ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง-บางโพธิ์

Page 1

บ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอสามโคก  ….. 0-2593-1969


คานา เอกสาร “การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ มั่งมี ศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี จัดทาขึ้นเพื่อ เป็น การสรุปผลการจัด กิจกรรมตามโครงการตั้งแต่ ต้น จนจบ เพื่อรวบรวมสรุปผลการ ดาเนินการตามโครงการในแต่ละเวทีการจัดกิจกรรม ซึ่งในการดาเนินการนั้น ได้มีการดาเนินการ ตาม กระบวนการขั้นตอน ตามแนวทางการดาเนินการกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ประจาปี 2554” สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอสามโคก หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสาร ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนทุกคน ซึ่งได้ปฏิบัติงานเป็นไปตามขั้นตอนกระบวนงาน แล้ว มาสรุปผลการดาเนินงาน ทบทวนกิจกรรม และสิ่งที่หมู่บ้านชุมชนได้รับ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมใน การสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้าน ชุมชนต่อไป สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอสามโคก สิงหาคม 2554

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๒


สารบัญ หน้า  ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน  การดาเนินโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงฯ  กระบวนการ/ผลการดาเนินงานกิจกรรม  ครอบครัวต้นแบบ

4 9 10 19

*****************************

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๓


ถอดบทเรียน โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมี ศรีสุข” บ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมูท่ ี่ ๒ ตาบลบางโพธิ์เหนืออาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ข้อมูลทั่วไปของหมูบ่ ้าน เดิมเป็นชาวมอญที่อพยพมาจากถิ่นอื่นเมื่อร้อยกว่าปี มาตามลาน้าเจ้าพระยา และมาตั้งถิ่นฐานที่ ปากคลองชื่อว่าคลองบางโพธิ์เหนือเป็นกลุ่มมีบ้านรวมกันหลาย ๆ หลัง ได้ตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ” ตามชื่อคลองส่งน้าที่ไหลผ่านหมู่บ้าน บ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ มีพื้นที่ จานวน 600 ไร่ อาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

จด จด จด จด

หมู่ที่ 1 ตาบลบางโพธิ์เหนือ เขตเทศบาลตาบลบางปรอก แม่น้าเจ้าพระยา หมู่ที่ 3 ตาบลบางโพธิ์เหนือ

สภาพภูมิศาสตร์ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ลาบลุ่มในฤดูน้าหลากน้าจะท่วมทุกปี มีน้าทาการเกษตรตลอดปี จึงเป็นแหล่งน้า สมบูรณ์เหมาะสาหรับเป็นพื้นที่เกษตรกรรมเพาะปลูก ทาสวน ทานา สภาพดินร่วนซุย มีคลองและแม่น้าไหลผ่าน สภาพดินฟ้าอากาศ เป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู และอยู่ในเกณฑ์ปกติทั่วไป เศรษฐกิจโดยรวมของ หมู่บ้าน เป็นลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง มีการทาการเกษตรแบบผสมผสาน ระหว่างการทานา การทาสวนผลไม้ การ ทาสวนผัก การเลี้ยงปลาในบ่อ ในร่องสวน และรับจ้างทั่วไป คมนาคม o o o o

ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ถนนลาดยาง ถนนลูกรัง ถนนดิน

จานวน จานวน จานวน จานวน

1 1 1 1

สาย สาย สาย สาย

o o o o

ประปาหมู่บ้าน แม่น้าเจ้าพระยา คลองบางโพธิ์ คลองบางนา

จานวน จานวน จานวน จานวน

1 1 1 1

แห่ง สาย สาย สาย

แหล่งน้า

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๔


การไฟฟ้า มีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน จานวนครัวเรือนและประชากร จานวนครัวเรือน จานวนประชากร แยกเป็น ชาย หญิง ประชาชนมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี

106 ครัวเรือน 291 คน 148 คน 143 คน 88,766.32 บาท

ผลิตภัณฑ์ชุมชน

 ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไม้ตาล/ยางรถยนต์ นายสมร ร่วมทรัพย์ บ้านเลขที่ 53/2 หมู่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

 การทาเบเกอรี่ นางชิดชนก แป้งนุช บ้านเลขที่ 53/2 หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๕


 การทาขนมไทย นางละเอียด เปรมปรี บ้านเลขที่ 50 หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

 น้าพริกรสเด็ด นางนงเยาว์ จั่นทอง บ้านเลขที่ 45/4 หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

 การทาปุ๋ยอัดเม็ด ปุ๋ยอินทรีย์/ชีวภาพ นายพินิจ ผุดผ่อง บ้านเลขที่ 9/1 ตาบลบางโพธิ์ เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๖


 กลุ่มการคัดแยกขยะ นายบุญรุ้ง พันสาย บ้านเลขที่ 23/7 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

ศาสนา และประเพณีวัฒนธรรม ประชาชนในหมู่บ้านนับถือศาสนาพุทธ ประเพณีที่ถือเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่น คือประเพณีทาบุญตัก บาตรเข้าพรรษาและออกพรรษา ประเพณีการตักบาตรพระร้อย เป็นเพณีที่ทาในเทศกาลออกพรรษาด้วยการนาอาหาร คาว-หวานมาตักบาตร ประเพณีวันสงกรานต์ ร่วมก่อพระทรายและปล่อยนกปล่อยปลา นาน้าหอมไปสรงน้าพระขอพร จากพระ ประเพณีรดน้าดาหัวผู้สูงอายุเพื่อขออวยพรผู้ใหญ่ ตามขนมธรรมเนียมประเพณีที่ได้ยึดถือกระทากันมา มี ประเพณีและวัฒนธรรมตามเทศกาล ประเพณีวันเด็ก ประเพณีและวัฒนธรรมตามเทศกาลงานสาคัญทางศาสนา และ ราชพิธีต่าง ๆ ในเดือนมกราคม จะทาบุญขึ้นบ้านใหม่ จะมีการทาบุญตักบาตรที่วัด ปล่อยนก ปล่อยปลา ในเดือน เมษายน จะมีการทาบุญกลางบ้านซึ่งจะทาหลังวันสงกรานต์ของทุก ๆ ปี ตักบาตรในช่วงเช้าและทาบุญศาลเจ้าพ่อ ในช่วงค่า การทาบุญสงกรานต์ จะจัดในวันที่ 16 เมษายน ของทุกปี โดยตอนเย็นจะมีการขนทรายเข้าวัดและก่อกอง ทราย เช้าทาบุญตักบาตรที่วัดและรดน้าดาหัวผู้สูงอายุ และร่วมฉลองสงกรานต์ด้วยกิจกรรมบันเทิงมากมายและมีการ กวนข้าวทิพย์ หรือข้าวมธุปายาส ขณะกวนก็จะมีการร้องราทาเพลงอย่างสนุกสนาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8

องค์ความรู้ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ด้านศาสนา/วัฒนธรรม การเลี้ยงกบ การทาน้าพริก การทาขนมอบ การแปรรูปยางรถยนต์/ไม้ตาล การทาขนมไทย การจักสาน

ชื่อ – สกุล นายพินิจ ผุดผ่อง นายสุดใจ ผุดผ่อง นายสาอาง เปรมปรีดิ์ นางนงเยาว์ จั่นทอง นางชิดชนก แป้งนุช นายสมร ร่วมทรัพย์ นางละเอียด เปรมปรี นายสมจิตต์ ผุดผ่อง

ที่อยู่

บ้านเลขที่ 9/1 หมู่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ บ้านเลขที่ 33/6 หมู่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ บ้านเลขที่ 50/3 หมู่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ บ้านเลขที่ 45/4 หมู่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ บ้านเลขที่ 53/2 หมู่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ บ้านเลขที่ 53/2 หมู่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ บ้านเลขที่ 50 หมู่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ บ้านเลขที่ 9/1 หมู่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๗


อัตลักษณ์ ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ คือ

การดารงชีวิตตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมอาชีพเชิงอนุรกั ษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” ผู้นาชุมชน/กรรมการหมู่บ้าน 1 นายพินิจ ผุดผ่อง 2 นายสุดใจ ผุดผ่อง 3 นายบุญซี พวงผล 4 นายลิ้นจี่ พวงผล 5 นายสัมพันธ์ ผุดผ่อง 6 นางสมศักดิ์ บัวใบ 7 นายละเอียด เปรมปรี 8 นางสาวประไพ ขันทอง 9 นางสมร พวงกุหลาบ 10 นางศิรประภา สุขพรแจ่ม 11 นายบรรจง ทับคาหอม 12 นางสัมพันธ์ หุ่นดี 13 นายบุญรุ้ง พันสาย 14 นางสาวระเบียบ ทองใบ 15 นางรมิตา พานิชการ 16 นายประมวล ทองประดิษฐ์ 17 นางสุรนทร์ ชอบช่าง 18 นางสาวละออง เมืองฉิม 19 นายสมพงษ์ บุญพลอย 20 นางวรรณา ชุบศรี 21 นางนงเยาว์ จั่นทอง 22 นายสมพงษ์ บัวใบ 23 นายบุญเลิศ สงบ 24 นายสมศักดิ์ เจริญรอด 25 นางสาอาง ทิมปุ๋ย 26 นายสมร ร่วมทรัพย์ 27 นางสาอาง เปรมปรี 28 นางชิดชนก แป้งนุช

ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง

ประธาน รองประธาน รองประธาน เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ เหรัญญิก ผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๘


จานวนกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ 1. กลุ่มคัดแยกขยะ 2. คณะกรรมการสตรีระดับหมู่บ้าน (กพสม.) 3. อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) 4. อาสาสมัครแก้ไขและป้องกันยาเสพติด (ปปส.) 5. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชน 6. คณะกรรมการหมู่บ้าน 7. อาสาสมัครตารวจชุมชน 8. อาสาพัฒนาชุมชน 9. คณะกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน 10. คณะกรรมการโครงการชุมชนพอเพียง 11. กลุ่มอาชีพการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด-น้าหมักชีวภาพ-อาหารสัตว์ 12. กลุ่มอาชีพการทาน้าพริก 13. กลุ่มอาชีพการเลี้ยงกบ-ปลา 14. กลุ่มอาชีพเกษตรอินทรีย์(พืชผักสวนครัว) 15. กลุ่มอาชีพการเพาะเห็ด 16. กลุ่มอาชีพการแปรรูปยางรถยนต์เก่า 17. กลุ่มอาชีพการทาขนมเบอร์เกอรี่ 18. กลุ่มทางด้านศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 19. กลุ่มอาชีพการปลูกกล้วยหอมเกษตรอินทรีย์ 20. กลุ่มอาชีพปลาแนมและขนมพื้นบ้าน กองทุนในหมู่บ้าน 1. กองทุนหมู่บ้าน 2. กองทุนแม่ของแผ่นดิน 3. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ

1,000,000 บาท 8,000 บาท 570,000 บาท

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๙


การดาเนินโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมี ศรีสุข” บ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมูท่ ี่ ๒ ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี จากวิกฤตการณ์ความขัดแย้งทางสังคม ก่อให้เกิดการแตกความสามัคคี ขาดความปรองดองของคนใน ชาติ เศรษฐกิจระดับฐานรากตกต่า จากสถานการณ์ดังกล่าว กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้น้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพีย ง มาสู่ การปฏิ บัติ โดยนามาเป็นกระบวนการพั ฒนาหมู่ บ้าน ให้ประชาชนใช้ วิถีชีวิต อย่างสมดุลและยั่ง ยื น สอดคล้องกับสภาพภูมิสังคม สร้างภูมิคุ้มกันแห่งการดาเนินชีวิตในบริบทของสังคมไทย โดยกาหนดเป็นยุทธศาสตร์ใน การขับเคลื่อน ภารกิจในการพัฒนาชนบท และได้กาหนดกลยุทธ์การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบมาตั้งแต่ ปี ๒๕๕๒ มุ่งหวังให้ป ระชาชนในชนบทมีภูมิ คุ้มกันที่ดีต่อ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสัง คมทั้ง ภายในและ ภายนอก โดยส่งเสริมให้คนในชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ในระดับหนึ่ง อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสันติสุข อยู่ ร่วมกับธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุลและยั่งยืน และจากความสาเร็จของชุมชน ต้นแบบในปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ กรมการพัฒนาชุมชนจึงมุ่งมันที่จะขยายผลการดาเนินงานให้กระจายไปทั่วทุกพื้นที่ โดยมุ่งหวัง ว่าจะให้ชุมชนเรียนรู้ ความสาเร็จจากชุมชนเองและเลือกแนวทางในการพัฒนาตนเอง โดยในปี ๒๕๕๔ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว จะทรงพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษาในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้ยกระดับการ ส่งเสริมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบในพื้นที่เพิ่มขึ้นเป็น ”โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ” โดยเสนอกระทรวงมหาดไทยเป็น Flagship Project เป็นโครงการปีแห่งวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา เพื่อน้อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในวโรกาสเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา โดยหมู่บ้านจะต้องมี ศักยภาพ ใน 3 มิติ มิติที่ 1 (ด้านความมั่นคง) โดยการปกป้องสถาบัน ขยายแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ และคุณูปการขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสริมสร้างการบริหารแบบธรรมาภิบาล และเสริมสร้างจิตสานึก ป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบในชุมชน มิติที่ 2 (ด้านเศรษฐกิจ) โดยการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก สร้างรายได้ ขยายโอกาสของชุมชน พัฒนากลุ่มผู้ผลิต (OTOP) ให้ได้ มาตรฐาน ผู้บริโภคปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมปลอดภัย พัฒนาสถาบันการเงินชุมชน เพื่อแก้ไขเรื่องหนี้นอกระบบ และ สร้างสวัสดิการชุมชนให้เกิดขึ้น มิติที่ 3 (ด้านสังคม) โดยเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง เพื่อให้คนในสังคมเอื้ออารีต่อกัน ไม่แบ่งฝักแบ่งฝ่ายด้วยการใช้ ชุมชน สมานฉันท์ชุมชน โดยกระบวนการพัฒนาชุมชน ถอดความต้องการของชุมชนในรูปแผนชุมชนที่คนในชุมชนมีส่วนร่วม รวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้ผ่านเกณฑ์ จปฐ. การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๑๐


บ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ ๒ ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ได้รับการ สนับสนุนงบประมาณตามแนวทางการดาเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ประจาปีง บประมาณ 2554 ในการส่ ง เสริม และพัฒ นาหมู่บ้ า น จานวน ๑๓๐,๓๒๐ บาท (หนึ่ง แสนสามหมื่ นสามร้ อยยี่ สิ บ บาทถ้ ว น) ให้ดาเนินโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพี ยงต้นแบบ ระดับ “มั่ง มี ศรี สุข” กิจกรรมที่หมู่บ้านจะต้อ งดาเนินการมี ดังต่อไปนี้ ๑. กิจกรรมส่งเสริมครอบครัวพัฒนาในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒. กิจกรรมเรียนรู้ตนเอง ๓. กิจกรรมส่งเสริมทักษะด้านการจัดสวัสดิการชุมชน ๔. กิจกรรมเพื่อสร้างระบบบริหารจัดการชุมชนและการเรียนรู้เรื่องประชาธิปไตยและสร้างความ สมานฉันท์สามัคคีของหมู่บ้าน ๕. กิจกรรมการจัดการความรู้วิธีการปฏิบัติการพัฒนาหมู่บ้าน

กระบวนการ/ผลการดาเนินงานกิจกรรม

กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมส่งเสริมครอบครัวพัฒนาในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๑. ประชุมเชิงปฏิบัติการ/สัมมนากลุ่มเป้าหมายให้การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ดาเนินการในวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๔ ณ ที่ทาการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ สร้างความรู้ความเข้าใจปลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนะนาแกนนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา ปี 2554 จานวน 3 คน ได้แก่ นายพินิจ ผุดผ่อง นางนงเยาว์ จั่นทอง และนางสุรินทร์ ชอบช่าง

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๑๑


ตัวชี้วัด ๖X2 และ ๒๓ ตัวชี้วัด และการประเมินหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง การคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ จานวน ๓๐ ครัวเรือน ประเด็นการศึกษาดูงานประสบการพัฒนาวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจากแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ ผลการดาเนินงาน ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดาเนินโครงการ แกนนาหมู่บ้านฯ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองสามารถถ่ายทอดความรู้ ชี้แจง สร้างความเข้าใจให้กับผู้เข้าร่วมโครงการได้ และในการ คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ ครัวเรือนที่ได้รับการคัดเลือกก็ยินดีที่จะเข้าร่วมโครงการ การประเมินหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง 4 ด้าน 23 ตัวชี้วัด จากผลการประเมิน ด้านจิตใจและสังคม ตัวชี้วัดที่ ๖ มีคนในหมู่บ้าน/ชุมชนปลอดยาเสพติด (ข้อ ๑ หมู่บ้าน/ ชุมชนปลอดยาเสพติดในรอบปีที่ผ่านมา ร้อยละ ๑๐๐) ปรากฏว่า มีผู้เข้าร่วมโครงการบางคนคัดค้านว่า หมู่บ้าน ไม่ปลอดยาเสพติด ร้อยละ ๑๐๐ แต่หมู่ได้มีแนวทางใน การแก้ไขปัญหา คือ มีการตั้งเวรยามเฝ้าระวั งหมู่บ้าน มี อาสาสมั ค รในการเป็ น สายข่ า วเพื่ อ แจงข่ า ว และชี้ เบาะแส ประกอบกับประชาชนในชุมชนช่วยกันสอดส่อง ดูแล จึงสามารถแก้ไขปัญหาตัวชี้วัดข้อนี้ได้ ๒. การศึกษาดูงานประสบการณ์พัฒนาวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจากแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ ดาเนินการ ระหว่างวันที่ ๑๙ – ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติตาบลสองสลึง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง และ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ “มั่งมี ศรีสุข” เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา บ้านจารุง หมู่ ๗ ตาบลเนินฆ้อ อาเภอแก ลง จังหวัดระยอง ผลการดาเนินงาน ครัวเรือนต้นแบบเกิดความตื่นตัวในการที่จะขับเคลื่อนกิจกรรมหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียงต้นแบบมากขึ้น และได้ร่วมกันสรุปประเด็นที่เป็นจุดเด่นของหมู่บ้านจารุง ที่ทาให้มีผลการดาเนินงานประสบ ความสาเร็จ คือ ผู้นาของหมู่บ้านมีความเข้มแข็ง ความสามัคคีของประชาชนในหมู่บ้าน มีการรวมกลุ่มการทากิจกรรมของหมู่บ้าน เช่น กลุ่มกีดยาง กลุ่มสตรีของหมู่บ้าน กลุ่มบ้านพักโฮมสเตย์ การบริหารงานของกลุ่มมีความเข้มแข็ง ผู้นากลุ่มสามารถเป็นวิทยากรให้ความรู้กับผู้ มาศึกษาดูงานได้ การรักษาความสะอาดของหมู่บ้าน การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๑๒


กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมเรียนรู้ตนเอง และกาหนดเป้าหมายการพัฒนา โดยวิทยากรให้ความรู้ในเรื่องกระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน และการปรับแผนชุมชนเพื่อสนับสนุน การดาเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ดาเนินการในวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๔ ณ ที่ทาการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ การผลิต หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ผลการดาเนินงาน ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจกระบวนการ ขั้นตอนในการขับเคลื่อนแผนชุมชน มากขึ้น และรู้ว่าแผนชุมชนต้องมาจากปัญหาและความต้องการของคนในชุมชนจริง ๆ ส่วนในขั้นตอนของการปรับแผน ชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และศักยภาพของ หมู่บ้าน แนวทางในการแก้ไขปัญหาโดยการจัดทากิจกรรม/โครงการเพื่อแก้ไขปัญหา จัดลาดับความต้องการ/โครงการ ของหมู่บ้าน โดยน้าข้อมูล จปฐ. และ กชช.๒ค มาร่วมวิเคราะห์ข้อมูลของหมู่บ้านด้วย

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๑๓


กิจกรรมที่ ๓ ส่งเสริมทักษะด้านการจัดสวัสดิการชุมชน ๑. วิทยากรให้ความรู้เรื่องการจัดสวัสดิการชุมชน การจัดทาบัญชีรับจ่าย-ครัวเรือน และการทาแผน ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ดาเนินการในวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๔ ณ ที่ทาการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

ผลการดาเนินงาน ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสนใจและตื่นตัวในเรื่องการจัดสวัสดิการชุมชน เนื่องจากเป็นเรื่อง ผลประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์กับวิทยากรที่ให้ความรู้ ซึ่งหมู่บ้านมีการจัดสวัสดิการ ชุมชน คือ กองทุนออมวันละบาท กองทุนฌาปนกิจ ในส่วนของการจัดทาบัญชีรับ-จ่ายครัวเรือนมีผู้เข้าร่วมโครงการ (นางสุรินทร์ ชอบช่าง) ได้ชี้แจงให้เห็นถึงประโยชน์ของการจัดทาบัญชีรับ-จ่ายครัวเรือนว่า ทาให้สารถรู้ถึงอุปนิสัยในการ ใช้จ่ายของครัวเรือน และมีการปรับปรุงนิสัยการใช้จ่ายของตนเองจนทาให้สามารถปลดหนี้ได้ ๒. กิจกรรมการดารงชีวิตแบบพอเพียง ซื้อเมล็ดพันธุ์ผักให้กับครัวเรือนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการ นาไปปลูกเพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ผลการดาเนินงาน นอกจากจะแจกเมล็ด พันธุ์ผักให้กับผู้เข้าร่วมโครงการแล้วยังสามารถขยายผลให้ กับครัวเรือนอื่น ๆ ในชุมชน จานวน 30 ครัวเรือน

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๑๔


กิจกรรมที่ ๔ กิจกรรมเพื่อสร้างระบบบริหารจัดการชุมชนและการเรียนรู้เรื่องประชาธิปไตยและสร้างความ สมานฉันท์สามัคคีของหมู่บ้าน ๑. วิทยากรให้ความรู้ในเรื่อง การบริหารจัดการชุมชน ดาเนินการในวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๔ ณ ที่ทาการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ผลการดาเนินงาน หมู่บ้านมีการบริหารจัดการชุมชนโดยคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการ หมู่บ้าน/ผู้เข้าร่วมโครงการ/ประชาชนในหมู่บ้าน สามารถปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเองได้ หมู่บ้านมีการวางกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของหมู่บ้าน เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านปฏิบัติร่วมกัน ๒. วิทยากรให้ความรู้ในเรื่องประชาธิปไตยและสร้างความสมานฉันท์สามัคคีของหมู่บ้าน ดาเนินการ ในวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๔ ณ ที่ทาการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ผลการดาเนินงาน หมู่บ้านได้ดาเนินการตามนโยบาย “สามัคคีคือพลัง เพื่อสร้างสรรค์สังคม” มี กิจกรรมหลัก ๕ มิติ คือ มิติที่ ๑ การพัฒนาจิตใจและการสร้างเสริมความเข้าใจของคนในสังคม ให้ประชาชนในพื้นที่มีสติ มี เหตุมีผล ในการคิดและตัดสินใจ ดังนี้ ประชาชนในหมู่บ้านร่วมทากิจกรรมวันสาคัญทางศาสนา เช่น การทาบุญตักบาตร เข้าวัด ฟังธรรม การจัดกิจกรรมทอดผ้าป่าสามัคคี/ทอดกฐิน การทาบุญศาลปู่จุ้ย ซึ่งเป็นที่เคารพ นับถือ ของประชาชนในหมู่บ้าน มิติที่ ๒ การปกป้องสถาบัน การส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่บ้านดารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การจัดกิจกรรมวันที่ ๕ ธันวาคม , ๑๒ สิงหาคม เช่น การประดับธงตราสัญลักษ์ ร่วมจุดเทียนชัยถวายพระพรชัยมงคล การตั้งปณิธานทาความดีถวายในหลวง การร่วมเป็นอาสาสมัครปกป้องสถาบัน มิติที่ ๓ การลดความขัดแข้งในหมู่บ้าน/ชุมชน การเข้าร่วมอบรมกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท มีการตั้งกฎกติกาเพื่อปฏิบัติร่วมกันของประชาชนใน หมู่บ้าน การแก้ไขปัญหาของชุมชนโดยการจัดเวทีประชาคม ยอมรับวามคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ มีคณะกรรมการหมู่บ้านในการรับทราบปัญหาความเดือนร้อนของประชาชน

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๑๕


มิติที่ ๔ การจัดให้มีกิจกรรมสาธารณประโยชน์เพื่อพึ่งพาตนเอง มีการจัดประชุมประชาชนในหมู่บ้านเป็นประจาทุกเดือน การจัดเวทีประชาคมหมู่บ้านเพื่อจัดทาแผนชุมชน ร่วมกันปรับปรุงภูมิทัศน์ในหมู่บ้าน เช่น การขุดลอกคูคลอง มีศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ มีกลุ่มร่วมกลุ่มการทากิจกรรมร่วมกัน เช่น กลุ่มอาชีพการทาน้าพริก กลุ่มเกษตรกรปลูก กล้วยหอม กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มการผลิตปุ๋ยอินทรีย์-ชีวภาพ มิติที่ ๕ การจัดกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์ มีการจัดตั้งกลุ่มสตรีหมู่บ้าน การจัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุ การจัดประเพณีตักบาตรพระร้อย กิจกรรมที่ ๕ การจัดการความรู้วิธีการปฏิบัติการพัฒนาหมู่บ้าน ประชุมเชิงปฏิบัติการครัวเรือนต้นแบบ จานวน 30 ครัวเรือน เพื่อติดตามและประเมินผลความสุข มวลรวมของชุมชน และการจัดการความรู้ วิธีการปฏิบัติงานที่ประสบผลสาเร็จในการดาเนินการพัฒนาชุมชน ดาเนินการในวันที่ 2๔ พฤษภาคม 2554 ณ ที่ทาการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอ สามโคก จังหวัดปทุมธานี

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๑๖


ผลการดาเนินงาน จากการจัดประชุมประชาคมครัวเรือนต้นแบบในชุมชนแบบมีส่วนร่วม ชี้แจงทา ความเข้าใจในองค์ประกอบชี้วัดดัชนีวัดความ “อยู่เย็น เป็นสุข” ของชุมชน แต่ละองค์ประกอบ โดยเจ้าหน้าที่พัฒนา ชุมชนอธิบายทาความเข้าใจตัวชี้วัดที่ละตัวและให้ผู้เข้าร่วมประชุมให้ค่าคะแนนตัวชี้วัดจนครบทุกตัว จัดเป็น 5 ระดับ ดังนี้

0 - 20 21 - 40 41 - 60 61 - 80 81 - 100

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

ระดับความสุขต่า ระดับความสุขค่อนข้างต่า ระดับความสุขปานกลาง ระดับความสุขสูง ระดับความสุขที่ปรารถนา

อยู่ร้อน อยู่ได้ อยู่อิ่ม อยู่ดี อยู่เย็น

นอนทุกข์ คลายทุกข์ นอนอุ่น มีสุข เป็นสุข

ค่าคะแนนทีบ่ ้านปากคลองบางโพธิ์ ประเมิน ได้ จานวน 150 คะแนน อยู่ในระดับ 5 เป็น หมูบ่ ้านที่ “อยูเ่ ย็น เป็นสุข” การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๑๗


ปัจจัยส่งผลสาเร็จในดาเนินโครงการหมูบ่ ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ๑. การมีผู้นาชุมชนที่เข้มแข็ง มีจิตสาธารณะ และเห็นความสาคัญของการดาเนินโครงการ ๒. ประชาชนในหมู่บ้านให้การมีส่วนร่วม และความสามัคคี ๓. หมู่บ้านมีการบริหารจัดการที่ดี โดยคณะกรรมการหมู่บ้าน มีกฎระเบียบ ข้อบังคับ ประเพณี ที่สืบทอดกันมา ๔. มีหน่วยงานภาคีที่ให้การสนับสนุน เช่น สานักงานพัฒนาชุมชน กศน. เกษตร สาธารณสุข พอป. สสส. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ๕. หมู่บ้านมีการจัดประชุมเป็นประจาทุกเดือนหลังจากที่ผู้นาชุมชนได้ไปประชุมที่อาเภอ ทาให้ ประชาชนในหมู่บ้านได้รับรู้ข่าวสาร ข้อมูล ที่ทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ ๖. หมู่บ้านมีแผนชุมชน ที่เป็นเครื่องมือในการกาหนดทิศทางการพัฒนาหมู่บ้าน ๗. มีศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่สามารถศึกษาดูงานได้ ๘. ประชาชนในหมู่บ้านเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๙. ประชาชนมีความอารีต่อกัน รู้จักช่วยเหลือผู้ที่ด้อยโอกาส

ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงาน ๑. เนื่องจากเป็นชุมชนชนบทกึ่งชุมชนเมืองทาให้ประชาชนไม่ค่อยสนใจที่จะเข้าร่วมโครงการ ๒. ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ทาให้เข้าใจได้ช้า ต้องค่อยเป็นค่อยไปในการดาเนิน กิจกรรม เนื่องจากคนหนุ่มสาวต้องไปประกอบอาชีพภายนอกชุมชน ๓. การดาเนินกิจกรรมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะเห็นผลค่อนข้างช้า ทาให้เกิดความท้อถอย

แนวทางแก้ไขปัญหา ๑. การสร้างความรู้ ความเข้าใจ การโน้มน้าว ให้เห็นถึงความสาคัญของโครงการ ๒. การปรับเปลี่ยนความคิด ปรับทัศนคติ

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๑๘


บทสรุป จากการสารวจข้อมูล จปฐ. ปี 2554 ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ปรากฎว่า ไม่มีตัวชี้วัด จปฐ. ที่ไม่บรรลุเป้าหมาย ครัวเรือนส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตที่ดีมี สุข ซึ่งประชาชนดารงชีวิตตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และจากการสารวจข้อมูลพื้นฐาน ระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) ประจาปี 2554 บ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ เป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาระดับ 3 และจากการ ประเมิน “ความอยู่เย็น เป็นสุข” ของชุมชน เป็นหมู่บ้านที่อยู่ในระดับ “อยู่เย็น เป็นสุข” ประชาชนสามารถพึ่งตนเอง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความสุข ตามนโยบาย 3 ไม่ 2มี คือ ไม่มียาเสพติด ไม่มีคนจน ไม่มีหนี้นอกระบบ มีการจัดสวัสดิการชุมชน มีการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๑๙


ครอบครัวต้นแบบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

นายพินิจ ผุดผ่อง นายบรรจง ทับคาหอม นายสมคิด สมประสงค์ นางก่า ผุดผ่อง นายบุญรุ้ง พันสาย นายสมพงษ์ บุญพลอย นางมณฑา พวงกุหลาบ นาละมัย เห็นทาง นายสมศักดิ์ เจริญรอด นางสาวพิสมัย พวงกุหลาบ นางบุญสม พวงกุหลาบ นางนงเยาว์ จั่นทอง นางปราณี ใจสวย นางอรุณลักษณ์ พวงกุหลาบ นางอุไร ผุดผ่อง นางสงวน แจ่มใจ นางสาอาง ทิมปุ๋ย นายประมวล ทองประดิษฐ์ นางสาวสมัย ทองใบ นางสมร ถ้าแก้ว นางวรรณา ชุบศรี นางอรุณ บัวใบ นายบัวคลี่ สงบ นางวันดี ทองใบ นางสาวสมรัก สงบ

9/1 26/2 48/2 33/6 23/7 41/1 46/1 46/4 51/7 46/3 45/1 45/4 33/9 12/1 10 33/4 52 39 33/1 52/1 45/3 46/5 44 25/1 50/6

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๒๐


26 27 28 29 30

นายละเอียด เปรมปรี นางสัมพันธ์ หุ่นดี นายศุภกฤต สุขพรแจ่ม นางประประเสริฐ บัวใบ นางสุรินทร์ ชอบช่าง

50 28/5 26/1 34/1 37/3

***************************************

การถอดบทเรียน ตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “มั่งมีศรีสุข” ของบ้านปากคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางโพธิ์เหนือ ๒๑


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.