ถอดบทเรียบ้านทางยาว 14-9-54

Page 1

สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอสามโคก โทร ๐๒-๕๙๓๑๙๖๙ ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๑


 1. ขอมูลทั่วไปของหมูบา น ประวัติความเปนมา

บานทางยาวเปนหมูบานที่ตั้งมารอยกวาป เปนบานชายคลองสุดทายของตําบลคลองควาย การคมนาคมใน ระยะแรกใช เ รื อ และเดิ น เท า การตั้ ง ชื่ อ หมู บ า นตามชื่ อ ของวั ด คื อ บ า นทางยาว (ป จ จุ บั น อยู ใ นเขตจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา) การตั้งบานเรือนกระจายตามริมคลอง ไดแก คลองสระ คลองควาย คลองพระอุดม และกระจัด กระจายไปตามทุงนา บานทางยาวมีผูใหญบานคนแรก คือ นายป เชิดชู ปจจุบันนายสมศักดิ์ ฉ่ําศรี ไดรับการ คัดเลือกเปนผูใหญบาน

รายชื่อคณะกรรมการหมูบาน ชื่อ - สกุล

สําคัญดาน

1 นายเดชา เครือโชติ

ปกครอง/เกษตรกรรม/ศาสนา/อาชีพ

2.นายสุทธิ พักตเพียงจันทร

ปกครอง/เกษตรกรรม

3 นางสุดใจ เครือโชติ

เกษตรกรรม/อาชีพ

4 นายสํารวย ชูทรัพย

ศาสนา/การบริหารจัดการกองทุนฯ

5 นายสํารวย พันธุผัก

เกษตรกรรม

6 นางชมอย ฤทธิ์มังกร

ประเพณีวัฒนธรรม

7 นายสมศักดิ์ ฉ่ําศรี

ปกครอง/เกษตรกรรม/

หมายเหตุ

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๒


ผูนําปจจุบัน 1. 2. 4. 5.

นายสมศักดิ์ ฉ่ําศรี นายประเทือง ทนทะนาน นายมนัส เกิดลาภี นางสาวแกว ถิ่นพายัพ

ปราชญชาวบาน

1. นายเดชา เครือโชติ 2. นายสํารวย ชูทรัพย 3. นางชมอย เครือโชติ 4. นายวงศ เชิดชู 5. นางเชา อางบัว 6. นางดาวเรือง วุฒิเศรษฐ 7. นายไพรัตน เกษร 8. นายพยอม สุขสุมิตร 9. นายโกมินทร คลายเชียงราก

อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ทิศใต ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

จด จด จด จด

ผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน ศาสนา/เศรษฐกิจพอเพียง การจัดการเงินทุน ศิลปวัฒนธรรม ศาสนา และวัฒนธรรม การจักสาน/ทําขนมไทย การจักสาน การทําลอบดักปลา ดนตรีไทย(กลองยาว/ระนาด) อุปกรณหาปลา (แห) หมูที่ 3 ตําบลโคกชาง อําเภอบางไทร หมูที่ 7 ตําบลคลองควาย หมูที่ 3 ตําบลคลองควาย หมูที่ 10 ตําบลบางเตย

ลักษณะของประชากร

จํานวนครัวเรือนทั้งหมด 187 ครัวเรือน จํานวนประชากรทั้งหมด 834 คน เพศชาย 430 คน เพศหญิง 404 คน

ลักษณะภูมิประเทศและพืน้ ที่

บานทางยาวมีพื้นที่ 3,231 ไร มีลักษณะเปนที่ราบลุม มีแมน้ําเจาพระยาไหลผานสงผลใหพ ื้น ท ี่ข อ ง ห ม ูบ า น เห ม า ะ แ ก ก า ร ท ํา น า บ า น ท า งย า ว ม ีค ร ัว เร ือ น ท ั้ง ส ิ้น 1 8 7 ค ร ัว เร ือ น ป ร ะ ช า ก ร ท ั้ง ส ิ้น 8 3 4 ค น ช า ย 4 3 0 ค น ห ญ ิง 4 0 4 ค น อ า ช ีพ ห ล ัก ค ือ ก า ร ท ํา น า น อ ก จ า ก น ั้น เพ า ะ ป ล ูก พ ืช ผ ัก ส ว น ค ร ัว เล ี้ย งส ัต ว  เล ี้ย งป ล า ดวยศักยภาพของหมูบาน และวิสัยทัศนของผูนําที่มีความที่ตองการจะใหหมูบานพึ่งตนเองได จึง ไดมีการรวมกลุมจัดกิจกรรมการเรียนรูและมีกองทุนตาง ๆ ขึ้นในหมูบานมากมายหลายกิจกรรม เชน กลุมวิสาหกิจ ชุมชนเฉลิมพระเกียรติบานทางยาว(ผลิตขาวมอลต) กลุมเลี้ยงเปด กลุมเลี้ยงกบ กลุมเลี้ยงปลา กลุมปลูกผักปลอด ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๓


สารพิษ กองทุนหมูบานฯ กองทุนแมของแผนดิน กองทุนน้ํามัน กองทุนกลุมผูใชน้ํา กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กลุมสตรีทําน้ําพริก กลุมสตรีเย็บผา กลุมเยาวชน โรงสีขาวชุมชน และโรงไฟฟาเพื่อสิ่งแวดลอม เปนตน ชาวบานทางยาวไดมีการรวมกลุมเพื่อทํากิจกรรมหลากหลาย ตามที่กลาวมาแลวขางตนโดยไดนอม นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการดํารงชีวิตประจําวัน สอนลูกหลานใหรูจักอดออม เชน กิจกรรม ของกลุมเลี้ยงเปดเพื่อการออม การเลี้ยงกบไวกินเอง/ขาย และใหรูจักหารายไดโดยการปลูกผ ัก ป ล อ ด ส า ร พ ิษ ไว ก ิน เอ ง /ข า ย เพ ื่อ ล ด ร า ย จ า ย เพ ิ่ม ร า ย ได ใ ห ค ร ัว เร ือ น แ ล ะ ก ิจ ก ร ร ม ส ํา ค ัญ ท ี่ป ล ูก ฝ ง ให ล ูก ห ล า น บ า น ท า ง ย า ว ได ม ีจ ิต ส ํา น ึก ใน ค ว า ม เป น ไท ย ค ือ ก า ร อ น ุร ัก ษ ศ ิล ป ว ัฒ น ธ ร ร ม ไท ย เชน การรํากลองยาว การแสดงลิเกเด็ก การรองเพลงโนเน ซึ่ง ไดรับการสนับสนุนการฝกซอมจากครูในพื้นที่ ทําใหเด็กมีรายไดจากการแสดง และเปนการปลุกจิตสํานึกใหยุวชน ซึ่งเปนกําลังสําคัญของชาติ ไดหันมาใหความสนใจในกิจกรรม ไมมีเวลาไปมั่วสุมสิ่งเสพติด

สภาพพื้นฐานของหมูบาน 1. 2. 3. 4. 5.

หอกระจายขาว ศูนยสาธารณสุขมูลฐาน รานคา โทรศัพทสาธารณะ มีไฟฟาใชครบทั้งหมูบาน

จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

1 แหง 1 แหง 11 แหง 2 แหง 187 ครัวเรือน

การคมนาคม

ใชเวลาเดินทางโดยพาหนะ รกจักรยาน/รถยนต ถึงอําเภอ ระยะ 10 กิโลเมตร ใชเวลา 20 นาที ราษฎรในหมูบานใชรถยนต รถจักรยานยนต เปนยานพาหนะในการเดินทางคมนาคม ถนนเชื่อมระหวางหมูบาน ตําบล สวนใหญเปนถนนลาดยางใชการไดดีในการใชสัญจรไปมาสะดวก คอนกรีตเสริมเหล็ก จํานวน 1 สาย ถนนลาดยาง จํานวน 2 สาย ถนนลูกรัง จํานวน 2 สาย สะพาน คสล. จํานวน 1 สาย

แหลงน้ําธรรมชาติ

มีแหลงน้ําธรรมชาติ จํานวน 3 แหง คือ คลองพระอุดม คลองสระ คลองควาย

สภาพทางเศรษฐกิจของหมูบาน

การประกอบอาชีพของราษฎรภายในหมูบาน แยกไดดังนี้ 1. รับจางทั่วไป จํานวน 81 ครัวเรือน 2. ทํานา จํานวน 80 ครัวเรือน 3. ทําสวน จํานวน 5 ครัวเรือน

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๔


4. คาขาย จํานวน 11 ครัวเรือน 5. รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ จํานวน 10 ครัวเรือน

ศิลปวัฒนธรรม/ภูมิปญญาหมูบาน ประชาชนในหมูบานทางยาวสวนใหญเปนคนที่อาศัยอยูดั้งเดิม มีความสัมพันธเปนญาติพี่นอง และ การประกอบอาชีพทํานาเปนอาชีพดั้งเดิมของคนในชุมชน แตละครอบครัวมีลูกประมาณ 8-10 คน เพื่อใชแรงงาน ทําการเกษตร วัดเปนศูนยกลางในการพบปะพูดคุย ปรึกษาหารือกันในชุมชน บางครอบครัวมีการแตงงานระหวาง ครอบครัว เกิดระบบเครือญาติในชุมชนทําใหเกิดความรักใคร กลมเกลียว เคารพผูอาวุโสและพระภิกษุ พอแมเลี้ยงดู ลูกดวยตัวเอง คอยดูแลพูดคุย กินขาวรวมกัน มีการแบงปนกัน ใชวัฒนธรรมประเพณีเปนสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ มีการจัด สวัสดิการแกชุมชน มีการถายทอดภูมิปญญาสูคนรุนหลัง โดยมีปราชญชาวบาน ในหลาย ๆ ดาน

 2. กลุมกองทุนในหมูบาน

1. กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตบานทาวยาว เปนกลุมออมทรัพยที่จัดตั้งขึ้นเมื่อป 2540 จัดตั้งขึ้น เนื่องจากหมูบานทางยาวไดรับงบประมาณตามโครงการสนับสนุนกลุมผูใชน้ํา งบประมาณ 60,000 บาท สมาชิก กลุมผูใชน้ํา จํานวน 30 คน โดยมีขอกําหนดวาสมาชิกกลุมจะตองมีการออมเงิน โดยใหมีการจัดตั้งกลุมออมทรัพย เพื่อการผลิต และเมื่อจัดตั้งครั้งแรกมีสมาชิกกอตั้ง 30 คน โดยมี นายสํารวย ชูทรัพย เปนประธานกลุมโดยได กําหนดเงินสัจจะครั้งแรกไวหุนละ 50 บาท และกําหนดใหสงเงินสัจจะในทุกวันที่ 30 ของเดือน เงินสัจจะในป เริ่มตนไดเพียง 36,000 บาท และในปตอมาก็มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องดวยสมาชิกกลุมออมทรัพยสวนใหญ เปนเกษตรกร มีอาชีพดานการทํานา และปลูกผัก พอถึงฤดูทํานาก็จะมาขอกูเงินออมทรัพยไปลงทุน เมื่อไดขาย ผลผลิ ต ทางการเกษตร ก็ จ ะนํ า เงิ น มาคื น สว นใหญไมมีใ ครผิดสัญ ญา เคารพกฎระเบีย บของกลุมเปน อยางดี ปจจุบันกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตบานทางยาว มีสมาชิกทั้งสิ้น 104 คน เงินสัจจะ จํานวน 1,300,000 บาท

2. กลุมเลี้ยงเปดเพื่อการออม สืบเนื่องจากทางหมูบานไดขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อใหกลุม เกษตรกรในหมูบานไดใชเวลาวางใหเปนประโยชน และเปนการชวยเหลือเกษตรกรในชวงภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ได ขอรับการสนับสนุนงบประมาณตามโครงการยุทธศาสตร อยูดี มีสุข ป 2551 โครงการเลี้ยงเปด และโครงการได สนับสนุนพันธุเปด ใหกับกลุมเกษตรบานทางยาว กลุมเกษตรกรบานทางยาว มีสมาชิกกลุม จํานวน55 คน โดย ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๕


มีนายเดชา เครือโชติ เปนประธานกลุม ใชหลักการบริหารจัดการโดยใหสมาชิกกลุมที่มีการเลี้ยงเปด มีการออมเงิน โดยสงคืนเงินออมไวที่กลุม เพื่อเปนการรักษาตนทุนของโครงการ และผลประโยชนที่ไดหลังจากการออม จะเปน ของสมาชิก ทําใหลูกหลานของเกษตรกรไดมีงานทํา และสามารถเลี้ยงดูเปดในความรับผิดชอบ แบงเบาภาระของ ครอบครัว และสรางเสริมนิสัยในการดูแล รักษาสัตวเลี้ยงอีกดวย ปจจุบันสมาชิกกลุมเลี้ยงเปด มีทั้งสิ้น 55 คน มี เงินกองทุนทั้งสิ้น 70,000 บาท

3. กลุมเลี้ยงกบ สื บ เนื่ อ งจากทางหมูบ า นได ข อรั บ การสนั บ สนุน งบประมาณ เพื่ อให กลุ ม เกษตรกรใน หมูบานไดใชเวลาวางใหเปนประโยชน และเปนการชวยเหลือเกษตรกรในชวงภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ไดขอรับการ สนับสนุนงบประมาณตามโครงการยุทธศาสตร อยูดี มีสุข ป 2551 โครงการเลี้ยงกบ และโครงการไดสนับสนุน พันธกบ มาใหเกษตรบานทางยาว กลุมเลี้ยงกบ มีสมาชิกทั้งสิ้น 10 คน ปจจุบันมีเงินทุน จํานวนทั้งสิ้น 5,000 บาท/ คน สมาชิกเลี้ยงกบแตละรอบ จํานวน 3 เดือน สามารถขายกบไดในราคากิโลกรัมละ 70 บาท สามารถ ชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และยังเปนอาหารใหแกครอบครัวอีกดวย

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๖


4. กลุมเกษตรกรทํานา การทํ า นาเป น อาชี พ หลั ก ของเกษตรกรบ า นทางยาว จะเห็ น ได ว า พื้ น ที่ ข อง หมูบานทางยาวเปนพื้นที่ลุม เหมาะแกการทํานา ชาวบานจึงไดยึดอาชีพทํานามาตั้งแตโบราณ เดิมทีมีการทํานา โดยใชควายไถนา และไดมีการพัฒนามาเรื่อย ๆ จน ใชเครื่องจักรในการทําเทือก เพื่อเตรียมพื้นที่สําหรับหวานดํา กลุมเกษตรกรทํานาบานทางยาว มีสมาชิกทั้งสิ้น จํานวน 80 คน ปจจุบันมีนายเดชา เครือโชติ เปนประธานกลุม โดยไดรับการชวยเหลือสนับสนุนทางดานวิชาการจาก สํานักงานพัฒนาที่ดินที่ใหความรูในเรื่องการปรับปรุง รักษา คุณภาพดิน ใหดินเหมาะแกการปลูกขาว ประกอบกับ นายเดชา เครือโชติ เปนหมอดินอาสา ที่เขารับการอบรม กับสํานักงานพัฒนาที่ดิน เลยไดนําวิชาความรูเรื่องการรักษาคุณภาพดิน โดยการใชเกษตรอินทรียมาดูแลแปลง เกษตร และแปลงนา เพื่อเปนการรักษาคุณภาพของหนาดิน ใหเหมาะแกการเพาะปลูกและทํานาของเกษตรกร เพื่อใหไดผลผลิตตอไรที่สูง และคุณภาพของขาวไมมีสารตกคาง นอกจากนี้ยังสงเสริมใหใชสารสะเดา หรือพวก น้ําสมควันไม มาผสมน้ําในการกําจัดศัตรูพืช ในแปลงนาอีกดวย

5. กลุมวิสาหกิจชุมชนเฉลิมพระเกียรติบานทางยาว(ผลิตขาวมอลต) จากการที่ บ า นทางยาว มี พื้นที่ ที่เหมาะกับการเกษตร และประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทํานา ทําใหเปนจุดสนใจของหนวยงาน ราชการ และมหาวิ ทยาลั ยต า ง ๆ มากมาย และในป 2548 มหาวิทยาลัย รังสิต ไดใหความสนใจที่จ ะเขาไป แลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูนํา และกลุมเกษตรกร ที่มีอาชีพทํานาในพื้นที่บานทางยาว โดยคิดที่จะทําการเพิ่มมูลคาขาว ที่ปลูกในพื้นที่ใหมีคุณภาพ และขายไดราคาสูงกวาทองตลาดทั่วไป จึงไดนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขาไปชวย เพื่อเปน การเพิ่มมูลคา และทําใหผลผลิตจากขาวมีคุณคาทางโภชนาการมากขึ้น คือการทําขาวมอลต เริ่มโดยการหาสถานที่ เพื่อกอสรางเปนโรงงานทดลอง มีการทดลอง และลองผิดลองถูก รวมไปกับการทําการวิจัย เพื่อหาความเปนเลิศ และขอดีที่สุดของขาว โดยไดรับความรวมมือเปนอยางดี จากแกนนําของหมูบาน สมัยนั้น คือ นายเดชา เครือโชติ และแกนนําของหมูบาน ที่ชวยเหลือ สละเวลา เพื่อรวมในทีมงานวิจัยของ อาจารยมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งชวงแรก ๆ ยังไมสามารถมองเห็นประโยชนมากนัก แตดวยความพยายาม และเสียสละเวลามาใหความรวมมือ กับทีมงานของ อาจารย และนักวิจัย จนทําใหสามารถมีโรงผลิตขาวมอลตตนแบบ ซึ่งเปนแหงเดียวของประเทศไทย ซึ่งสนับสนุน งบประมาณโดย มหาวิ ทยาลั ย รั งสิ ต แกนนําของหมูบานไดทุ มเทแรงกาย และแรงใจ จนสามารถรับ งานของ ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๗


มหาวิทยาลัย สามารถผลิตขาวมอลตไดดวยตนเอง สนับสนุนใหมหาวิทยาลัยรังสิต ภายใตชื่อผลิตภัณฑ ซันออไรซา และผลิตพันธุขามอลต ไดสงเขาคัดสรร ป 2551 จนไดเปนผลิตภัณฑ ระดับ 5 ดาว ของอําเภอสามโคก และ จังหวัดปทุมธานี ปจจุบันผลิตภัณฑขาวมอลต นอกจากเอาไปหุงรับประทานแลว สามารถแปรรูปเปนผลิตภัณฑอื่น ได ห ลากหลายมากขึ้ น เช น น้ํ า ข า วกล อ ง และข า วมอลต ยั ง เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารเพื่ อ สุ ข ภาพที่ ใ ห คุ ณ ค า ทางวิตามินสูง เปนที่ตองการของตลาด ทางกลุมสามารถผลิตสงใหกับทางหางเดอะมอลล ตลาด อตก. ซึ่งมี Order เปนประจําทุกเดือน

6. กลุมเยาวชนแสดงลิเก/กลองยาว(กองทุนแมของแผนดิน) เกิ ด ขึ้ น จากเงิ น กองทุ น แม ข อง แผนดิน บานทางยาวเปนหมูบานที่มีความเขมแข็ง และปลอดยาเสพติด โดยไดรับเงินพระราชทานเงินขวัญถุง กองทุนแมของแผนดิน ในป 2551 จํานวน 8,000 บาท เปนเงินขวัญถุงที่สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ มอบให เ ป น เงิ น ขวั ญ ถุ ง แก ห มู บ า นที่ มี ค วามเข ม แข็ ง และปลอดยาเสพติ ด โดยให ห มู บ า นไดใ ช ป ญ ญาที่ มี อ ยู บริหารงาน บริหารงบประมาณเงินขวัญถุงกองทุนแมของแผนดินใหเกิดดอกออกผล งอกเงย เรียกแรงศรัทธา จาก ชาวบานใหเห็นความสําคัญในเงินกอนนอย ๆ และใหมีการระดมทุน สนับสนุนเพิ่มเติม ใหกองทุนแมของแผนดินได ขับเคลื่อน และสนับสนุนการทํางานตอตาน รณรงคใหหมูบานปลอดยาเสพติดอยางยั่งยืน ทําใหเงินกองทุนมีความ ศักดิ์สิทธิ โดยใชแรงศรัทธา มารวมกัน จนหมูบานทางยาวไดนําเงินที่หามาไดสวนหนึ่งสนับสนุนใหกับเยาวชน ลูกหลานบานทางยาวใหมีการฝกลิเก/กลองยาว ซึ่งเปนศิลปวัฒนธรรมพื้นบาน โดยไดรับการสนับสนุนวิทยากรผูมี ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๘


ความรู ความสามารถ และอุทิศแรงกายเพื่อปลุกปนลูกหลานบานทางยาวใหเปนเยาวชนที่มีพลัง มีความสามารถ เปนแบบอยางของเยาวชนที่ดี สึกนึกรักบานเกิดของตนเอง โดยการเรียนรูสืบสนานศิลปวัฒนธรรมไทย จนสามารถ มีลิ เ กเด็ กวัย ใสต า นภัย ยาเสพติด ซึ่ งเปน ความภาคภูมิใจของชาวบานทางยาว ที่ลูกหลานของตนเองไดแสดง ความสามารถ และสามารถจรรโลงจิตใจของเด็ก ใหญ บานทางยาว ทุกรุนไดมีสิ่งยึดเหนี่ยว ดึงดูดใจ และสามารถ ออกกงานแสดงในที่ตาง ๆ ได กองทุนแมของแผนดินบานทางยาว ไดทําประโยชนใหแกเด็ก ใหแกสังคม และให ประโยชนตออนาคตของชาตอยางแทจริง ปจจุบันลิเกเด็กวัยใสตานภัยยาเสพติด มีสมาชิกทั้งสิ้น 70 คน สามารถ แสดงลิเก/กลองยาว/ดนตรีไทย สามารถหาเงินเขากลุม โดยการรับงานการแสดงทั้งใน และนอกพื้นที่ สวนหนึ่งเพื่อ เปนการฝกเด็ก

ใหมีความเกงกลาสามารถในศิลปะการแสดง /เปนการรักษาทุนทางภูมิปญญาของผูฝกการแสดง และสามารถหา รายไดเขากลุม เปนทุนการศึกษาแกเด็กไดดวย 7. กลุมสตรีทําน้ําพริก สตรีเ ปนพลังสําคัญ ในการพัฒนา เปนแนวรว มที่ดีในการหนุนเสริมการพัฒนา หมูบาน การรวมกลุมของสตรีในหมูบานทางยาวมีหลากหลายกลุม แลวแตความถนัดของแตละคน กลุมทําน้ําพริก ของบานทางยาว ตั้งขึ้นในป 2552 โดยกลุมไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมการพัฒนาชุมชนจํานวน 10,000 บาท ไดมีการรวมกลุมเพื่อที่จะทําน้ําพริกหลาย ๆ แบบเพื่อขายในพื้นที่ ป ร ะ ก อ บ ก ับ ก ล ุม ส ต ร ีด ัง ก ล า ว ม ี ค ว า ม ถ น ัด แ ล ะ ช อ บ ใน เร ื่อ ง เด ีย ว ก ัน จ ึง ได เ ก ิด แ น ว ค ิด แ ล ะ แ ร ง บ ัน ด า ล ใจ ท ี่จ ะ ท ํา แ ล ะ ล ง ม ือ ท ํา อ ย า ง จ ร ิง จ ัง โด ย ท ํา อ อ ก ข า ย ใ น ต ล า ด น ัด แ ถ บ ใ ก ล เ ค ีย ง ใน พ ื้น ท ี่ ป จ จ ุบ ัน ก ล ุม น ้ํา พ ร ิก ม ี ส ม า ช ิก จ ํา น ว น 1 0 ค น ม ีน า ง ส า ย ท อ ง เก ษ ร เป น ป ร ะ ธ า น ก ล ุม ป จ จ ุบ ัน ม ีเ ง ิน ท ุน ห ม ุน เว ีย น จ ํา น ว น 5 ,0 0 0 บ า ท

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๙


8. กลุมปลูกผักปลอดสาร จากการที่เห็นพืชผักในทองตลาดนั้น ไมมีความปลอดภัย มีสารตกคาง มากมาย ทําใหผูบริโภคซึ่งเปนกลุมเสี่ยงไดรับผลกระทบ ทําใหมีอันเปนไปและเกิดสารตกคางในรางกาย เปน อันตราย บั่นทอนชีวิต ลงทุกวัน และดวยสภาพของพื้นที่บานทางยาว เปนพื้นเกษตรกรรม ประชาชนมีอาชีพดาน การเกษตร ทั้งปลูกผัก และทํานา ดวยความตองการใหพืชผัก ในหมูบานที่ปลูกเพื่อบริโภคเอง และจําหนายนั้น เปน พืชผักที่ปลอดสารพิษ ปลอดภัยสําหรับการบริโภค ดวยการที่ผูนําแนวคิดดังกลาว ไดสัมผัส และทํางานรวมกันกับ ทุกภาคสวน โดยอาศัยการปลุกจิตสํานึกใหมีความคิดที่จะตองดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว เพื่อนบาน และ เพื่อนมนุษยดวยกัน จึงใหแนวคิดนั้นแกเพื่อนบานและชวยกันทํา โดยเริ่มตนที่ครอบครัวตนเอง ปลุกจิตสํานึกให ระลึกถึงความปลอดภัยในการบริโภค เมื่อมีจิตสํานึกที่ดีแลวจะนึกถึงเพื่อนมนุษย และอาชีพที่ทํากันอยูที่จะตอง เกี่ยวของกับเพื่อนมนุษย นั้นจะตองดูแลสุขภาพของคนอื่น เสมือนสุขภาพของตนเอง และรวมกันทําอยางจริงจัง ปลูกผักปลอดสารพิษ ไวกินเอง และจําหนาย กลุมปลูกผักปลอดสาร มีนายเดชา เครือโชติ เปนประธาน ปจจุบัน มีสมาชิกทั้งสิ้น 30 คน เงินทุนหมุนเวียน จํานวน 9,000 บาท

9. กลุมผูใชน้ํา กลุมผูใชน้ําเปนโครงการที่ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมการพัฒนาชุมชน เมื่อป 2540 ทรัพยากรน้ําเปนสิ่งสําคัญ และมีคาที่สุด ไมวาจะเปนน้ําเพื่ออุปโภค บริโภค หรือน้ําเพื่อใชในภาค การเกษตร ที่มาของกองทุนตองการใหกลุมผูใชน้ํา ซึ่งประกอบอาชีพทางการเกษตรมีเงินทุนหมุนเวียน ในการ ประกอบอาชีพ แตทั้งนี้ทั้งนั้น จะตองมีการรวมกลุม และสมาชิกกลุมจะตองมีการออมเงิน เงินทุนที่ใหมาจะใหเปน รูปแบบของกองทุนปุย เพื่อใหสมาชิกไดมาใชบริการปุยจากกองทุน โดยรับปุย จากกองทุนไปใชกอน แลวคอยนํา เงินมาคืนกองทุนเมื่อไดมีการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร เพื่อใหกองทุนมีตนทุนไวเทาเดิม ไวหมุนเวียนในการ ลงทุนประกอบอาชีพ สมาชิกกองทุนกลุมผูใชน้ํา บานทางยาว มีสมาชิกเริ่มตน จํานวน 30 ครัวเรือน โดยมี นาย สํารวย ชูทรัพย เปนประธานกลุม เดิมมีเงินกองทุนเริ่มตน จํานวน 60,000 บาท ปจจุบันเงินกองทุนไดเพิ่มขึ้น เปนจํานวน 200,000 บาท และเนื่องดวยกองทุนกลุมผูใชน้ํานี่เอง ทําใหบานทางยาวไดมีการจัดตั้งกลุมออม ทรัพยเพื่อการผลิตขึ้นมา ตั้งแตป 2540 และเปนกองทุนที่สามารถชวยเหลือเกษตรกร บานทางยาว ใหสามารถ หยิบยืม เพื่อการลงทุนไดจนถึงปจจุบัน

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๑๐


10. กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง ตามนโนยายรัฐบาลที่ตองการใหประชาชนไดเขาถึงแหลงทุน และ ใหประชาชนไดใชความสามารถในการบริหารจัดการ เงินทุนของหมูบานตนเอง โดยสนับสนุนเงินทุนใหหมูบาน จํานวนหมูบานละ 1 ลานบาท ตั้งแตป 2544 เปนตนมา บานทางยาว ไดมีการรับสมัครสมาชิกกองทุนหมูบาน และแตงตั้งคณะกรรมการ เพื่อบริหารจัดการกองทุน โดยมีคณะกรรมการกองทุน ทั้งหมด 9 คน มีนายสุทธิ พักต เพียงจันทร เปนประธานกองทุน ปจจุบันกองทุนหมูบานทางยาว มีสมาชิกทั้งสิ้น 108 คน จดทะเบียนเปนนิติ บุคคลแลว เมื่อ 16 มิถุนายน 2551 และไดทําการขอรับการสนับสนุนการเพิ่มทุนแลว จํานวน 20,000 บาท ปจจุบันมีสมาชิกกองทุนกูยืมไปประกอบอาชีพ จํานวน 80 ราย เปนเงิน 1,280,000 บาท สวนใหญสมาชิก กองทุน จะชําระคืนเปนรายป เนื่องจากสมาชิกสวนใหญเปนเกษตรกร มีอาชีพทํานา และปลูกพืชผัก เมื่อเก็บเกี่ยว ผลผลิตแลว สามารถหาเงินมาชําระคืนกองทุนไดตามกําหนด จึงไมทําใหกองทุนมีปญหา 11. กองทุนน้ํามัน/กองทุนปุย เนื่องจากในหมูบานมีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เกษตรกรยังคงตอง ใชน้ํามัน เพื่อใชกับเครื่องทุนแรงขนาดเล็กในแปลงเกษตร และจะตองซื้อน้ํามันมาใชเปนประจําทางหมูบาน จึงได รวมกลุมกัน และไดรับการสนับสนุนงบประมาณ จากสํานักงานเกษตรอําเภอ เพื่อใหเปนเงินทุนหมุนเวียน สมาชิก กลุมสามารถใชบริการกองทุน ไดโดยลงทุนในอัตราตนทุนที่ต่ํากวาทองตลาด และเมื่อไดมีการเก็บเกี่ยวผลผลิตแลว คอยนําเงินมาชําระคืนกลุม ในสวนนี้กลุมสามารถนําเงินทุนไปลงทุนเปนกองทุนปุย ใหแกสมาชิกดวย กองทุน น้ํามัน/กองทุนปุย จัดตั้งเมื่อป พ.ศ.2550 สมาชิกกอตั้ง จํานวน 50 คน เงินกองทุน 250,000บาท ปจจุบัน สมาชิก 60 คน เงินกองทุนไดมีการเพิ่มขึ้น จากการบริหารจัดการของกลุม จนปจจุบันเปนเงิน 300,000 บาท โดยสรุปแลวทุกกลุมทุกกิจกรรมในหมูบานเกิดจากความรวมมือ รวมแรงรวมใจของชาวบานทางยาว และ การสนับสนุนกิจกรรมของหมูบานจากหนวยงานภาคีการพัฒนา เชน มหาวิทยาลัยรังสิต สํานักงานพัฒนาชุมชน สํานักงานเกษตร สํานักงานสาธารณสุข ศูนยการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) กรมการ พัฒนาที่ดิน การไฟฟา ซึ่งเรามีไฟฟาเพื่อสิ่งแวดลอม สามารถผลิตกระแสไฟฟาไดเอง โดยใชผักตบชวา มาผาน กระบวนการหมักเพื่อใหเกิดแกส เพื่อปนเครื่องกําเนิดไฟฟา ทําใหหมูบานนี้มีความเขมแข็ง ซึ่งมีทั้งแหลงทุน มีการ ดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มีการพัฒนาผูนํา ผูนําของหมูบานมีความรูความสามารถ สามารถ ประสานการดําเนินงานกับทุกหนวยงาน ใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู และเปนการดึงงบประมาณเขามาสูหมูบาน แผนชุมชนของหมูบานก็ไดผานกระบวนการเวทีประชาคม เกิดมาจากความตองการของชาวบานจริง ๆ และแผน สามารถขอรับการสนับสนุนงบประมาณไดจริง ๆ และในสวนดานการจัดการความรู หมูบานนี้มีแหลงเรียนรู ซึ่งเปน แหลงเรียนรูใหกับคนทั้งภายในและภายนอกชุมชน มีคณะมาศึกษาดูงาน ซึ่งมีการรับแขกจากภายนอกเปนประจํา ทุกเดือน ทั้งที่ศึกษาดูงานจากหนวยงาน และคณะนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ บานทางยาว เปรียบเสมือน แหลงเรียนรูนอกสถานที่ของนักเรียน นักศึกษา และคณะศึกษาดูงานจากตางประเทศ เชน เวียดนาม ฯลฯ ที่ สามารถใหความชัดเจน ดวยประสบการณ และความสามารถของภูมิปญญาในพื้นที่

 3. กระบวนการพัฒนาแกนนําชุมชน

1.1 ใชหลักความสมัครใจของสมาชิก และหลักประชาธิปไตยในการพัฒนาแกนนําชุมชน 1.2 มีการอบรมใหความรูแกแกนนําชุมชนจากหนวยงานตาง ๆ 1.3 มีการพัฒนาคุณภาพชีวิต จิตใจ และใชหลักคุณธรรม จริยธรรมในการทํางานรวมกัน

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๑๑


 4. กระบวนการพัฒนาหมูบาน

1. การคัดเลือกครัวเรือนเปาหมาย - มีความพรอมความสนใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตัวเอง - มีความเสียสละ เอื้อเฟอเผื่อแผ, อดทนขยันและประหยัด - ทําตัวเปนแบบอยางที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม 2. การสรางกระบวนการเรียนรูใหครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง - ศึกษาเรียนรูดวยตนเองจากเอกสารหนังสือ ปราชญชาวบาน และผูรูในแขนงตาง ๆ - ศึกษาดูงานนอกสถานที่ทั้งในจังหวัดและตางจังหวัด - ถายทอดความรูจากการศึกษาดูงานแกสมาชิกและการปฏิบัติจริง 3. กิจกรรมดีเดนที่เปนแหลงศึกษาเรียนรูไดของครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง - การผลิตขาวมอลต - การเลี้ยงเปด - การเลี้ยงกบ - การเลี้ยงปลา - ปุยชีวภาพ - การทําเกษตรอินทรีย - การผลิตไฟฟาเพื่อสิ่งแวดลอม - การแสดงลิเก/กลองยาว - การบริหารจัดการกองทุนตาง ๆ ในหมูบาน - การปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ 4 กระบวนการปรับแผนชุมชน - แจงคณะกรรมการหมูบาน ผูนํา และประชาชนเขารวมเวทีประชาคม - ใชขอมูลตาง ๆ ประกอบการพิจารณาแผนงานโครงการ - พิจารณาถึงผลกระทบกับคนสวนใหญ - รวบรวมแผนงานโครงการตาง ๆ เสนอหนวยงานตาง ๆ เพื่อแกไขปญหา - นําเสนอปญหา แนวทาง แกไข กิจกรรม โครงการ

 5. กิจกรรมดีเดนของหมูบ านที่สามารถเปนแหลงศึกษาเรียนรูได - การผลิตขาวมอลต - การทําเกษตรอินทรีย - การแสดงลิเก/กลองยาว - การเลี้ยงเปด/การเลี้ยงกบ - การผลิตไฟฟาเพื่อสิ่งแวดลอม ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๑๒


6. กิจกรรมการวัดความสุขมวลรวมของหมูบาน ประชุมเชิงปฏิบัติการครัวเรือนตนแบบ จํานวน 30 ครัวเรือน เพื่อติดตามและประเมินผลความสุข มวลรวมของชุมชน ของหมูบานตนแบบ ตามโครงการสนับสนุนการรักษามาตรฐานหมูบานตนแบบ ป 2553 โดย ผลการดําเนินงาน จากการจัดประชุมประชาคมครัวเรือนตนแบบในชุมชนแบบมีสวนรวม ชี้แจงทํา ความเขาใจในองคประกอบชี้วัดดัชนีวัดความ “อยูเย็น เปนสุข” ของชุมชน แตละองคประกอบ โดยเจาหนาที่พัฒนา ชุมชนอธิบายทําความเขาใจตัวชี้วัดที่ละตัวและใหผูเขารวมประชุมใหคาคะแนนตัวชี้วัดจนครบทุกตัว จัดเปน 5 ระดับ ดังนี้

0 - 20 21 - 40 41 - 60 61 - 80 81 - 100

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

ระดับความสุขต่ํา ระดับความสุขคอนขางต่ํา ระดับความสุขปานกลาง ระดับความสุขสูง ระดับความสุขที่ปรารถนา

อยูรอน อยูได อยูอิ่ม อยูดี อยูเย็น

นอนทุกข คลายทุกข นอนอุน มีสุข เปนสุข

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๑๓


 7. กระบวนการหมูบานพัฒนาตามตัวชี้วัดกระทรวงมหาดไทย 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด คําอธิบายรายละเอียดการดําเนินกิจกรรม

ดานที่ 1 ดานจิตใจและสังคม ประกอบดวย 7 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1. หมูบานหรือชุมชนประชาชนมีความสามัคคีและความรวมมืออันดีระหวางกัน หมายถึง การที่ประชาชนในหมูบานหรือชุมชนมีความสัมพันธที่ดีระหวางกัน ดวยการรวมกันแสดง ความคิดเห็น ตัดสินใจเพื่อการแกปญหาและการพัฒนา แสดงออกถึงพฤติกรรมความรวมมือ แบงเบาภาระการ ทํางานเพื่อสวนรวม ปรองดองเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน 1. การเขารวมการประชาคม การประชุมของหมูบานหรือชุมชนเพื่อแกปญหาและพัฒนาชุมชน โดย ประชาชนผูรวมแสดงความรูความสามารถของตนเอง รับฟงขอมูล คําชี้แจงและเหตุผล จากผูมีสวนไดสวนเสียตอ ชุมชน แสดงความคิดเห็นในกระบวนการติดตาม ตรวจสอบ การดําเนินงานการพัฒนาของหมูบานหรือชุมชน รวมกับ สมาชิกชุมชนอื่นๆ อยางเต็มใจและเต็มศักยภาพ ทั้งนี้คณะกรรมการบริหารหมูบาน จะจัดประชาคมหรือการประชุม ขึ้นเพื่อการปรึกษาหารือ และเรียนรูรวมกันเปนประจําสม่ําเสมอ เชน ทุกวันที่ 10 ของทุเดือน และตามวาระสําคัญ เรงดวนตามความตองการ 2. การเขารวมกิจกรรมตางๆ ที่หมูบานหรือชุมชน จัดขึ้นเพื่อใหมีผลตอการพัฒนาหรือแกปญหากับสวนรวม ดวยความสมัครใจ พรอมเพรียงกัน โดยการออกแรงงาน เงิน หรือวัสดุอุปกรณตางๆ เกณฑการประเมิน ตองผาน ทั้ง 2 ขอ  ผาน ไมผาน 1. หมูบาน/ชุมชนมีการประชุม/ จัดเวทีประชาคมอยางนอย 12 ครั้ง ตอป กิจกรรมที่จัดทํา ประชาชนในหมูบานสวนใหญเปนสมาชิกกลุม/องคกรตาง ๆ ในหมูบานจะมีการสงเงินสัจจะ/ออม ทรัพย/เงินกู ใหกับคณะกรรมการกองทุนฯ ทุกวันที่ 5 ของเดือน และมีการประชุม/จัดเวทีประชาชนในวันเดียวกันนี้ เพื่อ รับฟงขอมูลขาวสาร แลกเปลี่ยนเรียนรูแสดงความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เพื่อนําไปสูการแกไขปญหาและพัฒนาหมูบาน

 ผาน ไมผาน 2. คนในหมูบาน/ชุมชนมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆของหมูบานโดยพิจารณาจากการผานเกณฑ จปฐ.(ผานทั้ง 2 ขอ ) * คนในครัวเรือนอยางนอย 1 คน เปนสมาชิกกลุมหรือผานเกณฑ จปฐ. ขอ 38 * คนในครัวเรือนอยางนอย 1 คนเคยรวมทํากิจกรรมสาธารณะดานตางๆ ของหมูบานหรือผานเกณฑ จปฐ.ขอ 41 กิจกรรมที่จัดทํา......จํานวนกลุม 10 กลุม จํานวนประชาชนที่เปนสมาชิกกลุม 215 คน ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๑๔


ในรอบป มีกิจกรรมที่จัดเพื่อสวนรวมในชุมชน. คือ 1. กิจกรรมสาธารณะดานตาง ๆ เชน การรณรงคกําจัดลูกน้ํายุงลาย การดูแลลําคลอง การปลูกตนไม 2. กิจกรรมทางศาสนา เชน การทําบุญในวันสําคัญทางศาสนา ตักบาตรพระรอย ตัก บาตรน้ําผึ้ง ทําบุญสารทไทย 3. กิจกรรมการศึกษาดูงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงจากหนวยงาน/กลุมองคกรตาง ๆ ที่ เขามาศึกษาเรียนรู 4. กิจกรรมกองทุนแมของแผนดิน เชน การจัดแขงขันกีฬาตานยาเสพติด จํานวนคนในครัวเรือนเขารวมกิจกรรม 200 คน กลุมทําน้ําพริก กลุมเยาวชนลิเกเด็ก/กลองยาว

กลุมเลี้ยงกบ

กลุมเลี้ยงเปด

กลุมเพาะเห็ด

การทําน้ําหมักชีวภาพ

กลุมออมทรัพยฯ

กองทุนหมูบ านฯ

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๑๕


กองทุนกลุมผูใชน้ํา

กลุมอาชีพทํานา

กิจกรรมเยาวชนดานกีฬา

ตัวชี้วัดที่ 2. หมูบานชุมชนมีขอตกลงกําหนดเปนขอปฏิบัติของหมูบาน หมายถึง การที่หมูบานหรือชุมชน ไดมีการรวมกันพิจารณา สภาพปญหา คานิยม จารีต ประเพณี วัฒนธรรม ที่สืบทอดตอกันมาของหมูบานชุมชน จนไดขอตกลงกําหนดขอปฏิบัติ เปนกฎ ระเบียบ ขอบังคับ จัดทํา เปนลายลักษณอักษร มีระบบและชองทางการสื่อสารสรางความเขาใจใหประชาชนในหมูบานหรือชุมชนรับทราบ เชน ปายประกาศ เอกสารเผยแพร ประกาศในที่ประชุม หอกระจายขาว เสียงตามสาย และประชาชนยอมรับนําไป ปฏิบัติอยางเต็มใจ ในการดําเนินชีวิตรวมกันในชุมชนกอใหเกิดความสงบสุข

เกณฑการประเมิน ตองผาน ทั้ง 2 ขอ  ผาน ไมผาน 1 หมูบาน/ชุมชน มีการจัดทําขอปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ เปนลายลักษณอักษรหรือ จารีตวัฒนธรรม ประเพณี ที่ถายทอดสืบตอ กันมา ที่กอใหเกิดความสงบของคนในหมูบาน/ชุมชน รายละเอียดสําคัญ ของจารีต ประเพณี วัฒนธรรม กฎ ระเบียบของหมูบาน บานทางยาวมีการจัดกิจกรรมสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรม ดังนี้ 1. มีการทําบุญตักบาตรพระรอย ตักบาตรน้ําผึ้ง ทําบุญสารทไทย เปนประจําทุกป 2. ฝกสอนเพลงโนเนใหกับเยาวชนไดเรียนรู พรอมทั้งมีการบันทึกเปนเอกสาร กิจกรรมที่ดําเนินการเพื่อการสืบทอดและรักษาจารีต ประเพณีเพื่อความสงบสุข. (ถามี) การทําบุญวันสงกรานต สรงน้ําพระ รดน้ําดําหัวผูสูงอายุ

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๑๖


วิธีการตกลง ขอปฏิบัติ หรือระเบียบหมูบาน คือ (ถามี) จัดประชุม/ประชาคม ระดมความคิดขอมติจัดทําขอตกลง ขอปฏิบัติ เพื่อเปนระเบียบใหคนในหมูบานใชเปน แนวทางในการอยูรวมกัน วิธีการประกาศใช ขอปฏิบัติ หรือการสรางความเขาใจกับสมาชิกในหมูบาน (ถามี) 1.ประกาศใชไว ณ ศูนยเรียนรูในหมูบาน / วัดสหราษฎรบํารุง 2.ประชาสัมพันธเสียงตามสายใหคนในหมูบาน ทราบ ผาน ไมผาน 2. คนในหมูบาน/ชุมชน รอยละ 70 ปฏิบัติตามขอปฏิบัติของหมูบาน ในรอบป มีฝาฝนขอตกลงที่วางไว จํานวน 8 คน เปนรอยละ 0.94 (จํานวนผูฝาฝน หารดวย จํานวนประชาชนทั้งหมด คูณดวย 100 คาที่ได ไมเกิน 30 จึงผาน)

  ตัวชี้วัดที่ 3. หมูบานหรือชุมชน มีกองทุนเพื่อสวัสดิการของชุมชนเพื่อใหบริการแกสมาชิก กลุมสวัสดิการ หมายถึง กลุมที่มีวัตถุประสงคเพื่อจัดระบบการจัดบริการ ทางสังคมซึ่งเกี่ยวกับการ ปองกัน การแกปญหา การพัฒนาและการสงเสริมความมั่งคงทางสังคม เพื่อตอบสนองความจําเปนขั้นพื้นฐานของ ประชาชน ใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี พึ่งตนเองไดอยางทั่วถึง เหมาะสม เปนธรรม และการมีสวนรวม บริการสมาชิก หมายถึง กลุมสวัสดิการจัดสิ่งเอื้ออํานวยในชีวิตของสมาชิก ใหสะดวกสบายยิ่งขึ้น เปนสิ่งตอบแทนตางๆ รวมถึงบริการและประโยชนพิเศษที่กลุมจัดใหมีขึ้น เพื่อความพอใจและคุณภาพชีวิตที่ดีของ สมาชิก หรือรวมทั้งจัดขึ้นเพื่อใหบริการกับบุคคลหรือกลุมบุคคลซึ่งอยูในสภาวะยากลําบากหรือที่จําเปนตองไดรับ ความชวยเหลือ เชน เด็ก เยาวชน คนชรา ผูยากไร ผูพิการหรือผูทุพพลภาพ ผูดอยโอกาส หรือกลุมบุคคลอื่นตามที่ คณะกรรมการกําหนด แบงสวัสดิการเปน 1. สวัสดิการดานเศรษฐกิจ หมายถึง สวัสดิการตางๆ เพื่อชวยใหฐานะความเปนอยูของสมาชิกและ ครอบครัวดีขึ้น ไดแก บริการที่พักอาศัย บริการอาหารกลางวัน บริการการรักษาพยาบาล บริการคาเลาเรียนบุตร บริการเงินชวยเหลือบุตร บริการการกูยืม และบริการเงินสะสม

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๑๗


2. สวัสดิการดานสังคม หมายถึง สวัสดิการตางๆ เพื่อประโยชนทางจิตใจ ความนึกคิด การ เพิ่มพูนความรูตลอดจนความสนุกสนานรื่นเริงของสมาชิก เชน บริการหองสมุด บริการการศึกษาตอ และบริการการ กีฬาและดานนันทนาการตางๆ เกณฑการประเมิน ตองผาน ทั้ง 2 ขอ ผาน ไมผาน 1. หมูบาน/ชุมชนมีกองทุนในรูปแบบสวัสดิการ อยางนอย 1 กองทุนและสมาชิกในชุมชนมีโอกาสไดรับ บริการจากกองทุนครบทุกคน ชื่อกองทุนสวัสดิการที่มีในหมูบาน ดังนี้ (ถามี) กองทุนหมูบาน/กองทุนน้ํามัน/กลุมผูใชน้ํา/กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตฯ

กิจกรรมที่ใหบริการแกสมาชิก ดังนี้ (ถามี) การกูยืมเงินเพื่อการประกอบอาชีพ/เงินหมุนเวียนซื้อปุยเพื่อการเกษตร/เงิน หมุนเวียนซื้อน้ํามันเพื่อการเกษตร จํานวนสมาชิกของกองทุน 215 คน ผาน ไมผาน 2. คนยากจน ดอยโอกาส และคนที่ประสบปญหาไดรับ การชวยเหลือจากกองทุน สวัสดิการอยาง นอยรอยละ 50 ในรอบปมีผูประสบปญหาจํานวน 5 คน จํานวนผูที่ไดรับการชวยเหลือจากกองทุน 5 คน กิจกรรมที่กองทุนจัดขึ้นเพื่อ ชวยเหลือ 1. เงินทุนการศึกษา 2.เงินชวยเหลือคาทําศพ 3.มอบสิ่งของเครื่องใชอุปโภค/บริโภค  ตัวชี้วัดที่ 4. หมูบานหรือชุมชนยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย หมายถึง ประชาชนในหมูบานหรือชุมชนมีความตื่นตัว รูจักการรักษาหนาที่ปฏิบัติตามสิทธิ ใน ฐานะการเปนพลเมืองของประเทศ ใชเสรีภาพทางการแสดงออกทางการเมือง มีสวนรวมในการบริหารงานของ หมูบานหรือชุมชนทองถิ่น ดวยการเขาไปมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น ใหขอมูล รับฟงเหตุผล ดวยขอมูลที่ ถู ก ต อ งและหลั ก การความรู ในการร ว มตั ด สิ น ใจเพื่ อ ส ว นรวม และยอมรั บ ในความเห็ น เหตุ ผ ลของส ว นใหญ แสดงออกตอกันของคนในครอบครัวอยางเคารพและเสมอภาค

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๑๘


การพิจารณาใหคะแนนในเกณฑการไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง ดูที่ ผูมีอายุ18 ปบริบูรณ ขึ้นไปที่มีชื่อใน ทะเบียนบานและอาศัยอยูประจําในครัวเรือนนี้รวมกันไมนอยกวา 6 เดือน ไปใชสิทธิในการเลือกตั้งครั้งหลังที่ผาน มาลาสุดของการเลือกตั้งที่เกิดขึ้น ทุกประเภท อยางใดอยางหนึ่ง เกณฑการประเมิน ตองผาน ทั้ง 2 ขอ ผาน ไมผาน 1. คนในหมูบาน/ชุมชน ที่มีสิทธิเลือกตั้งและอาศัยอยูจริง ไปใชสิทธิเลือกตั้งครั้งหลังสุด ไมนอยกวา รอยละ 90 ของคนที่มีสิทธิเลือกตั้งและอาศัยอยูจริง (ผานเกณฑ จปฐ.ขอ 42) ในรอบปที่ผานมา มีการเลือกตั้งทุกระดับ 1 ครั้ง ผูมีสิทธิเลือกตั้ง จํานวน 725 คน ผู ไปใชสิทธิเลือกตั้งหลังสุดรอยละ 99.3 ผาน ไมผาน 2. การจัดเวทีประชาคม มีตัวแทนคนในครัวเรือนเขารวมเวทีรอยละ70 ของครัวเรือนในหมูบาน/ ชุมชน ในรอบปที่ผานมา มีการจัดการประชุม ประชาคม จํานวน 20 ครั้ง เรื่องใดบาง 1. จัดเวทีประชาคมทําโครงการ SML 2. จัดเวทีประชาคมทําโครงการชุมชนพอเพียง 3. ปรับแผนชุมชน 4. จัดประชุมกองทุนตาง ๆ ทุกวันที่ 5 ของเดือน 5. จัดประชุมการเฝาระวังยาเสพติดในหมูบาน เพื่อวางแผนการจัดเวรยาม

ตัวแทนครัวเรือน เขารว มประชุม จํานวนรวม 654 คน รอยละ 78 (ตัวแทนครัวเรือนที่เขารว มหารจํานวน ครัวเรือนทั้งหมดคูณดวย 100) วิธีการเชิญชวนประชาชนเขารวมประชุม 1.เสียงตามสาย 2.ประชาสัมพันธโดยใชรถขับรอบหมูบาน 3.ผูนําชุมชนประชาสัมพันธ การสื่อสารใหประชาชนในชุมชนรับทราบผลการประชุม 1.เสียงตามสาย 2. ผูนําชุมชนประชาสัมพันธ

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๑๙


 ตัวชี้วัดที่ 5. หมูบานหรือชุมชน มีหลักคุณธรรม จริยธรรม ในการดําเนินชีวิตรวมกัน คุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจของประชาชนที่ มีอยูและสามารถนํามาประพฤติปฏิบัติตนเพื่อการบรรลุถึงสภาพชีวิตอันทรงคุณคา การปฏิบัติตนตอกันและกันของ ประชาชน อาจนําหลักคําสอนทางศาสนามาใชหรือนําหลักปฏิบัติที่มาจากวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี มา ใชแยกเปนรายละเอียดแตละประเภท เชน เมตตา กรุณา เสียสละ ซื่อสัตย อดทน ฯลฯ เชน ความเปนผูไมกลาว เท็จโดยหวังประโยชนสวนตน เปนตน เกณฑการการพิจารณาใหคะแนน 1. ดูจากการที่คนในหมูบานหรือชุมชน ไดแสดงออกถึงความศรัทธาในหลักปฏิบัติของศาสนา เขารวม ในกิจ กรรมเพื่ อการก อเกิดความเขา ใจในคําสอนของศาสนา สรางความเชื่อและศรัทธาเพื่อกลอมเกลาจิตใจให เหมาะสมกับคานินมของสังคม เชน การเขารวมในกิจกรรมทางศาสนาที่ชุมชนจัดขึ้น หรือกิจกรรมตามวันสําคัญทาง ศาสนา เปนประจํา 2. คนในชุมชนปฏิบัติตอกันดวยหลักมนุษยสัมพันธ เคารพยกยอง ใหเกียรติ แสดงออกดวยทาทีตาม วัฒนธรรมประเพณีทองถิ่นหรือตามมารยาทไทย เชนการไหว ขอโทษ ขอบคุณและอื่นๆ ชวยเหลือเกื้อกูล แบงปน ดวยความสัมพันธที่ดีระหวางกันทั้งชุมชน 3. การเสริมแรงใหกับบุคคลที่ทําความดีกระทําตนเปนแบบอยางเพื่อสังคม การจัดกิจกรรมเพื่อแสดง การยกยองเชิดชู เพื่อเปนการประกาศเกียรติคุณใหทราบและยอมรับโดยทั่วไป เพื่อใชเปนแบบอยางในการประพฤติ ปฏิบัติของบุคคลอื่นในหมูบานหรือชุมชนตอไป เชน การมอบเกียรติบัตร เกียรติคุณ ใหเปนกรณีพิเศษ หรือจัดเปน กิจกรรมบุคคลดีเดนแหงปของชุมชน เปนตน 4. เมื่ อมี เหตุ การณ ที่ เกิ ดความขั ดแย งขึ้ นในชุ มชน ชุ มชนมี วิ ธี การในการบริ หารจั ดการจนสามารถ แกปญหาเหลานั้นไดดวยชุมชนเองบนพื้นฐานความสัมพันธอยางกลมเกลียว เชน การใชผูอาวุโสในหมูบานเปนผูไกล เกลี่ย เกณฑการประเมิน ตองผานรวม 3 ขอ (ขอใดก็ได) ผาน ไมผาน 1. คนในหมูบาน/ชุมชนปฏิบัติศาสนากิจอยางใดอยางหนึ่งรวมกัน (ทั้งหมูบาน) อยาง นอยปละ 3-4 ครั้ง กิจกรรมที่ทํารวมกันทั้งหมูบาน คือ การทําบุญตักบาตรในวันสําคัญทางศาสนา เชน วัน เขาพรรษา วันออกพรรษา วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันสงกรานต ผาน ไมผาน 2. คนในหมูบาน/ชุมชนปฏิบัติตามวัฒนธรรมประเพณีและมารยาทไทยลักษณะที่เดนชัด ในมารยาท ของคนในหมูบาน มีการทําบุญตักบาตรทุกวันพระ และเยาวชนในหมูบานใหความเคารพผู อาวุโสกวา ผูใหญสามารถตักเตือนวากลาวได ผาน ไมผาน 3. หมูบานจัดใหมีกิจกรรมประกาศเกียรติคุณบุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรมเปนแบบอยางที่ดีตอคนใน หมูบาน กิจกรรมที่จัดเพื่อเชิดชูเกียรติผูเปนแบบอยาง ของหมูบานคือ อะไร จัดในวันใด 1.จัด กิจกรรมมอบรางวัลและเกียรติบัตรใหแกครอบครัวตัวอยาง ที่เปนแบบอยางที่ดีใหแกคนใน หมูบาน 2.ประชาสัมพันธยกยองครัวเรือนตัวอยางทางการเกษตรใหเปนแบบ อยางดาน การเกษตรโดยไมใชสารเคมี ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๒๐


ผาน ไมผาน 4. คนในครัวเรือนมีการแบงปน ชวยเหลือ เกื้อกูล ยกยองใหเกียรติ ลักษณะเดนที่แสดงใหเห็นชัดเจน 1.จัดกิจกรรมรดน้ําดําหัวผูสูงอายุ 2.ครัวเรือนใกลเคียงมีการแบงปนพืชผัก สวนครัว 3. ปราชญดานตาง ๆ ใหความรูแกผูสนใจ เชน การปลูกผักปลอดภัย การทําน้ําสมควันไม ไดนําไป ปฏิบัติ ผาน ไมผาน 5. หมูบาน/ชุมชน สามารถจัดการความขัดแยงได กรณีตัวอยางที่หมูบานจัดการแกปญหาได วัยรุนในหมูบานทะเลาะกัน ผูนําจะเรียกวัยรุนและผูปกครองเด็กทั้งสองฝายมา พูดคุยกัน ใหทั้งสองฝายไดพูดจาปรับความเขาใจกัน ตัวชี้วัดที่ 6 คนในครอบครัวมีความอบอุน ชุมชนมีความปลอดภัย คนในครอบครัวอบอุน หมายถึง ความเปนอยูของคนในหมูบานหรือชุมชน มีลักษณะไดมีโอกาสอยู พรอมหนากัน (พอ แม ลูก หรือญาติ พี่นองที่อาศัยอยูประจําในบานเดียวกัน ไดทํากิจกรรมภายในครัวเรือนดวยกัน เชน รับประทานอาหาร พูดคุย เลนกีฬา ปรับปรุงที่อยูอาศัย ปลูกพืชผักสวนครัว และอื่นๆ ) เปนประจํา อยางนอย 6 ครั้งตอป คนในครัวเรือนใหการเคารพตอกัน ปรึกษาหารือเพื่อแกปญหาในครัวเรือน คนในครัวเรือไมหนีออกจาก บาน กรณีที่มีผูอยูคนเดียวถาดํารงชีวิตอยางมีความสุข หรือไดรับการดูแลใหมีความสุขจึงถือวาเปนครัวเรือนอบอุน หรือผานเกณฑ จปฐ.ขอ 21 ชุมชนมีความปลอดภัย หมายถึง หมูบานหรือชุมชนมีภูมคุมกันในการปองกันภัย ดวยกิจกรรม ตางๆ ตามที่ชุมชนเห็นสมควร เพื่อทําใหหมูบานหรือขุมชนปลอดสารเสพติด ไมมีผูคา ผูเสพไดรับการรักษา ผูไดรับ การรักษาแลวไมกลับไปใชสารเสพติดอีก รวมทั้ง หมูบานหรือชุมชน มีกิจกรรมเพื่อสงเสริม สนับสนุน การลด ละ เลิก อบายมุข เพื่อใหคนในชุมชน ไมติดสุรา(ตองดื่มทุกวัน ขาดไมได และตองการในปริมาณเพิ่มขึ้นหรือเปนโรคพิษ สุราเรื้อรังปรากฏ เชน อาการมือสั่น จปฐ.ขอ 32) ไมสูบบุหรี่ (จปฐ.ขอ 33) ไมติดการพนัน คือ คนในชุมชน รูและ เขาใจ ตระหนักในโทษที่เกิดจากการเลนการพนันและไมมีพฤติกรรมเลนการพนันจนเปนนิสัยทําใหเสียทรัพย เปน หนี้สินเกิดความเดือดรอนตอตนเองและครอบครัว เกณฑการประเมิน ตองผาน ทั้ง 3 ขอ (บังคับตองผาน ขอ 1 และขอ 2 เพิ่มขอใดก็ไดอีก 1 ขอ) ผาน ไมผาน 1. หมูบาน/ชุมชนปลอดยาเสพติดในรอบปที่ผานมา รอยละ 100 กิจกรรมการจัดการกับปญหายา เสพติด …รณรงคใหความรูแกกลุมเสี่ยงในพื้นที่โดยผานทางโรงเรียนใหครูไดอบรมสั่งสอนเด็ก นําศีลธรรม/จริยธรรมเขาสอดแทรกในหลักสูตร เพื่อขัดเกลาจิตใจเด็ก ปลูกฝงคานิยมความเปน คนไทย จรรโลงไวซึ่งวัฒนธรรมอันดีงาม ผาน ไมผาน 2. ในรอบ 1ปที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนมีกระบวนการสงเสริมการ ลด ละ เลิก อบายมุข ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๒๑


อยางนอย 1 กิจกรรม กิจกรรมการสงเสริมการลด ละเลิก 1. จัดกิจกรรมลด ละ เลิกเหลาในชวง เขาพรรษา สงเสริมอาชีพให เชน การปลูกผักปลอดภัย การทําน้ําพริกแกง

ผาน  ไมผาน 3. คนในหมูบาน/ชุมชนไมติดสุรา ผานเกณฑ จปฐ.ขอ 32 รอยละ 100  ผาน ไมผาน 4. คนในหมูบาน/ชุมชนไมสูบบุหรี่ ผานเกณฑ จปฐ. ขอ 33 รอยละ 90 ผาน ไมผาน 5. คนในหมูบาน/ชุมชนไมติดการพนัน 100 % กิจกรรมการแกปญหาการติดการพนัน (ถา มี)...สนับสนุนใหครัวเรือนมาทํากิจกรรมรวมกัน เชน. การปลูกพืชผักสวนครัว การเพาะชํากลา ไมเพื่อขยายผล การดูแลสิ่งแวดลอม การจัดกิจกรรมเนื่องในวันสําคัญ การสงเสริมการระดม ทุน กิจกรรมกองทุนเปด เปนตน ผาน ไมผาน 6. ครอบครัวอบอุน ในรอบปที่ผานมา ครัวเรือนนี้มีโอกาสอยูพรอมหนากัน มีความเคารพ นับถือซึ่ง กันและกัน มีการปรึกษาหารือ สมาชิกในครัวเรือนไมเคยหนีออกจากบาน คนอยูคนเดียวมี ความสุข ซึ่งมีลักษณะเปนครอบครัวอบอุน รอยละ100 หรือตามเกณฑ จปฐ. ขอ 21 กิจกรรม สงเสริมการสรางครอบครัวใหอบอุน คนในครอบครัวมีการพูดคุยกัน ปรึกษาหารือ รับประทาน อาหารรวมกัน ตัวชี้วัดที่ 7 คนในชุมชนมีความเชื่อมั่นในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึ ง คนในหมู บ า นหรือชุมชนไดรับ การเรียนรู มีความเขาใจ ยอมรับ และนําหลักการตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชเปนแนวทางในการดํารงชีวิต หมูบ านหรื อชุ มชน จั ดใหมีกิจ กรรมในการสงเสริมความรู ความเขาใจ และการยอมรับ ในหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหแกประชาชนในหมูบานหรือชุมชน ในรูปแบบตางๆ เชน การฝกอบรม การศึกษาดู งาน การถายทอดความรูโดยนําวิทยากรหรือผูที่มีประสบการณในการดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง การเผยแพรผานสื่อตางๆในชุมชน การจัดการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับการสาระ และการปฏิ บั ติ ต นตามแนวปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง การสาธิ ต กิ จ กรรมต า งๆ เพื่ อ การดํ า รงชี วิ ต อย า ง พอประมาณ เพื่อการพึ่งตนเอง ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๒๒


ในระดับครัวเรือน นําปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงไปปรับใชในครัวเรือน ดวยการทํากิจกรรม ตอไปนี้ ครบทุกกิจกรรม 1.กิจกรรมลดรายจาย เชน การทําของใชเพื่อใชเอง ปลูกพืชเลี้ยงสัตวเพื่อเปนอาหารในครัวเรือน กิจกรรมตรวจสอบการใชจายประจําวัน และลดการใชจายที่ไมจําเปน โดยเฉพาะกับอบายมุข 2. กิจกรรมเพิ่มรายได เชน การแปรรูป พัฒนาผลิตภัณฑ กิจกรรมเสริมรายไดลดตนทุนการผลิต ในกิจกรรมของครัวเรือน เลือกใชวิชาการ เครื่องมือที่สามารถเรียนรู ใชงานไดเหมาะสมกับกิจกรรมและไมกระทบกับ ฐานะทางเศรษฐกิจ สําหรับชวยในการประกอบอาชีพเพื่อสรางผลผลิตและผอนแรง 3. กิจกรรมการประหยัด มีการแบงรายไดเพื่อการสะสมทุนของครัวเรือน ในรูปแบบตางๆ หรือ สมัครเขาเปนสมาชิกกลุมกองทุนตางๆ ของชุมชน 4. กิ จ กรรมการเรี ย นรู การทบทวนและเพิ่มพูน ความรู ความเชี่ย วชาญในงานการอาชีพที่ทํ า ประจํ า วั น แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ร ะหว า งครั ว เรื อ นที่ มี กิ จ กรรม อาชี พ คล า ยกั น เพื่ อ พั ฒ นาภู มิ ป ญ ญาและเพิ่ ม ประสิทธิภาพ รวมถึงการเรียนรูปรัชญา ความเปนมา คานิยม ธรรมเนียมของชุมชน 5. กิ จ กรรมการอนุ รั กษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดว ยการปรับ ปรุงสิ่งแวดลอมใน บริเ วณบา นใหส ะอาด เรีย บรอยปองกัน การเกิดโรคระบาด ปลูกไมดอก ไมประดับ หรือ พืช พัน ธุไมที่ครัวเรือน ตองการ อยางรมรื่นสวยงามไดรับประโยชน การดัดแปลงวัสดุ วัตถุดิบทางธรรมชาติ เพื่อใชประโยชนอยางเต็มที่ รวมทั้งเขารวมในกิจกรรมการอนุรักษ ฟนฟู พัฒนาสิ่งแวดลอมของชุมชน ที่เปนกิจกรรมของสวนรวมอยูเสมอ 6. การแบงปน เอื้ออารี ทั้งกับคนในครัวเรือนและเพื่อนบาน สละสิ่งของแบงปน ของเหลือกินเหลือ ใชสละแรงงานความรูความสามารถชวยเหลืองานของกันและกันโดยไมมุงหวังสิ่งตอบแทน เกณฑการประเมิน ตองผาน ทั้ง 2 ขอ ผาน ไมผาน 1. หมูบาน/ชุมชน นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาจัดกิจกรรมการเรียนรู อยางนอย 6 ครั้ง กิจกรรมการเรียนรูเพื่อวิถีชีวิตพอเพียง (ทําอะไร อยางไร เมื่อไหร) 1. การปลูกผักสวนครัวบริเวณบาน 2. การรวมกลุมทําน้ําพริกในหมูบาน เพื่อสงเสริมรายได 3. การทําการเกษตรโดยใชปุยอินทรีย น้ําหมักชีวภาพ เพื่อเปนการลดรายจาย 4. จัดใหมีการออมเงินในกลุมตาง ๆ เชน กลุมเลี้ยงเปดไข 5. รณรงคใหเกษตรกรทํานาโดยไมเผาตอซัง เพื่อรักษาสิ่งแวดลอม 6. จัดกิจกรรมใหคนในหมูบานเขามาเรียนรูในศูนยเรียนรูของหมูบาน โดยมีจุดเรียนรูดานตาง ๆ เชน การทํากลุม 7. อาชีพ การปลูกผักปลอดภัย ดานศิลปวัฒนธรรม(ลิเกเด็ก)

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๒๓


ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๒๔


ผาน ไมผาน 2. ครัวเรือนหลักนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ อยางนอย รอยละ 70 ของครัวเรือนใน หมูบาน กิจกรรมที่แสดงใหเห็นวาเชื่อมั่นในหลักปรัชญาฯ นําไปใช คือ 1.การปลูกพืชผักสวน ครัวรั้วกินได โดยใชน้ําหมักชีวภาพ เพื่อเปนการลดรายจาย

ดานที่ 2 ดานเศรษฐกิจ ประกอบดวย 5 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 8 ครัวเรือนมีการจัดทําบัญชีครัวเรือน หมายถึ ง การบั น ทึก รายการและจํานวนเงินสว นที่เปน รายรับ และรายการใชจายที่เกิดขึ้น ใน ครัวเรือน หรือเปนของบุคคล เปนประจําไมวาจะเปนการจดบันทึกเปนรายวัน รายสัปดาห หรือรายเดือน พรอมทั้ง สรุปผลเพื่อเปนสถิติเปรียบเทียบ เพื่อใชในการพิจารณาถึงงบดุลของครัวเรือน พฤติกรรมการใชจายที่เปนภัยตอการ ดําเนินชีวิต เพื่อนําไปเปนขอมูลในการวางแผน กําหนดแนวทางการใชจายของครอบครัวอยางพอประมาณ และ สามารถนําขอมูลจากทุกครัวเรือนมาสรุปผลเปนภาพรวมของชุมชนเพื่อเปนขอมูลในการจัดทํา และปรับปรุงแผน ชุมชนเพื่อการพัฒนาและแกปญหาของชุมชนไดดวย เกณฑการประเมิน ผาน ไมผาน

มีการจัดทําบัญชีรายรับ-รายจายของครัวเรือนเปนประจํา รอยละ 50 ของครัวเรือนในชุมชน กิจกรรมการสงเสริมใหมีการจัดทําบัญชีรับ-จาย สงเสริม/สนับสนุนสมุดบัญชีครัวเรือนใหกับ ประชาชนในหมูบานโดยไมมีคาใชจาย ครัวเรือนที่จัดทํา จํานวน 98 ครัวเรือน คิดเปน รอน ละ 52.12 (จํานวนครัวเรือนที่ทํา หารดวยครัวเรือนทั้งหมด คูณดวย 100 ผลลัพธตองเทากับ 50 หรือมากกวา จึงผาน)ปญหาที่ไมสามารถจัดทําบัญชีครัวเรือนได 1.ครัวเรือนไมเห็น ความสําคัญของการทําบัญชี 2.เขียนหนังสือไมคลอง

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๒๕


ตัวชี้วัดที่ 9 หมูบานหรือชุมชนมีกิจกรรมลดรายจายและสรางรายได หมายถึง ครัวเรือนในหมูบานหรือชุมชน มีกิจกรรมเพื่อการลดรายจาย ในชีวิตประจําวัน เชน การ ดัดแปลงการผลิตของกิน ของใช หรือเลือกใชสิ่งของที่มีอยูในครัวเรือนมาใชทดแทน หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่เปนการทํา ใหรายจายลดลง รวมถึงการนําของเหลือกิน เหลือใช มาแปรรูป ดัดแปลง แตงเติมเพื่อเพิ่มมูลคา สรางราคา สามารถ จําหนายเปนรายไดเสริมของครอบครัวได เกณฑการประเมิน ผาน ไมผาน ครัวเรือนมีการผลิตและการอุปโภค/บริโภค เพื่อใชในชีวิตประจําวันรอยละ 75 ของครัวเรือนใน ชุมชน (ปลูกทุกอยางที่กิน กินทุกอยางที่ปลูก ใชทุกอยางที่ทํา ทําทุกอยางที่ใช) กิจกรรมสวนใหญที่ครัวเรือนทํา 1.ปลูกพืชผักสวนครัว 2.ทําน้ําหมักชีวภาพ/น้ําสมควันไมใชเอง 3.สมาชิกในหมูบาน รวมกลุมทําน้ําพริกแกงบริโภคและขายในหมูบานและหมูบานใกลเคียง ตัวชี้วัดที่ 10 หมูบานหรือชุมชน มีการรวมกลุมเพื่อพัฒนาอาชีพหลักของหมูบาน อาชี พ หลั ก หมายถึ ง หมู บ า นหรือ ชุ ม ชนประกอบอาชี พ ใดใด ที่ทํ า รายได ใ ห แก ค รั ว เรื อ นของ ประชาชนสูงสุดหรือเปนอาชีพที่ประชาชนใชเวลาสวนใหญในการทํางานในรอบปที่แลวมากกวาอาชีพอื่น เชน การ ปลูกไมผลเพื่อการคา หมายถึง การทําสวนไมผลเปนอาชีพหลัก และปลูกปริมาณมากเพื่อจําหนายผลผลิตเปนรายได หลัก เชน การทําสวนสม ลิ้นจี่ ลําไยและมะขาม เปนตน กลุมหรือองคกร หมายถึง คนกลุมหนึ่งซึ่งมีการกระทําตอกันหรือมีการพบปะสังสรรคกันและมี ความรูสึกผูกพันรวมกันมีโครงสรางมีการจัดลําดับตําแหนงหรือสถานภาพของสมาชิกอื่นในกลุมมีความสัมพันธ กันหรือ การติดตอระหวางกันมีบรรทัดฐานหรือกฎระเบียบ ของการประพฤติปฏิบัติ มีคานิยม ทัศนคติ บางอยางรวมกันมี กิจกรรมที่มีขึ้นเพื่อบรรลุจุดมุงหมายหรือวัตถุประสงคของกลุมและคงความสัมพันธและดําเนินกิจกรรมรวมกันใน ชวงเวลาหนึ่ง การรวมกลุมเพื่อพัฒนาอาชีพหลัก คือการที่ชุมชนจัดใหมีการรวมกลุมประชาชนในชุมชนที่มีอาชีพ หลัก เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู การพัฒนาระบบการผลิต การเอื้ออํานวยปจจัยการผลิต โดยมีผลตอประสิทธิภาพใน การประกอบอาชีพหลักเชน การรวมกลุมกันผลิตน้ําตาลจากมะพราวโดยประชาชนสวนใหญ มีอาชีพทําสวนมะพราว และใชกลุมเปนศูนยกลางในการรวมผลิต ใชอุปกรณ ใชแรงงานรวมกันชวยกัน คิดหาวิธีการในการลดตนทุน และ เพิ่มคุณภาพ พรอมทั้งรวมกันขายเพื่อการประกันราคา และเปนการถายทอดความรูและภูมิปญญาเพื่อการสืบทอด อาชีพหลักของชุมชนสูคนรุนหลังดวย ประชาชนในหมูบานหรือชุมชน จะไดประโยชนก็ตอเมื่อเขารวมเปนสมาชิกลุมตางๆ และกลุมไดจัด กิจกรรมเพื่อการพัฒนาทักษะ ฝมือ ความรูหรือสงเสริมการสรางสรรคสิ่งใหมในการประกอบอาชีพแกสมาชิก เชน การฝกสอนทักษะอาชีพ การแขงขันการดัดแปลงผลผลิต ฯลฯ ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๒๖


การประเมิน ตองผาน ทั้ง 2 ขอ ผาน ไมผาน 1. คนในครัวเรือนรวมเปนสมาชิกในกลุมตางๆ ในหมูบาน/ชุมชนผานเกณฑ จปฐ. ขอ 38 รอยละ 95 ผาน ไมผาน 2. กลุม/องคกรในหมูบาน/ชุมชน มีการพัฒนาทักษะดานการประกอบอาชีพ และมีกระบวนการ จัดการองคความรู ลักษณะกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู (ทําอะไร ทําอยางไร ทําเมื่อไหร) 1. กิ จ กรรมทํ า น้ํ า พริ ก แกงของคนในหมู บา น เดิ มมี พื้ น ฐานการทํ า น้ํา พริ กแกงอยูแ ลว และไดรั บ การ สนั บ สนุ น วิ ทยากรและงบประมาณจากหนว ยงานราชการ (พช.) มาใหความรู เพิ่มเติมเพื่อพัฒ นาทักษะในการ ประกอบอาชีพ ปจจุบันนอกจากทําน้ําพริกแกงบริโภคและขายแลว ยังสามารถทําน้ําพริกประเภทอื่น ๆ ดวย 2. การทําการเกษตรของคนในหมูบาน มีการเรียนรูการทําการเกษตรอินทรียโดยใหปราชญดานการเกษตรใน หมูบานมาใหคําแนะนํา ใหความรู แกผูสนใจนําไปปฏิบัติ ตัวชี้วัดที่ 11 หมูบานหรือชุมชน มีการออมที่มีหลายรูปแบบ การออม หมายถึง การประหยัด การเก็บหอมรอมริบ การถนอม และการสงวน สิ่งที่จะประหยัด หรือเก็บหอมรอมริบ ไดแก ทรัพยสินเงินทอง การใชสิ่งมีคามีคุณทั้งหลายอยางระมัดระวัง อยางไมประมาท อยางมี เหตุมีผล ทั้งในตนและนอกตน การออมมิไดมุงที่ออมเงินอยางเดียว แตหมายถึง การออมชีวิตตนเอง และปจจัยใน การดํารงชีพทุกอยาง การออมจะเกิดไดก็เพราะคนไดรับการศึกษาเรียนรู ใหความสําคัญ ความจําเปน และไดรับผล หรือคุณประโยชนที่เกิดจากการออม เมื่อเวลาผานไป เกิดการคิดได ทําไดเอง และสอนผูอื่นตอไป การออมจึงเปน เรื่องของการศึกษา การพัฒนาชีวิตของคนลักษณะหนึ่ง คือ การฝกใหรู ใหคิด และใหทําในสิ่งดีมีประโยชน นอกจาก การออมเงินแลวยังรวมถึง การออมทรัพยากรธรรมชาติมีปาไม แหลงน้ํา แหลงดิน เพื่อใชเปนแหลงบํารุงรักษาชีวิต ของคนในชุมชนดวย ดังนั้นการออม จึงเปนการกระทําของประชาชนในชุมชน ในการจัดการกับรายไดที่เมื่อหักรายจาย แลวจะมีสวนซึ่งเหลืออยู และนําสวนของรายไดที่เหลืออยูซึ่งไมไดถูกใชสอยไปเก็บไวในรูปแบบ สถานที่ตางๆ เชน กระปุกออมสิน สลากออมสิน ฝากธนาคาร กรมทันธประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต สหกรณ กองทุนทางการเงิน ตางๆ หรือรูปแบบอื่นที่เปน การออมเงิน ฯลฯ หรือชุมชนมีกิจกรรมอื่นๆที่เปนการ จัดเปนสวัสดิการระยะยาว เชน ครัวเรือนตองปลูกตนไมเมื่อมีเด็กเกิดใหม จํานวนหนึ่งในปาสวนกลาง โดยครัวเรือน สามารถนําไมในปามาใชงานไดก็ตอเมื่อเด็กคนนั้นอายุครบ 20 ป เมื่อแตงงานตองการจะสรางบานแยกครอบครัว ใหม ในจํานวนที่ตกลงกันซึ่งอาจนอยกวาจํานวนที่ปลูก เปนการออมปาไวใชประโยชนจากไม เปนตน เกณฑการประเมิน ตองผาน 2 ขอ (ขอใดก็ได) ผาน ไมผาน 1. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน รอยละ 80 ของครัวเรือนทั้งหมด (ผานเกณฑ จปฐ.ขอ 31) กิจกรรมการเก็บออมเงิน ที่ครัวเรือนนิยมปฏิบัติ 1.การออมเงินไวกับกองทุนตาง ๆ ใน หมูบาน เชน กองทุนหมูบาน กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กองทุนน้ํามัน กลุมผูใชน้ํา ครัวเรือนที่มีการเก็บออม จํานวน 156 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 82.97 (จํานวนครัวเรือนที่ ออม หาร ครัวเรือนทั้งหมด คูณดวย 100 ผลลัพธ ตองเทากับ 80 หรือมากกวา) ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๒๗


ผาน ไมผาน 2. หมูบาน/ชุมชนมีกลุมออมทรัพยและ/หรือกองทุนการเงินอื่นๆ อยางนอย จํานวน 3 กลุม กลุมกิจกรรมเพื่อใหเกิดการออมเงิน คือ 1.กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตบานทางยาว 2. กองทุนหมูบานทางยาว 3.กองทุนน้ํามัน 4.กลุมผูใชน้ํา 5.วิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกร เฉลิมพระเกียรติบานทางยาว ผาน ไมผาน 3. ครัวเรือนมีการออมเงินที่ในรูปแบบอื่นๆ เชน ออมวันละ 1 บาท ฯลฯ การออมในรูปแบบอื่นๆ ที่ ชุมชนจัดขึ้น กลุมเลี้ยงเปด โดยสงเสริมใหสมาชิกออมเงินทุกเดือน ๆ ละ 150 บาท (วันละ 5 บาท) เพื่อเปนทุนในการซื้ออาหารเปดและซื้อเปดรุนใหมเมื่อเปดรุนเกาไมไขแลว

ตัวชี้วัดที่ 12 หมูบานหรือชุมชนมีการดําเนินการสรางรายไดในรูปแบบวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจชุมชน หมายถึง การประกอบกิจการดวยหลักสามัคคีธรรมของชุมชน โดยชุมชนในการ ผลิตสินคา การใหบริการและอื่น ๆ เพื่อการเรียนรู การพึ่งตนเองของครอบครัว ชุมชน และระหวางชุมชน ดวยการ นําทุนของชุมชนมาดําเนินการเพื่อสรางรายได โดยใชรูปแบบการจัดการที่เหมาะสม ไมวาจะเปนนิติบุคคลในรูปแบบ ใดหรือไมเปนนิติบุคคล กอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหเปนกิจกรรมของ ชุมชนที่สรางรายไดใหกับสมาชิกในชุมชน เกณฑการประเมิน ตองผาน 2 ขอ (ขอใดก็ได) ผาน ไมผาน 1. หมูบาน/ชุมชนมีจัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชน หรือกลุมที่มีการดําเนินงานในลักษณะเดียวกับรูปแบบ วิสาหกิจชุมชนที่จัดตั้งขึ้นในหมูบาน/ชุมชน อยางนอย 1 กลุม กลุมกิจกรรมที่สรางรายไดของหมูบานคือ วิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกรเฉลิมพระเกียรติบานทางยาว

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๒๘


ผาน ไมผาน 2. กลุมตามขอ 1 มีกิจกรรมใหบริการและสรางรายไดหรือลดรายจายแกสมาชิก อยางนอย 1 กิจกรรม เนนการผลิตเพื่อการบริโภคอยางเพียงพอภายในชุมชน และนําไปสูการแกไขปญหาความยากจน (เชนโรงสีชุมชนรานคาชุมชน ปมน้ํามัน) ลักษณะการบริหารกิจกรรมกลุมเปนอยางไร วิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกรเฉลิมพระเกียรติบานทางยาว จัดตั้งขึ้นโดย บริหารในรูปคณะกรรมการ โดยเนนการสรางรายไดใหกับสมาชิก และสงเสริมการปลูกขาวโดยใชปุยอินทรียเพื่อนํามา ผลิตเปนขาวมอลต

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๒๙


ดานที่ 3. ดานการเรียนรูประกอบดวย 7 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 13 หมูบานมีระบบฐานขอมูลชุมชน หมายถึ ง ชุ ม ชนมี ข อ มู ล ที่ ดี และระบบการนํ า มาใช โ ดยเป ด โอกาสให ป ระชาชนเข า ถึ ง เพื่ อ ใช ประโยชนได ควรเปนขอมูลที่มีคุณลักษณะดังนี้ ขอมูลที่มีความถูกตองและเชื่อถือได (accuracy) ขอมูลตรงตาม ความตองการของผูใช (relevancy) ขอมูลมีความทันสมัย (timeliness) ทั้งนี้การจะไดขอมูลที่ดีมาใชงานในชุมชน นั้นขึ้นกับวิธีการที่ใชในการควบคุมขอมูลนําเขาคือการสรางแบบสํารวจ การจัดเก็บ การรวบรวมขอมูล ทันเวลาเพื่อ การใชงานขอมูลที่ทันสมัยและการควบคุมการประมวลผล คือ การคํานวณ ประมวลผล การวิเคราะห จําแนกแยก กลุม การควบคุมขอมูลนําเขาและการควบคุมการประมวลผล เปนการกระทําเพื่อใหเกิดความมั่นใจวาขอมูลนําเขามี ความถูกตอง เปนขอมูลที่ทันสมัย ไดซึ่งจะมีผลตอการประมวลผลไดนาเชื่อถือดวย เพื่อใหผูใชสามารถนําเอาผลลัพธ ที่ไดไปใชอยางมีประสิทธิภาพและทันเวลา เปนขอมูลที่จัดทําขึ้นเพื่อใชในการพัฒนาประเทศ ใชโดยทั่วๆ ไป ทุกพื้นที่ ขอมูลของหนวยงาน เชน จปฐ. กชช 2 ค บัญชีรับ – จายครัวเรือน ขอมูลดานการเกษตร ขอมูลดานสุขภาพ ขอมูลดานเศรษฐกิจ การตลาด หรืออาจเปนขอมูลที่หมูบานหรือชุมชนจัดทําขึ้นเปนการเฉพาะเพื่อใชประโยชนตาม สถานการณ ดังนั้น การดําเนินงานของหมูบานหรือชุมชนจึงพิจารณาถึงระบบการจัดเก็บ ตองทําทุกขั้นตอน โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. การเตรียมการ มีการประชุมสรางความเขาใจกับผูเกี่ยวของใหเกิดความเขาใจตรงกันในเนื้อหา ของแบบสํารวจ รูปแบบ วิธีการจัดเก็บ บทบาทของอาสาสมัครผูจัดเก็บ สํารวจขอมูล ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๓๐


2. การจัดเก็บ เพื่อสรางการมีสวนรวมและแบงงานกันทํา พรอมทั้งชวยตรวจสอบขอมูลไปพรอม กันจึงควรเปนอาสาสมัครในชุมชน 3. การคํานวณและประมวลผล รูปแบบที่คนในชุมชนสามารถเขาใจและมีสวนรวมไดหรือการใช เครื่องมืออิเลคทรอนิคสชวย 4. การประชาคมเพื่อรับรองผล เปนการนําเสนอขอมูลที่สํารวจ และประมวลผลได มาแจงใหกับ ประชาชนในชุมชนทราบเพื่อตรวจสอบ รับรองผล และเปนการรับรูถึงสภาพของชุมชนรวมกัน เปนจุดเริ่มในการ เรียนรูศักยภาพของชุมชนไปใชแกปญหาพัฒนาตอไป 5.บันทึกจัดเก็บขอมูลเพื่อพรอมสําหรับการนําไปใชประโยชน และจัดทําสําเนาขอมูลจัดเก็บไวที่ ศูนยเรียนรูของหมูบานหรือชุมชน เกณฑการประเมิน ตองผานทุกขั้นตอน ผาน ไมผาน หมูบาน/ชุมชนมีกระบวนการจัดเก็บ รวบรวม วิเคราะห สังเคราะหขอมูลตางๆ ของหมูบาน/ชุมชน ครบทุกขั้นตอน ดังนี้ - มีการประชุมเพื่อสรางความเขาใจ ฯ กิจกรรมที่ปฏิบัติและหลักฐานการปฏิบัติ การชี้แจงสรางความเขาใจกับผูเกี่ยวของใหเกิดความ เขาใจในเนื้อหาที่จะจัดเก็บวิธีการจัดเก็บ หลักฐานการปฏิบัติ เชน ขอมูล จปฐ. และขอมูล กชช.2ค แผนชุมชน การ ประเมินสถานะหมูบาน - จัดเก็บโดยอาสาสมัคร กิจกรรมที่ปฏิบัติและหลักฐานการปฏิบัติ การเก็บขอมูล จปฐ. และขอมูลกองทุนหมูบาน หลักฐานการปฏิบัติ คือ สรุปผลการจัดเก็บขอมูลความจําเปนพื้นฐาน ระดับหมูบาน (จปฐ.2) ป 2552 - บันทึก/ประมวลผล กิจกรรมที่ปฏิบัติและหลักฐานการปฏิบัติ การจัดเก็บขอมูล จปฐ. และขอมูล กชช.2ค หลักฐานการปฏิบัติ คือ สรุปผลการจัดเก็บขอมูลความจําเปนพื้นฐาน ระดับหมูบาน (จปฐ.2) ป 2553 - การประชาคม เพื่อรับรองผล กิจกรรมที่ปฏิบัติและหลักฐานการปฏิบัติ การจัดเก็บขอมูล จปฐ. และขอมูล กชช.2ค หลักฐานการปฏิบัติ คือ สรุปผลการจัดเก็บขอมูลความจําเปนพื้นฐาน ระดับหมูบาน (จปฐ.2) ป 2553 - จัดทําสําเนาขอมูลเก็บไวที่ศูนยเรียนรูของหมูบาน กิจกรรมที่ปฏิบัติ สําเนาขอมูล จปฐ. ตัวชี้วัดที่ 14 หมูบานหรือชุมชน มีการใชประโยชนจากขอมูลและแผนชุมชน การใชประโยชนจากขอมูลและแผนชุมชน หมายถึง การบริหารจัดการของหมูบานหรือชุมชน บน พื้นฐานความรูและการใชขอมูลในการตัดสินใจ โดยการจัดการประชุมประชาคมในหมูบานหรือชุมชน แลวนําขอมูล ของจากระบบฐานขอมูลมาใชในการวิเคราะห สังเคราะห คาดหมายเหตุการณ เพื่อการคิดตัดสินใจกําหนดเปน เป าหมายทิศทาง เลือกแนวทาง วิธี การแกไขปญ หาและการพัฒ นา ทั้งนี้ ขอมูลสามารถใชในการรว มกัน จัดทํา แผนพัฒนาชุมชน ใชทําแผนพัฒนากลุมและองคกรที่มีอยูในชุมชน หรือเครือขายของชุมชน พรอมทั้งสงเสริมการมี สวนรวมในการดําเนินงานโครงการกิจกรรมในแผนชุมชน ดวยรับผิดชอบการบริหารจัดการกิจกรรมจากแผนให สามารถนําไปใชปฏิบัติไดจริง อาจแบงงานกันรับผิดชอบในการประสานหาความสนับสนุนในรูปแบตางๆ จนกิจกรรม ดําเนินไปได ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๓๑


เกณฑการประเมิน ตองผาน 2 ขอ ผาน ไมผาน 1.หมูบาน/ชุมชนมีการนําขอมูลมาใชในการตัดสินใจเพื่อการพัฒนาหมูบาน/ชุมชน เชน การจัดทํา แผนชุมชนแผนการพัฒนากลุม/องคกร วิธีการนําขอมูลมาใช ทําอยางไร เพื่ออะไร เวทีประชาคมจะนําขอมูล จปฐ. กชช.2ค และขอมูลอื่น ๆ มาวิเคราะหเพื่อใช ประกอบการตัดสินใจการจัดทําแผนหมูบาน วาจะพัฒนาไปในทิศทางใด แลวจึงกําหนดกิจกรรมเพื่อแกไขปญหาของ หมูบาน ซึ่งบางโครงการประชาชนในหมูบานสามารถทําไดเอง แตบางโครงการตองขอรับการสนับสนุนจากหนวยงาน ภาครัฐ

ผาน ไมผาน 2.หมูบาน/ชุมชน สามารถนํากิจกรรมในแผนชุมชนไปปฏิบัติจริงอยางนอย รอยละ 30 ของแผน ชุมชน ในแผนชุมชนทั้งหมด มีจํานวน 14 โครงการ โครงการที่นําไปปฏิบัติไดจริงจํานวน 11 โครงการคิดเปนรอยละ 78.57 (โครงการที่ปฏิบัติแลว หารดวย โครงการทั้งหมด คูณดวย 100 ผลลัพธ ตองเทากับ 30 หรือมากกวา) ตัวอยางโครงการที่ปฏิบัติไปแลว (ชุมชนทําเองหรือมีหนวยงานใดสนับสนุน) 1. โครงการสงเสริมการจัดทําบัญชีครัวเรือน (ชุมชนทําเอง) 2. โครงการสงเสริมกิจกรรมประหยัดพลังงานเพื่อลดรายจาย (ชุมชนทําเอง) 3. โครงการสงเสริมกิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อลดรายจาย (ชุมชนทําเอง) 4. โครงการสงเสริมการใชปุยชีวภาพและสารอินทรีย (ชุมชนทําเอง) 5. โครงการฝกอาชีพเสริมใหกับประชาชนในหมูบาน (ทําน้ําพริก/พช.สนับสนุน) ตัวชี้วัดที่ 15 หมูบานหรือชุมชนมีการคนหาและใชภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่น เปนองคความรูของกลุมบุคคลในทองถิ่น รวมถึงงานศิลปวัฒนธรรมพื้นบานที่มี อยูในทองถิ่นนั้นๆ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๓๒


ภูมิปญญาประเภทองคความรูของกลุมบุคคลทองถิ่น เชน การผลิตอาหารและเครื่องดื่ม การผลิต ผลิตภัณฑจากสมุนไพร การผลิตผลิตภัณฑจากวัสดุเหลือใช และการผลิตผลิตภัณฑจากไม หิน โลหะ แกว เซรามิค ดินเผา เครื่องหนัง เปนตน ภูมิปญญาประเภทงานศิลปวัฒนธรรมพื้นบาน เชน เรื่องเลาพื้นบาน กวีนิพนธพื้นบาน ปริศนา พื้นบาน เพลงพื้นบาน ดนตรีพื้นบาน การฟอนรําพื้นบาน ละครพื้นบาน จิตรกรรมพื้นบาน ประติมากรรมพื้นบาน หัตถกรรมพื้นบาน เครื่องแตงกายพื้นบาน และสิ่งทอพื้นบาน เปนตน หมู บ า นชุ ม ชนต องจั ด กระบวนการดัง นี้ ทุก ขั้น ตอน ค น หา สื บ ค น จดบั น ทึ ก รวบรวมความรู ภูมิปญญา จัดเปนหมวดหมู กิจกรรมการเพื่อการเรียนรู แลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อถายทอดและสืบทอด การพัฒนาตอ ยอดภูมิปญญาของชุมชน ปรับปรุงใหเกิดความเขาใจงาน สามารถนําไปปรับประยุกตใหงานเพื่อเพิ่มคุณคาหรือเพิ่ม มูลคา เชน การถายทอดการจักสารไมไผ ใหกับเยาวชน แลวสามารถ ปรับปรุงรูปแบบ เปนเครื่องใช ชนิดอื่นๆ เชน โคมไฟ แจกัน หรือการเผยแพรวิธีใชพืชสมุนไพร นําไปสูการปรับปรุง ประดิษฐผลิตภัณฑ รูปแบบตางๆ เชน เปน ครีม เปนของเหลว เปนแคปซูล เพื่อใชสะดวก มีประสิทธิภาพมากขึ้น หรือมีการบันทึกภูมิปญญาเปนชุดความรูเก็บ ไวที่ศูนยเรียนรูชุมชน ฯลฯ เกณฑการประเมิน ตองผานทุกขั้นตอน ผาน ไมผาน หมูบาน/ชุมชนมีกระบวนการ สืบคน รวบรวม จัดหมวดหมู และเรียนรูจ ากความรูห รือภูมิปญญาดั้งเดิมที่ มีอยูในทองถิ่น และใชประโยชนเพื่อเพิ่มคุณคาหรือมูลคา - มีการจดบันทึกภูมิปญญาทองถิ่น วิธีการคนหาความรูและการจดบันทึก....มีขอมูลภูมิปญญาทางวัฒนธรรมพื้นฐาน การรองเพลงโนเน โดยมีอาจารยชะมอย ฤทธิ์มังกร (เครือโชติ) สืบทอดมาจาก เหลื่อม เครือโชติ เปนพอเพลงที่มีชื่อเสียงมากในยุคกอน ไดมีการจดบันทึก และ สั่งสอนลูกศิษยใหรอง และรูจักเพลงโนเน - มีการรวบรวมและแยกหมวดหมู - มีกิจกรรมสืบทอดและถายทอด ภูมิปญญาทองถิ่น วิธีการสืบทอดและการถายทอดสูคนรุนหลัง สืบทอดโยการถายทอดใหแกเด็กนักเรียน ซึ่งเปนเยาวชนในพื้นที่ - นําภูมิปญญามาประยุกตใชในการทํากิจกรรม อยางนอย 1 กิจกรรม วิธีการนําไปปรับใชงาน......มีกลุมเยาวชนรองเพลงโนเน สามารถแสดงนําเสนอตอสาธารณชนเปนแบบอยางได กิจกรรมที่นําภูมิปญญามาปรับใชเพิ่มคุณคาแกภูมิปญญานั้น เด็ก ๆ สามารถประยุกตนําเอาเรื่องราวของหมูบานมาขับ รองเปนเนื้อเพลง ใหมีความผสมผสาน บงบอกถึงวิถีชีวิตของชาวบานไดอยางชัดเจน ตัวชี้วัดที่ 16 หมูบานหรือชุมชนมีการจัดตั้งแหลงเรียนรู แหลงเรียนรู หมายถึง สถานที่ที่เหมาะสมในการเรียนรู แลกเปลี่ยนเรียนรู กับผูที่มีประสบการณ ความรู มีความชํานาญ ภูมิปญญาเฉพาะดาน อาจเปนบานพัก พื้นที่ปฏิบัติงาน สวน ไร นา แปลงทดลอง ลาน กลางบาน เปนตน ศูนยเรียนรู หมายถึง สถานที่ที่ชุมชนใชเปนศูนยกลางรวบรวมขอมูล ขาวสาร ความรูของชุมชน เพื่ อ สร างโอกาสและส งเสริ มกระบวนการเรีย นรู สําหรับ ประชาชนในชุ มชน การถ ายทอด การแลกเปลี่ย น ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๓๓


ประสบการณ การสืบทอดภูมิปญญา วัฒนธรรม คานิยมและเอกลักษณของชุมชน อีกทั้งเปนแหลงบริการชุมชนดาน ตาง ๆ เชน การจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับความตองการเรียนรูของชุมชน โดยเนนการสรางนิสัยการเรียนรูเพื่อวิถี ชีวิต ดําเนินการโดยประชาชนเพื่อประชาชน หวังผลการพัฒนาแบบพึ่งตนเอง กอใหเกิดความเขมแข็งของชุมชน อยางยั่งยืน ชุ ม ชนที่ เ ป น แหล ง เรี ย นรู หมายถึ ง ชุ ม ชนมี กิ จ กรรมที่ เ ป น ความรู มี กิ จ กรรมแลกเปลี่ ย น ประสบการณ เกิดการเรียนรูในชุมชนเปนประจํา สามารถถายทอดความรูประสบการณ ตัวอยาง ตัวแบบ ในดาน กระบวนการพั ฒนา การบริห ารจั ดการ วิ ธีการทํางานที่ประสบผลสําเร็จเพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชนและ คุณภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นเพื่อการสรางภูมิคุมกันกับประชาชนในการคาดหมายเหตุการณดวยความรู หมูบานมีการจัด สถานที่สําหรับเปนแหลงเรียนรูใหคนในและคนนอกหมูบานไดคนควาหาความรู เรียนรู องคความรูและใชความรูใน การดํารงชีวิต และเปนแบบอยางในการขยายความรูสูสังคมภายนอก หมูบานหรือชุมชนมีการจัดสถานที่สําหรับ เปนศูนยเรียนรู และมีการใชประโยชนจากแหลงเรียนรูใหแกคนในและนอกหมูบาน

เกณฑการประเมิน ผาน ไมผาน

หมูบาน/ชุมชนมีการจัดสถานที่สําหรับเปนศูนยเรียนรู และมีการใชประโยชนจากศูนยเรียนรู ใหแกคนในและนอกหมูบาน

สถานที่ที่สามารถใหความรู ในหมูบาน ใหความรูเรื่องอะไร ใครเปนผูรับผิดชอบ บานทางยาวมี ศูน ย เ รี ย นรู หมู บ า น โดยตั้ งอยู ที่ ที่ ทํา การผูใหญบาน (นายเดชา เครือโชติ) ในศูน ยจ ะมีขอมูล ดานตาง ๆ เชน ดาน การเกษตร เศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ เพื่อใหคนในหมูบานเขาไปเรียนรู นอกจากนี้แลวศูนยเรียนรูยังกําหนดจุดเรียนรูดาน ตาง ๆ ใหคนในหมูบานและที่อื่น ๆ เขาไปศึกษาหาความรู เชน จุดเรียนรูดานการเกษตร การปลูกพืชผักสวนครัว ปลูกผัก ปลอดภัย การเลี้ยงกบเลี้ยงเปดเลี้ยงปลา (นายเดชา เครือโชติ ผูรับผิดชอบ) จุดเรียนรูดานกลุมอาชีพ การผลิตขาว มอลต การทําน้ําพริก (นายเดชา เครือโชติ ผูรับผิดชอบ) จุดเรียนรูดานศิลปวัฒนธรรมและกีฬา การเลนลิเกและกีฬา ฟุตบอล (โรงเรียนวัดสหราษฎรบํารุง/กองทุนแมของแผนดิน ผูรับผิดชอบ)

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๓๔


วิธีการใหความรูแกผูสนใจ ผูที่สนใจในพื้นที่และอื่น ๆ สามารถเขามาศึกษาดูงานไดในทุกจุด เรียนรู เพื่อนําไปปรับใชใหเกิดประโยชนกับตนเองและพื้นที่

ตัวชี้วัดที่ 17 หมูบานหรือชุมชนมีการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับศักยภาพของหมูบานหรือชุมชน เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกตเอาความรูทางดานวิทยาศาสตรมาใชใหเกิดประโยชน ในทาง ปฏิบัติ อาจเปนสิ่งประดิษฐใหมๆ ที่เกี่ยวของกับจักรกล อุตสาหกรรม การเกษตร เครื่องใชสําหรับการทําใหการ ประกอบอาชีพงายขึ้น การเรียนรูและถายทอดเทคโนโลยีและวิทยาการใหมๆ โดยคนในชุมชนหรือนอกชุมชน คือการจัด กิจกรรมเพื่อการแลกเปลี่ยนประสบการณ ความรูในการปรับประยุกต ใชงานหรือสรางสิ่งประดิษฐใหมๆ หรือ เรียนรูรวมกันในการทดลองใชความรูใหมหรือสิ่งประดิษฐใหม ดัดแปลงเพื่อใชใหเหมาะกับงานประจํา ซึ่งอาจเปน การฝกอบรม การจัดการประชุมเฉพาะดาน การถายทอดความรูผานชองทางตางๆในชุมชน กิจกรรมการสาธิต การ เรียนรูจากเครือขายทั้งในและนอกชุมชน เปนตน เทคโนโลยีที่เหมาะสม จะตองไมเปนตนทุนที่สูงเกินความสามารถของครัวเรือนจะมีไวใชไดและ สงผลใหเดือดรอนตอฐานะทางเศรษฐกิจ พรอมทั้งนําไปใชงานอยางเหมาะสม คือเพื่อการเพิ่มมูลคาใหกับการ ประกอบกิจการประจําของครัวเรือนอยางคุมคา ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๓๕


เกณฑการประเมิน ตองผาน 2 ขอ ผาน ไมผาน 1. หมูบาน/ชุมชนมีกิจกรรมการเรียนรู และถายทอดเทคโนโลยีและวิทยาการใหมๆ โดยคนในชุมชน หรือนอกชุมชนอยางนอย 4 กิจกรรม กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูที่จัดขึ้นคือ 1. การผลิตขาวมอลต ขางกลองงอก 2. การปลูกผักปลอดภัย 3. การทําการเกษตรอินทรีย โดยไมใชสารเคมี ทํานาแบบไมเผาตอซัง ใชหมักชีวภาพ เปนตน 4. การทําน้ําพริกแกง และน้ําพริกชนิดอื่น ๆ ประเด็นสาระการแลกเปลี่ยนเรียนรูที่จัดขึ้น การทํากิจกรรมทั้ง 4 ประเภท สามารถทําไดดวยตนเอง เปนการลดรายจาย เพิ่มรายไดใหกับตนเองและครอบครัว วิธีการกระจายขาวสาร ความรูใหกับประชาชนทั่วไป 1.ประชาสัมพันธทางเสียงตามสาย 2.พบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู 3.ศึกษาขอมูลไดที่ศูนยเรียนรู 4.ประชุม/ประชาคม ผาน ไมผาน 2. คนในหมูบานที่ไดเรียนรูแลวนําไปใชอยางเหมาะสมและเกิดความคุมคา ไมนอยกวา รอยละ 50 ของคนที่เรียนรู ในรอบปที่ผานมา ผูเขารวมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู มีจํานวน 192 คน ผู ที่นําความรูไปปรับใช จํานวน 102 คน คิดเปนรอยละ 53 (จํานวนผูนําความรูไปใช หารดวย จํ า นวนผู เ ข า ร ว มเรี ย นรู คูณ ดว ย100 ผลลัพ ธที่ ได ต องเทา กับ 50 หรื อมากกวา )การปรั บ ประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม เปนอะไรบาง ใครเปนเจาของ การทํา การเกษตรอินทรีย ของนายเดชา เครือโชติ ตัวชี้วัดที่ 18 หมูบานหรือชุมชนมีการสรางเครือขายภาคีการพัฒนา เครื อข า ย หมายถึ ง การประสานงานรูป แบบหนึ่งที่โ ยงใยการทํางานของกลุมบุคคลหรือ กลุม องคกรหลายองคกร ซึ่งมีทรัพยากร มีเปาหมาย มีกลุมสมาชิกของตนเอง ที่มีความคิด มีปญหา มีความตองการใน เรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมือนกันหรือคลายกัน มาติดตอประสานงานแลกเปลี่ยนขาวสารหรือรวมกันทํากิจกรรมอยางใด อยางหนึ่งหรือหลายอยาง มีการจัดระเบียบโครงสรางของคนในเครือขายดวยความเปนอิสระ ความสัมพันธของ สมาชิกในเครือขายตองเปนไปโดยสมัครใจ เทาเทียมกันภายใตพื้นฐานของความเคารพสิทธิ เชื่อถือ เอื้ออาทร ซึ่ง กันและกัน เพื่อแกไขปญหาหรือสนองความตองการในเรื่องนั้นๆ โดยยึดหลักการทํางานรวมกันบนพื้นฐานของความ เทาเทียมกัน เคารพซึ่งกันและกัน มากกวาการเชื่อฟงและปฏิบัติตามผูมีอํานาจสั่งการ การติดตออาจทําไดทั้งที่ผาน ศูนยกลางแมขายหรือแกนนํา หรืออาจจะไมมีแมขายหรือแกนนําแตจะทําการติดตอโดยตรงระหวางกลุม ซึ่งจะมี เปนการจัดโครงสรางมีรูปแบบที่คนหรือองคกรสมาชิกยังคงมีความเปนอิสระโดยที่อาจมีรูปแบบการรวมตัวแบบ หลวมๆ เฉพาะกิจ ตามความจําเปนหรือเปนโครงสรางที่มีความสัมพันธชัดเจนก็ได ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๓๖


การรวมตัวกันของกลุม องคกร ตาง ๆ ทั้งที่อยูในชุมชนและจากภายนอกชุมชน เพื่อประสานงาน และกระตุน ใหเกิดการพัฒนางาน อาจโดยวิธีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร การทํากิจกรรมรวมกัน การขยาย กิจกรรม การใหการสนับสนุนดานวิชาการ เงินลงทุน หรืออื่น ๆ ที่กอใหเกิดประโยชนตอการพัฒนากลุม องคกรใน เครือขาย ใหมีความเขมแข็ง ทั้งนี้ตองมีผูประสานงาน รับผิดชอบ รวมกันของสมาชิกกลุม องคเครือขาย และมีสวน รวมในการดําเนินกิจกรรม เชน เครือขายกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต เครือขายหมูบาน กข.คจ. เครือขายพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อประโยชนในการเรียนรูในการพัฒนาที่รวดเร็วและมีพลังในการทํางานใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสู เป าหมายที่ตั้งไว อยา งรวดเร็ว หมู บา นหรือชุมชน จึงตองมีกระบวนการเชื่อมโยงเครือขายหนว ยงาน องคกร สถาบัน ทั้งในระดับกลุมและหรือระดับหมูบานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูขอมูลขาวสาร ประสานงานและทํากิจกรรม ตางๆ เชนการประชุมรวมกัน กิจกรรมเพื่อการแลกเปลี่ยนประสบการณ การอบรมสรางความรูใหกันและกัน การ ทํากิจกรรมเพื่อการเพิ่มความรูความชํานาญรวมกัน ผานชองทางการสื่อสารตางๆ และหลากหลายรูปแบบ เกณฑการประเมิน ผาน ไมผาน หมูบาน/ชุมชนมีการเชื่อมโยงเครือขายการเรียนรูระดับกลุม/เครือขาย เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับหมูบาน หนวยงาน องคกร สถาบันการศึกษา ฯลฯ การประสานความรวมมือกัน ....มีกิจกรรมอะไร ดําเนินการอยางไร รวมกับใคร คนในหมูบานมี การแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูนําดานการเกษตร ผูนํากลุมองคกรพื้นที่อื่น ๆ และสามารถเปนวิทยากรใหความรูกับหนวยงาน องคกร ภาครัฐ/เอกชน ที่เขามาศึกษาดูงาน เชน การใหความรูดานการทําขาวมอลต การปลูกผักปลอดภัย

 ตัวชี้วัดที่ 19 หมูบานหรือชุมชนมีการปฏิบัติตามหลักการของการพึ่งตนเอง การพึ่ ง ตนเอง หมายถึ ง พฤติ ก รรมของคนในหมู บ า นหรื อ ชุ ม ชน มี ค วามรู ที่ จ ะคิ ด เป น มี ความสามารถที่ดําเนินชีวิตดวยกิจกรรมที่ครัวเรือนกระทําไดดวยตัวเองอยางสมดุล พอประมาณ พอดีในชีวิต คือจัด ชีวิตใหสอดคลองกับสิ่งตางๆ อยางเหมาะสมทั้งกับคน สังคม สิ่งแวดลอม ทําเปน แกปญหาเปน เพื่อสรางกิจกรรม สําหรับความมั่นคงในชีวิตในปจจุบันและอนาคต ไมจําเปนตองอาศัยคนอื่นมากเกินไป สามารถที่จะคิด ตัดสินใจที่จะ กระทําการใดใดเพื่อความสุขของตนเอง ครอบครัว และสังคม อยางอิสระ หมูบานหรือชุมชนจะสงเสริมการคิด ได ทําเปน แกปญหารวมกันของคนในชุมชน ดวยการจัดกิจกรรมใหเกิดการเรียนรูตนเอง รูสภาพของชุมชนจากขอมูล ของชุมชนที่คนในชุมชนชวยกันคนหา วิเคราะห สังเคราะห กําหนดเปาหมาย เลือกกิจกรรมเพื่อการพัฒนา ปองกัน และแกป ญหา ร ว มกั น ของคนทั้งชุ มชน ที่ ชุมชนคิดและดําเนิน การดว ยตนเอง ซึ่งอาจขอรับ ความรู วิธีการจาก ภายนอกได เชน กระบวนการแผนชุมชน หรือกิจกรรมอื่นที่จะทําใหรูคิด เกิดการทํางานและแกปญหาไดดวยตัวเอง เกณฑการประเมิน ตองผานทั้ง 2 ขอ ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๓๗


ผาน ไมผาน 1. ในรอบปที่ผานมาหมูบาน/ชุมชน สามารถแกไขปญหาของชุมชนไดดวยตนเอง อยางนอย 2 เรื่อง กิจกรรมการแกปญหาที่จัดทํา คือ 1. การกําจัดวัชพืช ขยะ ในคูคลอง 2. สงเสริมอาชีพใหกับผูวางงาน และผูสนใจ ใหมีอาชีพเสริมเพิ่มรายได วิธีการแกปญหาทําอยางไร 1. สงเสริมใหคนในหมูบานเก็บวัชพืชในลําคลอง เชน ผักตบชวา สงใหกับโรงผลิตไฟฟาในหมูบาน ทําใหคูคลอง สะอาด และเปนรายไดเสริมใหกับคนในหมูบาน 2. จัดหาถังขยะใหในพื้นที่ที่ขาดแคลน 3. สงเสริมอาชีพ เชน ปลูกผักปลอดภัย ผลิตขาวมอลต ทําน้ําพริก ใหกับคนที่วางงานหรือผูสนใจ ผาน ไมผาน 2. หมูบาน/ชุมชน มีการจัดทําแผนชุมชนโดยกระบวนการเรียนรูของชุมชน ขั้นตอนการจัดทํา แผนพัฒนาของหมูบาน มีดังนี้ 1. เตรียมความพรอมชุมชน 2. การวิเคราะหขอมูล การเรียนรูตนเอง และชุมชน 3. การกําหนดวิสัยทัศนและทิศทางการพัฒนา 4. การกําหนดแผนงาน / โครงการ 5. การปฏิบัติตามแผน ผูที่ทําหนาที่ในการจัดกระบวนการแผนของหมูบาน 1. ผูนําชุมชน เชน ผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน กรรมการหมูบาน สมาชิก อบต. ประธานคณะกรรมการ พัฒนาสตรี ประธาน อสม. ผูนํา อช. 2. หนวยงานราชการ ภาคีการพัฒนา เชน อบต. เกษตร สาธารณสุข พัฒนาชุมชน ปกครอง กศน. 3. ผูนํากลุม / องคกรตาง ๆ 4. ประชาชนทั่วไป ดานที่ 4 ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ประกอบดวย 4 ตัวชี้วัด  ตัวชี้วัดที่ 20 หมูบานหรือชุมชนมีจิตสํานึกของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมายความ รวมกันทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไมมีชีวิตเกิดจากการ กระทําของมนุษยหรือมีอยูตามธรรมชาติ เปนสิ่งที่ใชแลวหมดไปหรือใชแลวไมหมดไปก็ตาม เชน อากาศ ดิน หิน แร ธาตุ น้ํา หวย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร พืชพันธุสัตวตาง ๆ ภาชนะเครื่องใชตาง ๆ และอื่นๆ สิ่ ง แวดล อ มดั ง กล า วจะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงอยู เ สมอ โดยเฉพาะมนุ ษ ย เ ป น ตั ว การสํ า คั ญ ยิ่ ง ที่ ทํ า ให สิ่ ง แวดล อ ม เปลี่ยนแปลงทั้งในทางเสริมสรางและทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมูบานหรือชุมชนจะตองชักชวนสรางความรู สรางจิตสํานึกรัก เพื่อรักษา และความตระหนักใน การมีอยูและนํามาใชงานอยางคุมคาและยั่งยืน ดวยการจัดกิจกรรมเพื่อการเรียนรูใหกับคนในชุมชน ผานกิจกรรม ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๓๘


ตางๆ เชนการอบรม การศึกษาดูงาน การนําผูที่มีความรูและประสบการณในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม มาใหความรู กิจกรรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการอนุรักษ ฟนฟูตางๆ เชน การสํารวจพันธุไม สมุนไพร ตรวจ สภาพพื้นที่ ตรวจคุณภาพแหลงน้ํา หรือการใหความรูผานชองทางตางๆ ที่ชุมชนมีและใช เชน หอกระจายขาว เสียง ตามสาย การประชุมประจําเดือน ฯลฯ ทั้งนี้ หมูบานหรือชุมชนตองจัดใหมีแผนในการอนุรักษ รักษา ฟนฟู สภาพของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของหมูบานหรือชุมชน เพื่อการใชงานอยางยั่งยืน เกณฑการประเมิน ตองผานทั้ง 2 ขอ ผาน ไมผาน 1. หมูบาน/ชุมชน มีกิจกรรมใหความรู ดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูที่จัดขึ้นคือ การทําการเกษตรโดยใชปุยอินทรีย น้ําหมักชีวภาพ ไมใชสารเคมีเพื่อรักษา สิ่งแวดลอม ประเด็นสาระการแลกเปลี่ยนเรียนรูที่จัดขึ้น 1.ประโยชนของการทําการเกษตรโดยใชปุยอินทรีย / น้ําหมักชีวภาพ 2. การใหความรูการทําปุยอินทรีย น้ําหมักชีวภาพ น้ําสมควันไม ฯลฯ วิธีการกระจายขาวสาร ความรูใหกับประชาชนทั่วไป 1. เผยแพรประชาสัมพันธขาวสารไวที่ศูนยเรียนรูของหมูบาน 2. ประชาสัมพันธเสียงตามสาย ผาน ไมผาน 2. หมูบาน/ชุมชน มีการวางแผนการอนุรักษ ฯ แผนปฏิบัติการเพื่ออนุรักษฯ ที่มี คือ 1. สงเสริมใหเกษตรกรทําการเกษตรอินทรีย ผูรับผิดชอบ นายเดชา เครือโชติ 2. จัดกิจกรรมกําจัดวัชพืชในคูคลอง ผูรับผิดชอบ อบต./นายเดชา เครือโชติ 3. อบคมใหความรูแกประชาชน สรางความเขาใจและปลูกจิตสํานึกในการดูแลธรรมชาติสิ่งแวดลอม ผูรับผิดชอบ อบต. ตัวชี้วัดที่ 21 หมูบานหรือชุมชนมีกลุม/องคกรดานสิ่งแวดลอม หมู บ า นหรื อ ชุ ม ชน มี ก ลุ ม หรื อ องค ก รที่ ค นในหมู บ า นร ว มกั น ทํ า กิ จ กรรมเพื่ อ อนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และเชื่อมโยง เปนเครือขาย กับกลุม/องคกรดานสิ่งแวดลอมอื่นๆ เพื่อการ บริหารจัดการยึดหลักการมีสวนรวม เชน กลุมผูใชน้ํา รักษาน้ําฯ ปาชุมชนตนน้ํา กลุมจัดการขยะ กลุมอนุรักษดิน เปนตน หมูบาน/ชุมชน มีการเชื่อมโยงเปนเครือขายดานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เชน การ แลกเปลี่ยนเรียนรูขอมูลขาวสาร มีการทํากิจกรรมรวมกัน ของแตละกลุมทั้งในและนอกหมูบานหรือชุมชน เกณฑการประเมิน ตองผานทั้ง 2 ขอ ผาน ไมผาน 1.หมูบาน/ชุมชน มีการจัดตั้งกลุมฯเพื่อการบริหารจัดการยึดหลักการมีสวนรวม (เชน กลุมผูใชน้ํารักษา น้ําฯ)

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๓๙


รายชื่อกลุมที่จัดตั้งขึ้น กลุมผูใชน้ํา กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กลุมเลี้ยงเปดไข วิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตร กรเฉลิมพระเกียรติบาน ทางยาว

กิจกรรมที่กลุมดําเนินการ จัดซื้อปุยใหกับเกษตรกร สงเสริมการออม/การกูยืมเงิน สงเสริมการออม/รายไดเสริม สงเสริมรายได/สงเสริมการปลูกขาวดวยปุย อินทรีย

ผูรับผิดชอบ นายสํารวย ชูทรัพย นายสํารวย ชูทรัพย นายเดชา เครือโชติ นายเดชา เครือโชติ

ผาน ไมผาน 2. หมูบาน/ชุมชน มีการเชื่อมโยงเครือขายดานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (เชน การแลกเปลี่ยน เรียนรูขอมูลขาวสาร มีการทํากิจกรรมรวมกัน ฯลฯ) กิจกรรมที่ทํา การทําเกษตรอินทรีย

ขอมูล /ขาวสาร/ฝมือ หนวยงาน กลุม ที่แลกเปลี่ยนเปลี่ยนเชื่อมโยงกัน บุคคลที่รวมงานกัน รวบรวมปญหา/อุปสรรค ในการทําการเกษตร คณะกรรมการ/ อบต./เกษตร อินทรีย และสงตอใหกับหนวยงานที่เกี่ยวของ / ประชาชนทั่วไป ดําเนินการตอไป

ตัวชี้วัดที่ 22 หมูบานหรือชุมชนมีการใชพลังงานทดแทนที่สอดคลองกับสภาพแวดลอมของชุมชน พลังงานทดแทน โดยทั่วไปหมายถึงพลังงานที่มีอยูทั่วไปตามธรรมชาติและสามารถมีทดแทน พลังงานที่ใชอยูในปจจุบัน อยางเชน ปโตเลียม หรือถานหิน ไดอยางไมจํากัด หรืออาจเปนแหลงพลังงานที่ใชแลว สามารถหมุนเวียนมาใชไดอีก เรียกวา พลังงานหมุนเวียน ตัวอยาง พลังงานทดแทนที่สําคัญเชนแสงอาทิตย ลม คลื่นทะเล กระแสน้ํา ความรอนจากใตผิวโลก หลังงานจากกระบวนการชีวภาพ เชน บอกาซชีวภาพ เชื้อเพลงจาก พืช หรือใบโอดีเซลจากน้ํามันพืชใชแลว หมูบานหรือชุมชนมีการสงเสริมการใชประโยชนของพลังงานทดแทน การศึกษา คนควา ทดลอง ทดสอบ พัฒนา และสาธิต ใหประชาชนเลือกใชตลอดจนสงเสริมและเผยแพรพลังงานทดแทน ซึ่งเปนพลังงานที่ สะอาด ไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และเปนแหลงพลังงานที่มีอยูในทองถิ่น เพื่อใหมีการผลิต และการใช ประโยชนอยางแพรหลาย มีความเหมาะสมทั้งทางดานเทคนิค เศรษฐกิจ สภาพแวดลอมและสังคม ยังรวมถึงการ พัฒนาเครื่องมือ เครื่องใช และอุปกรณเพื่อการใชงานมีประสิทธิภาพสูงสุดดวย หมูบานหรือชุมชน จัดใหมีกิจกรรมรณรงค สรางจิตสํานึกการใชพลังงานอยางพอประมาณ ใน ครัวเรือนสามารถดําเนินการไดเอง เชน การลดการใชพลังงานไฟฟา เชน การเปลี่ยนหลอดเปนหลอดไฟฟาแบบ ประหยั ดพลังงาน การปดไฟฟาที่ไมจําเปน ปรับซอมอุปกรณไฟฟาที่ใชพลังงานมาก การลดการใชพลังงานจาก เชื้อเพลิง เชน สูบน้ําดว ยการใชกังหัน ลม หรือพลังงานจากแรงคน การเดิน การใชจักรยานแทนรถยนตในการ ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๔๐


เดินทางที่ระยะทางไมไกล หรือการประหยัดพลังงานในรูปแบบอื่นที่มีผลตอสังคมอื่นๆ เชนประหยัดการใชน้ําประปา สามารถชวยชาติลดการใชไฟฟาหรือน้ํามันในการผลิตน้ําประปาได เปนตน การผลิตและใชพลังงานในรูปแบบอื่นๆ เชน การผลิตพลังงานจากสัตวจากพืช ในรูปแบบตางๆ ซึ่งหมูบานหรือชุมชนอาจจัดการรณรงคการประหยัดพลบัง งาน เปนกิจกรรมประจําป หรือกิจกรรมในวันสําคัญเพื่อสงเสริมการลดการใชพลังงาน เชน การปดไฟฟาพรอมกันทั้ง หมูบาน ในชวงเวลาหนึ่ง เพื่อใหเห็นคุณคาของพลังงาน หรือกิจกรรมอื่นที่รวมกันทําทั้งหมูบาน

เกณฑการประเมิน ตองผานทั้ง 2 ขอ (ขอใดก็ได) ผาน ไมผาน 1.ครัวเรือนมีกิจกรรมสงเสริมการลดการใช พลังงาน รอยละ 25 ของครัวเรือนในหมูบาน เชน การเปลี่ยนหลอดไฟแบบประหยัด การใชรถจักรยานแทนการใชรถยนต ฯลฯ กิจกรรมที่สงเสริมการลดการใชพลังงาน รณรงคใหประชาชนในหมูบาน ลดการใชพลังงาน เชน ไฟฟา น้ําประปา ใช หลอดไฟแบบประหยัด ใชการเดินเทาและจักรยานแทนการใชรถยนตในระยะทางใกล ๆ ผาน ไมผาน 2. ครัวเรือน มีการผลิตและใชพลังงานทดแทน รอยละ 25 ของครัวเรือนในหมูบาน/ชุมชน (เชน การ ทําน้ํามันเชื้อเพลิงจากพืช, สัตว หรือน้ํามันที่ผานการใชงานแลว (ไบโอดีเซล) การทําแกสหุงตมจาก มูลสัตว ฯลฯ) กิจกรรมที่สงเสริมการผลิตพลังงานทดแทน มีการทําพลังงานทดแทนในพื้นที่เพื่อ จําหนายในพื้นที่ใกลเคียง แตไมไดนํามาใชกับครัวเรือนในหมูบาน ครัวเรือนที่ผลิตและใชพลังงาน ทดแทน จํานวน......-.......ครัวเรือน คิดเปนรอยละ.......-........(ครัวเรือนที่ผลิตและใชพลังงานฯ. หารดวยครัวเรือนทั้งหมด คูณดวย100 ผลลัพธเทากับ25 หรือมากกวาจึงผานเกณฑ) ผาน ไมผาน 3. หมูบาน/ชุมชน มีกิจกรรมเพื่อการลดการใชพลังงานและมีการผลิตและใชพลังงานทดแทน รวมกัน อยางนอยปละ 1 ครั้ง กิจกรรมที่ทํารวมกันทั้งหมูบาน...(กิจกรรมอะไร ทําอยางไร ทํา ชวงเวลาไหน) รณรงคใหประชาชนในหมูบาน ใชพลังงานทดแทน คือ การผลิตไฟฟาดวยวัชพืช (ผักตบชวาและหญาขน) โดยสงเสริมใหประชาชนในหมูบานนําผักตบชวาที่มีอยูในลําคลองมาขาย ใหกับโรงผลิตไฟฟาเพื่อนําไปผลิตเปนไฟฟา เปนการเพิ่มรายไดกับครัวเรือน ลําคลองสะอาด และ เปนการใชพลังงานทดแทนอีกทางหนึ่งดวย ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๔๑


ตัวชี้วัดที่ 23 หมูบานหรือชุมชนมีการสรางมูลคาเพิ่มจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมู บ า นมี ก ระบวนการเรี ย นรู มี ก ารพั ฒ นาและบริ ห ารจั ด การเพื่ อ การใช ป ระโยชน จ าก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อใหเกิดรายไดอยางยั่งยืน มีกิจกรรมการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิดรายไดอยางยั่งยืน เชน หมูบานทองเที่ยวเชิงหัตถกรรม เชิงเกษตร อนุรักษ ดวยการ บริหารจัดการที่สอดคลองกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ภูมิปญญาที่เปนของชุมชน ตัวอยางเชน ชุมชน มีปาของชุมชน และคนในชุมชนอาศัยผลิตภัณฑจากปามาใชอุปโภค บริโภค หมูบานหรือชุมชน จึงจัดการออกกฎ ระเบียบการใชประโยชนจากปา มีการบํารุงรักษา เวนชวงการเขาไปทําประโยชน นําผลิตผลจากปามาเปลี่ยนสภาพ เปนผลิตภัณฑ ที่มีราคามีมูลคาเพิ่มรายได เปนตน หรือชุมชนที่มีสถานที่ ทัศนียภาพสวยงามเหมาะแกการหยอนใจ หรือเหมาะแกการฟนฟูสุขภาพรางกาย ชุมก็บริหารจัดการใหเปนชุมชนเพื่อการทองเที่ยวเชิงสุขภาพหรือชุมชนเพื่อ การพักผอนหยอนใจอื่นๆ ตามพื้นฐานภูมิสังคมในแตละชุมชน หรือการนําวัตถุดิบในธรรมชาติของชุมชนมาเพื่อ การ แปรรูปเปนผลิตภัณฑ ตางๆ การทําปุยหมัก การทําน้ําสมควันไมเพื่อใชเปนสารสารพัดประโยชน ฯลฯ เกณฑการประเมิน ผาน ไมผาน หมูบาน/ชุมชน มีกิจกรรมการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิด รายไดอยางยั่งยืน (เชน หมูบานทองเที่ยว หัตถกรรม เชิงเกษตร อนุรักษ แปรรูปผลิตภัณฑ การทําปุยหมัก การทําน้ําสมควันไม ฯลฯ) กิจกรรมที่ดําเนินการ ใชปุยอินทรีย น้ําสมควันไม น้ําหมักชีวภาพ โดยใชวัสดุที่มีในพื้นที่ มาทําการเกษตร

การจัดระดับหมูบาน ตัวชี้วัดที่ผานเกณฑ (ใสเลข 1 ในขอที่ผานเกณฑ ใส 0 ในขอที่ไมผาน) ตัวชี้วัดที่ ดานจิตใจ

ดานเศรษฐกิจ

ระดับ ดานการเรียนรู

ดานทรัพยากรฯ รวม หมูบาน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 คะแนน 1หรือ2 หรือ3          1 1 1 1 1 11 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

23

3

เกณฑการจัดระดับหมูบาน 1. ระดับพออยู พอกิน หมายถึง หมูบานที่มีผลการดําเนินงานอยูในระดับพออยู พอกิน เงื่อนไข คือ ดําเนินการครบทั้ง 2 ขอ ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๔๒


1) มีตัวชี้วัดผานจํานวน 10- 16 ตัวชี้วัด 2) และตองผานตัวชี้วัดหลักจํานวน 10 ตัวชี้วัด (มีเครื่องหมาย  ในขอ1,2,4,8,10,13,16,17,20,21) 2. ระดับอยูดี กินดี หมายถึง หมูบานที่มีผลการดําเนินงานอยูในระดับอยูดี กินดี เงื่อนไข คือ ดําเนินการครบทั้ง 2 ขอ 1) มีตัวชี้วัดผาน 17-22 ตัวชี้วัด 2 ) และต องผ านตั วชี้ วั ดหลั ก 17 ตั วชี้ วั ด(มี เครื่ องหมาย  และ ในข อ 1,2,3,4,5,8,9,10,11,1314,16,17,19,20,21,22) 3.ระดับมั่งมี ศรีสุข หมายถึง หมูบานที่มีผลการดําเนินงานอยูในระดับมั่งมี ศรีสุข ตองผานการประเมินครบทั้ง 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด หากหมูบานใดไมสามารถจัดระดับได จะอยูในระดับผานเกณฑ 6 X 2 เปนหมูบานที่มีวิถีชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง

 7. รายชื่อครัวเรือนวิถีพอเพียง ที่

ชื่อ-สกุล

ที่อยู

1

นางสาวสมพร เครือโชติ

33 ม.8 ต.คลองควาย

2

นางสมหมาย เสมอหัด

33/4 ม.8 ต.คลองควาย

3

นางละมัย หอมชื่นใจ

2/1 ม.8 ต.คลองควาย

4

นางบังอร ตนหมาก

59/2 ม.8 ต.คลองควาย

5

นางนฤมล ชูทรัพย

58/1 ม.8 ต.คลองควาย

6

นางจุฑารัตน เสมอหัด

58/3 ม.8 ต.คลองควาย

7

นางสาวจําเนียร พลฤทธิ์

47/3 ม.8 ต.คลองควาย

8

นายสมชาย ถิ่นพายัพ

28 ม.8 ต.คลองควาย

9

นางสาวดาว พูลสวัสดิ์

3/1 ม.8 ต.คลองควาย

10

นางเชิญ มรกต

61/1 ม.8 ต.คลองควาย

11

นางเปา เนื่องทวี

40 ม.8 ต.คลองควาย

12

นายสมจิตร เกษร

24 ม.8 ต.คลองควาย

13

นางสาวสุภาพร โพธิ์สิ

40/3 ม.8 ต.คลองควาย

14

นางอําไพ ยินดีวรรณ

32/2 ม.8 ต.คลองควาย

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๔๓


ที่อยู

ที่ 15

ชื่อ-สกุล นางกุด งามเหมาะ

59/3 ม.8 ต.คลองควาย

16

นายสํารวย พันธุผัก

31/1 ม.8 ต.คลองควาย

17

นางสาวพิสมัย อัยรา

1/1 ม.8 ต.คลองควาย

18

นางสาวละออ อบขจร

7 ม.8 ต.คลองควาย

19

นางสาวนันทวัน สีแกวอินทร

57/2 ม.8 ต.คลองควาย

20

นายวงศ เชิดชู

23/2 ม.8 ต.คลองควาย

21

นายสํารวย ชูทรัพย

22/2 ม.8 ต.คลองควาย

22

นางสาวสมหมาย วินัย

26/2 ม.8 ต.คลองควาย

23

นายหยุด ขันทอง

26/1 ม.8 ต.คลองควาย

24

นายเดชา เครือโชติ

33/2 ม.8 ต.คลองควาย

25

นางสายทอง เกษร

33/5 ม.8 ต.คลองควาย

26

นางลวน สุขสุแพทย

11 ม.8 ต.คลองควาย

27

นางดาวเรือง วุฒิเศษฐ

22/1 ม.8 ต.คลองควาย

28

นายวุฒิศักดิ์ สุริยันต

41/3 ม.8 ต.คลองควาย

29

นางถวิล เครือโชติ

33/6 ม.8 ต.คลองควาย

30

นายสุทธิ พักตเพียงจันทร

23/3 ม.8 ต.คลองควาย

 8. แผนชุมชนดานเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการสงเสริมการจัดทําบัญชีครัวเรือน - โครงการสงเสริมกิจกรรมประหยัดพลังงานเพื่อลดรายจาย - โครงการสงเสริมกิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อลดรายจาย - โครงการสงเสริมใหครัวเรือนเปนสมาชิกกลุมออมทรัพยเพิ่มขึ้น - โครงการสงเสริมครัวเรือนใหมีการออมเงิน - โครงการสงเสริมครัวเรือนดํารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๔๔


 9. ตัวอยางครัวเรือนพัฒนาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครัวเรือนประกอบอาชีพและดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีดังนี้ 9.1 นายเดชา เครือโชติ อายุ 60 ป บานเลขที่ 33/2 หมูที่ 8 ตําบลคลองควาย อําเภอ สามโคก ดํารงตําแหนงตาง ๆ ในหมูบาน ดังนี้ 1.ประธานกรรมการหมูบานทางยาว 2.ประธานศูนยเรียนรูตาม โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสามโคก 3.ประธานกองทุนแมของแผนดินบานทางยาว 4.ประธานวิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกรเฉลิมพระเกียรติบานทางยาว 5.ประธานกลุมเลี้ยงเปดเพื่อการออม - อาชีพหลัก ทําการเกษตร ประกอบดวย ทํานา ทําสวน - อาชีพเสริม ผลิตขาวมอลต ขาวกลองงอก ในรูปของวิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกรเฉลิมพระเกียรติ บานทางยาว สงใหกับหางเดอะมอลต ตลาด อตก. บริษัททิปโก - รณรงคการทํานาโดยไมเผาตอซัง และทํานา ทําสวนแบบเกษตรอินทรีย ใชน้ําหมักชีวภาพ น้ําสมควัน ไม ปุยอินทรียในการทําการเกษตร - เปนวิทยากรดานการนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทําน้ําหมักชีวภาพ การทําขาวมอลต และ เปนศูนยเรียนรูศิลปวัฒนธรรมและกีฬาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (กิจกรรมกองทุนแมของแผนดิน) - สงเสริมสนับสนุนใหประชาชนในหมูบานนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในชีวิตประจําวัน ตามตัวชี้วัด 6x2 เนนการลดรายจายเพิ่มรายได เชน การปลูกพืชผักสวนครัว สงเสริมการเลี้ยงเปด การเลี้ยงกบ และการเลี้ยงปลา โดยทําเปนตัวอยางใหกับประชาชนในหมูบานไดทําตาม “เปนผูชํานาญการดานการเกษตร”

9.2 นายสํารวย ชูทรัพย

อายุ 60 ป บานเลขที่ 22/2 ตําบลคลองควาย อําเภอสาม โคก ดํารงตําแหนง ประธานกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต ประธานกลุมผูใชน้ํา และหัวหนากลุมบานหนาวัด - อาชีพหลัก ทําการเกษตร ทํานา

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๔๕


- อาชีพเสริม ปลูกพืชผักสวนครัว ประกอบดวย ขา ตะไคร ใบมะกรูด พริก มะละกอ ถั่วฝกยาว มะเขือ ผักบุงจีน คะนา เปนตน - เลี้ยงปลา ไวบริโภคเอง จํานวน 1 บอ (ปลาดุก ปลานิล ปลาตะเพียน) - การใชปุยในการทําสวน ใชปุยคอก ปุยอินทรชีวภาพ “เปนผูชํานาญการดานการบริหารจัดการกองทุนฯ”

9.3 นายสุทธิ พักตเพียงจันทร อายุ 46 ป บานเลขที่ 23/3 ตําบลคลองควาย อําเภอสาม โคก ดํารงตําแหนง ประธานกองทุนหมูบานทางยาว คณะกรรมการหมูบานทางยาว คณะกรรมการกองทุนแมของ แผนดินฯ คณะกรรมการวิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกรเฉลิมพระเกียรติบานทางยาว - อาชีพหลัก ทําการเกษตร ประกอบดวย ทํานาและเลี้ยงเปด/เลี้ยงปลา - อาชีพเสริม ผลิ ตขาวมอลต ขาวกลองงอก ในรูปของวิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกรเฉลิมพระ เกี ย รติ บ านทางยาว ส งให กับ ห า งเดอะมอลต ตลาด อตก. บริษัททิปโก มีย อดสั่งซื้อเดือนละ 50,000 – 80,000 บาท โดยประมาณ - ปลูกพืชผักสวนครัว ประกอบดวย ขา ตะไคร ใบมะกรูด พริก เปนตน - การใชน้ําหมักชีวภาพและปุยอินทรียในการทํานา - สงเสริมในประชาชนในหมูบานออมเงินกับกองทุนฯตาง ๆ ในหมูบาน “เปนผูชํานาญการดานการบริหารจัดการกองทุนฯ การผลิตขาวมอลต”

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๔๖


9.4 นางกุด งามเหมาะ อายุ 72 ป บานเลขที่ 59/3 ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี - อาชีพ ทําการเกษตร ประกอบดวย ทําสวนผัก สวนผลไม - อาชีพเสริม ประกอบดวย เลี้ยงเปด เลี้ยงกบ เลี้ยงปลา - นอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามปรับใชในชีวิตประจําวัน ตามตัวชี้วัด 6x2 “เปนผูชํานาญดานการปลูกพืชผักสวนครัว”

9.5 นางลวน สุขสุแพทย อายุ 52 ป บานเลขที่ 11 ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัด ปทุมธานี - อาชีพหลัก คาขาย - อาชีพเสริม ประกอบดวย เลี้ยงเปด เลี้ยงกบ เลี้ยงปลา - ปลูกพืชผักสวนครัว ประกอบดวย ขา ตะไคร ใบมะกรูด พริก เปนตน - นอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามปรับใชในชีวิตประจําวัน ตามตัวชี้วัด 6x2 “เปนผูชํานาญการดานการประกอบอาชีพเสริม”

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๔๗


9.6 นางสายทอง เกสร อายุ 54 ป บานเลขที่ 33/5 ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัด ปทุมธานี เปนประธานกลุมอาชีพทําน้ําพริก - อาชีพ ทํานา - อาชีพเสริม ทําน้ําพริกแกงขาย - เลี้ยงปลา ไวบริโภคเอง จํานวน 1 บอ - ใชน้ําหมักชีวภาพ และปุยอินทรียในการทํานา - เปนวิทยากรสอนทําน้ําพริกประเภทตาง ๆ - นอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามปรับใชในชีวิตประจําวัน ตามตัวชี้วัด 6x2 “เปนผูชํานาญการดานทําน้ําพริก”

สรุป

บานทางยาว หมูที่ 8 ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เปนหมูบานเศรษฐกิจ พอเพียงตนแบบ ระดับ “มั่งมี ศรีสุข” ป 2552 มีความสัมพันธเปนญาติพี่นอง ซึ่งมีกิจกรรมตาง ๆ เชน การ สงเสริมการดํารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การอนุรักษวัฒนธรรม การทําการเกษตรอินทรีย การ สงเสริมสิ่งแวดลอม และการสงเสริมดานอาชีพเพื่อเพิ่มรายไดใหแกครัวเรือน โดยเฉพาะการมีเมนูการประกอบ อาชีพใหราษฎรในหมูบานไดเลือกทําตามความถนัด เชน การผลิตภัณฑ OTOP 5 ดาว คือ ขาวมอลต ของ วิสาหกิจกลุมเกษตรกรเฉลิมพระเกียรติบานทางยาว การเลี้ยงกบ การเลี้ยงเปด การเลี้ยงปลา การปลูก พืชผักสวนครัว และมีการสงเสริมใหประชาชนในหมูบานไดนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามตัวชี้วัด 6x2 มาปรับใชในการดําเนินชีวิต โดยมีผูใหญบาน (นายเดชา เครือโชติ) และผูนําทาน อื่น ๆ เชน นายสํารวย ชูทรัพย นายสุทธิ พักตเพียงจันทร เปนตัวอยางในการประกอบอาชีพ โดยใชวิธีทําเปนตัวอยางใหประชาชน ในหมูบานดูกอนวาจะสามารถทําไดหรือไม และเมื่อประสบปญหาจะแกไขอยางไร เมื่อประสบผลสําเร็จในการ ทํากิจกรรมดานใดแลวจึงแนะนําใหประชาชนที่สนใจทําตามดูบาง ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๔๘


 10. แผนปฏิบัติการหมูบา น - โครงการขยายครอบครัวพัฒนาตนแบบ 30 ครัวเรือน/ป - โครงการขยายครอบครัวพัฒนาตนแบบในตําบลคลองควาย 30 ครัวเรือน/ป - โครงการเผยแพรภูมิปญญาศูนยเรียนรูบานทางยาว (3 กิจกรรม)

******************************

ถอดองคความรู ตามโครงการรักษามาตรฐานหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๓ บานทางยาว หมูที่ ๘ ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หนา ๔๙


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.