หนังสือเล่มแรก

Page 1

หนังสือเล่มแรก B o o k s t a r t

โดย เรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป


หนังสือเล่มแรก Bookstart Thailand เขียน: เรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป ISBN พิมพ์ครั้งแรก จำนวน

978-616-7309-09-5 ตุลาคม 2552 3,000 เล่ม

ออกแบบรูปเล่ม/พิสูจน์อักษร สำนักพิมพ์ปิ่นโต พับลิชชิ่ง (pintobooks@hotmail.com) เบอร์โทรศัพท์/โทรสาร 0 2844 5174 พิมพ์ที่ บริษัท ออฟเซ็ท ครีเอชั่น จำกัด ดำเนินการโดย

โครงการหนังสือเล่มแรกประเทศไทย มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก

สนับสนุนโดย

แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน (สสย.) กองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.)



>> ¤Ó¹Ó นับแต่ปี พ.ศ. 2546 ทีม่ ลู นิธหิ นังสือเพือ่ เด็กได้ศกึ ษาแนวความคิดเรือ่ ง Bookstart จากประเทศอังกฤษทีเ่ ริม่ ใช้หนังสือกับเด็กตัง้ แต่ยงั เป็นทารก แล้วนำ มาทดลองใช้ ในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2547 ด้ ว ยการจั ด ทำชุ ด หนั ง สื อ เล่มแรก Bookstart มอบให้พ่อแม่จำนวน 106 ครอบครัว นำไปใช้กับลูกอายุ 6 – 9 เดือน โดยมีกระบวนการง่าย ๆ คือ ให้อมุ้ ลูกนัง่ ตัก แล้วสือ่ รักด้วยหนังสือ พ่อแม่จะอ่านเมือ่ ไรก็ได้ และอ่านทีไ่ หนก็ได้ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ คือต้องอ่านทุกวัน วันละ 5 – 15 นาที โครงการประสบความสำเร็จอย่างดี นับแต่ปีแรกของการดำเนินงาน จากการศึกษาพบว่า ชุดหนังสือเล่มแรกนอกจากจะทำให้เด็กน้อยในวัย ขวบปีแรกนั้นเรียนรู้ได้มากมายอย่างน่ามหัศจรรย์แล้ว ยังทำให้บรรยากาศ ในบ้านอบอุ่น พ่อแม่ลูกได้ใกล้ชิดกันและมีความสุขร่วมกันมากขึ้น อีกทั้งยัง


พบการเปลี่ ย นแปลงที่ ชั ด เจนในพฤติ ก รรมการเลี้ ย งดู เด็ ก คื อ พ่ อ แม่ แ ละ ผู้เลี้ยงดูเด็กใช้เวลากับเด็ก ร้องเพลง เล่านิทาน และอ่านหนังสือกับเด็กมากขึ้น ทางโครงการเฝ้าดูพฤติกรรมของเด็กกลุ่มนี้มาโดยตลอด 6 ปี ใน 0 – 3 ปีแรก พ่อแม่ใช้หนังสือกับลูกอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอจน ลูกอายุ 3 – 6 ปี ครบวัยเข้าเรียน กระบวนการหนึ่งที่สำคัญในการส่งผ่านเด็ก จากบ้านสู่รั้วโรงเรียนหรือศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คือ การทำความเข้าใจ พร้อมกับ มอบหนังสือภาพสวย ๆ เนื้อเรื่องสนุกสนาน มีชีวิตชีวาให้ครูและผู้ดูแลเด็ก เพื่อให้เห็นความสำคัญและนำหนังสือไปใช้ในการพัฒนาเด็ก แล้วพร้อมที่จะ ต่อยอดในการเล่านิทาน และอ่านหนังสือให้เด็กฟัง กระทั่งครบ 6 ปีของการสร้างกระบวนการและการทำงานในพื้นที่เพื่อ เฝ้าดูพฤติกรรมของเด็กและครอบครัว สิ่งที่ได้ คือ องค์ความรู้ที่ถอดออกมาเป็นรูปแบบการส่งเสริมนิสัย การรักการอ่านในเด็กปฐมวัย 6 เดือน – 6 ปี โดยพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กที่นำเสนอ ถึงเครือ่ งมือ กระบวนการ และผลสำเร็จสำคัญทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละปี แต่ละก้าวอย่าง เป็นขั้นเป็นตอน เพื่อเป็นการยืนยันว่าชุดหนังสือเล่มแรก ถือเป็นการบ่มเพาะ เมล็ดพันธุ์แห่งความสุขและสติปญญา แก่สมาชิกในครอบครัวอย่างได้ผล จึงหวังว่า ความสำเร็จที่เป็นรูปธรรมนี้จะถูกนำไปใช้ในวงกว้างยิ่งขึ้น เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าจะเป็นทางรอดของครอบครัวไทยในการเลี้ยงดู เด็กในสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อสร้างความเข้มแข็งแก่ประเทศไทยต่อไป เรืองศักดิ์ ปนประทีป กรรมการผู้จัดการมูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก ผู้จัดการโครงการหนังสือเล่มแรกประเทศไทย


>> สารบัญ โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart

8

บทนำ

9

โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ประเทศอังกฤษ

10

โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ประเทศญี่ปุ่น

14

โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ประเทศไทย

17

อุ้มลูกนั่งตัก สื่อรักด้วยหนังสือ โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 1

29

ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 1

32

อ่านที่ ไหนก็ได้ อ่านเมื่อไรก็ได้ โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 2

35

ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 2

36

หนังสือ คือ เพื่อน โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 3

37

ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 3

38


หนังสือคือดวงตา ปัญญาคือความสุข โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 4

39

ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 4

40

อ่านหนังสือหลากหลายชนิด เพิ่มสีสันให้ชีวิตงดงาม โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 5

41

ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 5

42

อ่านอย่างมีคุณภาพ โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 6

44

ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ปีที่ 6

46

ข้อเสนอแนะที่ ได้จากการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก

84

บรรณานุกรม

87


â¤Ã§¡ÒÃ˹ѧÊ×ÍàÅ‹Ááá B o o k s t a r t

8

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


>> º·¹Ó

ครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ที่ดำเนินการในประเทศไทย ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2547 ได้แนวคิดมาจากโครงการต้นแบบของประเทศอังกฤษ (Bookstart UK) ซึ่งเริ่มต้นโครงการเมื่อปี พ.ศ. 2535 และโครงการตัวอย่างใน ประเทศญี่ปุน (Bookstart Japan) ซึ่งเริ่มต้นโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 โดย ให้ความสำคัญในการสร้างกระบวนการเรียนรูข้ องเด็กทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 6 – 9 เดือน ด้วยการมุ่งเน้นให้พ่อแม่ทุกคนเห็นความสำคัญของการอ่านหนังสือให้ลูกฟัง รวมทั้งการเลี้ยงลูกด้วยหนังสือตั้งแต่วัยเยาว์ โดยมีเป้าหมายที่จะให้พ่อแม่ลูกมี ความสุขร่วมกันในโลกของหนังสือ นำไปสู่การสร้างพื้นฐานการอ่านและสาน สัมพันธ์ในครอบครัว ตลอดจนส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ด้วยนิสยั รักการอ่าน โดยมีการประสานความร่วมมือระหว่างองค์กรของรัฐและเอกชนทั้งองค์กร ส่วนกลางและองค์กรท้องถิ่น ด้วยความคาดหวังว่า โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart น่าจะเป็นกระบวนการที่สร้าง ความตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูก รวมถึงการอบรมเลี้ยงดูเด็ก การเสริมสร้างพื้นฐานด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม คุณธรรม และสติปัญญา ให้ กับเด็กโดยใช้หนังสือนิทานและบทร้อยกรองเป็นสื่อสำคัญพื้นฐานในการ ให้การศึกษา และส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับเด็ก จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคือ การสร้างความสนุกสนาน และการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใหญ่และเด็ก

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

9


â¤Ã§¡ÒÃ˹ѧÊ×ÍàÅ‹Ááá B o o k s t a r t

»รÐเ·ÈอังกÄÉ

ครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart เริ่มต้นดำเนินกิจกรรมที่เมือง เบอร์มิงแฮม ประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2535 ด้วยความริเริ่มของ Ms. Wendy Cooling โดยกองทุน หนังสือ Book Trust ซึง่ เป็นองค์กรการกุศล ทีม่ จี ดุ มุง่ หมายในการ “นำหนังสือสูค่ น นำคนสูห่ นังสือ” ร่วมมือกับศูนย์บริการ ห้องสมุดแห่งเมืองเบอร์มิงแฮม ศูนย์บริการสาธารณสุขแห่งเมืองเบอร์มิงแฮม ใต้ และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม หนังสือที่ใช้ดำเนินงานได้ จากการบริจาคจากสำนักพิมพ์ โครงการ Bookstart นับเป็นโครงการแห่งชาติ โครงการแรกของโลกทีว่ า่ ด้วยหนังสือสำหรับเด็กทารก โดยมีวตั ถุประสงค์ให้เด็ก ทารกในประเทศอังกฤษทุกคนได้รบั โอกาสและการสนับสนุนให้พฒ ั นาความรูส้ กึ

10

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


รักหนังสือและการอ่านไปตลอดชีวิต โดยความร่วมมือกับองค์กรท้องถิ่นด้วย การจัดสรรและส่งเสริมให้พ่อแม่อ่านหนังสือให้ลูกฟังตั้งแต่อายุ 6 – 9 เดือน โดยเริ่มทดลองโครงการกับครอบครัว จำนวน 300 ครอบครัว

จุดมุ่งหมายของโครงการ Bookstart ประเทศอังกฤษ

1. จัดหาสื่อเพื่อให้พ่อแม่ได้ใช้กับลูก 2. สนับสนุนและส่งเสริมนิสัยรักการอ่านหนังสือกับลูก 3. ส่งเสริมการใช้หนังสือเพื่อเป็นพื้นฐานในการรู้หนังสือ 4. ส่งเสริมให้พ่อแม่และเด็กสนุกสนาน เพลิดเพลินกับหนังสือที่จัดให้

กระบวนการโครงการ Bookstart ในประเทศอังกฤษ

1. แจกถุง Bookstart เมื่อพ่อแม่พาลูกอายุ 6 – 9 เดือนมาตรวจสุขภาพ ที่สถานีอนามัย ในถุง Bookstart นี้ประกอบด้วย 1.1 หนังสือสำหรับเด็กที่ได้รับการคัดสรรแล้ว 2 เล่ม 1.2 หนังสือแนะนำพ่อแม่ด้วยภาพเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยหนังสือ 1.3 ของชำร่วยสำหรับเด็ก เช่น ผ้ารองจานหรือผ้ากันน้ำลาย 1.4 แผนที่แนะนำห้องสมุดในละแวกบ้าน 1.5 บัตรสมาชิกห้องสมุดสำหรับเด็ก 1.6 รายชื่อหนังสือดีสำหรับเด็ก 1.7 รายชื่อศูนย์สนับสนุนพ่อแม่ในเรื่องการเลี้ยงลูก 2. พ่อแม่ทุกคนจะได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่อาสาสมัครของโครงการ เป็นรายตัว เพื่อให้เข้าใจถึงความสำคัญของการอ่านหนังสือให้ลูกฟัง

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

11


ในการดำเนินงานโครงการ Bookstart ประเทศอังกฤษครั้งนี้ ทางกองทุน หนังสือ Book Trust ได้ทำการวิจยั เกีย่ วกับ บทบาทของพ่อแม่ในการใช้หนังสือกับลูก ซึ่ ง ผลการวิ จั ย นี้ ตี พิ ม พ์ อ ยู่ ใ นรายงาน Book Trust Report ฉบับที่ 2 (Wade & Moore:1993) ผลจากการวิจัยพบว่า ทั้งพ่อแม่ ผู้ปกครอง และนักวิชาการพอใจกับ โครงการนี้มากเพราะโครงการนี้ ก่อให้เกิดผล ดังต่อไปนี้ 1. มีความตระหนักในความสำคัญของหนังสือมากขึ้น 2. มีการอ่านหนังสือให้เด็กฟังและใช้หนังสือกับเด็กมากขึ้น 3. มีการซื้อหนังสือมากขึ้น 4. มีสมาชิกชมรมการอ่านหนังสือมากขึ้น 5. นอกจากนี้ยังทำให้เด็กวัยทารกเป็นสมาชิกของห้องสมุดมากขึ้น จากการติดตามครอบครัวทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมในโครงการ พบว่าเด็ก ๆ ใน โครงการมีความสามารถในการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณสูงกว่าเด็ก ทัว่ ไปอย่างเด่นชัดเมือ่ เข้าเรียนในระดับประถม นอกจากนีก้ ารวิจยั ยังพบว่าเด็กที่ ได้รบั ฟังการอ่านหนังสือภาพตัง้ แต่วยั ทารก แสดงความสนใจในการอ่านสูงกว่า เด็กนอกโครงการถึง 3 เท่า หลังจากได้รับหนังสือเล่มแรกเป็นเวลา 2 ปี ยิ่งกว่านั้น โครงการนี้ยังช่วยสานสายใยรักในครอบครัวทำให้พ่อแม่ลูกมีความ สัมพันธ์กนั แนบแน่นอบอุน่ ยิง่ ขึน้ เพราะการเลีย้ งลูกด้วยหนังสือไม่ได้มเี ป้าหมาย เพือ่ การสอนให้ลกู อ่านหนังสือออก แต่จดุ ประสงค์ทสี่ ำคัญทีส่ ดุ คือให้พอ่ แม่ลกู มี ความสุขกับหนังสือร่วมกัน

12

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ใ น ก า ร ด ำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร B o o k s t a r t ในประเทศอังกฤษ

ในปี พ.ศ. 2535 เริ่มต้นดำเนินงานกับเด็กจำนวน 300 คน ในปี พ.ศ. 2546 ขยายผลการดำเนินงานครอบคลุมเด็กจำนวน 675,000 คน โครงการ Bookstart ในประเทศอังกฤษ แจกหนังสือไปแล้วจำนวน 2,601,000 เล่ม โดยมีห้องสมุด 5,000 แห่ง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 12,000 คน และสำนักพิมพ์ 14 แห่ง ทำงานร่วมกัน โดยโครงการ Bookstart ในประเทศ อังกฤษได้รบั งบประมาณสนับสนุนจากทัง้ หน่วยงานของรัฐบาลและบริษทั เอกชน ประเทศอังกฤษจึงถือเป็นต้นแบบโครงการ Bookstart ที่ความคิดได้ ถูกนำไปขยายผลจนปจจุบันมีประเทศที่มีความสนใจและดำเนินงานโครงการ นี้กว่า 20 ประเทศทั่วโลก เช่น ญี่ปุน ไทย เกาหลี ไต้หวัน โคลัมเบีย เป็นต้น

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

13


â¤Ã§¡ÒÃ˹ѧÊ×ÍàÅ‹Ááá B o o k s t a r t

»รÐเ·ÈญÕ ่ » Ø ่ น

ปี

พ.ศ. 2543 ประเทศญีป่ นุ ประกาศให้เป็น “ปีแห่งการอ่านของเด็ก” ได้มีการนำโครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart จากประเทศ อังกฤษมาเผยแพร่ในญี่ปุน โดยมี Bookstart Center เป็นผู้ดำเนินการหลัก ด้วยหลักการและเหตุผล คือ “ภาษามีความสำคัญต่อการหล่อเลี้ยงจิตใจเด็ก เด็กเล็กต้องการอ้อมกอดอันอบอุ่น และเสียงพูดคุยอย่างอ่อนโยน” โดยมี หนังสือภาพเป็นสื่อกลาง หลังจากการเดินทางไปศึกษาดูงานโครงการหนังสือ เล่มแรกในประเทศอังกฤษเมือ่ ปี พ.ศ. 2543 ประเทศญีป่ นุ จึงเริม่ โครงการทดลอง และวิจยั ประเมินผลทันที ซึง่ การดำเนินงานเบือ้ งต้น สำนักพิมพ์ตา่ ง ๆ ได้ให้การ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในด้านบุคลากรเพื่อการดำเนินงาน

14

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


เมื่อโครงการนี้ปรากฏเป็นข่าวในสื่อมวลชน ได้รับความสนใจจากองค์กร บริหารส่วนท้องถิน่ ในเขตต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว รูปแบบการดำเนินงานของโครงการ หนังสือเล่มแรก Bookstart ในประเทศญี่ปุนแตกต่างกันไปตามความเหมาะสม ของแต่ละท้องถิน่ อย่างไรก็ตาม รูปแบบและขัน้ ตอนการดำเนินงานโดยส่วนใหญ่ มีดังนี้ 1. ก่อตั้งคณะทำงาน โดยเริ่มจากกลุ่มผู้สนใจ 2. ศึกษาดูงานและปรึกษาหารือกับ Non Profit Organization Bookstart Center 3. กำหนดรูปแบบโครงการ - ผู้รับผิดชอบโครงการคือใคร เช่น ห้องสมุด ศูนย์อนามัย - งบประมาณจากไหน เช่น จากองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น จาก ห้องสมุด - กลุ่มเป้าหมายอายุเท่าใด เช่น เด็กอายุ 3 เดือน - ระยะเวลาปฏิบัติงาน เช่น พบพ่อแม่ลูกเดือนละครั้ง - องค์กรเครือข่าย เช่น ห้องสมุด ศูนย์อนามัย องค์การบริหารส่วน ท้องถิ่น อาสาสมัคร ฯลฯ 4. กำหนดรูปแบบการดำเนินงานในวันปฏิบัติงาน 5. กำหนดรูปแบบการติดตามประเมินผล

หลักสำคัญ 5 ประการของโครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ประเทศญี่ปุ่น 1. สนับสนุนให้พ่อแม่ลูกมีความสุขร่วมกัน 2. เป็นโครงการเพื่อเด็กทุกคน 3. มอบหนังสือภาพ

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

15


4. เป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือในชุมชน 5. มิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อกิจกรรมทางการเมือง การทดลองดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ในญี่ปุน เริ่มต้นครั้งแรกที่เขตสุงินามิ (Suginami) ใน กรุงโตเกียวในปี พ.ศ. 2544 โดยได้รับความ ร่วมมือจากศูนย์อนามัย ห้องสมุด และหน่วยงาน สนั บ สนุ นการเลี้ ย งดู เด็ ก โดย 3 องค์ ก รนี้ ร่วมกันแจกถุงหนังสือเล่มแรก Bookstart ให้ แก่พ่อแม่ที่พาลูกมาตรวจสุขภาพในช่วงอายุ 4 เดือน การนี้ได้เริ่มดำเนินการกับพ่อแม่และเด็กจำนวน 200 ครอบครัวเป็น เบื้องต้น ต่อมาองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น เมืองเอนิวะ (Eniwa) ที่ฮ็อกไกโด ได้นำโครงการนี้ไปทดลองและพบว่าเด็กเล็ก ๆ ชอบหนังสือมากจึงลงมติใช้งบ ประมาณปี พ.ศ. 2544 ดำเนินโครงการนี้อย่างจริงจัง ในขณะนี้มีองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่นของประเทศญี่ปุนกว่า 500 แห่ง กำลังดำเนินโครงการนี้ในชุมชนของตนเนื่องจากเห็นความสำคัญและประโยชน์ ที่ชุมชนจะได้รับ โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart กำลังแพร่ขยายไปอย่างรวดเร็ว ในประเทศญี่ปุน

16

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


â¤Ã§¡ÒÃ˹ѧÊ×ÍàÅ‹Ááá B o o k s t a r t

»รÐเ·Èä·Â

ครงการ Bookstart ที่ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี, ประธานมูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก ได้ตั้งชื่อเป็น ภาษาไทยว่า โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart เริ่มต้นในประเทศไทยโดย มูลนิธหิ นังสือเพือ่ เด็ก ในปี พ.ศ. 2546 ซึง่ เป็นปีทร่ี ฐั บาลโดยกระทรวงศึกษาธิการประกาศให้เป็น ปีแห่งการอ่าน และภาคเอกชนโดยสมาคมผู้จัดพิมพ์และ ผูจ้ ำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย เริม่ ดำเนินการโครงการรวมพลัง รักการอ่าน ในปี พ.ศ. 2547 โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart เริ่มเปิดพื้นที่ ดำเนินการในประเทศไทยโดยสโมสรไลอ้อนส์นครหลวงกรุงเทพสนับสนุนงบ ประมาณในการจัดทำชุดถุงหนังสือเล่มแรก และสำนักงานเลขาธิการสภาการโ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

17


ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการวิจยั โดยเริม่ ดำเนินงานกับกลุ่มพ่อแม่ที่มีลูกอายุ 6 – 9 เดือน จำนวน 106 คน การทำงาน ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากองค์กรในพื้นที่ทั้งโรงพยาบาล องค์กรพัฒนา เอกชนด้านเด็กในรูปแบบสถานสงเคราะห์ บ้านเลี้ยงเด็กและศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กในชุมชนแออัด และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสถาบันการศึกษา

กระบวนการในการดำเนินงาน โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart, ประเทศไทย

กระบวนการในการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart ประเทศไทย ตัง้ แต่ปแี รก พ.ศ. 2547 จนถึงปีที่ 6 พ.ศ. 2552 เป็นกระบวนการใน การสร้างความเข้าใจให้พ่อแม่และผู้เลี้ยงดูเด็ก ให้นำชุดหนังสือเล่มแรกที่มีการ คัดสรรอย่างเหมาะสมกับวัยของเด็กในแต่ละขวบปีไปใช้เป็นเครื่องมือในการ สร้างความรักความอบอุน่ และสร้างความสัมพันธ์ทด่ี ใี นครอบครัวอย่างต่อเนือ่ ง ไปพร้อม ๆ กับการพัฒนาสมองของเด็กวัย 0 – 6 ปีที่ดูเหมือนเป็นเรื่องยาก เพราะพ่อแม่หลายคนล้วนมีคำถามค้างคาใจในการใช้หนังสือกับเด็กตัง้ แต่ปแี รก ของการดำเนินงาน ซึ่งเข้าใจว่าเล็กเกินกว่าที่จะคิดได้ว่าจะใช้หนังสือได้ แต่กระบวนการทำงานตลอด 6 ปีที่ผ่านมาที่มีการทำงานอย่างเป็น ขัน้ ตอน วิธกี ารสือ่ สารทีง่ า่ ย ตรงไปตรงมา ไม่ซบั ซ้อน จึงทำให้พอ่ แม่เหล่านีค้ ลาย ความกังวลใจเพราะทุกคำถามล้วนมีคำตอบอย่างเป็นรูปธรรม ตลอด 6 ปีในการทำงาน กระบวนการสำคัญที่โครงการดำเนินการอย่าง ต่อเนื่องกระทั่งทำให้โครงการประสบความสำเร็จอย่างดียิ่ง คือ

18

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


1. ร่วมคิด ร่วมคน ร่วมคลัง เป็นแนวทางในการทำงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการและ อย่างเหมาะสมกับวัฒนธรรมขององค์กรในแต่ละพื้นที่ที่มีลักษณะขององค์กร และบุคลิกของคนทำงานที่ต่างกัน 2. การคัดเลือกพื้นที่ดำเนินงานและกลุ่มเปาหมาย เลือกจากองค์กรที่มีใจ มีความพร้อม และมีความเชื่อเรื่องการใช้หนังสือ ในการพัฒนาเด็กตั้งแต่ยังเป็นทารกตามแนวคิดของโครงการหนังสือเล่มแรก และต้องเป็นองค์กรที่มีการจัดระบบให้รองรับภารกิจใหม่ ให้เป็นภารกิจหลักอีก อย่างหนึ่งที่เพิ่มจากภารกิจหลัก 3. การศึกษาวัฒนธรรมองค์กรภาคี การรู้เขา รู้เรา ถือเป็นเรื่องสำคัญสำหรับการทำงานร่วมกันขององค์กร ที่มีวัฒนธรรมองค์กร และเป้าหมายเฉพาะตนที่ต่างกันที่ต้องมาทำงานร่วมกัน 4. การประชุมคนทำงาน ถือเป็นการโยนหินถามใจคนทำงานในแต่ละพื้นที่ว่าพร้อมหรือไม่ พร้อม แค่ไหน และจะทำอย่างไรให้มีความพร้อมมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในเงื่อนไขและ ข้อจำกัดของทั้งโครงการและหน่วยงานของตน 5. การอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มคนทำงานในพื้นที่ดำเนินงาน การพัฒนาคนทำงานเป็นขั้นตอนที่สำคัญในการทำงาน ดังนั้นจึงได้มี การพัฒนาคนทำงานในทุกระดับอย่างเป็นขั้นเป็นตอน และอย่างเรียบง่าย ไม่สลับซับซ้อน 6. การคัดสรรหนังสือ กรรมการมูลนิธหิ นังสือเพือ่ เด็ก ผูเ้ ชีย่ วชาญ ทีป่ รึกษา เจ้าหน้าที่ และอาสา สมัครของโครงการหนังสือเล่มแรก มีกระบวนการในการคัดสรรหนังสือร่วมกัน โดยเลือกจากหนังสือที่พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู และเด็กในพื้นที่การจัดกิจกรรม

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

19


ส่งเสริมการอ่านของมูลนิธิหนังสือเพื่อเด็กชอบ และหนังสือที่ได้รับการคัดสรร จากสถาบันต่าง ๆ 7. การอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มพ่อแม่และผู้เลี้ยงดูเด็ก เป็นกระบวนการเพิ่มพูนองค์ความรู้แก่พ่อแม่และผู้เลี้ยงดูเด็กเพื่อให้ได้ รับองค์ความรู้ใหม่ ๆ ในการเลี้ยงดูเด็กวัย 0 – 6 ปีมากขึ้น 8. การมอบชุดหนังสือเล่มแรก เป็นการทำความเข้าใจกับพ่อแม่ถึงที่มาของโครงการและความสำคัญ ของการใช้หนังสือกับลูกตั้งแต่อายุ 6 – 9 เดือน โดยกระบวนการแนะนำในกลุ่ม ใหญ่พร้อมกันและแนะนำเป็นรายคนอีกครั้งหนึ่ง 9. การจัดตั้งห้องสมุดฉบับกระเป๋า หนังสือถูกคัดสรรอย่างรอบคอบเพื่อนำมาให้พ่อแม่ได้นำไปใช้กับลูก เพื่อ สร้างความอบอุ่นและความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว ไปพร้อม ๆ กับการ ปลูกฝังสิ่งที่ดีงาม 10. การเยี่ยมบ้าน เป็นอีกขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญ เพราะเป็นโอกาสที่ดีสำหรับคนทำงานที่จะได้ สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและครอบครัวในกลุ่มเป้าหมายไปพร้อม ๆ กับการ ได้สังเกตและเฝ้ามองพฤติกรรมของพ่อแม่ในการใช้หนังสือกับเด็ก อีกทั้งยัง เป็นโอกาสที่ดีในการแนะนำเรื่องอื่น ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ในแต่ละปีมีการเยี่ยมบ้าน 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 หลังจากรับถุงหนังสือ เล่มแรก 6 สัปดาห์ และครั้งที่ 2 หลังจากการเยี่ยมบ้านครั้งที่ 1 แล้ว 8 สัปดาห์ 11. การรณรงค์สู่สาธารณะ การรณรงค์สู่สาธารณะ เป็นการประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้และ กระบวนการของโครงการหนังสือเล่มแรกให้ประชาชนได้รับทราบ 12. การผลักดันเชิงนโยบาย

20

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


การคัดสรรหนังสือ

เด็กปฐมวัย 0 – 6 ปี ไม่สามารถอ่านหนังสือได้เอง ดังนัน้ พ่อแม่หรือผูเ้ ลีย้ ง ดูเด็กและผู้ใหญ่ในบ้าน จึงต้องเป็นผู้อ่านให้ฟัง หนังสือจึงเป็นเหมือนสื่อกลางที่ ทำให้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเด็กและผู้ใหญ่ในบ้านได้ใกล้ชิดกับเด็ก ได้พูดคุยกับเด็ก ได้เล่นกับเด็ก และได้เฝ้าดูพัฒนาการของเด็กอย่างใกล้ชิดโดยใช้หนังสือเป็น เครื่องมือ การคัดเลือกหนังสือชุด ห้องสมุดฉบับกระเปา โครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก เพี่อให้พ่อแม่ได้นำไปใช้กับเด็กนั้นจึงต้องมี ความเหมาะสม เพือ่ สนองตอบต่อความต้องการในแต่ละด้านของเด็กในวัยนัน้ ๆ ได้อย่างลงตัว ทั้งทางร่างกายและจิตใจ

กระบวนการสำคัญในการคัดสรรหนังสือสำหรับเด็กในโครงการ คือ 1. หนังสือที่ได้รับการคัดสรรจากสถาบันต่าง ๆ เช่น - คณะกรรมการคัดสรรหนังสือดีแห่งชาติ - คณะกรรมการโครงการคัดสรรหนังสือดีสำหรับเด็กและเยาวชน - รักลูกอวอร์ด - นายอินทร์อวอร์ด - หนังสือที่ได้รับการเสนอให้เป็นหนังสือเชิงคุณธรรมน่าอ่าน - อื่น ๆ 2. หนังสือยอดนิยมของเด็กในโครงการลับสมองประลองปัญญา สรรหา หนูน้อยนักเล่านิทาน 3. หนังสือยอดนิยมของเด็กในโครงการห้องสมุดเด็ก ห้องสมุดครอบครัว และห้องสมุดเคลื่อนที่ของมูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก 4. หนังสือนิทานอมตะทั้งนิทานไทยและนิทานต่างประเทศ

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

21


5. หนังสือที่พ่อแม่รู้จักนักเขียน 6. หนังสือทีค่ ดั เลือกและนำมาใช้ในโครงการจึงมีลกั ษณะทีเ่ ด่นชัดในหลาย ประการ ได้แก่

เนื้อหา

เป็นเนือ้ หาทีช่ ดั เจน ดึงความสนใจของเด็กได้ดว้ ยความสนุกสนานในความ คิดทีแ่ ปลกใหม่กบั สิง่ ใหม่ ๆ ในชีวติ เด็ก กระทบต่อความรูส้ กึ และอารมณ์ของเด็ก และเนื้ อ หาที่ ก ระตุ้ น สติ ปั ญ ญาของเด็ ก บนพื้ นฐานความเชื่ อ และความคิ ด ของแต่ละวัฒนธรรม ซึ่งเนื้อหาที่ “โดนใจ” เด็กวัย 1 – 6 ปี เช่น คนตัวเล็ก ช่วยคนตัวใหญ่ ความน่ารักในพฤติกรรมของตัวละครที่เป็นสัตว์ และความ สนุกสนานที่เหลือเชื่อ

แก่นของเรื่อง

เป็นการให้ความรู้และนำเสนอแนวทางในการปฏิบัติที่ดีงามที่นำเสนอ อย่างตรงไปตรงมา ไม่ซับซ้อน เข้าใจได้ง่าย

การนำเสนอเรื่อง

มีการเปิดเรื่อง เปิดปม เปิดประเด็นที่น่าติดตาม เพื่อคลี่คลายและแก้ไข ปัญหา จนถึงบทสรุปถึงความสำเร็จในการคลีค่ ลายและแก้ไขปัญหาของตัวละคร แต่ละตัว เหล่านีต้ อ้ งอยูใ่ นกระบวนการใช้ภาษาทีง่ า่ ย ๆ ซ้ำ ๆ ย้ำ ๆ ทวนบ่อย ๆ สื่อสารตรงไปตรงมา กระชับ ได้ใจความและความหมาย แต่มีการใช้ภาษาที่ สละสลวยสวยงาม

22

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


บุคลิกภาพของตัวละคร

สนุกสนาน สร้างความประทับใจให้แก่เด็กตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ มีคุณค่า และมีความหมาย เช่น ตัวละครของนิทานอีสป ที่ใช้สุนัขจิ้งจอกเป็นตัวแทน ของคนเจ้าเล่ห์เพทุบาย กระต่ายเป็นตัวแทนของความซื่อใสสะอาด สิงโตเป็น ตัวแทนของคนที่เย่อหยิ่ง ทระนง

ภาพประกอบ

สดใส สวยงาม สะอาดสะอ้าน ต้องมีความชัดเจน สามารถเล่าเรื่องได้ อย่างดี และเปลี่ยนไปตามเนื้อหาอย่างน่าเชื่อถือและตรงกับความเป็นจริง

ตัวอักษร

ตัวอักษรต้องมีขนาดใหญ่ เส้นหนาเหมาะกับสายตาเด็กเล็ก เป็นอักษร ที่เป็นปกติ ไม่เล่นหาง ไร้หัว

รูปเล่ม

มีความสำคัญทั้งในแง่ของความงาม ศิลปะ ภาพ ขนาด รวมถึงการใช้ และการเก็บรักษาปกหนังสือ จึงถือเป็นหน้าต่างที่จะทำให้เด็กสนใจด้วยสีสันที่ สดใส ดึงดูดใจในความงาม ประณีตประดิษฐ์

การเตรียมตัวในการอ่านหนังสือกับเด็ก

เตรียมภาวะอารมณ์ การใช้เวลากับลูกไม่ว่าจะอ่านหนังสือหรือทำอะไรกับลูกก็ตาม พ่อแม่ ต้องผ่อนคลาย พ่อแม่จะได้เล่น อ่านหนังสือ หรือทำอะไร ๆ กับลูกอย่าง ปลอดโปร่ง

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

23


เตรียมเวลา พ่อแม่ตอ้ งจัดสรรเวลาและตารางชีวติ ของตัวเองให้ลงตัว เพือ่ จะได้มเี วลา อยู่กับลูกได้อย่างมีคุณภาพ ต้องตกลงกันให้ลงตัวว่าเวลาใดเป็นเวลาระหว่าง พ่อกับลูก เวลาใดเป็นเวลาระหว่างแม่กับลูก และเวลาใดเป็นเวลาของพ่อแม่ลูก เตรียมความรู้ การเลี้ยงลูกในปัจจุบันนี้ มีความรักอย่างเดียวไม่เพียงพอ พ่อแม่ต้องมี ความรู้ในการเลี้ยงดูลูกด้วย พ่อแม่ต้องรู้บ้างว่านิทานเรื่องใดที่สนุก เพลงใดที่ จะทำให้ลูกสนใจและเคลื่อนไหวตามอย่างมีความสุข จะได้นำมาใช้กับลูก เตรียมเสียง เมื่ออ่านหนังสือให้ลูกฟัง พ่อแม่ต้องอ่านออกเสียงให้ชัดเจนไปพร้อม ๆ กับทำสุม้ เสียงทีม่ ลี ลี า เสียงสูง ๆ ต่ำ ๆ ทำเสียงเล็ก เสียงน้อยให้ลกู สนุกสนาน และคล้อยอารมณ์ตาม เตรียมท่าทาง พ่อแม่ต้องเตรียมท่าทางที่เหมาะสมตามบุคลิกตัวละครในเนื้อเรื่องจาก หนังสือ ดังนั้นในการอ่านหนังสือให้ลูกฟัง พ่อแม่อาจใช้มือไม้ แข้งขา หูตา หน้าหัว ประกอบการเล่าให้สัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง เตรียมสายตา ในระหว่างการอ่านหนังสือกับลูก พ่อแม่ต้องประสานสายตากับลูกเพื่อ ให้ลกู ได้รบั รูถ้ งึ ความรัก ความอบอุน่ ความปลอดภัย ไปพร้อม ๆ กับความสนุกสนาน การเรียนรู้ และการเกิดความรู้สึกร่วมกับพ่อแม่ที่กำลังอ่านหนังสือให้ฟัง

24

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


วิธีการให้พ่อแม่ลูกสนุกกับโลกหนังสือ

- พูดคุยกับลูกถึงรายละเอียดของภาพในหน้าปกหนังสือ อธิบายส่วน ประกอบของภาพเพื่อให้ลูกได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ที่มีอยู่ในภาพ - อ่านแบบมีอารมณ์ร่วม ด้วยการทำน้ำเสียงให้เหมาะสมกับอารมณ์ ของคำในเนื้อเรื่อง - คำนึงถึงช่วงระยะเวลาในการอ่าน เพราะลูกอาจจะเกิดความเบือ่ หน่ายกับ การใช้เวลาในการอ่านนานเกินไป - ไม่ควรมีการแบ่งอ่าน เช่น วันนี้อ่านให้ฟังเพียงครึ่งเรื่อง ที่เหลือคอย ติดตามในวันรุ่งขึ้น - ต้องสดชื่น กระตือรือร้น เพื่อกระตุ้นเร้าให้ลูกมีความรู้สึกร่วม - หลังจากการอ่านหนังสือให้ลูกฟัง พ่อแม่ควรหากิจกรรมมาทำกับลูก อย่างหลากหลาย ลูกจะได้ไม่เบื่อกับการฟัง

เทคนิคการอ่านหนังสือกับลูก

3.1 อ่านตามต้นฉบับ การเล่านิทานตามต้นฉบับ เป็นวิธกี ารทีง่ า่ ยทีส่ ดุ แต่สงิ่ ทีค่ วรให้ความสนใจ คือ เล่าอย่างไรให้กระทบความรู้สึกด้านใดด้านหนึ่งของเด็ก ไม่ว่าจะเป็นความ บันเทิงใจ ความสนุกสนานตื่นเต้นเร้าใจ ความรัก ความโศกเศร้า ความสุขใจ ความเสียใจ รวมถึงการปลุกความคิด จิตสำนึกให้เกิดสิ่งดี ๆ ในชีวิต อาจมีการ สร้างอรรถรสในการเล่ามากขึ้น ด้วยการเพิ่มคำสนุก ๆ เข้าไป จะทำให้เกิด ความสนุกสนานยิ่งขึ้น 3.2 อ่านโดยใช้อุปกรณ์ประกอบ ในขณะทีเ่ ล่านิทานให้เด็กฟัง อาจใช้วธิ กี ารนำตุก๊ ตาช้างผ้าหรือตุก๊ ตาอืน่ ๆ รวมทั้งถุงมือ หุ่นมือ หุ่นกระดาษ และการพับ การวาด การระบายสีมาเป็น

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

25


องค์ประกอบในการเล่าเพื่อเร้าความสนใจและต่อยอดความคิดของเด็ก คือการ เล่านิทานโดยการใช้ร่างกายเป็นส่วนประกอบการเล่า เช่น ทำมือเป็นหมา ไก่ เป็ด งู และอื่น ๆ อีกมากมาย 3.3 อ่านไปคุยไป พ่อแม่ ครู หรือพี่เลี้ยงหลายคนใช้หนังสือหรือนิทานเป็นช่องทางในการ พูดคุยเพื่อต่อยอดความคิดและสอนสิ่งที่ดีงามให้แก่ลูกนอกเหนือจากเนื้อหาที่ ปรากฏอยู่ในนิทาน โดยในระหว่างการเล่านิทานนั้นพ่อแม่หลายคนโยงเรื่องราว ในนิทานสู่การพูดคุยกับลูก โยงพฤติกรรมของตัวละครสู่พฤติกรรมของลูก แล้ว ใช้เรื่องราวของตัวละครที่มีสีสันปลูกฝังสิ่งที่ดีงามและพฤติกรรมที่เหมาะสมให้ แก่ลูก 3.4 อ่านไปเล่นไป พ่อแม่ ครู หรือพี่เลี้ยงอาจใช้นิทานเป็นการนำเข้าสู่การเล่นกับเด็ก ทำให้ การเล่านิทานสนุกสนานมากยิ่งขึ้น เพราะการฟังเรื่องราวสลับกับการเล่นตาม ตัวละครทำให้เด็กไม่เบื่อ เช่น เมื่อเล่าเรื่องพ่อหมีเล่นโยกเยกกับลูกหมี ก็ชวน เด็กเล่นโยกเยก โยกเยกเอย กระต่ายลอยคอ

น้ำท่วมเมฆ หมาหางงอ กอดคอโยกเยก

3.5 อ่านไปร้องไป การเตรียมความพร้อมของเด็กให้เกิดความสนใจและมีสมาธิในการฟัง นิทาน วิธีหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ได้และเกิดผลเป็นอย่างดี คือ การร้องเพลง เช่น เมื่อจะเล่านิทานที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับช้าง ก็ชวนเด็กร้องเพลง

26

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


เพลงช้าง

ช้าง ช้าง ช้าง ช้าง ช้าง น้องเคยเห็นช้างหรือเปล่า ช้างมันตัวโตไม่เบา จมูกยาว ยาว เรียกว่างวง สองเขี้ยวใต้งวงเรียกว่างา มีหูมีตาหางยาว

เพลงม้า

ม้าวิ่ง กับ กับ เดี๋ยวเดียวลับตาเราไป ม้าวิ่งเร็วไว เร็วทันใจควบกับ กับ กับ ม้าวิ่งเร็วรี่ ดูซีหายไป ม้าวิ่งเร็วไว เร็วทันใจควบกับ กับ กับ 3.6 อ่านไปพับไป ผู้ที่มีความสามารถในด้านการพับกระดาษ สามารถใช้ทักษะการพับ กระดาษนี้มาสร้างความน่าสนใจในการเล่านิทานให้เด็กฟังมากยิ่งขึ้น โดยเมื่อ เล่านิทานจบแล้วนำเด็กช่วยกันพับกระดาษเป็นตัวละครในเรื่องที่เล่า เช่น เรื่องเจ้าชายกบ ก็สอนเด็กพับกระดาษเป็นตัวกบ หรือพับเป็นมงกุฎเจ้าหญิง ซึง่ เมือ่ ทำเสร็จแล้วสามารถนำมาเป็นอุปกรณ์ประกอบการเล่านิทานในครัง้ ต่อไป ได้อีกด้วย

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

27


3.7 อ่านไปวาดไป ผู้ที่มีความสามารถในด้านการวาดภาพ สามารถใช้ทักษะการวาดภาพนี้ มาสร้างความน่าสนใจในการเล่านิทานให้เด็กฟังมากยิ่งขึ้นได้เช่นกัน โดยขณะที่ เล่านิทานก็วาดภาพตัวละครและองค์ประกอบอื่น ๆ ไปพร้อม ๆ กัน อีกทั้งยัง สามารถชวนเด็กให้ช่วยกันวาดหรือระบายสีได้อีกด้วย

กระบวนการในการใช้หนังสือกับเด็ก

1. จัดมุมหนึง่ ในบ้านทีเ่ ป็นมุมสบาย ๆ ให้เป็นมุมหนังสือ เพือ่ วางหรือแขวน ถุงหนังสือให้เป็นทีเ่ ป็นทาง ลูกจะได้เรียนรูว้ า่ เมือ่ ใดทีต่ อ้ งการหนังสือจะมาหยิบ จากมุมนี้ 2. จัดบรรยากาศในบ้านให้เอือ้ ต่อการอ่านหนังสือร่วมกันของพ่อ แม่ ลูก เช่น ปิดโทรทัศน์แล้วเปิดหนังสือทุกวันหลังอาหาร 3 มื้อ 3. สร้างช่วงเวลาที่ชื่นชอบของครอบครัวให้เป็นเวลาที่พ่อแม่ได้อุ้มลูก นั่งตัก แล้วสื่อรักด้วยหนังสือ และทำอย่างสม่ำเสมอ โดยให้ลูกมีส่วนร่วมด้วย การช่วยเปิดหนังสือ ลูกจะได้สงั เกตและจำว่าการเปิดหนังสือจะพลิกจากขวาไปซ้าย 4. อ่านหนังสือให้ลูกฟังเป็นประจำ อ่านเมื่อไรก็ได้ อ่านที่ไหนก็ได้ อ่านได้ ทุกเวลาในทุกสถานที่อย่างไม่จำกัด โดยใช้นิ้วชี้ตามคำที่อ่าน ให้ลูกสังเกตเห็น ว่าการอ่านนั้นเริ่มต้นจากซ้ายไปจบที่ด้านขวา 5. อ่านออกเสียงสูง ๆ ต่ำ ๆ ทำเสียงเล็กเสียงน้อยเพื่อกระตุ้นให้ลูก เกิดความสนใจ พร้อมชี้ชวนให้เด็กดูภาพ กอด สัมผัส หยอกเย้า และเคลื่อนไหว ร่างกายไปด้วย 6. ในกรณีทอี่ า่ นหนังสือไม่ออก หรืออ่านหนังสือไม่คล่อง ให้ใช้ภาพในหนังสือ เป็นประเด็นในการพูดคุย ชี้ชวน และสอนลูก 7. พ่อแม่ตอ้ งใส่ใจและแสดงการตอบรับทุกครัง้ ทีล่ กู แสดงความต้องการหนังสือ 8. อ่านทุกวัน วันละ 5 – 15 นาที

28

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


อุ้มลูกนั่งตัก สื่อรักด้วยหนังสือ â¤Ã§¡ÒÃ˹ѧÊ×ÍàÅ‹Ááá B o o k s t a r t

ปีที่ 1

กระบวนการในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี กลุ่มเป‡าหมาย พื้นที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพที่ 4 จังหวัดราชบุรี โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย จังหวัดเลย ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รังสิต จังหวัดปทุมธานี สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล จังหวัดนครปฐม บ้านศรีนครินทร์ มูลนิธิเด็กอ่อนในสลัมฯ กรุงเทพฯ บ้านเสือใหญ่ มูลนิธิเด็กอ่อนในสลัมฯ กรุงเทพฯ บ้านทานตะวัน มูลนิธิเด็กจังหวัดนครปฐม รวมทั้งสิ้น

จำนวนเด็ก (คน) 25 27 6 7 10 13 18 106

ด้วยความต้องการพื้นฐานของเด็กในขวบปีแรก ที่ต้องการความรัก ความเข้าใจ ความอบอุ่น และการมีปฏิสัมพันธ์จากคนรอบข้างและบริบท รอบตัว ที่เอื้ออาทร เอื้อเฟอเกื้อกูล หนังสือจึงเป็นเครื่องมือที่พ่อแม่สามารถ


นำมาใช้เป็นช่องทางในการหล่อเลี้ยง และสร้างเด็กในวัยนี้ให้เกิดความไว้วางใจ คนรอบข้างและสังคมรอบตัวเมื่อเติบใหญ่ในวันข้างหน้า การทำเช่นนี้จะทำให้ เด็กเกิดความสัมพันธ์ที่แนบแน่นและหวงแหนความรัก ความอบอุ่นที่เคยได้รับ ส่งผลให้มีการใช้ชีวิตอย่างระมัดระวังเพื่อไม่ให้กระทบกับความสัมพันธ์ที่ดี ที่สร้างไว้กับพ่อแม่และคนรอบข้างตั้งแต่วัยขวบปีแรก

ชุดเครื่องมือในปีที่ 1 : หนังสือสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ประกอบด้วย 1. หนังสือสำหรับพ่อแม่

2. หนังสือสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี

30

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


3. ตุกตาช้างทำด้วยผ้า มีเสียงกรุงกริ๋ง

4. ซีดีบรรจุภาพเคลื่อนไหว นำเสนอกระบวนการในการใช้หนังสือ กับเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

31


ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก B o o k s t a r t ปีที่ 1

กระบวนการในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี

การอ่านหนังสือให้ฟงั มีผลต่อเด็กเป็นอย่างมาก เห็นได้ชดั จากช่วงเวลา ทีพ่ อ่ แม่อมุ้ ลูกนัง่ ตักแล้วสือ่ รักด้วยหนังสือ อ่านไปโอบกอดไป เสียงอันอ่อนโยน และสัมผัสที่อบอุ่นของพ่อแม่ที่ทำไปพร้อม ๆ กับการเปิดหนังสือแล้วอ่านให้ฟัง ทีละหน้า ๆ ภาพแต่ละภาพ คำแต่ละคำที่เด็กได้ฟังทำให้ช่วงเวลาดังกล่าวเป็น ช่วงเวลาพิเศษและอยู่ในความทรงจำของเด็กจากเล็กจนโต จากการศึกษาพบว่า นอกจากชุดหนังสือเล่มแรกทำให้เด็กน้อยในวัยขวบปีแรกนั้นเรียนรู้ได้ มากมายอย่างน่ามหัศจรรย์แล้ว ยังทำให้บรรยากาศในบ้านอบอุ่น พ่อแม่ลูก ได้ใกล้ชดิ กันและมีความสุขร่วมกันมากขึน้ อีกทัง้ ยังพบการเปลีย่ นแปลงทีช่ ดั เจน ในพฤติกรรมการเลีย้ งดูเด็ก คือ พ่อแม่และผูเ้ ลีย้ งดูเด็กใช้เวลากับเด็ก ร้องเพลง เล่านิทาน และอ่านหนังสือกับเด็กมากขึ้น

การดำเนินงานประสบความสำเร็จอย่างมีนัยสำคัญ

พญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ และคณะ ศึกษากระบวนการในการดำเนิน งานโครงการหนังสือเล่มแรกพบการเปลีย่ นแปลงทีช่ ดั เจนในพฤติกรรมการเลีย้ ง ดู ได้แก่ พ่อแม่และผู้เลี้ยงดู​ูเด็กใช้เวลากับเด็กมากขึ้นกว่าก่อนเข้าโครงการฯ กล่าวคือ ร้องเพลง เล่านิทาน และอ่านหนังสือกับเด็ก โดยเฉพาะมีเวลาเล่นกับ

32

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


เด็กมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ในทุกพื้นที่ อีกทั้ง ผู้เลี้ยงดู​ูเด็กทุกพื้นที่ประเมินด้วยตัวเองว่า หลังจากเข้าโครงการแล้วเกิดการ เปลีย่ นแปลงภายในครอบครัวอย่างชัดเจนทัง้ ด้านความสัมพันธ์ภายในครอบครัว และการใช้เวลาทำกิจกรรมต่าง ๆ กับเด็ก ดังนี้

ประเภทความเปลี่ยนแปลงในครอบครัว

มีการเปลี่ยนแปลง พ่อ-แม่-ลูกใกล้ชิดกันมากขึ้น ญาติ-พี่น้องเด็กใกล้ชิดกันมากขึ้น ผู้เลี้ยงดูเด็กเข้าใจเด็กมากขึ้น เด็กโตเร็วและฉลาดขึ้น สมาชิกครอบครัวใช้เวลาร่วมกันมากขึ้นกว่าเดิม

คิดเป็นร้อยละ 83.5 69.1 62.9 83.5 79.4 54.2

ในกลุ่มปูย่า ตายาย และผู้เลี้ยงดูที่อ่านหนังสือไม่ออก ทุกคนใช้วิธีการ อ่านจากภาพ บรรยายจากภาพ พูดคุยจากภาพ โดยไม่มุ่งเน้นคำและความคิด ที่ถูกตีกรอบด้วยผู้เขียน หากแต่ใช้ชีวิตอ่านชีวิต และใช้ชีวิตสอนชีวิต ข้อมูลจากการทำงานแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ในภาพรวมของการ ดำเนินกิจกรรมโครงการหนังสือเล่มแรก Bookstart นี้ ช่วยปลุกกระแส ความสนใจให้พอ่ แม่อา่ นหนังสือให้ลกู ฟง และใช้เวลาในการทำกิจกรรมอืน่ ๆ ร่วมกับลูกมากขึ้นในทุกพื้นที่

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

33


จากการศึกษาของ รศ. พญ.ศิริกุล อิศรานุรักษ์ พบว่า - ชุดหนังสือเล่มแรกมีส่วนกระตุ้นให้ครอบครัวใช้เป็นสื่อกลางในการ สร้างความสัมพันธ์กบั ลูกผ่านการอ่านได้มากขึน้ และเมือ่ มีการอ่านหนังสือกับเด็ก เด็กให้ความสนใจต่อการอ่าน ทั้งที่แสดงความสนใจชัดเจนและสนใจระยะสั้น ๆ โดยเด็กแสดงความสนใจในจำนวนครั้งที่มากขึ้น - ครอบครัวส่วนใหญ่อ่านหนังสือกับเด็ก 7 ครั้งขึ้นไปต่อสัปดาห์ ซึ่งถือ เป็นความสำเร็จที่สำคัญยิ่งของโครงการ - ชุดหนังสือเล่มแรกสร้างโอกาสการอ่านหนังสือกับเด็กให้แก่ครอบครัว มากขึ้น

ผลพลอยได้จากการทำงาน

พบว่า ครอบครัวทีม่ เี ด็กวัย 2 – 12 ปี อยูร่ ว่ มด้วย เด็กกลุม่ นีจ้ ะมีสว่ นร่วม ในการใช้ชดุ หนังสือเล่มแรกด้วย เช่น ให้แม่อา่ นให้ฟงั หรือเป็นคนอ่านให้นอ้ งฟัง ซึ่งถือเป็นกระบวนการทดแทนในครอบครัวที่ผู้เลี้ยงดูเด็กต้องทำงาน และ ไม่มีเวลาอยู่กับเด็กมากนัก

34

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


อ่านที่ ไหนก็ได้ อ่านเมื่อไรก็ได้ â¤Ã§¡ÒÃ˹ѧÊ×ÍàÅ‹Ááá B o o k s t a r t ปีที่ 2

กระบวนการในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กอายุ 1 - 2 ปี

ชุดเครื่องมือในปีที่ 2 : หนังสือสำหรับเด็กอายุ 1 - 2 ปี


ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก B o o k s t a r t ปีที่ 2

กระบวนการในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กอายุ 1 - 2 ปี

ความสำเร็จสำคัญที่เด่นชัดที่สุดของการดำเนินงานโครงการหนังสือ เล่มแรก ในปีที่ 2 คือ พ่อแม่มที ศั นคติทดี่ ตี อ่ การอ่าน ทัง้ การอ่านให้เด็กฟงและ อ่านเพื่อการสร้างเสริมสติปญญาและพัฒนาตนเอง หนังสือเบีย่ งเบนความสนใจของเด็ก ให้ละหรือเลิกทำพฤติกรรมทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ หันมาสนใจหนังสือแทน เช่น ลูกชอบดูดนิ้วมือ เล่นอวัยวะเพศ ร้องไห้ งอแง หงุดหงิดบ่อย ๆ หนังสือที่พ่อแม่อ่านออกเสียงดัง ๆ ให้ฟัง หรือนำเสนอ จะเป็นการดึงดูดความสนใจและกระตุ้นให้ลูกหันมาสนใจจับหนังสือ มือลูก ก็จะไม่ว่างที่จะไปทำพฤติกรรมต่าง ๆ ข้างต้นได้ ซึ่งเป็นการเบี่ยงเบนที่ได้ผลใน ทุกครอบครัว

36

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


หนังสือ คือ เพื่อน

â¤Ã§¡ÒÃ˹ѧÊ×ÍàÅ‹Ááá B o o k s t a r t ปีที่ 3

กระบวนการในการส่งเสริมนิสยั รักการอ่านในเด็กอายุ 2 - 3 ปี ชุดเครื่องมือในปีที่ 3 : หนังสือสำหรับเด็กอายุ 2 - 3 ปี ชุดที่ 1 มอบให้ตอนเริ่มกระบวนการในการดำเนินงานปีที่ 3

ชุดที่ 2 มอบให้ตอนเยี่ยมครอบครัว


ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก B o o k s t a r t ปีที่ 3

กระบวนการในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กอายุ 2 - 3 ปี

ความสำเร็จที่เด่นชัดคือ พัฒนาการทางภาษา หนังสือมีเนื้อหาที่เป็นเรื่องเป็นราวมากขึ้น สามารถดึงความสนใจของ เด็กวัย 2 – 3 ปี นี้ได้เป็นอย่างดี เมื่อพ่อแม่ใช้เนื้อหา องค์ประกอบของภาพ และพฤติกรรมของตัวละครในหนังสือมาเป็นประเด็นในการพูดคุยทำให้เด็กมี ความเข้าใจความหมายของคำและประโยคมากขึ้น จึงรู้จักเชื่อมโยงเรื่องที่ได้ฟัง กับภาพที่ได้เห็น จนเกิดการเรียนรู้ในมิติที่ลึกซึ้งมากขึ้น เด็กรู้จักคำและมีภาษา ที่ใช้ในการพูดและสื่อสารมาก การที่เด็กได้ฟังเนื้อเรือ่ งที่พอ่ แม่อา่ นจากหนังสือทีม่ ีการลำดับทั้งเนื้อหา และภาพอย่างเป็นเรือ่ งเป็นราว กอปรกับการอ่านอย่างนุม่ นวล อย่างมีจงั หวะจะโคน ถูกต้องตามคำและประโยคที่นำเสนอ ลูกจะค่อย ๆ ซึมซับภาษาที่ย้ำ ซ้ำ ทวน ที่ง่าย ๆ ไปโดยธรรมชาติ และเมื่อได้ฟังการอ่านของพ่อแม่บ่อย ๆ จึงจำได้มาก ทำให้เด็กพูดคำเหล่านี้ได้เร็ว และมีคำใช้ในการพูดได้มากกว่าเด็กที่ไม่ได้ฟังการ อ่านหนังสือของพ่อแม่ ซึ่งถือเป็นพัฒนาการทางภาษาที่เด่นชัด

38

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


หนังสือคือดวงตา ปัญญาคือความสุข â¤Ã§¡ÒÃ˹ѧÊ×ÍàÅ‹Ááá B o o k s t a r t ปีที่ 4

กระบวนการในการส่งเสริมนิสยั รักการอ่านในเด็กอายุ 3 - 4 ปี ชุดเครื่องมือในปีที่ 4 : หนังสือสำหรับเด็กอายุ 3 - 4 ปี ชุดที่ 1 มอบให้ตอนเริ่มกระบวนการในการดำเนินงานปีที่ 4

ชุดที่ 2 มอบให้กลุ่มพ่อแม่ที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมในการอบรมเชิง ปฏิบัติการ และคัดเลือกหนังสือสำหรับลูกด้วยตนเองได้

ชุดที่ 3 มอบให้ตอนลงเยี่ยมครอบครัว


ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก B o o k s t a r t ปีที่ 4

กระบวนการในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กอายุ 3 - 4 ปี

ความสำเร็จที่เด่นชัดคือ พัฒนาการทางภาษา จากการศึกษาข้อมูลเด็กและครอบครัวจำนวน 64 คน/ครอบครัว คิด เป็นร้อยละ 82.05 ของเด็กในโครงการ พบว่า เด็ก ๆ ในโครงการ ร้อยละ 100 มีพัฒนาการที่ดีในทุกด้าน - เด็กในโครงการ ร้อยละ 93.75 มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ - เด็กในโครงการ ร้อยละ 100 รู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น สงสารคนอื่น เป็นคนมีเมตตา ร้อยละ 71.88 พูดจาไพเราะ อ่อนโยน ร้อยละ 85.94 มีน้ำใจ ให้อภัยผู้อื่น และร้อยละ 100 อารมณ์ดี - เด็กในโครงการร้อยละ 70.31 กล้าหาญในการตัดสินใจ และจัดการกับ ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม มีความอดทนต่อปัญหาที่เกิดขึ้น มีสติในการ แก้ไขปัญหาอย่างคนที่มองโลกในแง่ดี - เด็กในโครงการร้อยละ 93.75 มีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการอย่าง เด่นชัด

40

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


อ่านหนังสือหลากหลายชนิด เพิ่มสีสันให้ชีวิตงดงาม

â¤Ã§¡ÒÃ˹ѧÊ×ÍàÅ‹Ááá B o o k s t a r t ปีที่ 5

กระบวนการในการส่งเสริมนิสยั รักการอ่านในเด็กอายุ 4 - 5 ปี ชุดเครื่องมือในปีที่ 5 : หนังสือสำหรับเด็กอายุ 4 - 5 ปี ชุดที่ 1 มอบให้ตอนเริ่มกระบวนการในการดำเนินงานปีที่ 5

ชุดที่ 2 มอบให้ตอนเยี่ยมครอบครัว


ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก B o o k s t a r t ปีที่ 5

กระบวนการในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กอายุ 4 - 5 ปี

ความสำเร็จที่เด่นชัดคือ พัฒนาการทางภาษา พ่อแม่ร้อยละ 85.71 ยังคงอ่านหนังสือให้เด็กฟังอย่างสม่ำเสมอโดย เฉลี่ยวันละ 21 นาที 11 วินาที พฤติกรรมเด่น ๆ ที่เห็นชัดของเด็ก ๆ ในโครงการหนังสือเล่มแรก 1. มีความสนใจใฝรู้ 2. ทักษะทางภาษาดี 3. ความคิดดี...มีระบบ 4. อารมณ์ดี 5. ความจำดี 6. มีความมั่นใจในตนเอง 7. มีระเบียบวินัย 8. มีสมาธิดี 9. ทักษะทางศิลปะดี 10. มนุษยสัมพันธ์ดี 11. มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ 12. มีความรับผิดชอบ

42

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


ข้อมูลจากการประเมินพฤติกรรมของเด็กในโครงการหนังสือเล่มแรก จำนวน 51 คน (คิดเป็นร้อยละ 85.0) กับเด็กทัว่ ไปในวัยเดียวกันจำนวน 528 คน

คุณธรรมที่ปราก¯

คุณธรรม ขยันคือ ผู้ที่ตั้งใจทำอย่างจริงจังต่อเนื่องในเรื่องที่ถูกที่ควร เป็นคน สู้งาน มีความพยายาม ไม่ท้อถอย กล้าเผชิญอุปสรรค รักงานที่ทำ ตั้งใจทำหน้าที่อย่างจริงจัง ประหยัดคือ การรูจ้ กั เก็บออมถนอมใช้สงิ่ ของแต่พอควรพอประมาณ ให้เกิด ประโยชน์ คุ้ ม ค่ า ไม่ ฟุ ม เฟ อ ย ฟุ้ ง เฟ้ อ มี ค วามเป็ น อยู่ ที่ เรียบง่าย รู้จักฐานะของตน คิดก่อนใช้ คิดก่อนซื้อ ซื่อสัตย์คือ ประพฤติตรง ไม่เอนเอียง ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม มีความจริงใจ ปลอดจากความรูส้ กึ ลำเอียงหรืออคติ ตรงต่อเวลา รูห้ น้าทีข่ องตนเอง และปฏิบัติอย่างเต็มที่ วินัยคือการยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับ และข้อปฏิบัติ มี วินัยในตนเอง มีวินัยต่อสังคม ปฏิบัติตนในขอบเขตกฎระเบียบของ สถานศึกษา สถาบัน องค์กร และประเทศอย่างเต็มใจและตั้งใจ สุภาพคือ เรียบร้อย อ่อนโยน ละมุนละม่อม มีกิริยามารยาทที่ดีงาม มีสัมมาคารวะ รู้กาลเทศะ ไม่ก้าวร้าว รุนแรง วางอำนาจข่มผู้อื่นทั้ง โดยวาจาและท่าทาง มีความมั่นใจในตนเอง เป็นผู้ที่มีมารยาท วาง ตนเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย สามัคคีคือ ความพร้อมเพรียง กลมเกลียวปรองดองกัน ร่วมใจกัน ปฏิบตั งิ านให้บรรลุผลตามทีต่ อ้ งการ ไม่ทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรียบ กัน มีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด เชือ้ ชาติ มีความสมานฉันท์ รู้บทบาทของตนทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามที่ดี ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน อยู่ร่วมกันอย่างสันติ สะอาดคือ รักษาร่างกาย ที่อยู่อาศัย สิ่งแวดล้อมถูกต้องตาม สุขลักษณะ ฝกฝนจิตใจมิให้ขุ่นมัว จึงมีความแจ่มใสอยู่เสมอ มีน้ำใจคือ ความจริงใจที่ไม่เห็นแก่ตัว เห็นคุณค่าในเพื่อนมนุษย์ มี ความเอื้ออาทร เอาใจใส่ความทุกข์สุขของผู้อื่น และพร้อมที่จะให้ ความช่วยเหลือเกื้อกูล ช่วยเหลือสังคม รู้จักแบ่งปัน เสียสละความ สุขส่วนตนเพือ่ ทำประโยชน์แก่ผอู้ น่ื ร่วมสร้างสรรค์สง่ิ ดีงามให้เกิดขึน้ ในชุมชน

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

เด็กทั่วไป

เด็กในโครงการ หนังสือเล่มแรก

60.79

94.11

31.25

78.43

72.91

94.11

46.21

94.11

19.31

88.23

37.87

86.27

18.93

86.27

85.22

94.11

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

43


อ่านอย่างมีคุณภาพ â¤Ã§¡ÒÃ˹ѧÊ×ÍàÅ‹Ááá B o o k s t a r t ปีที่ 6

กระบวนการในการส่งเสริมนิสยั รักการอ่านในเด็กอายุ 5 - 6 ปี กลุ่มเป‡าหมาย จำนวนเด็กในแต่ละปี (คน)

พื้นที่ดำเนินงาน 1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพที่ 4 จังหวัดราชบุรี 2. โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่าน ซ้าย จังหวัดเลย 3. บ้านศรีนครินทร์ มูลนิธิเด็กอ่อนใน สลัมฯ กรุงเทพฯ 4. บ้านเสือใหญ่ มูลนิธิเด็กอ่อนใน สลัมฯ กรุงเทพฯ 5. ศูนย์พฒ ั นาเด็กปฐมวัย มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์รงั สิต จังหวัดปทุมธานี 6. สถาบันแห่งชาติเพือ่ การพัฒนาเด็ก และครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล จังหวัดนครปฐม 7. บ้านทานตะวัน มูลนิธิเด็กจังหวัด นครปฐม รวมจำนวนเด็ก

2547 2548 2549 2550 2551 2552

จำนวนเด็ก ที่ลด คิดเป็น ร้อยละ

25

25

24

24

24

23

4.00

27

26

26

26

19

19

29.63

10

9

8

7

6

6

40.00

13

12

10

8

-

-

100

6

6

6

6

6

6

-

7

7

7

7

5

5

28.57

18

18

9

-

-

-

100

106

103

90

78

60

59

43.39


การทำงานใน 6 ปีที่ผ่านมาทำให้เชื่อว่าความรักของพ่อแม่ที่มีต่อลูก ไม่ตอ้ งการงานวิจยั ใด ๆ มารองรับ ดังนัน้ นับแต่ขวบปีแรกของชีวติ ทีเ่ ด็กได้ฟงั พ่อแม่หรือผูเ้ ลีย้ งดูอา่ นหนังสือให้ฟงั ทุกวัน วันละ 5 – 15 นาที ผลการทำงานจึง สอดคล้องกับการยืนยันของนักการแพทย์ นักพัฒนาการเด็ก นักการศึกษา และนักวิชาการทุกสาขาว่าเกิดประโยชน์กับลูกแน่

ชุดเครื่องมือในปีที่ 6 : หนังสือสำหรับเด็กอายุ 5 - 6 ปี ชุดที่ 1 มอบให้ตอนเริ่มกระบวนการในการดำเนินงานปีที่ 6

ชุดที่ 2 มอบให้ตอนเยี่ยมครอบครัว

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

45


ผลการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก B o o k s t a r t ปีที่ 6

กระบวนการในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กอายุ 5 - 6 ปี

จากการศึกษาพฤติกรรมของเด็กที่พ่อแม่อ่านหนังสือให้ฟังมาโดย ตลอด 6 ปี สำคัญยิ่งเมื่อพ่อแม่ ครู ผู้เลี้ยงดูเด็ก และเด็กอ่านอย่างมีคุณภาพ พบว่าส่งผลต่อเด็กเป็นอย่างมาก เห็นได้ชัดจากการทดสอบตามแบบทดสอบ สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย ของสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับ องค์การยูนิเซฟ ที่ทางโครงการนำ มาวัดสมรรถนะในการพัฒนาตามวัยของเด็กกลุ่มเป้าหมาย เทียบเคียงกับภาพ รวมของเด็กปฐมวัยในประเทศไทย จากข้อมูลการทดสอบสมรรถนะของเด็ก ปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย ตลอดระยะเวลา 6 ปีของการเฝ้าดูพฤติกรรมและพัฒนาการของเด็ก กลุม่ นีพ้ บทัง้ พฤติกรรมและพัฒนาการทีด่ ใี นทุกด้าน เมือ่ เทียบกับกลุม่ เด็กในพืน้ ที่ เดียวกัน ที่พ่อแม่ไม่ได้อ่านหนังสือให้ฟังตั้งแต่ยังอยู่ในวัยทารก (6 – 9 เดือน) ซึ่งทั้งคนทำงาน นักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญ รวมถึงพ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กและครู ต่างมีความเชือ่ ทีพ่ อ้ งต้องกันว่า เป็นเพราะหนังสือ เพราะนับตัง้ แต่ปแี รกทีพ่ อ่ แม่ ได้นำมาใช้กับเด็ก จนสร้างความสัมพันธ์ที่อบอุ่น และด้วยความใกล้ชิด ทำให้ พ่อแม่มีความละเอียดในการเลี้ยงดูลูกอย่างใส่ใจ จึงเห็นช่องทางในการกระตุ้น ให้เด็กมีพฒ ั นาการทีด่ ใี นทุกด้าน ทัง้ การส่งเสริมให้ใช้หนังสือและเครือ่ งมืออืน่ ๆ ที่พอจะหาได้

46

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


จากการศึกษาเปรียบเทียบด้านสมรรถนะของเด็กในโครงการจำนวน 51 คน (คิดเป็นร้อยละ 85.0 ของเด็กในโครงการ) เทียบเคียงกับเด็กปฐมวัย (อายุ 5 – 6 ปี) ทั่วประเทศทุกภูมิภาคจำนวน 594 คน ตามแบบทดสอบและสังเกต สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย Thailand Early Childhood Behavioral Competency ของสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา พบว่าเด็ก ในโครงการมีสมรรถนะในการพัฒนาตามวัยดีกว่าเด็กทั่วไปในทุกด้าน กล่าวคือ

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

47


ความสามารถในการเคลื่อนไหวและสุขภาวะทางกาย (Motor Development / Physical Well–Being) การเคลื่อนไหว (Motor Development) การเคลือ่ นไหว และการทรงตัวโดยใช้กล้ามเนือ้ มัดใหญ่ (Gross Motor) : เด็กสามารถแสดงความ แข็งแรงและประสานการทำงานของกล้ามเนือ้ มัดใหญ่ (Children demonstrate strength and coordination of movements using large muscles) สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) วิ่งได้ตรงไม่โซเซ และหยุดเองได้ วิ่งแบบก้าวกระโดด (Skipping) หรือวิ่งแบบม้าควบ (Galloping) กระโดด 2 เท้าอยู่กับที่ เดินตามเส้นเป็นวงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เมตร วิ่งตามเส้นเป็นวงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เมตร เดินต่อเท้าไปข้างหน้าเป็นเส้นตรงโดยไม่ต้องกางแขน เดินต่อเท้าถอยหลังเป็นเส้นตรงโดยไม่ต้องกางแขน ปีนปายเครื่องเล่น เดินขึ้นบันไดสลับเท้าได้ เดินลงบันไดสลับเท้าได้ ขว้างลูกบอลไปข้างหน้าได้แม่นยำพอควร เตะลูกบอลไปข้างหน้าให้เข้าช่องที่กำหนด กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ กระโดด 2 เท้าข้ามสิ่งของเล็ก ๆ โดยไม่เซ ยืนขาเดียวโดยไม่เซ ประมาณ 3 วินาที กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องได้

48

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป 98.1 81.5 100 99.1 99.1 83.3 79.6 95.4 95.4 92.6 95.4 91.7 96.3 99.1 95.4 97.2

เด็กใน โครงการ 98.1 96.1 100 100 100 92.2 96.1 98.1 100 100 96.1 94.1 98.1 98.1 96.1 98.1

B o o k s t a r t


การเคลื่อนไหวโดยใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine Motor) : เด็กสามารถแสดง ความแข็งแรงและประสานการทำงานของกล้ามเนื้อมัดเล็ก สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ใช้มือจับดินสอหรืออุปกรณ์อื่นอย่างถูกวิธีในการขีดเขียน วาดรูปวงกลมตามวิธีที่มีผู้ทำให้ดู วาดรูปสี่เหลี่ยมตามวิธีที่มีผู้ทำให้ดู วาดรูปสามเหลี่ยมตามวิธีที่มีผู้ทำให้ดู วาดรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดตามวิธีที่มีผู้ทำให้ดู วาดรูปวงกลมตามรูปตัวอย่าง วาดรูปสี่เหลี่ยมตามรูปตัวอย่าง วาดรูปสามเหลี่ยมตามรูปตัวอย่าง วาดรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดตามรูปตัวอย่าง วาดรูปคนที่มีส่วนประกอบอย่างน้อยสามส่วน วาดรูปคนที่มีส่วนประกอบหกส่วน วาดรูปคนที่มีส่วนประกอบสิบส่วน จับและใช้กรรไกรเล็กที่ปลายมนตัดกระดาษได้ ใช้กรรไกรเล็กตัดกระดาษเป็นเส้นตรงยาว 6 นิ้วได้อย่างต่อเนื่อง ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามรอยเส้นโค้งหรือเป็นรูปร่างง่าย ๆ ปักหมุดในช่องได้ ขนาดหมุดใหญ่ 1 – 2 ช่อง ร้อยลูกปัดขนาดเล็ก ประมาณเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 ซม. พับกระดาษเป็นรูปร่างต่าง ๆ โดยมีผู้ใหญ่ช่วย พับกระดาษเป็นรูปร่างต่าง ๆ ด้วยตนเอง ผูกเชือกร่มเป็นปม 1 ชั้น แก้ปมเชือกร่ม 2 ชั้นได้

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 74.1 100 94.4 89.5 57.4 99.1 92.6 88.0 47.2 97.2 85.2 71.3 30.6 83.3 80.6 100 100 84.3 47.2 89.8 93.5

เด็กใน โครงการ 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 94.1 96.1 96.1 100 100 100 100 92.2 94.1

49


ประสาทสัมผัสกับการเคลื่อนไหว (Sensorimotor) : เด็กสามารถใช้ ประสาทสัมผัสต่าง ๆ (เช่น การเห็น ได้ยิน กายสัมผัส และอิริยาบถในการ เคลื่อนไหว) (Children used their senses. eg: sight, hearing, smell, taste and touch to guide movement) สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ย่อเข่าเวลากระโดดลงบันไดขั้นสุดท้าย วิ่งรอบโต๊ะโดยไม่ชนโต๊ะ มุดอุโมงค์หรือลอดใต้โต๊ะโดยหัวไม่ชน รับลูกบอลขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8 นิ้ว ที่กระดอนขึ้นจากพื้นได้ด้วยมือ ทั้งสอง รินน้ำจากขวดใส่ถ้วยหรือขันโดยไม่หก จัดวางสิง่ ของหรือวัสดุซอ้ นหรือต่อกันให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ ตามตัวอย่างที่ ตั้งให้ดู โดยวางของซ้อนสับหว่างให้เป็นสะพาน (ด้วยของ 3 ชิ้น) รับลูกบอลขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8 นิว้ ทีโ่ ยนมาจากระยะ 2 เมตร ให้เด็ก รับด้วยสองมือ เดินถือถ้วยใส่นำ้ ค่อนถ้วยโดยไม่หก จากด้านหนึง่ ของห้องไปอีกด้านหนึง่ ระยะทางประมาณ 4 เมตร เคลื่อนไหวร่างกายตามที่ตกลงกันให้คู่กับสัญญาณเสียงที่ผู้ใหญ่ทำขึ้น โดยเด็กไม่เห็นต้นเสียง ยื่นมือรับถ้วยใส่น้ำค่อนถ้วย (3/4 ถ้วย) แล้วส่งต่อให้เพื่อนได้โดยไม่หก จัดวางสิง่ ของหรือวัสดุซอ้ นหรือต่อกันให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ ตามตัวอย่างที่ ตั้งให้ดู โดยวางของซ้อนเป็นบันได 3 ขั้น (ด้วยของ 6 ชิ้น) จัดวางสิง่ ของหรือวัสดุซอ้ นหรือต่อกันให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ ตามตัวอย่างที่ ตั้งให้ดู โดยวางของซ้อนเป็นบันได 4 ขั้น (ด้วยของ 10 ชิ้น) เคลื่อนไหวร่างกายตามที่ตกลงกันให้คู่กับสัญญาณเสียงที่ผู้ใหญ่ทำขึ้น โดยเด็กเคลื่อนไหวร่างกาย 2 แบบต่อกันเมื่อได้ยินสัญญาณเสียง 2 ชนิดต่อกัน

50

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

99.1 100 100

98.1 100 100

92.6

98.1

97.2

98.1

98.1

98.1

96.3

98.1

99.1

98.1

88.9

94.1

98.1

100

85.2

100

70.4

94.1

81.5

100

B o o k s t a r t


สุขภาวะทางกาย (Physical Well–Being) โภชนาการ (Nutrition) : เด็กรับประทานอาหารหลาย ๆ ชนิดที่มีประโยชน์และปลอดภัย (Children eat a variety of nutritious and safe food) สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) มีส่วนร่วมในการเตรียมอาหารที่มีประโยชน์ เช่น เด็ดผัก ตีไข่ กินอาหารหลากหลายที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ และดื่มน้ำอย่างเพียงพอ โดยมีผู้ใหญ่ช่วยเหลือแนะนำ บอกได้ว่าอาหารใดไม่ควรกิน แยกของที่กินได้ออกจากของที่กินไม่ได้ ใช้ช้อนกลางตักอาหารที่เป็นสำรับรวม

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

74.1

98.1

100

100

66.7 71.3 12.0

100 100 70.6

51


สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) : เด็กแสดงความแข็งแรงและ ความทนทานทางร่างกาย (Children demonstrate physical strength and endurance) สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ทำกิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 10 – 15 นาที วันละ 2 – 3 รอบ นอนหลับได้เพียงพอ ตื่นนอนตอนเช้าอย่างสดชื่น และพร้อมที่จะทำกิจกรรมต่าง ๆ ไม่ง่วงเหงาหาวนอนในเวลากลางวัน ยกเว้นเวลาที่กำหนดให้นอนพัก เล่นออกกำลังกายอย่างอิสระหรือที่กำหนดให้รวมกันอย่างน้อย 60 นาที ต่อวัน โดยแต่ละช่วงสามารถทำติดต่อกันได้ 15 นาที เช่น วิ่ง เต้น ปั่นจักรยาน เล่นกีฬา หิ้ว ยก หรือแบกของน้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรัม ในระยะทางสั้น ๆ มีแรงในการฝกทักษะหลายครั้ง ชวนเพื่อนเล่นกิจกรรมที่ต้องมีการเคลื่อนไหว สามารถวิ่งติดต่อกันในระยะทาง 400 – 500 เมตร

52

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

98.1

96.1

99.1

92.2

94.4

96.1

88.9

98.1

100 99.1 99.1 53.7

100 96.1 92.2 68.6

B o o k s t a r t


ความปลอดภัย (Safety) : เด็กแสดงออกว่ามีความเข้าใจเกี่ยวกับ ความปลอดภัย สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) เล่นอย่างปลอดภัยตามคำแนะนำของผู้ใหญ่ บอกได้ว่าสิ่งใดเป็นอันตรายต่อตนเอง เข้าใจเครื่องหมาย สัญลักษณ์ที่บอกอันตรายและที่บอกความปลอดภัย รู้จักข้ามถนนเฉพาะเมื่อมีผู้ใหญ่อยู่ด้วย และไม่ข้ามถนนตามลำพัง ไม่ลงเล่นน้ำตามลำพัง เช่น อ่าง สระน้ำ บอกเลขหมายโทรศัพท์เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน รู้จักใช้สายตาอย่างเหมาะสม หลีกเลี่ยงการใช้สายตาในที่สว่างจ้าหรือมืด เกินไป เช่น ไม่อ่านหนังสือกลางแดดหรือที่แสงไม่พอ ไม่ดูโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ในระยะใกล้และนานเกินไป ไม่อ่านหนังสือขณะที่รถแล่น รู้จักถือของแหลมหรือมีคมทุกชนิดอย่างปลอดภัย โดยไม่วิ่ง เช่น กรรไกร ไม้เสียบลูกชิ้น หรือดินสอแหลม ไม่ไปกับคนแปลกหน้า รู้ว่าเมื่อต้องการความช่วยเหลือจะติดต่อกับใคร บอกได้ว่าสภาพใดเป็นอันตรายต่อตนเอง ไม่เล่นในบริเวณที่เสี่ยงต่อ อันตราย รู้จักสถานที่ตั้งของบ้านตนเอง บอกผู้ใหญ่หรือเตือนเพื่อนเมื่อเห็นเหตุการณ์ที่เป็นอันตราย รู้จักวิธีปฏิบัติตนอย่างปลอดภัยขณะเดินทาง

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 100 67.6 37.0 39.8 93.5 10.2

เด็กใน โครงการ 100 100 100 100 100 70.6

94.4

98.1

90.7

100

91.7 86.1

100 100

63.0

100

40.7 80.6 53.7

100 100 100

53


การช่วยเหลือและดูแลตัวเอง (Personal Care) : เด็กสามารถช่วยและ พึ่งตัวเองได้ในกิจวัตรของตน (Demonstrate self-help in daily living) สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) รู้จักแปรงฟันด้วยตนเอง ทำความสะอาดร่างกายหลังปัสสาวะและอุจจาระได้ด้วยตนเอง อาบน้ำและทำความสะอาดตนเองได้ สระผมได้เอง รู้จักหวีผม ติดกระดุมที่มีรังดุมซึ่งอยู่ด้านหน้าของเสื้อตนเองได้เอง บอกได้ว่าต้องการจะถ่ายอุจจาระ บอกได้ว่าต้องการจะปัสสาวะ ใส่เสื้อได้เอง โดยรู้จักด้านหน้าด้านหลังของเสื้อ ใส่รองเท้าชนิดสวมได้ถูกข้าง รู้จักปิดปากเวลาจามหรือไอ ใช้ช้อนตักอาหารกินได้ด้วยตนเองโดยไม่หก กินอาหารและน้ำดื่มที่สะอาด รู้จักล้างผลไม้ให้สะอาดก่อนกิน ช่วยเก็บที่นอน ของใช้ส่วนตัวไว้ในที่เหมาะสม ดื่มน้ำหรือนมจากถ้วยที่ถือยกขึ้นดื่มด้วยตนเองโดยไม่หก ใช้ช้อนและส้อมกินอาหารได้ ล้างมือ/มือที่เปอน หลังเข้าห้องส้วมและก่อนกินอาหารได้เองโดยไม่ ต้องเตือน ใช้ส้วมเป็น และทำความสะอาดตนเองได้

54

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป 99.1 100 95.4 79.6 81.5 100 100 100 96.3 99.1 57.4 100 99.1 86.1 94.1 100 61.1

เด็กใน โครงการ 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 92.2 100 100 100 96.1 100 100

33.3

100

82.4

100

B o o k s t a r t


พั ² นาการด้ า นสั ง คม (Social Development) การมี ป ¯ิ สั ม พั น ธ กับผู้ ใหญ่ (Interaction with Adult) : เด็กแสดงทักษะในการมีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้ใหญ่ เช่น พ่อแม่ ครู และผู้ใหญ่ (Children interact, with skills, with adult) สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ทักทาย พูดคุยถามตอบกับผู้ใหญ่ด้วยตนเอง ชวนผู้ใหญ่เล่นด้วย รู้จักต่อรองและประนีประนอมกับผู้ใหญ่เมื่อมีข้อขัดแย้งกัน ขอความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ เสนอตัวช่วยเหลือผู้ใหญ่ ทำสิ่งต่าง ๆ เพื่อเอาใจผู้ใหญ่ มีความเชื่อมั่นในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่คนอื่นที่ไม่ใช่พ่อแม่ เช่น ครู หมอ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่อย่างเหมาะสมและมีสัมมาคารวะ การมีส่วนร่วมกับผู้ใหญ่ในการตัดสินใจ หรือแสดงความเห็นของตนใน เรื่องต่าง ๆ ช่วยเหลือผู้ใหญ่ทำงานบ้านตามสมควร ไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าวกับผู้ใหญ่ รู้จักปรับน้ำเสียงและความดังตามสถานการณ์ต่าง ๆ รูจ้ กั ปรับน้ำเสียงและความดังตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยมีผใู้ หญ่แนะนำ สนใจฟังผู้อื่นพูดขณะสนทนา รู้จักผลัดกันพูดผลัดกันฟังในกลุ่มสนทนา ถ่ายทอดข้อความที่ได้รับจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งได้ถูกต้อง ใช้ถ้อยคำและน้ำเสียงที่อ่อนโยน

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 100 88.9 94.4 99.1 88.9 95.4

เด็กใน โครงการ 100 96.1 96.1 100 100 100

98.1

98.1

94.4

98.1

75.9

96.1

97.2 96.3 98.4 95.4 100 100 96.3 91.7

100 100 98.1 98.1 98.1 96.1 100 100

55


การมีป¯ิสัมพันธ กับเพื่อนเด็ก (Interaction with Peer) : เด็กแสดง ทักษะทางสังคมเชิงบวกกับเพือ่ นเด็กด้วยกัน (Children demonstrate positive social skills) สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) แสดงความสนใจเด็กคนอื่น พูดคุยและเล่นกับเพื่อนเด็กด้วยกัน เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มได้ เล่นอิสระกับเพื่อนเด็กจำนวน 2 คนขึ้นไป สร้างความสัมพันธ์ที่ดีอย่างต่อเนื่องกับเพื่อน เช่น บอกว่าคิดถึงเพื่อน คอยให้มาเล่นด้วยกัน เก็บของหรือขนมไว้ให้เพื่อน ไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวกับเพื่อน ฟังเพื่อน และแสดงความคิดเห็น ช่วยเหลือเพื่อน ยอมรับความช่วยเหลือจากเพื่อน บอกชื่อเพื่อนอย่างน้อย 1 ชื่อ ชวนเพื่อนมาเล่นด้วยกันโดยกำหนดสถานที่ ร่วมกิจกรรมกลุ่มกับเพื่อนจนกิจกรรมนั้นแล้วเสร็จ ยอมรับกฎ กติกา เวลาเล่นกับเพื่อน เมื่อมีปัญหาขัดแย้งกับเพื่อน รู้จักต่อรองหรือประนีประนอม

56

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป 100 100 100 99.1

เด็กใน โครงการ 100 100 100 98.1

96.3

96.1

91.7 93.5 96.3 99.1 97.2 87.0 97.2 99.1 88.0

98.1 96.1 100 100 100 100 100 100 98.1

B o o k s t a r t


พฤติ ก รรมการปรั บ ตั ว ทางสั ง คม (Adaptive Social Behavior) : เด็กแสดงความตระหนักรู้ว่าพฤติกรรมมีผลกระทบต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม (Children demonstrate awareness of behavior and its effects) สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) แบ่งปันกับเพื่อน และผลัดกันเล่นโดยมีผู้ใหญ่คอยช่วยเหลือแนะนำ ถามผลทีเ่ กิดจากการกระทำของตนเอง เช่น ถ้าหนูพดู เสียงดัง ทำไมเพือ่ น ต้องโกรธ ปรับเปลี่ยนบทบาทได้ในโอกาสที่เหมาะสม ขอเข้าร่วมกิจกรรมกับกลุ่มเพื่อน ในขณะที่กลุ่มกำลังทำกิจกรรมอยู่ บอกพฤติกรรมที่ดีของเด็กคนอื่น ปลอบเมื่อเห็นเพื่อนเจ็บหรือไม่สบายใจ บอกได้วา่ การกระทำของตนเองมีผลต่อความรูส้ กึ และพฤติกรรมของผูอ้ นื่ ได้อย่างไร ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของสังคมอย่างง่าย ๆ ในครอบครัว/โรงเรียน/ ชุมชน เมื่อเผชิญสภาพแวดล้อมที่แปลกใหม่ก็กล้าที่จะลองทำสิ่งใหม่ ๆ ที่ ท้าทาย ใช้ท่าทางและภาษาที่เหมาะสมเมื่อมีความขัดแย้งภายในกลุ่ม

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 98.1

เด็กใน โครงการ 100

56.5

88.3

86.1 69.7 75.9 88.9

96.1 96.1 100 100

68.5

100

90.2

98.1

99.1

100

86.1

98.1

57


เห็ น คุ ณ ค่ า ของความแตกต่ า ง (Appreciating Diversity) : เด็ ก ตระหนักรู้ เห็นคุณค่า และยอมรับนับถือในความเหมือนและความแตกต่าง ระหว่างบุคคล (Children recognize, appreciate, and respect similarities and difference in people) สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) บอกได้ว่าบุคคลแต่ละคนมีความเหมือนและความต่าง เล่นกับกลุม่ เด็กทีแ่ ตกต่างไปจากตน เช่น ต่างภาษา ต่างเชือ้ ชาติ ต่างชาติพนั ธุ์ ต่างพื้นเพทางเศรษฐกิจสังคม หรือมีความบกพร่องทางกายและอื่น ๆ ฯลฯ บอกได้ว่าคนแต่ละคนมีความสามารถที่แตกต่างกัน ถามเกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ทำไมหนู หน้าตาเหมือนแม่ เล่นเลียนแบบและแสดงความชืน่ ชมวัฒนธรรมและความเป็นอยูท่ แ่ี ตกต่าง ไปจากตน ถามคำถามเกี่ยวกับคำที่ใช้ หรือความเป็นอยู่ หรือลักษณะของกลุ่มคนที่ แตกต่างกัน ปฏิ บั ติ ต นอย่ า งสุ ภ าพกั บ ทุ ก คน รวมถึ ง คนที่ มี ส ถานภาพทางสั ง คม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมที่ต่างไปจากตน ถามหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นธรรมในกลุ่มเพื่อน บอกได้ว่าคนแต่ละคนมีความชอบและไม่ชอบที่แตกต่างกัน

58

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป 30.6

เด็กใน โครงการ 98.1

89.8

98.1

33.3

96.1

22.2

98.1

84.3

98.1

21.3

98.1

78.7

98.1

71.3 71.3

100 92.2

B o o k s t a r t


พั²นาการด้านอารมณ (Emotional Development) : ความคิดเกี่ยวกับ ตนเอง (Self Concept) : เด็กสามารถรับรูเ้ กีย่ วกับตนเอง (Children perceive themselves as unique individuals and demonstrate awareness of preference) สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) บอกคุณลักษณะทางกายของตนเอง บอกได้ว่าตนเองชอบหรือไม่ชอบสิ่งของและ/หรือกิจกรรมใด บอกความรู้สึกของตนเองทั้งทางบวกและทางลบต่อสิ่งของ บุคคล หรือ สภาพต่าง ๆ ได้ บอกความรู้สึกของตนเองต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ แสดงท่าทางหรือวาจาบอกความรูส้ กึ รักและผูกพันกับพ่อแม่และคนใกล้ชดิ บอกความรู้สึกหรือแสดงพฤติกรรมไม่สบายใจ กังวลใจในบางเหตุการณ์ บอกความรู้สึกหรือแสดงท่าทางผูกพันกับสิ่งของที่ตนรัก

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 31.5 88.0

เด็กใน โครงการ 92.2 100

77.8

100

66.7 96.3 67.6 69.4

100 100 100 100

59


การควบคุมอารมณ ตนเอง (Self Emotional Control) : เด็กเข้าใจ และปฏิบตั ติ นตามกฎระเบียบและกิจวัตรได้ (Children understand and follow rules and routine) สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้เมื่อประสบเหตุการณ์ที่ไม่พอใจหรือเมื่อทำ กิจกรรมที่ยากโดยมีผู้ใหญ่ช่วย ไม่แสดงความกลัวหรือวิตกกังวลกับสภาวการณ์หรือสิง่ ทีไ่ ม่มเี หตุตอ้ งกลัว (เช่น สระผม พบแพทย์ กลัวความมืด) ไม่ให้ความสนิทสนมกับคนแปลกหน้า ไม่แสดงอาการหงุดหงิดจนเกินไปเมื่อต้องทำกิจกรรมที่ยาก ไม่แสดงอารมณ์โกรธหรือไม่พอใจเกินกว่าเหตุ หยุดหรือสงบอารมณ์ไม่ดีลงได้บ้างเมื่อผู้ใหญ่แนะนำ

60

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

98.1

96.1

66.7

88.3

99.1 96.3 99.1 99.1

98.1 98.1 98.1 98.1

B o o k s t a r t


สมรรถนะของตนเอง (Self Efficacy) : เด็กเชื่อมั่นในความสามารถของ ตนเอง (Children demonstrate belief in their abilities)

สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) แสดงความดีใจโดยท่าทางหรือวาจา เมื่อทำอะไรได้หรือสำเร็จ อวดผลงานของตนเพื่อให้ตนเองรู้สึกดี และรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถ ทำกิจกรรมใหม่ ๆ เพื่อให้ได้แสดงความสามารถ อาสาที่จะทำกิจกรรมเพื่อแสดงความสามารถของตน แสดงท่าทางพอใจเมือ่ ตนเองมีโอกาสได้กระทำกิจกรรมหนึง่ ๆ ทีอ่ ยากพูด อยากทำ บอกได้ว่าตนเองมีความสามารถในเรื่องใด

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 98.1 83.3 98.1 69.4

เด็กใน โครงการ 100 98.1 100 96.1

96.3

98.1

70.4

98.1

61


พั²นาการด้านการคิดและสติปัญญา (Cognitive Development) ความจำ (Memory) : เด็กสามารถแสดงการจำเบื้องต้น สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ฮัมทำนองเพลง (ร้องทำนองเพลงในลำคอ) ที่คุ้นเคยได้ ร้องเพลงจนจบได้ ท่องคำคล้องจองหรือคำกลอนสั้น ๆ ได้ บอกชื่อวันในหนึ่งสัปดาห์ บอกชื่อวันในหนึ่งสัปดาห์โดยเรียงลำดับได้อย่างถูกต้อง บอกและเรียกชื่อเดือนได้ (ไม่จำเป็นต้องทุกเดือนและไม่เรียงลำดับ) บอกหมายเลขโทรศัพท์ที่บ้านได้ ฟังนิทานแล้วเล่าได้พอสังเขป ฟังนิทานแล้วเล่ารายละเอียดได้ถูกต้อง บอก/เล่าได้ว่าวันนี้ทำอะไรที่โรงเรียน บอก/เล่าได้ว่าเมื่อวานนี้ทำอะไร (ที่โรงเรียนหรือที่บ้าน)

62

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป 71.3 84.3 66.7 75.0 24.1 11.1 23.1 38.9 14.8 90.7

86.1

เด็กใน โครงการ 90.2 100 100 98.1 82.4 90.2 98.1 98.1 98.1 100

100

B o o k s t a r t


การสร้างหรือพั²นาความคิด (ที่เป็นการคิดเบื้องต้น) (Concept Formation) : เด็กสามารถแสดงความคิดพื้นฐานในเรื่องเกี่ยวกับเวลา ช่องว่าง (space) จำนวน ความคงที่ของมวล ฯลฯ รวมทั้งการจัดกลุ่มสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่แวดล้อม สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) บอกลักษณะหรือคุณลักษณะเบื้องต้นของสิ่งของ (เช่น ร้อน ยาว หนัก ใหญ่ ขรุขระ แห้ง ) บอกได้ว่าสิ่งของที่วางอยู่นั้น อยู่ด้านซ้ายหรือขวาของเด็ก บอกได้วา่ สิง่ ของทีว่ างอยูน่ นั้ อยูด่ า้ นซ้ายหรือขวาของผูท้ พี่ ดู ด้วย (หันหน้า เข้าหากัน) บอกได้และใช้คำว่า “เมื่อวานนี้” “วันนี้” “พรุ่งนี้” อย่างถูกต้อง ถามว่า “อะไร” และ “ที่ไหน” บอกหรือใช้คำที่บอกช่วงเวลาของวันได้ถูกต้อง (เช่น เช้า กลางวัน เย็น) บอกหรือเรียกชื่อประเภท คน สัตว์ สิ่งของ พืช (เช่น เด็ก ผู้ใหญ่ คนแก่ / สัตว์เลี้ยง สัตว์ปา / ผัก ผลไม้) วาดแผนที่จากบ้านมาโรงเรียนหรือวาดแผนผังของห้องเรียน/ห้องนอน

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

60.2

96.1

47.2

96.1

38.9

90.2

55.6 94.5

90.2 100

60.2

96.1

46.3

100

14.8

58.8

63


ตรรกวิทยาและความมีเหตุผล (Logic and Reasoning) : เด็กแสดงความ สามารถเข้าใจเกี่ยวกับเหตุและผล สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ถามว่า “ทำไม” และ “อย่างไร” (เช่น ทำไมน้ำเกาะทีข่ า้ งแก้วเมือ่ มีนำ้ แข็ง อยู่ในแก้ว ทำไมมีกลางวัน กลางคืน) ใช้คำว่า “เพราะ” เพื่ออธิบายเหตุและผลได้ในเรื่องทั่ว ๆ ไป (ไม่จำเป็น ต้องเป็นเหตุผลที่ถูกต้อง) เปรียบเทียบความแตกต่างทีเ่ กิดจากการกระทำต่างกันกับสิง่ เดียวกัน (เช่น ข้าวสาร ข้าวสวย ข้าวต้ม หรือไข่ต้ม ไข่เจียว ไข่ตุ๋น) บอกเหตุผลเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจวัตร (เช่น เหตุผลที่ต้องล้างมือก่อน รับประทานอาหารและหลังเข้าห้องน้ำ แปรงฟันตอนเช้า ก่อนนอน และ หลังอาหาร) บอกเหตุผลเกี่ยวกับการปฏิบัติตนด้านความปลอดภัย (เช่น เหตุผลที่ต้อง ไม่เล่นบริเวณริมน้ำ ไม่เล่นไม้ขีดไฟ) บอกเหตุผลในการปฏิบัติตนในด้านที่เกี่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อม (เช่น บอกเหตุ ผ ลที่ ต้ อ งไม่ ทิ้ ง ขยะตามถนน ไม่ เด็ ด ดอกไม้ ไม่ ท ำลายของ สาธารณะ) เรียงลำดับภาพหรือเหตุการณ์ในภาพ และอธิบายได้ บอกได้ ว่ า เรื่ อ งที่ ได้ ฟั ง หรื อ เห็ นจะจบอย่ า งไร โดยให้ เหตุ ผ ลประกอบ (เช่น เวลาฟังนิทานหรือเห็นเหตุการณ์ต่าง ๆ) บอกได้ว่าส่วนประกอบอะไรที่ไม่ปรากฏหรือหายไปในรูป บอกได้ว่าในรูปภาพมีอะไรที่ผิดปกติ หรืออยู่ผิดที่ หรือดูแล้วเป็นไปไม่ได้ บอกหรือเข้าใจในเนื้อหาสาระของเรื่องที่ขำขันได้ (เช่น บอกเรื่องที่ได้ยิน หรือภาพที่เห็นนั้นตลกหรือขำขันตรงไหน หรือบอกเหตุที่ทำให้ขำขัน) บอกได้วา่ ของบางอย่างใช้แทนกันได้ (เช่น ใบตอง ใบบัวใช้แทนถุงกระดาษ ถุงพลาสติก ถ้วยหรือชามใช้แทนกันได้) บอกความสัมพันธ์ ความเกี่ยวข้องระหว่างสิ่งต่าง ๆ และปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้นได้ หรือใช้คำว่า “ถ้า...แล้วจะ...” (เช่น ฝนตกเราเปียก วัน หยุดไม่ต้องไปโรงเรียน กินพริกจะรู้สึกเผ็ด)

64

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

63.0

100

89.9

98.1

68.8

96.1

69.4

100

90.7

100

82.4

100

40.7

98.1

41.7

98.1

86.8 51.90

98.1 96.1

63.9

100

62.0

88.3

95.4

98.1

B o o k s t a r t


การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) : เด็กสามารถเปรียบเทียบ แยกแยะความเหมือน ความแตกต่าง และประเมินสถานภาพ สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) จับคูภ่ าพทีส่ มั พันธ์กนั (เช่น ของทีเ่ หมือนกัน ของทีใ่ ช้คกู่ นั ของทีเ่ ป็นประเภท เดียวกัน) บอกได้ว่าสิ่งที่เห็น 2 อย่าง เหมือนและต่างกันอย่างไร (เช่น มะม่วง มะละกอ สุนัข 2 ตัว เป็นคนละพันธุ์) บอกความคิดของตนเกี่ยวกับสภาพหรือลักษณะที่พบ (เช่น ร้อน หนาว สนุก) จัดกลุ่มสิ่งของตามประเภทโดยใช้เกณฑ์เดียวในการจัด (เช่น ตามสี ตามรูปทรง หรือตามขนาด) จัดกลุ่มสิ่งของตามประเภทลักษณะ 2 เกณฑ์ (เช่น จำแนกตามสีและ รูปทรง) รู้จักใช้ข้อมูล/คำที่เรียนรู้ใหม่มาใช้กับเหตุการณ์ สภาพแวดล้อม หรือ กิจกรรมอื่น ๆ (เช่น เมื่อเรียนรู้รูปสี่เหลี่ยม เด็กสามารถชี้บอกได้ว่า ประตู หน้าต่างเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้วย) บอกคำที่มีความหมายตรงข้ามเกี่ยวกับสิ่งหรือสภาพที่เด็กพบเห็น (เช่น ช้างตัวใหญ่ หนูตัว... พระอาทิตย์ขึ้นตอนกลางวัน พระจันทร์ขึ้นตอน... ไฟร้อน น้ำแข็ง...)

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

88.0

98.1

59.3

98.1

70.4

100

87.0

100

50.0

100

62.0

100

84.3

100

65


การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) : เด็กสามารถแก้ ปัญหาได้ สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) แก้ปญ ั หาในชีวติ ประจำวันได้ โดยการลองผิดลองถูก (เช่น การสวมรองเท้า การสวมเสื้อกลับด้าน ติดกระดุมเสื้อเลื่อน) แก้ปัญหาได้หลายวิธี และรู้จักเลือกวิธีที่เหมาะสม แก้ปัญหาโดยใช้อุปกรณ์ช่วย (เช่น ใช้ไม้เขี่ยสิ่งของที่เอื้อมไม่ถึง) รู้จักถามเพื่อให้ได้วิธีการแก้ปัญหา

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

92.5

100

26.9 66.7 90.3

96.1 84.3 98.1

ความตั้งใจจดจ่อ (Attention) : เด็กสามารถจดจ่อกับการทำกิจกรรม ด้วยความตั้งใจ สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) เปิดหนังสือดูภาพด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องนานประมาณ 10 – 15 นาที หรือจนจบ ฟังคนอื่นพูดข้อความสั้น ๆ จนจบแล้วโต้ตอบด้วยวาจาหรือการกระทำ จนจบ มีสมาธิในการเล่นหรือมีความตั้งใจจดจ่อในการทำกิจกรรมหนึ่งได้อย่าง ต่อเนื่อง 10 – 15 นาที หรือจนเสร็จ มีความตั้งใจจดจ่อและทำกิจกรรมหนึ่งได้อย่างต่อเนื่อง 15 – 20 นาที หรือจนเสร็จ ฟังคนอื่นพูดข้อความสั้น ๆ จนจบแล้วโต้ตอบด้วยวาจาหรือการกระทำ จนจบ

66

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

71.3

100

100

100

94.4

100

83.3

100

100

100

B o o k s t a r t


การคิดด้านคณิตศาสตร (Mathematics) : เด็กสามารถอ่านตัวเลข นับเลข และรู้จำนวน สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) พูดคำว่า 1 ถึง 10 เรียงลำดับได้ โดยไม่จำเป็นต้องทราบความหมาย พูดคำว่า 1 ถึง 20 เรียงลำดับได้ โดยไม่จำเป็นต้องทราบความหมาย อ่านตัวเลข 1 ถึง 10 ได้ (ตัวเลขอารบิก) หยิบของตามจำนวน 1 ถึง 5 ได้อย่างถูกต้อง หยิบของตามจำนวน 6 ถึง 10 ได้อย่างถูกต้อง หยิบของตามจำนวน 1 ถึง 5 ได้และบอกจำนวนได้อย่างถูกต้อง หยิบของตามจำนวน 6 ถึง 10 ได้และบอกจำนวนได้อย่างถูกต้อง เรียงลำดับตัวเลขอารบิกจาก 1 ถึง 10 ได้ นับถอยหลังเรียงลำดับจาก 10 ไปถึง 1 รวมสิ่งของหรือนับนิ้วรวมกัน โดยใช้จำนวน 1 – 5 ได้ (รวม 1 ครั้ง เช่น 1 + 2 5 + 5) รวมสิ่งของหรือนับนิ้วรวมกัน โดยใช้จำนวน 1 – 10 ได้ (รวม 1 ครั้ง เช่น 4 + 2 8 + 8) บวกเลข 1 หลัก หรือ 2 หลัก โดยไม่ต้องทด หักลบโดยนับนิ้วหรือสิ่งของออกจากจำนวนไม่เกิน 5 ได้ (หักลบ 1 ครั้ง เช่น 5 – 3 4 – 3) หักลบโดยนับนิ้วหรือสิ่งของออกจากจำนวนไม่เกิน 10 ได้ (หักลบ 1 ครั้ง เช่น 8 – 3 6 – 2) บอกจำนวนสิ่งของที่เท่ากัน (เช่น ขนม 3 ชิ้น มีจำนวนเท่ากับกล้วย 3 ลูก) บอกจำนวนที่มากกว่าหรือน้อยกว่าของสิ่งของประเภทเดียวกันภายใน จำนวน 5 (เช่น สุนัข 5 ตัว มีจำนวนมากกว่าสุนัข 2 ตัว ดินสอ 2 แท่ง มีจำนวนน้อยกว่าดินสอ 5 แท่ง)

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 98.1 91.7 80.6 95.4 85.2 94.4 81.5 76.9 44.4

เด็กใน โครงการ 100 100 100 100 100 100 100 100 64.7

63.9

74.5

48.1

98.1

31.5

64.7

46.3

64.7

51.9

74.5

87.0

98.1

71.3

98.1

67


สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) บอกจำนวนของสิ่งของหรือจำนวนครั้งของกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ของตน (เช่น แปรงฟัน อาบน้ำ กินข้าว ดื่มนมวันละกี่ครั้ง) เขียนตัวเลขได้ 1 – 10 (เลขอารบิก) เขียนตัวเลขไทย ๑ – ๑๐ ได้ จัดสิ่งของเป็นจำนวนคู่ จำนวนคี่ภายในจำนวน 10 ได้ บอกตัวเลขที่เป็นเลขคู่และเลขคี่ภายในจำนวน 10 ได้ บอกความคงที่ ข องเลข 1 หลั ก ที่ เป็ น ผลรวมของเลข 2 จำนวน ได้หลายแบบ (เช่น เมื่อมีการสลับที่ 2 + 3 หรือ 3 + 2 ก็เท่ากับ 5 การเปลี่ยนองค์ประกอบ 4 + 1 เท่ากับ 3 + 2 )

68

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

41.7

100

84.3 42.6 24.1 9.3

98.1 64.7 64.7 45.1

7.4

45.1

B o o k s t a r t


ความเข้าใจปราก¯การณ และวิธกี ารแสวงหาข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร (Sciences) สิง่ แวดล้อมทีม่ ชี วี ติ : เด็กแสดงพฤติกรรมอยากรู้ อยากลอง โดยการมอง การฟัง การถาม จับต้อง และลงมือทำ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตต่าง ๆ สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) บอกชื่อสัตว์ต่าง ๆ ได้อย่างน้อย 3 ชื่อ (เช่น แมว ไก่ นก) บอกชื่อต้นไม้ต่าง ๆ ได้อย่างน้อย 3 ชื่อ บอกชื่อผักต่าง ๆ ได้อย่างน้อย 3 ชื่อ บอกชื่อผลไม้ต่าง ๆ ได้อย่างน้อย 3 ชื่อ บอกเล่าลำดับขั้นของพัฒนาการตามธรรมชาติโดยสังเขปของคน สัตว์ พืช เช่น การเติบโตของพืช ของคน (เช่น เด็ก-ผู้ใหญ่-คนแก่ ไข่ เป็นไก่-นก-เป็ด เมล็ดพืชเป็นต้นไม้ วงจรชีวิตกบ ผีเสื้อ) บอกปัจจัยที่ทำให้คน สัตว์ พืชเจริญเติบโต (เช่น ต้นไม้ต้องการน้ำหรือปุย คนต้องการอาหาร อากาศ และน้ำ เป็นต้น) บอกชื่อและอธิบายหน้าที่ของส่วนต่างๆ ของร่างกายได้โดยสังเขป อย่างน้อย 3 อย่าง (เช่น ตาไว้ดู หูไว้ฟัง) บอกชื่อและอธิบายหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้โดยสังเขป อย่างน้อย 6 อย่าง พูดถึงหรือถามเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกายบางส่วนได้ (เช่น ผมยาว เล็บยาว ทำไมเป็นแผลแล้วหายได้) ทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต (เช่น ดูแลและให้อาหารสัตว์ รดน้ำต้นไม้) บอกได้ว่าสิ่งใดมีชีวิต และอธิบายลักษณะของสิ่งที่มีชีวิตนั้น ๆ ได้ (เช่น หายใจ ต้องกินอาหาร) บอกความแตกต่างระหว่างคน พืช สัตว์ อธิบายลักษณะเฉพาะด้านรูปร่าง ท่าทาง พฤติกรรม และทีอ่ ยูอ่ าศัยของ สิ่งที่มีชีวิตได้อย่างน้อย 1 อย่าง (เช่น นกมีปีกอยู่บนต้นไม้ ปลามีหาง อยู่ในน้ำ) บอกความสัมพันธ์ระหว่างคน สัตว์ พืช และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ อื่น ๆ (เช่น คนทิ้งขยะลงน้ำ น้ำเน่า ปลาตาย ปลูกต้นไม้ทำให้ร่มรื่น)

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 94.4 65.7 67.6 87.0

เด็กใน โครงการ 100 100 100 100

25.0

98.1

71.3

98.1

60.2

100

53.7

100

13.9

64.7

91.7

100

56.5

92.2

25.9

98.1

83.3

100

78.7

92.2

69


สิง่ แวดล้อมที่ ไม่มชี วี ติ ในธรรมชาติ : เด็กแสดงพฤติกรรมอยากรู้ อยากลอง โดยการมอง การฟัง การถาม จับต้อง และลงมือทำเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่ไม่มี ชีวิตต่าง ๆ สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) บอกสิ่งที่ไม่มีชีวิตที่อยู่รอบตัวอย่างน้อย 3 อย่าง (เช่น หิน ดิน ทราย ไม้ น้ำ) บอกการปฏิบัติตัวในเรื่องการแต่งตัวหรือการใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมใน สภาพอากาศที่แตกต่างอย่างน้อย 1 อย่าง (เช่น ร่มกันแดด เสื้อกันฝน เสื้อกันหนาว) บอกได้ว่าสิ่งของทำจากอะไร โดยสังเขป (เช่น ไม้ เหล็ก พลาสติก แก้ว ฯลฯ) บอกได้ว่าสิ่งใดจะเกิดขึ้น เมื่อนำของอย่างน้อย 2 สิ่งผสมกัน (เช่น ผสม แม่สี ปรุงอาหารโดยมีส่วนผสม) บอกได้ถึงการแปรสภาพของน้ำ (เช่น น้ำแข็งละลายเป็นน้ำ น้ำต้มเดือด กลายเป็นไอ น้ำแช่แข็งกลายเป็นน้ำแข็ง) บอกชื่อวัตถุที่จมและลอยในน้ำได้ (เช่น ขันลอยในน้ำ ถ้าขันมีน้ำจะจม) บอกสิง่ ทีเ่ ห็นบนท้องฟ้าได้อย่างน้อย 3 อย่าง (เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ เมฆ สายรุ้ง ฝน ดาว) ชี้ทิศทางที่ดวงอาทิตย์ขึ้นและตก บอกชื่อและการใช้งานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างน้อย 3 ชื่อ (เช่น ไม้กวาด- กวาดบ้าน ขัน-ตักน้ำ จาน-ใส่ข้าว แก้ว-ใส่น้ำ เครื่องใช้ในบ้าน-ในครัว-ในห้องน้ำ) บอกชือ่ เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ทเ่ี ป็นเทคโนโลยีในชีวติ ประจำวันอย่างน้อย 3 ชือ่ (เช่น โทรศัพท์ (บ้าน มือถือ สาธารณะ) คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ ตู้เย็น พัดลม วิทยุ) บอกได้ว่าสิ่งใดหนักกว่า เมื่อยกของ 2 สิ่งเปรียบเทียบกัน บอกได้ว่าสิ่งใดอยู่ใกล้ สิ่งใดอยู่ไกล เมื่อเปรียบเทียบของ 2 สิ่งที่อยู่ระยะ ต่างกัน

70

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

49.1

98.1

97.2

98.1

69.4

98.1

31.5

64.7

75.9

96.1

72.2

96.1

74.1

100

3.7

50.9

75.9

98.1

54.6

98.1

97.2

100

82.4

100

B o o k s t a r t


ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมรอบตัว (Social Studies (family, community) ครอบครัว : เด็กแสดงออกถึงความตระหนักรูเ้ กีย่ วกับคุณลักษณะของครอบครัว และบทบาทของครอบครัว สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) บอกผลทีเ่ กิดขึน้ จากการรักษาและการทำลายสิง่ แวดล้อม (เช่น ปลูกต้นไม้ ทิ้งขยะไม่เป็นที่) ชืน่ ชมหรือเล่าถึงความสุขเมือ่ ได้สมั ผัสกับธรรมชาติ (เช่น นัง่ ใต้ตน้ ไม้ มองดู ฝนตก มองดูดวงจันทร์ เห็นดอกไม้บาน) ขับถ่ายให้เป็นที่และใช้ห้องน้ำอย่างถูกวิธี ไม่ทำลายธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (เช่น หักกิ่งไม้ เด็ดดอกไม้ เก็บเปลือกหอย ก้อนหิน ไม่ปัสสาวะหรือบ้วนน้ำลายลงในที่สาธารณะ) บอกได้ว่าจะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันตนเองจากบริเวณที่เป็นมลภาวะ (เช่น ปิดปากและจมูกเมื่อเจอควัน ปิดหูเมื่อเสียงดัง

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

67.6

98.1

62.0

88.3

100

100

35.2

98.1

70.4

98.1

71


ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณค่าเชิงเศรษฐกิจ (Economic Value) : เด็ก แสดงออกถึงความตระหนักรู้เกี่ยวกับคุณค่าเชิงเศรษฐกิจของสิ่งต่าง ๆ

สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) บอกได้ว่าเป็นเหรียญ 1 บาท 5 บาท 10 บาท บอกได้ว่าเงินใช้สำหรับแลกเปลี่ยนสิ่งของและ/หรือบริการ บอกได้ว่าเลือกสิ่งหนึ่ง จะไม่ได้อีกสิ่งหนึ่ง แสดงพฤติกรรมการเก็บออมเพื่ออนาคต (เช่น ไม่ใช้เงินจนหมด ไม่ตกั อาหาร/น้ำเกินกว่าทีต่ นจะรับประทานหมด ไม่หยิบของมามากกว่า ที่จำเป็นต้องใช้) บอกได้ว่าจะได้เงินด้วยการทำงานประกอบอาชีพสุจริต ใช้น้ำและไฟอย่างประหยัด (เช่น ปิดน้ำให้สนิทเมื่อใช้เสร็จ ไม่เปิดไฟ หรือโทรทัศน์ทิ้งไว้) บอกได้ถึงความสำคัญของการแบ่งปัน เกื้อกูลทรัพยากรระหว่างกัน (แบ่งกันกิน แบ่งกันใช้ ช่วยกันสร้าง)

72

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป 68.5 86.1 28.7

เด็กใน โครงการ 100 98.1 74.5

89.7

94.1

74.1

96.1

88.0

96.1

88.0

96.1

B o o k s t a r t


พั ² นาการด้ า นภาษา (Language Development) การเข้ า ใจและ การใช้ภาษา (Language) คำศัพท (Vocabulary) : เด็กสามารถรับรู้ เข้าใจ และใช้คำศัพท์ได้ สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) เลือกใช้คำศัพท์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องตามความหมายที่ต้องการ โดยเฉพาะคำที่ใช้ในกิจวัตร (เช่น แปรงฟัน อาบน้ำ สระผม กินข้าว) บอกคำที่มีความหมายเหมือนกัน (เช่น หมา กับ สุนัข กิน กับ รับประทาน ฉี่ กับ ปัสสาวะ เยอะ กับ มาก) บอกคำที่มีความหมายตรงกันข้าม (เช่น มืด กับ สว่าง ร้อน กับ หนาว ซ้าย กับ ขวา หอม กับ เหม็น) ใช้คำที่แสดงตำแหน่งแหล่งที่ (เช่น ข้างหน้า ข้างหลัง บน ใต้ ใน นอก ข้าง ๆ ถัดไป ติดกัน ด้านหน้า ด้านหลัง ระหว่าง) นำคำที่ได้เรียนรู้ใหม่มาใช้ในชีวิตประจำวัน ถามความหมายของคำที่ตนไม่รู้หรือไม่แน่ใจ ใช้คำที่แสดงคุณลักษณะเพื่ออธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม (เช่น ตุ๊กตาสีชมพูสวยดี เสื้อสีแดงตัวยาว เดินช้า ๆ น้ำเย็น) อธิบายคำง่าย ๆ ได้ (เช่น แมวเป็น...)

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

82.4

100

44.4

96.1

50.9

96.1

71.3

98.1

71.3 58.3

100 100

68.5

98.1

46.3

96.1

73


การเรียงคำให้เป็นประโยค (Syntax and Grammar) : เด็กแสดง พัฒนาการการใช้ไวยากรณ์และการเรียงคำให้เป็นประโยค สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) พูดเป็นประโยคที่มี 3 – 4 คำ โดยมีคำนามและกริยา (เช่น หนูจะหาแม่ จะกินข้าว หนูอิ่มแล้ว จะไปไหน) พูดเป็นประโยคที่มี 5 – 6 คำขึ้นไปอย่างถูกต้อง (เช่น แม่ไปซื้อของที่ ตลาดนัด) อธิบาย เล่าเรื่อง โดยใช้อย่างน้อย 4 ประโยคต่อกันตามลำดับเหตุการณ์

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

100

100

95.4

100

83.3

100

ความเข้าใจภาษา (Comprehension) : เด็กสามารถแสดงพฤติกรรม เข้าใจความหมายและจับใจความได้จากการฟังภาษาพูด สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ทำตามคำสั่งหรือคำบอกที่มีลักษณะ 2 ขั้นตอนต่อเนื่องกันได้ (เช่น เอาถ้วยไปไว้ในอ่าง หยิบเสื้อมาให้แม่) ทำตามคำสั่งหรือคำบอกที่มีลักษณะ 3 ขั้นตอนต่อเนื่องกันได้ (เช่น เอาถ้วยที่อยู่บนโต๊ะไปไว้ในอ่าง แล้วกลับมานั่งที่) เมื่อมีผู้พูดด้วย ตอบสนองด้วยคำพูดหรือพฤติกรรมที่ตรงเรื่อง (เช่น ใครอยากดื่มน้ำยกมือขึ้น) จับใจความและเล่าต่อได้ เมื่อได้ฟังนิทานหรือเรื่องเล่าด้วยคำพูดของ ตนเอง จับใจความได้ถูกต้องในเรื่องที่ฟังและ/หรือดู แล้วพูดหรือถามคำถามที่ เหมาะสมกับเรื่อง ร่วมวงสนทนา มีส่วนร่วมทั้งเป็นผู้ฟังและผู้พูด โดยใช้ภาษาที่สื่อความ ได้อย่างเหมาะสม

74

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

100

100

97.2

100

100

100

26.9

98.1

46.3

96.1

72.2

92.2

B o o k s t a r t


การสื่ อ ความหมาย (Communication) การสื่ อ ความหมายด้ ว ยภาษา พูด (Verbal Communication) : เด็กสามารถรับรูแ้ ละใช้ภาษาพูดสือ่ ความหมาย ได้ตรงตามความต้องการของตน สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ชอบฟังนิทานและพูดถึงบางตอนที่ชอบเป็นพิเศษบ่อย ๆ ฟังนิทานหรือฟังคนอ่านหนังสือได้นาน 5 นาที ฟังเสียงพูด (น้ำเสียง) และบอกความแตกต่างของน้ำเสียงว่าผูพ้ ดู มีความ รู้สึกหรือมีความต้องการอย่างไร (เช่น พูดเสียงดัง เสียงดุ เสียงชื่นชม น้ำเสียงอ่อนโยน เสียงขู่) เล่าเรื่องเหตุการณ์ที่ตนมีประสบการณ์ให้ผู้อื่นฟังเข้าใจได้ บอกความต้องการ ความรู้สึก ความคิดเห็นของตนเองได้ เริ่มการสนทนาที่ต่อเนื่องด้วยคำถามหรือคำบอกเล่า พูดชัดถ้อยชัดคำและอาจออกเสียงไม่ชัดในเสียง “ส” “ร” รู้จักปรับวิธีการสื่อความหมายด้วยภาษาพูดให้เหมาะสมกับผู้ฟัง (เช่น พูดกับน้อง พูดกับครู พูดกับเพื่อน)

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 75.9 98.1

เด็กใน โครงการ 100 100

66.7

96.1

85.2 100 92.6 74.1

98.1 100 98.1 96.1

97.2

98.1

75


การสือ่ ความหมายด้วยท่าทางและสัญลักษณ (Non Verbal Communication) : เด็ ก สามารถสื่ อ ความหมายอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพด้ ว ยสี ห น้ า ท่ า ทาง และสัญลักษณ์ สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) บอกความรู้สึกของผู้อื่นเมื่อเห็นสีหน้า ท่าทาง (เช่น โกรธ กลัว ตกใจ เสียใจ ดีใจ) ทำตามคำสัง่ ทีเ่ ป็นท่าทางของผูใ้ หญ่ได้ (เช่น เดินไปหาเมือ่ ผูใ้ หญ่กวักมือ) ทำท่าทางต่าง ๆ เพือ่ สือ่ ความหมาย (เช่น ยิม้ ทักทาย ส่ายหน้าเพือ่ ปฏิเสธ ยกมือเพื่อขออนุญาต) บอกความหมายหรือสิ่งที่ควรทำเมื่อเห็นสัญญาณหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ทีใ่ ช้ในชีวติ ประจำวัน (เช่น สัญญาณจราจร ไฟเขียว ไฟแดง ทางม้าลาย ป้ายบอกห้องน้ำหญิง/ชาย) วาดรูปหรือเลือกรูปเพื่อสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ (เช่น วาดรูป สัญลักษณ์แสดงอารมณ์ต่าง ๆ เช่น ความรัก)

76

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

70.4

100

100

100

100

100

56.5

98.1

57.9

70.6

B o o k s t a r t


การอ่านและการเขียน (Literacy) การอ่าน (Reading) : เด็กสามารถออกเสียงตัวพยัญชนะ สระ และคำง่าย ๆ ได้

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators)

สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

เด็ก ทั่วไป 92.6 77.8

เด็กใน โครงการ 100 98.1

71.3

98.1

71.3 68.5 88.9 22.2 99.1 92.6 97.2 90.7 75.0

98.1 98.1 100 98.1 100 100 100 98.1 94.1

7.4

94.1

75.0

98.1

43.5

98.1

16.7

100

23.1

100

69.4

100

อ่านหนังสือที่มีภาพอย่โาดงต่ยอเนื่อนงจนจบ า ย เ รืและเล่ อ ง ศาได้ั กว่าดิเป็์ นเรื่อปิงอะไร ่ น ป ร ะ ที ป 10.2

96.1

หยิบหนังสือมาพลิกดู และทำท่าอ่านหนังสือ ชี้ตัวพยัญชนะได้ 5 ตัว เมื่อถาม (เช่น ก.ไก่ อยู่ที่ไหน ชี้ตัว ช.ช้าง) อ่านออกเสียงพยัญชนะได้ 5 ตัว (เช่น เมื่อชี้ตัว ก ก็อ่านได้ว่า กอ หรือ กอ ไก่) อ่านออกเสียงพยัญชนะได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ชี้บอกพยัญชนะที่จำได้ในคำต่าง ๆ อย่างน้อย 10 ตัว กวาดสายตาและใช้นิ้วชี้จากซ้ายไปขวาเมื่อเปิดหนังสือและทำท่าอ่าน อ่านทีละบรรทัดจากบนลงมาล่าง โดยไม่เน้นการอ่านถูกต้อง เปิดหนังสือที่มีภาพประกอบโดยไม่กลับหัว เปิดหนังสือที่มีภาพจากหน้าแรกเรียงลำดับไปยังหน้าสุดท้าย เปิดหนังสือที่มีภาพจากหน้าไปหลัง บอกได้ว่าตัวใดเป็นตัวเลข และตัวใดเป็นตัวหนังสือ ชี้ชื่อหรือชื่อเล่นของตนที่เป็นตัวพิมพ์/ตัวเขียนบรรจงได้ อ่านคำง่าย ๆ หรือชื่อตนเองได้ (เช่น ชื่อเล่นหรือชื่อจริงของตนเอง หรือคำว่า หมา บ้าน พ่อ แม่) ถามคำหรือชื่อบนสิ่งของที่ใช้ในชีวิตประจำวัน (เช่น ชื่อหนังสือบนปก ชื่อบนกล่องนม/ขนม) ถามเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของข้อความที่พิมพ์หรือเขียน (เช่น จดหมาย หนังสือพิมพ์ ฉลากต่าง ๆ) บอกประเภทสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่พบเห็นอย่างน้อย 2 ประเภท (เช่น หนังสือพิมพ์ ใบโฆษณา หนังสือนิทาน หนังสือการ์ตูน) บอกชื่อหนังสือที่ตนชอบได้อย่างน้อย 2 เรื่อง (เช่น หนูน้อยหมวกแดง ลูกหมีเล่นกับพ่อหมู 3 ตัว) พูดให้ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องราวในหนังสือที่มีภาพประกอบที่ตนอ่าน ว่าชอบ ไม่ชอบ หรือ สนใจส่วนไหนของเรื่อง

77


สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) พูดให้ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องราวในหนังสือที่มีภาพประกอบที่ตนอ่าน ว่าชอบ ไม่ชอบ หรือสนใจส่วนไหนของเรื่อง อ่านหนังสือที่มีภาพอย่างต่อเนื่องจนจบ และเล่าได้ว่าเป็นเรื่องอะไร

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

69.4

100

10.2

96.1

การเขียน (Writing) : เด็กสามารถเขียนตัวอักษร ตัวเลข และคำง่าย ๆ ได้ สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ขอให้ผู้ใหญ่เขียนคำที่ต้องการให้ดู ขีดเขียนเส้นลักษณะต่าง ๆ ตามต้นแบบที่เห็น โดยมีผู้ใหญ่ช่วยแนะ (เช่น เส้นตรง เส้นเฉียง โค้ง หยัก คลื่น) ขีดเขียนเส้นลักษณะต่าง ๆ ตามต้นแบบที่เห็นด้วยตนเอง (เช่น เส้นตรง เส้นเฉียง โค้ง หยัก คลื่น) เขียนคำง่าย ๆ ตามต้นแบบ (เช่น แม่ กา งู) บอกความแตกต่างของชุดพยัญชนะที่คล้ายกัน (เช่น ก ภ ถ, ข ช, บ ป ษ, พ ฟ ฬ) เขียนชื่อตนเองหรือชื่อเล่น (ผิดได้บ้าง) เขียนชื่อพ่อแม่หรือชื่อเพื่อน (ผิดได้บ้าง) เขียนตัวอักษรง่าย ๆ บางตัวได้ตามคำบอก อย่างน้อย 5 ตัว (เช่น ก ข ค ง) เขียนประโยคง่าย ๆ (ที่มีคำประธาน กริยา เป็นอย่างน้อย เช่น นกบิน พ่อกินข้าว) ร่วมเล่นเกมการเขียนตัวอักษรด้วยนิ้วในอากาศ วาดรูป และเขียนคำที่เหมาะสม (เช่น ในบัตรอวยพรต่าง ๆ เช่น วันพ่อ วันแม่ วันปีใหม่) เขียน/อธิบายสิ่งที่ตนวาดหรือเขียนให้ผู้อื่นเข้าใจได้

78

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป 74.1

เด็กใน โครงการ 96.1

80.7

96.1

81.5

96.1

74.1

92.2

68.5

82.4

62.0 3.7

82.4 74.5

68.5

98.1

0

45.1

86.1

98.1

0

82.4

13.0

82.4

B o o k s t a r t


พั²นาการด้านจริยธรรม (Moral Development) การมีวินัยในตนเอง (Self discipline) : เด็กสามารถแสดงพฤติกรรมควบคุมตนเอง สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ให้ความร่วมมือในการทำกิจวัตรเพื่อให้ไปโรงเรียนทัน ไม่แสดงความก้าวร้าวด้วยการทำร้ายตนเอง หรือทำลายข้าวของตนเอง โดยผู้ใหญ่ช่วยเหลือแนะนำให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสม ไม่แสดงความก้าวร้าวต่อคน สัตว์ สิ่งของ และรู้จักระงับความก้าวร้าว ของตนเองได้ เชื่อฟังและปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของโรงเรียน (เช่น ขออนุญาตไปห้องน้ำ ไม่พูดแซงครู ฯลฯ) ทำตามกฎ กติกา เมื่อเล่นเกม อดทนรอคอยที่จะได้สิ่งที่ต้องการ (เช่น ทำงานจนเสร็จแล้วจึงไปเล่น รอรับของโดยไม่แย่งของจากมือ) เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังโดยไม่แซงคิว ทำตามธรรมเนียมของบ้าน (เช่น ถอดรองเท้าก่อนเข้าบ้าน ไม่กินอาหารในห้องนอน ไปลามาไหว้) ทำตามสัญญาหรือข้อตกลงง่าย ๆ ทำตามคำแนะนำและคำขอร้องของพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ ทำตามคำแนะนำและคำขอร้องของครู ควบคุมตนเองให้ทำงานจนเสร็จ แม้ว่าจะมีสิ่งเร้า (เช่น เพื่อนชวนไปเล่น เสียงเพื่อนคุย เสียงโทรทัศน์) แสดงความรับผิดชอบโดยทำสิ่งที่ได้รับมอบหมายให้ทำในระยะสั้น ๆ (เช่น จัดเรียงรองเท้า จัดโต๊ะ แจกสมุด) แสดงความรับผิดชอบโดยทำสิ่งที่ได้รับมอบหมายให้ทำในวันถัดไป (เช่น ให้เอาใบไม้ รูปครอบครัวมาจากบ้าน)

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 99.1

เด็กใน โครงการ 100

98.1

98.1

90.7

98.1

99.1

98.1

98.1

98.1

96.3

98.1

80.6

98.1

99.1

98.1

93.2 96.3 100

98.1 98.1 100

83.3

94.1

100

100

95.4

98.1

79


การพั²นาเกี่ยวกับความรู้ผิดชอบชั่วดี : เด็กสามารถแสดงพฤติกรรม สะท้อนความเข้าใจเกี่ยวกับการกระทำที่ถูกหรือผิด สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) แสดงความอ่อนโยนต่อเพื่อนและสัตว์ (เช่น ให้อาหารสัตว์ สัมผัสอย่างอ่อนโยน ปลอบเพื่อน ช่วยเพื่อนที่หกล้ม) ไม่เอาของคนอื่นมาเป็นของตน (ความสามารถนี้ค่อยเป็นค่อยไปตาม ระดับอายุ เช่น เก็บของเพื่อนได้เอาไปคืนเพื่อนหรือครู ไม่หยิบของจาก ร้านค้าโดยไม่ซื้อ) บอกได้ว่าการทำร้ายคนหรือสัตว์ในนิทานหรือเหตุการณ์ที่พบเห็นเป็นสิ่ง ไม่ดี ไม่กา้ วร้าว แกล้ง หรือทำร้ายคนและสัตว์อน่ื และไม่ทำลายสิง่ ของต่าง ๆ พฤติกรรมหรือภาษาที่สะท้อนความรู้สึกผิดชอบชั่วดี กินหรือใช้สิ่งต่าง ๆ ตามคุณค่าหรือประโยชน์ ไม่ทิ้งขว้างให้สิ้นเปลือง หรือเลือกตามความแพงที่ฟุ้งเฟ้อตามโฆษณา โดยมีผู้ใหญ่แนะนำ แสดงความรักและมีน้ำใจต่อพ่อแม่ ญาติ พี่น้องด้วยตนเอง (เช่น แบ่ง ของที่ชอบให้ ช่วยถือของ หรือหยิบของที่ใช้ประจำให้โดยไม่ต้องขอ) แสดงความชื่นชมในความสามารถ ผลงาน หรือความสำเร็จของผู้อื่น โดยมีผู้ใหญ่ช่วยแนะนำ (เช่น เอ่ยชม ตบมือ) แสดงความชื่นชมในความสามารถ ผลงาน หรือความสำเร็จของผู้อื่น ด้วยตนเอง (เช่น เอ่ยชม ตบมือ) ภูมิใจและเลือกที่จะทำในสิ่งที่ดี มีประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม (เช่น ช่วยแม่ทำงานบ้าน พูดจาไพเราะ ขยัน ประหยัด)

80

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

99.1

100

94.4

98.1

82.4

100

95.4 15.7

98.1 88.3

95.4

98.1

96.3

98.1

99.1

100

45.4

98.1

57.9

90.2

B o o k s t a r t


พั²นาการด้านการสร้างสรรค (Creative Development) ศิลปะการ แสดง (Performing Arts) ดนตรีและการเต้นตามดนตรี (Music and Dance) : เด็กสามารถแสดงพฤติกรรมทางดนตรี และเคลื่อนไหวตามดนตรี สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) สนใจด้วยการตั้งใจฟังเพลงหรือดนตรี ร้องเพลงได้บางตอน โดยมีผู้ใหญ่ช่วย เล่นเครื่องดนตรีหรือเครื่องเคาะจังหวะแบบง่าย ๆ สร้างทำนองและเนื้อเพลงเองได้ หรือใช้ทำนองที่รู้จักแต่งเนื้อใหม่ ร้องเพลงพร้อมกับเพื่อนหรือผู้ใหญ่ ร้องเพลงกับเพื่อน ๆ หรือร้องเป็นกลุ่มอย่างถูกจังหวะ ทำเสี ย งดนตรี ด้ ว ยเสี ย งของตนเองหรื อ จากอุ ป กรณ์ (เช่ น ตี ก ลอง เคาะกระปอง เขย่ากล่องใส่ทรายที่ทำเองหรือผู้ใหญ่ช่วยทำ ฯลฯ) บอกชื่อเพลงที่ตนเองชอบได้อย่างน้อย 5 เพลง บอกได้ว่าเพลง 2 เพลงจังหวะต่างกัน (เช่น เพลงช้า เพลงเร็ว) ทำท่าทางตามจินตนาการประกอบดนตรีด้วยตนเองได้ เต้นหรือเคลื่อนไหวร่างกายตามที่ช่วยกันกำหนดสอดคล้องกับดนตรี และเนื้อเพลง รำหรือเต้นกับดนตรีท้องถิ่น (เช่น รำวง รำไทย เต้นระบำพื้นเมือง)

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 100 93.5 98.1 4.6 93.5 92.6

เด็กใน โครงการ 100 100 100 50.9 100 100

98.1

100

20.4 84.3 88.0

98.1 100 100

86.1

100

77.8

96.1

81


ศิลปะการละคร (Dramatic Arts) : เด็กสามารถแสดงพฤติกรรมทาง ศิลปะการละคร สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) แสดงท่าทางหรือบทบาทสมมติต่าง ๆ ตามจินตนาการได้ (เช่น เป็นพ่อแม่/ครู/สัตว์ต่าง ๆ) ทำเสียงหรือท่าทางเลียนแบบตัวละคร (เช่น เป็นสัตว์ คน หรืออื่น ๆ) เวลาเล่านิทานหรือเล่าเรื่อง เล่าเรื่องตามจินตนาการโดยใช้สื่อต่าง ๆ ประกอบ (เช่น หุ่น เครื่องแต่งกาย) พูดและแสดงบทบาทสมมติหรือละครต่อหน้าผู้ชมโดยมีผู้ใหญ่ช่วย พูดและแสดงบทบาทสมมติหรือละครต่อหน้าผู้ชมด้วยตนเอง

82

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

เด็ก ทั่วไป

เด็กใน โครงการ

97.2

98.1

96.3

100

88.9

98.1

80.8 61.1

98.1 96.1

B o o k s t a r t


ทัศนศิลปŠ (Visual Arts) : เด็กสามารถแสดงพฤติกรรมด้านการ วาด การปัน และการประดิษฐ์ สมรรถนะของเด็กปฐมวัย (คิดเป็นร้อยละ)

พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) ละเลงหรือระบายสี วาดรูป หรือปันตามจินตนาการ ละเลงหรือระบายสี วาดรูป หรือปันตามจินตนาการ และเล่าหรืออธิบายได้ ดูรูปที่คนอื่นวาด ภาพถ่าย หรือผลงานปัน และให้ความเห็น สามารถบอกชื่อรูปทรง รูปร่าง ลายเส้นในภาพได้ (ภาพวาดหรือภาพถ่าย) นำผลงานทัศนศิลปของตนให้ผู้อื่นดูอย่างภาคภูมิใจ บอก/ชี้ได้ว่าสีใดเป็นสีอ่อน และสีใดเป็นสีเข้ม วาด หรือปัน หรือประดิษฐ์ หรือพับ ฉีก ปะกระดาษตามจินตนาการใน หัวข้อที่กำหนด ประดิษฐ์สิ่งของหรือของเล่นตามจินตนาการของเด็ก โดยใช้วัสดุใกล้ตัว หรือวัสดุธรรมชาติ (เช่น ก้านกล้วย ใบตอง ลังกระดาษ) ต่อของเล่นเป็นรูปร่างหรือเรื่องราวตามจินตนาการของตน (เช่น ตัวต่อพลาสติก บล็อกไม้ ไม้หนีบ ฯลฯ)

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

เด็ก ทั่วไป 100

เด็กใน โครงการ 100

95.4

100

71.3

98.1

58.3

82.4

94.4 85.2

98.1 100

89.8

100

87.0

100

100

100

83


ข้อเสนอแนะที่ ได้จากการดำเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรก การอ่าน เป็นเรื่องที่มีความสำคัญและเป็นเรื่องใหญ่ของชาติ ดังนั้นคน ไทยทุกคนต้องเข้าถึงการอ่านได้ง่าย มีการนำเสนอหนังสือที่ดี เพื่อสนับสนุนให้ คนไทยทุกคนใช้หนังสือเป็นแหล่งความรู้ ไปพร้อม ๆ กับการสร้างนิสัยรักการ อ่านที่ต้องทำในกลุ่มอายุ และในทุกกลุ่มอายุต้องทำทั้งในระบบและนอกระบบ ต้องทำในทุกสถานะ คือ ระดับบุคคล ระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับ ชาติ

กลุ่มเป‡าหมาย

กระบวนการ

หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ

1. หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด แม่เด็ก 1.1 มอบหนังสือสร้างนิสัยรักการอ่านให้ลูกน้อย ให้หญิงตั้งครรภ์ทุกราย 1.2 มอบหนังสือคูม่ อื พ่อแม่ หนูชอบหนังสือให้หญิง หลังคลอดทุกราย 1.3 ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ตั้งแต่แรกเกิด ถึง 6 เดือนเป็นอย่างน้อย 2. ส่งเสริมให้พ่อแม่ ปูย่า ตายาย และผู้เลี้ยงดูเด็ก ร้องเพลงกล่อมเด็ก เล่านิทานให้เด็กแรกเกิดฟัง กระทรวงสาธารณสุข เด็กวัย 0 – 3 ปี 3. เมื่อเด็กอายุ 6 เดือนมอบชุดหนังสือเล่มแรก Bookstart 4. มอบชุดห้องสมุดฉบับกระเปา ให้ อสม. ทุกหมู่บ้าน ดูแลรับผิดชอบ เพือ่ เปิดโอกาสให้ครอบครัวมาใช้ได้ อย่างทั่วถึง เช่น วันหยุดให้เด็ก ๆ ในหมู่บ้านมานั่ง อ่าน 5. มอบหนังสือภาพสำหรับเด็กให้พ่อแม่ทุกครั้งที่พา ลูกมารับวัคซีน 6. ส่งเสริมให้ใช้ชดุ หนังสือเล่มแรก Bookstart กับเด็ก กระทรวงการพัฒนา ในสถานสงเคราะห์ทั้งในส่วนของกระทรวงการ ่นคง เด็กวัย 0 – 3 ปี พั ฒ นาสั ง คมและความมั่ นคงของมนุ ษ ย์ และ สังคมและความมั ของมนุ ษ ย์ สถานสงเคราะห์ภาคเอกชน

84

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


กลุ่มเป‡าหมาย

หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ

กระบวนการ

7. สร้างวัฒนธรรมการอ่านด้วยการส่งเสริม สนับสนุน และกระตุ้ น ให้ ค นไทยทุ ก คนจั ด หาหนั ง สื อ ที่ ดี หลากหลาย และน่าสนใจมาแทนการดูโทรทัศน์ กระทรวงวัฒนธรรม การเล่นเกม เสพอินเทอร์เน็ต และไฮเทคโนโลยีทม่ี ี อยู่ทั่วไปในสังคม เด็กวัย 0 – 3 ปี 8. จัดตัง้ ห้องสมุดประชาชนให้ทว่ั ถึง และต้องจัดระบบ ให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้ง่าย มีเงื่อนไขในการ ใช้บริการไม่มากและไม่ยงุ่ ยาก มีการจัดบรรยากาศ ทีส่ บายเพือ่ เอือ้ ให้เกิดความสนใจในการเข้ามาอ่าน กระทรวงศึกษาธิการ หนังสือ รวมทั้งบรรณารักษ์ต้องมีความทันสมัย มีเทคนิคในการเชิญชวนให้คนมารับบริการ มาอ่าน หนังสือ มาเรียนรู้ 1. จัดอบรมครูให้เห็นความสำคัญของการใช้หนังสือ กับเด็กปฐมวัย 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนทีม่ กี ารจัดการเรียน การสอนระดับอนุบาลทุกแห่งใช้หนังสือกับเด็ก ตั้งแต่ปฐมวัย 3. มอบชุ ด ห้ อ งสมุ ด ฉบั บ กระเป า ให้ โรงเรี ย นที่ มี การจัดการเรียนการสอนระดับอนุบาลทุกแห่งให้ครู รับผิดชอบ เพื่อเปิดโอกาสให้ครอบครัวมาใช้ได้ กระทรวงศึกษาธิการ เด็กวัย 3 – 6 ปี อย่างทั่วถึง โดยมานั่งอ่านหรือยืมกลับบ้าน 4. จัดตัง้ ห้องสมุดประชาชนให้ทว่ั ถึง และต้องจัดระบบ ให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้งา่ ย มีเงือ่ นไขในการใช้ บริการไม่มากและไม่ยุ่งยาก มีการจัดบรรยากาศที่ สบายเพื่อเอื้อให้เกิดความสนใจในการเข้ามาอ่าน หนังสือ รวมทั้งบรรณารักษ์ต้องมีความทันสมัย มีเทคนิคในการเชิญชวนให้คนมารับบริการ มาอ่าน หนังสือ มาเรียนรู้

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

85


กลุ่มเป‡าหมาย

หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ

กระบวนการ

5. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นทุกหน่วยในทุกระดับ ต้องบรรจุแผนการสร้างวัฒนธรรมการอ่านไว้ใน แผนงานทีต่ อ้ งดำเนินงานอย่างจริงจังโดยมีการจัด สัดส่วนอย่างชัดเจนเพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนการ ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง 6. จัดอบรมผู้ดูแลเด็กให้เห็นความสำคัญของการใช้ กระทรวงมหาดไทย หนังสือกับเด็กตั้งแต่ปฐมวัย 7. มอบชุดห้องสมุดฉบับกระเปา ให้ศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ทุกแห่งให้ผู้ดูแลเด็กรับผิดชอบ เพื่อเปิดโอกาสให้ ครอบครัวมาใช้ได้อย่างทั่วถึง โดยมานั่งอ่านหรือ ยืมกลับบ้าน ส่ ง เสริ ม ให้ ด ำเนิ นการบ้ า นเลี้ ย งเด็ ก ในสถานเด็กวัย 3 – 6 ปี 8. ประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม และในชุมชน 9. จัดอบรมผู้ดูแลเด็กให้เห็นความสำคัญของการใช้ หนังสือกับเด็กตั้งแต่ปฐมวัย 10. มอบชุดห้องสมุดฉบับกระเปา ให้บ้านเลี้ยงเด็ก กระทรวงแรงงาน ทุกแห่งให้ผู้ดูแลเด็กรับผิดชอบ เพื่อเปิดโอกาสให้ ครอบครัวมาใช้ได้อย่างทั่วถึง โดยมานั่งอ่านหรือ ยืมกลับบ้าน 11. สร้างวัฒนธรรมการอ่านด้วยการส่งเสริม สนับสนุน และกระตุ้ น ให้ ค นไทยทุ ก คนจั ด หาหนั ง สื อ ที่ ดี หลากหลาย และน่าสนใจมาแทนการดูโทรทัศน์ กระทรวงวัฒนธรรม การเล่นเกม เสพอินเทอร์เน็ต และไฮเทคโนโลยีทม่ี ี อยูท่ ว่ั ไปในสังคม

รั ฐ บ า ล ทุ ก รั ฐ บ า ล

ตองมีนโยบายดานการสรางวัฒนธรรมการอานอยางชัดเจน

86

ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก

B o o k s t a r t


>> บรร³านØกรม 1. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2550). Bookstart กระบวนการ การส่ ง เสริ ม นิ สั ย รั ก หนั ง สื อ ในเด็ ก อายุ ต่ ำ กว่ า 1 ปี . กรุ ง เทพฯ: ห้ า งหุ้ น ส่ ว นจำกั ด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น. 2. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2549). Bookstart กระบวนการ การส่งเสริมนิสัยรักหนังสือในเด็กอายุ 1 – 3 ปี. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น. 3. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2550). Bookstart กระบวนการ การส่งเสริมนิสัยรักหนังสือในเด็กอายุ 3 – 4 ปี. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น. 4. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2551). Bookstart กระบวนการ การส่งเสริมนิสัยรักหนังสือในเด็กอายุ 4 – 5 ปี. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น. 5. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2551). กระบวนการสานสัมพันธ์ ที่ดีในครอบครัวด้วยการเล่านิทานอ่านหนังสือกับลูก. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวาน กราฟฟิค จำกัด. 6. ทาดาชิ มัตษุอิ (Tadashi Matsui) เขียน, พรอนงค์ นิยมค้า แปล (2536). คู่มือพ่อแม่ สร้างนิสัยรักการอ่านให้ลูกน้อย. กรุงเทพฯ. 7. เรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป (2552) คู่มือพ่อแม่สร้างลูกรักให้เป็นนักอ่าน. กรุงเทพฯ. 8. นภเนตร ธรรมบวร (2537). จะวัดผลและประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่างไร. วารสารวิชาการ–อุดมศึกษา 4 (1), 70 – 76. 9. จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ, พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒไิ กร, วันจันทร์ ศิรวิ งศ์, ทักษิณ ขีนทัพไทย (2550). รายงานการศึ ก ษารู ป แบบการส่ ง เสริ ม การอ่ า นหนั ง สื อ ในครอบครั ว ที่ มี ท ารก อายุ 4 – 9 เดือน ใน 4 พื้นที่ทดลองโครงการหนังสือเล่มแรก (Bookstart). กรุงเทพฯ: สมาคมนักวิจัยไทยเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว.

โ ด ย น า ย เ รื อ ง ศ ั ก ดิ ์

ปิ ่ น ป ร ะ ที ป

87


10. ศิริกุล อิศรานุรักษ์, สุธรรม นันทมงคลชัย, ดวงพร แก้วศิริ (2546). รายงานการ วิจัยโครงการการพัฒนาระดับสติปัญญาเด็กวัยต่าง ๆ ของประเทศ ระยะที่ 2 การส่งเสริม พัฒนาการด้านการเรียนรู้แก่เด็กโดยครอบครัวและการประเมินผล. นครปฐม: สถาบัน พัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล. 11. Barry, Wade, & Magie, Moore. Book start the first five years. London: Book Trust, 1998. 12. Book Trust (2000). Sainsbury’s Bookstart Report (2000). 13. Goodman, K. What’s whole in whole language?. Portsmouth, NH: Heinemann Education Books, 1986. 14. Sanders LM, Zacur G, Haecker T, Klass P. (2004). Number of children’s books in the home: an indicator of parent literacy. Ambulatory Pediatrics; 4 (5): 424 – 428. 15. Westerlund M, Lagerberg D. (2008). Expressive vocabulary in 18-month-old children in relation to demographic factors, mother and child characteristics, communication style and shared reading. Child: care, health and development; 34: 257 – 266.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.