งานพัฒนาชุมชนศูนย์ศึกษาการพัฒนาชุมชน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ิเขาหินซ้อนจังหวัดฉะเชิงเทรา

Page 1

งานพัฒนาชุมชน ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดฉะเชิงเทรา


คํานํา การสงเสริมงานศิลปาชีพหัตถกรรมพื้นบาน เปนการฟนฟูภูมิปญญาทองถิ่นทางดานการจักสาน การทอผา การทอเสื่อ การตีมีด การทําเตาเอนกประสงค โดยการนําของที่มีอยูในชุมชน มาใชใหเกิด ประโยชน เช น ใบหญา แฝก ตนกก ฝ า ย โดยจะนํา มาทํ า ใหเป นเครื่องใช ตา งๆ มี ค วามสวยงามเป น ธรรมชาติ งานพัฒนาชุมชนศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เปนหนวยงาน หลักในการ “สงเสริมศิลปหัตถกรรมและอุตสาหกรรมในครัวเรือน” เปนแหลงเรียนรูบานตัวอยางเกษตร พอเพียง และเปนแนวทางในการพัฒนาที่นําไปสูความสามารถในการพึ่งตนเองในระดับตางๆ อยางเปน ขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ พรอมทั้งเปดโอกาสใหเกษตรกร นิสิต นักศึกษา และคณะกลุมองคกรตางๆในหมูบานรอบศูนยฯ และทั่วไปไดมาศึกษาเรียนรูพรอมทั้งฝกอบรม เพื่ อเป น อาชี พ เสริม ซึ่ ง เป นการเพิ่ ม รายไดจากอาชี พ หลั ก อีก ทางหนึ่ง และเป นการลดรายจ า ยใหแ ก ครัวเรือนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง


สารบัญ ประวัติความเปนมา การจักสานผลิตภัณฑจากเสนใยพืช การทอเสื่อกก การทอผา การตีเหล็ก การทําเตาเอนกประสงค บานตัวอยางเกษตรพอเพียง ความกาวหนาของกลุมอาชีพตาง ๆและสงเสริมงานดานศิลปาชีพสูโรงเรียน บทบาทและภารกิจ จุดเดน / ปญหา - อุปสรรค /แนวทางแกไขปญหาและโอกาส แผนงานและกิจกรรม

หนา 1 3 4 4 5 5 6 6 8 9 10


ประวัติความเปนมา เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2522 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเสด็จพระราชดําเนินไปเปดศาลบวร ราชานุสาวรีย พระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว ณ ตําบลเขาหินซอน อําเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา ราษฎรไดนอมเกลาถวายที่ดิน หมูที่ 2 ตําบลเขาหินซอน จํานวน 264 ไร พระองคไดเสด็จ ทอดพระเนตรที่ดินดังกลาว และทรงพระราชดําริกับอําเภอ จังหวัด และหนวยงานราชการตาง ๆ ไดแก กรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน กรมปาไม กรมปศุสัตว ใหรวมกันพัฒนาพื้นที่แหงนี้ จัดทําเปนศูนย ศึกษาตัวอยางสาธิตการพัฒนาดานเกษตรกรรม และงานศิลปาชีพเพื่อเปนแหลงใหเกษตรกรตลอดจน ผูสนใจไดเขาชม ศึกษา และคนควาหาความรูเพิ่มเติมได ในการนี้กรมการพัฒนาชุมชนเปนหนวยราชการหนวยหนึ่งที่ไดรับมอบหมายใหดําเนินงานที่ เกี่ยวของ งานพัฒนาชุมชนจึงไดดําเนินการกอตั้งเมื่อป พ.ศ. 2524 เปน 1ใน 12 หนวยงานที่มีสถานที่ ปฏิ บั ติ ง านในโครงการศู น ย ศึ ก ษาการพั ฒ นาเขาหิ น ซ อ นอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดํ า ริ โดยมี พื้ น ที่ รับผิดชอบ 31 ไร 3 งาน 54 ตารางวา มีวัตถุประสงคเพื่อเปนแหลงฝกอาชีพและถายทอดวิทยาการ แผนใหมในดานอาชีพและงานดานศิลปาชีพ เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามวัตถุประสงค ในปพ.ศ. 2524 กรมการพัฒนาชุมชนจึงไดดําเนินการ 1. สรางอาคารฝกอบรมและหอพัก สําหรับใชในการฝ กอบรมและที่ พักคางคืน สามารถรองรับ บุคคลได 50 – 70 คน

กอนปรับปรุง หลังปรับปรุง พ.ศ. 2556 2. โรงอาหาร ห อ งครั ว ใช สํ า หรั บ ประกอบอาหาร กรณี ที่ มี ก ารมาใช อ บรมและพั ก ค า งคื น ที่ หนวยงาน

กอนปรับปรุง หลังปรับปรุง พ.ศ. 2556 3. โรงฝกงาน เปนสถานที่ใชสําหรับ ฝกงาน เชน งานซอมเครื่องยนต ชางไฟฟาเปนตน


2

4. โรงเรือนเพาะชําเปนสถานที่สําหรับเพาะชํากลาไมของหนวยงาน ปจจุบันปรับปรุงเปนจุดแสดง และสาธิตการตีมีดเมื่อ ปพ.ศ.2554

กอนปรับปรุง

หลังปรับปรุง พ.ศ. 2554

ในป 2525 ไดดําเนินการกอสรางโรงเลี้ยงไหม โดยนําเกษตรกรมาสาธิตการปลูกหมอนเลี้ยงไหม ในการดําเนินการตองประสบปญหา ดังนี้ 1. ตนหมอนที่มาปลูกมีความเจริญเติบโตชา เพราะในชวงนั้นปญหาเรื่องความสมบูรณของดินยังไม ดีพอ ใบหมอนไวใชสําหรับการเลี้ยงไหมในชวงนั้นจึงไมเพียงพอตอความตองการ 2. ขาดเจาหนาที่ที่มีความชํานาญและทักษะในการเลี้ยงไหมหลังจากนั้นจึงยกเลิกโครงการปลูก หมอนเลี้ยงไหม ปจจุบันโรงเรือนเลี้ยงไหมไดปรับปรุงเปนอาคารสาธิตการทอผา ทอเสื่อ และ การจักสาน ใชมาทุกวันนี้ นอกจากนี้ยังมีการจัดสราง - ถังประปาสําหรับเก็บกักน้ําไวใชจํานวน 1 ถัง ขนาดความจุ 20 ลูกบาศกเมตร - สรางบานสาธิตดินซีเมนต จํานวน 2 หลัง - บานพักขาราชการ จํานวน 1 หลัง ปจจุบันชํารุดใชการไมได - บานพักคนงาน จํานวน 1 หลัง สวนพื้นที่ที่อยูในบริเวณโดยรอบ ๆ อาคารและสิ่งกอสรางใชเปน 1. แปลงปลูกมะมวง มะนาว 2. แปลงปลูกพรรณไมพระราชทานประจําจังหวัดตาง ๆ 3. แปลงปลูกสมโอและกะทอน ในป 2533 มูลนิธิศรีพฤฒารวมกับสโมสรซอนตากรุงเทพ 3 ไดจัดหาเงินมาดําเนินการกอสราง ศูนยเด็กเล็กสิรินธร หมูที่ 1 บานชําขวาง ตําบลเขาหินซอน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา และ มอบหมายใหหนวยงานพัฒนาชุมชนดําเนินงานพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียน คือ เด็กที่มีอายุตั้งแต 3-6 ป ให มีความพรอมทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคมและสติปญญา ในขณะนั้นมีเด็กเล็กที่เขามารับการเลี้ยงดู ในศูนยฯ จํานวน 75 คน ผูดูแลเด็กจํานวน 2 คน ในการดําเนินงานพัฒนาเด็กเล็กเริ่มมีปญหา คืออาคารที่ สร า งไว มี ค วามคั บ แคบไม เ พี ย งพอสํ า หรั บ การเลี้ ย งดู แ ลเด็ ก ทางหน ว ยงานพั ฒ นาชุ ม ชนจึ ง ได ประสานงานขอความรวมมือไปยังบริษัท “สวนกิติ” เพื่อจัดหางบประมาณมาสรางอาคารพัฒนาเด็กเล็ก เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งหลังในบริเวณพื้นที่เดียวกัน เพื่อเปนการแกปญหาความขับแคบของเด็ก และตอมาศูนย พัฒนาเด็กเล็กสิรินธรไดมีการถายโอนใหกับองคการบริหารสวนตําบลเขาหินซอน แตทางศูนยศึกษาการ


3

พัฒนาเขาหินซอนยังคงมอบภารกิจใหหนวยงานพัฒนาชุมชนไปกํากับดูแลการดําเนินงานพัฒนาเด็กเล็ก ใหเปนไปตามวัตถุประสงคของโครงการตอไป สําหรับในดาน “การสงเสริมศิลปหัตถกรรมและอุตสาหกรรมในครัวเรือน” ที่งานพัฒนาชุมชน ไดจัดเปนแหลงเรียนรู มีการแสดงและสาธิตทางดานตาง ๆ ดังนี้ 1. งานจักสานผลิตภัณฑจากเสนใยพืช เชน ตะกราสาน กระเปาถือ เปนตน 2. งานทอเสื่อกก 3. งานทอผา เชน ผาขาวมา, ผาซิ่น, ผามัดหมี่, ผาโสรง, และผาตัดเสื้อ 4. งานตีเหล็ก เชน มีด, เสียม, สิ่ว เปนตน 5. งานทําเตาเอนกประสงค/เตาประหยัดพลังงาน เชน เตาอั้งโล, เตาถาน เปนตน 6. บานเกษตรพอเพียง การจักสานผลิตภัณฑจากเสนใยพืช ใบหญาแฝก สามารถใชในงานศิลปหัตถกรรมตาง ๆ เหมาะสําหรับคนที่มองหาอาชีพเสริม ลงทุนไมมาก และยังสามารถพลิกแพลงตอยอดไดตลอดเวลา แตตองใชความใจเย็นอดทน เพราะงานจะดู สวยหรื อ ไม ส วยขึ้ น อยู กั บ ความประณี ต ของชิ้ น งานเป น สํ า คั ญ โดยใบหญ า ที่ ใ ช จ ะเป น แฝกพั น ธุ สุราษฏรธานี ซึ่งมีคุณสมบัติเหนียวแตออนนุม ไมแข็งกระดาง ไมหักงายเหมือนพันธุอื่น ๆ ใบหญาแฝก ที่นํามาใชงานควรมีอายุประมาณ 2 - 3 เดือน โดยตัดใบแฝกสูงจากพื้นดินประมาณ 30 เซนติเมตร นํา ใบหญาแฝกที่เลือกไวมามัดเปนมัด ๆ ไมตองใหญมาก นําไปตมในน้ําเดือด ประมาณ 10 – 15 นาที จากนั้นนํามาลางในน้ําเย็นทันที เพื่อใหสีแฝกคงสภาพสีใกลเคียงกับสีเดิม นําไปผึ่งใหสะเด็ดน้ํากอน นําไปตากแดดประมาณ 3 วัน ใหแหงสนิท จึงนําใบหญาแฝกมาทําการจักสานใหเปนเครื่องใชตาง ๆ มี ความสวยงามเปนธรรมชาติ ในการจักสานนั้นจะมีลายใหเลือกหลายลายดวยกัน ลายที่นิยมจักสาน เชน ลายน้ําไหล ลายขัด ลายชะลอม ลายเม็ดขาว ลายดอกพิกุล ลายเม็ดมะยม ลายจัตุรัสแกว สินคาที่ทําขึ้นมีตั้งแต กลอง กระดาษทิชชู กระเปา หมวก ตะกรา กระบุง ซึ่งเรียกไดวาชวยสรางมูลคาเพิ่มใหสินคาไดเปนอยางดี

หญาแฝก

ตนกกกลม


4

การทอเสื่อกก การทอเสื่อกกเปนการนําตนกกพันธุลังกา ภาษาพื้นเมืองเรียกวา “กกกลม” ที่เรียกวากกกลม เชนนี้ ก็เนื่องมาจากลําตนของมันกลมนั่นเอง ผิวของกกชนิดนี้ ผิวจะออนนุม เหนียวไมกรอบ เมื่อทําเปน เสื่อแลวนิม่ นวลนาใช ขัดถูก็เปนมัน เมื่อเปนเชนนี้จึงมีผูนิยมใชกกกลมกันมากมาใชในการทําผลิตภัณฑ ในรูปของการทอเสื่อ ซึ่งจะทําใหเสื่อมีความแนน คงทน ใชไดนาน เสื่อที่ทอมีหลายขนาดตั้งแต 6 คืบ 7คืบ และ 9 คืบ

การทอผา สํ า หรั บ การทอผ า นั้ น จะมี ทั้ ง การทอผ า ขาวม า ผ า โสร ง ผ า ตั ด เสื้ อ และผ า ตั ด เสื้ อ ที่ ท อเป น ตัวหนังสือตามที่ผูสั่งตองการอยางเชน กาชาดประจําจังหวัด กศน.ฉะเชิงเทรา และศูนยศึกษาการพัฒนา เขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เปนตน การทอผานั้นเปนขั้นตอนที่ยุงยากและเปนงานที่ตองใชความอดทน เริ่มจากการนําดายฝายที่แหง มาใส “ระวิง” เพื่อทําการเสาะ (สาว) เสนดายนําไป “ขึงเครือหูก” โดยการกวักฝายจาก “กง” ไปใส กวัก แลวดึงจากกวักไปเกี่ยวกับ “หลังเฝอก” เพื่อทําใหเปน “เสนยืน” ที่เรียกวาคนหูกหรือขึงเครือหูก ปนหลอด คือ การนําเสนดายไปใส “กง” แลวแกวงหลาดึงเสนฝายจากกงไปเขา “หลอด” ที่เสียบสวมไว กับแกนเหล็กใน เพื่อเอาไปแยกใชทําเปน “เสนพุง” ดวยการนําหลอดฝายไปใสในกระสวยสืบหูก คือ การนําเสนฝายเครือหูกมาตอเขากับเสนดายที่ติดอยูกับตะกอ หรือเขาหูก โดยผูกดายเครือไวกับเสาจากนั้น ใช “ไมขวย” ดึงดายเครือทีละเสน จนครบตามความกวางของหนาฟม การบิดหรือตอดายทั้งสองเขา ดวยกันหรือที่เรียกวาการสืบหูก กางหูกดวยการนําเสนฝายเครือที่สืบหูกแลวนําไปจัดใหเขาที่พรอมที่จะ เริ่มทอ โดยขึงเสนดายใหตึงแลวใชแปรงหวีหูกไปตามความยาวของเครือหูกเพื่อจัดระเบียบเสนดายไมให เสนดายเครือพันกัน ทุกขั้นตอนตองทําอยางประณีต การวางดาย ตองใหตรงสีและตําแหนงตามลายผาที่ ตองการ เพราะถาผิดพลาดลายผาจะผิดเพี้ยนจากที่วางไว จากนั้น จึงทําการทอเปนผาผืนใหไดความยาว ของผาตามที่ตองการ


5

การตีเหล็ก การตีเหล็ก เปนภูมิปญญาไทยมานับพันป ตั้งแตยุคโลหะมีการถลุงเหล็ก นําเหล็กมาตีใหเปน อาวุธ เปนเครื่องมือทางการเกษตร และเครื่องมือทํามาหากิน การตีมีด ตองเผาเหล็กกลาจนรอนแดง แลว จึงตี ทําหลาย ๆ ครั้ง การตีตองใชกําลังตีอยางมาก จังหวะในการตีของคนสามคน ตองทํางานอยางรูใจกัน เข า ใจกั น ทํ า ให มี ดออกมางดงาม เกิ ดประโยชน สู ง สุ ด โดยเหล็ ก แหนบ 1 กิ โลกรัม ราคา 50 บาท/ กิโลกรัม ผลิตมีด ได 2 เลม อุปกรณในการตีเหล็กสามารถผลิตมีดได 4 เลม/วัน การตีเหล็กสามารถตี ไดทุกรูปแบบ ทั้งมีด เสียม ดาบ พรา

การทําเตาเอนกประสงค งานทําเตาเอนกประสงคนั้นมาจากธนาคารคลังสมองของสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถย ไดมาสอนการทําเตาอั้งโล จุดประสงคการทําเตาอั้งโลนั้นเพื่อประหยัดเชื้อเพลิง ใชเชื้อเพลิงนอยแตให พลังงานมาก ยังสามารถใชในครอบครัวและสามารถจําหนายไดอีกดวย


6

บานตัวอยางเกษตรพอเพียง “เศรษฐกิ จพอเพียง” เป นปรัช ญาที่พ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมี พระราชดํา รัส ชี้แนะ แนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 30 ป ตั้งแตกอนเกิดวิกฤตการณทาง เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยาง มั่นคง และยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ดังนั้น การแสดงบานตัวอยาง เกษตรพอเพียง จึงเปนแนวทางในการพัฒนาที่นําไปสูความสามารถในการพึ่งตนเองในระดับตาง ๆ อยาง เปนขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปจจัยตาง ๆ โดยอาศัย ความพอประมาณ และความมี เหตุผล การสรา งภูมิ คุมกั นที่ดี มีค วามรูความเพียรและความ อดทน สติและปญญา การชวยเหลือซึ่งกันและกัน และความสามัคคี

นอกจากนี้ยัง ติดตามผลความกาวหนาของกลุมอาชีพ ตาง ๆ และสงเสริมงานดานศิลปาชีพ สู โรงเรียน ในสวนของงานขยายผลในรอบพื้นที่ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนฯ มาจนทุกวันนี้ สงเสริมงานดานศิลปาชีพสูโรงเรียน

โรงเรียนกาญจนาภิเษก

กศน.บานเนินนอย ทาตะเกียบ


7

กศน.บานหนองคอก อําเภอทาตะเกียบ

สมาชิกกลุมจักสานหญาแฝกบานหนองแก อําเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี

หลักสูตร

โครงการฝกอบรมหลักสูตรหญาแฝกกับ การพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร ในเขตปฏิรูปที่ดิน

หลักสูตร

โครงการสงเสริมคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ หลักสูตรการฝกอบรมการจักสานจากเสนใยพืช อบต. ทุงพระยา

หลักสูตร สงเสริมและพัฒนากลุมอาชีพ

กลุมเลี้ยงกบดอนขี้เหล็ก

กลุมไมกวาดบานปรือวาย

กลุมเกษตรกรผูปลูกผักบานหนองเหียง

กลุมสงเสริมผลิตเมล็ดพันธุขาว ลํามหาชัย

กลุมเสียมกกไกเขาหนามอด

กลุมสมุนไพรบานไรแผนดินทอง


8

ปจจุบัน งานพัฒนาชุมชนยังมีบทบาทและภารกิจ ดังนี้ 1. เตรียมชุมชนใหมีความพรอม เพื่อรองรับการพัฒนาของหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ในพื้นที่ที่รับผิดชอบรอบศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 2. สงเสริมอาชีพหลัก อาชีพรอง ใหสามารถพึ่งตนเองได และใหราษฎรรูจักการปฏิบัติงานในรูป ระบบกลุม และการจัดตั้งกลุมองคกร 3. ฝกอบรม แนะนํา ใหราษฎร องคกรประชาชน รูจักคิด และวางแผนปฏิบัติงานและแกปญหาดวย ตนเองได 4. ฝ ก อบรม อาชี พ หลั ก อาชี พ รอง เพื่ อใหร าษฎรไดรั บ การพั ฒ นาดา นเทคโนโลยี และพั ฒ นา รูปแบบงานผลิตภัณฑงานศิลปาชีพและการตลาด 5. สามารถพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงธรรมชาติได

อบรมการถายทอดเทคโนโลยีสูเกษตรกรหมูบานขยายผล


9

จุดเดนของงานพัฒนาชุมชน 1. จัดเปนแหลงทองเที่ยวเชิงเกษตร และงานภูมิปญญาทองถิ่น 2. มีบุคลากรที่ใหความรูหลากหลาย และสามารถพัฒนาได 3. มีอาคารพื้นที่สามารถประกอบกิจกรรมพัฒนาชุมชนไดหลากหลาย ปญหา- อุปสรรค 1. เจาหนาที่และบุคลากรขาดความรูความชํานาญ,ทักษะและเทคนิคตาง ๆ ในการดําเนินกิจกรรม ของหนวยงาน 2. ขาดอุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชที่ทันสมัยในการทํากิจกรรมในดานตาง ๆ 3. งบประมาณภายในหนวยงานของกรมการพัฒนาชุมชนมีจํากัด 4. ขาดงบลงทุนในการพัฒนาหนวยงานใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แนวทางแกไขปญหา และโอกาส แนวทางแกไขปญหา 1. ควรจัดการฝกอบรมเจาหนาที่และบุคลลากรเพิ่มความรูและขีดความสามารถและเทคนิคตาง ๆ ในการดําเนินกิจกรรม 2. ศึกษาดูงานเฉพาะดานหรือกิจกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงาน 3. จัดหาอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชที่ทันสมัยมาสนับสนุนกิจกรรมที่หนวยงาน 4. ประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของสนับสนุนวิชาการและอุปกรณและวิทยากรมารวม กิจกรรม โอกาส 5. สามารถพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงธรรมชาติได 6. ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากสํานักงาน กปร. *********************************


10

แผนปฏิบัติการะยะ 5 ป (พ.ศ. 2557 – 2561) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ยุทธศาสตรที่ 2 สาธิตพัฒนาอาชีพการเกษตร อนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1.สาธิตงานดานหัตถกรรม/อุตสาหกรรมในครัวเรือน - ตีเหล็ก - ทอผา - จักสาน - การทอเสื่อกก - บานเกษตรพอเพียง -เตาประหยัดพลังงาน ยุทธศาสตรที่ 3 งานขยายผล 1.สงเสริมงานดานศิลปาชีพสูโรงเรียนและกลุมผูที่สนใจ 2.สงเสริมและพัฒนากลุมอาชีพ 3.สงเสริมและพัฒนาศักยภาพกลุมอาชีพผูนําชุมชน/ องคกรชุมชน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. สงเสริมสนับสนุนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง 5. ฝกอบรมบุคลากรเพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพงานศิลปาชีพ (ตีมีดรูปแบบตาง ๆ มีดโชว ออกแบบผลิตภัณฑจักสาน) ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตบน พื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.จัดหาสื่ออุปกรณการเรียนการสอน 2.การพัฒนาและเสริมสรางการเรียนรูทกั ษะของ คณะกรรมการกลุมอาชีพ 3.โครงการขับเคลื่อนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ รอบศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนฯ งบลงทุน - คาน้ํามันเชื้อเพลิง (รายละเอียดแนบ) - ครุภัณฑโฆษณา–เผยแพรและครุภัณฑคอมพิวเตอร - ปรับปรุงอาคารฝกอบรมและหอพัก - จัดซื้อเครื่องนอน (ที่นอน+หมอน+ปลอกหมอน+ผาปู) - ปรับปรุงอาคารทอผา - ปรับปรุงโรงอาหาร - คาสาธารณูปโภค (รายละเอียดแนบ) - คาวัสดุไฟฟา (รายละเอียดแนบ) - ปรับปรุงบานตัวอยางเศรษฐกิจพอเพียง

หนวยงาน หลัก

หนวยวัด

ป 2557 แผนงาน งบประมาณ

ป 2558 แผนงาน งบประมาณ

ป 2559 แผนงาน งบประมาณ

ป 2560 แผนงาน งบประมาณ

ป 2561 แผนงาน งบประมาณ

พัฒนาชุมชน กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม

1 1 1 1 1 1

10,000 20,000 10,000 10,000 10,000 10,000

1 1 1 1 1 1

10,000 20,000 10,000 10,000 10,000 10,000

1 1 1 1 1 1

10,000 20,000 10,000 10,000 10,000 10,000

1 1 1 1 1 1

10,000 20,000 10,000 10,000 10,000 10,000

1 1 1 1 1

10,000 20,000 10,000 10,000 10,000

พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน

แหง กลุม คน/กลุม

4 10 30/1กลุม

20,000 50,000 50,000

4 10 30/1กลุม

20,000 50,000 50,000

4 10 30/1กลุม

20,000 50,000 50,000

4 10 30/1กลุม

20,000 50,000 50,000

4 10 30/1กลุม

20,000 50,000 50,000

พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน

หมูบาน กลุม

1 1

80,000 20,000

1 1

80,000 20,000

80,000 20,000

1 1

80,000 20,000

1 1

80,000 20,000

พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน

แหง กลุม

1 1

70,000 80,000

-

-

-

-

1 1

70,000 80,000

-

-

พัฒนาชุมชน

แหง

1

140,000

1

140,000

1

140,000

1

140,000

1

140,000

พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน

โครงการ โครงการ หลัง ชุด หลัง หลัง โครงการ โครงการ หลัง

1 1 1 35 1 1 2 1 2

20,000 90,000 450,000 46,900 40,000 40,000 14,500 5,000 21,000

1 1 25 2 1 2

20,000 250,000 33,500 14,500 5,000 21,000

1 2 1 2

20,000 14,500 5,000 21,000

1 2 1 2

20,000 14,500 5,000 21,000

1 2 1 2

20,000 14,500 5,000 21,000

1 1


11

แบบชี้แจงรายละเอียดงบประมาณ (งบลงทุน) ปงบประมาณ 2557 ลําดับ ที่

หนวย นับ

ราคา/หนวย บาท

จํานวน

งบประมาณ

สถานที่

1

วัสดุน้ํามันเชื้อเพลิงและหลอลื่น น้ํามันดีเซล

ลิตร

30.15

477.62

14,400

ใชสําหรับรถยนต อีซุซุ ทะเบียน ชท7375 กรุงเทพมหานคร

1

น้ํามันเบนซินสําหรับเครื่องตัดหญา

ลิตร

45.95

108.81

5,000

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา

2

คาสาธารณูปโภค โทรศัพทสํานักงานและคาบริการ

เครื่อง

6,000

1

6,000

ใชสําหรับติดตองานราชการ ซึ่งของเดิมไมมี

3

คาบริการอินเตอรเน็ต

เครื่อง

8,500

1

8,500

4

ฝกอบรมบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานศิลปาชีพ (ตีมีด รูปแบบตาง ๆ มีดโชว ออกแบบผลิตภัณฑจักสาน)

กลุม

20,000

1

20,000

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา -

5

คาวัสดุไฟฟา (หลอดไฟ บัลลาสต สตารทเตอร สายไฟ)

ชุด

5,000

15

5,000

6

ครุภัณฑโฆษณา-เผยแพร และครุภัณฑคอมพิวเตอร (เครื่องคอมพิวเตอรพกพา โปรเจคเตอร เครื่องเสียงในการ ฝกอบรม) จัดซื้ออุปกรณสําหรับหอพัก (ที่นอน +หมอน+ ปลอกหมอน+ผาปู+ผาหม+ผามาน) ปรับปรุงอาคารทอผา (ทาสี ปูกระเบื้อง ซอมแซมกระจก ประตูหนาตาง) ปรับปรุงโรงอาหาร (ทาสี จัดซื้อเกาอี้ โตะรับประทาน อาหาร ผาปูโตะ) ปรับปรุงอาคารฝกอบรมและหอพัก(ซอมแซมหองน้ํา และ ระบบประปา) ปรับปรุงบานตัวอยางเศรษฐกิจพอเพียง (ปูกระเบื้อง ทาสี ติดมุงลวด ปรับพื้นที่บริเวณบานเพื่อดําเนินการตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง)

เครื่อง

90,000

1

90,000

ชุด

1,340

35

46,900

หลัง

40,000

1

40,000

หลัง

40,000

1

40,000

หลัง

450,000

1

450,000

หลัง

21,000

2

21,000

7 8 9 10 11

ชื่อรายการ

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา

เหตุผล/ความจําเปน

ใชสําหรับตัดหญาบริเวณรอบหนวยงาน ซึ่งของเดิมไมมี

ใชสําหรับหาขอมูลเพื่อนําไปประกอบการทํางานและสงงาน ซึ่งของเดิมไมมี ใชสําหรับศึกษาดูงานของบุคลากรที่งานพัฒนาชุมชนศูนยศึกษาการพัฒนา เขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน และพัฒนาผลิตภัณฑ ซึ่งของเดิมไมมี ใชสําหรับซอมแซมสวนที่ชํารุด ใชสําหรับบรรยายเผยแพรกจิ กรรมในหนวยงาน เนื่องจากอุปกรณเกาชํารุดมีสภาพไมเอื้ออํานวยแกผูมาใชบริการ เนื่องจากตัวอาคารมีสภาพทรุดโทรมมีสภาพไมเอื้ออํานวยแกผูที่มา ฝกอบรม และศึกษาดูงาน เนื่องจากอุปกรณชํารุดทรุดโทรม มีสภาพไมเอื้ออํานวยแกผูมาใชบริการ เนื่องจากอุปกรณในหองน้ํามีสภาพทรุดโทรม และเริ่มชํารุด มีสภาพไม เอื้ออํานวยแกผูมาใชบริการ เนื่องจากมีสภาพทรุดโทรมไมเอื้ออํานวย แกการพักอาศัย


แบบชี้แจงรายละเอียด สาธิตพัฒนาอาชีพการเกษตร อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปงบประมาณ 2557 ลําดับ ชื่อรายการ ที่ 1 สาธิตงานดานอุตสาหกรรม/อุตสาหกรรมในครัวเรือน - ตีเหล็ก (เหล็กแหนบ ใบหินเจียร ) - ทอผา (ดายทอผา) - จักสาน (อุปกรณ เชน เข็มหมุด กระบอกฉีดน้ํา กรรไกร โฟม) - การทอเสื่อกก (เสนกก สียอมกก เชือก คัตเตอร) - เตาประหยัดพลังงาน (ปูน ลวด ไมแมแบบ) - บานตัวอยางเศรษฐกิจพอเพียง (เมล็ดพันธพืช กิ่งพันธผลไม วัสดุการทํานาหมักชีวภาพ)

หนวยนับ

ราคา/หนวย บาท

จํานวน

งบประมาณ

สถานที่

กิจกรรม

10,000

1

10,000

กิจกรรม

20,000

1

20,000

กิจกรรม

10,000

1

10,000

กิจกรรม

10,000

1

10,000

กิจกรรม

10,000

1

10,000

กิจกรรม

10,000

1

10,000

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา

เหตุผล/ความจําเปน

เปนแหลงเรียนรูและฝกปฏิบัติงานดานศิลปาชีพสําหรับ เกษตรกร และกลุม บุคคลที่มาเพื่อศึกษาดูงานรวมทั้งการ ใหบริการกลุมบุคลและเกษตรกรที่มาติดตอขอใหไป ฝกสอนในหมูบานและโรงเรียนหมูบานรอบศูนยฯและ ใกลเคียง ไดนําไปใชในการประกอบอาชีพเปนการเพิ่ม รายไดลดรายจายใหแกครัวเรือน

แบบชี้แจงรายละเอียดงานขยายผล ลําดับ ชื่อรายการ ที่ 1 สงเสริมงานดานศิลปาชีพสูโรงเรียนและกลุมผูที่สนใจ

หนวยนับ

จํานวน

งบประมาณ

สถานที่

แหง

ราคา/หนวย บาท 5,000

4

20,000

รอบพื้นที่ ศูนยศึกษาการพัฒนา เขาหินซอนฯ รอบพื้นที่ ศูนยศึกษาการพัฒนา เขาหินซอนฯ รอบพื้นที่ ศูนยศึกษาการพัฒนา เขาหินซอนฯ

เปนคาวัสดุในการฝกอบรมศิลปาชีพ

รอบพื้นที่ ศูนยศึกษาการพัฒนา เขาหินซอนฯ แหลงเรียนรูในการเพิ่ม ประสิทธิภาพงานศิลปาชีพ

เปนคาวัสดุในการฝกอบรมศิลปาชีพ

2

สงเสริมและพัฒนากลุมอาชีพ

กลุม

5,000

10

50,000

3

สงเสริมและพัฒนาศักยภาพกลุมอาชีพผูน ําชุมชน/ องคกร ชุมชน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กลุม

50,000

1

50,000

4

สงเสริมสนับสนุนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง

หมูบาน

80,000

1

80,000

5

ฝกอบรมบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานศิลปาชีพ (ตีมีด รูปแบบตาง ๆ มีดโชว ออกแบบผลิตภัณฑจักสาน)

กลุม

20,000

1

20,000

เหตุผล/ความจําเปน

เปนคาวัสดุในการฝกอบรมศิลปาชีพ เปนคาวัสดุในการฝกอบรมศิลปาชีพ

- เจาหนาที่และบุคลากรมีความรูความชํานาญ ทักษะและเทคนิคตาง ๆ รวมทั้งการพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑยังไมดีเทาที่ควร จึงขอรับการ ฝกอบรมรูปแบบผลิตภัณฑจักสาน และรูปแบบมีดสวยงามในแบบตาง ๆ จํานวน 13 คน

12


13

แบบชี้แจงรายละเอียดการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลําดับ ชื่อรายการ ที่ 1 จัดหาสื่ออุปกรณการเรียนการสอน 2 3

การพัฒนาและเสริมสรางการเรียนรูทักษะของ คณะกรรมการกลุมอาชีพ โครงการขับเคลื่อนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบรอบ ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนฯ

หนวยนับ

จํานวน

งบประมาณ

สถานที่

แหง

ราคา/หนวย บาท 70,000

1

70,000

กลุม

80,000

1

80,000

แหง

140,000

1

140,000

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา รอบพื้นที่ ศูนยศึกษาการพัฒนา เขาหินซอนฯ รอบพื้นที่ ศูนยศึกษาการพัฒนา เขาหินซอนฯ

เหตุผล/ความจําเปน จางจัดทําสื่อ เชน ปายไวนิล เปนคาวัสดุ-อุปกรณในการฝกอบรม เปนคาวัสดุ-อุปกรณในการฝกอบรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.