 1 ราย/ปี 1. ด้านการศึกษา 1.1 นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5 157 คน (เวลาคนละ 3 สัปดาห์) และเลือกวิสัญญีวิทยาเป็นวิชาเลือก 36 คน 1.2 นักศึกษาแพทย์จากต่างประเทศ (เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี) 6 คน 1.3 นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 เลือกวิสัญญีวิทยาเป็นวิชาเลือก 24 คน (คนละ 2 สัปดาห์) 1.4 แพทย์ประจําบ้านวิสัญญี ชัน้ ปีที่ 3 38 คน 1.5 แพทย์ประจําบ้านต่อยอดฯ อนุสาขาการระงับปวด 4 คน 1.6 แพทย์ประจําบ้านต่อยอดฯ อนุสาขาวิสัญญีวทิ ยา สําหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่และทรวงอก 1 คน 1.7 แพทย์ประจําบ้านต่อยอดฯ อนุสาขาเวชบําบัดวิกฤต 1 คน 1.8 แพทย์ประจําบ้านจากต่างภาควิชามาฝึกงาน 55 คน คนละ 2 - 4 สัปดาห์ และจากต่างสถาบันและ โรงพยาบาล 68 คน 1.9 ฝึกอบรมวิสัญญีแพทย์ต่างประเทศ ในฐานะที่เป็นสถาบันร่วมฝึกอบรมแพทย์นานาชาติ โดยศูนย์ ฝึ ก อบรมแพทย์ น านาชาติ BARTC (Bangkok anesthesia regional training center) มี วิสั ญ ญี แ พทย์ จากประเทศลาว 1 คน 1.10 ฝึกอบรมผู้เข้ารับการฝึกอบรมวิสัญญีพยาบาล 32 คน 2. ด้านการวิจัย 2.1 งานวิจัยที่เสร็จสมบูรณ์ 17 เรือ่ ง - 187 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
2.2 ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ 8 เรื่อง (ระดับประเทศ 7 เรื่อง และระดับนานาชาติ 1 เรื่อง) 2.3 ผลงานวิจัยที่นาไปเสนอในการประชุมนานาชาติ 8 เรื่อง 2.4 งานวิจัยทีอ่ ยู่ระหว่างดาเนินการ 18 เรื่อง
3. ด้านบริการวิชาการ 3.1 การเรียนการสอนหลักสูตรวิสญ ั ญีวิทยาสาหรับนักศึกษาแพทย์ แพทย์ประจาบ้าน และวิสญ ั ญีพยาบาล 3.2 บุคลากรได้รับเชิญเป็นวิทยากรในการประชุมต่างประเทศ 1คน (1 ครั้ง) และภายในประเทศ 18 คน (47 ครั้ง) 4. ด้านการรักษาพยาบาล 4.1 งานบริการวิสัญญี 24,522 ราย 4.2 ดูแลผู้ป่วยภาวะวิกฤต 8 เตียง อัตราการครองเตียงร้อยละ 95.31 จานวนวันนอนเฉลี่ย 3.56 วัน 4.3 การระงับปวดเรื้อรัง ผู้ป่วยนอก 1,051 ครั้ง ผู้ป่วยใน 174 ครั้ง 4.4 การระงับปวดผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยนอก 1,019 ครั้ง ผู้ป่วยใน 459 ครั้ง 4.5 การระงับปวดเฉียบพลันหลังผ่าตัด 1,990 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.95 ของผู้ป่วยผ่าตัด
แผนภูมิที่ 8.3 ผู้รับบริการวิสัญญี ปีพ.ศ. 2555 - 2556
- 188 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
แผนภูมิที่ 8.4 ผู้รับบริการ แบ่งตาม ASA classification ปีงบประมาณ 2556 ASA 5, 86 , 0% ASA 6, 1 , 0% ASA 4, 2,084 , 9% ASA 1, 4,204 , 17% ASA 3, 7,068 , 29% ASA 2, 11,079 , 45%
5. ด้านทรัพยากรบุคคล 5.1 อาจารย์ลาศึกษาต่อต่างประเทศ 6 คน 5.2 อาจารย์ลาศึกษาต่อในประเทศ 5 คน 5.3 อาจารย์แพทย์เข้าร่วมประชุมและดูงานต่างประเทศ 18 ครั้ง แผนงาน/โครงการปีงบประมาณ 2557 1. ด้านการศึกษา โครงการจัดทําตํารา Basic Anesthesia สําหรับแพทย์ประจําบ้าน นักศึกษาแพทย์ และแพทย์ผสู้ นใจ ภาควิชาฯ ได้เห็นความสําคัญของการเรียนรู้เพิ่มเติม โดยจัดทําตํารา Basic Anesthesia สําหรับใช้สําหรับ การเรียนรู้ด้วยตนเอง มีแผนในการพิมพ์ตําราสําหรับการบริการวิสัญญีวิทยาเฉพาะด้าน 2. ด้านการวิจัย สนับสนุนให้มีการทําผลงานวิจัยเพิ่มขึ้น โดยขออนุมัติจ้างผู้ช่วยนักวิจัยที่มีความรู้ด้านระบาดวิทยาเพิ่มขึ้น เพื่อช่วยเหลือบุคลากรในการทํางานวิจัย 3. ด้านบริการวิชาการ จัดการอบรมในหัวข้อที่เป็นเรื่องน่าสนใจ และเป็นประโยชน์ให้แก่บุคลากรทางการแพทย์ 4. ด้านทรัพยากรบุคคล เพิ่มศักยภาพบุคลากรและสนับสนุนความก้าวหน้าในสายวิชาการและสายสนับสนุน โดยมีการจัดทํา โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนในการขอตําแหน่งทางวิชาการ เพื่อให้บุคลากรมี Royalty ต่อองค์กร มีแผนจัด กิจกรรมสร้างสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความคิดเชิงบวกในการทํางาน
- 189 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น 1. เปิดดําเนินการคลินิกดูแลและบรรเทาอาการแก่ผู้ป่วยระยะประคับประคอง ทุกวันอังคาร เวลา 13.00 - 16.00 น. ในเดือนสิงหาคม พ.ศ.2556 เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวและครอบครัวสามารถเข้าถึง บริการได้ง่ายขึ้นและได้รับการดูแลครอบคลุมปัญหาสุขภาพที่มีความซับซ้อนอย่างเป็นองค์รวม
2. เป็นหลักในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน “Palliative Care Day” ให้กับงาน การศึกษาระดับหลังปริญญาของคณะฯ เพื่อเตรียมแพทย์ประจําบ้านชั้นปีที่ 1 ทุกคนที่เข้าใหม่ของคณะฯ ให้มีความรู้ เจตคติ และทักษะเบื้องต้นในการดูแลผู้ป่วยแบบ Palliative care กิจกรรมนี้ได้ดําเนินการ ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 พบว่า คะแนนการประเมินความรู้และความพึงพอใจของแพทย์ประจําบ้านก่อนเข้ารับ การอบรมและหลังเข้ารับการอบรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ แพทย์ประจําบ้านร้อยละ 99.3 สนับสนุน ให้จัดกิจกรรมนี้ในปีต่อไป 3. การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคอง (Palliative Care) มีแพทย์ประจําบ้านต่อยอดจากคลินิก ระงับปวดและแพทย์ประจําบ้านจากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ให้ความสนใจมา Elective ทั้งหมด 6 คน นับเป็น ปีแรกที่มแี พทย์ประจําบ้านต่างสาขาวิชาให้ความสนใจมาศึกษาดูงานด้าน Palliative care นอกเหนือจาก แพทย์ประจําบ้านเวชศาสตร์ครอบครัวจากต่างสถาบัน 4. จัดบริการวิชาการด้วยหลักสูตรที่หลากหลาย ขึ้นอยู่กับความต้องการของแต่ละพื้นที่และองค์กร ต่างๆ ทั่วประเทศ หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้นเชิงปฏิบัติการด้านเวชศาสตร์ครอบครัว ได้แก่ 4.1 2-day workshop for working with the family of elders ณ โรงพยาบาลและเครือข่าย โรงพยาบาล ตําบล อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์
- 190 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
4.2 Teaching and learning workshop for family practice learning program (อยุธยา นครราชสีมา) 19 - 20 ตุลาคม 2555 และ 16 - 17 พฤศจิกายน 2555 4.3 5-weekends workshop in Family Medicine for multidisciplinary health care providers 22 กุมภาพันธ์ 2556 - 6 กรกฎาคม 2556 ร่วมกับทีมวิทยากรพัฒนานักสุขภาพครอบครัว 7 จังหวัดชายแดนใต้ 1 มีนาคม 2556 - 29 มิถุนายน 2556 ร่วมกับทีมบุคลากรสาธารณสุข สํานักงาน สาธารณสุข จังหวัดกาญจนบุรี 26 กรกฎาคม 2556 - 30 พฤศจิกายน 2556 ร่วมกับทีมบุคลากรสาธารณสุข สํานักงานสาธารณสุข จังหวัดแม่ฮ่องสอน 4.4 2-day family medicine case conference สําหรับหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติ วิทยาลัย พยาบาลยะลา พื้นที่จัดกิจกรรมที่ ยะลา ปัตตานี นราธิวาส 25 – 26 มีนาคม 2556 4.5 3-weekends workshop in fall prevention ณ โรงพยาบาลเคียนซา จ.สุราษฎร์ธานี 4.6 3-weekends Training of trainer workshop for FPL teacher โด ย ได้ รั บ งบ ป ระม าณ สนับสนุนจาก สปสช. 5. สอนบรรยายหัวข้อ ด้านเวชศาสตร์ครอบครัวให้แก่นักศึกษาแพทย์มหาวิทยาลัยมหิดล ชั้นปีที่ 5 ของโรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จ.นครสวรรค์ เนื่องจากขาดอาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเป็นปีที่ 2 6. เป็นแหล่งศึกษาดูงานด้านการจัดการเรียนการสอนและการบริการแบบเวชศาสตร์ครอบครัวให้แก่ สถาบันต่างๆ เช่น คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล คณาจารย์จากโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา เป็นต้น แผนงาน/โครงการปีงบประมาณ 2557 1. ผลักดันงานวิจัยที่มีอยู่ให้สําเร็จ และผลิตงานวิจัยใหม่ 2. พัฒนาการจัดการเรียนการสอน ผลิตบทเรียนใหม่ และติดตามผลงานศิษย์เก่า 3. การดูแลผู้สงู อายุโดยทีมสหวิชาชีพในคลินิกและการเยีย่ มบ้าน 4. เผยแพร่ความรู้ด้านเวชศาสตร์ครอบครัวสู่สังคม
- 191 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น 1. การเปิดบริการคลินิกเฉพาะทาง ได้แก่ 1.1 คลินิกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Clinic) เปิดให้การบริการรักษาทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู อย่างครบวงจรแก่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยมุ่งเน้นการเพิ่มความแข็งแรงและประสิทธิภาพการทํางาน ของกล้ามเนื้อฝึกการทรงตัวการเคลื่อนย้ายตนเอง การเดิน กระตุ้นการรับรู้ การกลืน รวมทั้งฝึกหัดการ ประกอบกิจวัตรประจําวัน รวมทั้งการให้คําแนะนําแก่ผู้ดูแลในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วย เพื่ อให้ ผู้ป่วย สามารถบรรลุศักยภาพสูงสุดที่มี 1.2 คลิ นิ ก เวชศาสตร์ฟื้ น ฟู ผู้สู งอายุ (Geriatric Rehabilitation) เปิ ด ให้ ก ารบริการรักษาทางเวช ศาสตร์ฟื้นฟูอย่างครบวงจรแก่ผู้สูงอายุ โดยวิธีการทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ และมี สมรรถภาพทางกายที่ แข็งแรงอันนํ าไปสู่การป้ องกั น และลดการพลัดตกหกล้ม ตลอดจนการผลิตผล งานวิจัย ทางด้ านเวชศาสตร์ฟื้ น ฟู ในผู้ สู งอายุ และเพื่ อ เป็ น ต้ น แบบการดู แ ลผู้ ป่ วยที่ ส ถาบั น การแพทย์ จักรีนฤบดินทร์ 1.3 คลินิกบําบัดรักษาเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวด้วยเทคนิค (Vojta Clinic) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการตรวจประเมินเด็กพิการที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดยดูจากรูปแบบการเคลื่อนไหวที่เด็กใช้เป็น ประจําในชีวิตประจําวันเพื่อหาทางแก้ไขรูปแบบการเคลื่อนไหวดังกล่าวให้เข้าสู่การเคลื่อนไหวในระดับที่ สูงขึ้นในขั้นตอนของการพัฒนาเด็กด้วยเทคนิค Vojta ซึ่งเป็นเทคนิคที่มีจุดเด่นในการตรวจประเมินการ เคลื่อนไหวของเด็กและการแก้ไขรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ และยังเป็นเทคนิคที่สามารถคัดกรองเด็ก ที่คาดว่าอาจจะมีปัญหาการเคลื่อนไหวในอนาคตได้ตั้งแต่เด็กอายุ 6 สัปดาห์ และคลินิกดังกล่าวยังสามารถ พัฒนาให้เป็นคลินิกเฉพาะทางสําหรับผู้ป่วยเด็กพิการ (Pediatric Rehabilitation Clinic) ได้ในอนาคต 2. การให้บริการการฝึกผู้ป่วยด้วยเครื่องมือ/อุปกรณ์ที่ทันสมัย ได้แก่ เครื่องฝึกเดิน (gait trainer) และการ วิเคราะห์ การเดิ น (gait analysis) ในกลุ่ มผู้ ป่ วยโรคระบบประสาท อุปกรณ์ ช่วยในการเข้ าถึงคอมพิ วเตอร์ สําหรับผู้พิการ ชุดอุปกรณ์เพื่อลดความไวในการรับความรู้สึกและชุดอุปกรณ์ฝึกการรับรู้ความรู้สึกในกลุ่มผู้ป่วย ที่มีปัญหาเส้นประสาทส่วนปลายและโรคระบบประสาท เครื่องให้การรักษาด้วยแสงเลเซอร์ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มี ปั ญหาทางกายภาพบํ าบั ดเพื่ อ เพิ่ ม กระบวนการซ่ อ มแซมเนื้ อ เยื่อ ลดการอั ก เสบและลดอาการปวดอั น เนื่องมาจากสาเหตุต่างๆ เครื่องกระตุ้นด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Transcranial Magnetic Stimulator : TMS) เครื่องกระตุ้นระบบประสาทด้วยไฟฟ้ากระแสตรง (Transcranial Direct Current Stimulator : TDCS) เครื่องนวดนิ้วมือ (Raha-Digit) และ เครื่องฝึกเพื่อฟื้นฟูกําลังกล้ามเนื้อส่วนแขน (Raha-Slide) เป็นต้น 3. สถานที่ดูงาน/ฝึกภาคปฏิบัติ ภาควิชาฯ ได้รับการคัดเลือกจากหน่วยงาน/สมาคม/สถาบันการศึกษา ต่างๆ หลายแห่งของทั้งรัฐและเอกชน ให้เป็นสถานที่ดูงาน/ฝึกภาคปฏิบัติแก่บุคลากรทางการแพทย์และ - 192 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
นิสิต/นักศึกษา ได้แก่ การดูงานด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจ การฝึกภาคปฏิบัติในสาขากายภาพบําบัด กิจกรรมบําบัด และสังคมสงเคราะห์ 4. การเปิดให้บริการหอผู้ป่วยเวชศาสตร์ฟื้นฟู เพื่อรองรับการตรวจประเมินคุณภาพทางด้านการศึกษา จากราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูให้เป็นไปตามเกณฑ์การรับรองสถาบันฝึกอบรมแพทย์ และเพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพในการบริการรักษาพยาบาลระดับตติยภูมิ จํานวน 8 เตียง โดยใช้เป็นพื้นที่ชั่วคราว ณ หอ ผู้ป่วย 76 ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ ชั้น 7 แผนงานในงบประมาณ 2557 1. โครงการจิตวิทยาในการทํางานเป็นทีม 2. เปิดให้บริการหอผู้ป่วยเวชศาสตร์ฟื้นฟูอย่างเต็มรูปแบบ จํานวน 20 เตียง ณ อาคาร 5 ชั้น 1 3. ปรับปรุงพื้นที่บริการและสํานักงานภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู
- 193 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น 1. รายงานฉบับสมบูรณ์ที่ภาควิชาฯ ทําร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ โครงการศึกษาการอุดหนุนข้ามระหว่างกองทุนสุขภาพในโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรัฐ ของประเทศไทย กันยายน 2556 โครงการทบทวนสถานการณ์ระบบบริการสาธารณสุขและการควบคุมคุณภาพตามธรรมนูญว่าด้วย ระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2552 (เพื่อปรับปรุงและยกร่างธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับใหม่ ในปี 2557). กุมภาพันธ์ 2556 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในถิ่นทุรกันดารเขตชายแดนไทย-พม่า ในเขตอําเภออุ้มผาง อําเภอท่าสองยาง จ.ตาก และ อําเภอปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน กุมภาพันธ์ 2556 โครงการประเมินผลการดําเนินงานด้านบริการปรึกษาเรื่องเอดส์และการดูแลรักษาสนับสนุนผู้ติดเชื้อ เอชไอวีในประเทศไทย ปี 2556 - เล่ม 1 : รายงาน การประเมินผลการรักษา ดูแลและการช่วยเหลือสนับสนุนผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ของ ประเทศไทย - เล่ม 2 : ชุดเครื่องมือสําหรับการประเมิน การประเมินผลการรักษา ดูแลและการช่วยเหลือสนับสนุน ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ของประเทศไทย - เล่ม 3 : ภาคผนวก การประเมินผลการรักษา ดูแลและการช่วยเหลือสนับสนุนผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ของประเทศไทย 2. ผลงานวิจัย ตีพิมพ์ในวารสารระดับสากล/ระดับชาติ จํานวน 9 เรื่อง ผลงานที่มีชื่ออาจารย์ภาควิชาฯ เป็นชื่อแรก จํานวน 2 เรือ่ ง ผลงานที่มีชื่ออาจารย์ภาควิชาฯ เป็น Correspondence จํานวน 3 เรื่อง ผลงานที่มีชื่ออาจารย์ภาควิชาฯ เป็นผู้ร่วมวิจัย จํานวน 4 เรื่อง 3. ผลงานวิจัยที่นาํ มาใช้ประโยชน์เชิงนโยบายและมาตรการในการแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุขและคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านบริการ โครงการประเมินการให้บริการผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน ร่วมสามกองทุน ภายใต้นโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉิน รั กษาทุ กที่ ทั่ วถึ งทุ กคน” นํ าเสนอผลการศึ กษาวิ จั ยเรื่ องการใช้ สิ ทธิ ฉุ กเฉิ นตามนโยบายของรั ฐบาล ต่ อ คณะทํางานการพัฒนาคุณภาพชีวิตสาธารณสุขและคุ้มครองผู้บริโภค สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ โดย ศ.ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล และคณะ โดยได้จัดทําเป็นหนังสือจํานวน 190 หน้า เผยแพร่ใน งานประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพ ประจําปี 2556
- 194 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
4. ตํารา/หนังสือ หนังสือ “เหยื่อหมอ? ความซับซ้อนของภาวะแทรกซ้อน” จํานวน 368 หน้า แปลโดย นพ.บวรศม ลีระพันธ์ จาก เรื่อง “Complications : A Surgeon’s Notes on an Imperfect Science” เรื่ อ ง “การเลิ ก สุ ร า บุ ห รี่ และยาเสพติ ด ในสถานประกอบการ” โดย อ.พญ.รั ศ มี ตั น ศิ ริ สิ ท ธิ กุ ล จํานวน 48 หน้า ในหนังสือคู่มือสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการแนวใหม่ เล่ม 2 โครงการพัฒนา คุณภาพชีวิตและความสุขในการทํางานของบุคลากรในสถานประกอบการแบบมีส่วนร่วม ตํารา “หลักสูตรการดูแลผู้ป่วยวัณโรคในหน่วยงานที่ให้บริการด้านสวัสดิการสังคม” โดย ผศ.พักตร์วิมล ศุภลักษณ์ศึกษากร และคณะ จํานวน 156 หน้า 5. บริการวิชาการ/วิทยากร ศ.วิชัย เอกพลากร เป็นผู้แทนของมหาวิทยาลัยมหิดล เข้าร่วมประชุม “Regional Consultation to Develop a Regional Strategic Action Plan with Indicators and Targets for Prevention and Control of NCDs in SEA Region” ณ สาธารณรัฐอินเดีย 25 - 27 กุมภาพันธ์ 2556 ศ.วิชั ย เอกพลากร เป็ น ผู้ แ ทนของมหาวิท ยาลั ย มหิ ด ล เข้ าร่วมการประชุ ม การเขี ย นบทความ “Lancet Series on Myanmar” ในโครงการ The Norwegian Programme for Capacity Building in Higher Education and Research for Development (NORHED) ณ ประเทศเมี ย นมาร์ 29 - 30 พฤศจิกายน 2555 ศ.ไพบู ล ย์ สุ ริย ะวงศ์ ไพศาล ร่วมการประชุ ม และเป็ น วิท ยากร นํ าเสนอเรื่อ ง “Evaluating the development of Participatory Healthy Public Policies in Thailand under the National Health Commission between 2007 and 2011” และเรื่ อ ง “Developing a set of criteria for evaluation the development of healthy public policy in Thailand” ในการประชุม 21st IUHPE World Conference on Health Promotion “Best Investments for Health” ณ ศูนย์ประชุมเมือง พัทยา จ.ชลบุรี 25 - 29 สิงหาคม 2556 ศ.ไพบู ลย์ สุ ริ ยะวงศ์ ไพศาล นํ าเสนอ “ผลการประเมิ น นโยบายการลดความเหลื่ อมล้ํ าในระบบ การแพทย์ฉุกเฉินของ 3 กองทุนประกันสุขภาพ” ในการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจําปี 2556 “จัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม” 25 - 26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร อ.วิชช์ เกษมทรัพย์ The Rockefeller Foundation เชิญเข้าร่วมการประชุม เรื่อง “Program and Policy Options for Preventing Obesity in the Low, Middle, and Transitional Income Countries” ณ ประเทศสาธารณรัฐอิตาลี 17 - 21 มิถุนายน 2556 อ.วิชช์ เกษมทรัพย์ ร่วมประชุมและนําเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ เรื่อง "Thai NCD network : a lubricant for prevention and control of NCDs in Thailand" และ เรื่อง "We Need More Advocacy - 195 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
to Fight against NCDs in Thailand ในการประชุ ม 21st IUHPE World Conference on Health Promotion, best Investment for Health" ณ ศูนย์ประชุมเมืองพัทยา จ.ชลบุรี 25 - 29 สิงหาคม 2556 อ.วิช ช์ เกษมทรัพ ย์ ร่วมกั บ Nation Channel จั ด เสวนานโยบายสุ ข ภาพ ของผู้ ส มั ค รเป็ น ผู้ ว่า กรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 10 แสดงวิสัยทัศน์เกี่ยวกับนโยบายสุขภาพ อ.บวรศม ลีระพันธ์ ร่วมประชุมและเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ เรื่อง “Roles of Reputation in Organizational Response to Public Disclosure of Healthcare Quality” ในการประชุม The 2nd Global Symposium on Health Systems Research (HSR) ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน 31 ตุลาคม – 3 พฤศจิกายน 2555 6. กรรมการ/อนุกรรมการ/คณะทํางาน ศ.วิชัย เอกพลากร คณะทํางานปรับปรุงข้อกําหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจําวันสําหรับคนไทย (Dietary Reference Intake : DRI) กลุ่มน้ําหนักและส่วนสูงอ้างอิงของประชากรไทย กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข และ กลุ่มโซเดียม โปตัสเซียม คลอไรด์ และน้ํา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ศ.ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล คณะทํางานติดตามและประเมินผลบัญชียาหลักแห่งชาติ ในคณะอนุกรรมการพั ฒ นาบั ญ ชี ย าหลั ก แห่ งชาติ สํ านั ก งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุ ข คณะกรรมการกํ ากั บ ทิ ศ ทางกลุ่ ม แผนงานด้ านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและระบบข้อ มู ล ข่ าวสารสุ ข ภาพ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ คณะกรรมการกํากับทิศทางการวิจัยและพัฒนาระบบยา ของไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข อ.วิชช์ เกษมทรัพย์ คณะทํางานพัฒนารูปแบบการบริการด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของสถานบริการ สุขภาพ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และ คณะกรรมการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการทดแทน ไต ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อ.บวรศม ลีระพันธ์ อนุกรรมการพัฒนารูปแบบและมาตรฐานการจัดบริการปฐมภูมิ เขตพื้นที่กรุงเทพ มหานคร กระทรวงสาธารณสุข แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 1. โครงการพัฒนารูปแบบบริการดูแลและป้องกันภาวะเบาหวานและความดันเลือดสูง
- 196 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาศัลยศาสตร์ ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น ด้านบริการ 1. ความรู้เรื่องนิ่วเพื่ อประชาชน ครั้งที่ 2 27 ตุลาคม 2555 ณ อาคารเรียนและปฏิ บัติการรวม ด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 2. ดูแลสุขภาพชายเพื่อวันพ่อกันเถิด ครั้งที่ 6 25 มกราคม 2556 ณ อาคารเรียนและปฏิบัติการรวม ด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 3. สัปดาห์คําปรึกษาเกี่ยวกับปัญ หาต่อมลูกหมากเพื่อประชาชน ครั้งที่ 3 15 มิถุนายน 2556 ณ อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 4. คลินิก 3 ปวด เดือนละ 1 ครั้ง ณ ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ ด้านวิชาการ 1. การอบรมวิ ช าการ Hands-on Workshop : Stapler Bowel Anastomosis 11 พฤศจิ ก ายน 2555 ณ ห้องปฏิบัติการฝึกทักษะทางคลินิก ชั้น 3 อาคารเรียนและปฏิ บัติการรวมด้านการแพทย์และ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 2. การอบรมฟื้ น ฟู วิ ช าการ Ramathibodi General Surgery Revisited ครั้ ง ที่ 1 16 ธั น วาคม 2555 ณ ห้อง 910B ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 3. การอบรมฟื้นฟูวิชาการเรื่อง “อุบัติเหตุทางมือ” ครั้งที่ 33 2 - 3 มิถุนายน 2556 ณ ห้องประชุม อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ ชั้น 5 อาคารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ ด้านการศึกษา 1. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “Workshop Minimal Invasive Uro-Surgery in Soft Cadaver” 21 ตุลาคม 2555 ณ ห้องปฏิบัติการภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล 2. โครงการ “Clinical Anatomy and Research Education Laboratory” (CARE LAB) 2-10 มีนาคม 2556 ด้านพัฒนาคุณภาพ 1. โครงการดาวเด่น ประจําปี 2555 2. โครงการมหกรรมคุณ ภาพศัลยศาสตร์ ครั้งที่ 5 16 กรกฎาคม 2556 ณ ห้องประชุม 910B, C ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 3. โครงการจัดการความรู้ด้านความผิดพลาดทางยา ครั้งที่ 6 รุ่นที่ 1 27 สิงหาคม 2556 ณ ห้อง ประชุมอรรถสิทธิ์ ชั้น 5 อาคารศูนย์การแพทย์สิริกิต์ิ - 197 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
4. โครงการจัดการความรู้ด้านความผิดพลาดทางยา ครั้งที่ 6 รุ่นที่ 2 10 กันยายน 2556 ณ ห้อง ประชุม 907 ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 5. สัมมนาภาควิชาศัลยศาสตร์ ครั้งที่ 4 หัวข้อ “การเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน” รอบที่ 1 14 - 15 มกราคม 2556 และรอบที่ 2 14 - 15 กุมภาพันธ์ 2556 ณ แกรนด์แปซิฟิก ซอฟเฟอริน รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดเพชรบุรี ด้านทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและกิจกรรมพิเศษ 1. งานเลี้ยงปีใหม่ภาควิชาศัลยศาสตร์ ปี 2556 ณ ห้องประชุมอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ ชั้น 5 อาคาร ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ 2. ทําบุญตักบาตรเนื่องในวันปีใหม่ 28 ธันวาคม 2555 3. งานวิชาการและพิธีไหว้ครูของแพทย์ประจําบ้านศัลยศาสตร์ 3 กรกฎาคม 2556 ณ ห้อง 910 A, B อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี นวัตกรรม/บุคคลที่ได้รบั รางวัล 1. ศาสตราจารย์วชิร คชการ สาขาวิชาศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะ ได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่นบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดลประจําปี 2555 2. ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์วิจิตร บุณยะโหตระ ได้รับรางวัลมหิดลทยากรประจําปี 2555 3. นายแพทย์ศุภณั ฐ ศิริกุล ชยานนท์ และนายแพทย์ อุดมศักดิ์ วิจิตรเศรษฐกุล ชนะเลิศในการ แข่งขันประกวด Urological Resident Contest ในการประชุมวิชาการประจําปี สมาคมศัลยแพทย์ระบบ ปัสสาวะแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 25 5-7 เมษายน 2556 ณ โรงแรมกรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่ อําเภอปาก ช่อง จังหวัดนครราชสีมา 4. รางวัลที่ได้รับในการนําเสนอผลงานวิจัยแพทย์ประจําบ้านศัลยศาสตร์ ที่จบการฝึกอบรมประจําปี การศึ กษา 2556 (Chief’s Conference) 28 มี นาคม 2556 ณ ห้ องประชุมอรรถสิทธิ์ เวชชาชี วะ ชั้น 5 อาคารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ 4.1 แพทย์หญิงงามเฉิด สิตภาหุล แพทย์ประจําบ้านสาขาวิชาศัลยศาสตร์ตกแต่งฯ ได้รับรางวัล ชนะเลิศอันดับที่ 1 เรื่อง “The first smartphone application for free flap monitoring; Silparamanitor” 4.2 นายแพทย์สันติ กุลาดี แพทย์ประจําบ้านสาขาวิชาศัลยศาสตร์ตกแต่งฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 2 เรื่อง “Simplified rat model for functional recovery after facial nerve repair” 4.3 แพทย์หญิงอ้อมใจ รัตนานนท์ แพทย์ประจําบ้านสาขาวิชาศัลยศาสตร์ทรวงอก ได้รับรางวัล ชนะเลิศอันดับที่ 3 เรื่อง “Prospective randomized controlled trial comparative study between effects of bone wax versus oxidized regenerated cellulose on sternum in patient undergoing open heart surgery”
- 198 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
5. รางวัลที่ได้รับในการประชุมวิชาการประจําปีราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 พ.ศ.2556 20 - 23 กรกฎาคม 2556 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จังหวัดชลบุรี 5.1 การประกวดผลงานในรูปภาพโปสเตอร์ (Poster presentation) รางวั ล ชนะเลิ ศ อั น ดั บ ที่ 1 รศ.นท.ดร.นพ.สมพล เพิ่มพงศ์โกศล เรื่อง “A prospective, multicenter study on efficacy of longacting testosterone undecanoate, if desired in combination with vardenafil, in late onset hypogonadal patients with erectile dysfunction” 5.2 การประกวดผลงานทางวิชาการของแพทย์ประจําบ้านศัลยศาสตร์ (Resident Paper Contest) 5.2.1 Basic science research - รางวัลอันดับที่ 3 นายแพทย์สันติ กุลาดี สาขาวิชาศัลยศาสตร์ตกแต่ง คณะฯ เรื่อง “Simplified Rat Model for Assessment of Functional Recovery after Facial Nerve Repair” 5.2.2 Clinical research - รางวัลอันดับที่ 2 แพทย์หญิงงามเฉิด สิตภาหุล สาขาวิชาศัลยศาสตร์ตกแต่ง คณะฯ เรื่อง “The first smartphone application for microsurgery monitoring; SilpaRamanitor” - รางวัลอันดับที่ 3 แพทย์หญิงอ้อมใจ รัตนานนท์ สาขาวิชาศัลยศาสตร์หัวใจและทรวงอก คณะฯ เรื่อง “Prospective randomized controlled trial comparative study between effects of bone wax versus oxidized regenerated cellulose on sternum in patient undergoing open heart surgery” 6. รางวัลที่ได้รับในงานมหกรรมคุณภาพศัลยศาสตร์ ครั้งที่ 5 16 กรกฎาคม 2556 ณ ห้องประชุม 910B, C อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 6.1 หอผู้ป่วยศัลยกรรมเด็ก ได้รับรางวัลชนะเลิศในการนําเสนอผลงานประเภท Kaizen เรื่อง ชุด Suction สะดวกใช้ 6.2 หอผู้ป่วยอุบัติเหตุไฟไหม้ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งในการนําเสนอผลงานประเภท Kaizen เรื่อง โมบายรัก 6.3 หอผู้ป่วยอุบัติเหตุไฟไหม้ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับสองในการนําเสนอผลงานประเภท Kaizen เรื่องประหยั๊ด...ประหยัด 6.4 ห้ อ งผ่ า ตั ด ศั ล ยศาสตร์ ได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ ในการนํ า เสนอผลงานประเภท CQI เรื่ อ ง รามาธิบดียางครอบท่อแทงเจาะเพื่อป้องกันลมรั่วขณะผ่าตัดผ่านกล้อง 6.5 ฝ่ายการพยาบาล ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งในการนําเสนอผลงานประเภท CQI เรื่อง แนวทางปฏิบัติการประเมินภาวะ Opioid induced respiratory depression ในผู้ป่วยหลังผ่าตัด 6.6 หอผู้ป่วยอุบัติเหตุไฟไหม้ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับสองในการนําเสนอผลงานประเภท CQI เรื่อง Patient's Profile - 199 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น - จัดประชุมเชิงปฏิบัติการและประชุมวิชาการ “Hand in Hand Toward The New Era of OB & GYN” 30 มกราคม 2556 – 1 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี - จั ด ประชุ ม วิ ช าการ 1st Rama Conference on Endometriosis 14 - 15 กุ ม ภาพั น ธ์ 2556 ณ ห้องประชุม ABC ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี - สมาคมอนามัยเจริญพันธุ์ (ไทย) และหน่วยอนามัยการเจริญพันธุ์และวางแผนครอบครัวประชากร ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ร่วมกันจัดการประชุมวิชาการ ประจํ า ปี ครั้ ง ที่ 12 เรื่ อ ง อนามั ย การเจริ ญ พั น ธุ์ กั บ การพั ฒ นา (Reproductive Health and Social Development) 3 – 5 เมษายน 2556 ณ โรงแรมมณเฑียรพัทยา จ.ชลบุรี - จัดงานประชุมสําหรับประชาชนและผู้สนใจ หัวข้อเรื่อง “ทําอย่างไรไม่เป็นโรคกระดูกพรุนในวัยทอง” 17 และ 31 สิงหาคม 2556 เวลา 8.00-12.00 น. ณ โถงเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 1 ศูนย์การแพทย์สมเด็จ พระเทพรัตน์ - ประชุมวิชาการเรื่อง Essential Ultrasound in Obstetrics 17 กันยายน 2556 ณ ห้องประชุม 910 ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ผลงานด้านนวัตกรรม โดย ผศ.พญ.ญาดา ติงธนาธิกุล นางนัฎยา พรมาลัยรุ่งเรือง คุณอนุสร อดิเรกกิตติคุณ - Needle for Saline-bottle for irrigation - Ramathibodi Long-Vaginal Retractor, Model I - Ramathibodi YNA Uterine Manipulator - Ramathibodi YNA Myoma Spear การบรรยายภาคประชาชน 1. การบรรยายเรื่องคลอดเองหรือผ่าคลอดมีคาํ ตอบสําหรับคุณ บรรยายโดย ผศ.นพ.อดิเทพ เชาว์วิศิษฐ 31 มีนาคม 2556 ณ ห้องประชุมอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ ชั้น 5 อาคารศูนย์การแพทย์สิรกิ ิติ์ 2. การบรรยายเรื่องมหัศจรรย์แสนล้านเซลล์สมอง ต่อยอดการเรียนรู้ไร้ขีดจํากัด บรรยายโดย ผศ.นพ. อดิเทพ เชาว์วิศิษฐ 9 มิถุนายน 2556 ณ ห้องประชุม 910 ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้าน การแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 3. การบรรยายเรื่องคุณแม่ตั้งครรภ์กับครรภ์คุณภาพ บรรยายโดย ผศ.นพ.อดิเทพ เชาว์วิศิษฐ 8 กันยายน 2556 ณ ห้องประชุมอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ ชั้น 5 อาคารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ ด้านโครงการฝึกอบรม เปิดอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงอัลตร้าซาวด์ทางสูติศาสตร์ (Graduate Diploma in Obstetric Ultrasound) หลักสูตร 9 เดือน สําหรับผู้สนใจจะเข้ารับการอบรมนั้นต้องมีคุณสมบัติ ได้แก่ แพทย์ทั่วไป สูติ – นรีแพทย์ รังสีแพทย์ และ พยาบาลที่ผ่านงานในห้องคลอดมาแล้ว 1 ปี - 200 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ด้านวิจัยที่อยู่ในระหว่างดําเนินการ 1. จิรพล กุมภลํา บุญศรี จันทร์รัชชกูล จิตติมา มโนนัย บาร์ทเล็ทท์ อารียพ์ รรณ โสภณสฤษฎ์สุข สมศรี พิทักษ์กิจรณกร Effect of curcuma comosa on pregnant human myometrial contraction 2. ฐิตินันท์ สมุทรชัยกิจ สมศรี พิทักษ์กิจรณกร พัญญู พันธ์บูรณะ Normal reference of cervical blood perfusion in pregnancy 3. อารีย์พรรณ โสภณสฤษฏ์สขุ เสาวณีย์ กาญจนชุมพล วรรณวิสา ไวยพุฒ ภาวิณี ปิยะจตุรวัฒน์ Study on the effect of Curcuma comosa on uterine myoma 4. ลัคนา พร้อมวัฒนาพันธุ์ ณัฐพงศ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อารีย์พรรณ โสภณสฤษฏ์สุข Mass spectrometry- based serum proteome pattern analysis in prophylactic oophorectomy 5. อาบอรุณ เลิศขจรสุข สฤกพรรณ วิไลลักษณ์ สถิรกร พงศ์พานิช Comparision of cost-effectiveness between actinomycin-d versus methotrexate-folinic acid in the treatment of low-risk gestational trophoblastic disease 6. สมศักดิ์ สุทัศน์วรวุฒิ สมเกียรติ สีตวาริน ประภาภรณ์ เพชรมาก รุ่งนภา มุลตรีภักดิ์ Thalassemia and Hemoglobinopathies sceening by osmotic fragility test and dichlorophenol indophenol precipitation test among teenage student in ubon rachathani provinec 7. มัธชุพร สุขประเสริฐ ศรีเธียร เลิศวิกูล วรวรรณ ลัพธะลักษ์ How feasible is methotrexate management of tubal ectopic pregnancy 8. ศรีเธียร เลิศวิกูล เสวก วีระเกียรติ ญาดา ติงธนาธิกุล Randomized comparison of barbed and non-barbed suture for vaginal cuff closure in TLH of benign uterine diseases 9. ชลธิชา สถิระพจน์ Preimplantation genetic diagnosis 10. ชยดา ตั้งชีวินศิริกุล พัญญู พันธ์บูรณะ สมศรี พิทักษ์กิจรณกร Sonographic measurement of fetal thymus size in uncomplicated singleton pregnancies. 11. วรเดช หงษ์สาคร เสวก วีระเกียรติ ญาดา ติงธนาธิกุล ศรีเธียร เลิศวิกูล. Effect of Salpingectomy During Total Laparoscopic Hysterectomy on ovarian Reserve by Serum AMH 12. วิภาดา เหล่าสุขสถิต พัญญู พันธ์บูรณะ สมศรี พิทักษ์กิจรณกร สุเทพ วาณิชย์กุล Fetal myocardial performance index by Doppler imaging in diabetic pregnant women : new diagnostic criteria 13. ชุลีกร ศรีตนไชย จิตติมา มโนนัย รุจิรา วัฒนายิ่งเจริญชัย Pelvic organ prolapsed and quality of life at 6 and 12 weeks postpartum in primiparous women : a prospective study 14. อรวิน ตรีเพ็ชร มยุรี จิรภิญโญ อารีย์พรรณ โสภณสฤษฏ์สขุ The optimal Cut-points for Weight Quantitative Ultrasound of the Calcaneus to Screen Osteoporosis in Postmenopausal women 15. วีรภัทร สมชิต อาบอรุณ เลิศขจรสุข Naproxen for pain relief during endometrium 16. ลดาพร วงษ์กัณหา อารีย์พรรณ โสภณสฤษฏ์สุข Study of efficacy to improve vaginal cells matureation of live lactobacilli in combination with low dose estriol tablet in menopausal women with vaginal atrophy
- 201 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
17. ชนัญญา อ่างแก้ว ณัฐพงศ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ดวงมณี ธนัพประภัศร์ Study of efficacy to improve vaginal cells mature action of live lactobacilli in combination with low dose estriol tablet in menopausal women with vaginal atrophy 18. อรรถพล จิตต์วิวัฒน์ มยุรี จิรภิญโญ ณัฐพงศ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อารีย์พรรณ โสภณสฤษฏ์สุข ศรีเธียร เลิศวิกูล Compare proportion of vitamin D insufficiency after supplement of vitamin D2 20000 IU weekly and fortnight for vitamin D insufficiency menopausal woman 19. ถิรนันท์ จันทร์เติม อภิชาติ จิตต์เจริญ ณัฐพงศ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา Risk factors for postpartum hysterectomy การประกวดรายงานวิจยั ของแพทย์ประจําบ้านปีที่ ๓ (Oral) งานประชุมวิชาการ ครั้งที่ 27 ราชวิทยาลัย สูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย 2 – 5 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่ 1. นายแพทย์นราธร สุวรรณเวช เรื่องการประเมินการวัดระดับความรุนแรงของภาวะอวัยวะในอุ้งเชิง กรานหย่อนแบบง่าย โดยแพทย์ประจําบ้าน ชัน้ ปีที่ 1 (รางวัลที่ 1) 2. แพทย์หญิงสร้อยเพชร วีระไวทยะ เรื่องผลของน้ํายาฆ่าเชื้อเฉพาะที่ต่ออาการทางช่องคลอด สภาวะ ความเป็นกรดด่างและการติดเชื้อในช่องคลอดของสตรีวัยหมดประจําเดือนที่ใส่อุปกรณ์พยุงอวัยวะในอุ้งเชิง กราน(รางวัลที่ 1) 3. แพทย์หญิงนพมาศ หวังธีระนนท์ เรื่องการศึกษาประสิทธิภาพของยากลุ่ม Estrogen receptor antagonisis ต่อการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกในสตรี (รางวัลที่ 2) 4. แพทย์หญิงธิษณา อนันตวัฒน์ เรื่องผลกระทบของการใส่อุปกรณ์ช่วยพยุงอวัยวะในอุ้งเชิงกรานต่อ คุณภาพชีวิตในสตรีที่มีภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อน (รางวัลชมเชย) 5. แพทย์หญิงวิรดา หรรษาหิรัญวดี เรื่องการใช้คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจวัดระดับของส่วนนําของทารก เพื่อทํานายวีธีการคลอด (รางวัลชมเชย) 6. แพทย์หญิงพลอยทิพย์ สิริอาภรณ์ เรื่องการศึกษาเปรียบเทียบความถูกต้องของผลทางพยาธิวิทยาของ เยื่อบุโพรงมดลูกระหว่างการทํา Manaual vacuum aspiration และการทํา Endometrial curettage โดยใช้การตัดมดลูกเป็นมาตรฐานการศึกษาแบบสุ่ม (รางวัลชมเชย) 7. แพทย์ หญิ งพรศรี นิ รั นดร์สุ ข เรื่องการวัดปริมาตรน้ํ าคร่ําในการทํ านายผลของการคลอดที่ ไม่ ดี ใน โรงพยาบาลรามาธิบดี (รางวัลชมเชย) แผนงาน/โครงการปีงบประมาณ 2557 1. โครงการงานสร้างสุข ปัญญาเสริมสุขภาพ ปี 2557 2. โครงการศักยภาพการสอน สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา รามาธิบดี – จักรีนฤบดินทร์ 3. การจัดประชุมวิชาการสู่สังคม 4. การจัดทําฐานข้อมูลงานวิจัยระดับภาควิชา
- 202 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น ด้านบริการวิชาการ 1. อาจารย์แพทย์ และแพทย์ประจาบ้านเข้าร่วมโครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ดังนี้
โครงการแพทย์เคลื่อนทีร่ ่วมกับสานักราชเลขาธิการ 5 - 7 ตุลาคม 2555 จังหวัดศรีสะเกษ 18 ตุลาคม 2555 จังหวัดร้อยเอ็ด 29 - 30 พฤศจิกายน 2555 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 13 – 16 ธันวาคม 2556 จังหวัดเชียงใหม่ 31 มกราคม- 1 กุมภาพันธ์ 2556 จังหวัดเลย 23 - 24 กุมภาพันธ์ 2556 จังหวัดชัยนาท 6 - 8 มีนาคม 2556 จังหวัดสุโขทัย 30 - 31 มีนาคม 2556 จังหวัดนครราชสีมา 22 เมษายน 2556 จังหวัดสมุทรปราการ 24 เมษายน 2556 จังหวัดสมุทรสาคร 25 - 26 พฤษภาคม 2556 จังหวัดตาก 27 มิถุนายน 2556 จังหวัดปทุมธานี 20 มิถุนายน 2556 จังหวัดนนทบุรี 17 - 18 กรกฎาคม 2556 จังหวัดนครสวรรค์ 28 กรกฎาคม 2556 จังหวัดกาญจนบุรี 8 - 10 สิงหาคม 2556 จังหวัดน่าน 11 - 12 กันยายน 2556 จังหวัดมหาสารคราม ออกหน่วยแพทย์เฉลิมพระเกียรติ “ศัลยกรรมตกแต่งใบหน้า ” ราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย 22 - 23 มกราคม 2556 จังหวัดสุพรรณบุรี 28 - 30 พฤศจิกายน 2555 จังหวัดตาก - 203 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
2. จัดประชุมโครงการสัมมนาวิชาการ การรักษาด้วยเลเซอร์ก่าลังต่าและการฝังเข็มด้วยแสงเลเซอร์ (Seminar on Low Level Laser Therapy and Laser Acupuncture) ส่าหรับโสต ศอ นาสิกแพทย์ วิสัญญีแพทย์ ทันตแพทย์ อายุรแพทย์ และแพทย์ทัวไป 26 สิงหาคม 2556 ณ ห้องประชุม 810A ชั้น 8 อาคารเรียน และปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
3. จัดประชุมโครงการผ่าตัดไทรอยด์ผ่านกล้องให้กับโสต ศอ นาสิกแพทย์ทัวประเทศและแพทย์ในแถบ ประเทศอาเซียน
4. จัดประชุม เชิงปฏิ บัติการโสตสั ม ผั สวิท ยา The modern hearing aid 19 - 20 พฤศจิกายน 2555 ส่าหรับโสต ศอ นาสิกแพทย์ ณ ห้องประชุมจีระ ศิริโพธิ์ ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา ด้านการศึกษา 1. จั ดประชุ มวิชาการ Inter-University Conference ส่ าหรับแพทย์ ประจ่ าบ้ านโสต ศอ นาสิ กวิทยา 9 สถาบันทัวประเทศ เพือแลกเปลียนเรียนรู้ด้านวิชาการ 30 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมอารี วัลยะเสวี อาคาร 1 ชั้น 2 2. รับการตรวจประเมิน เพือรับรองสถาบันการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจ่าบ้าน หลักสูตร แพทย์ประจ่าบ้านต่อยอด อนุสาขาศัลยศาสตร์ตกแต่งและสร้างเสริมใบหน้า จากราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิก แพทย์แห่งประเทศไทย เป็นเวลา 5 ปี ผลงานและบุคคลที่ได้รับรางวัล 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธงชัย พงศ์มฆพัฒน์ ได้รับรางวัลคณะนักวิจัยและนักประดิษฐ์ ในงานการจัดนิทรรศการ 4th International Exhibition of Inventions of Geneva ณ กรุงเจนีวา สมาพันธ์สวิส 10 - 14 เมษายน 2556 ผลงานอิมเอม : ซอฟต์แวร์เพือวินิจฉัยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูก จ่านวน 2 รางวัล
- 204 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
1.1 รางวัลเหรียญทองแดง (Bronze medal) จาก Salon International Des Inventions 1.2 รางวั ลเกี ยรติ ยศ (The CII medal) จากการแข่ งขั น The 3rd world cup of computer implemented inventions โดย International Ferdations 2. รางวัลเสริมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย ประจาปี 2556 แก่ทีมนาคลินิกโสต ศอ นาสิกวิทยา จากงาน มหกรรมคุณภาพ (Quality conference) ครั้งที่ 20 ประจาปี 2556 22 – 23 สิงหาคม 2556 ณ คณะแพทย ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 3. แพทย์หญิ งนวรัตน์ อภิรั กกิตติกุล แพทย์ประจาบ้านโสต ศอ นาสิกวิทยา ได้รับรางวัลที่ 3 จากการ ประกวดนาเสนอผลงานวิจัยแพทย์ประจาบ้าน ในงานประชุมวิชาการราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิกแพทย์แห่ง ประเทศไทย ครั้งที่ 1/2556 4. หอผู้ป่วยจักษุพิเศษ ได้รับรางวัลโครงการ Hand Cleaning Moving Together อัตราการล้างมือสูงสุดจาก คณะกรรมการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ของคณะฯ ด้านการบริการ ความร่วมมือกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อจัดทาแผนการตรวจสอบข้อมูลการให้ยา ผู้ป่วยด้วยระบบคอมพิวเตอร์ อยู่ระหว่างส่งมอบงาน แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 1. จัดโครงการสัมมนาพัฒนาภาควิชาฯ ตามพันธกิจ 2. เปิดอบรมหลักสูตรแพทย์ประจาบ้านต่อยอดอนุสาขานาสิกวิทยาและโรคภูมิแพ้ Fellowship in Rhinology and Allergy 3. เปิดอบรมหลักสูตรแพทย์ประจาบ้านต่อยอด สาขา โสตประสาทวิทยา 4. ปรับปรุงหอผู้ป่วยสามัญหญิง เป็นหอผูป้ ่วยรวมชายหญิง 5. จัดอบรม Work shop Temporal Bone สาหรับแพทย์ประจาบ้านหู คอ จมูก อย่างน้อย 1 ครั้งทั่วประเทศ
- 205 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น ด้านการศึกษา หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต รายวิชา RAID 514, 614 1. มีศูนย์ Orthopaedic Learning and Training Center (OLTC) โดยมีห้องให้ฝึกปฏิบัติได้ 4 ห้อง และห้องสําหรับฝึกพันเฝือก 1 ห้อง แต่ละห้องมีระบบ Audio-visual ที่สามารถใช้ Multimedia ได้ เพื่อเป็น Skills lab ที่สมบูรณ์ จัดเตรียมหัตถการให้นักศึกษาแพทย์ ได้ฝึกปฏิบัติในชั่วโมง Skills lab และ SDL และอุปกรณ์พันเฝือกที่ครบถ้วน จัดทํา VDO clip ซึ่งนักศึกษาแพทย์เปิดดูได้ทั้งจาก E-learning เพื่อฝึกหัด ปฏิบัติตามและยังมีอาจารย์คอยให้คําแนะนํา 2. มีนักศึกษาต่างประเทศมาศึกษาดูงานหลายประเทศ 3. มี โปรแกรมคลั งข้ อ สอบ สามารถคั ด เลื อ กข้ อ สอบตาม Task และ Spec ที่ กํ าหนด อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ที่ดูแลข้อสอบส่วนกลางของคณะฯ ได้มาศึกษาโปรแกรมคลังข้อสอบเพื่อนําไปใช้ 4. การวัดผลและประเมิน ผล มีโปรแกรมการตัดเกรดที่ มี คุณ ภาพ โดยกรอกคะแนนตามช่องที่ กําหนดผลเกรดก็จะออกมาตามที่กําหนด หลักสูตรแพทย์ประจําบ้านและแพทย์ประจําบ้านต่อยอด กระบวนการฝึกอบรมและประเมินผลครอบคลุมวัตถุประสงค์ และมีการสนับสนุนกิจกรรมให้เกิดองค์ ความรู้อย่างครบวงจร เช่น 1. จัด Cadaveric workshop สําหรับแพทย์ประจําบ้านและแพทย์ประจําบ้านต่อยอด ช่วงเดือน กรกฎาคม – สิ งหาคม ของทุ ก ปี ก ารศึ ก ษา ครอบคลุ ม สาขาวิ ช า Sports medicine, Trauma, Hand, Spine และ Arthroplasty จํานวนอาจารย์ใหญ่ 3 ร่าง ต่อผู้เข้าร่วมประมาณ 20 คนทุกปี จัดสอนเทคนิค การพันเฝือกและการดามกระดูก สําหรับแพทย์ประจําบ้านออร์โธปิดิกส์ ชั้นปีที่ 2 และ 3 รวมทั้งแพทย์ ประจําบ้านภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โดยมีทั้งการบรรยายและ Workshop ในช่วงเดือนกรกฎาคม ของทุก ปี ก ารศึ ก ษา จั ด สอนและบรรยายโดย ศาสตราจารย์ค ลิ นิ ก เกีย รติ คุ ณ ดิ เรก อิ ศ รางกู ร ณ อยุธยา และ คณาจารย์ภาควิชาฯ ควบคุมการฝึกปฏิบัติ 2. จัดทํา Teleconference ปรึกษาปัญหาผู้ป่วยซับซ้อนร่วมกับสถาบันการศึกษาและโรงพยาบาล อื่นๆ ได้แก่ รพ.ศิริราช รพ.ยะลา เป็นประจําสม่ําเสมอทุกเดือน ด้านการวิจัย 1. ผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทั้งในและต่างประเทศ 13 เรื่อง ระดับนานาชาติ 10 เรื่อง ระดับประเทศ 3 เรื่อง คิดเป็นผลงานเฉลี่ยเท่ากับ 0.56 เรื่อง/คน มี Impact factor เท่ากับ 1.151
- 206 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
2. สนับสนุนอาจารย์ ให้ทํางานวิจัยในด้านการวิจัยพื้นฐาน (Basic science) ขนานคู่ไปกับงานวิจัย ทางคลินิก และส่งเสริมให้ผลงานได้รับการตีพิมพ์ ในระดับนานาชาติ ได้รับทุนวิจัยจากภายในและภายนอก คณะฯ หลายเรื่อง 3. งานวิจัยของแพทย์ป ระจํ าบ้าน ซึ่ งดูแลโดย ผศ.ชูศักดิ์ กิจคุณ าเสถียร และ รศ.ดร.ภัท รวัณ ย์ วรธนารัตน์ ได้พยายามปรับปรุงงานวิจัยให้มีคุณภาพมากขึ้น เพี่อนําเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หรือเพื่อให้ตีพิมพ์ ผลงานที่ได้รับรางวัล 1. พญ.ธัญ ญวัฒ น์ สายสงเคราะห์ นําเสนอผลงานเรื่อง Relationship Between Ligamentous Hyperlaxity and Displaced Extension Supracondylar Fracture of Humerus in Children ได้ รั บ รางวัลที่ 2 การประกวดผลงานวิจัยของแพทย์ประจําบ้าน ในงานประชุมวิชาการประจําปีของราชวิทยาลัย แพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย 2. อ.ปพน สง่าสูงส่ง นําเสนอผลงาน Does Early Hip Surgery Increase Blood Loss in Elderly Patients Receiving Anti-platelet Agent with Displaced Femoral Neck Fracture ได้รับรางวัลที่ 1 ใน งาน ป ระชุ ม 2nd Thailand Orthopedic Trauma Annual Congress (TOTAC) (ป ระเภ ท Oral presentation) 3. นพ.จั ก รพงษ์ อรพิ น ท์ นํ า เสนอผลงานเรื่ อ ง Closed Posteromedial Dislocation of The Ankle Without Fracture : A Report of 2 Cases ได้ รั บ รางวั ล ที่ 1 ในงานประชุ ม 2nd Thailand orthopedic trauma annual congress (TOTAC) (ประเภท Poster) 4. ผศ.อดิศักดิ์ นารถธนะรุ่ง ได้รับรางวัล ผลการประกวดสิ่งประดิษฐ์ในงาน “41st International Exhibition of Inventions of Geneva” ณ กรุ งเจนี ว า สมาพั น ธรั ฐ สวิ ส ซึ่ งจั ด ขึ้ น 10 – 14 เมษายน 2556 โดย ผลงานอิ่มเอม: ซอฟตฺ์แวร์เพื่อการวินิจฉัยโรคมะเร็ง (IM AIM : software for cancer disease) ได้รับ 2 รางวัล คือรางวัลเหรียญทองแดง (Bronze medal) จาก Salon International Des Inventions และรางวั ล เกี ย รติ ย ศ (The CII glory medal) จากการแข่ ง ขั น The 3rd world cup of computer implemented inventions โดย International Federation of Inventors' Associations ด้านบริการ โครงการดูแลผู้ป่วยสูงอายุกระดูกสะโพกหักแบบองค์รวม ซึ่งมากกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยสูงอายุที่ มีกระดูกสะโพกหักได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมง ซึ่งทําให้ผู้ป่วยฟื้นตัวเร็วและลดอัตราการตายของ ผู้ป่วยใน 1 ปีแรกลงจาก ร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 15 การจัดงานนวัตกรรมออร์โธปิดิกส์ครั้งที่ 2 ยังคงได้รับการตอบรับจากบุคลากร แพทย์ พยาบาล และ เจ้าหน้าที่ส่งผลงานเข้าประกวดมากมาย และได้รับรางวัลสามอันดับแรก ได้แก่ เบสิคคุลลิ่ง ชัชวาลล๊อก ถุงรองรับเลือดสําหรับการผ่าตัดกระดูกสะโพก
- 207 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
อัตราการติดเชื้อจากการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมลดลงอย่างมาก เหลือเพียงร้อยละ 0.14 และอัตรา การติดเชื้อการเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมเท่ากับศูนย์ นับว่าเป็นความสําเร็จที่น่าชื่นชมของศัลยแพทย์และ ทีมงาน ร่วมกับการปรับเปลี่ยนหลายอย่าง เช่น การจํากัดคนเข้าออกในห้องผ่าตัด การเข้มงวดเรื่องการปิด ประตูตรงรอยต่อกับห้องพักฟื้น การให้ยาฆ่าเชื้อที่ห้องพักฟื้นในกรณีครบกําหนด โดยไม่ต้องรอไปให้ที่หอผู้ป่วย การรณรงค์และประกวดคําขวัญการล้างมือ การให้ความรู้ในเรื่อง Patient safety ให้กับแพทย์และพยาบาล ใหม่ การจัดให้มีน้ํายาล้างมือที่เตียงผู้ป่วยทุกรายและการติดตามปริมาณของการใช้น้ํายาล้างมือ การปรับปรุง ประตูห้องผ่าตัด การปรับปรุงระบบแอร์ภายในห้องผ่าตัด ด้านศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมไหว้ครู
กิจกรรมมุฑิตาจิต
แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 โครงการ Gait Lab โครงการที่จะส่งเสริมงานวิจัยด้านออร์โธปิดิกส์ ให้มีโอกาสพัฒนาต่อยอดและมีคุณภาพมากขึ้น หากมีการประเมินด้านความสามารถในการเคลื่อนไหว การเดินและการลงน้ําหนักของร่างกายอย่างเป็นระบบ และมีความถูกต้องแม่นยํา เพื่อให้การวินิจฉัยพยาธิสภาพและการวางแผนการรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสม โดยพบว่าการประเมินที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากลเป็นการทํา Gait analysis รวมทั้งแรงกระทําต่อเท้า Foot pressure (Pedobarograph) ซึ่งจะมีประโยชน์ในการวินิจฉัย วางแผนและติดตามผลการรักษา การ ประเมินผลด้วย Gait analysis ยังสามารถวัดการใช้พลังงานในการเดิน (Oxygen consumption) และ การวัดการทํางานของกล้ามเนื้อและระบบประสาทโดยใช้ไฟฟ้า (Electromyography) ได้อีกทางหนึ่ง - 208 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
Gait analysis สามารถใช้ต่อยอดงานวิจัยทางออร์โธปิดิกส์ได้ทุกสาขาวิชา อาทิเช่น เวชศาสตร์การ กีฬา ข้อเข่าและข้อสะโพก ออร์โธปิดิกส์เด็ก ที่มีเด็กทุพพลภาพหลากหลาย การเปลี่ยนข้อเทียมหรือการตัด ขาในกลุ่มเนื้องอกกระดูก กระดูกสันหลังผิดรูปหรือกดไขสันหลังและระบบประสาท การเคลื่อนไหวของรยางค์ บนและสมดุลการทรงตัว แรงกระทําต่อเท้าที่ผิดปกติหรือหลังได้รับการรักษา ประยุกต์ใช้กับสาขาอื่นๆ ที่ อาจมีผลงานวิจัยร่วมกัน ได้แก่ เวชศาสตร์ฟื้นฟู อายุรศาสตร์โรคข้อ และกุมารเวชศาสตร์ เป็นต้น การจัดตั้งโครงการ Gait lab นี้ จะส่งเสริมศักยภาพของการศึกษาวิจัยในการผลิตผลงานที่เพิ่มขึ้น ทั้งปริมาณและคุณภาพเป็นที่ยอมรับในองค์กร ประเทศ และระดับนานาชาติ ภาควิชาฯ ยังหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าโครงการ Gait lab นี้จะยังประโยชน์ในการวิจัย การศึกษาระดับปริญญาและหลังปริญญา การบริการ รักษาผู้ป่วยของโรงพยาบาลรามาธิบดีและโรงพยาบาลใกล้เคียง เพื่อให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีและมีคุณภาพ อีกทางหนึ่งด้วย โครงการปรับปรุงหอผู้ป่วยและห้องผ่าตัด ภาควิชาฯ ก่อตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2521 ให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อ กล้ามเนื้อ ระดับตติยภูมิ มีปริมาณผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ มีจํานวนเตียงสามัญ 36 เตียง และห้องพิเศษ 14 เตียง เปิดใช้งานมาเป็นระยะเวลากว่า 30 ปี ปัจจุบันมีสภาพทางกายภาพทรุด โทรม ผู้ป่วยอยู่อย่างแออัด การดูแลผู้ป่วยหนักทําด้วยความยากลําบาก หอผู้ป่วยอยู่ท่ามกลาง อาคารสูง ทั้งสามด้าน ทําให้มีข้อจํากัดในการควบคุมการไหลเวียนอากาศ การดักจับฝุ่นละอองและเชื้อโรค สําหรับ ห้องผ่าตัดออร์โธปิดิกส์ ซึ่งก่อตั้งในปีเดียวกัน มีจํานวนห้องผ่าตัด 5 ห้อง ให้บริการผ่าตัดกระดูกสันหลัง เปลี่ยนข้อเข่า ข้อสะโพกเทียม ผ่าตัดเนื้องอกกระดูก ผ่าตัดทางมือและเท้า กระดูกและข้อในเด็ก ผ่าตัด ผู้ป่วยอุบัติเหตุ และการบาดเจ็บจากกีฬา มีโครงสร้างทางกายภาพเก่าทรุดโทรม เช่นเดียวกัน มีความ จําเป็ นต้องปรับปรุง ห้ องเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด เพื่อให้การดูแลรักษาเป็นไปได้ครบวงจร และมีความ ปลอดภัยต่อผู้ป่วยสูงสุด หากสามารถปรับปรุงพื้นที่ทั้งหอผู้ป่วยและห้องผ่าตัด จะสามารถให้บริการผู้ป่วย ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพเต็มศักยภาพ
- 209 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาอายุรศาสตร์ ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น ผลการดําเนินงานพันธกิจด้านวิจัย 1 ตุลาคม 2555 จนถึงกันยายน 2556 มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในระดับ สากล 103 เรื่อง คิดเป็นจํานวนผลงานต่อจํานวนอาจารย์ในภาควิชาฯ 1.03 เรื่อง/คน/ปี (อาจารย์ในภาควิชาฯ 100 คน) ซึ่งจํานวนผลงานวิจัยของภาควิชาฯ ในปีนี้เพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับผลงานในปีก่อนๆ (ปี 2554 และ 2555 ภาควิชาฯ มีผลงานวิจัย 0.95 และ 1.01 เรื่อง/คน/ปี ตามลําดับ) ผลงานวิจัยของอาจารย์และแพทย์ผู้ช่วยอาจารย์ ที่โดดเด่นและได้รับรางวัลและการยอมรับจากสมาคม หรือองค์กรวิชาชีพระดับสากล ได้แก่ 1. ผลงานวิจัยของอาจารย์ ผลงานวิจัยของ ผศ.สิริอร วัชรานานันท์ ได้รับการคัดเลือกให้นําเสนอในรายการ Research highlight ของการประชุมประจําปี ครั้งที่ 29 ของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ฯ 24 - 27 เมษายน 2556 2. ผลงานวิจัยของแพทย์ประจําบ้านและแพทย์ประจําบ้านต่อยอด 2.1 ผลงานวิจัยของ พญ.อังสนา ภู่เผือกรัตน์ แพทย์ประจําบ้านต่อยอด หน่วยโรคติดเชื้อได้รับรางวัล International Investigator Award สาขา HIV medicine ในการประชุม ID Week 2012 17 - 21 ตุลาคม ณ San Diego, california และได้รับการนําเสนอเป็น Oral presentation 2.2 ผลงานวิจัยของ นพ.โชติ เหลืองช่อสิริ แพทย์ประจําบ้านต่อยอด หน่วยโรคทางเดินอาหาร ได้รับ รางวัลที่ 1 จากงานประชุมประจําปีสมาคมโรคตับ และได้รับการคัดเลือกนําเสนอ Poster of distinction ในงาน Digestive Disease Week 19 – 21 พฤษภาคม 2556 ณ Florida, USA 2.3 พญ.สุภาวดี ทรัพย์ผดุงสุข แพทย์ประจําบ้านได้รับรางวัลชนะเลิศ งานวิจัยโรคติดเชื้อทางด้าน คลินิก (Clinical infectious diseases) งานประชุมวิชาการประจําปีของสมาคมโรคติดเชื้อ ตุลาคม 2555 2.4 ผลงานวิจัยของ พญ.ศิวพร คูกนก แพทย์ประจําบ้านปีที่ 3 ได้รับการคัดเลือกให้นําเสนอเป็น Poster presentation ในงาน 7th IAS Conference on HIV Pathogenesis, Treatment and Prevention ณ Kuala Lumpur, Malaysia 30 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม 2556 ตั้งแต่ปี 2554 จนถึงปัจจุบัน ได้ริเริ่มจัดให้มีทีมสนับสนุนงานวิจัยของภาควิชาฯ โดยใช้เงินของภาควิชาฯ ในการจัดจ้างทีมที่ปรึกษาการเขียนโครงร่างงานวิจัย การวิเคระห์ข้อมูล ผู้เชี่ยวชาญภาษาอังกฤษ (Native english-language consultant) ตลอดจนผู้ช่วยเก็บข้อมูลงานวิจัย ซึ่งเป็นภาควิชาแรกของคณะฯ ที่ริเริ่ม โครงการนี้ นอกจากนั้นตั้งแต่ปี 2555 จนถึงปัจจุบัน ได้จัดสรรและสมทบเงินสนับสนุนส่งเสริมให้อาจารย์ ไปนําเสนอผลงานวิจัยในการประชุมระดับนานาชาติ นอกเหนือจากการสนับสนุนจากคณะฯ แผนงาน/โครงการปีงบประมาณ 2557 ดําเนินการสนับสนุนงานวิจัยของภาควิชาฯ โดยใช้เงินส่วนของภาควิชาฯ เช่นเดียวกับปีที่ผ่านมาผลสัมฤทธิ์ คือ ผลงานวิจัยที่เพิ่มมากขึ้นทุกปี - 210 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น 1. สนับสนุนให้นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 ที่ผ่านการเรียนการสอนกับภาควิชาฯ ได้มีโอกาสนําเสนอ บทความทางวิ ช าการสู่ ส าธารณะ เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ ท างเวชศาสตร์ ฉุ ก เฉิ น และเป็นการสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ในงานการประชุมระดับชาติ HA National Forum ครั้งที่ 14 ณ อิมแพ็คเมืองทองธานี 2. ผลิตหนังสือและตํารางทางการแพทย์ 4 เรื่อง ได้แก่ (1) Emergency Care The Pocket Guide Book (2) Thai Disaster Management Course (TDMC) (3) Trauma The Pocket Guide Book (คูม่ ือดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ) (4) EMS Director (แพทย์อํานวยการปฏิบัติการฉุกเฉิน) 3. การบริการวิชาการ (1) อบรมหลักสูตร “BDMS” Emergency Nursing Care Course ให้แก่พยาบาลห้องฉุกเฉินของ ศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลกรุงเทพและเครือข่าย (2) จัดอบรมหลักสูตร “การปฐมพยาบาลและการกู้ชีพเบื้องต้น” ให้แก่ประชาชน (3) จัดอบรมหลักสูตร “การทําคลอดฉุกเฉินและปฐมพยาบาลเบื้องต้น” ให้แก่สมาชิกแท็กซีค่ ุณธรรม นวัตกรรม/บุคคลที่ได้รบั รางวัล อ.นพ.ไชยพร ยุกเซ็น และ อ.พญ.ธาวินี ไตรณรงค์สกุล ได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ประจําปี 2556 จากสํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ประเภทการพัฒนาบริการที่เป็นเลิศ ผลงานเรื่อง แถบฉุกเฉินกู้ชีพเด็กรามาธิบดี (Ramathibodi Pediatric Emergency Card: PEC)
- 211 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
แผนงาน / โครงการปีงบประมาณ 2557 1. โครงการอบรมวิชาการ - เรื่อง ทบทวนความรู้เพื่อความเป็นแพทย์ฉก ุ เฉินสมบูรณ์แบบ สําหรับแพทย์ประจําบ้าน สาขา เวชศาสตร์ฉุกเฉินทั่วประเทศ - เรื่อง Emergency Medicine Courses สําหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 - เรื่อง Basic Emergency Course for 1st Year Emergency Residents 2. โครงการ Emergency Procedure workshop สําหรับแพทย์ประจําบ้าน สาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน 3. โครงการ การประชุมวิชาการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะฯ ร่วมกับสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) ครั้งที่ 2 เรื่อง “ถึงเวลาเผชิญภัยพิบัติ”The 2nd Ramathibodi Emergency Medicine Conference (2nd REMC) : Time to Cope with Disaster 4. โครงการก้าวย่างอย่างมีสติ ครั้งที่ 2 5. โครงการกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์และเสริมสร้างทักษะทางสังคม 6. โครงการอบรมหลักสูตร “การปฐมพยาบาลและการกู้ชีพเบื้องต้น” ให้แก่ประชาชน 7. ส่งทีมอาจารย์แพทย์ร่วมให้ความรู้ในรายการของรามาแชนแนล 8. ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ วิจัย ปฏิบัติการและการฝึกอบรม ระหว่างคณะฯ กับสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน (สพฉ.) เพื่อการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน โครงการของสถาบันการแพทย์ ฉุกเฉิน (สพฉ.) ใน MOU จัดหมวดได้ 3 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน (สพฉ.) สนับสนุนส่งทีมโรงพยาบาลไปเรียนเพื่อเป็นครู ก. หรือดําเนินการกิจกรรมร่วมในฐานะเครือข่าย เช่น การฝึกอบรมเพื่อเป็นผู้ประเมินหลักสูตร หรือแหล่งฝึก อบรมกู้ชีพ การฝึกเป็นครูฝึกการฟื้นคืนชีพให้ประชาชนด้วย AED การฝึกเพื่อเป็นผู้ประเมินความพร้อมรับ สาธารณภัยของโรงพยาบาล หมวดที่ 2 สพฉ. ขอให้โรงพยาบาลหรือคณะแพทย์ช่วยเป็นเจ้าภาพ เช่น คณะฯ เปิดหลักสูตร Paramedic หรือ หลักสูตรอืน่ ๆ อีกมากมาย หมวดที่ 3 กิจกรรมทีท่ ําร่วมกัน เช่น งานวิจัยต่างๆ ที่ สพฉ. ได้ทุนมาร่วมกันทําวิจัย แต่ขอทีม วิจัยคณะฯ ร่วมทําวิจัย
- 212 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น 1. นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมายที่สําเร็จใน วงรอบปีการศึกษา 2555 ร้อยละ 88.46 และสอบผ่านทางวิชาชีพและได้รับใบประกอบโรคศิลปะ ร้อยละ 100 2. บัณ ฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณ ฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย ได้งานทํา ภายใน 1 ปีหลังจากสําเร็จการศึกษา ร้อยละ 100 3. นายปฏิพัทธ์ อนุรักษ์ธรรม นักศึกษาชั้นปี 4 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติ ของการสื่อความหมาย ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติผู้ที่ทําชื่อเสียงให้คณะฯ ในงานวันครบรอบ 44 ปี การเปิด ดําเนินการของคณะฯ และงานมอบรางวัลบุคลากรดีเด่นของคณะฯ 3 พฤษภาคม 2556 ณ หอประชุมอารี วัลยะเสวี
4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย จัดโครงการฝึกพูดเด็ก พิการบ้านนนทภูมิ สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด อย่างต่อเนื่องทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง เพื่อพัฒนาความสามารถในการสื่อความหมายของเด็กพิการบ้านนนทภูมิและเพื่อฝึกให้นักศึกษามีทักษะ และความรู้ในการฝึกพูดผู้ป่วยที่มีปัญหาการสื่อความหมาย 5. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย จัดกิจกรรม Meet the expert โดยเชิ ญ Associate Professor. Sumalai Maroonroge, Division of Communication Science and Disorders Texas A&M International University, Laredo, Texas, USA มาให้ คําแนะนําในการเลือกหัวข้อวิทยานิพนธ์แก่นักศึกษาของหลักสูตร 15 สิงหาคม 2556 ณ คณะฯ 6. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย จัดโครงการศึกษา ดูงาน 25 กรกฎาคม 2556 ณ โรงงานทิปโก้ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีความรอบรู้ และได้รับประสบการณ์ในการดูแลป้องกันความผิดปกติของการสื่อความหมายในขณะปฏิบัติงาน 7. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย จัดโครงการศึกษา ดูงานและร่วมปฏิบัติงานค่ายฝึกพูดเด็กปากแหว่งเพดานโหว่ จังหวัดเชียงราย ตามรูปแบบชุมชนขอนแก่น เพื่อเพิ่มความรู้ และประสบการณ์ทางด้านการแก้ไขการพูดแบบภาคสนามให้กับนักศึกษาของหลักสูตร 18 - 19 สิงหาคม 2556 ณ วาย เอ็ม ซี เอ จังหวัดเชียงราย - 213 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
8. นวัตกรรม/บุคคลที่ได้รับรางวัล 8.1 ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ เจี ย มใจ จี ร ะอั ม พร ได้ รั บ รางวั ล อาจารย์ ดี เด่ น สาขาวิ ช าความผิ ด ปกติ ข องการสื่ อ ความหมาย ปี การศึ ก ษา 2555 ในพิ ธี ไ หว้ ค รู ค ณะฯ 27 มกราคม 2556 ณ หอประชุมอารี วัลยะเสวี 8.2 รองศาสตราจารย์กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ ได้รับรางวัล Dean’s Innovation Awards ประเภทที่ 2 (จดอนุสิทธิบัตรแล้ว) ใน ผลงานเครื่องระบายความชื้นสําหรับอุปกรณ์ช่วยการได้ยิน ในงาน มห กรรมคุ ณ ภาพ (Quality conference) ครั้ ง ที่ 20 22 - 23 สิงหาคม 2556 ณ ห้องประชุม ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวม ด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 8.3 ผลงานเรื่อง “การฝึกพูดเด็กปากแหว่งเพดานโหว่ตาม รูปแบบในชุมชน” ได้รับรางวัลผลงาน R2R ดีเด่น กลุ่มงานบริการ ระดับปฐมภูมิประจําปี 2556 ในการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก งานประจําสู่งานวิจัย Routine to Research (R2R) ครั้งที่ 6 “ร่วม สร้างวัฒนธรรม R2R สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” โดย สถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข ในฐานะผู้วิจัยร่วม 31 กรกฎาคม – 2 สิงหาคม 2556 ณ ศูนย์ประชุมอิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี 9. จัดประชุมวิชาการหัวข้อ เรื่อง “การส่งเสริมพัฒนาการเด็กออทิสติกแบบองค์รวมผ่านกระบวนการ เล่นตามหลักการ DIR/ฟลอร์ไทม์ สําหรับนักบําบัดใหม่” ครั้งที่ 1/2556 เมื่อ 29 - 30 มกราคม 2556 และ เรื่อง “การส่งเสริมพัฒนาการเด็กออทิสติกแบบองค์รวมผ่านกระบวนการเล่นตามหลักการ DIR/ฟลอร์ไทม์” ครั้งที่ 2/2556 เมื่อ 31 มกราคม 2556 – 1 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องต้นฟ้า โรงแรมแกรนด์ทาวเวอร์อินน์ กรุงเทพฯ เพื่ อให้แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องพั ฒ นาการเด็กที่ใช้การได้ สามารถประเมินระดับพัฒนาการของเด็กตาม Functional Emotional Development ได้ และสามารถ ประยุกต์ใช้เทคนิคการเล่น (ตามแนวคิด DIR/Floortime) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้ ได้รับเกียรติจาก รศ.พญ.กิ่งแก้ว ปาจรีย์ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล และอาจารย์เกียรติยง ประวีณวรกุล นักจิตวิทยาคลินิก โรงพยาบาลธนบุรี 2 มาเป็นวิทยากร
- 214 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
10. จัดโครงการสร้างความสัมพันธ์บุคลากร Version 3 10 - 12 พฤษภาคม 2556 ณ โรงแรมหาด สองแควรี ส อร์ ท จ.สระบุ รี เพื่ อ ต่ อ ยอดการสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ให้ กั บ บุ ค ลากรที่ ได้ รั บ การบรรจุ ใหม่ และบุคลากรเดิมได้เรียนรู้และทําความรู้จักกันมากขึ้น
แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 1. รับสมัครและบรรจุบุคลากรตําแหน่งผู้ช่วยอาจารย์ ใน “โครงการผู้ช่วยอาจารย์ ระดับปริญญาตรี” อย่างต่อเนื่องเป็นประจําทุกปี 2. จัดประชุมวิชาการประจําปี ปีละ 1 ครั้ง 3. เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย ประจําปีการศึกษา 2557 ในระบบรับตรงเป็นครั้งแรก สําหรับโครงการวิทยาเขต และโครงการในพื้นที่ จ.สมุทรปราการ 4. เปิ ด รั บ สมั ค รนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าความผิ ด ปกติ ข องการสื่ อ ความหมาย ปีการศึกษา 2557 5. จัดโครงการสร้างความสัมพันธ์บุคลากร Version 4 เพื่อต่อยอดการสร้างความสัมพันธ์ของบุคลากร ในภาควิชาฯ 6. หลักสูตรดําเนินการจัดโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติใน สถานที่จริงและให้รู้จักการบําเพ็ญ ประโยชน์และช่วยเหลือสังคมในด้านการดูแลเด็กและผู้ป่วยที่มีความ ผิดปกติของการสื่อความหมาย เช่น โครงการฝึกพูดเด็กพิการบ้านนนทภูมิ สถานสงเคราะห์เด็กพิการและ ทุพพลภาพปากเกร็ด และโครงการอนุรักษ์การได้ยินในชุมชน
- 215 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
กลุ่มสาขาระบาดวิทยาคลินิกและชีวสถิติ ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น 1. การศึกษา 1.1 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการระบาดคลินิก (นานาชาติ) จํานวน 15 คน คาดว่า จะจบในปีการศึกษา 2556 จํานวน 2 คน 1.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการระบาดทางการแพทย์ (นานาชาติ) จํานวน 1 คน 1.3 จัดอบรมวิชาการ ทั้งภายในและภายนอกคณะฯ จํานวน ผู้เข้าอบรม หมายเหตุ (คน) 110 แพทย์ประจําบ้าน ชั้นปีที่ 1
โครงการ
วัน เดือน ปี
Clinical Epidemiology & Biostatistics Evidence-Based Medicine, Research Methodology 2012 Logistic regression
9 ส.ค. - 6 ธ.ค.55
3 - 4 ธ.ค.55
10
Longitudinal data analysis
20 - 21 ธ.ค.55
10
Systematic reviews & Meta analysis
12 – 14 มี.ค.56
41
Clinical Research Coordinator (CRC) 2 ก.ค. - 13 ส.ค.56 Program 2013
14
บุคลากรภายนอก คณะฯ บุคลากรภายนอก คณะฯ บุคลากรภายนอก คณะฯ บุคลากรภายนอก คณะฯ
2. การให้บริการคลินิกปรึกษางานวิจัย 2.1 ให้บริการ 267 คน คิดเป็น 614 ครั้ง โดยมีภาควิชาที่มารับบริการ 5 อันดับแรก ดังนี้ - อายุรศาสตร์ 109 คน (254 ครั้ง) - กุมารเวชศาสตร์ 58 คน (151 ครั้ง) - รังสีวิทยา 38 คน (86 ครั้ง) - ศัลยศาสตร์ 33 คน (55 ครั้ง) - สูติศาสตร์-นารีเวชวิทยา 29 คน (68 ครั้ง)
- 216 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
2.2 ผู้มารับบริการ แบ่งเป็น - แพทย์ประจําบ้าน 208 คน (ร้อยละ 65.4) - แพทย์ผู้ช่วยอาจารย์ 91 คน (ร้อยละ 25.9) - อาจารย์แพทย์ 26 คน (ร้อยละ 7.4) - นักศึกษาปริญญาโท/นักวิจยั 26 คน (ร้อยละ 7.4) 2.3 หัวข้อที่มารับบริการ จากผู้มารับบริการ 351 คน ดังนี้ - รูปแบบการศึกษา Cross sectional study 114 คน (ร้อยละ 32.5) Cohort study 81 คน (ร้อยละ 23.1) Descriptive study 43 คน (ร้อยละ 12.3) RCT 40 คน (ร้อยละ 11.4) Case control study 31 คน (ร้อยละ 8.8) อื่นๆ 42 คน (ร้อยละ 12) - การวิเคราะห์ข้อมูล 502 ครั้ง (ร้อยละ 64.8) - การบริหารจัดการข้อมูล 136 ครั้ง (ร้อยละ 17.6) - การคํานวณขนาดตัวอย่าง 258 ครั้ง (ร้อยละ 33.3)
- 217 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
กลุ่มสาขาโภชนศาสตร์ ผลงานที่ภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น ด้านการศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาโท กําลังศึกษาอยู่ 35 คน รับใหม่ 8 คน สําเร็จการศึกษา เข้ารับพระราชทาน ปริญญาบัตร 9 คน นักศึกษาระดับปริญญาเอก กําลังศึกษาอยู่ 12 คน รับใหม่ 0 คน เข้ารับพระราชทาน ปริญญาบัตร 3 คน ด้านการวิจัย การนําเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมระดับนานาชาติ ทั้งในและต่างประเทศของอาจารย์และนักศึกษา ระหว่าง 15 - 20 กั น ยายน 2556 การประชุ ม 20th International congress of nutrition ณ เมื อ ง Granada ประเทศสเปน 1. รศ.ดร.ปรียา ลีฬ หกุล เรื่อง Segmental bioelectrical impedance analysis in northern Thai secondary school-age students (pcccr) 2. นักศึกษาปริญญาเอก นางสาววันเพ็ญ สุทธิโกมินทร์ (รศ.ดร.ปรียา ลีฬหกุล อาจารย์ที่ปรึกษา) เรื่ อ ง Serum uric acid levels of secondary school-age students in northern and southern regions of Thailand 3. นักศึกษาปริญญาโท นางสาววุฒารักษ์ พึ่งพุทโธ (รศ.ดร.ปรียา ลีฬหกุล อาจารย์ที่ปรึกษา) เรื่อง Salt intake and salt reduction in secondary school-age students of Princess Chulabhorn’s college chiangrai (Regional science school) 4. นักศึกษาปริญญาโท นางสาวศรีลา สะเตาะ (รศ.ดร.ปรียา ลีฬหกุล อาจารย์ที่ปรึกษา) Effect of obesity on self-esteem in secondary school-age students of northern region of Thailand การนําเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมระดับนานาชาติ ทั้งในและต่างประเทศของอาจารย์และนักศึกษา ระหว่าง 25 - 29 สิงหาคม การประชุม World conference on health promotion พัทยา ชลบุรี 5. รศ.ดร.ปรียา ลีฬหกุล เรื่อง Waisaihealth program (whp) for boarding school to prevent and reduce the severity of diet-related chronic diseases 6. รศ.ดร.ปรีย า ลี ฬ หกุ ล เรื่อง Health promotion by cheer nutrition clinic at Ramathibodi hospital 7. นักศึกษาปริญญาโท นางสาวใยแพร ชาตรี (อ.ดร.รจนา ชุณหบัณฑิต อาจารย์ที่ปรึกษา) นําเสนอ ผลงานวิ จั ย ระหว่ าง 30 มิ ถุ น ายน – 4 กรกฎาคม 2556 ณ กรุ งโซล ประเทศเกาหลี เรื่ อ ง The XIII international congress of toxicology
- 218 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
8. อ.ดร.รจนา ชุณหบัณ ฑิต นําเสนอผลงานวิจัยระหว่าง 1 - 4 กันยายน 2556 ในการประชุม 49th Congress of the european societies of toxicology (eurotox 2013) เรื่ อ ง Prooxidant and anticarcinogenic effect of non-pigmented and pigmented rice bran extracts on human colon cancer cell line ด้านการบริการวิชาการ 1. รศ.ดร.ปรียา ลีฬหกุล ดําเนินการโครงการวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ที่โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระศรีนครินทร์ จังหวัดพะเยา และได้รับเลือกเป็น "ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง" จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เมื่อ 29 พฤษภาคม 2556
2. รศ.ดร.ปรียา ลีฬหกุล บรรยายในการประชุมของราชบัณฑิตและภาคีสมาชิก สํานักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสถาน 17 เมษายน 2556 เรื่องน้ํามะพร้าว และ 4 กันยายน 2556 เรื่อง อ้วนภาวะหรือโรค
- 219 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บทที่ 9 การดําเนินงานของโครงการที่มีผลงานเด่น สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 โครงการพัฒนารามาธิบดี สู่คณะแพทยศาสตร์ชั้นนําในเอเชีย ได้กําหนด วัตถุประสงค์เพื่อจัดตั้งสถาบันการแพทย์ ณ ตําบลบางปลา อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อให้ ประชาชนในพื้นที่ได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพและมีการจัดระบบบริการสุขภาพที่ดี นั้น ได้รับ พระราชทานชื่อสถาบันการแพทย์ดังกล่าวว่า “สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ (Chakri Naruebodindra Medical Institute)” และให้เชิญตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิ มพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 ประดิษ ฐานที่ อาคารดังกล่าว ตั้งแต่ 8 มีนาคม 2556 นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นอย่างหาที่สุดมิได้ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ได้ดําเนินโครงการโดยยึดหลัก 4E ได้แก่ Education reform, Excellent living and working condition, Environment friendly และ Energy saving โดยอาศั ย โอกาสเชิงยุทธศาสตร์ 4 ด้าน คือ ความเป็นเลิศด้านการศึกษา การพัฒนาระบบสุขภาพแบบครบวงจร ความเป็นเลิศด้านอาชีวอนามัย อาชีวเวชศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาระบบแพทย์ทางเลือก ดังนี้ 1. ด้านการก่อสร้าง ก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลและหอผู้ป่วยใน ภายใต้การกํากับดูแลของผู้ช่วย ศาสตราจารย์เลิศฤทธิ์ จงมั่นคงชีพ ผู้อํานวยการการก่อสร้างฯ โดยมีการดําเนินการตามแผนงานการก่อสร้าง ที่กําหนดไว้ รวมทั้งออกแบบและเตรียมการก่อสร้างอาคารหอพักนักศึกษาและบุคลากร อาคารศาลา ประชาคมและพิพิธภัณฑ์รามาธิบดี อาคารศูนย์การเรียนรู้ อาคารสันทนาการ อาคารวิศวกรรมบริการ และอาคารพรีคลินิก โดยผ่านการระดมสมองของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องภายในคณะฯ ซึ่งแผนการ ออกแบบและก่อสร้างโดยรวมมีความก้าวหน้าตามกําหนด 2. ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ แต่งตั้งรองศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ โค้วสถิตย์ ผู้อํานวยการบริหาร โครงการสถาบันการแพทย์แห่งใหม่ของคณะฯ เป็นรองคณบดีฝ่ายสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ และ แต่งตั้งรองผู้อํานวยการบริหารฯ ฝ่ายต่างๆ เพื่อวางแผนงานด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ ตลอดจนเตรียม การดําเนินงานภายใต้การสนับสนุนของคณะกรรมการประจําคณะฯ มีความชัดเจนของทิศทางและเป้าหมาย ของสถาบันฯ โดยมีเป้าหมายในการสนับสนุนพันธกิจด้านการศึกษาของคณะฯ ที่จะ “ผลิตบัณฑิตทีม่ ีพหุ ศักยภาพและเป็น Change agent ที่นําการเปลี่ยนแปลงไปสู่สุขภาวะที่ดีขึ้นของสังคมไทย” โดยยึดหลัก 3C คือ Competency-based curriculum การเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้บัณ ฑิตมีคุณ ลักษณะตรง ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร Continuity of care and close supervision การเรียนการสอนที่เน้นถึงความต่อเนื่องใน การดูแลผู้ป่วยของนักศึกษาและการกํากับดูแลนักศึกษาของอาจารย์ Connection to community นักเรียนมีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมในชุมชน เพื่อสร้างจิตสํานึก ในการคํานึงถึงสังคม - 220 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
คณะกรรมการบริหารของสถาบันฯ มีการดําเนินการ ดังนี้ การวางแผนยุทธศาสตร์ของสถาบันฯ ซึ่งรวมถึงพันธกิจหลักด้านการศึกษา การบริการ และ การวิจัย และพันธกิจสนับสนุนด้านทรัพยากรการเรียนรู้ สารสนเทศ ทรัพยากรบุคคล และโลจิสติกส์ การหารือร่วมกับผู้บริหารด้านการศึกษา ของคณ ะฯ เพื่ อ การปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รและ กระบวนการเรียนการสอน การจั ด ทํ า เว็ บ ไซต์ ข องสถาบั น ฯ ขึ้ น ใหม่ เพื่อประชาสัมพันธ์สถาบันฯ การจัดงาน Open House เพื่ อ ให้ ข้ อ มู ล แก่นักศึกษาแพทย์ และผู้สนใจสมัครเป็นอาจารย์ แพทย์ ข องสถาบั น ฯ และการเปิ ด รั บ สมั ค รเพื่ อ การบรรยายโมเดลจําลองของสถาบันฯ คัดเลือกอาจารย์แพทย์ ในงาน Open House 7 สิงหาคม 2556 การหารือแนวทางการพัฒนาความร่วมมือ ร่วมกับผู้นําท้องถิ่นและหัวหน้าหน่วยงาน ในพื้นที่ จ.สมุทรปราการ 3. ด้านอาชีวเวชศาสตร์และสิ่งแวดล้อม เตรียมการเพื่อจัดตั้งศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ภายใต้การบริหารงานของศาสตราจารย์สมิง เก่าเจริญ อาจารย์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชีว เวชศาสตร์ แ ละสิ่ งแวดล้ อ ม การจั ด ทํ ากรอบแนวคิ ด ในการดํ าเนิ น โครงการด้ านอาชี ว เวชศาสตร์ แ ละ สิ่งแวดล้อม ตลอดจนการจัดการศึกษาวิชาอาชีวเวชศาสตร์ในระดับหลังปริญญา 4. ด้านการพัฒนาระบบบริการระดับปฐมภูมิอย่างครบวงจร ได้มีการจัดทํากรอบแนวคิดในการ ดําเนินโครงการด้านการบริการระดับปฐมภูมิอย่างบูรณาการ ภายใต้การบริหารงานของศาสตราจารย์วิชัย เอกพลากร หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน โดยมีความเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 และให้ความสําคัญกับระบบบริการปฐมภูมิและการพัฒนาเครือข่ายระบบบริการสุขภาพในพื้นที่
แผนงาน/โครงการปีงบประมาณ 2557 การออกแบบและดําเนินการก่อสร้างอาคารต่างๆ ตามแผนงานการก่อสร้างที่กําหนดไว้ การจัดทําแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการของสถาบันฯ ที่มีความชัดเจนในแต่ละพันธกิจ การจัดเตรียมงบประมาณและการระดมทุนเพื่อสนับสนุนแผนงานของสถาบันฯ การจัดทําแผนงานด้านอาชีวเวชศาสตร์และสิ่งแวดล้อม การจัดทําแผนงานเพื่อพัฒนาระบบบริการระดับปฐมภูมิ
- 221 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ศูนย์หัวใจ หลอดเลือด และเมเเทบอลิซึม (Cardiovascular and Metabolic Center: CVMC) 1. คลินิกพิเศษพรีเมีย่ ม (Premium clinic) มุ่งเน้นการให้บริการทางการแพทย์ เพื่อพัฒนารูปแบบของ การให้บริการ ที่มุ่งเน้นความสะดวกสบายสูงสุดให้กับผู้มารับบริการ โดยใช้หลักการบริการผู้ป่วยในลักษณะ One stop service โดยมีอาจารย์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากหลายสาขาวิชา มาหมุนเวียนกันตรวจ 29 ท่าน แผนภูมิที่ 9.1 ผู้มารับบริการคลินิกพิเศษพรีเมี่ยม (Premium clinic) ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จํานวน (ราย) 25,000
21,858
21,094
20,000
16,620
15,000 10,000 5,000 0 2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
2. หน่วยวินิจฉัยหัวใจ และหลอดเลือด (Non-Invasive Cardiovascular Lab) มุ่งเน้นการให้บริการ ทางการแพทย์ โดยใช้ เครื่ อ งมื อ ที่ ทั น สมั ย และรวดเร็ ว เช่ น เครื่ อ ง 4-D Echocardiogram, Enhance External Counterpulsation (EECP), Exercise Stress test (EST) และ Holter Monitor เป็นต้น แผนภูมิที่ 9.2 ผู้มารับบริการตรวจ Echocardiogram ของ Non-Invasive ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จํานวน (ราย) 2,000
1,672
1,845
1,860
1,500 1,000 500 0 2554
2555
- 222 -
2556
ปีงบประมาณ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
3. หน่ ว ยหั ต ถการสวนหั ว ใจ และหออภิ บ าลผู้ ป่ ว ยหลั งสวนหั ว ใจ (Cardiac Catheterization Laboratory and Coronary Care Unit) มุ่ ง เน้ น การให้ บ ริ ก ารรั ก ษาพยาบาลโดยที ม บุ ค ลากรทาง การแพทย์ผู้มีความเชี่ยวชาญ และการดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เป็นการให้บริการโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจาก หลายภาควิชา พร้อมทั้งอุ ปกรณ์ และเทคโนโลยีที่นําสมัยมาช่วยในการวินิจฉัยและการรักษาอย่างเต็ ม รูปแบบตามมาตรฐานการรักษาสากล การตรวจรักษาความผิดปกติของลิ้นหัวใจ ผนังหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจ ด้วยกระบวนการและขั้นตอนต่างๆ อันได้แก่ การฉีดสี การซ่อมแซมหลอดเลือดทุกชนิดด้วยบอลลูน ขดลวด หัวกรอความเร็วสูง อุปกรณ์เลเซอร์ คลื่นเสียงความถี่สูง เครื่องดูดลิ่มเลือด เป็นต้น แผนภูมิที่ 9.3 ผู้มารับบริการรักษา ณ ห้อง Cath Lab ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จํานวน (ราย) 500 400 300
224
213
228
200 100 0 2554
2555
ปีงบประมาณ
2556
4. ศูนย์ฝึกอบรมการกู้ชีพ (CPR) เปิดให้ฝึกอบรมการกู้ชีพตามมาตรฐานของสมาคมแพทย์โรคหัวใจ แห่งสหรัฐอเมริกาในระดับต่างๆ ตั้งแต่ระดับพื้นฐานจนถึงระดับผู้ฝึกสอน มีหลักสูตรเปิดฝึกอบรมมากกว่า 10 หลักสูตร เปิดฝึกอบรมทั้งในและนอกคณะฯ โดยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญพร้อมอุปกรณ์และหุ่นฝึกทีท่ นั สมัย แผนภูมิที่ 9.4 บุคลากรของคณะฯ ที่ได้รับการฝึกอบรมกู้ชีพ (CPR) ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จํานวน (ราย) 2,000 1,500
1,895 1,549 290
1,518
332
318
พยาบาล
1,000 500 0
1,283 1,165
94
2554
เจ้าหน้าที่และบุคลากรทั่วไป แพทย์ และนักศึกษาแพทย์
937
263
280
2555
2556
- 223 -
ปีงบประมาณ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
5. การบริหารจัดการสถานพยาบาลทางการแพทย์นอกคณะฯ โดยมุ่งเน้นการให้บริการในเชิงรุก การเข้าไปให้การดูแลสถานพยาบาล และจัดกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพให้กับหน่วยงานภายนอกคณะฯ โดยเข้าไปดูแลระบบสถานพยาบาลของ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จํากัด (มหาชน) ทั้งระบบ (Rama-SCG) และส่งทีมแพทย์และเจ้าหน้าที่เข้าไปให้บริการตรวจ แผนภูมิที่ 9.5 การให้บริการของสถานพยาบาล Rama-SCG ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จํานวน (ราย) 60,000
52,470
53,720 44,375
50,000 40,000 30,000 20,000 10,000 0
2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
เพิ่มการบริการสุขภาพเชิงรุก ในบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จํากัด โดยการเข้าไปดูแล สถานพยาบาลภายในบริษัท ฯ การจัดส่งแพทย์ทั่วไป แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ นักกายภาพบําบั ด เจ้าหน้าที่ เอ็กซเรย์ พยาบาลวิชาชีพ ผู้ช่วยพยาบาล เภสัชกรและ เจ้าหน้าที่ธุรการ เพื่อให้บริการพนักงานและ ครอบครัว และเป็ นศูน ย์ส่งต่ อผู้ป่ วย จากสถานพยาบาลบริษั ท ฯ เข้ามารักษาที่ ค ณะฯ รวมถึ งการจัด กิจกรรมให้ความรู้ และการประชาสัมพันธ์ ที่เกี่ยวเนื่องกับด้านสุขภาพโดยเริ่มส่งบุคลากรมาประจํา ณ สถานพยาบาลสาขาสําโรง และเปิดดําเนินการตั้งแต่ 3 มกราคม 2556 เป็นต้นมา แผนภูมิที่ 9.6 ผู้มาใช้บริการสถานพยาบาล Toyota – Rama ณ สาขาสําโรง : มกราคม – 30 กันยายน 2556 จํานวน (ราย)
600
505
500 400
426
432
พ.ค.
มิ.ย.
481
353 272
300 200
424
519
180
100 0 ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
- 224 -
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
เดือน
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โครงการพัฒนาศักยภาพประชากรไทย : กลุ่มเด็กและวัยรุ่นและกลุ่มผู้ใหญ่และกลุ่มผูส้ ูงอายุ แบบครบวงจร (Development potentials of Thai people project) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตต้นแบบในการพัฒนาศักยภาพประชากรไทยอย่างเป็นองค์รวมตั้งแต่แรกเกิด จนถึงวัยชราอย่างครบวงจร โดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และศาสตร์ด้านต่างๆ อย่างบูรณาการ แล้วขับ เคลื่ อนต้ น แบบที่ เหมาะสมสู่ระดับ นโยบายในหน่วยงานที่ เกี่ ยวข้ องให้ส ามารถนํ าไปสร้างเสริม สุขภาพประชากรไทยให้เต็มศักยภาพ ดังต่อไปนี้ 1. การบริการวิชาการสู่สังคม 1.1 หน่วยงานภาครัฐและเอกชน มอบหนังสือการ์ตูนทักษะชีวิตทักษะสุขภาพ จํานวน 14 เรื่อง และสื่อแอนนิเมชั่น แก่สํานักงาน เขตพื้นที่เขตการศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร สังกัดคณะกรรมการพื้นฐานการศึกษา (สพฐ.) เพื่อเป็น สื่อประกอบการเรียนการสอนในทุกโรงเรียนกรุงเทพมหานครที่สังกัด สพฐ.รวมทั้งเปิดช่องทางให้สามารถ ดาวโหลดได้ที่ http://med.mahidol.ac.th/sdmc/thaipopulation/BookDevelopThaiPopulation-th จัดการประชุมรายงานประจําปี ภายใต้งาน ประชุมวิชาการ “44 ปีรามาธิบดี : วิถีการป้องกันโรค และสร้างเสริมสุขภาพ” เป็นการนําเสนอผลงานใน ปี งบประมาณ 2555 จั ด ทํ าสรุป ผลงาน 4 ปี เป็ น รู ป เล่ ม แจกผู้ เข้ า ร่ ว มประชุ ม ณ ห้ อ งประชุ ม ท่ า น ผู้หญิงวิระยา ชวกุล และห้องประชุมอรรถสิทธิ์ เวช ชาชี ว ะ โดยมี เครือ ข่ า ยและหน่ ว ยงานภายนอกให้ ความสนใจเข้าร่วมประชุม 271 คน 1.2 ชุ ม ชนโครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพประชากรไทย จัดการอบรมการดูแลภาวะโภชนาการและสุขาภิบาล อาหารระดั บ ตํ า บล ในพื้ น ที่ เพิ่ ม เติ ม อี ก 7 จั ง หวั ด เพื่ อ ให้ ค รอบคลุ ม ทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าคของประเทศ ได้ แ ก่ ราชบุ รี ชั ย นาท ยะลา พั ท ลุ ง ยโสธร สุ ริ น ทร์ และ ศรีสะเกษ รวมทั้งติดตามผลการนําองค์ความรู้ไปใช้ใน เครือข่ายเดิม 3 จังหวัด ได้แก่ สระบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และอุ ด รธานี ซึ่งในภาพรวมประชาชนมี เส้น รอบเอว ลดลง มีความรู้ด้านโภชนาการและสุขาภิบาลอาหารที่ ถูกต้องเพิ่มขึ้น 2. การส่งต่อต้นแบบที่เหมาะสมให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยศูนย์นโยบายและการจัดการสุขภาพ
- 225 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โครงการฯ ร่ วมกั บ ศู น ย์ น โยบายและการจั ด การสุ ข ภาพของคณะฯ ได้ คั ด เลื อ กและผลั ก ดั น ต้นแบบที่เหมาะสมในการสร้างเสริมศักยภาพคนไทย ให้กับหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้องนําไปปฏิบัติในระดับ นโยบาย โดยศูนย์ฯ ทําหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย 4 ต้นแบบ ดังนี้ ชื่อต้นแบบ สื่อหนังสือการ์ตูนและการ์ตูนแอนิเมชั่นพัฒนา ทักษะชีวิตและทักษะสุขภาพเด็กวัยเรียน ต้นแบบอนามัยโรงเรียนและการคัดกรองสุขภาพ เด็กวัยเรียน ต้นแบบการดูแลภาวะโภชนาการและสุขาภิบาล อาหารในระดับตําบล โปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตเพื่อ การศึกษาในระดับอุดมศึกษา
เจ้าของผลงาน
หน่วยงานที่จะผลักดัน
ศ.ดร.รุจา ภู่ไพบูลย์
สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข กรมอนามัย กรมทรวง สาธารณสุข สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
อ.พญ.สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์ รศ.ดร.นพวรรณ เปียซื่อ ผศ.ดร.พัชรินทร์ นินทจันทร์
3. หน่วยงานภายนอกนําต้นแบบของโครงการฯ ไปขยายผลในพื้ น ที่ โรงพยาบาลเมตตาประชารั ก ษ์ (วัดไร่ขิง) อ.สามพราน จ.นครปฐม นําแนวทางการจัด กิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กผ่านการอ่าน ไปใช้ ในพื้นที่ อ.สามพราน ซึ่งใช้ชื่อโครงการว่า “อําเภอเด็ก รัก การอ่ าน” โดยได้ รั บ งบประมาณจากวัดไร่ขิ ง ให้ ดําเนินการทั้ง อ.สามพราน ประกอบด้วย โรงพยาบาล เมตตาประชารักษ์ (ไร่ขิง) โรงพยาบาลสามพราน (ไร่ขิง) วัดมงคลจินดาราม (ไร่ขิง) รพ.สต.ไร่ขิง รพ.สต.บางเตย รพ.สต.บางระทึก รพ.สต.ทรงคะนอง รพ.สต.กระทุ่มล้อม เมื่อ 30 มกราคม 2556 ณ ลานเอนกประสงค์ วัดไร่ขิง พระอารามหลวงโรงพยาบาลพุทธโสธร ร่วมกับศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา นํา ต้นแบบการพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะสุขภาพ ไปใช้กับทุกโรงเรียนในพื้นที่เทศบาล จ.ฉะเชิงเทรา โดย งบประมาณจากเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา แผนการดําเนินงานปีงบประมาณ 2557 โครงการฯ เน้นการพัฒนาและปรับปรุงต้นแบบเดิมที่มีอยู่อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ต้นแบบที่เหมาะสม สามารถส่งต่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนําไปใช้ในระดับนโยบายให้กว้างขวางมากขึ้น โดยมีศูนย์นโยบายและ การจัดการสุขภาพเป็นผู้ช่วยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเปิดรับแบบเสนอกิจกรรมใหม่ๆ ที่ สามารถพัฒนาองค์ความรู้ หรือรูปแบบที่จะสนับสนุนการทํางานด้านการรักษา หรือการสร้างเสริมสุขภาพ
- 226 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ของประชาชนให้กับองค์กร หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบในระดับประเทศดําเนินการ เพื่อพัฒนาศักยภาพของ ประชากรไทยให้สมบูรณ์ที่สุด
ศูนย์นโยบายและการจัดการสุขภาพ (Center for Health Policy and Management) 1. การผลักดันองค์ความรู้ของคณะฯ สู่นโยบายของประเทศ โดยการทํางานต่อยอดจากงานวิจัยใน โครงการพัฒนาศักยภาพประชากรไทย 1.1 นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะสุขภาพเด็กวัยเรียน ประสานงานกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เพื่อประยุกต์ผลงานของ ศาสตาจารย์ ดร.รุจา ภู่ไพบูลย์ ซึ่งประกอบด้วยหนังสือสื่อการเรียน จํานวน 14 รายการ และสื่อภาพยนตร์ อนิเมชั่น จํานวน 8 เรื่อง ซึ่งในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการพิจารณานําสื่อการ์ตูนไปพัฒนาจัดทําลงในคอมพิวเตอร์ พกพา (Tablet) ให้แก่นักเรียน รวมทั้งการผลักดันให้มีการใช้หนังสือสื่อการเรียนสําหรับโรงเรียนทั่วประเทศ 1.2 ต้นแบบอนามัยโรงเรียนและการคัดกรองสุขภาพเด็กวัยเรียน ประสานงานกับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข นําเสนอผลงานต้นแบบอนามัยโรงเรียนและ การคัดกรองสุขภาพเด็กวัยเรียน ของอาจารย์สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์ เพื่อพิจารณานําไปประยุกต์ในงาน อนามัยโรงเรียนของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งก็ได้รับความยอมรับและนําไปขยายผลโดยจัดทําโครงการ ร่วมกัน เพื่อดําเนินงานในปีงบประมาณ 2557 2. การสร้างเสริมความเข้มแข็งของระบบบริการสุขภาพ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ประสานงานกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุท รปราการและโรงพยาบาลสมุทรปราการ เพื่อ เตรียมการด้านระบบสาธารณสุขที่จะรองรับการดําเนินงานของสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ซึ่งรวมถึง งานการเรี ย นการสอน งานส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ และงานบริ ก ารทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ในความ รับผิดชอบของทางสถาบันฯ ขณะนี้กําลังประสานงานในทํานองเดียวกันกับจังหวัดฉะเชิงเทราและจังหวัด ข้างเคียงอื่นๆ 3. การเป็นผู้แทนคณะฯ เข้าร่วมประชุม และการสร้างเครือข่ายกับองค์กรเกี่ยวกับนโยบายสุขภาพ 3.1 การมีส่วนร่วมในการดําเนินงานกลุ่มภารกิจสุขภาพโลกมหิดล (Mahidol University Global Health – MUGH) โดยเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการชี้ทิศทางสุขภาพโลก และร่วมเป็นอนุกรรมการ บริห ารของ MUGH รวมทั้ งเป็ นวิท ยากรในการประชุม ให้ ค วามรู้ด้าน Global health ต่อบุ คลากรของ มหาวิทยาลัย 3.2 การเข้าร่วมประชุ ม การสร้างเครือข่ายเสริม สร้างศั ก ยภาพด้ านนโยบายสาธารณสุ ข ในคณะ แพทยศาสตร์ (คศ.นส.) เป็ น เครื อ ข่ า ยอย่ า งไม่ เป็ น ทางการของโรงเรี ย นแพทย์ 4 แห่ ง ได้ แ ก่ คณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบ ดี มหาวิท ยาลัย มหิ ดล คณะ แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ทําให้มองเห็น ช่องทางที่จะดําเนินการและประสานงานในการส่งเสริมบทบาทของโรงเรียนแพทย์ในการร่วมกันค้นคว้าหา นโยบายและพัฒนาระบบสาธารณสุขรวมทั้งกําหนดและผลักดันนโยบายของเครือข่ายให้สู่ระดับชาติและ นานาชาติ - 227 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ในการประชุ ม คศ.นส. ครั้งที่ 5 เมื่ อ 1 มี น าคม พ.ศ. 2556 ศู น ย์ ฯ ได้ นํ าเสนอและได้ รับ ความ สนับสนุนจากที่ประชุมให้คณะฯ รับทําหน้าที่เป็นองค์กรประสานงานของเครือข่าย (Secretariat body) ใน ปี 2556 และเสนอขยายเครือข่ายให้ครอบคลุมคณะแพทยศาสตร์อีก 3 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในการประชุม คศ.นส. ครั้งที่ 6 เมื่อ 25 กรกฎาคม พ.ศ.2556 ที่คณะฯ ศูนย์ฯ ได้ดําเนินการจัดการ ประชุมในฐานะที่คณะฯ เป็นเจ้าภาพการประชุม ซึ่งสามารถดําเนินงานได้สําเร็จลุล่วงด้วยดี 3.3 การสร้างเครือข่ายงานส่งเสริมนโยบายสุขภาพระดับชาติ ศูนย์ฯ ได้ร่วมงานด้านส่งเสริมสุขภาพ กับเครือข่ายระดับชาติ ได้แก่ (ก) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ในงานด้านอนามัยเจริญ พันธุ์ในวัยรุ่น (ข) เครือข่ายงานโรคไม่ติดต่อ (NCD-net) ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของงานควบคุมโรค ไม่ติดต่อในระดับชาติ (ค) สํานักงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ในงานการประชุมสมัชชาสุขภาพ ซึ่งผลักดัน ให้ ค ณะฯ เป็ น หนึ่ งในหน่ วยงานร่ วมผลั ก ดั น นโยบายการตรวจสุ ข ภาพที่ จํ าเป็ น และเหมาะสมสํ าหรั บ ประชาชน การประสานงานกับกระทรวงสาธารณสุขในงานการควบคุมโรค โดยให้ความร่วมมือในด้านการ เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ของงานระบาดวิ ท ยา งานควบคุ ม และป้ อ งกั น โรคเอดส์ แ ละโรคติ ด ต่ อ ทาง เพศสัมพันธ์ เป็นต้น 3.4 การสร้างเครือข่ายนานาชาติกับสถาบัน Australasian College of Health Service Management (ACHSM) ผู้อํานวยการศูนย์ฯ ได้ร่วมเดินทางไปกับคณบดี รองคณบดีฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา รองคณบดี ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ไปยังนครซิดนีย์และแคนเบอร์รา โดยมีกิจกรรมหลักคือ การทําพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่ า งคณะฯ กั บ Australasian College of Health Service Management ในการส่ งเสริ ม งานพั ฒ นา กําลังคนด้านการบริการสุขภาพในประเทศไทยและประเทศข้างเคียง โดยร่วมกันจัดทําโครงการอบรม หลักสูตรประกาศนี ยบัตรด้าน Health service management ในคณะฯ และคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ทั้งหลักสูตรสําหรับคนไทย และหลักสูตรที่เป็นภาษาอังกฤษสําหรับชาวต่างชาติ รวมทั้ ง การดํ า เนิ น การในระยะยาวในการจั ด ทํ า หลั ก สู ต รระดั บ หลั ง ปริ ญ ญา ทั้ ง นี้ โรงเรี ย นบริ ห าร โรงพยาบาลของรามาธิบดี จะเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ และทางศูนย์ฯ จะเป็นหน่วยสนับสนุนในด้านการ ประสานงานกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นหน่วยงาน หลักที่จะส่งบุคลากรเข้ารับการอบรม แผนการดําเนินงาน ในปีงบประมาณ 2557 1. สร้างกลไกสนับสนุนการดําเนินงานของศูนย์ฯ ได้แก่ การส่งบุคลากรอบรมระยะสั้น การสร้าง ฐานข้อมูลในการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้ในการสร้างคําถามวิจัยระบบสุขภาพ เป็นต้น 2. การดําเนินงานภายในคณะฯ ได้แก่ การสร้างกระบวนการคัดเลือกปัญหาตามลําดับความสําคัญ ของประเทศ และการสนับสนุนต่อยอดงานวิจัยที่มีอยู่แล้วของคณะฯ เป็นต้น 3. การดําเนินงานภายนอกคณะฯ ได้แก่ การประสาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับเครือข่ายด้านนโยบาย สุขภาพในโรงเรียนแพทย์ การสร้างเครือข่ายงานส่งเสริมนโยบายสุขภาพระดับชาติและนานาชาติ เป็นต้น
- 228 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ศูนย์สลายนิว่ ศูนย์ฯ รักษาผู้ป่วยโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะด้วยเครื่องสลายนิ่วมากว่า 20 ปี มี รักษาผู้ป่วย มากกว่า 10,000 คน โดยติดตั้งเครื่องสลายนิ่วที่มีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถสลายนิ่วได้ทั้งชนิดทึบแสงและ ไม่ทึบแสงได้อย่างแม่นยํา ด้วยความนุ่มนวล ในสถานที่สะอาด เพื่อให้เกิดความพึงพอใจอย่างยิ่งแก่ผู้ป่วย และญาติที่มารับบริการ ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับปณิธานของคณะฯ ที่จะเป็นประทีปส่องทางด้านสุขภาพ ของประเทศ และมีมาตรฐานคุณภาพระดับสากล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาการรักษาผู้ป่วยโรคนิ่วในระบบปัสสาวะด้วยการสลายนิ่วแทนการผ่าตัดให้มีประสิทธิภาพ 2. รักษาโรคนิ่วในระบบปัสสาวะแบบครบวงจร 3. พัฒนาศักยภาพด้านการแพทย์ในระดับแนวหน้าตามพันธกิจของโรงพยาบาล 4. เพื่อการเรียน การสอน การวิจัย แพทย์ประจําบ้าน และนักศึกษาแพทย์ แผนภูมิที่ 9.7 ผู้มาใช้บริการศูนย์สลายนิ่ว ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จํานวน (ราย) 800
732
792
622 600 400 200 0 2554
2555
2556
ปีงบประมาณ
แผนงานปีงบประมาณ 2557 1. มีผู้มาใช้บริการในเวลาวันละ 5 ราย และนอกเวลาราชการอย่างน้อยวันละ 1 ราย 2. การจัดงานเพื่อความรู้เรื่องโรคนิ่วกับประชาชนอย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง 3. การนําเสนอเกีย่ วกับประสิทธิภาพของเครื่องสลายนิ่วตัวใหม่ที่กําลังจะติดตั้งเดือนตุลาคม 2556 ผ่านทาง RAMA Channel
- 229 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ศูนย์มะเร็ง การรักษาโรคมะเร็งต้องอาศัยความร่วมมือจากแพทย์เฉพาะทางและบุคลากรหลายฝ่าย ร่วมมือกัน แบบสหสาขา (Multi-disciplinary approach) ระบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งในปัจจุบันยังแยกไปรับ การรักษาและติดตามผลการรักษาตามหน่วยตรวจผู้ป่วยนอกของภาควิชาต่างๆ ทําให้ผู้ป่วยไม่ได้รับความ สะดวกต้องมาโรงพยาบาลเพื่อพบแพทย์สาขาต่างๆ หลายครั้งซึ่งทําให้เสียค่าใช้จ่ายและเสียเวลาเพิ่มขึ้น และยังเป็นเพิ่มภาระงานให้กับหน่วยตรวจผู้ป่วยนอกต่างๆ แนวคิดเพื่อให้การดูแลผู้ป่วยมะเร็งเป็นแบบ องค์รวม และอํานวยความสะดวกให้แก่ผู้ป่วยในรูปแบบของ One-stop service มีการบริหารจัดการให้ ผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบตติยภูมิ อย่างเป็นระบบ รวดเร็ว ครบวงจรในทุกกลุ่มโรคมะเร็งด้วยความร่วมมือ ของแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ จัดให้มี Tumor conference เพื่อปรึกษาแนวทางการรักษาที่ได้มาตรฐาน ของแพทย์แบบสหสาขาและเป็นการเรียนการสอนให้แก่แพทย์ประจําบ้าน มีการบริหารจัดการให้ผู้ป่วย ได้รับการตรวจติดตามการรักษาได้เหมาะสมและครบถ้วนจากแพทย์ผู้รักษาสาขาต่างๆ เพื่อลดความซ้ําซ้อน เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยและลดภาระงานของแพทย์ ลดความแออัดโรงพยาบาล รวบรวมข้อมูลต่างๆ ของโรคมะเร็งได้อย่างรวดเร็วและเป็นระบบ สามารถนําไปพัฒนางานด้านบริการ การ เรียนการสอน และการวิจัย ศูนย์ฯ มีแผนงานในการดําเนินการ 4 แผนงานหลัก ดังนี้ 1. แผนงาน Administration 1. ประชุ ม วิ ช าการ Innovations in Cancer Management 2013 28 – 31 มกราคม 2556 ณ อาคารปฏิบัติการด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี จํานวนผู้เข้าร่วมประชุมทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ 304 ท่าน
2. ส่งบุ คลากรเข้ าศึ กษาดู งานวิธีดํ าเนิ นการแยกพลาสมาเซลล์ ในผู้ ป่ วย Multiple myeloma ประเทศ ออสเตรเลีย จํานวน 3 ท่าน 4 - 8 กุมภาพันธ์ 2556 เพื่อทําให้เกิดการจัดตั้งห้องปฏิบัติการทางโลหิตวิทยา ในตรวจคัดเลือก Plasma cell ในผู้ป่วย MM โดยใช้วิธี FISH 2556 โดยมีผู้ไปศึกษาดูงานจํานวน 3 คน ได้แก่ อ.พญ.ธีรยา พัววิไล รศ.บุษบา ฤกษ์อํานวยโชค และ นายปิติชัย พรสรายุทธ
- 230 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
3. นําเสนอผลงานและประชุมวิชาการ ด้าน Pediatric Oncology 25 - 28 กันยายน 2556 ณ ฮ่องกง จํานวน 3 ท่าน 4. ส่ ง บุ ค ลากรศึ ก ษาอบรม เรื่ อ ง Advanced course in Neuropathology II 26 - 29 กั น ยายน 2556 ณ ฮ่องกง จํานวน 1 ท่าน 2. แผนงาน Cancer registry / Data management 1. หนังสือ Cancer report 2012 อยู่ระหว่างการจัดทํารายงาน 2. จัดทํ าทะเบียนผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยด้วยวิธี Colposcopy ร่วมกับหน่วยมะเร็งนรีเวช และได้ นําเสนอรายงานเบื้องต้น ณ การประชุม APOCP ณ ประเทศมาเลเซีย 3. จัดทําแบบประเมินความพึงพอใจ ในการเข้ารับบริการที่หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโรคมะเร็ง ผลการสํารวจ ระยะที่ 1 พบว่า ความพึงพอใจในการรับบริการที่ SSS ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด 4. อยู่ระหว่างการวิเคราะห์อัตราการรอดชีพของผู้ป่วยโรคมะเร็ง ในเบื้องต้นได้ดําเนินการในโรคมะเร็ง นรีเวช ตับ ปอด เต้านม ลําไส้ใหญ่ และเด็ก 5. จัดทําโปรแกรมในการบันทึกข้อมูลการติดตามผู้ป่วยโรคมะเร็ง 3. แผนงาน Research office/Tumor biobank 1. ผลงานตีพิมพ์ 2 เรื่อง 2. สิทธิบัตร เรื่อง Dihydropyrimidine dehydrogenase single nucleotide polymorphisms ใน ผู้ป่วยไทยที่ได้รับยาต้านมะเร็ง 5-Fluorouracil 3. การนําเสนอผลงานในรูปแบบของ Abstract poster และ Oral presentation รวม 5 เรื่อง โดยได้ วางแผนการตีพิมพ์ระดับนานาชาติ 4. ดําเนินโครงการความพึงพอใจ คุณภาพชีวิต และผลข้างเคียงจากการรักษาโรคมะเร็ง 6 โครงการ 5. สนับสนุนงานวิจัยด้านโรคมะเร็ง ในรูปแบบของการสนับสนุนงบน้ํายา วัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ สําหรับงานวิจัย 10 โครงการ โดยเป็นความร่วมมือในรูปแบบ Multi disciplinary 6. ดําเนินการจัดตั้งศูนย์ Tumor biobank - จัดตั้งศูนย์ Tumor biobank โดยประสานงานกับศูนย์วิจัยและภาควิชา รวมทั้งจัดซื้อครุภัณฑ์ และ สารเคมี - จัดทําโปรแกรมจัดเก็บบล๊อกชิ้นเนื้อผู้ป่วย ในโครงการ Tissue block - 231 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ประชุมเชิงปฏิบัติการดําเนินการ Tumor biobank 31 พฤษภาคม 2556 ผู้เข้าร่วมประชุมเป็น บุคลากรภายในและภายนอกคณะฯ 68 ท่าน -
4. แผนงาน Multi – disciplinary clinic/Case management 1. จัดตั้งศูนย์ประสานงานผู้ป่วยโรคมะเร็ง ณ อาคารสมเด็จพระเทพรัตน์ ชั้น 2 2. จัดพิมพ์หนังสือการพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง จําหน่ายให้แก่นักศึกษาและผู้ที่สนในลักษณะที่ไม่ได้ แสวงหาผลกําไร 3. จัดพิมพ์หนังสือคู่มือการดูแลตนเองขณะได้รับยาเคมีบําบัด เพื่อแจกฟรีให้แก่ผู้ป่วยโรคมะเร็ง การ เขียนคู่มือการดูแลผู้ป่วย เรื่อง รู้ทันมะเร็งลําไส้ใหญ่และยาเคมีบําบัด เพื่อแจกฟรีให้แก่ผู้ป่วยโรคมะเร็ง
ศูนย์พิษวิทยา 1. บริการด้านพิษวิทยาคลินิก 24 ชั่วโมง ทั่วประเทศด้วยระบบ Call center เบอร์เดียว “1367” โดยให้คําปรึกษาแก่แพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนทั่วไปในการดูแลรักษาผู้ป่วยที่ได้รับพิษ จากสารเคมี ต่างๆ ตั้งแต่สารเคมี ในงานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม เคมีภัณ ฑ์ในครัวเรือน ยารักษาโรค รวมทั้งพืชพิษและสัตว์พิษ ฯลฯ ตลอดจนมีระบบการติดตามผู้ป่วยเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ นําไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ศูนย์ฯ ได้ให้บริการรวม 15,472 ราย กรณีผู้รับบริการ ส่วนใหญ่เป็นแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์มากกว่าร้อยละ 98 (แผนภูมิที่ 9.8) การบริการของศูนย์ฯ ครอบคลุมทุกจังหวัดและภูมิภาคของประเทศ (แผนภูมิที่ 9.9) สารพิษที่มีการขอข้อมูลและรับการปรึกษา บ่อย ได้แก่ กลุ่มสารป้องกันกําจัดศัตรูพืช ยา และเคมีภัณฑ์ที่ใช้ในบ้านเรือน (แผนภูมิที่ 9.10) ประชาชน 1.4% น ักศ กึ ษาแพทย์ 3.7%
ั กร เภสช 0.7%
ตะว ันตก 6.2%
อืน่ ๆ 0.2%
ใต้ 9.3%
กทม. 12.6%
ตะว ันออก 12.3%
พยาบาล 11.8%
กลาง 26.8% ตะว ันออกเฉียงเหนือ 25.4%
แพทย์ 82.3%
แผนภูมิที่ 9.8 สัดส่วนผู้ขอรับคําปรึกษาจากศูนย์พิษวิทยา จําแนกตามอาชีพ
เหนือ 7.4%
แผนภูมิที่ 9.9 สัดส่วนการขอรับคําปรึกษาจากศูนย์พิษวิทยา จําแนกตามภูมิภาค - 232 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
มากกว่า 1 กลุ่ม 3.0% พืชพิษ 3.3%
สารเสพต ด ิ 1.3% ยาสมุนไพร 0.9% ั ว์พษ สต ิ อืน ่ ๆ 2.4% 1.0% สารไม่ทราบชน ิด ั รูพช สารกําจัด ศ ต ื 32.7%
0.5%
ี สารในการประกอบอาชพ 11.9%
เคม ีภณ ั ฑ์ในบ า้ นเรอื น 20.7%
ยา 22.4%
แผนภูมิที่ 9.10 สัดส่วนการขอรับคําปรึกษาจากศูนย์พิษวิทยา จําแนกตามกลุ่มของสารพิษ
2. โครงการเพิ่มการเข้าถึงยากําพร้ากลุ่มยาต้านพิษ ร่วมกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) องค์การเภสัชกรรม สํานักงานคณะกรรรมการอาหารและยา และสถานเสาวภา สภากาชาดไทย ดําเนินการ ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ซึ่งได้เพิ่มยาต้านพิษจาก 6 ชนิดที่เร่งด่วนในปีงบประมาณ 2554 เป็นยาต้านพิษ 10 ชนิด ในปีงบประมาณ 2555 ซึ่งในปีงบประมาณ 2556 ถึง 2557 กําลังดําเนินโครงการเพิ่มการเข้าถึงเซรุ่มต้าน พิษงู โดยจะมีการจัดประชุมสัมมนาวิชาการให้ความรู้ด้านการดูแลรักษาผู้ได้รับพิษที่เกี่ยวข้องกับยาต้านพิษ และงูพิษกัดให้กับบุคลากรทางการแพทย์ทั่วประเทศใน 4 ภูมิภาค จํานวน 1,000 คน การประชุมครั้งแรก จะจัดสําหรับเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดขอนแก่น 14 - 15 พฤศจิกายน 2556 3. การเผยแพร่ความรู้ด้านพิษวิทยาคลินิก ได้จัด กิจกรรมเพื่ อให้ ค วามรู้แ ก่บุ ค ลากรทางการแพทย์ นอกจากการจัดประชุมวิชาการในโครงการเพิ่มการ เข้าถึงยากําพร้ากลุ่มยาต้านพิ ษ แล้ว ได้มีกิจกรรม อื่นๆ อีกที่สําคัญ คือ 3.1 การอบรมเชิ งปฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ งการดู แ ลรั ก ษา ผู้ป่ วยได้ รับ พิ ษ จากสารป้ อ งกั น กําจัด ศั ต รูพื ช เนื่ อ งจากภาวะเป็ น พิ ษ จากสารป้ อ งกั น กํ า จัด การประชุมวิชาการโครงการเพิ่มการเข้าถึงยาต้านพิษ ศัต รูพืช เป็น ปัญ หาที่พ บบ่อ ยที่สุด และก่อ ให้เกิด ที่มีต่อเนื่องตั้งแต่ปีงบประมาณ 2554 การเจ็บป่วยและสูญเสียมากที่สุดในประเทศ ซึ่งเป็น ปัญหาที่มักเกิดในชนบท ศูนย์ฯ เล็งเห็นความสําคัญดังกล่าว จึงได้จัดให้มีการอบอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ ความรู้แก่บุคลากรทางการแพทย์ในภูมิภาคต่างๆ มาเป็นระยะๆ สําหรับในปีงบประมาณ 2556 ได้จัดการ ประชุม 2 ครั้งแล้ว ที่จังหวัดเชียงใหม่ 22 พฤศจิกายน 2555 และที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี 8 สิงหาคม 2556 มีผู้เข้าร่วมการอบรม 154 คน
- 233 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
สัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วย เนื่อ งจากสารป้อ งกัน กําจัดศัตรูพื ช (Diagnosis and management of pesticides poisoning) 2 2 พฤศจิกายน 2555 ณ โรงแรมคุ้มภูคํา จ. เชียงใหม่
3.2 การจัดประชุม Inter-Hospital Toxicological Conference ทุกพฤหัสบดีที่ 3 ของเดือน ณ ห้อง ประชุมศูนย์พิษวิทยา และห้องประชุมโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลศิริราช และโรงพยาบาลพระมงกุฎ ประกอบด้วย อาจารย์แพทย์ แพทย์ประจําบ้าน นักศึกษาแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ที่สนใจ โดยมี ผู้เข้าร่วมประชุมครั้งละ 20 - 40 คน
Inter-Hospital Toxicological Conference
3.3 จั ด ทํ า จุ ล สารพิ ษ วิ ท ยา (Poison and Drug Information Bulletin) ซึ่งมีเนื้อหาทางด้านพิษวิทยา คลินิกที่น่าสนใจ มีตัวอย่างผู้ป่วยที่ ได้รับพิษและการ วินิจฉัยรักษา โดยเป็นเวทีให้แพทย์ประจําบ้านได้เขียน บทความที่ มี อ าจารย์ แ พทย์ ช่ ว ยแนะนํ า และแก้ ไ ข เนื้อหาให้ จัดส่งให้กับโรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศฟรี และสมาชิกที่สนใจทุก 3 เดือน 3.4 เว็บ ไซต์ ข องศู น ย์ ฯ จัด ทํ าขึ้ น เพื่ อ ให้ ส ามารถ สืบ ค้ น ข้อ มู ล ด้ านพิ ษ วิ ท ยาคลิ นิ กได้ ท างอิน เตอร์เน็ ต หัวข้อประกอบด้วย หลักการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยได้ รับพิษ สารพิษที่พบบ่อย การให้ยาต้านพิษ และจุลสาร พิษวิทยาโดยเข้ามาที่ URL: http://www.ra.mahidol. ac.th/poisoncenter/ หรือ PoisonCenter.mahidol. ac.th
จุลสารพิษวิทยา (Poison & Drug Information) Bulletin เผยแพร่ขอ ้ มูลข่าวสารด้านพิษวิทยา และเภสัชวิทยา ออกทุก 3 เดือน
จุลสารพิษวิทยา www.ra.mahidol.ac.th/poisoncenter/ PoisonCenter.mahidol.ac.th
เว็บไซต์ของศูนย์พิษวิทยา - 234 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 1. สร้างเครือข่ายด้านพิษวิทยาของประเทศ โดยประสานงานอย่างต่อเนื่องกับสํานักงานประกันสุขภาพ แห่งชาติ องค์การเภสัชกรรม สถานเสาวภา สภากาชาดไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดําเนินโครงการเข้าถึง ยากําพร้ากลุ่มยาต้านพิษ และยาอื่นๆ ที่เกีย่ วข้อง เพื่อทําให้เครือข่ายนี้เป็นเครือข่ายที่ยั่งยืนสามารถเป็นต้น แบบการบริหารจัดการยากําพร้าอื่นที่ไม่ใช่ยาต้านพิษต่อไป 2. ดําเนินงานตามโครงการพัฒนาเป็น “ศูนย์ความเป็นเลิศด้านพิษวิทยา” โดยประสานกับสหสาขาวิชา ต่างๆ เพื่อให้เป็นหน่วยงานที่ให้บริการวิชาการทางพิษวิทยาอย่างครบวงจรทั้งการวินิจฉัย ดูแลรักษา การ พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนการป้องกันโรคด้านพิษวิทยา
ศูนย์บริการพยาธิวิทยา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้บริการการทดสอบทางห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยาแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกคณะฯ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ในประเทศและต่างประเทศ 2. เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรทีม่ ีอยู่ ได้แก่ เครื่องมือและบุคลากรให้เต็มประสิทธิภาพ 3. เป็นศูนย์กลางงานบริการการทดสอบทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ที่ครบถ้วน ครอบคลุมทุกสาขา งานทางพยาธิวิทยา 4. เพื่อสร้างรายได้ให้กับคณะฯ 5. เพิ่มรายได้ให้บุคลากร รายได้ศูนย์ฯ ปีงบประมาณ 2554 – 2556 เป็นเงิน 125,099,860, 130,191,145 และ 159,064,145 บาท ตามลําดับ การจัดอบรมการทําแผนกลยุท ธ์และแผนปฏิบัติการ กระบวนการในการจัดทําแผนงาน (Strategic planning and process management) 24 - 25 สิงหาคม 2556 ณ Springfield @ Sea Resort & Spa จ.เพชรบุรี แผนงาน/โครงการปีงบประมาณ 2557 1. กําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ภายในปีงบประมาณ 2557 2. กําหนดเป้าหมายและแนวทางการพัฒนางานของศูนย์บริการพยาธิวิทยา 2.1 ด้านการเงิน เพิ่มรายได้การบริการผ่านศูนย์ฯ ควบคุมต้นทุน เช่น ใช้ทรัพย์สน ิ สถานที่ ทรัพยากรที่มีอยู่ ทั้งเครื่องมือและบุคลากรอย่างมี ประสิทธิภาพและคุ้มค่า การต่อรองราคาวัสดุและน้ํายา
- 235 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
2.2 ด้านกระบวนการทํางาน พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการด้วยนวัตกรรมที่ทันสมัย นําเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการให้ บริการ การเพิ่มบริการพิเศษใหม่ๆ เพิ่มงานการตรวจด้านชิ้นเนื้อ เพิ่มและรักษามาตรฐานของบริการการทดสอบ มุ่งสู่ความเป็นสากล ขอการรับรองมาตรฐาน ISO 15189 ในการทดสอบเพิ่มขึน ้ ปรับปรุงระยะเวลารอคอยการรายงานผล (Turn around time) 2.3 ด้านลูกค้า ผู้มารับบริการ และการตลาด สร้างความพึงพอใจในการให้บริการ การพัฒนาระบบการสั่งตรวจและส่งรายงานผลผ่าน Website การสร้างตลาดใหม่ และการประชาสัมพันธ์ การรักษาตลาดเดิมที่มีอยู่ การจัดระบบ Logistic ในการจัดส่งตัวอย่างภายใน และรับตัวอย่างจากหน่วยงานภายนอก ปรับปรุงคู่มือการใช้บริการทางพยาธิวิทยา สร้างความพึงพอใจในการให้บริการ เช่น มี Call center
ศูนย์ตรวจสุขภาพเพื่อไปต่างประเทศ แผนภูมิที่ 9.11 ผู้รับบริการประจําปีงบประมาณ 2556 จํานวน (คน) 1,500
1,410 1,192
1,239 1,130
980
1,000
927 664
652
500
982
525 409
353
0 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี. ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เดือน
- 236 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ประเทศทีผ่ ู้รบั บริการเดินทางไป เดือนตุลาคม 2555 ถึง กันยายน 2556 ประเทศ จํานวน (คน) ประเทศ อิสราเอล 6,325 กาต้าร์ ไต้หวัน 1,966 โอมาน อื่นๆ 581 คูเวต ลิเบีย 3 สิงคโปร์ ฮ่องกง 7 จีน เกาหลี 186 บาห์เรน ญี่ปุ่น และ กรมแรงงาน 385 มาเลเซีย ซาอุดิอาระเบีย 1 บรูไน ดูไบ 83 รวม
จํานวน (คน) 85 11 42 118 104 85 128 353 10,463
แผนงาน/โครงการปีงบประมาณ 2557 1. ตั้งเป้าหมายรับผู้รับบริการตรวจสุขภาพเพื่อไปต่างประเทศ 15,000 คน 2. มีการเปิดรับบริการเพิ่ม เช่น 2.1 ตรวจสุขภาพนักศึกษาที่สอบเข้าภายในประเทศ 2.2 ตรวจสุขภาพชาวต่างชาติที่เข้ามาทํางานในประเทศ 2.3 ตรวจสุขภาพชาวต่างชาติที่ไปทํางานนอกประเทศ 2.4 ตรวจสุขภาพคนไทยที่ไปอบรมดูงานในต่างประเทศ 2.5 ตรวจสุขภาพเพื่อขอใบรับรองแพทย์เพื่อสมัครงานในประเทศ
ศูนย์รังสีวินจิ ฉัยก้าวหน้าและรังสีร่วมรักษา (AIMC) ผลงานที่สร้างชื่อเสียง - คณะอนุกรรมการคัดเลือกและเผยแพร่ผลงานดีเด่นของชาติ สํานักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สํานักงานปลัด สํานักนายกรัฐมนตรี เข้าเยี่ยมชมศูนย์ไอแมค เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน 2556 และได้ แต่งตั้งให้ศูนย์รังสีวินิจฉัยก้าวหน้า คณะฯ เป็นหน่วยงานดีเด่นของชาติ ประจําปีพ.ศ. 2556 สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
- 237 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล -
รายงานประจําปี 2556
สร้างและนําเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรม
ผลงานวิชาการ - จัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ AIMC Ramathibodi & Philips 1st ASEAN Advanced Imaging Leaders Conference Co-organized by AIMC Ramathibodi & Philips Healthcare
- 238 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
สร้างและพัฒนาชื่อเสียงให้คณะฯ อยู่ในอันดับแนวหน้า ของการเลือกเข้าเรียน และการเข้ารับการ ฝึกอบรม -
Visit by Medical Students Kyoto University, Japan
Visit by Management Team, Sime Darby Medical Center, Malaysia Radiologists Training From Davao City, Philippines
Visit by Medical Students Kanasawa University, Japan
Visit by Medical Students From Indonesia -
Visit by High School Students Mater Dei School
Radiologists Training Primovist- liver MRI on-site workshop From Malaysia
วิทยากรเผยแพร่ความรู้ด้านรังสีวินิจฉัย ทั้งภายในและภายนอกประเทศ
th
th
Coronary CTA Workshop for Beginner 6 – 7 July, 2013 at Golden Tulip Sovereign Hotel, Bangkok
Intensive Coronary CTA Workshop May 2013
th
th
SDMC Neuro MRI Symposium 29 – 30 June, 2013 at Sime Darby Medical Center, Malaysia
- 239 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
-
เพิ่มช่องทางการให้ความรู้ด้านสุขภาพ แก่บุคลากรทางแพทย์และบริการผ่านทาง Website AIMC
-
AIMC Balanced Scorecard & RAMA Strategic Mapping 2013 - 2014
แผนงานโครงการปีงบประมาณ 2557 1. โครงการไอแมคไร้กระดาษ ด้านงานบริการรักษาพยาบาล 2. โครงการห้องน้ําปลอดภัย 3. โครงการลดรอบการมาโรงพยาบาลของผู้ป่วย 4. โครงการออกเลขที่หนังสือผ่านระบบออนไลน์
- 240 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ศูนย์รังสีร่วมพิกัด แผนภูมิที่ 9.12 ผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วยเครื่องรังสีศัลยกรรม CyberKnife เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 จํานวน (ราย) 30 25 20
30
29
27
26 22 20
22
20 16
16
17
14
15 10 5 0
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.เดือน
แผนภูมิที่ 9.13 ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเครื่องรังสีศัลยกรรม CyberKnife ปีงบประมาณ 2554 - 2556 จํานวน (ราย) 270 260 250 229 ราย (เฉลี่ย 19 ราย/เดือน) 240 230 220 210 2554
263 ราย (เฉลี่ย 22 ราย/เดือน)
2555
- 241 -
259 ราย (เฉลี่ย 22 ราย/เดือน)
2556
ปีงบประมาณ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
แผนภูมิที่ 9.14 ผู้ป่วยที่ตรวจด้วยเครื่องรังสีศัลยกรรม แบ่งตามรอยโรคในส่วนต่างๆ ปีงบประมาณ 2556 Lung 1.84% (5 ราย)
Live 0.74% (2 ราย)
Prostate 1.84% (5 ราย)
Spine 4.03% (11 ราย)
อื่นๆ 0.74% (2 ราย)
NPC 1.47% (4 ราย) Brain 89.34% (243 ราย)
แผนการดําเนินงานปี 2557 เพื่ อ ให้ ก ารดํ าเนิ น งานของศู น ย์ ฯ เป็ น ไปตามแผนยุ ท ธศาสตร์ RAMA scorecard ระดั บ คณะฯ ศูนย์ฯ จึงมีแผนงานตาม Action Plan ดังนี้ 2.1 ของบประมาณเพื่อจัดหาทดแทนเครื่องรังสีศัลยกรรม X-Knife 200,000,000 บาท 2.2 ให้บริการผู้ป่วยแบบ One stop service 2.3 ศึกษาความเป็นไปในการจัดทําระบบฐานข้อมูล 2.4 เพิ่มจํานวนผู้ป่วยที่เข้ารับการบริการ 350 รายต่อปี กิจกรรม
2557
1. จัดหาเครื่องมือ 1.1 ดําเนินงานของบประมาณ 1.2 จัดหาเครื่องทดแทนเครื่องมือเดิมที่หมดอายุ 1.3 จัดซื้อเครื่องมือและติดตั้งเครื่องมือ 1.4 ฝึกอบรมบุคลากรในการใช้เครื่องมือใหม่ 1.5 เปิดให้บริการ การรักษาแบบครบวงจร 2. กิจกรรมทางวิชาการ 2.1 จัดการอบรม Refresher Course for Medical Physicist and Radiotherapist ในงานรังสีรกั ษา 2.2 จัดการประชุมแบบ Tele conference เพื่อการ ส่งต่อผู้ป่วยระดับประเทศ 2.3 จัดการประชุม Radiosurgery ระดับชาติ - 242 -
ปีงบประมาณ 2558 2559 2560
2561
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
กิจกรรม
2557
ปีงบประมาณ 2558 2559 2560
2561
2.4 จัดทํา Radiosurgery Training Center ในประเทศ 2.5 เปิด Radiosurgery Training Center ในกลุ่ม ประเทศอาเซียน 3. กิจกรรมการบริการผู้ป่วย 3.1 ให้บริการผู้ป่วยแบบ One stop service 3.2 จัดหาเตียงเพื่อ Admit ผู้ป่วยที่จําเป็น 3.3 จัดหาที่พักที่เหมาะสมสําหรับผู้ป่วยและญาติที่อยู่ไกล 3.4 อํานวยความสะดวกในการหายานพาหนะในการ เดินทางสําหรับผู้ป่วยที่ต้องการ 4. ระบบฐานข้อมูล 4.1 ศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดทําระบบ 4.2 ดําเนินการของบประมาณ 4.3 จัดซื้อจัดจางผู้รับจ้างวางระบบ 4.4 ดําเนินการเปิดใช้งาน
ศูนย์ไตเทียม โครงการไตเที ยม เปิ ดให้ บริการตั้ งแต่ ปี พ.ศ. 2537 ในศู นย์ การแพทย์ สิ ริกิ ติ์ ปั จจุ บั นให้ บริ การการ บําบัดรักษาทดแทนไตด้วยเครื่องไตเทียมและเทคโนโลยีขั้นสูง ทั้งหมด 12 เตียง แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1. ผู้ป่วยนอก Chronic Hemodialysis unit สําหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง เปิดให้บริการวันจันทร์ - เสาร์ จํานวน 8 เตียงต่อรอบ วันละ 3 รอบ ให้บริการได้ 24 คนต่อวัน ซึ่งมุ่งเน้นให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีชีวิต ยืนยาวโดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การรักษาให้ได้มาตรฐานเทียบเท่าสากล เตรียมพร้อมที่จะปลูกถ่ายไตใหม่ ซึ่งใน ปีงบประมาณ 2556 มีผู้ป่วยเข้ารับบริการ 7,088 ครั้ง 2. ผู้ป่วยใน Acute Kidney Injury Unit สําหรับผู้ป่วยไตวายเฉียบพลันและผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ฟอกเลือด ในห้องไตเทียม เปิดให้บริการวันจันทร์ - เสาร์ จํานวน 4 เตียงต่อรอบ วันละ 3 รอบ ให้บริการได้ 36 คนต่อวัน สําหรับผู้ป่วย AKI ที่มีปัญหาซับซ้อนและมีอวัยวะล้มเหลวหลายอวัยวะ เช่น หัวใจล้มเหลว ตับล้มเหลว ซึ่ง ในปีงบประมาณ 2556 มีผู้ป่วยเข้ารับบริการ 4,310 ครั้ง ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตต่างๆ จะได้รับการบําบัดรักษาทดแทนไตด้วยเครื่องไตเทียม ให้บริการฟอกเลือดตลอด 24 ชม. ในทุกวันไม่เว้นวันหยุด ภายในหอผู้ป่วยวิกฤตต่างๆ เช่น ICU ศัลยกรรม ICU CVT Burn Unit และ ICU 4IK ซึ่งนอกจากการทํ า HD แล้วก็มีการทํา SLED CRRT Plasmapheresis และ Double filtration plasmapheresis หน่ ว ยไตเที ย มเป็ น สถานที่ ฝึ ก ปฏิ บั ติ ข องแพทย์ ป ระจํ า บ้ า นอายุ ร ศาสตร์ โรคไต และพยาบาล ไตเทียม ในด้านการเรียนการสอนในภาคปฏิบัติ ซึ่งการร่วมกันดูแลผู้ป่วยที่บําบัดทดแทนไตด้วยเครื่องไตเทียม - 243 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โดยทีมแพทย์ พยาบาล และทีมสหสาขา ซึ่งประกอบด้วยทีมเภสัชกร โภชนากร เป็นปัจจัยสําคัญที่ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการรักษาผู้ป่วย ทําให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และลดอัตราการพิการ ส่งเสริมอัตราการอยู่รอด โดยการกําหนดเป้าหมายร่วมกัน ดังนี้ 1. มีการประชุมร่วมกันระหว่างแพทย์ และพยาบาล รวบรวมปัญหา และปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วยแต่ละราย 2. มีการกําหนดดัชนีชี้วัดร่วมกัน เพื่อเป็นแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาผู้ป่วยแต่ละราย 3. มีระบบเจ้าของไข้ทั้งอาจารย์แพทย์ ผู้ช่วยอาจารย์แพทย์ และพยาบาล 4. จัดทําแนวทางในการปฏิบัติต่างๆ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ จากการฟอกเลือดและ ลดอัตราการเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล รวมถึงการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยในการดูแลตนเอง 5. นําปัญหาที่เกิดมาวิเคราะห์ร่วมกัน และปรับแนวทางแก้ไข ด้านการจัดกิจกรรมให้ความรู้เป็นผู้ป่วยไตวายเรื้อรังเป็นรายบุคคลร่วมกับการวางแผนการให้ความรู้ ครอบคลุมในด้านพฤติกรรม การดูแลตนเองทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านการรับประทานอาหาร 2. ด้านการ รับประทานยา 3. ด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน 4. ด้านการดูแลหลอดเลือด 5. ด้านการดูแลทางด้าน อารมณ์ การตรวจติดตามผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนการรักษาทั้งทางยาและการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเพื่อให้ ผู้ป่วยมีชีวิตที่ยืนยาว และคุณภาพชีวิตที่ดี โดยใช้ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ตามเกณฑ์มาตรฐานสากล ซึ่งประกอบด้วยตัวชี้วัด 10 รายการดังต่อไปนี้ 1. KT/V ≥ 2.0 (HD 2 ครั้ง/week) 6. Albumin ≥ 35 g/l KT/V ≥ 1.2 (HD 3 ครั้ง/week) 7. Inorganic Phosphate < 5.5 mg/dl 2. nPCR ≥ 1.0 8. Calcium x phosphate product < 60 3. Hemoglobin 11-12 g/dl 9. PTH < 800 pg/ml 4. CRP ≤ 3 mg/l 10. ได้รับการปลูกถ่ายไตภายใน 5 ปี 5. Ferritin level 200-500 ng/ml จัดทําการวัดอัตราการอยู่รอดของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดที่หน่วยไตเทียมศูนย์การแพทย์ สิริกิติ์ พบว่า อัตราการอยู่รอดของผู้ป่วยที่ 5 ปี อยู่ที่ร้อยละ 77 และที่ 10 ปี อยู่ที่ร้อยละ 61 (แผนภูมที่ 9.15) ซึ่งสูงกว่าอัตราการอยู่รอดของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีอัตรา การอยู่รอดของผู้ป่วยที่ 5 ปี อยู่ที่ร้อยละ 35 (ข้อมูลจาก USRDS ปีค.ศ. 2012)
- 244 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
แผนภูมิที่ 9.15 อัตราการอยู่รอดของผู้ป่วยไตเทียมที่ได้รับการฟอกเลือดที่หน่วยไตเทียม ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์
แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 การวางแผนที่จะคงมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยเพื่อให้มีชีวิตยืนยาว รวมถึงคุณภาพชีวิตที่ดี ประกอบกับ การดู แ ลด้ ว ยสหสาขาวิ ช าชี พ คื อ มี ก ารให้ คํ า แนะนํ า ด้ า นโภชนาการโดยโภชนากรผู้ เ ชี่ ย วชาญ และมีทีมเภสัชกรช่วยดูแลเรื่องการใช้ยาให้ถูกต้องตามแพทย์สั่งในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง เพื่อลดภาวะแทรก ซ้อนต่างๆ จากการฟอกเลือดและลดอัตราการเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ทางหน่วยอายุรศาสตร์โรคไต และศูนย์ไตเทียมยังมีโครงการร่วมกับโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ในการผลิตพยาบาลผู้เชี่ยวชาญไตเทียม เพิ่มเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากร และรองรับการขยายงานในอนาคต
ศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะ รับผิดชอบงานปลูกถ่ายอวัยวะ ได้แก่ ปลูกถ่ายตับและปลูกถ่ายไตทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ของคณะฯ ซึ่ง ครอบคลุมการดูแลผู้ป่วยอย่างครบวงจรทั้งก่อนและหลังปลูกถ่ายอวัยวะ และรองรับการปลูกถ่ายอวัยวะ อื่นๆ ที่เกิดขึ้นภายหลัง เช่น การปลูกถ่ายหัวใจและปอด เป็นต้น บริหารจัดการโดยคณะกรรมโครงการ ปลูกถ่ายอวัยวะ ซึ่งประกอบด้วย ตัวแทนจากสหสาขาวิชาชีพจากหลายหน่วยงานและทีมงานสนับสนุน โครงการปลูกถ่ายไตและโครงการปลูกถ่ายตับ เริ่มดําเนินการปลูกถ่ายอวัยวะ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2529 และมีผลงานด้านบริการ ด้านวิจัย และด้านบริการวิชาการ เป็นที่ยอมรับจากส่วนงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สภากาชาดไทย สมาคมปลูกถ่ายอวัยวะ กองทุนต่างๆ (สปสช. ประกันสังคม และกรมบัญชีกลาง) โดยทั้ง เกิดจากความร่วมมือของอาจารย์แพทย์หลายภาควิชาและหน่วยสนับสนุน และยังมีการเรียนการสอนแก่ นักศึกษาแพทย์/แพทย์ ทั้งระดับก่อนและหลังปริญญา - 245 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ผลการดําเนินงานหรือสถิติการปลูกถ่ายตับที่ผ่านมา การปลูกถ่ายตับจากพ่อแม่สู่ลูกในเด็ก ปี พ.ศ. จํานวนผู้ป่วยรับการปลูกถ่ายตับ จํานวนผู้ป่วยเสียชีวิต 2555 15 1 2554 12 1 2553 11 0 การปลูกถ่ายตับในผู้ใหญ่ ปี พ.ศ. จํานวนผู้ป่วยรับการปลูกถ่ายตับ จํานวนผู้ป่วยเสียชีวิต 2555 6 0 2554 10 0 2553 6 2 อัตราผู้ป่วยที่มีชีวิตหลังปลูกถ่ายตับ > 1 ปี อัตราผูป้ ่วยมีชีวิต เป้าหมาย 2552 2553 2554 2555 เด็ก > ร้อยละ 80 100 100 91.7 93.3 ผู้ใหญ่ > ร้อยละ 80 84.6 66.7 90.0 100 ผลการดําเนินงานหรือสถิติการปลูกถ่ายไต ปี พ.ศ. จํานวนผู้ป่วยรับการปลูกถ่ายไต 2555 118 2554 111 2553 106 Graft Survival 1 year พ.ศ. ชนิด เป้าหมาย 2552 2553 2554 2555 LRKT > ร้อยละ95 95.8 98.8 98.3 98.4 DDKT > ร้อยละ 85 88.2 96.0 98.1 96.4 แผนงาน/โครงการปีงบประมาณ 2557 1. ส่งเสริมการให้ความรู้และทําความเข้าใจกับประชาชนเพื่อการบริจาคอวัยวะเพื่อทําการปลูกถ่าย อวัยวะให้มีจํานวนมากขึ้น 2. เพิ่มจํานวนผู้บริจาคอวัยวะที่สามารถนําอวัยวะมาใช้ในการปลูกถ่ายอวัยวะได้ โดยประสานงาน กับศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 3. ประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้มีการบริจาคอวัยวะเพื่อทําการปลูกถ่ายอวัยวะ ให้ มีจํานวนมากขึ้น - 246 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ศูนย์ส่องกล้องระบบทางเดินอาหารและห้องปฏิบัติการประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว (Gastrointestinal Endoscopy and Neurogastroenterology and Motility Study Center) งานบริการด้านการส่องกล้องตรวจโรคระบบทางเดินอาหารเป็นที่ต้องการของประชาชนมากขึ้นทั่วโลก องค์ความรู้ตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์ก็มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ความต้องการในการผลิตบุคลากรที่มี ความเชี่ยวชาญในการให้บริการด้านงานส่องกล้องเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย จะเห็นได้ว่าโรงเรียนแพทย์และ สถาบันทางการแพทย์ที่มีชื่อเสียงทั่ วโลก รวมทั้งในประเทศไทย ทั้งที่สังกัดภาครัฐและภาคเอกชนต่าง พยายามจัดตั้งศูนย์ส่องกล้อง เพื่อให้บริการผู้ป่วยดีขึ้น รวมทั้งจัดให้มีการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน งานส่องกล้อง คณะฯ มีพันธกิจในการผลิตบัณฑิตทั้งระดับปริญญาและหลังปริญญา และด้านการบริการที่ เน้น การบริการในระดั บ ตติยภูมิ ตลอดจนการผลิต ผลงานวิจัยที่ ช่วยในการแก้ปั ญ หาสาธารณสุข ของ ประเทศ การมีศูนย์ส่องกล้องและห้องปฏิบัติการโรคระบบทางเดินอาหาร นอกจากเพื่อตอบสนองพันธกิจ ทั้ง 3 ด้านของคณะฯ และทํ าให้ เกิ ดความร่วมมือกันระหว่างอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ มีการแบ่ งปั น ทรัพยากรเพื่อให้การใช้ทรัพยากรคุ้มค่ายิ่งขึ้น ยังทําให้คณะฯ สามารถให้บริการผู้ป่วยระดับตติยภูมิชั้นสูงด้วย เครื่องมือทางการแพทย์ที่ทันสมัย ภาควิชาใดภาควิชาหนึ่งจะสามารถของบประมาณเพื่อซื้อเครื่องมือได้ ทําให้การฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านและแพทย์ประจําบ้านต่อยอดพัฒนาไปสู่มาตรฐานที่สูงขึ้น สามารถจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งด้านกว้างและลึกในสาขาวิชาของโรคระบบทางเดินอาหารมากขึ้น การพัฒนาระยะต่อไปสู่การเป็นศูนย์เพื่อความเป็นเลิศแบบครบวงจรที่ดีที่สุดในประเทศไทยและทัดเทียม กับโรงพยาบาลชั้นนําในภูมิภาคเอเชีย วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการด้านงานส่องกล้องทางเดินอาหารที่ซับซ้อน รวมทั้งการตรวจ ทางห้องปฏิบัติการด้านประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย และนําไปสู่ผลการรักษาที่เป็นเลิศ 2. เป็นแหล่งเรียนรู้ของผู้เข้าอบรมในหลักสูตรแพทย์ประจําบ้านอายุรศาสตร์ทั่วไป อายุรศาสตร์ต่อยอด โรคระบบทางเดินอาหาร ศัลยศาสตร์ทั่วไป ศัลยศาสตร์โรคตับ ทางเดินน้ําดีและตับอ่อน กุมารเวชศาสตร์ โรคระบบทางเดินอาหาร 3. ร่วมเป็นแหล่งผลิตพยาบาลเฉพาะทางด้านการส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร และผู้ช่วยส่องกล้อง ระบบทางเดินอาหาร 4. ให้การฝึกอบรม/ดูงานให้กับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ด้านงานส่องกล้องทางเดินอาหารและ การตรวจทางห้องปฏิบัติการด้านประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว เพื่อให้ผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมมี ความรู้ความสามารถที่ครอบคลุมการใช้เครื่องมือและทักษะตั้งแต่ขั้นพื้นฐานจนถึงขั้นสูง 5. บริหารจัดการให้การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจํากัดเกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งทรัพยากรบุคคลและเครื่องมือ 6. เพื่อพัฒนาให้เป็นศูนย์ฝึกอบรมด้าน GI endoscopy ในประเทศ และในภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ในอนาคต 7. เป็นแหล่งผลิตงานวิจัย - 247 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ผลการดําเนินงาน/สถิติงานที่ผ่านมา สถิติผู้ป่วยได้รับการส่องกล้องระบบทางเดินอาหารในช่วงปีงบประมาณ 2553 และ 2554 ยังไม่ได้ใช้ พื้นที่ส่องกล้องที่ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ หน่วยส่องกล้องที่อาคารศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ เริ่ม เปิ ดดําเนิ นการ 12 ตุ ล าคม 2554 ในช่ วงแรกภาควิชาศั ลยศาสตร์ยังไม่ได้ใช้ห้ องส่องกล้องที่ ศูน ย์ การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์อย่างเต็มที่ อันเนื่องมาจากความไม่พร้อมของสถานที่เอง รวมทั้งปัญ หา จํานวนบุ คลากรไม่ เพียงพอ และอยู่ในระหว่างดําเนิ นการขอกรอบอัตรากําลังและรับบุ คลากรเพิ่ มเติ ม ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2555 จึงใช้แต่บุคลากรภาควิชาอายุรศาสตร์ในการดําเนินการ อย่างไรก็ ตามได้มีการเปิดให้บริการแก่ผู้ป่วยภาควิชาอายุรศาสตร์ทั้งหมด ผู้ป่วยบางส่วนจากภาควิชาศัลยศาสตร์ (ประมาณร้อยละ 27) และภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ดังตารางข้างล่าง รายงานสถิติย้อนหลัง 3 ปี จําแนกตามภาควิชา ปีงบประมาณ 2553 2554 2555
อายุรศาสตร์
ศัลยศาสตร์
กุมารเวชศาสตร์
สามัญ/พิเศษ พรีเมี่ยม สามัญ/พิเศษ พรีเมี่ยม สามัญ/พิเศษ พรีเมี่ยม
3,179 3,520 3,705
0 43* 771
2,241 2,241 2,925**
0 0 53
282 237 243
0 0 17
รวม 5,702 6,041 7,714
* ผู้ป่วยพรีเมี่ยมรับการส่องกล้องที่ห้องส่องกล้องที่ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ เนื่องจากขณะนั้นห้องส่องกล้องที่ศูนย์การแพทย์ สมเด็จพระเทพรัตน์ยังไม่เปิดใช้งาน ** ผู้ป่วยส่องกล้องที่ห้องส่องกล้องศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ 755 ราย ที่เหลืออีก 2,170 ราย กล้องในห้องผ่าตัด อาคารโรงพยาบาลรามาธิบดี
ผู้ป่วยพรีเมี่ยมในปี 2555 รับการส่องกล้องที่ห้องส่องกล้องศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ หลังจาก ห้องส่องกล้องที่ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์เปิดดําเนินการประมาณเดือนพฤษภาคม 2555 เป็นต้นมา ได้พัฒนาไปสู่การจัดตั้งให้เป็นศูนย์เพื่อความเป็นเลิศ และจะดําเนินการเป็นศูนย์เพื่อความเป็นเลิศเต็มรูปแบบ ภายหลังได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเป็นศูนย์เพื่อความเป็นเลิศจากคณะฯ และมีการแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฯ แล้ว แผนงาน/โครงการปีงบประมาณ 2557 1. ฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านต่อยอดอายรศาสตร์โรคทางเดินอาหาร 2. ฝึกอบรมการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร 3. ให้บริการผูป้ ่วยด้านการส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร และด้านประสาทการเคลื่อนไหวของ ทางเดินอาหาร 4. จัดประชุมเชิงปฎิบัติการด้านการส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร 5. ผลิตงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร
- 248 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
โครงการพัฒนาต้นแบบระบบอาหารสุขภาพและระบบเกษตรกรรมยั่งยืนระดับองค์กร (Organization - supported Agriculture System] คณะฯ ริเริ่มโครงการด้านการเกษตร โดยมีเป้าหมายหลักที่จะนําผลิตผลที่เพาะปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี ทั้ง ปุ๋ยและยาฆ่าแมลง เพื่อนํามาใช้ปรุงอาหารของฝ่ายโภชนาการของคณะฯ บนพื้นที่ที่ได้รับบริจาคมาจาก คุณสุมณี ราญรอนอริราช มาตั้งแต่ปีพ.ศ.2548 ณ ตําบลหนองสามวัง อําเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี รังสิต – นครนายก คลอง 13 ในเนื้อที่ 30 ไร่ เป็นการดําเนินงานเรื่องอาหารที่ครบวงจร ตั้งแต่แหล่งผลิต การนําเข้าสู่โรงพยาบาล การปรุงอาหาร และนําสู่ผู้ป่วยรวมถึงบุคลากร เพื่อให้มีอาหารที่ปลอดภัย รวมทั้ง มุ่งสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี นําไปสู่สุขภาพที่ดีของผู้ป่วย บุคลากร เกษตรกร และชุมชน โดยได้รับงบประมาณ สนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พื้นที่ที่ดําเนินการ มีลักษณะสี่เหลี่ยม ผืนผ้าหน้าติดถนนยาวไปจรดคลองอีกด้านหนึ่ง (38 x 1,225 เมตร) มีน้ําพอเพียง จากคลองรพีพัฒน์ เมื่อ พ.ศ.2554 น้ําไม่ท่วม สภาพดินมีผู้เคยเช่าทํานาและใช้สารเคมีมาตลอด ที่ดินบางส่วนที่ถมไว้ใช้เป็นพื้นที่ริเริ่ม ปลูกพืชผัก มีสภาพดินไม่ดี (ความเป็นกรด 2.2 และเค็มจัด) ต้องมีการปรับปรุงสภาพดิน และทําปุ๋ยหมักไว้ ใช้ ช่วงเริ่มต้นโครงการ ชาวบ้านในชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงต่างกล่าวว่า ไม่น่าจะสามารถใช้การปลูกพืชแบบ อินทรีย์ได้ และกล่าวถึงกรณีตัวอย่างในพื้นที่ใกล้เคียงว่าไม่สามารถทําได้สําเร็จ เริ่มต้นปลูกพืชผักในปลาย เดือนมกราคม พ.ศ.2556 โดยมีทีมปราชญ์ชาวบ้านจากอีสาน นําโดยพ่อคําเดื่อง ภาษีมาช่วยดําเนินการทํา เกษตรแบบประณีต ที่ผสมผสาน เกษตรแบบพอเพียง เกษตรธรรมชาติ เกษตรอินทรีย์ ในการใช้เนื้อที่ให้ เกิดประโยชน์สูงสุด ในปีที่ 1 นี้ดําเนินการในพื้นที่ประมาณ 2 - 3 ไร่ มีการปลูกไม้ยืนต้น ไม้ผล และผัก เดือนพฤษภาคม 2556 เริ่มมีผลผลิตสู่ครัวรามาธิบดี เนื่องจากต้องมีการเรียนรู้สภาพดิน น้ํา แมลงศัตรูพืช มีการทําโรงเพาะเห็ด ขุดบ่อน้ํา เลี้ยงปลาด้วย ณ เดือนกันยายน พ.ศ.2556 มีผลผลิตส่งเข้าครัวรามาธิบดี ประมาณ 14 ครั้ง ในส่วนโภชนบริการสําหรับบุคลากร นักศึกษาและปรุงจําหน่าย เนื่องจากยังมีปริมาณน้อย และระบุชนิดและปริมาณ ล่วงหน้าไม่ได้ชัดเจน มีการแปรรูปอาหารบางส่วน มีไม้ยืนต้นและไม้ผลประมาณ อย่างละ 10 ชนิด โครงการมีที่ปรึกษาหลักที่สําคัญคือนายแพทย์อภิสิทธิ์ ธํารงวรางกูร ผู้อํานวยการโรงพยาบาลอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน/องค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอื่นๆ อาทิ โครงการ ลูกพระดาบส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (คณะเกษตรศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะสถาปัตยกรรม) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดปทุมธานี กรมประมง เกษตรจังหวัดปทุมธานี เกษตรอําเภอหนองเสือ กรมพัฒนาที่ดิน) และบุคคลต่างๆอีกมาก แผนงาน/โครงการปีงบประมาณ 2557 โครงการยังคงดําเนินการต่อไป และมีแนวทางในการพัฒนาปรับปรุง ในปีที่ 2 มุ่งเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน ให้มีความสะดวกในการทํางานเพิ่มขึ้น อาทิ ถนนเข้าพื้นที่ คันดินที่ใช้เป็นทางขนส่งอุปกรณ์และผลผลิต ศาลาเอนกประสงค์ ขยายการเพาะปลูกให้เต็มพื้นที่ ปลูกข้าว และจัดระบบการขนส่งสู่ครัวรามาธิบดี การ สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานและองค์กรต่างๆเพิ่มขึ้น รวมทั้งการเตรียมบุคลากรที่จะรับถ่ายทอดงานต่อไป - 249 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
การเข้าร่วมการปฏิบตั ิภารกิจของสํานักราชเลขาธิการและมูลนิธิพระดาบส วันที่ออกหน่วย
สถานที่ออกหน่วย
หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ร่วมกับมูลนิธิพระดาบส 6 ตุลาคม 2555 จังหวัดอุบลราชธานี 7 ตุลาคม 2555 จังหวัดศรีสะเกษ 30 มีนาคม 2556 จังหวัดชัยภูมิ 31 มีนาคม 2556 จังหวัดนครราชสีมา 28 กรกฎาคม 2556 จังหวัดกาญจนบุรี หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ร่วมกับสํานักราชเลขาธิการ 18 ตุลาคม 2555 จังหวัดอํานาจเจริญ 19 ตุลาคม 2555 จังหวัดร้อยเอ็ด 14 ธันวาคม 2555 อําเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 15 ธันวาคม 2555 อําเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ 23 กุมภาพันธ์ 2556 จังหวัดอุทัยธานี 24 กุมภาพันธ์ 2556 จังหวัดชัยนาท 22 เมษายน 2556 จังหวัดสมุทรปราการ 24 เมษายน 2556 จังหวัดสมุทรสาคร 25 พฤษภาคม 2556 จังหวัดฉะเชิงเทรา 26 พฤษภาคม 2556 จังหวัดชลบุรี 20 มิถุนายน 2556 จังหวัดนนทบุรี 27 มิถุนายน 2556 จังหวัดปทุมธานี 17 กรกฎาคม 2556 จังหวัดพิจิตร
- 250 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
วันที่ออกหน่วย
รายงานประจําปี 2556
สถานที่ออกหน่วย
18 กรกฎาคม 2556
จังหวัดนครสวรรค์
9 สิงหาคม 2556 10 สิงหาคม 2556 11 กันยายน 2556 12 กันยายน 2556
อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน จังหวัดมหาสารคาม
- 251 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บทที่ 10 มูลนิธิรามาธิบดี มูลนิธิรามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพันธกิจหลัก ในการเป็นศูนย์กลางการเผยแพร่ การระดมทุน การรับบริจาค การบริหารจัดการกองทุนและโครงการพิเศษ สนับสนุนการทํางานของทุกฝ่ายผ่านกระบวนการที่โปร่งใสและถูกต้อง เพื่ อประโยชน์สูงสุดที่ก่อให้เกิด สาธารณประโยชน์ต่อสังคมด้านสุขภาพของคนไทยอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ มูลนิธิรามาธิบดีฯ เป็นองค์กรการกุศลในดวงใจของคนไทย เป็นสื่อกลางให้คนไทยมีสุขภาพที่ดีอย่าง ยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีในทุกพันธกิจ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การป้องกันปัญหาสุขภาพ การ รักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพของประชาชน 3. ส่งเสริมและสนับสนุนสวัสดิการของบุคลากรและนักศึกษาของคณะฯ 4. เพื่อดําเนินการหรือร่วมมือกับองค์กรการกุศลอื่นๆ เพื่อสาธารณประโยชน์ การดําเนินงาน มูลนิธิรามาธิบดีฯ ได้นําเงินที่ได้รับจากการบริจาคและการระดมทุนผ่านกิจกรรมต่างๆ มาจัดสรร เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามทุกพันธกิจของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี กิจกรรมระดมทุน 1. งานแถลงข่าวเปิดตัวโครงการพัฒนาอาคารและจัดหาเครื่องมือแพทย์เพื่อผู้ป่วยยากไร้ และ กิจกรรมรวมพลังอาสา ครั้งที่ 3 โดยมี ศ.นพ.วินิต พัวประดิษฐ์ ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิรามาธิบดีฯ เป็นประธาน พร้อมด้วย รศ.ธันย์ สุภัทรพันธ์ ศ.อร่าม โรจนสกุล คุณ วลีรัตน์ สิงคิวิบูลย์ คุณ มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช คุณชนิตา ปรีชาวิทยากุล และคุณสิรินภา รักษาบุญ ในฐานะผู้มีประสบการณ์ตรงกับ โรงพยาบาลรามาธิบดีร่วมสนทนาในหัวข้อเรื่อง "ชีวิตใหม่...ให้ได้ไม่สิ้นสุด" และกิจกรรมรวมพลังอาสาขายเสื้อ คําว่าให้...ไม่สิ้นสุด โดยคุณเชียร์ ฑิฆัมพร 21 มีนาคม 2556 ณ ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
- 252 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
2. งานถ่ายทอดสด “หนึ่งนาใจล้านคาขอบคุณ” ครังที่ 6 ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่อง 3 เพื่อ ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ผู้มีจิตศรัทธาและประชาชนทั่วไปได้ร่วมบริจาคเงินสมทบทุนโครงการพัฒนาอาคาร และจัดหาเครื่องมือแพทย์เพื่อผู้ป่วยยากไร้ โรงพยาบาลรามาธิบดี 27 เมษายน 2556
3. งานกาล่าดินเนอร์การกุศล “บรมราชกุมารี ผู้ทรงให้ไม่สินสุด” เพื่อระดมทุนโครงการพัฒนาอาคาร และจัดหาเครื่องมือแพทย์เพื่อผู้ป่วยยากไร้ โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยมีการแสดงดนตรีจากแพทย์ และนักศึกษา แพทย์ รวมถึงการแสดงจากศิลปินจิตอาสา คุณเจนนิเฟอร์ คิ้ม 24 มีนาคม 2556 เวลา 18.30 - 21.00 น. ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมแชงกรี-ลา
4. งาน “ราชอิสริยาภรณ์ คุณากรการให้...ไม่สินสุด” ประจาปี 2556 เป็นพิธีแสดงความยินดีกับ ผู้บริจาคที่ได้รับมอบเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ซึ่งได้ร่วมบริจาคให้มูลนิธิ รามาธิบดีฯ 16 มิถุนายน 2556 ณ ห้องประชุมอรรถสิทธิ์ ชั้น 5 อาคารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์
กิจกรรมเพื่อสังคมการระดมทุนโดยความร่วมมือกับพันธมิตร 1. งานแถลงข่าวโครงการ “อิ่มบุญ อิ่มใจ กับผ้าอ้อมผู้ใหญ่เซอร์เทนตี” จัดขึ้นโดยบริษัท ดีเอสจี อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ผู้ผลิตผ้าอ้อมสาเร็จรูปสาหรับผู้ใหญ่ “เซอร์เทนตี้” เพื่อ นารายได้ส่ วนหนึ่งจากการจัดจาหน่ ายผลิตภัณ ฑ์ และการกดไลค์ผ่านเฟซบุ๊คเซอร์เทนตี้ มอบให้มูลนิ ธิ รามาธิบดีฯ เพื่อสนับสนุนและช่วยเหลือผู้ป่วยสูงวัยโรงพยาบาลรามาธิบดี 12 มิถุนายน 2556 ณ ศูนย์ การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
- 253 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
2. งานแถลงข่าวโครงการวาโก้โบว์ชมพู ร้อยใจให้...ไม่สิ้นสุด ปีที่ 3 โดยบริษัทไอ.ซี.ซี.อินเตอร์ เนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) ร่วมกับบริษัทเซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) จัดกิจกรรมเพื่อมอบรายได้ ร้อยละ 10 จากยอดจําหน่ ายผลิตภั ณ ฑ์ สมทบทุ นช่วยเหลือโครงการเพื่อผู้ ป่วยยากไร้ โรงพยาบาลรามาธิบดี 21 พฤษภาคม 2556 ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์
3. กิจกรรม “Oops! Meet&Greet” จัดโดยนิตยสารบันเทิง Oops! ในเครือบริษัทโพลีพลัสจํากัด เพื่อนํารายได้จากการประมูลของดารา และการขายบัตรเล่นเกมส์ มอบสมทบทุนมูลนิธิรามาธิบดีฯ 30 มีนาคม 2556 ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล ลาดพร้าว
4. กิจกรรมระดมทุน โดยบริษัทโทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (ดีแทค) เพื่อสมทบ ทุนโครงการพัฒนาอาคารและจัดหาเครื่องมือแพทย์เพื่อผู้ป่วยยากไร้ โดยมีกิจกรรม เดิน - วิ่งเฉลิมพระ เกียรติเนื่องในวันฉัตรมงคล การส่งข้อความเชิญชวนบริจาคผ่านระบบเอสเอ็มเอส และการจําหน่ายของที่ ระลึกภายในอาคารสํานักงาน
- 254 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
5. โครงการ Giving & Sharing by Tops Supermarket โดยบริษัทท็อปส์ซุปเปอร์มาร์เก็ต จํากัด จัดตั้งกล่องรับบริจาคทุกสาขาทั่วประเทศในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ได้เงินบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธาจํานวน 2,400,000 บาท และนําอาหารเครื่องดื่มมามอบให้แก่ผู้ป่วยโรงพยาบาลรามาธิบดี โดยได้เชิญ สมาชิก ครอบครัวคุนผลิน มาร่วมกิจกรรมดังกล่าวด้วย 13 มิถุนายน 2556 ณ ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
6. กิจกรรม "อิ่มท้อง พร้อมสู้ กับซูกิชิ" จัดขึ้นโดยร้านอาหารเกาหลีซูกิชิ มอบอาหารให้แก่ผู้ป่วย พร้อมจัดทําน้ําดื่มจํานวน 500,000 ขวด จําหน่ายในร้านอาหารและนํารายได้ส่วนหนึ่งมอบให้กับมูลนิธิ รามาธิบดีฯ 19 มิถุนายน 2556 ณ ชั้น 1 ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
7. กิจกรรม Mini Phenomenon 2013 โดยบริษัทมินิไทยแลนด์ จํากัด จัดงานเพื่อแปลตัวอักษร Long live the queen ด้ วยขบวนรถ Mini เพื่ อเทิ ดพระเกี ยรติ สมเด็ จพระนางเจ้าสิ ริกิ ติ์ พระบรมราชิ นี นาถ เฉลิมพระชนมพรรษา 81 พรรษา ภายในงานจําหน่ายเสื้อยืดเพื่อมอบรายได้หลังหักค่าใช้จ่ายสมทบทุม มูลนิธิรามาธิบดีฯ 20 กรกฎาคม 2556 ณ ริมทะเลสาบเมืองทองธานี
8. กิจกรรม “Vogue Fashion’s Night Out” โดยนิตยสารแฟชั่นชั้นนําโว้กจัดทําเสื้อยืดและ กระเป๋ าผ้ าคอลเลคชั่ น พิ เศษ จั ด จํ าหน่ ายในช่ วงการจั ด งาน นํ า รายได้ ห ลั งหั ก ค่ าใช้ จ่ า ยมอบให้ มู ล นิ ธิ รามาธิบดีฯ 27 – 28 กันยายน 2556 ที่ศูนย์การค้าสยามพารากอน เซ็นทรัลเวิลด์ สยามดิสคัฟเวอรี่ สยาม เซ็นเตอร์ และเซ็นทรัลชิดลม
- 255 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
9. กิ จ กรรม Hip Dining Hip Sharing by Greyhound Café ปี ที่ 3 29 ตุ ล าคม 2556 โดย ร้านอาหารเกรฮาวด์ คาเฟ่ 7 สาขาทั่วกรุงเทพฯ ร่วมกับบัตรเครดิตซิตี้แบงค์จัดกิจกรรมระดมทุน เพื่อ สนับสนุนโครงการพัฒนาอาคารและจัดหาเครื่องมือแพทย์เพื่อผู้ป่วยยากไร้ ตลอดเดือนกันยายน 2556 รวมทั้งมอบอาหารให้แก่ผู้ป่วยโรงพยาบาลรามาธิบดี
10. คุณเพ็ญพิมล เวศย์วรุตม์ บริจาครถบัสเล็กให้กับคณะฯ จํานวน 1 คัน ผ่านมูลนิธิรามาธิบดีฯ 11 ธันวาคม 2555 โดยมี รศ.นพ.ชาญยุทธ ศุภชาติวงศ์ เป็นตัวแทนคณะฯ เพื่อรับมอบ
กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมจิตอาสาโดยความร่วมมือจากศิลปิน นักแสดง และพิธีกรจากค่ายต่างๆ ร่วมกิจกรรมเยี่ยมผู้ป่วย พร้อมมอบอาหาร และขายของที่ระลึกตามสถานที่ต่างๆ อาทิ สยามพารากอน เซ็นทรัลเวิลด์ อาคารสํานักงาน เอไอเอส ธนาคารไทยพาณิชย์ เป็นต้น .
แผนงาน/โครงการปีงบประมาณ 2557 • ระดมทุนในการจัดซื้ออุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ที่ทันสมัย • สนับสนุนทุนการปรับปรุงและก่อสร้างอาคารสถานที่ในการให้บริการรักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วย • สนับสนุนทุนการศึกษาของนักศึกษาแพทย์และพยาบาล เพื่อเปิดโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริม การสร้างบุคลากรทาง การแพทย์ที่มีคุณภาพ • สนับสนุนด้านการค้นคว้าและวิจัยทางการแพทย์ในโครงการต่างๆ รวมถึงส่งเสริมการพัฒนา นวัตกรรมทางการแพทย์ เพื่อเป็นรากฐานที่ยั่งยืนในการรักษาและช่วยเหลือผู้ป่วยในอนาคต - 256 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บทที่ 11 สมาคมศิษย์เก่า/สภาอาจารย์/หอจดหมายเหตุและพิพธิ ภัณฑ์รามาธิบดี สมาคมศิษย์เก่าแพทย์รามาธิบดี 1. ทุนการศึกษาแก่นักศึกษาแพทย์ 90,000 บาท รวม 3 ทุน 2. การสนับสนุนกิจกรรมของนักศึกษาแพทย์ และศิษย์เก่า 1,218,967 บาท 2.1 สํารวจความคิดเห็นศิษย์เก่าที่สังกัดโรงพยาบาลชุมชนเกี่ยวกับการให้ความร่วมมือในการเป็นสถานที่ รองรับและให้การดูแลนักศึกษาเพื่อฝึกเวชปฏิบัติในรายวิชา Elective 2.2 การจัดแข่งขันกอล์ฟการกุศล โดยแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ 12 พฤศจิกายน 2555 ณ สนาม เดอะเลกาซี่ กอล์ฟคลับ 10,000 บาท 2.3 การแข่งขันโบว์ลิ่งการกุศล จัดโดยสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหิดล 20 ตุลาคม 2555 ณ บลูโอ เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ 3,000 บาท 2.4 โครงการค่ายรามาปณิธาน ครั้งที่ 18 ประจําปี 2555 26 - 28 ตุลาคม 2555 ณ คณะฯ และ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 30,000 บาท 2.5 การแข่งกอล์ฟการกุศล ประจําปี 2556 โดยสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัย 21 กุมภาพันธ์ 2556 10,000 บาท 2.6 งานคืนสู่เหย้า “MU Blue Night วันรวมใจมหิดล” 2 มีนาคม 2556 จัดโดย สมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยมหิดล 13,000 บาท 2.7 โครงการละครเวที “Rama D’RAMA” ครัง้ ที่ 6 10 - 12 พฤษภาคม 2556 ณ หอประชุมอารี วัลยะเสวี 10,000 บาท 2.8 สนับสนุนโครงการ Rama just a music ครั้งที่ 9 21 มีนาคม 2556 ณ หอประชุมอารี วัลยะเสวี จัดโดยชมรมดนตรีรามาธิบดี 20,000 บาท 2.9 เครื่องกรองน้ําหอพักแพทย์ประจําบ้าน 9 เครื่อง 77,040 บาท 2.10 การจัดทําจุลสารสมาคมศิษย์เก่าแพทย์รามาธิบดี 2 ครั้งๆ ละ 4,000 เล่ม 111,280 บาท 2.11 จัดงานคืนสู่เหย้าศิษย์เก่าแพทย์รามาธิบดี ประจําปี 2556 27 กรกฎาคม 2556 ณ อาคารเรียน และปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 299,300 บาท 2.12 การจัดงานดนตรีการกุศล “มหิดลหรรษาเริงร่ากับสุนทราภรณ์ ครั้งที่ 5” ปี 2556 จัดโดย สมาคม ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหิดล 28 เมษายน 2556 ณ โรงละครแห่งชาติ 7,500 บาท 2.13 งานพิธีกล่าวคําปฏิญาณตนของบัณฑิตแพทย์รามาธิบดี รุ่นที่ 43 และงานอวยพรบัณฑิตรามาธิบดี ปี 2556 1 - 3 กรกฎาคม 2556 20,000 บาท 2.14 การปรับปรุงห้องอเนกประสงค์ (Common room) ชั้น 2 หอพักนักศึกษาแพทย์ 20 พฤษภาคม ถึง 30 มิถุนายน 2556 307,785 บาท
- 257 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจาปี 2556
2.15 โครงการ Love forward ส่ ง ต่ อ ความรั ก จั ด โดยชมรมนั ก ศึ ก ษาแพทย์ ร ามาธิ บ ดี และ
คณะกรรมการนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 2 15 มิถุนายน 2556 ณ คณะฯ 30,000 บาท 2.16 โครงการค่าย Dreams come true สานฝันให้เป็นจริง จัดโดย คณะกรรมการชมรมสานฝันแพทย์ รามาธิบดี 29 - 30 มิถุนายน 2556 ณ โรงเรียนอนุบาลบางละมุง อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 15,000 บาท 2.17 การจัดทากระเป๋าสมาคมศิษย์เก่าแพทย์รามาธิบดี สาหรับคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ วาระปี 2553 - 2556 28,500 บาท 2.18 การจั ดท าบั ตรสมาชิ กสมาคมศิ ษ ย์ เก่ าแพทย์ รามาธิ บดี รุ่นที่ 1 - 43 และอาจารย์ แพทย์ อาวุ โส 77,682 บาท 2.19 จัดสุนทรียสนทนา ครั้งที่ 1 เรื่อง "แพทย์และ นศพ.รามาธิบดี ในเหตุการณ์ตุลาคม 2516 และ 2519 30 สิงหาคม 2556 ณ ห้องประชุม 907 ชั้น9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมฯ 27,900 บาท 2.20 ให้บริการด้านสิทธิและสวัสดิการ อานวยความสะดวกในด้านการรักษาพยาบาลแก่ศิษย์เก่าแพทย์ฯ และอาจารย์แพทย์อาวุโส 15 ครั้ง ได้แก่ การให้บริการนัดตรวจ การออกใบรับรอง เพื่อลดหย่อนค่ารักษา พยาบาล การแสดงความยินดีแด่อาจารย์แพทย์ศิษย์เก่าแพทย์ เนื่องในโอกาสต่างๆ การส่งพวงหรีด และ ร่วมงานสวดอภิธรรมศพ และญาติสายตรงศิษย์เก่าแพทย์รามาธิบดี เป็นเงิน 12,260 บาท
ปาฐกถา รจิต บุรี ครั้งที่ 24 ประจาปี 2556
งานคืนสู่เหย้าศิษย์เก่าแพทย์รามาธิบดี ประจาปี 2556
งานมุทิตาจิตเนื่องในโอกาสอายุครบ 60 ปี ศิษย์เก่า และอาจารย์แพทย์รามาธิบดีอาวุโส - 258 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
สมาคมศิษย์เก่าพยาบาลรามาธิบดี 1. กิจกรรมสนับสนุนการพยาบาล 1.1 จัดสรรให้เงินอุดหนุนโรงเรียนพยาบาลฯ ในการจัดทําวารสาร หนังสือรามาธิบดีพยาบาลสาร ประจําปี 2555 50,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) 1.2 งานปัจฉิมนิเทศนักศึกษาพยาบาลปีที่ 4 3 กรกฎาคม 2556 สมาคมฯ ได้จัดเตรียมพวงกุญแจ และหนังสือรามาธิบดีพยาบาลสาร แจกให้สมาชิกใหม่คนละ 1 ชุด 1.3 ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี มีนโยบายที่จะจัดสวัสดิการให้กับศิษย์เก่าของคณะฯ โดยสมาคมฯ ประสานงาน สืบค้น และจัดจ้างนักศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีที่ต้องการหารายได้พิเศษ เป็น เงิน 10,000 บาท (หนึ่ งหมื่ น บาทถ้ ว น) เพื่ อ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ชื่ อ -นามสกุ ล เลขบั ต รประชาชน และเลข ประจําตัวผู้ป่วย (HN) ศิษย์เก่าพยาบาลรามาธิบดี รวบรวมให้คณะฯ เพื่อจัดสวัสดิการให้กับศิษย์เก่า 1.4 กระทรวงสาธารณสุขมีหนังสือขอเชิญผู้แทนสมาคมฯ เข้าเป็นคณะทํางานจัดตั้งมูลนิธิรางวัลศรี สังวาล สําหรับมอบแก่พยาบาลดีเด่นทั่วประเทศ สมาคมฯ มีมติให้ ศาสตราจารย์ ดร.รุจา ภู่ไพบูลย์ เป็นผู้แทน พร้อมให้ การสนั บ สนุ น เงิน สมทบเพื่ อเป็ นทุ น ประเดิ ม ในการจั ดตั้ งมู ล นิ ธิ รางวั ลศรีสั งวาล 10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) 2. กิจกรรมสานสัมพันธ์สมาชิกสมาคมและสวัสดิการ 2.1 จัดของขวัญปีใหม่มอบให้กับอาจารย์อาวุโสและผู้มีอุปการคุณ ในวงเงินชิ้นละ 500 บาท (ห้าร้อย บาทถ้วน) มอบให้กับอาจารย์อาวุโส คือ รศ.สุจินต์ วิจิตรกาญจน์ รศ.สุปาณี เสนาดิสัย รศ.สุนทรี ภานุทัต ศ.ดร.สมจิต หนุเจริญกุล และอาจารย์อาวุโส 15 ท่าน 2.2 มอบไดอารีของสมาคมฯ ประจําปี 2556 180 เล่ม ให้เป็นที่ระลึกสําหรับนักศึกษาที่กําลังจะ จบการศึกษาในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต 2.3 ให้ความร่วมมือในการจัดและร่วมงาน MU Blue Night ประจําปี 2556 ของสมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยมหิดล 10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) 2.4 เข้าร่วมงานมุทิตาจิตของคณะฯ และมอบของที่ระลึกให้กับอาจารย์อาวุโส พร้อมรดน้ําขอพร เนื่องในวาระวันสงกรานต์ (ปีใหม่ไทย) 5 เมษายน 2556 รศ.สุจินต์ วิจิตรกาญจน์ รศ.สุปาณี เสนาดิสัย รศ.สุนทรี ภานุทัต ศ.ดร.สมจิต หนุเจริญกุล ผศ.สุธีรา อายุวัฒน์ อ.บุญเติม สัณฑมาศ 2.5 จัดของที่ระลึกในนามของสมาคมฯ มอบให้กับบุคลากรผู้ครบเกษียณอายุราชการภายในคณะฯ ทั้งที่เป็นสมาชิกศิษย์เก่าและมิได้เป็นสมาชิก 28 ท่าน 10 – 11 กันยายน 2556 2.6 จัดของเยี่ยมไข้ให้กับศิษย์เก่าฯ ทุกท่าน ตามที่ได้รับแจ้งกรณี เจ็บป่วย ประสบอุบัติเหตุ และ คลอดบุตร 3. กิจกรรมวิชาการ 3.1 จัดประชุมวิชาการเรื่อง Common pitfalls in pediatric nursing in the 21st century ณ ห้องศรีสุริยวงศ์ ชั้น 11 โรงแรมตะวันนา ถนนสุรวงศ์ กรุงเทพมหานคร 27 - 28 มิถุนายน 2556 3.2 สนับสนุนทุนวิจัย องค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมการพยาบาล ทุนละ 3,000 บาท จํานวน 2 ทุน - 259 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
4. กิจกรรมช่วยเหลือสังคมและอื่นๆ 4.1 จัดหารายได้จากการให้เช่าบ้านพักตากอากาศของสมาคมฯ ที่ ต.บ่อฝ้าย อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ 4.2 จัดหารายได้โดยการขาย ไดอารี่ 2556 4.3 เป็นเจ้าภาพจัดพิธีทอดผ้าป่าสามัคคี ถวาย ณ วัดสังฆทาน จ.นนทบุรี 17 พฤศจิกายน 2555 4.4 มอบช่อดอกไม้ร่วมแสดงความยินดี น.ส.วิมลวัลย์ วโรฬาร ในโอกาสที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดํารง ตําแหน่งหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี 8 พฤศจิกายน 2555 4.5 จัดทัศนศึกษาทัวร์ 9 วัด จ.สุพรรณบุรี 22 ธันวาคม 2555 4.6 เข้าร่วมประชุมสามัญประจําปีของสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหิดล ที่ห้องประชุมคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 16 มีนาคม 2556 4.7 เข้าร่วมประชุมการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องสาขาพยาบาลศาสตร์และการบันทึกข้อมูล แก่ สถาบันหลักและสถาบันสมทบ 17 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุมราชนครินทร์ อาคารนครินทรศรี สภาการพยาบาล 4.8 ร่วมศึกษาดูงานที่สมาคมศิษย์เก่าแพทย์จุฬาฯ ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 3 มิถุนายน 2556 4.9 นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต เสนอโครงการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุบ้านบางแค โดยสมาคมฯ สนับสนุนเงิน 10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) และทางสมาคมฯ ยังให้การสนับสนุนขอรับบริจาคของใช้สําหรับผู้ใหญ่ ไปมอบแก่ผู้สูงอายุและร่วมงานกิจกรรมครั้งนี้ 4.10 สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหิดล จัดดนตรีการกุศล สมาคมฯ สนับสนุนการจัดดนตรีการกุศล “มหิดลเริงร่ากับสุนทราภรณ์” รับบัตรไว้ 2 ฉบับ เป็นเงิน 4,000 บาท (สี่พันบาทถ้วน) 4.11 จัดทําเข็มปักเนคไทด์ที่ระลึกของสมาคมฯ เพื่อเตรียมไว้สําหรับมอบให้สมาชิกในโอกาสต่างๆ 1,000 ชิ้น 4.12 สนับสนุนกิจกรรมแรลลี่การกุศล ของสมาคมศิษย์เก่าวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน) 4.13 สนั บ สนุ น การจั ดการแข่ งขั น โบว์ ลิ่ งการกุ ศ ล จั ดโดยสมาคมศิ ษ ย์ เก่ ามหาวิ ท ยาลั ย มหิ ดลฯ 3,000 บาท 4.14 ทําบุญวันครบรอบ 39 ปี ของการก่อตั้งสมาคมฯ ณ อาคารพิธีสงฆ์ โรงพยาบาลสงฆ์ พร้อมจัดพิธี บังสุกุลอุทิศส่วนกุศลให้กับ อาจารย์และสมาชิกศิษย์เก่าของสมาคมฯ ที่ล่วงลับไปแล้ว 6 กันยายน 2556
สภาอาจารย์รามาธิบดี กรรมการสภาอาจารย์ รามาธิ บ ดี ชุ ด ที่ 21 วาระ 4 กรกฎาคม 2556 – 31 มี น าคม 2557 13 คน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.ท.ภากร จันทนมัฎฐะ เป็นประธานฯ กิจกรรม 1. ร่ ว มกั บ มู ล นิ ธิ ร ามาธิ บ ดี ร่ ว มหาทุ น สร้ า งอาคารสมเด็ จ พระเทพรั ต น์ ฯ ในงาน “หนึ่ ง น้ํ า ใจ ล้านคําขอบคุณ ครั้งที่ 6” ณ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 - 260 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
2. ร่วมงานรายการพิเศษการกุศลโดยท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล ณ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่อง 9 (อสมท.) 3. ร่วมกับสื่อสารองค์กร จัดงานคณบดีพบชาวรามาธิบดี 27 กันยายน 2556 ณ หอประชุมอารี วัลยะเสวี ผลงาน 1. แพทยสภา เสนอชื่อสําหรับมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ อาจารย์แพทย์ และนิสิต นักศึกษาแพทย์ 2. เสนอชื่อผู้สมควรได้รับยกย่องเป็นอาจารย์ตัวอย่างของสภาคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหิดล ประจําปี 2556 ศาสตราจารย์วรชัย ศิริกุลชยานนท์ ภาควิชาพยาธิวิทยา ได้รับคัดเลือกเป็นอาจารย์ตัวอย่างสภา คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหิดล 3. เสนอชื่อผู้สมควรได้รับคัดเลือกแพทย์ดีเด่นจากแพทยสภา สภาอาจารย์รามาธิบดี ได้เสนอ รองศาสตราจารย์จักรพันธ์ เอื้อนรเศรษฐ ภาควิชาศัลยศาสตร์ 13 สิงหาคม 2556 4. เสนอชื่อผู้สมควรได้รับรางวัลสมเด็จพระวันรัต ของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ ได้เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์กําธร มาลาธรรม ภาควิชาอายุรศาสตร์ 25 กันยายน 2556) กรรมการภายในคณะฯ 1. ร่วมประชุมกรรมการประจําคณะฯ 2. กรรมการโครงสร้างคณะฯ 3. คณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือในการรักษาพยาบาล (คชร) 4. กรรมการงบประมาณของคณะฯ 5. กรรมการบริหารทรัพยากรอาจารย์แพทย์ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ร่วมกิจกรรมกับคณะฯ 1. ร่วมงานพิธีไหว้ครู ทุกปี 2. ร่วมงานมุทิตาจิต 3. ร่วมงานอวยพรบัณฑิต 4. ร่วมงานแสดงความยินดี และเชิดชูเกียรติให้แก่คณาจารย์ 5. ร่วมงานเกษียณอายุราชการของทุกปี 6. ร่วมจัดงานวันรามาสามัคคีประจําปี 2556 7. เป็นผู้อํานวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหิดล จากคณาจารย์ประจํา 8. เป็นผู้อํานวยการเลือกตั้งซ่อมกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล จากคณาจารย์ประจํา 9. เลือกตั้งคณะกรรมการต่างๆ ที่คณะฯ มอบหมาย 10. คณะกรรมการพัฒนาเว็บไซต์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
- 261 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
หอจดหมายเหตุและพิพธิ ภัณฑ์รามาธิบดี 1. พัฒนาปรับปรุงเว็บไซต์หอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ฯ http://library.ra.mahidol.ac.th/ram/ 2. จัดทําประวัติศาสตร์คําบอกเล่า (Oral history) จากบุคลากรสายวิชาการ/วิชาชีพและสนับสนุน 9 ท่าน 3. จัดนิทรรศการพิเศษและนิทรรศการเนื่องในโอกาสต่างๆ 6 เรื่อง 4. ให้บริการบรรยายและนําชมให้กับบุคลากรทั้งภายในและภายนอกคณะฯ รวมทั้งผู้สนใจ 25 ครั้ง 5. เข้าร่วมเป็นเครือข่ายกับหน่วยงานต่างๆ เช่น เครือข่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหิดล ของฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหิดล หอสมุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล 6. เข้าร่วมเป็นเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ถนนพระรามที่ 6 จากการจัดกิจกรรมวันพิพิธภัณฑ์ไทย ณ คณะฯ 19 กันยายน 2556 7. การพัฒนาบุคลากรหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์รามาธิบดี 7.1 เข้าร่วมฝึกอบรม/เสวนา/ฟังบรรยาย 3 ครั้ง 7.2 การศึกษาดูงาน 9 ครั้ง 8. จัดกิจกรรมและโครงการพิเศษ 3 ครั้ง แผนการดําเนินงานใน ปีงบประมาณ 2557 1. จัดนิทรรศการพิเศษและนิทรรศการตามในโอกาสสําคัญ 1.1 เรื่อง “งานรื่นเริงสังสรรค์ในรามาธิบดี” เดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน 2557 1.2 เฉลิมพระเกียรติฯ เรื่อง “มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี” เดือนธันวาคม 2556 - มีนาคม 2557 1.3 เนื่องในโอกาสครบรอบเปิดดําเนินการคณะฯ ปีที่ 49 3 พฤษภาคม 2557 เรื่อง “กึ่งศตวรรษ รามาธิบดี” มีนาคม - มิถุนายน 2557 1.4 พิเศษสัญจร ครั้งที่ 1 “เล่าเรือ่ งรามาธิบดี ที่ศาลายา” เดือนพฤษภาคม 2557 ณ ห้อง นิทรรศการ ชัน้ 1 ศูนย์การเรียนรู้มหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา 2. จัดกิจกรรมโครงการมิวเซียมรามาฯ สัญจร 3. จัดโครงการวันพิพิธภัณฑ์ไทย ณ รามาธิบดี ครั้งที่ 2 เดือนกันยายน 2557 4. จัดงานรักษ์รามาธิบดี ครั้งที่ 3 5. เปิดตัวเว็บไซต์และฐานข้อมูลของหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์รามาธิบดีรูปแบบใหม่ 6. จัดทําประวัติศาสตร์คําบอกเล่า (Oral history) เพิ่มเติม 7. ปรับปรุงและพัฒนาการจัดแสดงภายในส่วนจัดแสดงถาวร ชั้น 2 และหอเกียรติยศ ชั้น 9 อาคาร เรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนรามาธิบดี
- 262 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
- 263 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
บทที่ 12 ก้าวต่อไปของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี โครงการสําคัญที่ดําเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2556 จํานวน 53 โครงการ ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ ชื่อโครงการ ระยะเวลา มหาวิทยาลัย มหิดล Research 1. โครงการการจัดทํา 2556-2560 excellence ฐานข้อมูลผู้ป่วย (Cohort registry) Research 2. โครงการพัฒนาศักยภาพ 2556-2560 excellence คณาจารย์ประจําด้าน การวิจัย
Research excellence Research excellence
3. โครงการจัดตั้งศูนย์บริการ 2556-2560 ครบวงจรสําหรับงานวิจัย อย่างมีมาตรฐานสากล 4. โครงการการวิจัยมุ่งเป้าสู่ 2556-2560 ความเป็นเลิศอย่างมี มาตรฐานสากล ประกอบด้วย 4.1 โครงการพัฒนา ศักยภาพการวิจัย ทางด้าน Metabolomics 4.2 โครงการการพัฒนา ชุดตรวจ ยีนบางกลุ่ม หรือยีนทั้งหมดบน โครโมโซม (จีโนม) เพื่อหาความ ผิดปกติที่ก่อให้เกิด - 264 -
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
4,650,000 แพทย์ผู้วิจัย มีฐานข้อมูลของ กลุ่มอาสาสมัครครบถ้วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 55 620,000 1. มีผลงานวิจัยที่นําไปปรับ นโยบายหรือแก้ปัญหา สาธารณสุขของประเทศ จํานวน 8 เรื่อง 2. นักวิจัยพี่เลี้ยง (Mentoring) จํานวน 5 คน 3. มีจํานวนเครือข่ายวิจัยของ คณะฯ ที่เข้าร่วมทําวิจัยกับ องค์กรภายนอก 10 โครงการ 22,500 มีจํานวนโครงการที่เข้ามาใช้ บริการ 25 โครงการ 66,428,000 มีการพัฒนางานวิจัยคุณภาพ ระดับมาตรฐานสากล 4 โครงการหลัก
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล
Research excellence
Research excellence
ชื่อโครงการ
รายงานประจําปี 2556
ระยะเวลา
โรคพันธุกรรม เพื่อ นําสู่การรักษา เฉพาะบุคคล 4.3 โครงการพัฒนาแผน ที่สมองของคนไทย เพื่อเพิ่มศักยภาพใน การรักษาโรคสมอง 4.4 โครงการปฏิบัติการ วิจัยการใช้ เทคโนโลยี เซลล์ต้น กําเนิดสําหรับการ รักษาโรคด้วยวิธี เซลล์บําบัดและยีน บําบัด 4.5 โครงการพัฒนา ศักยภาพนักวิจัย หน่วยชีวโมเลกุล 5. โครงการพัฒนางานวิจัย 2556-2560 และนวัตกรรมในงาน ประจําเพื่อนําไปใช้ในการ แก้ปัญหาสุขภาพของ ประเทศ
6. โครงการประยุกต์พัฒนา งานวิจัยและนวัตกรรมสู่ สังคมและเชิงพาณิชย์
2556-2560
- 265 -
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
4,992,000 1. มีจํานวนผลงานที่ดําเนินการ เสร็จสิ้นเป็นร่าง โครงการวิจัย แนวทางพัฒนาเครื่องมือหรือ กระบวนการที่เป็นนวัตกรรม หรือรายงานฉบับสมบูรณ์ของ โครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2. มีจํานวนผลงานวิจัยในงาน ประจําที่เข้าร่วม โครงการ ได้รับการแจ้งจดทรัพย์สินทาง ปัญญา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 5,509,100 1. มีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ นําไปสู่สังคมและเชิงพาณิชย์ ร้อยละ 30 2. มีรายได้ที่เกิดจากทรัพย์สิน ทางปัญญาทุกประเภท จํานวน 100,000 บาท 3. มีนักวิจัยที่ผลิตผลงานวิจัย
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล
ชื่อโครงการ
Transformative 7. โครงการก่อสร้างสถาบัน education การแพทย์จักรีนฤบดินทร์
รายงานประจําปี 2556
ระยะเวลา
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
และนวัตกรรมซึ่งสามารถนํา สู่สังคมและเชิงพาณิชย์เพิ่ม มากขึ้น 3 ราย 2554-2559 6,212,750,000 งวดงานแล้วเสร็จ 8-12 งวดงาน จ่ายด้วยเงินงบประมาณ 250.344 ล้านบาท เงินนอกงบฯ 756.000 ล้านบาท
Transformative 8. โครงการอาจารย์แพทย์ education ด้านการศึกษา
2556-2559
Transformative 9. โครงการพัฒนาและ education ปรับปรุงหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต
2556-2560
Transformative 10. โครงการการใช้เทคโนโลยี 2556-2560 education ต่อยอดการให้บริการของ ห้องปฏิบัติการทักษะทาง คลินิก Transformative 11. โครงการการใช้เทคโนโลยี 2556-2560 education เพื่อพัฒนาสื่อการสอน และระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการศึกษา
- 266 -
103,375,000 1. ร้อยละ 70 ของอาจารย์ใน โครงการฯ ผ่านการประเมิน ในระดับดี - ดีมาก 2. มีอาจารย์จํานวน 25 คนที่เข้า ร่วมโครงการ 3. มีจํานวนผลงานวิจัยด้าน การศึกษา 15 เรื่อง 9,545,600 โครงสร้างหลักสูตรแพทยศาสตร บัณฑิตใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดีที่ สอดคล้องเหมาะสมกับบริบท ของระบบสุขภาพของประเทศที่ พร้อมใช้ในปีการศึกษา 2557 2,643,200 มีการนําเทคโนโลยีมาใช้ในการ ฝึกทักษะทางคลินิกเพิ่มขึ้นไม่ น้อยกว่าร้อยละ 75 13,729,680 1. มีการนําเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาสื่อการสอนและ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาอย่างทั่วถึง ตลอดเวลาและครอบคลุมทุก พื้นที่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. จํานวนผู้เข้าใช้เว็บไซต์ Emed learning ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ ชื่อโครงการ มหาวิทยาลัย มหิดล Transformative 12. โครงการพัฒนาหรือ education เสริมสร้างพหุศักยภาพ นักศึกษาในการพัฒนาสุข ภาวะของสังคม
Transformative 13. โครงการส่งเสริมการ education แลกเปลี่ยนนักศึกษาใน ต่างประเทศ การเข้าร่วม ประชุมและการนําเสนอ ผลงานในระดับนานาชาติ
Transformative 14. โครงการต้นกล้ารามาฯ education
รายงานประจําปี 2556
ระยะเวลา
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
2556-2560 ใช้เงินร่วมกับ โครงการ พัฒนา นักศึกษาเต็ม พหุศักยภาพ ในวงเงิน 29,000,000 บาท
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
1. ร้อยละ 40 ของกิจกรรมที่เน้น การพัฒนาบัณฑิตให้มีพหุ ศักยภาพในการพัฒนาสุข ภาวะทางสังคม 2. ความพึงพอใจของนักศึกษาใน ภาพรวมต่อการได้รับการ พัฒนาให้เป็นผู้มีคุณธรรม มี พหุศักยภาพในการพัฒนาสุข ภาวะของสังคมและมีความ เป็นสากล ในระดับ > 4 1. มีจํานวนนักศึกษาแลกเปลี่ยน ในต่างประเทศ ร้อยละ 10 2. จํานวนผลงานวิจัยของ นักศึกษาที่นําเสนอใน ระดับประเทศหรือนานาชาติ ไม่น้อยกว่า 1 เรื่องต่อปี
2556-2560 ใช้เงินร่วมกับ โครงการ พัฒนา นักศึกษาเต็ม พหุศักยภาพ ในวงเงิน 29,000,000 บาท 2556-2560 75,589,000 1. ร้อยละ 60 ของนักศึกษาใน แต่ละรุ่นที่เข้าโครงการที่ได้รับ การบรรจุเป็นอาจารย์แพทย์ 2. จํานวนโครงงานหรือ ผลงานวิจัยต่อนักศึกษาต่อ โครงการ > 1 เรื่อง 3. ความพึงพอใจของนักศึกษา ในภาพรวมต่อการเข้าร่วม โครงการ (ในระดับมาก-มาก ที่สุด) ร้อยละ 75 4. ความพึงพอใจของอาจารย์พี่ เลี้ยงในภาพรวมต่อการเข้า ร่วมโครงการ ( ในระดับมากมากที่สุด) ร้อยละ 75 5. นักศึกษาที่สอบผ่าน USMLE ในการสอบครั้งแรก ร้อยละ 75 - 267 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ ชื่อโครงการ มหาวิทยาลัย มหิดล Transformative 15. โครงการพัฒนาอาจารย์ education สาขาพยาบาลศาสตร์
รายงานประจําปี 2556
ระยะเวลา 2556-2560
Healthcare & services excellence
16. โครงการปรับปรุงพื้นที่ 2554-2557 อาคาร 1 อาคาร 4 และ อาคารที่เกี่ยวข้อง
Healthcare & services excellence
2553-2559 17. โครงการพัฒนารูปแบบ บริการดูแลและป้องกัน ภาวะเบาหวานและความ ดันเลือดสูง 2556-2560 18. โครงการบริหารจัดการ และเผยแพร่องค์ความรู้ เพื่อตอบสนองความ ต้องการ ทางด้านการ แพทย์และสาธารณสุข ระดับประเทศและ นานาชาติ 19. โครงการศูนย์เพื่อความเป็น 2556-2558 เลิศด้านโรคการนอนหลับ โรงพยาบาลรามาธิบดี
Healthcare & services excellence
Healthcare & services excellence
- 268 -
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
35,816,060 1. มีอาจารย์พยาบาลนักการ ศึกษา จํานวน 6 คน 2. มี Community of practice ของอาจารย์สาย Clinical track จํานวน 3 แห่ง 3. มีนักศึกษา/บุคลากรทางการ พยาบาลที่ได้รับการพัฒนาใน กิจกรรมต้นกล้าดอกแก้ว จํานวน 10 คน 450,000,000 ตัวชี้วัด : ดําเนินการสําเร็จ ตามแผน เป้าหมาย : โครงการแล้วเสร็จ ร้อยละ 100 10,000,000 มีรูปแบบแนวทางการดําเนินงาน ควบคุมโรค เรื้อรังในชุมชน
25,799,410 1. จํานวนการจัดประชุม/อบรม ระยะสั้น 1.1 ระดับชาติ 73 ครั้ง 1.2 ระดับนานาชาติ 10 ครั้ง 2. มีการประชุม/อบรมผ่าน Teleconference 71 ครั้ง 30,176,000
ด้านการบริการตรวจรักษาได้ มาตรฐานมีประสิทธิภาพและ คุณภาพ 1. จํานวนผู้ป่วย 1,750 ราย 2. เตียงตรวจการนอนหลับ 7 เตียง 3. บริหารจัดการเตียงตรวจให้ได้ ประสิทธิภาพสูงสุด ร้อยละ < 1 4. ลดเวลาการรอคอยการตรวจ การนอนหลับ < 1.5 เดือน
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล
Healthcare & services excellence Healthcare & services excellence
ชื่อโครงการ
รายงานประจําปี 2556
ระยะเวลา
2556-2559
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
5. ลดเวลาการรอฟังผล เพื่อ ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว โดยผ่านการตรวจสอบผลจาก แพทย์ทุกราย 1 สัปดาห์ 6. ความพึงพอใจของผู้ป่วยจาก แบบสอบถาม ร้อยละ 85 648,000 ได้ใบรับรองมาตรฐานและ ISO (งานบริการผ้า) ภายในปี 2557
Healthcare & services excellence
20. โครงการรับรองมาตรฐาน กระบวนการทํางาน (งาน บริการผ้า) 21. โครงการขอการรับรอง มาตรฐาน ISO 9001/2008 (งาน เวชภัณฑ์ทางการแพทย์) 22. โครงการรับรองมาตรฐาน กระบวนการทํางาน (งานเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ)
Healthcare & services excellence
23. โครงการรับรองมาตรฐาน กระบวนการทํางาน (ฝ่ายโภชนาการ)
2556-2559
1,630,000
Healthcare & services excellence
24. โครงการการรับรอง คุณภาพบริการการ พยาบาลและผดุงครรภ์ ระดับมหาวิทยาลัย
2556-2560
2,070,000 1. การได้รับรองจากสภาการ พยาบาลจากตรวจเยี่ยม ครั้งที่ 1 ด้านรับรองคุณภาพ การพยาบาลและผดุงครรภ์ ร้อยละ 100 2. จํานวนผู้ประกอบวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ มี ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการ ขอรับรองคุณภาพ ร้อยละ 95 3. ความพึงพอใจของประชาชนที่ มีต่อผู้ประกอบวิชาชีพ การ พยาบาลและการผดุงครรภ์ ร้อยละ 95
2556-2557
620,000
ได้ใบรับรองมาตรฐานและ ISO (งานเวชภัณฑ์ทางการแพทย์) ภายในปี 2557
2556-2559
620,000
ได้ใบรับรองมาตรฐานและ ISO (งานเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ) ภายในปี 2557
- 269 -
ได้ใบรับรองมาตรฐานและ HACCP (ฝ่ายโภชนาการ) ภายในปี 2557
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ ชื่อโครงการ ระยะเวลา มหาวิทยาลัย มหิดล 2556-2560 International- 25. โครงการหลักสูตร/ ization ฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทาง นานาชาติ
Internationalization
Internationalization
Internationalization
Social responsibility
26. โครงการแลกเปลี่ยน นักศึกษาคณะ แพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดี กับ สถาบันการศึกษาใน ต่างประเทศที่มีบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือ 27. โครงการสนับสนุน ศาสตราจารย์อาคันตุกะ (Visiting Professor) และ รองศาสตราจารย์ อาคันตุกะ (Visiting Associate Professor) จากสถาบันต่างประเทศ 28. โครงการพัฒนาหลักสูตร ปริญญาโทนานาชาติ สาขาพยาบาลศาสตร์
2556-2560
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
-
1. มีหน่วยสนับสนุนและ โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับ หลักสูตรนานาชาติ 2. เปิดหลักสูตรหรือการฝึก อบรมแพทย์ระดับนานาชาติ จํานวน 1 หลักสูตร 13,811,600 1. จํานวนนักศึกษาที่มี ประสบการณ์ทางวิชาการ/ วิชาชีพในต่างประเทศ 45 คน 2. ความพึงพอใจของนักศึกษาที่ เข้าร่วมโครงการฯ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85
2556-2560
7,000,000 ศาสตราจารย์อาคันตุกะ (Visiting professor) และรอง ศาสตราจารย์อาคันตุกะ (Visiting associate professor) จํานวน 2 คน
2556-2560
2,795,060 มีหลักสูตรบัณฑิตศึกษา (นานาชาติ) ในแต่ละสาขาที่เป็น ที่ต้องการ และมีสถาบันการ ศึกษาที่เป็นเครือข่ายความ ร่วมมือในต่างประเทศมาร่วม สอน อย่างน้อย 1 หลักสูตร 9,589,260 1. มีการจัดประชุมเชิงวิชาการ และเชิง ปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง กับนโยบายสุขภาพและระบบ สุขภาพเป็นประจําภายใน คณะฯ 1 ครั้ง
29. โครงการส่งเสริมการพัฒนา 2556-2560 นโยบายสุขภาพ
- 270 -
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล
Social responsibility
ชื่อโครงการ
30. โครงการผลักดันตรวจคัด กรองสารตะกั่ว ในเลือด ของเด็กเขตอุตสาหกรรม ให้เป็นนโยบายสุขภาพ
รายงานประจําปี 2556
ระยะเวลา
2556-2560
- 271 -
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
2. มีเกณฑ์มาตรฐานใหม่ของการ เขียนโครงร่างการวิจัยที่จําเพาะ ต่อการวิจัย นโยบายและ ระบบสุขภาพ เพื่อใช้เป็น หลักเกณฑ์พิจารณาให้ทุนของ คณะฯ เพื่อสนับสนุนโครงการ วิจัยนโยบายและระบบสุขภาพ ของอาจารย์และบุคลากรของ คณะฯ 1 เกณฑ์ 3. มีเครือข่ายนักวิจัยระบบ สุขภาพและนักคิดเชิงนโยบาย สุขภาพภายในคณะฯ 1 เครือข่าย 4. มีโครงการของอาจารย์หรือ บุคลากร ของคณะฯ ที่ทํา หน้าที่ชี้นํานโยบายในระดับ ชาติหรือระดับนานาชาติ จํานวน 1 โครงการ 7,080,000 1. ได้เครื่องมือการประเมินความ เสี่ยงต่อการได้รับพิษสารตะกั่ว ของเด็กเฉพาะรายโดยผ่าน ความเห็นชอบของราชวิทยาลัย กุมารแพทย์ 2. ตรวจประเมินระดับสารตะกั่ว ในเลือดเด็ก 3. กระทรวงสาธารณสุขมี นโยบายการตรวจคัดกรอง ระดับสารตะกั่วในเลือดในเด็ก อายุ 1-2 ปี และ 4-5 ปี ใน เด็กในเขตอุตสาหกรรม ทั้งหมดและเด็กเฉพาะรายที่ อยู่ในเกณฑ์ความเสี่ยง 4. สํานักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ กําหนดให้การตรวจ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล
ชื่อโครงการ
รายงานประจําปี 2556
ระยะเวลา
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
ระดับสารตะกั่วในเลือดในเด็ก อายุ 1-2 ปี และ 4-5 ปี ใน เด็กในเขตอุตสาหกรรม ทั้งหมดและเด็กเฉพาะรายที่ อยู่ในเกณฑ์ความเสี่ยงเป็น minimal benefit package 5. สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมกําหนดมาตรฐาน หรือการแสดงฉลากเพื่อกํากับ สีทาอาคารที่มีสารตะกั่ว Social responsibility
31. โครงการสร้างนโยบาย ป้องกันผลกระทบทาง สุขภาพของเด็กจาก เกมส์คอมพิวเตอร์
2556-2560
Social responsibility
32. โครงการพัฒนาศักยภาพ ประชากรไทย : 32.1 กลุ่มเด็กและวัยรุ่น และ กลุ่มผู้ใหญ่ 32.2 กลุ่มผู้สูงอายุแบบ ครบวงจร
2556-2560
- 272 -
4,430,000 1. ได้เอกสารหลักที่เป็นการ รวบรวมข้อมูลวิชาการ งานวิจัย องค์ความรู้ ระเบียบ ปฏิบัติ กฎหมาย ฯลฯ และ การดําเนินการของภาคส่วน ต่างๆ ที่เกี่ยวกับ “เด็กไทยกับ ไอที” และกระจายสู่หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง โรงเรียน องค์กร ท้องถิ่นและประชาชน 2. โรงเรียนพื้นที่นําร่องใน 10 จังหวัด มีระบบเฝ้าระวัง ผลกระทบต่อสุขภาพเด็กจาก เกมส์และไอที และมีการ ขยายผลผ่านกระทรวง ศึกษาธิการ องค์กรท้องถิ่น 75,000,000 1. ต้นแบบในการพัฒนา ประชากรไทย (เบื้องต้น) 1 ต้นแบบ 2. ปรับปรุง พัฒนาต้นแบบใน การพัฒนาประชากรไทย 2 ต้นแบบ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล
ชื่อโครงการ
รายงานประจําปี 2556
ระยะเวลา
Social responsibility
33. โครงการพัฒนา ความสามารถในการดูแล ตนเอง/ผู้ดูแลและสร้าง เครือข่าย การดูแล สุขภาพในประเด็นที่ สําคัญ
2556-2560
Social responsibility
34. โครงการความรอบรู้ ด้านสุขภาพ (Health literacy)
2556-2560
Social responsibility
35. โครงการรามาแชนแนล สถานีสุขภาพดี 24 ชั่วโมง
2556-2560
- 273 -
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
3. ประชาชนในกลุ่มเป้าหมาย รับรู้ถึงปัจจัยเสี่ยง และวิธี การป้องกันโรค ร้อยละ 80 6. มีสาขาองค์ความรู้ที่ร่วมกัน พัฒนาต้นแบบ 2 สาขา 7. มีหน่วยงานภายนอกขอรับ ต้นแบบการพัฒนาไป ใช้ 2 แห่ง 8. มีการจัดอบรมให้หน่วยงาน ภายนอกจํานวน 5 ครั้ง 1,500,000 1. จํานวนกลุ่มใหม่ที่เกิดขึ้นใน คณะอย่างน้อย 2 กลุ่ม 2. อาสาสมัคร สมาชิกชมรม/ กลุ่มผู้ป่วย และญาติ มีความ พึงพอใจโครงการระดับมาก ถึงมากที่สุด ร้อยละ 80 3. มีเครือข่ายเป็นองค์กร ภายนอกจํานวน 2 หน่วยงาน 4. มีสมาชิกของกลุ่มเพิ่มขึ้น กลุ่มละ 10 คน 4,250,000 1. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ร้อยละ 80 2. จํานวนของการจัดกิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพ 2 ครั้ง 3. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ร้อยละ 80 4. ผลิตเอกสารความรู้ด้าน สุขภาพ จํานวน 30 เรื่อง 255,880,000 1. Rating ของสถานี เฉลี่ย 0.12 2. จํานวนแฟนเพจ 40,000 คน 3. ได้เงินสนับสนุนสถานีจาก ผู้ชมและสปอนเซอร์ จํานวน 25 ล้านบาท
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ ชื่อโครงการ มหาวิทยาลัย มหิดล Social 36. โครงการ CSR เครือข่าย responsibility พัสดุมหิดล พญาไท
รายงานประจําปี 2556
ระยะเวลา
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
2556-2560
-
Social responsibility
37. โครงการพัสดุ Charity
2556-2560
ICT- based university
38. โครงการจัดหาระบบ ธุรกิจอัจฉริยะ (Business intelligence : BI)
2556-2557
ICT- based university
39. โครงการการรับรอง พัฒนามาตรฐานการผลิต Software ระดับสากล CMMI
2556-2560
- 274 -
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
1. จัดทํากิจกรรม CSR จํานวน 2 ครั้ง 2. หน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการ จํานวน 2 หน่วยงาน 3. ความพึงพอใจของหน่วยงาน ที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 85 1. จําหน่ายโดยการโอน/บริจาค จํานวน 45 ครั้ง 2. หน่วยงานที่รับโอน/บริจาค จํานวน 45 หน่วยงาน 3. ร้อยละของพัสดุ ที่หน่วยงาน ผู้รับโอน / บริจาค สามารถ นําไปใช้งานต่อได้ ร้อยละ 80 4. ความพึงพอใจของหน่วยงาน ผู้รับโอน/บริจาค ร้อยละ 85 30,000,000 1. ระบบ business intelligence และ data warehouse ที่สามารถ ทํางานได้จริง 1 ระบบ 2. จํานวนรายงานประจําที่จัดทํา อัตโนมัติโดยระบบ BI จํานวน 100 รายงาน 3. บุคลากรคณะฯ ที่ได้รับการ อบรมระบบ BI จนสามารถ สร้างรายงานได้จริง จํานวน 30 คน 4. บุคลากรคณะฯ ที่ได้รับการ อบรมระบบ BI จนสามารถ วิเคราะห์ข้อมูลได้จริงจํานวน 10 คน 5,000,000 ได้รับการรับรองมาตรฐานสากล CMMI level 2
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ ชื่อโครงการ มหาวิทยาลัย มหิดล ICT- based 40. โครงการ การรับรอง university พัฒนามาตรฐาน ISO 9001:2008
รายงานประจําปี 2556
ระยะเวลา
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
2556-2558
37,500,000
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
ได้รับการรับรองมาตรฐานสากล ISO 9001 ภายในปี 2558
ICT- based university
41. โครงการสหพันธ์เว็บไซต์ 2556-2560 รามาธิบดี (Ramathibodi Website Federation )
Harmony in diversity
42. โครงการแพทย์ทางเลือก
2556-2560
Harmony in diversity
43. โครงการกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างดําเนินการ โครงการพัฒนา กระบวนการทํางาน บริการรักษาพยาบาล 44. โครงการรามาฯ รักเรา เรารักรามาฯ
2556-2557
57,200 จํานวนองค์ความรู้จากกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม Facilitator ไม่น้อยกว่า 3 เรื่อง ต่อปี
2556-2560
5,000,000 1. การเพิ่มสัดส่วนการรับรู้ ข่าวสารจากคณะฯของชาว รามาฯ ร้อยละ 50 2. สมาชิกของ web blog ใหม่ ชื่อ “รามาฯ รักเรา - เรารัก รามาฯ” เพิ่มขึ้น 500 ราย
Harmony in diversity
- 275 -
6,362,000 1. รูปแบบของเว็บไซต์ที่ เกี่ยวข้องและเกิดจากชาว รามาธิบดีมีสัญลักษณ์และ เชื่อมโยงผูกพันกับคณะ แพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดี ร้อยละ 60 2. เว็บไซต์หลักของคณะฯ เชื่อมโยงให้ความสําคัญแก่ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง และเกิด จากชาวรามาธิบดี ร้อยละ 90 12,070,000 การวางระบบการแพทย์ ทางเลือก ร้อยละ 70
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ความสอดคล้อง งบประมาณ กับยุทธศาสตร์ ชื่อโครงการ ระยะเวลา ทั้งโครงการ มหาวิทยาลัย (บาท) มหิดล Harmony in 45. โครงการส่งเสริมคุณธรรม 2556-2560 ใช้เงินร่วมกับ โครงการ diversity และค่านิยมของ พัฒนา มหาวิทยาลัยมหิดล นักศึกษาเต็ม พหุศักยภาพ ในวงเงิน 29,000,000 บาท Management for sustainability
46. โครงการการบริหารจัด การเงินรายได้ คณะฯ ที่ ระดับคณะฯ
2556-2557
Management for sustainability
47. โครงการพัฒนากระบวน การทํางานหลัก (Key process) ด้านบริการ รักษาพยาบาล ระยะ 2
2556-2557
- 276 -
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
ร้อยละ 100 ของกิจกรรมที่เน้น การพัฒนาบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรมและสอดคล้องตาม ค่านิยมของมหาวิทยาลัยมหิดล
1,000,000 1. มหาวิทยาลัยอนุมัติให้คณะฯ ดําเนินการบริหารเงิน รายได้ คณะฯ ได้เองในระดับคณะฯ 2. คณะฯผ่านเกณฑ์การประเมิน ของมหาวิทยาลัยในการ บริหารจัดการเงินรายได้เอง 819,420 1. จํานวนกระบวนการทํางาน ที่พัฒนา > 3 กระบวนการ 2. ระยะเวลาการรับบริการแต่ละ หน่วยบริการลดลง จากเดิม ร้อยละ 20 3. อัตราผู้ป่วยนอกที่ได้รับการ ตรวจภายใน 30 นาที หลัง เวลานัดเพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 20 4. จํานวนกิจกรรม Kaizen หรือ จํานวนกิจกรรม CQI ที่ เกี่ยวข้องกับการทํางานหลัก ด้านคุณภาพงาน กลุ่มละ 1 เรื่อง 5. อัตราบุคลากรที่เข้ารับการ อบรมมีความรู้ภายหลัง การ อบรมเพิ่มขึ้นจากเดิมอย่าง น้อย 2 ระดับ ร้อยละ 70
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ ชื่อโครงการ มหาวิทยาลัย มหิดล Management 48. โครงการพัฒนาระบบการ บริหารความเสี่ยง for sustainability
รายงานประจําปี 2556
ระยะเวลา 2556-2558
Management for sustainability
49. โครงการพัฒนาระบบ ตรวจสอบภายใน
2556-2560
Human resource excellence
50. โครงการสร้างอาจารย์ แพทย์ต้นแบบ (Role Model) ด้วยแผนพัฒนา รายบุคคล (Individual Development Plan) เพื่อการวิเคราะห์และ ประมวลผล
2556-2560
Human resource excellence
51. โครงการการก้าวหน้าใน 2556-2560 ตําแหน่งของบุคลากรสาย สนับสนุน ด้วยแผนพัฒนา รายบุคคล (Individual Development Plan)
- 277 -
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
3,235,680 1. วิธีการในการสื่อสารและสร้าง ความรู้ความเข้าใจเรื่องการ บริหารความเสี่ยง >1 วิธี 2. มีมาตรฐานค่าตอบแทนเพิ่ม สําหรับนักบริหารความเสี่ยง 1,703,000 1. มีการกําหนดมาตรฐานค่า ตอบแทนนักตรวจสอบภายใน 2. ประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านการ ตรวจสอบภายใน > 2 ช่อง ทางการประชาสัมพันธ์ 20,000,000 1. จํานวนอาจารย์แพทย์ได้รับ การพัฒนาตามแผนพัฒนา รายบุคคลครบถ้วน 10 คน 2. สามารถติดตามการพัฒนาและ สรุปผลการพัฒนาของอาจารย์ แพทย์ตามแผน พัฒนาได้ ครบถ้วนภายหลังการพัฒนา 3-6 เดือน ร้อยละ 100 200,000 1. สามารถคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การ ขอชํานาญการพิเศษ ร้อยละ 30 ของผู้มีคุณสมบัติตาม เกณฑ์ทั้งหมด 2. สามารถจัดทําแผนพัฒนาราย บุคคลสําหรับกลุม่ เป้าหมาย ได้ครบถ้วนร้อยละ 100 3. สามารถพัฒนากลุ่มเป้าหมาย ได้ครบถ้วน ร้อยละ 100 4. กลุ่มเป้าหมายได้รับแต่งตั้งใน ตําแหน่งชํานาญการพิเศษ ร้อยละ 3 ของจํานวนผู้มี คุณสมบัติตามเกณฑ์แต่ละปี
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รายงานประจําปี 2556
ความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ ชื่อโครงการ ระยะเวลา มหาวิทยาลัย มหิดล 52. โครงการสร้างหัวหน้า 2556-2560 Human ศูนย์ความเป็นเลิศ resource ด้วยแผนพัฒนารายบุคคล excellence (Individual development plan)
Human resource excellence
53. โครงการพัฒนาบุคลากรให้ 2556-2560 สามารถเลื่อนตําแหน่ง สูงขึ้น
- 278 -
งบประมาณ ทั้งโครงการ (บาท)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ปี 2557
1,400,000 1. สามารถจัดทําแผนพัฒนา รายบุคคลสําหรับหัวหน้า ศูนย์ฯ ได้ครบถ้วน 3 ศูนย์ 2. ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็น หัวหน้าศูนย์ฯ ได้รับการ พัฒนาตามแผนพัฒนา รายบุคคลครบถ้วน ร้อยละ 100 ของจํานวนศูนย์ฯที่ได้รับ การคัดเลือกให้มีหัวหน้า ศูนย์ฯ แล้ว 3. สามารถติดตามการพัฒนา และสรุปผลการพัฒนาของ หัวหน้าศูนย์ฯตามแผนพัฒนา ได้ครบถ้วนภายหลังการ พัฒนา 3-6 เดือน ร้อยละ 100 ของจํานวนผู้ที่ได้รับการ คัดเลือกและเข้ารับการพัฒนา ตามแผน 950,000 1. จํานวนบุคลากร ที่ได้รับการ เลื่อนตําแหน่งสูงขึ้น ร้อยละ 15 2. ความพึงพอใจของบุคลากรที่ ได้รับเลื่อนตําแหน่งสูงขึ้น ร้อยละ 100