การดำเนินงานแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ

Page 1

รายงานสรุปผล การดําเนินงานแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เปาชีวิต จัดทําเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต ดูแลชีวิต จังหวัดชัยนาท ป ๒๕๕๖ ปญหา ปญหา

ศูนยอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดชัยนาท (ศจพ.จ.ชัยนาท) โทร. ๐๕๖-๔๑๑๐๖๘


๑. ความเปนมา

สวนที่ ๑ ความเปนมา แนวคิด แนวทาง และเปาหมาย

๑.๑ ประเทศไทย ประสบปญหาจากความเหลื่อมล้ําของการกระจายรายไดที่นับวันจะทํา ให เกิดชองวางระหวางคนจนกับ คนรวยมากขึ้น ขอมูลจากสภาพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ พบวา “ชองวางของรายได” ระหวางคนในกลุมชั้นรายไดตางๆ โดยแบงกลุมประชากรตามระดับรายได (Quintile by Income) จะเห็นวามีความแตกตางกันของรายไดในกลุมคนร่ํารวยสุด กับกลุมคนยากจนสุดทั่วประเทศ ในชวงเกือบสองทศวรรษที่ผานมา (ป ๒๕๓๔-๒๕๕๙) จะเห็นความเหลื่อมล้ําของรายไดระหวางประชากรใน ๒ กลุมนี้เพิ่มขึ้นมาก โดยขอมูลลาสุด กลุมคนที่มีรายไดนอยสุด มีรายไดเฉลี่ยเพียง ๑,๐๐๓ บาทตอเดือน (เสนความยากจน Poverty Line = ๑,๓๘๖ บาท/เดือน) ขณะที่กลุมที่มีรายไดสูงสุด มีรายไดเฉลี่ยสูงสุดถึง ๑๔,๖๙๓ บาทต อเดื อน (อ างอิ งจาก”ความเหลื่ อมล้ํ าของรายได อุป สรรคตอความยั่งยื น ของการพั ฒ นา ประเทศ” (http://www.Positioningmag.com) ๑.๒ ตัวชี้วัดความยากจนจากขอมูลความจําเปนพื้นฐานระดับครัวเรือน (จปฐ.) ขอ ๒๓ การประกอบอาชีพและรายได ป ๒๕๕๕ กําหนดไวที่ จํานวน ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ป หรือ จํานวน ๒,๕๐๐ บาท/คน/เดือน และใชเปนเกณฑชี้วัดระดับรายไดครัวเรือนยากจน ป ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ๑.๓ จาการประชุมสุดยอด UN เรื่อง Millennium Development Goals (MDG) หรือเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ ซึ่งเปนการตั้งเปาหมาย ๘ เปาหมาย เนนเรื่องการชวยเหลือประเทศ ยากจนโดยตั้งเป าไวที่จะบรรลุ เป าหมาย MDG ภายในป ๒๕๕๘ ซึ่งเป าหมายของ MDG ไดตั้ งเป าไววา ภายในป ๒๕๕๘ จะลดจํานวนคนจนลงใหไดครึ่งหนึ่งของจํานวนของป ๒๕๓๓ และจะลดจํานวนคนอด อยากหิวโหยใหไดครึ่งหนึ่งภายในป ๒๕๕๘ ๑.๔ กระทรวงมหาดไทย ไดรับมอบหมายใหเปนหนวยงานหลักในการจัดประชุมเจาหนาที่ อาวุ โ สอาเซี ย น ด า นการพั ฒ นาชนบทและขจั ด ความยากจน Senior Official Meeting on Rural Development and Poverty Eradication: SOMRDPE ในนามประเทศไทย ซึ่งเปาหมายยุทธศาสตรของ อาเซียนดานการขจัดความยากจน เนนการแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําในดานสังคม และเศรษฐกิจระหวาง ประเทศสมาชิกอาเซียน รวมถึงการบรรลุเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ MDG ของสหประชาชาติใน ดานการกําจัดความยากจนและความหิวโหย ๑.๕ กระทรวงมหาดไทย มีภารกิจที่ไดรับมอบหมายจากรัฐบาลในการแกไขปญหาครัวเรือน ยากจนที่ตรงจุด ตรงประเด็น เนื่องจาการแกไขปญหาความยากจน หรือครัวเรือนยากจน เปนปญหาที่ มี ความสลับซับซอน และมีความยากในการดําเนินการ เนื่องจากครัวเรือนแตละครัวเรือน มีเงื่อนไขหรือสาเหตุ ของปญหาหลายประการในเวลาเดียวกัน ไมสามารถแกไขดวยนโยบายหรือกิจกรรมดานใดดานหนึ่งเปนการ เฉพาะ และตองใชยะระเวลาพอสมควรในการแกไขปญหา ในการปรับเปลี่ยนหรือปรับปรุงวิถีชีวิต หรือวิธีคิด และเห็นผลสําเร็จเปนรูปธรรมชา ที่สําคัญการแกไขปญหาความยากจนหรือครัวเรือนยากจนตองแกไขกันเปน รายครัวเรือน ดังนั้นการดําเนินงานตองทุมเททรัพยากร และความเสียสละของผูม ีสวนรวม โดยอาศัยความ -๒ตั้งใจของครัวเรือนยากจน ความเอื้ออารีของชุมชนที่ครัวเรือนยากจนอยูอาศัย และการบูรณาการภารกิจของ สวนราชการ

๒. แนวคิดในการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการ


๒.๑ กรอบแนวคิดในการแกไขปญหาครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ๑) ความยากจนเกิดจากการบริหารจัดการชีวิตที่ไมเหมาะสม สมารถแกไขดวยการ บริหารจัดการชีวิต ครัวเรือน ดําเนินการ

๒) ปญหาความยากจน เปนปญหาเชิงซอนไมใชปญหาเชิงเดี่ยว ตองแกไขเปนราย ๓) ปญหาความยากจน ตองแกไขเปนกระบวนการบูรณาการและใชเวลาในการ

๒.๒ กระบวนการการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ๔ กระบวนการ กระบวนการที่ ๑ ชี้เปาชีวิตครัวเรือนยากจน (Life Identification): สรางทีม ปฏิบัติการจากบูรณาการภารกิจ บทบาทจากหลายภาคสวนที่เกี่ยวของ ทําการศึกษาขอมูล จปฐ. เพื่อคนหา ระบุครัวเรือนเปาหมาย กระบวนการที่ ๒ จัดทําเข็มทิศชีวิตหรือ “แผนที่ชีวิต” (Life Compass): ทีมงาน ผูเกี่ยวของในชุมชนรวมกันจัดการเรียนรูสรางความเขาใจทั้งในทีมงานและการคนหาชองทาง เพื่อใหครัวเรือน เปาหมายมีทิศทางที่ชัดเจนในการพัฒนาใหพนจน กระบวนการที่ ๓ บริหารจัดการชีวิต (การบูรณาการการมีสวนรวมของทุกภาคสวน) (Line Management): การนําเอาแผนที่ชีวิตในการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหพนจนของครัวเรือนเปาหมายที่ จัดทําไวไปปฏิบัติใหเห็นผล โดยครัวเรือนยากจนดําเนินการในสวนที่ดําเนินการเองได สวนทีมปฏิบัติการ แผนพัฒนาจังหวัด รวมทั้งการบูรณาการการปฏิบัติใหเปนไปตามบทบาทภารกิจ กระบวนการที่ ๔ ดูแลชีวิต (Life improvement): ทีมปฏิบัติการและผูนําชุมชนผูที่ เกี่ยวของไดรวมกันติดตามความกาวหนา การบริหารจัดการชีวิตของครัวเรือนยากจน ใหการสนับสนุน ดูแล ประคับประคอง ปรับปรุงแผนที่ชีวิตใหเหมาะสมสมบูรณขึ้น รวมถึงการคนหาครัวเรือนยากจนเปาหมายใหม ที่ตองใหมีการบริหารจัดการพัฒนาคุณภาพชีวิตในปตอไป

๓. แนวทางการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการ ๓.๑ การใชขอมูลครอบครัวยากจนตกเกณฑ จปฐ. ป ๒๕๕๕ จํานวน ๑๐๗ ครัวเรือน เปนฐานในการแกไขปญหาความยากจน ในป พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่แสดงถึงรายละเอียดขอมูลบุคคล ไดแก ชื่อ ครัวเรือนยากจน สภาพที่อยู บานเลขที่ หมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด ขอมูลเลขที่บัตรประจําตัวประชาชน และขอมูลรายไดครัวเรือนยากจนตอคน/ป แยกเปนรายอําเภอ ตําบล หมูบาน -๓๓.๒ การปฏิบัติการแกจนในระดับพื้นที่ ใชทีมปฏิบัติการแกจน (ระดับหมูบาน/ครัวเรือน) ในแตละตําบล ประกอบดวย พัฒนากร ปลัด อบต. หนวยงานราชการระดับตําบลที่เกี่ยวของ และผูนําชุมชน จํ านวนหนึ่ ง ดํ าเนิ น การภายใต แ นวคิ ด “ปฏิ บั ติ การเคาะประตู บ าน” “ปฏิ บั ติ ก าร ๔ ท” (ท๑ : ร ว มกั น พิจารณาทัศนะตอชีวิต ตอการงาน ท๒ : รวมกันศึกษาทักษะฝมือแรงงาน ท๓ : รวมกันประเมินทรัพยากร ที่ดิน ปจจัยการผลิต ฯลฯ ท๔ : รวมกันวิเคราะห ตัดสินใจ สรุปทางออก (แนวทางแกจน) ๓.๓ การบูรณาการแผนการดําเนินงาน และงบประมาณดําเนินงาน ภายใตกลุมภารกิจ ดานการสงเสริมการปกครองทองถิ่นและการพั ฒนาชุมชน และหนวยงานภาคีการพัฒ นาเพื่ อแกไขป ญหา ความยากจน ๓.๔ กลไกลการบริหารจัดการ ใชกลไกลศูนยอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนา


ชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทุกระดับ (ศจพ.กระทรวง กรม จังหวัด อําเภอ ตําบล หมูบาน/ชุมชน) ระดั บ ปฏิ บั ติ การ ระดั บ จั งหวัด ให ศจพ.จั งหวั ด เป น หน ว ยบู ร ณาการและสนั บ สนุ น การแก ไข ป ญ หาโดย เชื่อมโยงกับภารกิจและงบประมาณของสวนภู มิภาค องคกรปกครองสวนทองถิ่น และการสนับสนุน จาก ภาคเอกชน รวมทั้ งการสนั บ สนุ น การดํ าเนิ น งานเพื่ อแก ไขป ญ หาภายใต แผนยุ ท ธศาสตรการพั ฒ นาและ งบประมาณของจังหวัด

๔. เปาหมายการแกไขปญหาครัวเรือนยากจน

เปาหมาย กําหนดไวรอยละ ๕๐ ของครัวเรือนยากจนที่สํารวจจากขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ในป ๒๕๕๕ จํานวน ๑๐๗ ครัวเรือน ใหผานเกณฑรายได ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ป ในป ๒๕๕๖


สวนที่ ๒ ขั้นตอนการดําเนินงานแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการ เพื่อใหการดําเนินงานแกไขปญหาความยากจนในระดับพื้นที่มีประสิทธิภาพ และเปนไปในแนวทาง เดียวกัน ศูนยอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดชัยนาท (ศจพ.จ.ชัยนาท) จึงสรุปขั้นตอนการดําเนินงานแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการ เปน ๕ ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ ชี้เปาชีวิต ขั้นตอนที่ ๒ จัดทําเข็มทิศชีวิต(แผนที่ชีวิต) ขั้นตอนที่ ๓ บริหารจัดการชีวิต ขั้นตอนที่ ๔ ดูแลชีวิต ขั้นตอนที่ ๕ การติดตาม และประเมินผล ขั้นตอนที่ ๑ ชี้เปาชีวิต ๑. ปรับปรุง/จัดทําคําสั่งจัดตั้ง ศูนยอํานวยการปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับจังหวัด อําเภอ ตําบล หมูบาน ประชุมคณะกรรมการศูนยอํานวยการปฏิบัติการ ขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัด/อําเภอ (ศจพ.จ. /ศจพ.อ.) เพื่อสราง ความเขาใจเกี่ยวกับนโยบายการแกไขปญหาความยากจน ดวยกระบวนการบริหารจัดการครอบครัวเรือนยากจน ๔ กระบวนการ ๒. อําเภอแตงตั้งชุดปฏิบัติการ (ทีมเคาะประตูบาน) แตละตําบล ประกอบดวย ปลัดตําบล พัฒนากร ผูนําชุมชน (เชน อช/ผูนําอช/ผูนําสตรี/ผูนําอาชีพ) ครู กศน. เกษตรตําบล เปนตน โดยเฉลี่ยผูนํา ๑ คน รับผิดชอบ ๒ หมูบาน ๓. ประชุมชี้แจงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ชุดปฏิบัติการ(ทีมเคาะประตูบาน) สรางความรูความเขาใจ และบูรณาการทํางานเชิงนโยบาย นําไปสื่อสารสรางความเขาใจ แกครัวเรือนยากจน ๔. ชุดปฏิบัติการ รวมกันศึกษาขอมูลและคนหาครัวเรือนยากจน จากขอมูล จปฐ. ป ๒๕๕๕ ขอ ๒๓ ๕. ชุดปฏิบัติการตรวจสอบขอมูล ๒ ทาง คือ ๑) โดยกระบวนการชุมชนผานเวทีประชาคมและ กระบวนการแผนชุมชน ๒) ชุดปฏิบัติการไปเยี่ยมศึกษาครัวเรือนโดยตรงภายใตแนวคิด “ปฏิบัติการเคาะประตู บาน” ๖. ดําเนินการตามแนวทาง “ปฏิบัติการ ๔ ท” ท ๑ : ทัศนะตอชีวิต การงาน ท ๒: ทักษะฝมือแรงงาน ท ๓ : ทรัพยากร ที่ดิน ปจจัยการผลิต ท ๔ : วิเคราะหตัดสินใจสรุปทางออก(แนวทางแกจน) -๕๗. จําแนกกลุมเปาหมายตามศักยภาพ เปน ๒ ประเภท ไดแก ๑) กลุมที่สามารถพัฒนาตนเองได เพื่อเขาสูกระบวนการพัฒนาตนเองและครอบครัว ๒) กลุมที่ควรสงเคราะห เปนกลุมที่ไมสามารถชวยเหลือตนเองได เพื่อนําเขาสู


กระบวนการสงเคราะห เชน พิการ ผูสูงอายุ เปนตน ๘. จังหวัดจัดทําสมุดบันทึกการแกไขปญหาครัวเรือน (Family Folder) มอบใหอําเภอ/ตําบล ทีมงานระดับอําเภอ ตําบล ดําเนินการบันทึกขอมูล ฯลฯ ในสวนที่เกี่ยวของ ๙. สรางความตระหนัก และยอมรับสาเหตุของกลุมเปาหมาย ขั้นตอนที่ ๒ จัดทําเข็มทิศชีวิต/แผนที่ชีวิต ๑. กําหนดเปาหมายการปฏิบัติการของครัวเรือนเปาหมาย เพื่อนําไปสู ๓ พ คือ มีวิถีชีวิตเศรษฐกิจ พอเพียง มีความสุขพอเพียง และครอบครัวอบอุนพอเพียง ๒. ชุดปฏิบัติการรวมกับครัวเรือนเปาหมาย วิเคราะหตนทุน ศักยภาพของครัวเรือนเปาหมาย ไดแก ศึกษาอาชีพ ทางเลือก ที่มีความเปนไปไดและสอดคลองกับครัวเรือนเปาหมาย ๓. ชุดปฏิบัติการรวมกับครัวเรือนเปาหมาย จัดทําเข็มทิศชีวิต หรือ แผนที่ชีวิตของครัวเรือน เพื่อให ครัวเรือนมีทิศทางที่ชัดเจนในการพัฒนา ๔. สรางความเคารพในขอผูกพันตอเข็มทิศชีวิตที่จะเกิดขึ้น จัดทําขอตกลงระหวางครัวเรือนเปาหมาย กับชุดปฏิบัติการ (MOU ระหวางครัวเรือนยากจนกับชุดปฏิบัติการฯ) ขั้นตอนที่ ๓ บริหารจัดการชีวิต ๑. ครอบครัวยากจนบริหารจัดการชีวิตตามเข็มทิศของครัวเรือน ใน ๓ สวนคือ สวนที่หนึ่ง คือการบริหารจัดการชีวิตของครัวเรือนยากจนตนเอง เชน การลด ละ เลิก เหลา บุหรี่ การพนัน การเขาไปเกี่ยวของกับยาเสพติด ประหยัด รูจักใชเงินอยางมีเหตุผล การลด การบริโภคเกินความจําเปน การจัดทําบัญชีครัวเรือนเพื่อเตือนตนเองในการ ใชจาย เปนตน สวนที่สอง คือการสนับสนุนจากชุมชนที่ครอบครัวยากจนดําเนินชีวิตอยู เชน มีการชวยเหลือ เกื้อกูลใหครัวเรือนยากจนในดานเศรษฐกิจ การชวยเหลือในเรื่องการแกไขปญหาหนี้ นอกระบบดวยกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กองทุนแกไขปญหาความยากจน (กข.คจ.) หรือการใหสงเคราะหดานสวัสดิการชุมชน เปนตน สวนที่สาม คือการบูรณาการสวนราชการและองคปกครองสวนทองถิ่น เพื่อรวมมือกันแกไข ปญหาโดยยึดครอบครัวยากจนเปาหมาย ยึดเข็มทิศชีวิตหรือแผนชีวิตเปนแนว ทางการดําเนินงาน -๖๒. ชุดปฏิบัติการฯ ทีมงานในระดับอําเภอ/จังหวัด ประสานกิจกรรม/บูรณาการโครงการตามเข็มทิศ ชีวิต ชีวิตครัวเรือนเรือนยากจนเขาบรรจุในแผนพัฒนาทุกระดับ ๓. ภาคีพัฒนาทุกภาคสวน รวมกันผลักดัน ขับเคลื่อนกิจกรรมการแกไขปญหาครัวเรือนยากจนให สําเร็จเปนรูปธรรม ขั้นตอนที่ ๔ ดูชีวิต ๑. ชุดปฏิบัติการฯ/ทีมงานพัฒนาเข็มทิศชีวิต ติดตามความกาวหนาการบริหารจัดการ/ดูแลชีวิต โดย การมอบหมายงานใหเจาหนาที่ (ปลัดตําบล พัฒนากร อปท. ครู กศน. เกษตรตําบล สาธารณสุขตําบล ฯลฯ)และ ผูนําชุมชน (ผูนําอช./ผูนําสตรี) รับผิดชอบเปนรายครัวเรือน (จนท./ผูนํา ๑ คน/๓ ครัวเรือนเปนตน)


๒. ผลักดันใหหมูบาน มีสวนรวมในการดูแล ประคับประคองชีวิต และสนับสนุนใหครัวเรือน เปาหมายสามารถดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ ๓. ชุดปฏิบัติการฯ/ทีมงาน พัฒนาเข็มทิศชีวิต/แผนที่ชีวิต รวมกับครัวเรือนยากจนเปาหมาย โดย ปรับปรุงเข็มทิศชีวิต/แผนที่ชีวิต ใหมีความสมบูรณเหมาะสมยิ่งขึ้น ๔. ชุดปฏิบัติการฯ จัดเวทีชุมชนสะทอนสภาพปญหาในการดําเนินการ เพื่อปรับปรุงแนวทางใหดีขึ้น และเสนอเปาหมายครอบครัวยากจนที่ตองดําเนินการในปตอไป ขั้นตอนที่ ๕ การติดตามและประเมินผล การติดตามและประเมินผลเปนสิ่งสําคัญที่การบริหารจัดการ ที่จะตองมีการติดตามใหการดําเนินงาน เปนไปตามวัตถุประสงคและเปาหมาย ดังนั้น การแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการ จําเปนตองมีกลไกลการ ติดตามและประเมินผล ดังนี้ ระดับหมูบาน/ตําบล ทีมปฏิบัติการหมูบาน/ตําบล ดําเนินการติดตามและประเมินผลการยกระดับ รายไดครัวเรือนยากจนเปาหมายอยางจริงจังและตอเนื่อง โดยใชแผนที่ชีวิตของครัวเรือนยากจนเปาหมายเปน เครื่องมือ ระดับอําเภอ ติดตามและประเมินผล โดย ศจพ.อ และรายงานผลความกาวหนาในการแกไขปญหา ความยากจนใหจังหวัดทราบ ภายใน วันที่ ๑๕ ของทุกเดือน ระดับจังหวัด ติดตามและประเมินผล โดย ศจพ จ. และรายงานผลความกาวหนาในการแกไขปญหา ความยากจนใหกระทรวงมหาดไทยทราบภายใน วันที่ ๒๐ ของทุกเดือน

-๗กระบวนการการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ กรอบแนวคิด

กระบวนการที่ ๑ ชี้เปาชีวิต ต/แผน สรางและบูรณาการทีม ปฏิบัติการเพื่อเขาถึง ครัวเรือนยากจน (ทีม

๑. ความยากจนเกิดจากการบริหารจัดการชีวิตที่ไมเหมาะสม สมารถแกไข ดวยการบริหารจัดการชีวิต ๒. ปญหาความยากจนเปนปญหาเชิงซอนไมใชปญหาเชิงเดี่ยว ตองแกไข รายครอบครัว ๓. ปญหาความยากจนตองแกไขเปนกระบวนการบูรณาการและใชเวลาใน การดําเนินการ กระบวนการที่ ๒ จัดทําเข็มทิศชีวิต

กระบวนการที่ ๓ บริหารจัดการชีวิต

สรางคลีนิกหรือทีมงาน พัฒนาเข็มทิศชีวิต ระดับหมูบาน

ครัวเรือนยากจน บริหารจัดการชีวิตตาม เข็มทิศ

กระบวนการที่ ๔ ดูแลชวิต คลินิกหรือทีมงานพัฒนาชีวิต บูรณาการสวนราชการ ผูนํา ชุมชน/ติดตามความกาวหนา


ระบุครัวเรือนยากจน จากขอมูล จปฐ. ๓ป ยอนหลัง ตรวจสอบครัวเรือน ยากจนจากสวน ราชการอื่นและ ขอเท็จจริงในพื้นที่ (ประชาคม/ลงไป สํารวจรายครัวเรือน) วิเคราะหสาเหตุและ เงื่อนไขความยากจน รายครัวเรือน ทําใหครอบครัว ตระหนักและยอมรับ สาเหตุของปญหาความ ยากจน

สรางความเขาใจ รวมกันระหวาง เจาหนาที่ ผูร วม ดําเนินการ

เสนอเข็มทิศชีวิต/แผน ที่ชีวิตบรรจุในแผน ชุมชน

สงเสริมสนับสนุน ชุมชนในการดูแล ประคับประคองชีวิต

บูรณาการเข็มทิศชีวิต/ แผนที่ชีวิตอยูใน แผนพัฒนา อปท. แตละประเภท

ปรับปรุงเข็มทิศชีวิต/ แผนที่ชีวิตใหมีความสุข สมบูรณ/เหมาะสม ยิ่งขึ้น

รวมกันจัดทําเข็มทิศ ชีวิต ภายในครัวเรือน ยากจน

บูรณาการเข็มทิศชีวิต/ แผนที่ชีวิตอยูใน แผนพัฒนาอําเภอและ แผนพัฒนาจังหวัด

สะทอนภาพปญหาใน การดําเนินการเพื่อ ปรับปรุงแนวทางใหดี ขึ้น

สรางความเคารพใน ขอผูกพันตอเข็มทิศ ชีวิตที่จะเกิดขึ้น

บูรณาการสวน ราชการ/ อปท. ใหการ ปฏิบัติการ เพื่อแกไขครัวเรือน ยากจน

เสนอเปาหมาย ครัวเรือนยากจนที่ตอง ดําเนินการใน ปตอไป

สรางความรูความ เขาใจ ใหผูนําชุมชน ที่รวมทีม ดําเนินการ (ประชาคม/ลงไป สํารวจรายครัวเรือน)


สวนที่ ๓ บทบาท หนาที่ ของหนวยงานภาคีเพื่อแกไขปญหาความยากจน ระดับกระทรวง สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ๑. กํากับเชิงนโยบาย บูรณาการระดับกระทรวง ๒. นํายุทธศาสตรการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการ ๒๕๕๕-๒๕๕๙ เปนนโยบายเรงดวน ของ กระทรวงมหาดไทยในป ๒๕๕๕ ๓. กําหนดเปนนโยบายของกระทรวงมหาดไทยใหทุกจังหวัดกําหนดวาระการแกไขปญหาความยากจน ใหเปนวาระเรงดวนของทุกจังหวัด ๔. กําหนดกิจกรรม/โครงการ การแกไขปญหาความยากจนในแผนยุทธศาสตรหารพัฒนาจังหวัด ประจําปและแผนพัฒนาจังหวัด ระยะ ๕ ป กรมการพัฒนาชุมชน ๑. จัดทํานโยบายและยุทธศาสตรการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการ ๒. ตรวจสอบครัวเรือนยากจน กําหนดเปาหมาย ๓. จัดทําสมุดบันทึกการแกไขปญหาความยากจนรายครัวเรือน (Family Folder) ๔. สงเสริมการดําเนินงานกับการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เปาชีวิต จําทํา เข็มทิศชีวิต/แผนที่ชีวิต บริหารจัดการชีวิต ดูแลชีวิต ๕. ประสานการดําเนินงานกับหนวยงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ กรมการปกครอง ๑. บูรณาการทุกภาคสวนสนับสนุนการแกไขปญหา (ปญหาเชิงโครงสราง) เชน ปญหาหนี้สิน/ที่ดินทํา กิน/ที่อยูอาศัย/สุขภาพ/การศึกษา ฯลฯ ๒. บูรณาการโครงการ/กิจกรรม หารแกไขปญหาความยากจนในแผนพัฒนาอําเภอ ๓. สนับสนุนคาราวานแกจน,อําเภอเคลื่อนที่ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น อุดหนุนงบประมาณการสงเสริมอาชีพแกครัวเรือนยากจน บรรจุในแผนพัฒนาทองถิ่นขององคกรปกครอง สวนทองถิ่นทุกระดับ กรมที่ดิน สํารวจที่ดินวางเปลา จัดสรรใหครัวเรือนประกอบอาชีพ/ที่อยูอาศัย กรมโยธาธิการและผังเมือง ออกแบบบานคนจน

-๙การประปาสวนภูมิภาค


สงเสริมน้ําสะอาด กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย จัดทําแผนปองกันภัยพิบัติเพื่อลดความเสี่ยงภัยของชุมชน

ระดับจังหวัด ที่ทําการปกครองจังหวัด ใหอําเภอเปนหนวยบูรณาการโครงการ/กิจกรรมการแกไขปญหาความยากจนในระดับพื้นที่ภายใต แผนพัฒนาอําเภอ สํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดชัยนาท อุดหนุนงบประมาณการสงเสริมอาชีพแกครัวเรือนยากจน โดยบรรจุโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนา ทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกระดับ สํานักงานที่ดินจังหวัดชัยนาท บริหารจัดการการใชประโยชนในที่ดินสาธารณะประโยชนที่มีการบุกรุกเพื่อขจัดความยากจนและพัฒนา ชนบท (โครงการที่ดินของรัฐขจัดความยากจน) สํานักงานจังหวัดชัยนาท - การจัดทํายุทธศาสตรการแกไขปญหาความยากจนกระทรวงมหาดไทย กําหนดเปนนโยบายเรงดวนของ จังหวัด ในป ๒๕๕๕ เปนตนมา {ภารกิจของสํานักนโยบายและแผน (สป.มท.)} - นํานโยบายการแกไขปญหาความยากจนกระทรวงมหาดไทย ไปกําหนดเปนวาระเรงดวนของจังหวัด และกําหนดโครงการ/กิจกรรมในแผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด ป ๒๕๕๖ และแผนพัฒนาจังหวัดระยะ ๕ ป {ภารกิจของสํานักพัฒนาและสงเสริมการบริหารราชการจังหวัด (สป.มท.)} สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด จัดทําบัญชีครัวเรือนยากจนเปาหมาย จัดทําสมุดบันทึกการแกไขปญหาความยากจนรายครัวเรือน (Family Folder) สงเสริมการดําเนินงานการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ และประสาน การดําเนินงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ


สวนที่ ๔ ผลการดําเนินงานโครงการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการจังหวัดชัยนาท ปงบประมาณ ๒๕๕๖ จังหวัด ชัยนาท โดยคณะกรรมการศูน ยอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒ นาชนบท ตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดชัยนาท (ศจพ.จ.ชัยนาท) ไดดําเนินการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณา การจังหวัดชัยนาท ตามแนวทางที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด ดังนี้ ๑) ใชขอมูลครัวเรือนยากจนตกเกณฑ จปฐ.ป ๒๕๕๕ รายไดต่ํากวา ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ป เปน ฐานในการแกไขปญหาความยากจน ๒) ปฏิบัติการแกจนในระดับพื้นที่ ใชทีมปฏิบัติการแกจน (ระดับหมูบาน/ครัวเรือ น) ในแตละ ตําบล ประกอบดวย พัฒนากร ปลัด อบต. หนวยงานราชการระดับตําบลที่เกี่ยวของ และผูนําชุมชนจํานวน หนึ่ง ดําเนินการภายใตแนวคิด “ปฏิบัติการเคาะประตูบาน” “ปฏิบัติการ ๔ ท” (ท๑ : รวมกันพิจารณาทัศนะ ตอชีวิต ตอการงาน ท๒ : รวมกันศึกษาทักษะฝมือแรงงาน ท๓ : รวมกันประเมินทรัพยากร ที่ดิน ปจจัยการ ผลิต ฯลฯ ท๔ : รวมกันวิเคราะห ตัดสินใจ สรุปทางออก (แนวทางแกจน ) ๓) บู รณาการแผนการดําเนิ น งาน และงบประมาณดํ าเนิ น งาน ภายใต กลุ มภารกิ จ ดานการ สงเสริมการปกครองทองถิ่นและการพัฒนาชุมชน ของกระทรวงมหาดไทย และหนวยงานภาคีการพัฒนาเพื่อ แกไขปญหาความยากจน ๔) กลไกการบริหารจัดการ ใชกลไกศูนยอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนา ชนบท ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยงทุกระดับ (ศจพ.กระทรวง กรม จังหวัด อําเภอ ตําบล หมูบ าน/ ชุมชน) ระดับปฏิบัติการให ศจพ.จังหวัด เปนหนวยบูรณาการและสนับสนุนการแกไขปญหา โดยเชื่อมโยงกับ ภารกิจ และงบประมาณของสวนภูมิภาค องคกรปกครองสวนทองถิ่นและการสนับสนุนจากภาคเอกชน รวมทั้ง การสนับสนุนการดําเนินงานเพื่อแกไขปญหาภายใตแผนยุทธศาสตรการพัฒนา และงบประมาณของจังหวัด งบประมาณของส วนภู มิภ าค องค กรปกครองส วนท องถิ่ น และการสนั บ สนุ น จากภาคเอกชน รวมทั้ งการ สนับสนุนการดําเนินงานเพื่อแกไขปญหาภายใตแผนยุทธศาสตรการพัฒนาและงบประมาณของจังหวัด ซึ่งฝาย เลขานุการคณะกรรมการฯ ไดประสานสงขอมูลครัวเรือนเปาหมายใหแกหนวยงานภาคี เพื่อสนับสนุนจัดสรร งบประมาณโครงการ/กิจกรรม สงเสริมครัวเรือนยากจนฯ โดยใหรายงานผลการดําเนินงานใหฝายเลขานุการฯ ทุกวันที่ ๑๐ ของเดือน จังหวัดชัยนาทมีครัวเรือนที่ตกเกณฑรายได จากการเก็บขอมูล จปฐ. ป 2555 จํานวน 107 ครัวเรือน แยกตามรายอําเภอไดดังนี้ 1. อําเภอเมืองชัยนาท จํานวน 1 ครัวเรือน 2. อําเภอมโนรมย จํานวน 4 ครัวเรือน 3. อําเภอวัดสิงห จํานวน 12 ครัวเรือน 4. อําเภอสรรพยา จํานวน ๔ ครัวเรือน /อําเภอสรรคบุรี... - ๑๑ – 5. อําเภอสรรคบุรี จํานวน ๑๓ ครัวเรือน 6. อําเภอหันคา จํานวน 51 ครัวเรือน 7. อําเภอหนองมะโมง จํานวน ๑7 ครัวเรือน


8. อําเภอเนินขาม วิธีการดําเนินการขับเคลื่อน

จํานวน 5 ครัวเรือน

ใชวิธีการดําเนินการขับเคลื่อน ๔ กระบวนการ ดังนี้ ๑. กระบวนงานที่ ๑ ชี้เปาชีวิต 1.1 ประชุมคณะกรรมการแกไขปญหาความยากจนฯ ระดับจังหวัด (ศจพ.จ.) จํานวน 80 คน รวม 2 ครั้ง งบประมาณ 7,550 บาท เปนคาอาหารวางและเครื่องดืม่ และคาวัสดุ 1.๒ ประชุมคณะกรรมการแกไขปญหาความยากจนระดับอําเภอและทีมบูรณาการตําบล เพื่อเขาถึงครัวเรือน (ดําเนินการระดับอําเภอ) จํานวน 26 ตําบลๆละ 5 คน รวม 130 คน จํานวน ๑ ครั้ง งบประมาณ 3,250 บาท เปนคาอาหารวางและเครื่องดื่ม 1.๓ จัดเวทีตรวจสอบขอมูลและจําแนกครัวเรือนยากจน และจัดทําฐานขอมูลครัวเรือน (ดําเนินการ ระดับตําบล) จํานวน 26ตําบลๆละ 10 คน รวม 260 คน ๑ ครั้ง งบประมาณ 6,500 บาท เปนอาหารวาง และเครื่องดื่ม ๒. กระบวนงานที่ ๒ จัดทําเข็มทิศชีวิต ชุดปฏิบัติการตําบลรวมกับครัวเรือนยากจนจัดทําทบทวนเข็มทิศชีวิต/แผนชีวิต หรือแผนพัฒนา ครัวเรือน (ดําเนินการระดับหมูบาน) วิเคราะหตนทุนและศักยภาพของครัวเรือน สรางทางเลือกและขอตกลงในการ หาทางออกตามเข็มทิศชีวิต ดําเนินการ 58 หมูบานๆละ 100 บาท งบประมาณ 5,800 บาท เปนคาพาหนะ ทีมปฏิบัติการระดับตําบล ๓. กระบวนงานที่ ๓ บริหารจัดการชีวิต จัดเวทีบูรณาการโครงการ/กิจกรรมตามเข็มทิศชีวิตของครัวเรือนยากจนเปาหมาย (ดําเนินการระดับอําเภอ) ทีมปฏิบัติการตําบล ภาคีการพัฒนาทุกภาคสวน รวมกันผลักดันแผนงาน/โครงการ ตามเข็มทิศชีวิตของครัวเรือนเปาหมาย บรรจุในแผนใหความชวยเหลือของหนวยงานและแผนพัฒนาทุกระดับ จํานวน8 อําเภอ ไมมีงบประมาณโดยใหการบูรณาการรวมกับงบหนวยงาน งบยุทธศาสตรจังหวัด และงบของ สวนทองถิ่น 4. กระบวนงานที่ ๔ ดูแลชีวิต 1) จัดคลินิกแกจน (ดําเนินการระดับอําเภอ) ใหคําปรึกษาอาชีพทางเลือกสําหรับครัวเรือน ยากจน จํานวน 1 อําเภอ(อําเภอหันคา) เปาหมาย 50 คน ๑ วัน งบประมาณ 13,500 บาท เปนคาอาหาร อาหารวางและเครื่องดื่ม และคาวัสดุ 2) สนับสนุนวัสดุ อุปกรณการประกอบอาชีพแกครัวเรือนยากจน 54 ครัวเรือนๆ ละ 300 บาท จํานวน 7 อําเภอ งบประมาณ 16,200 บาท 3) การนําเสนอผลการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจน (ดําเนินการระดับจังหวัด) จังหวัดละ ๕๐ คน รวม ๑ วัน งบประมาณ 14,000 บาท จัดทําประกาศเกียรติคุณและมอบของที่ระลึก ครัวเรือนตนแบบ คาเชาสถานที่ และคาวัสดุ - ๑๒ กิจกรรมที่สนับสนุนการยกระดับครัวเรือน หนวยงาน/องคกรภาคีเขาไปสนับสนุน และสมาชิกในครัวเรือนยากจนใหความรวมมือในการ ปรับพฤติกรรมการดํารงชีวิตเพื่อยกระดับรายไดครัวเรือน ดังนี้


๑) การสนับสนุนเบี้ยยังชีพ เครื่องอุปโภคบริโภค ๒) การสนับสนุนพันธุพืช พันธุสัตว เพื่อเปนการลดรายจาย และสงเสริมอาชีพเสริมเพิ่ม รายไดใหกับครัวเรือน เชน การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงไกไข การเลี้ยงปลา เปนตน ๓) การเขาถึงแหลงทุนชุมชน (ดอกเบี้ยต่ํา) เชน กองทุนหมูบาน กลุมออมทรัพยฯ และ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เพื่อนําไปประกอบอาชีพตามความถนัดของครัวเรือน ๔) การสนับสนุนทุนการศึกษาใหแกบุตร ๕) การชวยเหลือตามโครงการปรับสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยสําหรับคนพิการ ของสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ๖) การจัดทําบัญชีครัวเรือนเพื่อใหรูตนเอง ๗) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณเงินอุดหนุนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดชัยนาท เพื่อจัดหาวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือในการประกอบอาชีพแกครัวเรือนยากจน ๘) อื่น ๆ ผลการดําเนินงานยกระดับครัวเรือนยากจน สรุปผลการดําเนินงานขับเคลื่อนเพื่อยกระดับรายไดครัวเรือนยากจน ในปงบประมาณ 2556 แยกเปนรายงานอําเภอ ดังนี้ อําเภอ เมืองชัยนาท มโนรมย วัดสิงห สรรพยา สรรคบุรี หันคา หนองมะโมง เนินขาม

รวม

ครัวเรือน ตาย ตกเกณฑ และยาย ใหการ ป ที่อยู สงเคราะห ๒๕๕๕ (คร.) ๑ ๑ ๔ ๓ ๑๒ ๗ ๔ ๑ ๓ ๑๓ ๑ ๔ ๕๑ ๑ ๒๒ ๑๗ ๓ ๕ ๑

๑๐๗

๔๔

ประเภท พัฒนาฯ พัฒนา และ ตนเองได สงเคราะห ๑ ๕ ๑ ๗ ๑๑ ๑๗ ๕ ๙ ๒ ๒

- ๑๓ -

๑๙

ผานเกณฑ รายไดเฉลี่ย ป ๒๕๕๖

๔๑

๑ ๒ ๑๒ ๓ ๑๑ ๔๒ ๑๗ ๒

๙๐

ตกเกณฑ ซ้ํา ป ๒๕๕๖ ๒ ๑ ๘ ๓

๑๔

จากการใหการสงเคราะห และสมาชิกในครัวเรือนไดรับการพัฒนาดานอาชีพหลัก และอาชีพเสริม รวมทั้งการปรับพฤติกรรมการดํารงชีวิต ทําใหคนครัวเรือนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตามผลการดําเนินงานแยกเปน ประเภทไดดังนี้ ๑. ใหการสงเคราะห จํานวน ๔๔ ครัวเรือน ผานเกณฑ จํานวน ๓๖ ครัวเรือน ไมผานเกณฑ จํานวน ๘ ครัวเรือน ๒. พัฒนาตนเองได และใหการสงเคราะห จํานวน ๑๙ ครัวเรือน ผานเกณฑ จํานวน ๑๔ ครัวเรือน ไมผานเกณฑ จํานวน ๕ ครัวเรือน ๓. พัฒนาตนเองได จํานวน ๔๑ ครัวเรือน


ผานเกณฑ จํานวน ๔๐ ครัวเรือน ไมผานเกณฑ จํานวน ๑ ครัวเรือน ประเมินผลการปฏิบัติราชการ การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดชัยนาท ประจําป งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ ตัวชี้วัดที่ ๔.๔ ระดับความสําเร็จของการแกไขปญหาเพื่อลดจํานวนครัวเรือนยากจนที่ มีรายไดเฉลี่ยต่ํากวาเกณฑ จปฐ. เปาหมายเปนครัวเรือนยากจนตกเกณฑ จปฐ. ป ๒๕๕๕ มีรายไดต่ํากวา เกณฑ ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ป จํานวน ๑๐๗ ครัวเรือน ซึ่งเสียชีวิตและยายออกจากพื้นที่ ๓ ครัวเรือน คงเหลือ ครัวเรือนที่เขารวมโครงการฯ จํานวน ๑๐๔ ครัวเรือน ผลการดําเนินงาน มีครัวเรือนผานเกณฑรายได จํานวน ๙๐ ครัวเรือน คิดเปน รอยละ ๘๖.๙๑ ซึ่งเกินกวาคาเปาหมายที่กําหนดไวไมนอยกวารอยละ ๕๐ (ตั้งเปาหมายไวรอยละ ๖๐) ของครัวเรือนตกเกณฑ การคัดเลือกครัวเรือนยากจนตนแบบ จังหวัดใหอําเภอคัดเลือกครัวเรือนยากจน ที่สามารถพัฒนาตนเองเพื่อยกระดับรายไดครัวเรือน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อําเภอละ ๑ ครัวเรือน รวม ๘ ครัวเรือน (ยกเวนอําเภอเมืองชัยนาทไมมีครัวเรือน ยากจนตนแบบ) เพื่อรับรางวัลฯ ในวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๖ ในงานมหกรรม “ชัยนาทเศรษฐกิจสรางสรรค” ดังนี้ ที่ ๑ 2 3 4 5 6 7

ชื่อ-สกุล นายสุวรรณ จันทรอยู นางสาวฉวีวรรณ บัวสิงห นางสาวสายพิน มวงศักดิ์ นายลําจวน ยิ้มศรี นายสมพงษ นวนอิ่ม นายประยูร สวนบอแร นายสวน บากอง

บานเลขที่ ๔๔ ๓๐๔ ๑๕๘/๒ ๗๐/๒ ๑๒ ๒๒ ๑๕๓

หมูที่ ๓ ๓ ๕ ๗ ๑๔ ๒ ๑๕

ตําบล ไรพัฒนา หนองบัว โพนางดําตก โพงาม หนองแซง สะพานหิน กะบกเตี้ย

อําเภอ มโนรมย วัดสิงห สรรพยา สรรคบุรี หันคา หนองมะโมง เนินขาม


ผลการดําเนินงานโครงการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการจังหวัดชัยนาท ปงบประมาณ ๒๕๕๖ จังหวัด ชัยนาท โดยคณะกรรมการศูน ยอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒ นาชนบท ตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดชัยนาท (ศจพ.จ.ชัยนาท) ไดดําเนินการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณา การจังหวัดชัยนาท ตามแนวทางที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด ดังนี้ ๑) ใชขอมูลครัวเรือนยากจนตกเกณฑ จปฐ.ป ๒๕๕๕ รายไดต่ํากวา ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ป เปน ฐานในการแกไขปญหาความยากจน ๒) ปฏิบัติการแกจนในระดับพื้นที่ ใชทีมปฏิบัติการแกจน (ระดับหมูบาน/ครัวเรือน) ในแตละ ตําบล ประกอบดวย พัฒนากร ปลัด อบต. หนวยงานราชการระดับตําบลที่เกี่ยวของ และผูนําชุมชนจํานวน หนึ่ง ดําเนินการภายใตแนวคิด “ปฏิบัติการเคาะประตูบาน” “ปฏิบัติการ ๔ ท” (ท๑ : รวมกันพิจารณาทัศนะ ตอชีวิต ตอการงาน ท๒ : รวมกันศึกษาทักษะฝมือแรงงาน ท๓ : รวมกันประเมินทรัพยากร ที่ดิน ปจจัยการ ผลิต ฯลฯ ท๔ : รวมกันวิเคราะห ตัดสินใจ สรุปทางออก (แนวทางแกจน ) ๓) บู รณาการแผนการดําเนิ น งาน และงบประมาณดํ าเนิ น งาน ภายใต กลุ มภารกิ จ ดานการ สงเสริมการปกครองทองถิ่นและการพัฒนาชุมชน ของกระทรวงมหาดไทย และหนวยงานภาคีการพัฒนาเพื่ อ แกไขปญหาความยากจน ๔) กลไกการบริหารจัดการ ใชกลไกศูนยอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนา ชนบท ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยงทุกระดับ (ศจพ.กระทรวง กรม จังหวัด อําเภอ ตําบล หมูบ าน/ ชุมชน) ระดับปฏิบัติการให ศจพ.จังหวัด เปนหนวยบูรณาการและสนับสนุนการแกไขปญหา โดยเชื่อมโยงกับ ภารกิจ และงบประมาณของสวนภูมิภาค องคกรปกครองสวนทองถิ่นและการสนับสนุนจากภาคเอกชน รวมทั้ง การสนับสนุนการดําเนินงานเพื่อแกไขปญหาภายใตแผนยุทธศาสตรการพัฒนา และงบประมาณของจังหวัด งบประมาณของส วนภู มิภ าค องค กรปกครองส วนท องถิ่ น และการสนั บ สนุ น จากภาคเอกชน รวมทั้ งการ สนับสนุนการดําเนินงานเพื่อแกไขปญหาภายใตแผนยุทธศาสตรการพัฒนาและงบประมาณของจังหวัด ซึ่งฝาย เลขานุการคณะกรรมการฯ ไดประสานสงขอมูลครัวเรือนเปาหมายใหแกหนวยงานภาคี เพื่อสนับสนุนจัดสรร งบประมาณโครงการ/กิจกรรม สงเสริมครัวเรือนยากจนฯ โดยใหรายงานผลการดําเนินงานใหฝายเลขานุการฯ ทุกวันที่ ๑๐ ของเดือน จังหวัดชัยนาทมีครัวเรือนที่ตกเกณฑรายได จากการเก็บขอมูล จปฐ. ป 2555 จํานวน 107 ครัวเรือน แยกตามรายอําเภอไดดังนี้ 1. อําเภอเมืองชัยนาท จํานวน 1 ครัวเรือน 2. อําเภอมโนรมย จํานวน 4 ครัวเรือน 3. อําเภอวัดสิงห จํานวน 12 ครัวเรือน 4. อําเภอสรรพยา จํานวน ๔ ครัวเรือน 5. อําเภอสรรคบุรี จํานวน ๑๓ ครัวเรือน 6. อําเภอหันคา จํานวน 51 ครัวเรือน 7. อําเภอหนองมะโมง จํานวน ๑7 ครัวเรือน 8. อําเภอเนินขาม จํานวน 5 ครัวเรือน วิธีการดําเนินการขับเคลื่อน ใชวิธีการดําเนินการขับเคลื่อน ๔ กระบวนการ ดังนี้


๑. กระบวนงานที่ ๑ ชี้เปาชีวิต 1.1 ประชุมคณะกรรมการแกไขปญหาความยากจนฯ ระดับจังหวัด (ศจพ.จ.) จํานวน 80 คน รวม 2 ครั้ง งบประมาณ 7,550 บาท เปนคาอาหารวางและเครื่องดื่ม และคาวัสดุ 1.๒ ประชุมคณะกรรมการแกไขปญหาความยากจนระดับอําเภอและทีมบูรณาการตําบล เพื่อเขาถึงครัวเรือน (ดําเนินการระดับอําเภอ) จํานวน 26 ตําบลๆละ 5 คน รวม 130 คน จํานวน ๑ ครั้ง งบประมาณ 3,250 บาท เปนคาอาหารวางและเครื่องดื่ม 1.๓ จัดเวทีตรวจสอบขอมูลและจําแนกครัวเรือนยากจน และจัดทําฐานขอมูลครัวเรือน (ดําเนินการ ระดับตําบล) จํานวน 26ตําบลๆละ 10 คน รวม 260 คน ๑ ครั้ง งบประมาณ 6,500 บาท เปนอาหารวาง และเครื่องดื่ม ๒. กระบวนงานที่ ๒ จัดทําเข็มทิศชีวิต ชุดปฏิบัติการตําบลรวมกับครัวเรือนยากจนจัดทําทบทวนเข็มทิศชีวิต/แผนชีวิต หรือแผนพัฒนา ครัวเรือน (ดําเนินการระดับหมูบาน) วิเคราะหตนทุนและศักยภาพของครัวเรือน สรางทางเลือกและขอตกลงในการ หาทางออกตามเข็มทิศชีวิต ดําเนินการ 58 หมูบานๆละ 100 บาท งบประมาณ 5,800 บาท เปนคาพาหนะ ทีมปฏิบัติการระดับตําบล ๓. กระบวนงานที่ ๓ บริหารจัดการชีวิต จัดเวทีบูรณาการโครงการ/กิจกรรมตามเข็มทิศชีวิตของครัวเรือนยากจนเปาหมาย (ดําเนินการระดับอําเภอ) ทีมปฏิบัติการตําบล ภาคีการพัฒนาทุกภาคสวน รวมกันผลักดันแผนงาน/โครงการ ตามเข็มทิศชีวิตของครัวเรือนเปาหมาย บรรจุในแผนใหความชวยเหลือของหนวยงานและแผนพัฒนาทุกระดับ จํานวน8 อําเภอ ไมมีงบประมาณโดยใหการบูรณาการรวมกับงบหนวยงาน งบยุทธศาสตรจังหวัด และงบของ สวนทองถิ่น 4. กระบวนงานที่ ๔ ดูแลชีวิต 1) จัดคลินิกแกจน (ดําเนินการระดับอําเภอ) ใหคําปรึกษาอาชีพทางเลือกสําหรับครัวเรือน ยากจน จํานวน 1 อําเภอ(อําเภอหันคา) เปาหมาย 50 คน ๑ วัน งบประมาณ 13,500 บาท เปนคาอาหาร อาหารวางและเครื่องดื่ม และคาวัสดุ 2) สนับสนุนวัสดุ อุปกรณการประกอบอาชีพแกครัวเรือนยากจน 54 ครัวเรือนๆ ละ 300 บาท จํานวน 7 อําเภอ งบประมาณ 16,200 บาท 3) การนําเสนอผลการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจน (ดําเนินการระดับจังหวัด) จังหวัดละ ๕๐ คน รวม ๑ วัน งบประมาณ 14,000 บาท จัดทําประกาศเกียรติคุณและมอบของที่ระลึก ครัวเรือนตนแบบ คาเชาสถานที่ และคาวัสดุ กิจกรรมที่สนับสนุนการยกระดับครัวเรือน หนวยงาน/องคกรภาคีเขาไปสนับสนุน และสมาชิกในครัวเรือนยากจนใหความรวมมือในการ ปรับพฤติกรรมการดํารงชีวิตเพื่อยกระดับรายไดครัวเรือน ดังนี้ ๑) การสนับสนุนเบี้ยยังชีพ เครื่องอุปโภคบริโภค ๒) การสนับสนุนพันธุพืช พันธุสัตว เพื่อเปนการลดรายจาย และสงเสริมอาชีพเสริมเพิ่ม รายไดใหกับครัวเรือน เชน การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงไกไข การเลี้ยงปลา เปนตน ๓) การเขาถึงแหลงทุนชุมชน (ดอกเบี้ยต่ํา) เชน กองทุนหมูบาน กลุมออมทรัพยฯ และ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เพื่อนําไปประกอบอาชีพตามความถนัดของครัวเรือน


๔) การสนับสนุนทุนการศึกษาใหแกบุตร ๕) การชวยเหลือตามโครงการปรับสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยสําหรับคนพิการ ของสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ๖) การจัดทําบัญชีครัวเรือนเพื่อใหรูตนเอง ๗) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณเงินอุดหนุนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดชัยนาท เพื่อจัดหาวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือในการประกอบอาชีพแกครัวเรือนยากจน ๘) อื่น ๆ ผลการดําเนินงานยกระดับครัวเรือนยากจน สรุปผลการดําเนินงานขับเคลื่อนเพื่อยกระดับรายไดครัวเรือนยากจน ในปงบประมาณ 2556 แยกเปนรายงานอําเภอ ดังนี้ อําเภอ เมืองชัยนาท มโนรมย วัดสิงห สรรพยา สรรคบุรี หันคา หนองมะโมง เนินขาม

รวม

ครัวเรือน ตาย ตกเกณฑ และยาย ใหการ ป ที่อยู สงเคราะห ๒๕๕๕ (คร.) ๑ ๑ ๔ ๓ ๑๒ ๗ ๔ ๑ ๓ ๑๓ ๑ ๔ ๕๑ ๑ ๒๒ ๑๗ ๓ ๕ ๑

๑๐๗

๔๔

ประเภท พัฒนาฯ พัฒนา และ ตนเองได สงเคราะห ๑ ๕ ๑ ๗ ๑๑ ๑๗ ๕ ๙ ๒ ๒

๑๙

-๔-

ผานเกณฑ รายไดเฉลี่ย ป ๒๕๕๖

๔๑

๑ ๒ ๑๒ ๓ ๑๑ ๔๒ ๑๗ ๒

๙๐

ตกเกณฑ ซ้ํา ป ๒๕๕๖ ๒ ๑ ๘ ๓

๑๔

จากการใหการสงเคราะห และสมาชิกในครัวเรือนไดรับการพัฒนาดานอาชีพหลัก และอาชีพเสริม รวมทั้งการปรับพฤติกรรมการดํารงชีวิต ทําใหคนครัวเรือนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตามผลการดําเนินงานแยกเปน ประเภทไดดังนี้ ๑. ใหการสงเคราะห จํานวน ๔๔ ครัวเรือน ผานเกณฑ จํานวน ๓๖ ครัวเรือน ไมผานเกณฑ จํานวน ๘ ครัวเรือน ๒. พัฒนาตนเองได และใหการสงเคราะห จํานวน ๑๙ ครัวเรือน ผานเกณฑ จํานวน ๑๔ ครัวเรือน ไมผานเกณฑ จํานวน ๕ ครัวเรือน ๓. พัฒนาตนเองได จํานวน ๔๑ ครัวเรือน ผานเกณฑ จํานวน ๔๐ ครัวเรือน ไมผานเกณฑ จํานวน ๑ ครัวเรือน ประเมินผลการปฏิบัติราชการ การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดชัยนาท ประจําป งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ ตัวชี้วัดที่ ๔.๔ ระดับความสําเร็จของการแกไขปญหาเพื่อลดจํานวนครัวเรือนยากจนที่ มีรายไดเฉลี่ยต่ํากวาเกณฑ จปฐ. เปาหมายเปนครัวเรือนยากจนตกเกณฑ จปฐ. ป ๒๕๕๕ มีรายไดต่ํากวา


เกณฑ ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ป จํานวน ๑๐๗ ครัวเรือน ซึ่งเสียชีวิตและยายออกจากพื้นที่ ๓ ครัวเรือน คงเหลือ ครัวเรือนที่เขารวมโครงการฯ จํานวน ๑๐๔ ครัวเรือน ผลการดําเนินงาน มีครัวเรือนผานเกณฑรายได จํานวน ๙๐ ครัวเรือน คิดเปน รอยละ ๘๖.๙๑ ซึ่งเกินกวาคาเปาหมายที่กําหนดไวไมนอยกวารอยละ ๕๐ (ตั้งเปาหมายไวรอยละ ๖๐) ของครัวเรือนตกเกณฑ การคัดเลือกครัวเรือนยากจนตนแบบ จังหวัดใหอําเภอคัดเลือกครัวเรือนยากจน ที่สามารถพัฒนาตนเองเพื่อยกระดับรายไดครัวเรือน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อําเภอละ ๑ ครัวเรือน รวม ๘ ครัวเรือน (ยกเวนอําเภอเมืองชัยนาทไมมีครัวเรือน ยากจนตนแบบ) เพื่อรับรางวัลฯ ในวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๖ ในงานมหกรรม “ชัยนาทเศรษฐกิจสรางสรรค” ดังนี้ ที่ ๑ 2 3 4 5 6 7

ชื่อ-สกุล นายสุวรรณ จันทรอยู นางสาวฉวีวรรณ บัวสิงห นางสาวสายพิน มวงศักดิ์ นายลําจวน ยิ้มศรี นายสมพงษ นวนอิ่ม นายประยูร สวนบอแร นายสวน บากอง

บานเลขที่ ๔๔ ๓๐๔ ๑๕๘/๒ ๗๐/๒ ๑๒ ๒๒ ๑๕๓

หมูที่ ๓ ๓ ๕ ๗ ๑๔ ๒ ๑๕

ตําบล ไรพัฒนา หนองบัว โพนางดําตก โพงาม หนองแซง สะพานหิน กะบกเตี้ย

อําเภอ มโนรมย วัดสิงห สรรพยา สรรคบุรี หันคา หนองมะโมง เนินขาม


ภาพถายกิจกรรม ขับเคลื่อนการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการจังหวัดชัยนาท

ทีมปฏิบตั ิการระดับตําบลออกเคาะประตูบานเพื่อคนหาปญหา -๒-


ศจพ.จ.ประชุมจัดทําแผนปฏิบัติการ และแผนบูรณาการแกไขปญหาฯ

-3-

ศจพ.อ. ประชุมวางแผนเพื่อแกไขปญหาฯ -๓- ๔


-๔–


จัดคลีนิกแกจนที่อําเภอหันคา


ภาคผนวก


ภาคผนวก ๑

คําสั่งจัดตั้งศูนยอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดชัยนาท (ศจพ.จ.ชัยนาท และ คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานติดตามผลการดําเนินงานการแกไขปญหาความยากจน แบบบูรณาการจังหวัดชัยนาท


ภาคผนวก ๒ แผนปฏิบัติการแกไขปญหาความยากจน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดชัยนาท ประจําป ๒๕๕๖

ภาคผนวก ๓ แผนบูรณาการแกไขปญหาความยากจน


ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดชัยนาท ประจําป ๒๕๕๖

ภาคผนวก ๔ ทะเบียนครัวเรือนตกเกณฑ จปฐ. ป ๒๕๕๕


ภาคผนวก ๕ ทะเบียนผลการแกไขปญหาความยากจนแยกตามประเภทปญหา


ภาคผนวก ๖ ตัวอยางการถอดบทเรียนการดําเนินงานฯ ระดับอําเภอ และครัวเรือน


ภาคผนวก ๗ ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม ขับเคลื่อนการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการจังหวัดชัยนาท


ทีมปฏิบตั ิการระดับตําบลออกเคาะประตูบานเพื่อคนหาปญหา -๒-


ศจพ.จ.ประชุมจัดทําแผนปฏิบัติการ และแผนบูรณาการแกไขปญหาฯ

-3-

ศจพ.อ. ประชุมวางแผนเพื่อแกไขปญหาฯ -๓- ๔


-๔–



คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา นายจําลอง นางพรรณี นายสมคิด

โพธิ์สุข งามขํา มุสิกอินทร

วิเคราะหและเขียนรายงาน นายชุติยันต วัจนะรัตน นางพรรณี พุมสุข นางสาวจันทิมา พุมสําเภา นางสุมาลี นอยสําลี

ผูวาราชการจังหวัดชัยนาท รองผูวาราชการจังหวัดชัยนาท พัฒนาการจังหวัด หัวหนากลุมงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ

กําหนดรูปแบบ/เนื้อหา/ปก/พิมพและพิสูจนอักษร นางพรรณี พุมสุข นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.