ชวิศา พุ่มจันทร์ การก่อรูปสถาปัตยกรรมจากนามธรรม
โครงการช่วงเวลาแห่งการผ่อนคลายอย่างเซน ARCHITECTURAL FORMATION FROM ABSTRACT MOMENTS OF ZEN RELIEVE ARCHITECTURAL THESIS 2020 SCHOOL OF ARCHITECTURE
SRIPATUM UNIVERSITY
MOMENTS OF
ARCHITECTURAL THESIS 2020 SCHOOL OF ARCHITECTURE SRIPATUM UNIVERSITY
ZEN RELIEVE
โครงการช่วงเวลาแห่งการผ่อนคลายอย่างเซน
CHAVISA PUMCHAN ARCHITECTURAL FORMATION FROM ABSTRACT
การก่อรูปสถาปัตยกรรมจากนามธรรม โครงการช่วงเวลาแห่งการผ่อนคลายอย่างเซน
ชวิศา พุ่มจันทร์
วิทยานิพนธ์หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปีการศึกษา 2563
ARCHITECTURAL FORMATION FROM ABSTRACT MOMENTS OF ZEN RELIEVE
CHAVISA PUMCHAN
A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENT FOR THE DEGREE OF BECHELOR OF ARCHITECTURE DEPARTMENT OF ARCHITECTURE SCHOOL OF ARCHITECTURE SRIPATUM UNIVERSITY ACADEMIC YEAR 2020
หัวข้อวิทยานิพนธ์
ชื่อนักศึกษา
การก่อรูปสถาปัตยกรรมจากนามธรรม ARCHITECTURAL FORMATION FROM ABSTRACT ชวิศา พุ่มจันทร์
หลักสูตร
สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต
ปีการศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา
2563 ดร.วิศรุต ดานาพงศ์ ……..............................................................
คณะกรรมการดาเนินงานศิลปนิพนธ์ ประธานคณะกรรมการ คณะกรรมการอาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์ธีรบูลย์ พิศาลอภิพงศ์ ดร.วิศรุต ดานาพงศ์
ดร.กฤษฏา อานโพธิ์ทอง อาจารย์ ธนสาร สุธาบัณฑิตพงศ์ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์วิธินันท์ วัฒนศัพท์ อาจารย์วิชญ์วัส บุญประสงค์ อาจารย์ไอศ์ริน สิริวัฒน์ธนกุล คณะกรรมการตรวจวิทยานิพนธ์ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบและผ่านการสอบแล้ว วันที่ 2 ธันวาคม 2563 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์รบั รองแล้ว ……................................................ (อาจารย์ธีรบูลย์ พิศาลอภิพงศ์) คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
บทคัดย่อ ABSTRACT การศึกษาในเรือ่ งของหลักนิกายเซนมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการก่อรูปสถาปัตยกรรม จากหลักปรัชญาZENและต้องการออกแบบพื้นที่ที่เป็นประโยชน์ในด้านการผ่อนคลาย ร่างกายและจิตใต สาหรับผู้ที่มีสภาวะความเครียดและบุคคลทั่วไป เนื่องจากปัญหา ความเครียดของคนในปัจจุบันมีจานวนเพิ่มมากขึ้น โดยมีวิธีการศึกษาจากกรอบแนวคิด หลักการ หรือหัวใจสาคัญของนิกายเซนเพื่อน นามาใช้ในกระบวนการคิดและพัฒนา ทดลองการก่อรูปสถาปัตยกรรมจากนามธรรม และ ศึกษาข้อมูลรูปแบบสถาปัตยกรรมที่ผ่อนคลายและสอดคล้องกับแก่นแท้ของนิกายเซน และ ได้คิดวิธีการออกแบบที่นาเครื่องมือเรื่อง ธรรมชาติ ความเรียบง่าย เพื่อหาความเป็นส่วนตัว มาใช้ในงานโครงการ ซึ่งการออกแบบโครงการทาให้เครื่องมือ ทีน่ าความเรียบง่าย และธรรมชาติสองอย่าง มากั้นพื้นที่ให้เกิดความเป็นส่วนตัว โดยใช้สาหรับผู้ใช้งานที่ไม่ได้ต้องการเข้าถึงเซนมาก เท่าไหร่ ทาให้เกิดพื้นที่ที่ผู้ใช้งานเกิดความสงบเล็กน้อยสามารถให้ความผ่อนคลายได้กี าร ทดลองอีกแบบคือ นาเครื่องมือความเรียบง่าย และธรรมชาติหนึ่งอย่างหรือไม่มีธรรมชาติ เลยมากั้นพื้นทีใ่ ห้เกิดความเป็นส่วนตัว โดยใช้สาหรับผู้ทตี่ ้องการเข้าถึงเซนมาก สงบมาก ผ่อนคลายมาก มาจากความเป็นส่วนตัวมากจากธรรมชาติที่น้อยชนิด และวัสดุที่เรียบ ผนัง ที่ทึบตัน จึงทาให้พื้นที่ที่ใช้เครื่องมือนี้มาทดลองเกิดพื้นที่แบบเซนมากกว่าเครื่องมือแรก คาสาคัญ : การก่อรูปสถาปัตยกรรม, นามธรรม, การผ่อนคลาย, เซน
XI
กิตติกรรมประกาศ ACKNOWLEDGEMENTS ความสาเร็จของการศึกษาวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้ ข้าพเจ้าได้รับการสนับสนุนและ ความช่วยเหลือในการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ทั้งในส่วนภาคการศึกษาข้อมูลและภาค ออกแบบจากบุคคลและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งข้าพเจ้าขอขอบคุณในความ เมตตากรุณา ความเสียสละที่มีต่อข้าพเจ้าตลอดเวลาในการศึกษาออกแบบวิทยานิพนธ์ ทางสถาปัตยกรรม จนสาเร็จลุล่วง เป็นผลงานวิทยานิพนธ์การออกแบบทาง สถาปัตยกรรมที่สมบูรณ์ได้แก่ อาจารย์ วิศรุต ดานาพงศ์ นายชัยณุกฤตทัพพ์ พุ่มจันทร์ นางพิมพ์ธัญญา จิตรีพล
นางสาวกมลวรรณ จินดามรกฎ นายจิตรกร การิกาญจน์
XIII
01
02
METHODOLOGY
LITERATURE REVIEW
INTRODUCTION
BACKGROUND OF THEPROJECT
03
HISTORY OF ZEN
13
STUDY OBJECTIVES
05
ZEN IN ARCHITECTURE
21
PROJECT OBJECTIVES
06
CASE STUDY
PROJECT SCOPE PROJECT BENEFITS AND STUDY BENEFITS STEPS TO PROCEED
07 08
NURURALNESS SIMPLICITY PRIVACY SPACE ZEN ARCHITECTURE STRESS
09
03
XIV
38 42 47 50 54
ARCHITECTURAL FORMATION FROM ABSTRACT ANALYSIS
SITE ANALYSIS
56
SITE SELECTION ANALYSIS
63
USER ANALYSIS
70
SYNTHESIS
87
CONCLUSION
90
04
05
ARCHITECTURAL DESIGN
CONCLUSION
PROGRAMMING PRELIMINARY DESIGN
79
SCHEMATIC DESIGN
85
DETAIL DESIGN
86
ARCHITRCTURAL PRESENTATION
114
BIBLIOGRAPHY LIST OF TABLES LIST OF FIGURES
LIST OF ILLUSIONS APPENDIX CURRICULUM VITAE
XV
01
OF THEPROJECT
1.1 ความเป็นมาของโครงการ ความเครี ย ดทางอารมณ์ แ ละส่ ง ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพของ ร่างกายที่สะสมทีละน้อย อีกทั้งกิจวัตรประจาวันของคนเมืองที่อยู่รวมตัว กันเป็นหมู่มาก แออัด ไม่ได้ออกกาลังกายหรือเคลื่อนไหวร่างกายที่ดี ไม่มี เวลาพั ก ผ่ อ น ไม่ ไ ด้ ท ากิ จ กรรมยามว่ า ง และมี พื้ น ที่ ธ รรมชาติ ใ นการ พักผ่อนน้อย *นิยามความหมาย
สัจนิยม คือ การเอาตัวเองเป็นหลัก มีการกดขี่กัน มองโลกแง่ร้าย
วัตถุ คือ ทฤษฎีที่เชือ่ ว่าวัตถุ หรือความสุขทาง กายเป็นสิ่งมีค่าสูงสุดในชีวิต 3
ธรรมชาติ
ความเรียบง่าย
เพื่อทาให้เกิด
ทาให้คนในเมืองสามารถเข้าถึงวิถีแห่ง ธรรมชาติและความผ่อนคลาย
ความสงบ แบบเซน (ไดอะแกรมอธิบายความเป็นเซน)
4
ความเป็นส่วนตัว
1.3 วัตถุประสงค์ในการศึกษา STUDY OBJECTIVES
5
ศึกษาและทดลองการออกแบบตามหลักปรัชญานิกายเซนกับพื้นที่ทางสถาปัตยกรรมเพื่อทาให้เกิดรูปธรรม ทางสถาปัตยกรรมที่เหมาะแก่การพักผ่อน
1.เพื่อให้คนเมืองมีพื้นที่ผ่อนคลายที่อยู่กับธรรมชาติมาก ขึ้น
1.4 วัตถุประสงค์โครงการ
2.เพื่อให้คนเมืองมีพื้นที่ทากิจกรรมยามว่างมากขึ้น
PROJECT OBJECTIVES
3.เพื่อทาให้คนเมืองมีปฏิสัมพันธ์กับธรรมชาติมากขึ้น
4.เพื่อทาให้คนเห็นถึงหลักปรัชญาที่สามารถนามาเป็น รูปธรรมทางสถาปัตยกรรมได้ 6
1.5 ขอบเขตในการศึกษา PROJECT SCOPE ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับกรอบแนวคิด หลักการ หรือหัวใจสาคัญของนิกายเซนเพื่อนามาใช้ใน กระบวนการคิดและพัฒนา การก่อรูปสถาปัตยกรรมจากนามธรรม ศึกษาข้อมูลรูปแบบสถาปัตยกรรมทีผ่ ่อนคลายและสอดคล้องกับแก่นแท้ของนิกายเซน เพื่อให้ เกิดความเชื่อมโยงมากที่สุด
ศึกษาหาพื้นที่ที่เหมาะสมในกรุงเทพมหานคร ที่ช่วยในพักผ่อนของคนเมืองได้ทั้งระยะสั้นและ ระยะยาว
ที่มาภาพ www.behance.net 7
1.7 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา STUDY BENEFITS 1.6 ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ PROJECT BENEFITS 1. สามารถรู้วิธีการนาหลักปรัชญานิกายเซนแปลง ออกมาเป็นรูปธรรมในงานสถาปัตยกรรมได้
1.ทาให้มีพื้นที่พักผ่อนในรูปแบบเซนเพิ่มขึ้น 2.ทาให้มีพื้นที่ผ่อนคลายที่เข้าถึงง่ายสาหรับคนเมือง
3.ทาให้คนมีตัวเลือกในการผ่อนคลายมากขึ้น
8
2. สามารถประยุกต์หลักปรัชญามาแปลงเป็นพื้นที่ ทางกายภาพที่ผ่อนคลายได้
1.8 ขั้นตอนในการดาเนินการ STEPS TO PROCEED 1. ศึกษาเชิงทฤษฎี ประวัติความเป็นมา ข้อมูลพื้นฐาน และหัวใจสาคัญ ของนิกายเซน 2. ศึกษาหาพืน้ ที่ตัวอย่างที่มีความสอดคล้องกับพื้นที่ทางนิกายเซน 3. ศึกษาความเป็นไปได้ในพื้นที่กับกิจกรรมที่สอดคล้องในสังคมเมือง 4. ศึกษาพื้นที่โครงการที่เหมาะสมแก่การผ่อนคลายที่จะนามาออกแบบ 5. ศึกษาปรัชญาเซนที่เชื่อมโยงระหว่างพืน้ ที่การออกแบบกับพื้นที่การ ผ่อนคลาย 6. สรุปข้อมูลทั้งหมดเพื่อเตรียมตัวในการออกแบบ 7. ทดลองออกแบบพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมแก่การผ่อนคลาย 8. ทดลองการใช้พื้นที่ตามหลักปรัชญาเซนที่สรุปออกมาผสานกับการ รับรู้ทั้ง5ของมนุษย์
9. ทดลองการออกแบบในภาพรวมของโครงการและความสัมพันธ์ต่างๆ ของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในโครงการ 10. สรุปผลการออกแบบในการทดลองและกระบวนการทั้งหมดเพื่อ นาเสนอแบบขัน้ ตอนสุดท้าย ผ่านการออกแบบทางหุ่นจาลอง คอมพิวเตอร์ และเอกสารวิทยานิพนธ์
9
S T E P S TO
P R O C E E D
02
2.1 ประวัติความเป็นมาของนิกายเซน HISTORY OF ZEN
พุทธศาสนานิกายเซ็นเป็นพุทธศาสนานิกายหนึ่งที่พัฒนาขึ้นในดินแดนจีนช่วงคริสต์ศตวรรษ ที่ 7 และ 8 โดยการผสมผสานแนวคิดของพุทธศาสนาฝ่ายมหายานจากอินเดียและปรัชญาเต๋าในจีน คา ว่ า “เซ็ น ” (Zen) นี้ มี ร ากศั พ ท์ ม าจากภาษาสั น สฤตว่ า “ธยานะ” (dhyana) และภาษาบาลี ว่า “ฌาณ” (jhana) ที่แปลว่า “สมาธิ” ดินแดนญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลของแนวคิดนิกายฉานนี้เข้ามา แต่ที่ เรียกเป็นพุทธศาสนานิกายเซ็นก็เพราะชาวญี่ปุ่นออกเสียงคาว่า “ฉาน” เป็น “เซ็น” ต่อมาพุทธศาสนา นิกายนี้ได้พัฒนาออกไปเป็นหลายสานัก แต่มีแนวคิดหลักร่วมกัน คือเป็นพุทธศาสนาที่เน้นการปฏิบัติ สมาธิ
13
2.2 หลักปรัชญาและสถาปัตยกรรมที่แฝงปรัชญานิกายเซน
2.1.1 หลักปรัชญานิกายเซน 1. ความสะอาด สว่าง สงบ สู่ความว่างหรือสภาวะเงียบ 1.1 ความเป็นธรรมชาติ ไม่มีความคิดปรุงแต่ง (ธรรมชาติความเป็นพุทธะ) *พุทธภาวะ คือ ความสะอาด สว่าง สงบ สูค่ วามว่าง* 1.2 สงบ เยือกเย็น เป็นสันติสภาวะ จิตใจที่เป็นอิสระจากกระบวนการทางตรรกะ ที่มา: หนังสือเซนและสังคมญี่ปุ่น : ดร.ทวีวัฒน์ ปุณทริกวิวัฒ์
ที่มาภาพ : www.alittlebuddha.com
14
2. ความว่าง "เ ซ็ น แ บ บ พุ ท ธ ท า ส " นี้ เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม อิ ส ร ะ ห รื อ อ า จ จ ะ เรี ย กว่ า "เซน" หรื อ "เซ็ น " น ามาเสนอเพื่ อ ให้ เ ข้ า ใจในความเป็ น "พุ ท ธ ทาส" อีกมุมหนึ่ง ซึ่งเปรียบเหมือนกับการเป็นหัวใจเลยก็ว่าได้ "เซ็น" คือการ ปล่อยทุกข์อย่าง วางทุกอย่าง ไม่ให้ใจต้องเป็นทุกข์กับความรู้ทั้งปวง เป็นระบบ หนึ่งที่สอนทางด้านจิตวิญญาณ ที่มา : หนังสือเซนแบบพุทธทาส : วัชระ เซน
ที่มาภาพ : www.se-ed.com
15
PHILOSOPHY
3. นิ่งวาง วางทุกข์ เซนคือ วางทุกข์ วิถีแห่งเซนจะเน้นเรื่องการเข้าสมาธิอันตื่นรู้โดยไม่เกี่ยงว่าจะ ใช้วิธีแบบดั้งเดิม คือการขบปริศนาโกอัน หรือทาสมาธิจ้องกาแพงที่ว่าง(ซาเซน) หรือ การฝึกวาดพู่กันในชั่วหนึ่งลมหายใจ(เอนโซ่) โดยผู้ที่แจ่มแจ้งในเซน บรรลุเป็นอิสระ คือ ซาโตริ เมื่อเทียบกับเถรวาทคือ การบรรลุมรรคผล ที่มา : ZEN ในการทางานอย่างเซียน : ดังตฤน
ที่มาภาพ : www.dhammaway.wordpress.com
16
4.ความสงบ และความว่างในจิต เซนมีหลักสาคัญอยู่ข้อหนึ่งว่า “ข้ามอายตนะ อธิบายไม่ได้” ข้ามอายตนะอธิบายไม่ได้ อายตนะที่พูดถึงนี้คือ อายตนะภายใน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ หรือประสาทสัมผัสทั้งหก เชื่อมต่อกับ อายตนะ ภายนอก ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่ง ที่มาสัมผัส กับกาย) และธรรมารมณ์ (อารมณ์ สิ่งที่ใจคิดหรือจินตนาการ) ทั้งหมดนี้เป็นคู่กับ อายตนะภายในทาให้เกิดความรู้สึกขึ้นมา
ที่มาภาพ : www.se-ed.com
17
PHILOSOPHY
ทีม่ า: รู้ Zen ผ่าน Science : ดร. วรภัทร์ ภู่เจริญ
5.ความสะอาดบริสทุ ธิ์ ความสงบ ความว่าง และความกลมกลืน การเจริญสตินี้สามารถปฏิบัติได้ในชีวิตประจาวัน ไม่ต้องนั่งนิ่งหรืออยู่เฉยๆ ไม่ต้อง หลับตา แต่ให้เคลื่อนไหวอยู่เสมอเพื่อฝึกให้มีความรู้สึกตัว จะยืน เดิน นั่ง นอน ก็ทาได้ถ้ามี การเคลื่อนไหว ขอให้มีการเคลื่อนไหวเป็นใช้ได้ แต่ต้องมีความรู้สึกตัวอย่างต่อเนื่อง ส่วนใจ ที่มันคิดเรื่องโน้นเรื่องนี้ ก็ช่างมัน ไม่ต้องกาหนดหรือจ้องมันหรือบังคับไม่ให้มันคิด อย่าห้าม ความคิด เพราะความคิดคือสิ่งที่เราต้องทาความรู้จักมัน ต้องรู้เท่า รู้ทัน รู้จักกัน รู้จักแก้ เพราะมันเป็นต้นเหตุที่ทาให้ทุกข์ เมื่อมีความรู้สึกตัวทั่วพร้อมทั้งกาย - ใจอย่างเต็มที่ จะเห็น จิตใจที่ สะอาด ว่าง สงบนิ่ง เข้าถึงธรรมชาติตนและไม่วอกแวก
ที่มา : หลักปรัชญาของหลวงพ่อเทียน : www.paramatthasacca.com
ที่มาภาพ : www.openbase.in.th
18
19
20
2.2.1 Zen Space Zen Space สามารถทาให้พื้นที่ทางสถาปัตยกรรม เป็นสิ่งที่รวม "ความคิ ด " และ "จิ ต วิ ญ ญาณ" เซน ตระหนั ก ถึ ง การอยู่ ร่ ว มกั น ของ รู ป ลั ก ษณ์ ภ ายนอกและความคิ ด ภายใน โดยใช้ ก ารรวมองค์ ป ระกอบ ภายในและภายนอกเข้าด้วยกัน พื้นที่ทางสถาปัตยกรรมเซนไม่เพียงแต่ ผสมผสานความเป็นภูมิภาคและเอกลักษณ์ ประจำถิ่นเท่านั้น เซนยังใช้ แนวความคิดทางจิตใจ “การตรัสรู้และการปลดปล่อย” สรุปเซนในพื้นที่ คือการเชื่อมต่อระหว่างมนุษย์และพื้นที่ เพื่อทาให้เกิดความสมดุลระหว่าง พื้นทีแ่ ละจิตวิญญาณ
21
2.2.2. Features of Zen Space 2.2.2.1 แนวความคิดหลัก “จับต้องไม่ได้” ชาวเซนอยากให้ให้ชาวโลกมองว่า “ถึงไม่มีการแต่งตั้งคาศัพท์ แต่มันมี ความหมายมากกว่านั้นและเรียบง่ายที่สุด” เซนคิดว่าผู้คนสามารถรู้แจ้งได้ ตราบใดที่พวกเขา อยู่ห่างจากกิเลสทั้งหมด มุมมองความเรียบง่ายนี้ แสดงให้เห็นถึงรูปแบบตามธรรมชาติของสิ่ง ต่าง ๆ และมุ่งเน้นไปที่การค้นหาแก่นแท้ของสิ่งเหล่านั้น ซึ่งเรียกว่า “ความว่างเปล่า" หรือ "ไม่มี ตัวตน" เซนมีบทบาทสาคัญในการสร้างแนวความคิดเชิงพืน้ ที่ ซึ่งมันแตกต่างจาก “ว่างเปล่า” การออกแบบพื้นที่ทจี่ ับต้องไม่ได้ จึงต้องออกแบบให้เรียบง่ายที่สุด และลดการตกแต่ง ดังนั้นจึง ทาให้ผู้คนรู้สึกถึงความเคลื่อนไหวทางจิตวิญญาณได้อย่างรวดเร็วจากบรรยากาศที่เรียบง่าย และสงบ
22
ธรรมชาติถูกมองว่าเป็น สิ่งสาคัญของสุนทรียศาสตร์และเป็นสิ่งที่ มีเสมอมา ตามวัตถุประสงค์ของคน "ธรรมชาติ" ของเซนมุ่งเน้นไปที่การตรัสรู้ของมนุษย์ หลังจากที่ ผู้ใช้งานเชื่อมต่อกับธรรมชาติ มัน จะกระตุ้นให้ผู้ ใช้งานค้นพบสิ่งที่อยู่ ภายในจิตใจแทนที่จะเป็นแก่นแท้ของธรรมชาติ ดังนั้นผู้คนและธรรมชาติจึงมีความ กลมกลืนกัน Zen Space ถูกมองว่าเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงการรวมพื้นที่เข้ากับความงาม ตามธรรมชาติ โดยอาศั ย ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งในธรรมชาติ เพื่ อ สร้ า งบรรยากาศที่ สวยงามและน่ารืน่ รมย์ นี่คือ การเป็นไปตามธรรมชาติ
23
NATURALNESS
2.2.2.2 ธรรมชาติ คือ ความงาม
2.2.3 การออกแบบพืน้ ทีส่ ถาปัตยกรรม การออกแบบพื้นที่ ที่มีความเป็นธรรมชาติ โดยที่หลักการของเซนสามารถตอบสนองความ ต้องการทางจิตวิญญาณของมนุษย์ ท่ีมีความรู้สึกมากมาย เช่น ต้องการความเงียบสงบ หรือ ความกระตือรือร้น ดังนั้นการออกแบบ คือ การสร้างพืน้ ที่ที่เงียบสงบ และมีความเป็นธรรมชาติที่เรียบง่าย จึง ทาให้เกิดบรรยากาศทีส่ งบและแก่ผู้ใช้งานและทาให้ผู้ใช้งานเข้าถึงความรู้สึกของจิตวิญญาณที่ ต้องการผ่อนคลาย
24
NATURALNESS
2.3.3.1 หลักการออกแบบพื้นที่ 1.ธรรมชาติ ความกลมกลืน ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ นั้นมีการกระตุ้นให้เ กิด ความสมดุลใน ธรรมชาติ ในการออกแบบพื้นที่ทาให้พื้นที่สถาปัตยกรรมเข้าถึง ความสมดุลกับธรรมชาติ โดยการเชื่อมต่อระหว่างพื้นที่ทางสถาปัตยกรรมและพื้นที่ทางธรรมชาติ การผสานกันในพื้นที่ระหว่างธรรมชาติภายนอกและความรู้สึกภายในอาคารนั้นส่งผล เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน เช่น การมองเห็นพื้นน้าสะท้อนเงาของต้นไม้ เนินเขาที่ทอดตัวเป็นเส้น โค้ ง ที่ ทั บ ซ้ อ นกั น ท าให้ เ กิ ด ความรู้ สึ ก ถึ ง ความนิ่ ง สงบ และความนุ่ ม นวล ซึ่ ง การเห็ น บรรยากาศนี้จะไม่สามารถรู้สึกได้จริงๆหากใช้แต่ความคิดแบบมุ่งหาแค่เหตุผล แต่เมื่อปล่อย วางจิตใจให้ว่างก็จะสัมผัสกับความรู้สึกนี้ได้ โดยพื้นที่ธรรมชาติจะต้องถูกออกแบบมาโดยเฉพาะสาหรับการมองเห็น สัมผัส ได้กลิ่น สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ
25
NATURALNESS
รูปทรงอาคารกลมกลืนกับ บริบทโดยรอบ
1 รูปทรงที่เนียนไปกับบริบทโดยรอบ โดยรูปทรงสามารถมองเห็นในระดับสายตาและเนียนไปกับพื้นที่บริเวณนั้น หรือซ่อนรูปทรงไว้ใน พื้นที่นั้นและไม่ขัดกับบริบทโดยรอบ จึงทาให้ผู้ใช้งานรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ เช่น ถ้าอยู่ในเขตเมืองก็มีความเหมือนเมืองไม่เด่นชัด จนเกินไป และถ้าอยู่ในภูมิทศั น์ป่าก็จะไม่ทาอาคารที่ดูขัดแย้งกับบริบทโดยรอบ ความเป็นธรรมชาติ 26
2 พื้นที่รับรู้การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ คือ พื้นที่ที่เข้าไปแทรกอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ พื้นที่ที่นาธรรมชาติเข้าไปแทรกภายใน อาคาร พื้นที่ที่มองเห็นธรรมชาติ หรือ พื้นที่ที่เปิดให้สัมผัสกับธรรมชาติที่เปลี่ยนไปแต่ละฤดูกาลและทาให้ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงขอ ง ธรรมชาติในสภาพแวดล้อมต่างๆ ดิน น้า ลม แสง ต้นไม้ เช่น เงาที่กระทบลงบนผิวน้า หยดน้าที่หยดลงบนผิวน้า ลมที่พัดผิวน้า อุณหภูมิ ของกระแสลม แสงและเงาของต้นไม้ ความเป็นธรรมชาติ 27
NATURALNESS
พื้นที่รับรู้การเปลี่ยนแปลงของ ธรรมชาติ
2.ความเรียบง่าย พื้นที่เซนมีเสน่ห์ของตัวเองและการออกแบบทีม่ ีรายละเอียด "ความเป็น minimalist" หรือ “ Less is more” ถือเป็นความคิดหลักเฉพาะของ Zen Space การนาเสนอ "น้อยลง" มี ความหมายที่ "มากขึ้น“ ตัดสิ่งที่ไม่จาเป็นออก และมีพื้นที่จินตนาการเพิ่มเติมไปเอง พื้นที่นี้ทา ให้ผใู้ ช้งานสามารถทาสมาธิได้ดีขึ้น สามารถเข้าถึงจิตวิญญาณเชิงพื้นที่ของเซน ในสภาวะที่ เรียบง่าย
28
องค์ประกอบของการออกแบบ โดยทั่วไปพื้นที่ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับออกแบบและการแสดงออกของแบบสถาปัตยกรรม เป็นผลมาจากการรวมองค์ประกอบหลายอย่าง เข้าด้วยกัน ตัวอย่างเช่นมิติและสัดส่วนในพื้นที่ คือ รูปทรง การจัดแปลน สี และวัสดุ
29
SIMPLICITY
รูปทรงอาคาร
1 รูปทรงที่แตกต่างกันของแสงทาให้พื้นที่มแี นวคิดมากขึ้น รูปทรงที่มีความเชื่อมต่อกัน ต่อเนื่องกับพืน้ ผิวเดียวกันที่มีความเรียบ และสามารถแสดง ความรู้สึกต่างๆของผู้คนได้ เช่น ทาให้ผู้ใช้งานเกิดความรู้สึกนิ่งสงบจากพื้นผิวที่แข็งและทึบตัน
ความเรียบง่าย 30
การจัดแปลน
2 จัดแปลนให้มีความเลือนลาง ไม่ชัดเจนในขอบเขตของพื้นที่ โดยการใช้ผนังน้อย และพื้นที่โล่งดูกว้าง โดยไม่มีสิ่งของที่ไม่จาเป็นภายใ น จึงทาให้การจัด แปลนแบบนี้ดูเรียบง่าย น้อยชิ้น แต่ครบถ้วนในเรื่องของประโยชน์การใช้สอย และทาให้ผู้ใช้งานเกิดความสงบ ปลอดโปร่ง และโล่งสบาย เพื่ อให้เข้าถึงสภาวะของ จิตใจที่นิ่งสงบได้มากขึ้น จากการจัดแปลนที่ไม่ซับซ้อนนี้ ความเรียบง่าย 31
SIMPLICITY
พื้นผิว
3 พื้นผิวทีน่ าไปสู่ความรู้สึกเรียบง่าย คือ การสัมผัสกับทรายและหินที่ละเอียดและมีความเย็น รู้สึกถึงความอบอุ่นและนุม่ ของวัสดุไม้ รู้สึกถึงความแข็งแรง ของวัสดุโลหะหรือคอนกรีต รู้สึกถึงความทึบของคอนกรีตที่เรียบ วัสดุเหล่านี้สามารถสร้างความรู้สึกในพื้นที่ที่มีแนวคิดแบบเซน โดยการที่ได้สัมผัสหรือเห็น วัสดุที่ตรงไปตรงมา มีความเป็นเนื้อแท้ของวัสดุ ไม่ตกแต่งอะไรเพิ่ม ทาให้ผู้ใช้งานเกิดความรู้สึกนิ่ง สงบเงียบ หรือเกิดความสบายใจ และเข้าถึงแก่นแท้ที่เรียบง่าย ความเรียบง่าย 32
3.ความเป็นส่วนตัว ความเป็นส่วนตัวผ่านการออกแบบพื้นที่ เพื่อต้องการหาที่สงบเพื่อพักผ่อน สภาวะกายและใจ จากความวุ่นวายต่างๆ พื้นที่ความเป็นส่วนตัว คือ พื้นที่ทาให้ ผู้ใช้งานอยู่ในสภาวะที่ไม่ถูกรบกวนจากสิ่งแวดล้อมที่เราไม่ปรารถนาเช่น เสียง กลิ่น ผู้คน ความวุ่นวาย ความสับสน ความอึดอัด การเป็นทุกข์ เป็นต้น ความส่วนตัวนั่น คือสภาวะของการหยุดนิ่งเพื่อไม่ให้จิตใจนั่นครุ่นคิดทั้งเรื่องดีและไม่ดี เป็นสภาวะจิตที่ เป็นกลางและใจนิง่
http://wattpad.com
33
PRIVACY SPACE
ผู้ใช้งานกับพื้นที่ส่วนตัว
1 เป็นพื้นที่ที่มีผใู้ ช้งานน้อย หรือ อยู่เพียงลาพังคนเดียวท่ามกลางบรรยากาศรอบข้าง เป็นพื้นที่ที่มีระยะห่างระหว่างผู้ใช้งาน เป็นพื้นที่ส่วนตัว และเป็น พื้นที่กึ่งส่วนตัว เพื่อทาให้เกิดความเป็นส่วนตัวในการใช้งานพื้นที่ซึ่งทาให้ผู้ใช้งานรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติจากความสงบของบรรยากาศโดยรอบของ ธรรมชาติ ความเป็นส่วนตัว 34
2 มีขนาดพื้นที่ทใี่ หญ่กว่าผู้ใช้งาน เมื่อผู้ใช้งานเข้าไปในขนาดที่ใหญ่กว่าสัดส่วนตัวเองก็จะรู้สึกสงบ รู้สึกโปล่งโล่ง เหมือนตัวผูใ้ ช้งานดูเล็กลง จากความสูง ของเพดานหรือความกว้างของระยะผนัง ทาให้มีความโล่งสบาย ส่วนตัว เมื่อเข้าไปใช้งานพื้นที่ ความเป็นส่วนตัว 35
PRIVACY SPACE
ผู้ใช้งานกับขนาดของพื้นที่
PRIVACY SPACE
ผู้ใช้งานกับบรรยากาศ สภาพแวดล้อมของพื้นที่
3 การจัดให้ผู้ใช้งานได้เห็นหรือสัมผัสกับบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่มืด มองเห็นได้บางส่วนนั้นสร้างความรู้สึกปลอดภัยจากสิ่งที่มองไม่เห็นหรือ มองเห็นได้สลัว แต่เมื่อทาให้โปร่งโล่ง มองเห็นได้รอบทิศทางทาให้คนใช้งานรู้สึกไม่ปลอดภัย ไม่เป็นส่วนตัว ถ้าหากปิดกั้นหรือเปิดโล่งพื้นทีม่ ากจนเกินไปอาจ ทาให้เกิดความรู้สึกหดหู่ หรือความวุ่นวายมากขึ้น ความเป็นส่วนตัว 36
4 แนวอาคารที่กว้างลึก
เจาะช่องเปิดซับซ้อน
ทางเดินลาด
มีหลาย
ลาดับการรับรู้และการเข้าถึงที่ยาก ทาให้ผู้ใช้งานในพื้นทีน่ ึงมีจานวนน้อยลง จากการกั้นผนัง หรือเจาะช่องเปิดให้เข้าใช้ได้บางพืน้ ที่ สร้างแนวอาคาร ที่กว้างลึก ลาดชัน หรือมีหลายชั้น ซึ่งการเข้าถึงยากก็จะทาให้ผู้ใช้เข้าใจลักษณะการใช้งานที่ยากขึ้นแต่มีความเป็นส่วนตัวมากกว่าการเข้าใช้งานพื้นทีท่ ี่มี ความง่าย ความเป็นส่วนตัว 37
PRIVACY SPACE
ผู้ใช้งานกับลาดับการรับรู้ การเข้าถึงพื้นที่
ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรม ทีม่ ี ความเป็นธรรมชาติ
38
Hostel Wadi: อาคารในศูนย์การศึกษากลางป่าที่กลืนไปกับธรรมชาติ Architects: Studio Bernardo Secchi & Paola Vigan
39
Windhover Contemplative Center Stanford,US (ศูนย์จติ ตปัญญา) Architects : Aidlin Darling Design
40
Yeosu Water Pavilion, Yeosu-si, South Korea Architects : Daniel valle’s Architecture
41
ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรม ทีม่ ี ความเรียบง่าย
42
Teshima Art Museum ,Takamatsu,Japan Architects : Ryue Nishizawa
43
Barcelona Pavilion, Barcelona
Architect : Ludwig Mies van der Rohe
44
Mediterranean Villa,CaLabria,Italy Architect : MORQ
45
อุทยาน Valdefierro, Zaragoza, Spain
Architect : HactorFernandez Elorza
46
ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรม ทีม่ ี ความเป็นส่วนตัว
47
Beijing Zisheng Courtyard,Beijing ,China Architect : Jiejie studio
48
Shonan Christ Church ,Fujisawa ,Japan Architects : Takeshi Hosaka Architects
49
ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรม ทีม่ ที งั้ ความเป็นธรรมชาติ ความเรียบง่าย และความเป็นส่วนตัว
50
Courtyard of Suzhou Stream Villa, China Architect : Change Studio
51
Waterside Buddist Shrine, Singapore Architect : ARCHSTUDIO
52
ความกลมกลืนตามธรรมชาติ รูปทรงที่กลมกลืนกับบริบทโดยรอบ
พืน้ ทีเ่ ชือ่ มต่อกับธรรมชาติ
ความเรียบง่าย รูปทรงอาคาร
การจัดแปลน
พื้นผิว
ความเป็นส่วนตัว ผู้ใช้งานกับพื้นที่ส่วนตัว
ผู้ใช้งานกับขนาดของพื้นที่
ผู้ใช้งานกับลาดับการรับรู้ การเข้าถึงพื้นที่
53
ผู้ใช้งานกับบรรยากาศ สภาพแวดล้อมของพื้นที่
2.4 ความเครียด ( Stress )
ความเครียด (Stress) คือ ภาวะของอารมณ์และร่างกายที่ไม่ปกติหรือไม่สบาย เป็ น ปฏิ กิ ริ ย าของร่ า งกายที่ เ กิ ด ข้ึ น เมื่ อ สิ่ ง เร้ า ถู ก กระตุ้ น และเกิ ด การตอบโต้ ท าง สรีรวิทยาและจิตวิทยา โดยระบบต่อมไร้ท่อที่ หลั่งฮอร์โมนและระบบประสาทอัตโนมัติทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปทั่วร่างกายเกิดความกดดันเครียดในจิตใจและส่งผลทา ให้เกิด การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ชัดเจนทางร่างกาย
54
ทฤษฎีขอ้ มูลด้านสถิตทิ เี่ กีย่ วข้อง ตัวอย่างประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จานวนทั้งสิ้น 2,000 ตัวอย่าง ผลสาารวจในเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2562 1. ร้อยละ 7.06 Gen Z (อายุ 15-18 ปี ) มีความเครียดใน เรื่ อ งการเรี ย นมากที่ สุ ด รองลงมาเครี ย ดเรื่ อ งตั ว เอง เรื่ อ ง สิ่งแวดล้อม 2. ร้อยละ 11.65 Gen M (อายุ 19-24 ปี ) มีความเครียดใน เรื่องการเรียนมากที่สุด รองลงมาเครียดเรื่องการงาน และ เครียด เรื่องเศรษฐกิจ/การเงิน 3. ร้อยละ 21.20 Gen Y (อายุ 25-35 ปี ) มีความเครียดใน เรื่องการเรียนมากที่สุด รองลงมาเครียดเรื่องการงาน และ เรื่อง เศรษฐกิจ/การเงิน 4. ร้อยละ 32.02 Gen X (อายุ 36-50 ปี ) มีความเครียดใน เรื่องเศรษฐกิจ/การเงินมากที่สุด รองลงมาเครียดเรื่อง การงาน และเรื่องสิ่งแวดล้อม 5. ร้อยละ 28.07 Gen B (อายุ 51-69 ปี) มีความเครียดใน เรื่องเศรษฐกิจ/การเงินมากทีส่ ุด รองลงมาเครียดเรื่องการ งาน เรื่องสิ่งแวดล้อม และเครียดเรื่องสุขภาพ ทีม่ า : สถาบันวิจัยและบริการวิชาการ
55
03
การพิจารณาการเลือกพื้นที่ตั้ง
เกณฑ์การพิจารณามาจากการหาพื้นที่ตงั้ ที่มีผู้ใช้งานที่เครียดสูงและเป็นพื้นที่ทดลองเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพและผลลัพท์ที่มากที่สุด จึงทาให้มีการตั้งเกณ์ตามนี้
59
ประวัติย่านสาทร SATHON HISTORY
ตั้งอยู่บริเวณทางฝั่งตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณา เขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตบางรักและเขตปทุมวัน มีคลองสาทรและถนนพระราม ที่ 4 ฝั่งใต้เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตคลองเตยและเขตยานนาวา มีแนวทางรถไฟสาย ช่องนนทรี ซอยเชื้อเพลิง 4 (ศรีรุ้ง) และถนนเย็นอากาศเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตยานนาวาและเขตบางคอแหลม มีถนนนางลิ้นจี่ ถนน จันทน์เก่า คลองช่องนนทรี ถนนจันทน์ ถนนสาธุประดิษฐ์ ซอยสาธุประดิษฐ์ 12 (ทวี สิทธิ์) ซอยจันทน์ 43 แยก 33 ซอยจันทน์ 43 (วัดไผ่เงิน) ซอยจันทน์ 43 แยก 14 (อยู่ด)ี ซอยเจริญราษฎร์ 5 (อยู่ดี) ซอยเจริญราษฎร์ 8 (อยู่ดี) คูน้าข้างซอยจันทน์ 34/2 (มิตร สามัคคี) และซอยจันทน์ 49 และคลองกรวยเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตคลองสาน มีแนวกึ่งกลางแม่น้าเจ้าพระยาเป็นเส้น แบ่งเขต
60
61
62
63
ONE TO THREE SITE IN SELECTION 64
65
66
67
จากการวิเคราะห์พื้นที่เบื้องต้นพบว่า การวิเคราะห์จากข้อดีข้อเสียพื้นที่นั้น พบว่าพื้นที่ site 2 มีความเหมาะสมที่สุด เนื่องจากพื้นที่อยู่ในเขตธุรกิจและ เศรษฐกิจ ทาให้คนเข้าพื้นที่ใช้งานได้ง่าย และมีพื้นที่ติดถนน ติดสถานีรถไฟฟ้า และอยู่ในพื้นที่โล่งเอกชน โดยบริบทของพื้นทีต่ ั้งส่งผลต่อลักษณะและกิจจกร รมของโครงการให้มีประสิทธิภาพมากที่สดุ 68
รูปแบบพื้นที่ตงั้ โครงการ ขนาดพื้นที่ 5,586 ตารางเมตร
69
ด้านทิศเหนือ : ขนาดความยาว 38 เมตร ด้านทิศใต้ : ขนาดความยาว 38 เมตร ด้านทิศตะวันออก : ขนาดความยาว 150 เมตร ด้านทิศตะวันตก : ขนาดความยาว 150 เมตร
70
EVALUATION FORM SEX
JOB MALE
FEMALE 69.2%
23.1%
3.1%
ARCHITECTURE
15.4%
STUDENT/PROFESSOR
10.5% 7.7%
7.7%
TOURIST/FOREIGNER 30.8%
47.8%
SAT OR SUN
20.00-24.00
BUSINESSMAN COMPANY EMPLOYEE
06.00-11.00
7.7%
69.2%
3-4 HOUR
46.2%
16.00-19.00
11.30-15.00
1-2 HOUR 7.7% 7.7%
15.4%
30-50 MINUTE 10-30 MINUTE
SAT-SUN 23.1%
AGE
HOW OFTEN 15.4%
50-60 YEAR 40-50 YEAR
7.7% 76.9%
15.4%
SAT-SUN
15.4% 15.4%
EVERY DAY
25-30 YEAR
ONCE A YEAR
23.1%
30.8%
1-2 HOUR
MON-FRI
30-40 YEAR 10-15 YEAR
15.4%
ONCE A MONTH ONCE A WEEK
23.1% 38.5%
23.1%
MORE THAN 1 DAY
NOON
1 DAY
MORNING
7.7%
3-4 HOUR
THE JOURNEY CAR BUS MRT
61.5%
ไดอะแกรมประเมิณแบบสอบถามผู้ใช้งานย่านสาธร โดยจะมีรายละเอียด เพศ อายุ งาน มาสาธรบ่อยแค่ไหน เดินทางด้วยวิธีการใด 71
AFTERNOON
69.2%
5-12 HOUR
FIRST TIME
38.5%
EVENING
7.7%
15.4%
AFTER 6 PM
EVALUATION DIAGRAM
72
US ER
ไดอะแกรมประเภทของผู้ใช้งานในย่านสาธร ได้แก่ พนักงานที่มาทั้งวัน และ พนักงานที่มาระยะสั้น ตอนพักหรือเลิกงาน
73
74
STRESSED EMPLOYEES
06.00
07.00
08.00
12.00
21.00
NOON
EVENING
GENERAL S TAFF MORNING
75
04
โดยผู้ใช้งานโครงการมี 2 ประเภท คือ 1.มาเพื่อผ่อนคลาย (ใช้เวลาอยู่ในโครงการนาน) 2.มาเพื่อรับประทานอาหาร หรือ ผ่อนคลาย (ชั่วคราว) 79
พนักงานที่มีความเครียด (มาทั้งวัน) พนักงานทั่วไป (ระยะสั้น)
80
ลาดับเหตุการณ์ของแต่ละพืน้ ที่
แบบที่1 คือการเข้าถึงธรรมชาติแบบปกติ สัมผัสเซนทีละนิดในบางพื้นที่ สาหรับผู้ใช้งานที่มีเวลาน้อยไม่ได้ต้องการบาบัด ความเครียดแค่แวะมาพักผ่อนระยะสั้น และมีกิจกรรมที่สอดแทรกเซน โดยเจอพื้นที่เซนก่อน
1
แบบที่ 2 คือ การเข้าถึงธรรมชาติแบบเซนเลย ได้สัมผัสเซนโดยตรงตั้งแต่เริ่มเข้าใช้งาน มีความเป็นส่วนตัว สงบตั้งแต่แรก สาหรับผู้ใช้งานที่ต้องการมาบาบัดความเครียดโดยตรง และมีการใช้งานแบบสมาชิก และมีกิจกรรมเซนมากที่สุด โดยเจอพื้นที่กิจกรรมก่อนพื้นที่เซน
2
81
82
FUNCTION RELATIONSHIP
83
84
85
SECTION POINT
86
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น ทางเข้า โครงการ และ คาเฟ่
87
88
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น พื้นที่พักคอยคาเฟ่ร้านอาหาร ชั้นสอง และ โซนนั่งพักผ่อน ก่อนเข้าภายในอาคาร
89
90
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น ลานน้าแหวกก่อนเข้าจุด ประชาสัมพันธ์ และ ร้านอาหาร
91
92
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น ทางเข้าประชาสัมพันธ์ และ ลานธารน้า
93
94
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น พักคอยจุดประชาสัมพันธ์ และ พื้นที่พักผ่อนชั้นสอง
95
96
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น ร้านอาหารฟู้ดสตรีท และ ห้องชงชา
97
98
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น ห้องนวดตัว คาเฟ่ และ พัก คอยห้องออนเซน
99
100
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น โซนออนเซน พักคอยห้อง ทรีทเม้นท์ ห้องทรีทเม้นท์ และ คาเฟ่ชั้นสอง
101
102
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น ลานกอไผ่ ห้องสมาธิ และ ร้านอาหารชั้นสอง
103
104
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น ร้านอาหารชั้นสอง ห้องอบซาวน่า ห้อง สมาธิ และ พักคอย
105
106
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น พื้นที่ทานอาหาร ชั้นหนึ่ง และ ชั้นสอง
107
108
ภาพ มุมมอง ของฟังก์ชั่น ทางเข้า-ออก โครงการด้านหลัง และคาเฟ่
109
110
111
ห้องสมาธิ
ออนเซน
INFO
คาเฟ่
ห้องซาวน่า
ทรีทเม้นท์
ห้องนวดตัว
ห้องชงชา
พักคอย
ร้านขายของ คาเฟ่ ร้านอาหาร พักคอย
112
113
114
ออนเซน
โถงทางเดิน
โถงทางเดิน 115
ทางเข้าห้องนวด
ทางออกด้านหลังโครงการ ทางออกสปาคอร์ส
คาเฟ่ทางออก
พักคอย
ทางเข้าประชาสัมพันธ์
พักคอย
116
05
บทสรุป CONCLUSION การนาประเด็นเรือ่ งการผ่อนคลายความเครียดของคนในเมืองโดย ที่ทาให้คนเมืองมีพื้นที่ผ่อนคลายที่อยู่กับธรรมชาติมากขึ้น มีพื้นที่ทา กิจกรรมมาขึน้ ทาให้คนมีปฏิสัมพันธ์กับบธรรมชาติมากขึ้น จากการนา เครื่องมือที่ได้ประยุกต์มาจากหลักปรัชญานิกายเซน ได้แก่ ธรรมชาติ ความ เรียบง่าย และความเป็นส่วนตัว เพื่อทาให้เกิดความสงบแบบนิกายเซนนั้น การออกแบบได้ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับกรอบแนวคิด หลักการ หรือหัวใจ สาคัญของนิกายเซนเพื่อนามาใช้ในกระบวนการคิดและพัฒนา การก่อรูป สถาปัตยกรรมจากนามธรรม และศึกษาสถาปัตยกรรมเพื่อความผ่อน คลาย และได้หาสถานที่ตั้งที่เหมาะสมทีส่ ุดมาจากผู้ใช้งานที่ได้ทาการ สัมภาษณ์ในย่านสาธร จากการวิเคราะห์นั้นจึงได้พนื้ ที่ตั้งโครงการอยู่ใน ย่านสาธรตาแหน่งที่มึผู้ใช้งานที่หนาแน่นและเป็นลักษณะผู้ใช้งานวัยทางาน ได้แก่ พนักงานออฟฟิศและพนักงานทั่วไป ผลของการวิเคราะห์ที่ได้มา ทาให้การออกแบบมีผลต่อผู้ใช้งาน อย่างชัดเจนเรือ่ งความผ่อนคลาย เนื่องจากโครงการได้จัดฟังก์ชั่นการใช้ งานให้เหมาะแก่การทากิจจกรรมผ่อนคลายและมีองค์ประกอบ สถาปัตยกรรมที่ได้ประยุกต์กับเครื่องมือทีน่ ามาทดลองและจึงเกิดพื้นทีผ่ ่อน คลายแบบนิกายเซนได้ ผลที่ได้คือมีพื้นที่พักผ่อนเยอะเกินไปและพื้นที่ ธรรมชาติแบบเซนน้อย ควรจัดให้ด้านหน้าทางเข้าหนาแน่นและช่วงกลางถึง ท้ายโครงการจึงเบาบางมีฟังก์ชั่นที่น้อยลงตามลาดับ 121
บรรณานุกรม BIBLIOGRAPHY หนังสือ
[7] อนุชาติ พวงสาลี. (2553). “ระบบนิเวศ สรรพชีวิตสัมพันธ์” ข้อมูลจากเว็บไซต์ ในหนังสือ ธรรมชาติของสรรพสิ่ง การเข้าถึงความ จริงทั้งหมด. Nico Saieh . 2019. “Hostel Wadi / Studio [1] Daisetz Suzuki. Zen and life . Liu dabei, Meng Xiangsen, ประเวศ วะสี. 340. นนทบุรี:สานักพิมพ์กรีน-ปัญญาญาน. Bernardo Secchi & Paola trans.Mount Huangshan publishing house, Hefei,2010,171Viganò .” [Online]. June 2020, https:// 179. www.archdaily.com/609436/hostel-wadi วิททยานิพนธ์ -studio-bernardo-secchi-and-paola[2]Yun yajie.Application of Oriental Zen Culture in Space Design.J.Art Literature, 2014(01) 180-181. vigano. [1] วิทยานิพนธ์ชูเกียรติ สิกขะเจริญ .2558. “ปฏิสัมพันธ์ใน [3] Qin Yaping.The beauty of the space of Zen - the applica- สถาปัตยกรรม (พื้นที่ทางจินตภาพ – พื้นที่ทางกายภาพ) .” tion of Zen aesthetics in modern space design .J. Interior De- ระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ภาควิชา sign, 2011(03)17-19 + 33 + 20. สถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร . [4] Wang Yujia. Zen culture in the interior design of the research and application.J. Modern decoration (theory), 2014 (09)48-49.
[2] วิทยานิพนธ์สิริพร แ สงแก้วพะเนา.2560. “สถาปัตยกรรม ร่วมสมัยแบบเซน.” ระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชา [5] Meng Xiaohui, Jin Ya. Analysis of the beauty of Zen in the สถาปัตยกรรม ภาควิชาสถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย application of modern interior space design.J. beauty and มหาวิทยาลัยศิลปากร. times , 2013(09)82-83. [6] "Master Series" editorial department. Ando Tadao's works and thoughts.China Electric Power Press,Beijing, 2005.
122
สารบัญตาราง LIST OF TABLES Table 1 สรุปหลักปรัชญานิกายเซน
35
Table 2 EVALUATION FORM
71
Table 3 EVALUATION DIAGRAM
72
Table 4 สรุปตารางผู้ใช้งานย่านสาทร
74
Table 5 สรุปพื้นที่โครงการทั้งหมด
84
123
สารบัญรูป LIST OF FIGURES Figure 1 ที่มาของโครงการ
03
Figure 11 หลวงพ่อเทียน
18
Figure 2 ความเป็นเซน
04
Figure 12 สรุปนิกายเซน
20
Figure 3 วัตถุประสงค์โครงการ
06
Figure 13 แนวคิดทางสถาปัตยกรรม
21
Figure 4 ขอบเขตการศึกษา
07
Figure 14 จับต้องไม่ได้
22
Figure 5 ประโยชน์ที่ได้รับ
08
Figure 15 ธรรมชาติ คือ ความงาม
23
Figure 6 ประวัติความเป็นมาของนิกายเซน
13
Figure 16 ความเงียบสงบ
24
Figure 7 ดร.ทวีวัฒน์ ปุณทริกวิวัฒ์
14
Figure 17 ความกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ
25
Figure 8 วัชระ เซน
15
Figure 18 องค์ประกอบของธรรมชาติ
26
Figure 9 ดังตฤน
16
Figure 19 ความเรียบง่าย
28
Figure 10 ดร. วรภัทร์ ภู่เจริญ
17
Figure 20 พื้นผิว
32
124
สารบัญรูป LIST OF FIGURES Figure 21 ความเป็นส่วนตัว
33
Figure 33 มุมมอง 1
87
Figure 22 Hostel Wadi
39
Figure 34 มุมมอง 2
89
Figure 23 Windhover Contemplative Center
40
Figure 35 มุมมอง 3
91
Figure 24 Teshima Art Museum
43
Figure 36 มุมมอง 4
93
Figure 25 Barcelona Pavilion
44
Figure 37 มุมมอง 5
95
Figure 26 Mediterranean Villa
45
Figure 38 มุมมอง 6
97
Figure 27 Valdefierro
46
Figure 39 มุมมอง 7
99
Figure 28 Beijing Zisheng Courtyard
48
Figure 40 มุมมอง 8
101
Figure 29 Shonan Christ Church
49
Figure 41 มุมมอง 9
103
Figure 30 Courtyard of Suzhou Stream Villa
51
Figure 42 มุมมอง 10
105
Figure 31 Waterside Buddist Shrine
52
Figure 43 มุมมอง 11
107
Figure 32 ความเครียด
54
Figure 44 มุมมอง 12
109
Figure 45 มุมมองรวม
115
125
สารบัญรูป LIST OF FIGURES Figure 46 นิยามความหมาย
03
Figure 58 EVALUATION FORM
71
Figure 47 ไดอะแกรมอธิบายความเป็นเซน
04
Figure 59 ผู้ใช้งานหลัก-รอง
73
Figure 48 ความเป็นธรรมชาติ
26
Figure 60 USER ACTIVITY TIMELINE
75
Figure 49 องค์ประกอบของการออกแบบ
29
Figure 61 ACTIVITY
79
Figure 50 ความเรียบง่าย
30
Figure 62 LEVELS OF ZEN SPACE
80
Figure 51 ความเป็นส่วนตัว
34
Figure 63 SEQUENCE DIAGRAM
81
Figure 52 สรุปเครื่องมือ
53
Figure 64 FUNCTION RELATIONSHIP
82
Figure 53 การพิจารณาการเลือกพื้นที่ตงั้
59
Figure 65 ZONING AND SECTION POINT
85
Figure 54 SITE SELECTION
61
Figure 66 SECTION 1 AND PLAN
86
Figure 55 SITE ANALYSIS
62
Figure 67 SECTION 2 AND PLAN
88
Figure 56 SITE SELECTION ANALYSIS
64
Figure 68 SECTION 3 AND PLAN
90
Figure 57 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการและมุมมอง
68
Figure 69 SECTION 4 AND PLAN
92
126
สารบัญรูป LIST OF FIGURES Figure 70 SECTION 5 AND PLAN
94
Figure 76 SECTION 11 AND PLAN
106
Figure 71 SECTION 6 AND PLAN
96
Figure 77 SECTION 12 AND PLAN
108
Figure 72 SECTION 7 AND PLAN
98
Figure 78 LAYOUT
110
Figure 73 SECTION 8 AND PLAN
100
Figure 79 PLAN 1ST FLOOR
111
Figure 74 SECTION 9 AND PLAN
102
Figure 80 PLAN 2ED FLOOR
112
Figure 75 SECTION 10 AND PLAN
104
Figure 81 ELEVATION
113
Figure 82 EXTERIOR PERSPECTIVE
114
127
ภาคผนวก APPENDIX
128
หุ่นจาลองวิทยานิพนธ์ขั้นสุดท้าย 129
นาเสนอแบบร่างครั้งที่ 1
นาเสนอแบบร่างครั้งที่ 2
ตรวจการส่งหุน่ จาลอง
นาเสนอการออกแบบโครงการขั้นสุดท้าย หุ่นจาลองแบบร่าง
นาเสนอการออกแบบโครงการขั้นสุดท้าย 130
หุ่นจาลองบริบทรอบข้างโครงการ
เพลทนาเสนอวิทยานิพนธ์ THESIS PRESENTATION PLATE
131
ประวัติการศึกษา ปี 2557 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน สากลศึกษา บางบัวทอง จังหวัด นนทบุรี ปี 2559 สาเร็จการศึกษาระดับมัธบยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียน เทพศิรินทร์ นนทบุรี จังหวัด นนทบุรี
ประวัติผู้ทาวิทยานิพนธ์ CURRICULUM VITAE
ปี 2559 ศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ปัจจุบัน
31/67 หมู่ 11 ต.บางแม่นาง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี 11140
หมายเลขโทรศัพท์ 094-9578224 Email
Chavisa.pum@spumail.net
Chavisa J Pumchan
นางสาว ชวิศา พุ่มจันทร์ วันเดือนปีเกิด วันที่ 4 เดือน พฤษภาคม ปี พ.ศ. 2540 สถานที่เกิด โรงพยาบาลเอกชล ตาบลเสม็ด อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 132
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2410/2 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Tel: (662) 579 1111, (662) 561 2222