triam-ne_curr

Page 1

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล ความนํา ตามคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๒๙๓/๒๕๕๑ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สั่ง ณ วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑โดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) กําหนดให้โรงเรียนทั่วไปเริ่มใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในปีการศึกษา ๒๕๕๓โดยให้เริ่มใช้ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ทั้งนี้ได้มีการพัฒนามาจากหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ซึ่งถือเป็นหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศที่ใช้อยู่โดยมี การปรับปรุงแก้ไขจุดที่เป็นปัญหาอุปสรรคในการนําหลักสูตรสู่การปฏิบัติให้มีความชัดเจนและเหมาะสมยิ่งขึ้น บนฐานข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัยและติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับข้อมูล จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งมีการทบทวนหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เพื่อนําไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อย่างมีความเหมาะสม ชัดเจนทั้งเอกสารหลักสูตรและการนําหลักสูตรสู่การปฏิบัติ จากคําสั่งดังกล่าวยังได้มีการประกาศรายชื่อโรงเรียนชั้นนําที่มีความพร้อมสู่โรงเรียนดี มีมาตรฐานสากลที่จะต้องได้รับการพัฒนาหลักสูตรและการสอนดังกล่าวให้ได้ผลสมบูรณ์ตามเจตนารมณ์ ขั้นสูงสุดของหลักสูตรนี้ คือ เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล ในลักษณะของการต่อยอดจากหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในเบื้องต้นนี้จํานวน ๕๐๐ โรงเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นโรงเรียนชั้นนําที่มีความพร้อม สู่โรงเรียนดีมีมาตรฐานสากลโรงเรียนหนึ่งในจํานวนที่ได้รับการประกาศรายชื่อ ให้พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลั ก สู ต รแกนกลาง การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานพุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๑ ให้ เ ป็ น หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาโรงเรี ย น มาตรฐานสากลตามที่ได้รับการประกาศดังกล่าว ในการนี้ โรงเรียนจึงได้ดําเนินการพัฒนาหลักสูตรและการสอนของโรงเรียนให้เป็นไป ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรสําหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล เพื่อใช้เป็นหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยได้เพิ่มเติมสาระ การเรียนรู้ในส่วนของรายวิชาความเป็นสากล ภาษาต่างประเทศที่ ๒ และสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กับท้องถิ่นอันเป็นลักษณะโดยเฉพาะของโรงเรียนผสมผสานสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของโรงเรียนในเรื่อง ความเป็นเลิศทางวิชาการ บนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรมอันพึงปรารถนา เพื่อนําไปสู่ความสามารถ


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติของผู้เรียน ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดในการจัดการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ และเป็นจุดมุ่งหมายของโรงเรียนมาตรฐานสากล หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา – ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ฉบับ นี้ จัดทํ าขึ้ นสํา หรั บผู้ รับผิ ดชอบในการจัดการเรี ยนการสอน ของโรงเรีย น มาตรฐานสากลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทาง ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนทุกคนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และช่วยส่งเสริม การกระจายอํานาจทางการศึกษา ทําให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสําคัญในการพัฒนา หลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น มีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียน แบบองค์รวมอย่างชัดเจน โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างผู้เรียนให้มีความสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลก ได้อย่างสันติให้มากขึ้น สมดังเจตนารมณ์ของหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลที่กําหนดไว้ “เป็นเลิศวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ําหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก” การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ของโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จะเป็นไปอย่างได้ผลตามความมุ่งหมายที่แสดงไว้ในหลักสูตร ฉบับนี้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับผู้เกี่ยวข้องทุกระดับตั้งแต่ ชุมชน ครอบครัว และบุคลากรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา – ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ต้องร่วมกันรับผิดชอบ ร่วมกันทํางานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องทั้งใน การวางแผนดําเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน ตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติ ในความรับผิดชอบให้เข้าสู่คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และความเป็นมาตรฐานสากลที่กําหนดไว้ต่อไป วิสัยทัศน์โรงเรียน “ มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ภูมิใจในความเป็นไทย และมีความเป็นเลิศทางวิชาการสู่ความเป็นมาตรฐานสากล ” หลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนมาตรฐานสากล โรงเรี ยนเตรียมอุ ดมศึ กษา ภาคตะวั นออกเฉียงเหนื อ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนา ผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกําลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสํานึก ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จําเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองให้มีศักยภาพและแข่งขันได้ในระดับสากล หลักการ พัฒนาหลักสูตรและยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ให้เป็นทางเลือกสําหรับผู้เรียน ที่มีผลการเรียนดีในรูปแบบที่มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายสําคัญ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการจําเป็น


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ในการพัฒนาประเทศ ให้มีความเจริญก้าวหน้าและแข่งขันได้ในระดับสากล โดยยึดแนวทางตามมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๒ คือ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการดํ า รงชี วิ ต สามารถอยู่ ร วมกั น กั บ ผู้ อื่ น ได้ อ ย่ า งมี ความสุ ข และหลั ก การและแนวคิ ด ของหลั ก สู ต ร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพให้เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุขตามปฏิญญา ว่า ด้ว ยการจั ด การศึ กษาของ UNESCO ในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ให้ ทุกประเทศมีการพั ฒนาและใช้ห ลั กสู ต ร การศึกษาที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนได้ Learn to Know - Learn to do - Learn to be – Learn to live together มุ่งให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Learner Profile) เทียบเคียงมาตรฐานสากล (WORLD CLASS STANDARD) และมีศักยภาพเป็นพลเมืองของชาติและพลโลก (World Citizen) จุดมุ่งหมาย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นเลิศวิชาการ สื่อสารได้อย่างน้อย ๒ ภาษา ล้ําหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์และร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก จึงได้กําหนดจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต ๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๕. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ๖. เพื่อให้มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในงานอาชีพตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ นําไป ปฏิบัติงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกวิถีการดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ได้อย่างเหมาะสมกับตน สร้างสรรค์ความเจริญต่อชุมชน ท้องถิ่น ประเทศชาติและประชาคมโลก ๗. เพื่อให้เป็นผู้มีปัญญา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ใฝ่เรียนรู้ เพื่อพัฒนาชีวิตและการประกอบ อาชีพ สามารถสร้างอาชีพ มีทักษะในการจัดการและพัฒนาอาชีพให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ ๘. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจในวิชาชีพที่เรียน รักงาน รักหน่วยงาน สามารถทํางานเป็นหมู่คณะได้ดี โดยมีความเคารพในสิทธิและหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นหลักสูตรที่มีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอน และการจัดการ ด้ว ยระบบคุณภาพโดยยึด หลั กการ และแนวคิ ดตามหลั กสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้น พื้ น ฐาน พุ ทธศั กราช ๒๕๕๑ ทุกประการที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กําหนดซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียน เกิดสมรรถนะสําคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑ ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่า ยทอดความคิ ด ความรู้ ความเข้ าใจ ความรู้ สึ ก และทั ศนะของตนเองเพื่ อแลกเปลี่ ย นข้ อมู ล ข่ า วสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ๒ ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างสรรค์องค์ความรู้ หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓ ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ๔ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่ า งเหมาะสม การปรั บ ตั ว ให้ ทั น กั บ การเปลี่ ย นแปลงของสั ง คมและสภาพแวดล้ อ ม และการรู้ จั กหลี ก เลี่ ย ง พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น ๕ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูต รสถานศึกษาโรงเรี ยนมาตรฐานสากล โรงเรี ยนเตรียมอุด มศึกษา ภาคตะวันออกเฉีย งเหนื อ พุทธศักราช ๒๕๕๓ เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ (Love of nation, religion and king) ๒. ซื่อสัตย์สุจริต (Honesty and integrity)


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๓. มีวินัย (Self-discipline) ๔. ใฝ่เรียนรู้ (Avidity for learning) ๕. อยู่อย่างพอเพียง (Observance of principles of Sufficiency Economy Philosophy of one’s way of life) ๖. มุ่งมั่นในการทํางาน (Dedication) ๗. รักความเป็นไทย (Cherishing Thai-ness) ๘. มีจิตสาธารณะ (Public-mindedness) ๙. มีความรู้/เรียนรู้ (Knowledgeable) ๑๐. เป็นนักคิด (Thinker) ๑๑. มีความสามารถในการสื่อสาร มีทักษะการประสานความสัมพันธ์ (Communicators) ๑๒. มีคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบ วินัย จรรยาบรรณ (Principled) ๑๓. ใจกว้าง (Open-minded) ๑๔. เอื้ออาทร (Caring) ๑๕. กล้าตัดสินใจ (Risk-Takers) ๑๖. มีวุฒิภาวะ (Well-balanced) ๑๗. มีวิจารณญาณ (Reflective) ๑๘. มีความยุติธรรม (Fairness) มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคํานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร สถานศึกษาจึงกําหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ดังนี้ ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์ ๔. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้กําหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสําคัญของการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐานและยังเป็นกลไกสําคัญในการขับเคลื่อน พัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไรจะจัดการเรียน


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

การสอนอย่างไรและจะประเมินผลการเรียนอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกัน คุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับ เขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกล่าวเป็นสิ่งสําคัญ ที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรู้กําหนด เพียงใด ตัวชี้วัดและจํานวนตัวชี้วัดช่วงชั้น ตัว ชี้ วั ด เป็ น สิ่ งที่ผู้ เ รี ย นพึ งรู้ และปฏิ บั ติได้ รวมทั้ งคุ ณลั กษณะอั น พึ งประสงค์ของผู้ เรี ย นที่ สะท้ อนถึ ง มาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นําไปใช้ในการกําหนดเนื้อหา จัดทําหน่วย การเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนและเป็นเกณฑ์สําคัญสําหรับการวัดผลและประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพ ผู้เรียน ซึ่งตัวชี้วัดในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖) เป็นตัวชี้วัดช่วงชั้น โดยหลักสูตร ได้มีการกําหนดรหัสกํากับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อความเข้าใจและให้สื่อสารตรงกันดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ ต ๒.๒ ม. ๔-๖/๓ ม. ๔-๖/๓ ๒.๒

9 ต

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘.

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ

ตัวชี้วัดมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ ๓ สาระที่ ๒ มาตรฐานข้อที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

จํานวนตัวชี้วัดช่วงชั้น ม. ๔-๖ ๓๖ ๓๒ ๖๗ ๖๓ ๒๙ ๓๙ ๒๙ ๒๑


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ซึ่งกําหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจําเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ๘ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ดังนี้

ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะและ วัฒนธรรมการใช้ภาษาเพื่อการ สื่อสาร ความชื่นชม การเห็น คุณค่าภูมิปัญญาไทย และภูมิใจ ในภาษาประจําชาติ

ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ ทักษะ เจตคติและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศในการ สื่อสาร การแสวงหาความรู้และ การประกอบอาชีพ

การงานอาชีพและเทคโนโลยี : ความรู้ ทักษะ และเจตคติในการ ทํางาน การจัดการ การดํารงชีวิต การประกอบอาชีพและการใช้ เทคโนโลยี

คณิตศาสตร์ : การนําความรู้ ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปใช้ในการ แก้ปัญหา การดําเนินชีวิตและ ศึกษาต่อ การมีเหตุผลมีเจตคติที่ ดีต่อคณิตศาสตร์ พัฒนาการคิด อย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์

องค์ความรู้ ทักษะ สําคัญและคุณลักษณะ

ศิลปะ : ความรู้และทักษะในการ คิดริเริ่ม จินตนาการสร้างสรรค์ งานศิลปะ สุนทรียภาพและการ เห็นคุณค่าทางศิลปะ

วิทยาศาสตร์ : การนําความรู้ และกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ การคิดอย่างเป็น เหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์คดิ สร้างสรรค์และจิตวิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม : การอยู่ร่วมกันใน สังคมไทยและสังคมโลกอย่าง สันติสุข การเป็นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม ความรักชาติและ ภูมิใจในความเป็นไทย สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ ทักษะและเจตคติในการ สร้างเสริมสุขภาพพลานามัย ของตนเองและผู้อื่น การป้องกัน และปฏิบตั ิต่อสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อ สุขภาพอย่างถูกวิธีและทักษะ ในการดําเนินชีวิต

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรสถานศึกษากําหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้จํานวน ๖๗ มาตรฐานดังนี้ ภาษาไทย สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนําไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา ในการดําเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิทธิภาพ สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง คณิตศาสตร์ สาระที่ ๑ จํานวนและการดําเนินการ มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใช้จํานวนในชีวิตจริง มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธ์ ระหว่างการดําเนินการต่าง ๆ และใช้การดําเนินการในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้การประมาณค่าในการคํานวณและแก้ปัญหา มาตรฐาน ค ๑.๔ เข้าใจระบบและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช้ สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (Visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (Spatial reasoning) และใช้แบบจําลองทางเรขาคณิต (Geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๑ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (Pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(Mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใช้แก้ปัญหา สาระที่ ๕ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค ๕.๑ เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

มาตรฐาน ค ๕.๒ ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้ อย่างสมเหตุสมผล มาตรฐาน ค ๕.๓ ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสําคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพ ที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนําความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นําความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ สารที่ ๕ พลังงาน มาตรฐาน ว ๕.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมมี กระบวนการ การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖.๑ เข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ กระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของ โลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนํา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐาน ว ๗.๑ เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายในระบบ สุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ลํานความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๗.๒ เข้าใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใช้ในการสํารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติและด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมี คุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ๘.๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุข

๑๐


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดํารงชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธํารงรักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคม โลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธํารงรักษาไว้ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จํากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการ ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดํารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและ ความจําเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถ ใช้วิธีการทางการประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรักความภูมิใจ และธํารงความเป็นไทย สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและ กันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสํานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สุขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์

๑๑


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชีวิต สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเล่นเกม และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่มเกม และกีฬา มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกําลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจําอย่างสม่ําเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชม ในสุนทรียภาพของการกีฬา สาระที่ ๔ การเสริมสร้างสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การป้องกันโรคและ การสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสาร เสพติด และความรุนแรง ศิลปะ สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเห็นคุณค่างาน ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ ดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเห็นคุณค่าของ นาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

๑๒


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ ๑ การดํารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่วมกันและทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใช้พลังงานทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม เพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือ วิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยี ในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อมและมีส่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ ยั่งยืน สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง ๓.๑ เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทํางานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม สาระที่ ๔ การอาชีพ มาตรฐาน ง ๔.๑ เข้าใจ มีทักษะที่จําเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรมและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ภาษาต่างประเทศ สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลขาวสาร แสดงความรู้สึกและ ความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นําเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูด และการเขียน สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและนําไปใช้ได้อย่าง เหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กับภาษาและวัฒนธรรมไทยและนํามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

๑๓


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็น พื้นฐานในการพัฒนาแสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญาอารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสํานึก ของการทําประโยชน์เพื่อสังคมสามารถจัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข การจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนได้จัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกอบด้วยกิจกรรม ๓ ลักษณะดังนี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กําหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียนและอาชีพสามารถปรับตนได้ อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คําปรึกษา แก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน ๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นําและผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบการทํางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสมความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปัน เอื้ออาทรและสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความ สนใจของผู้เรียนให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทํางาน เน้นการทํางานร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับ วุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของโรงเรียนและท้องถิ่น โดยจัดเป็นกิจกรรมวิชาการและกิจกรรมนักศึกษา วิชาทหารดังนี้ ๒.๑ กิจกรรมวิชาการ ประกอบด้วย กิจกรรมชุมนุม ชมรม ๒.๒ กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร ๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบําเพ็ญตน ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชนและท้องถิ่น ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถึง ความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคมและการมีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม กิจกรรมห้องเรียนสะอาด กิจกรรมหนึ่งห้องหนึ่งโครงการ ซึ่งเป็นโครงการเสริมสร้าง คุณธรรมในโรงเรียน

๑๔


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาและโครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖) ซึ่งการศึกษาระดับ นี้เน้นการเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน แต่ละคนทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ มีทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนาตนและ ประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็นผู้นําและผู้ให้บริการชุมชนในด้านต่างๆ และสําหรับโครงสร้าง หลักสูตรสถานศึกษาได้ดําเนินการจัดตามรูปแบบที่ ๑ ของโรงเรียนมาตรฐานสากล โดยยึดรูปแบบ ตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นสําคัญทุกประการ คือ จัดให้ผู้เรียนได้เรียนกลุ่มสาระพื้นฐาน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ๑) เรียนสาระเพิ่มเติมตามกลุ่มเน้น ๒ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเน้นวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ กลุ่มเน้นภาษาอังกฤษ – คณิตศาสตร์ สาระที่เป็นสากล ๔ สาระ ได้แก่ ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) การเขียนความเรียงขั้นสูง (Extended-Essay) กิจกรรม โครงงานสาธารณประโยชน์ที่เกิดจากการสร้างสรรค์สู่การปฏิบัติของผู้เรียน (Creativity, Actions, Service) โลกศึกษา (Global Education) ภาษาอังกฤษและเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาษาต่างประเทศที่ ๒ อีก ๑ ภาษา คือ ภาษาจีน ๒) โดยได้กําหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่ํา สําหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และโรงเรียนได้เพิ่มเติมเวลาเรียนตามความพร้อมของผู้เรียน ความต้องการ ของท้องถิ่นบริบทของสถานศึกษาและเกณฑ์การจบการศึกษา คือ จัดเวลาเรียนเป็นรายภาคมีเวลาเรียนวันละ ไม่น้อยกว่า ๖ ชั่วโมง คิดค่าน้ําหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้ําหนักวิชาเท่ากับ ๑ หน่วยกิต (นก.) สามารถแสดงเป็นแผนภูมิโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาได้ดังนี้ ๑. กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และ ภาษาต่างประเทศ ๒. สาระการเรียนรู้เพิ่มเติมตามจุดเน้น ๒ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเน้นวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ กลุ่มเน้นภาษาอังกฤษ – คณิตศาสตร์ ๓. สาระการเรียนรู้เพิ่มเติมความเป็นสากล ๖ สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) การเขียนความเรียงขั้นสูง (Extended-Essay) กิจกรรมโครงงานสาธารณประโยชน์ที่เกิดจาก การสร้างสรรค์สู่การปฏิบัติของผู้เรียน (Creativity, Actions, Service) โลกศึกษา (Global Education) ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน ๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๓ ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรม เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

๑๕


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล (WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช 2553

รายวิชาพื้นฐาน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ - ภาษาไทย - คณิตศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ - สังคมศึกษา/ศาสนาและวัฒนธรรม

- สุขศึกษาและพลศึกษา - ศิลปะ - การงานอาชีพและเทคโนโลยี - ภาษาต่างประเทศ

+ สาระเพิ่มเติมตามจุดเน้น 2 กลุ่ม - กลุ่มเน้นวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ - กลุ้มเน้นภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์

+ สาระเพิ่มเติมความเป็นสากล - TOK (Theory of Knowledge) - Extended-Essey - CAS (Creativity, Actions, Service) - Global Education - ภาษาอังกฤษ - ภาษาจีน

+ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - กิจกรรมแนะแนว - กิจกรรมชุมนุม / กิจกรรม นศท. - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

๑๖


๑๗

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

โครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ๑. กลุ่มเน้นวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์

ตารางที่ ๑

โครงสร้างเวลาเรียนกลุ่มเน้นวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕

กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม สาระการเรียนรู้พื้นฐาน ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ - ฟิสิกส์ - เคมี - ชีววิทยา - ธรณีและดาราศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม - ประวัติศาสตร์ - ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม - หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิตในสังคม - ภูมิศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวม

เวลาเรียน/หน่วยกิต ชั่วโมง หน่วยกิต ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ (๘๐) (๖๐) (๖๐) (๔๐) ๓๒๐ (๘๐)

๖.๐ ๖.๐ ๖.๐ (๒.๐) (๑.๕) (๑.๕) (๑.๐) ๘.๐ (๒.๐)

(๒๔๐)

(๖.๐)

๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐ ๑,๖๔๐

๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๖.๐ ๔๑.๐


๑๘

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๑ โครงสร้างเวลาเรียนกลุ่มเน้นวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ (ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม วิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ – คอมพิวเตอร์** สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศาสนาและจริยธรรม โลกศึกษา** สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ การเขียนความเรียงขั้นสูง** ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม** ภาษาจีน** ภาษาไทย องค์ความรู้** รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - กิจกรรมแนะแนว - กิจกรรมวิชาการ/กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคม จํานวน ๑๐ ชัว่ โมง รวม รวมเวลาเรียนทั้งหมด

เวลาเรียน/หน่วยกิต ชั่วโมง หน่วยกิต ๓๖๐ (๓๖๐)

๙.๐ (๙.๐)

(๔๐๐) (๓๐๐) (๓๐๐) (๑๒๐) (๖๐) ๑๐๐ (๔๐) (๖๐) ๑๒๐ ๑๔๐ ๕๔๐ (๖๐) (๓๖๐) (๑๒๐) ๖๐ (๖๐) ๒,๙๖๐

(๑๐.๐) (๗.๕) (๗.๕) (๓.๐) (๑.๕) ๒.๕ (๑.๐) (๑.๕) ๓.๐ ๓.๕ ๑๓.๕ (๑.๕) (๙.๐) (๓.๐) ๑.๕ (๑.๕) ๗๔.๐

(๑๒๐) (๑๒๐)

-

(๑๒๐) ๓๖๐ ๔,๓๘๐

๑๐๐.๕


๑๙

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๒ กลุ่มเน้นภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์ ตารางที่ ๒

โครงสร้างเวลาเรียนกลุ่มเน้นภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม

สาระการเรียนรู้พื้นฐาน ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ - ฟิสิกส์ - เคมี - ชีววิทยา - ธรณีและดาราศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม - ประวัติศาสตร์ - ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม - หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิตในสังคม - ภูมิศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวม

เวลาเรียน/หน่วยกิต ชั่วโมง หน่วยกิต ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ (๘๐) (๖๐) (๖๐) (๔๐) ๓๒๐ (๘๐)

๖.๐ ๖.๐ ๖.๐ (๒.๐) (๑.๕) (๑.๕) (๑.๐) ๘.๐ (๒.๐)

(๒๔๐)

(๖.๐)

๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐ ๑,๖๔๐

๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๖.๐ ๔๑.๐


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๒ โครงสร้างเวลาเรียนกลุ่มเน้นภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์ (ต่อ) เวลาเรียน/หน่วยกิต กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ชั่วโมง หน่วยกิต สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม คณิตศาสตร์ ๓๖๐ ๙.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (๓๖๐) (๙.๐) วิทยาศาสตร์ ๑๘๐ ๔.๕ วิทยาศาสตร์ทั่วไป (๑๒๐) (๔.๐) โครงงาน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ – คอมพิวเตอร์** (๖๐) (๓.๐) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑๔๐ ๓.๕ ศาสนาและจริยธรรม (๔๐) (๑.๐) โลกศึกษา** (๖๐) (๑.๕) การปกครองท้องถิ่น (๔๐) (๑.๐) สุขศึกษาและพลศึกษา ๑๒๐ ๓.๐ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๒๐ ๑๐.๕ ศิลปะ ๔๐ ๑.๐ ภาษาต่างประเทศ ๕๔๐ ๑๓.๕ การเขียนความเรียงขั้นสูง** (๖๐) (๑.๕) ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม** (๓๖๐) (๙.๐) ภาษาจีน** (๑๒๐) (๓.๐) ภาษาไทย ๓๐๐ ๗.๕ องค์ความรู้** (๖๐) (๑.๕) ภาษาไทยเพิ่มเติม (๒๔๐) (๖.๐) รวม ๒,๑๐๐ ๕๒.๕ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - กิจกรรมแนะแนว (๑๒๐) - กิจกรรมวิชาการ/กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร (๑๒๐) - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคม จํานวน ๑๐ ชัว่ โมง (๑๒๐) รวม ๓๖๐ รวมเวลาเรียนทั้งหมด ๔,๑๐๐ ๙๓.๕

๒๐


๒๑

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาและโครงสร้างรายวิชา ๑ กลุ่มเน้นวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ ตารางที่ ๓

โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มเน้นวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕

ภาค ๑ พฐ พต

ภาค ๒ พฐ พต

ชั่วโมง/สัปดาห์ ม. ๕ ภาค ๑ ภาค ๒ พฐ พต พฐ พต

ภาษาไทย องค์ความรู*้ * คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โครงงาน วิทย์-คณิต-คอม**

๒ ๒ ๑๒ -

๑ ๓ -

๒ ๒ -

๑ ๓ ๑๐ -

๒ ๒ -

๑ ๓ ๑๐ -

๒ ๒ -

๓ ๑๐ ๑

๒ ๒ -

๓ ๑๐ ๑

๒ ๒ -

๓ ๑๐ ๑

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

-

-

-

-

-

-

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ศาสนาและจริยธรรม โลกศึกษา** สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ การเขียนความเรียงชั้นสูง** ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม** ภาษาจีน** ชั่วโมง/สัปดาห์ หน่วยกิต/ภาคเรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - แนะแนว - กิจกรรมวิชาการ/กิจกรรมนศท. - กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ชั่วโมง/ภาคเรียน/ ๒๐ สัปดาห์

รวมชั่วโมง/ปี หมายเหตุ

ม. ๔

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒๓ ๑๑ ๑๑.๕ ๕.๕ ๑ ๑

-

๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๑ ๓ ๑ ๑๒ ๒๒ ๖.๐ ๑๑.๐ ๑ ๑

-

๑ ๑ ๕๒๐ ๒๒๐ ๓๐๐ ๔๔๐ ๑,๔๘๐

๑. พฐ หมายถึง รายวิชาพื้นฐาน พต หมายถึง รายวิชาเพิ่มเติม ๒. ** รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล

๑ ๑ ๑ ๒ ๑๒ ๖.๐ ๑ ๑ ๑ ๓๐๐

ม. ๖ ภาค ๑ พฐ พต

ภาค ๒ พฐ พต

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒๒ ๑๒ ๒๒ ๑๒ ๒๑ ๑๑ ๒๑ ๑๑.๐ ๖.๐ ๑๑.๐ ๖.๐ ๑๐.๕ ๕.๕ ๑๐.๕ -

๑ ๑

-

๑ ๑

-

๑ ๑

-

๑ ๑ ๑ ๔๔๐ ๓๐๐ ๔๔๐ ๓๐๐ ๔๒๐ ๒๘๐ ๔๒๐ ๑,๔๘๐ ๑.๔๒๐


๒๒

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๔

โครงสร้างรายวิชากลุ่มเน้นวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์

ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ ภาคเรียนที่ ๑ รายวิชา/กิจกรรม

ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรียน/ หน่วยกิต หน่วยกิต ชม.

รายวิชาพื้นฐาน

ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ว๓๑๑๐๑ ฟิสิกส์ ว๓๑๑๐๒ เคมี ว๓๑๑๐๓ ชีววิทยา ว๓๑๑๐๔ ธรณีและดาราศาสตร์ ส๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ (ประวัติศาสตร์ไทย) พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษา ๑ ศ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ (ดนตรี ๑) ง๓๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑ อ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ รวม

รายวิชา/กิจกรรม

เวลาเรียน/ หน่วยกิต ชม. หน่วยกิต

รายวิชาพื้นฐาน

๒ ๒ ๔ ๓ ๓ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๒๓

๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐ ๑๑.๕

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ส๓๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒(หน้าที่พลเมืองฯ) ส๓๑๑๐๓ สังคมศึกษา ๓(พระพุทธศาสนาฯ๑) พ๓๑๑๐๒ สุขศึกษา ๒ ศ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ (นาฎศิลป์ ๑) ง๓๑๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒ อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒

๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐

รวม

๑๒

๖.๐

๓ ๔ ๓ ๓ ๑ ๒ ๒

๑.๕ ๒.๐ ๑.๕ ๑.๕ ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐

๑ ๑ ๑ ๑ ๒๒

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑๑.๐

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

ค๓๑๒๐๗ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๗ พ๓๐๒๐๑ วอลเลย์บอล ง๓๑๒๔๑ คอมพิวเตอร์ ๑ อ๓๑๒๐๗ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๗

๓ ๑ ๑ ๒

๑.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐

รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล ท๓๐๒๔๑ องค์ความรู้ ๑ ส๓๐๒๐๓ โลกศึกษา ๑ อ๓๑๒๑๓ ทักษะการฟัง-พูด ๑ จ๓๑๒๐๑ ทักษะการฟัง-พูด ๑ รวม

๑ ๑ ๑ ๑ ๑๑

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๕.๕

ค๓๑๒๐๘ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๘ ว๓๑๒๐๑ ฟิสิกส์ ๑ ว๓๑๒๒๑ เคมี ๑ ว ๓๑๒๔๑ ชีววิทยา ๑ พ๓๐๒๐๒ บาสเกตบอล ง๓๑๒๔๒ คอมพิวเตอร์ ๒ อ๓๑๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๘ รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล ท๓๐๒๔๒ องค์ความรู้ ๒ อ๓๐๒๔๑ การเขียนความเรียงขั้นสูง ๑

อ๓๑๒๑๔ ทักษะการฟัง-พูด ๒ จ๓๑๒๐๒ ทักษะการฟัง-พูด ๒ รวม


๒๓

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๑๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว

-

๒ -

-

ก๓๑๙๒๒ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ * กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง

๒ -

-

๓ ๓๗

๑๗.๐

รวม รวมทั้งสิ้น

๓ ๓๗

๑๗.๐

ก๓๑๙๒๑ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ * กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง

รวม รวมทั้งสิ้น ตารางที่ ๕

-

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๑๙๐๒ กิจกรรมแนะแนว

โครงสร้างรายวิชากลุ่มเน้นวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์

ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๔ ภาคเรียนที่ ๑ รายวิชา/กิจกรรม

ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรียน/ หน่วยกิต ชม.

รายวิชาพื้นฐาน ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ค๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ (ศาสนาฯ) พ๓๒๑๐๑ สุขศึกษา ๓ ศ๓๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ง๓๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓ อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ รวม

หน่วยกิต

๒ ๒ ๓ ๑ ๑ ๑ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐

๑๒

๖.๐

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

ค๓๒๒๐๙ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๙ ว๓๒๒๐๒ ฟิสิกส์ ๒ ว๓๒๒๒๒ เคมี ๒ ว๓๒๒๔๒ ชีววิทยา ๒ ว๓๐๒๘๔ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ๑ พ๓๐๒๐๓ แบดมินตัน ง๓๒๒๔๓ คอมพิวเตอร์ ๓ อ๓๒๒๐๙ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๙ รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล ท๓๐๒๔๓ องค์ความรู้ ๓ ส๓๐๒๒๒ โลกศึกษา ๒

รายวิชา/กิจกรรม รายวิชาพื้นฐาน ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ส๓๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๕(เศรษฐศาสตร์ฯ) ส๓๒๑๐๓ สังคมศึกษา ๖ (พุทธศาสนาฯ๒) พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษา ๔ ศ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ ง๓๒๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ รวม

เวลาเรียน/ หน่วยกิต ชม.

หน่วยกิต

๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐ ๖.๐

๓ ๔ ๓ ๓ ๒ ๑ ๒ ๒

๑.๕ ๒.๐ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๐ ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐

๑ ๑

๐.๕ ๐.๕

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

๓ ๔ ๓ ๓ ๒ ๑ ๒ ๒

๑.๕ ๒.๐ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๐ ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐

๑ ๑

๐.๕ ๐.๕

ค๓๒๒๑๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑๐ ว๓๒๒๐๓ ฟิสิกส์ ๓ ว๓๒๒๒๓ เคมี ๓ ว๓๒๒๔๓ ชีววิทยา ๓ ว๓๐๒๘๕ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ๒ พ๓๐๒๐๔ เทนนิส ง๓๒๒๔๔ คอมพิวเตอร์ ๔ อ๓๒๒๑๐ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๑๐ รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล อ๓๐๒๔๒ การเขียนความเรียงขั้นสูง ๒ ว๓๐๒๙๔ โครงงาน วิทย์ฯ-คณิตฯ-คอมฯ ๔


๒๔

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

อ๓๑๒๑๕ การเขียน ๑ จ๓๒๒๐๓ การเขียน ๑ รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๑๙๐๓ กิจกรรมแนะแนว

๑ ๑ ๒๔

๐.๕ ๐.๕ ๑๒.๐

-

อ๓๑๒๑๖ การเขียน ๒ จ๓๒๒๐๔ การเขียน ๒ รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๑๙๐๔ กิจกรรมแนะแนว ก๓๑๙๒๔ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

ก๓๑๙๒๓ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

-

* กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง รวม รวมทั้งสิ้น

๓ ๓๙

๑๙.๕

ตารางที่ ๖

๑ ๑ ๒๔

๐.๕ ๐.๕ ๑๒.๐

-

-

* กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง รวม ๓ รวมทั้งสิ้น ๓๙

๑๙.๕

โครงสร้างรายวิชากลุ่มเน้นวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์

ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๕ ภาคเรียนที่ ๑ รายวิชา/กิจกรรม

ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรียน/ หน่วยกิต ชม.

รายวิชาพื้นฐาน ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๗ (ภูมิศาสตร์) ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๘ (พุทธศาสนาฯ๓) พ๓๓๑๐๑ สุขศึกษา ๕ ศ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ง๓๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ อ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ รวม

๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑๒

หน่วยกิต

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐ ๖.๐

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

ค๓๓๒๑๑ ว๓๓๒๐๔ ว๓๓๒๒๔ ว๓๓๒๔๔ ว๓๐๒๘๔ ส๓๐๒๐๑

คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑๑ ฟิสิกส์ ๔ เคมี ๔ ชีววิทยา ๔ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ๑ ศาสนาและจริยธรรม ๑

รายวิชา/กิจกรรม

เวลาเรียน/ หน่วยกิต ชม.

หน่วยกิต

รายวิชาพื้นฐาน ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ค๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖(ประวัติศาสตร์สากล) พ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ศ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ง๓๓๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๖ อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖

๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐

รวม

๑๑

๕.๕

๓ ๔ ๓ ๓ ๒ ๑

๑.๕ ๒.๐ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๐ ๐.๕

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

๓ ๔ ๓ ๓ ๒ ๑

๑.๕ ๒.๐ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๐ ๐.๕

ค๓๓๒๐๖ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๖ ว๓๓๒๐๕ ฟิสิกส์ ๕ ว๓๓๒๒๕ เคมี ๕ ว๓๓๒๔๕ ชีววิทยา ๕ ว๓๐๒๘๕ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ๒ ส๓๐๒๐๒ ศาสนาและจริยธรรม ๒


๒๕

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

พ๓๐๒๐๕ ลีลาศ อ๓๓๒๑๑ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๑๑ รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล ว๓๐๒๙๕ โครงงานวิทย์ฯ – คณิตฯ - คอม ๕ ส๓๐๒๖๒ โลกศึกษา ๓ อ๓๑๒๑๗ อังกฤษรอบรู้ ๑ จ๓๓๒๐๕ จีนรอบรู้ ๑

รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๑๙๐๕ กิจกรรมแนะแนว ก๓๑๙๒๕ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ * กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง

รวม รวมทั้งสิ้น

๑ ๒

๐.๕ ๑.๐

๑ ๑ ๑ ๑ ๒๒

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑๑.๐

-

๒ ๓ ๓๘

๑๙.๐

พ๓๐๒๐๖ การบริหารกายประกอบดนตรี อ๓๓๒๑๒ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๑๒ *เรียนเสริมพิเศษ รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล อ๓๓๒๔๖ การเขียนความเรียงขั้นสูง ๖ ว๓๐๒๙๖ โครงงานวิทย์ฯ– คณิตฯ - คอม ๖ อ๓๑๒๑๘ อังกฤษรอบรู้ ๒ จ๓๓๒๐๖ จีนรอบรู้ ๒

รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๑๙๐๖ กิจกรรมแนะแนว ก๓๑๙๒๖ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณระโยชน์ * กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง

รวม รวมทั้งสิ้น

๑ ๒ (๓)

๐.๕ ๑.๐ -

๑ ๑ ๑ ๑ ๒๒

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑๑.๐

-

๒ ๓ ๓๗

๑๘.๕


๒๖

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๒ กลุ่มเน้นภาษาอังกฤษ – คณิตศาสตร์ ตารางที่ ๗

โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มเน้นภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ชั่วโมง/สัปดาห์ หน่วยกิต/ภาคเรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - แนะแนว

ชั่วโมง/สัปดาห์ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖ ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๑ ภาค ๒ พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต ๒ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๑๐ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๒ ๑ ๓ ๓ ๑ ๓ ๓ ๔ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๖ ๑ ๔ ๑ ๖ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๓ ๒ ๔ ๒ ๓ ๒ ๔ ๒ ๓ ๒ ๔ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒๑ ๑๓ ๑๔ ๑๘ ๑๒ ๒๐ ๑๒ ๒๐ ๑๒ ๑๙ ๑๑ ๑๗ ๑๐.๕ ๖.๕ ๗.๐ ๙.๐ ๖.๐ ๑๐.๐ ๖.๐ ๑๐.๐ ๖.๐ ๙.๕ ๕.๕ ๘.๕ ๑

-

-

-

-

-

-

- กิจกรรมวิชาการ/กิจกรรมนศท.

-

-

-

-

-

-

๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ชั่วโมง/ภาคเรียน/ ๒๐ สัปดาห์

๑ ๔๘๐

๔๐๐

๑ ๓๐๐

๔๒๐

๑ ๓๐๐

รวมชั่วโมง/ปี หมายเหตุ

๑ ๑ ๒๖๐ ๓๔๐ ๓๖๐ ๓๐๐

๑.๔๔๐

๑. พฐ หมายถึง รายวิชาพื้นฐาน พต หมายถึง รายวิชาเพิ่มเติม ๒. รายวิชาเพิ่มเติมมีรายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากลรวมอยู่ด้วย

๑.๔๒๐

๑ ๓๘๐ ๒๘๐ ๓๔๐

๑.๓๐๐


๒๗

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๘

โครงสร้างรายวิชากลุ่มเน้นภาษาอังกฤษ – คณิตศาสตร์

ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ ภาคเรียนที่ ๑ รายวิชา/กิจกรรม

ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรียน/ หน่วยกิต ชม.

รายวิชาพื้นฐาน ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ว๓๑๑๐๑ ฟิสิกส์ ว๓๑๑๐๒ เคมี ว๓๑๑๐๓ ชีววิทยา ส๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ (ประวัติศาสตร์ไทย) พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษา ๑ ศ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ (ดนตรี ๑) ง๓๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑ อ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ รวม

๒ ๒ ๔ ๓ ๓ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๒๑

หน่วยกิต

๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๐ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐ ๑๐.๕

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

ท๓๑๒๐๑ การเขียน ๑ ค๓๑๒๐๗ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๗ พ๓๐๒๐๑ วอลเลย์บอล ง๓๑๒๔๑ คอมพิวเตอร์ ๑ อ๓๑๒๐๗ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๗

รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล ท๓๐๒๔๑ องค์ความรู้ ๑ ส๓๐๒๐๓ โลกศึกษา ๑ อ๓๑๒๑๓ ทักษะการฟัง – การพูด ๑ จ๓๑๒๐๑ ทักษะการฟัง-พูด ๑ รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๑๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว

รายวิชา/กิจกรรม รายวิชาพื้นฐาน ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว๓๑๑๐๔ ธรณีและดาราศาสตร์ ส๓๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ (หน้าทีพ่ ลเมืองฯ) ส๓๑๑๐๓ สังคมศึกษา ๓ (พระพุทธศาสนาฯ ๑) พ๓๑๑๐๒ สุขศึกษา ๒ ศ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ ง๓๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒ อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ รวม

เวลาเรียน/ หน่วยกิต ชม.

หน่วยกิต

๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐

๑๔

๗.๐

๒ ๓ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒

๑.๐ ๑.๕ ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐

๑ ๑ ๑ ๑ ๑๘

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๙.๐

-

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

๒ ๓ ๑ ๑ ๒

๑.๐ ๑.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐

๑ ๑ ๑ ๑ ๑๓

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๖.๕

-

ท๓๑๒๐๒ การเขียน ๒ ค๓๑๒๐๘ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๘ พ๓๐๒๐๒ บาสเกตบอล ง๓๑๒๔๒ คอมพิวเตอร์ ๒ ง๓๐๒๒๑ การจัดสวน ง๓๐๒๒๒ งานเกษตร อ๓๑๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๘ รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล ท๓๐๒๔๒ องค์ความรู้ ๒ อ๓๐๒๔๑ การเขียนความเรียงขัน้ สูง ๑ อ๓๑๒๑๔ ทักษะการฟัง – การพูด ๒ จ๓๑๒๐๒ ทักษะการฟัง – การพูด ๒ รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๑๙๐๒ กิจกรรมแนะแนว


๒๘

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล ก๓๑๙๒๑ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

* กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง รวม รวมทั้งสิ้น

ตารางที่ ๙

-

๓ ๓๗

๑๗.๐

ก๓๑๙๒๒ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

-

* กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง รวม รวมทั้งสิ้น

๓ ๓๕

๑๖.๐

โครงสร้างรายวิชากลุ่มเน้นภาษาอังกฤษ – คณิตศาสตร์

ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๔ ภาคเรียนที่ ๑ รายวิชา/กิจกรรม

ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรียน/ หน่วยกิต ชม.

รายวิชาพื้นฐาน ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ค๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ (ศาสนาฯ) พ๓๒๑๐๑ สุขศึกษา ๓ ศ๓๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ง๓๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓ อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ รวม

หน่วยกิต

๒ ๒ ๓ ๑ ๑ ๑ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐

๑๒

๖.๐

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

ท๓๒๒๐๓ การพูด ๑ ค๓๒๒๐๙ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๙ ว๓๒๒๘๑ วิทยาศาสตร์ทั่วไป ๑ พ๓๐๒๐๓ แบดมินตัน ศ๓๒๒๐๑ ดนตรี ง๓๒๒๔๓ คอมพิวเตอร์ ๓ ง๓๐๒๐๖ บัญชี ๑ อ๓๒๒๐๙ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๙ รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล ท๓๐๒๔๓ องค์ความรู้ ๓ ส๓๐๒๒๒ โลกศึกษา ๒

รายวิชา/กิจกรรม รายวิชาพื้นฐาน ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ส๓๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๕ (เศรษฐศาสตร์) ส๓๒๑๐๓ สังคมศึกษา ๖ (พุทธศาสนาฯ๓) พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษา ๔ ศ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ ง๓๒๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ รวม

เวลาเรียน/ หน่วยกิต ชม.

หน่วยกิต

๒ ๒ ๓ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐ ๖.๐

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

๒ ๓ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒

๑ ๑

๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐

ท๓๒๒๐๔ ภาษากับวัฒนธรรม ค๓๒๒๑๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑๐ ว๓๒๒๘๒ วิทยาศาสตร์ทั่วไป ๒ พ๓๐๒๐๔ เทนนิส ง๓๒๒๔๔ คอมพิวเตอร์ ๔ ง๓๐๒๐๗ บัญชี ๒ ง๓๐๒๐๘ งานธุรกิจ อ๓๒๒๑๐ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๑๐

๒ ๓ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒

๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐

๐.๕ ๐.๕

รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล อ๓๐๒๔๒ การเขียนความเรียงขั้นสูง ๒ ว๓๐๒๙๔ โครงงาน วิทย์ฯ-คณิตฯ-คอมฯ ๔

๑ ๑

๐.๕ ๐.๕


๒๙

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

อ๓๒๒๑๕ การเขียน ๑ จ๓๒๒๐๓ การเขียน ๑

๑ ๑

๐.๕ ๐.๕

อ๓๒๒๑๖ การเขียน ๒ จ๓๒๒๐๔ การเขียน ๒

๑ ๑

๐.๕ ๐.๕

รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๑๙๐๓ กิจกรรมแนะแนว

๒๐

๑๐.๐

๒๐

๑๐.๐

-

รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๒๙๐๔ กิจกรรมแนะแนว

-

-

ก๓๒๙๒๔ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

-

* กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง รวม รวมทั้งสิ้น

๓ ๓๕

๑๖.๐

ก๓๑๙๒๓ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

* กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง รวม ๓ รวมทั้งสิ้น ๓๕

ตารางที่ ๑๐

๑๖.๐

โครงสร้างรายวิชากลุ่มเน้นภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์

ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๕ ภาคเรียนที่ ๑ รายวิชา/กิจกรรม

ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรียน/ หน่วยกิต ชม.

รายวิชาพื้นฐาน ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๗ (ภูมิศาสตร์) ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๘ (พุทธศาสนา ฯ ๓) พ๓๓๑๐๑ สุขศึกษา ๕ ศ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ง๓๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ อ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ รวม

๒ ๒ ๓ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑๒

หน่วยกิต

๑.๐ ๑.๐ ๑.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐ ๖.๐

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

ท๓๓๒๐๕ ค๓๓๒๑๑ ว๓๓๒๘๓ ส๓๐๒๐๑ ส๓๓๒๒๑ พ๓๐๒๐๕

การอ่านและพิจารณาหนังสือ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑๑ วิทยาศาสตร์ทั่วไป ๓ ศาสนาและจริยธรรม ๑ การปกครองท้องถิ่น ลีลาศ

รายวิชา/กิจกรรม รายวิชาพื้นฐาน ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ค๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๙ (ประวัติศาสตร์สากล) พ๓๓๑๐๒ สุขศึกษา ๖ ศ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ง๓๓๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๖ อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ รวม

เวลาเรียน/ หน่วยกิต ชม.

หน่วยกิต

๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐

๑๑

๕.๕

๒ ๓ ๑ ๑ ๒ ๒

๑.๐ ๑.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐

รายวิชาเพิ่มเติม(ตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑)

๒ ๓ ๒ ๑ ๒ ๑

๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๐.๕ ๑.๐ ๐.๕

ท๓๓๒๐๖ วรรณกรรมท้องถิ่น ค๓๓๒๑๒ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑๒ ส๓๐๒๐๒ ศาสนาและจริยธรรม ๒ พ๓๐๒๐๖ การบริหารกายประกอบดนตรี ง๓๐๒๐๑ งานบ้าน อ๓๓๒๑๒ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๑๒


๓๐

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ง๓๐๒๐๓ งานช่าง อ๓๓๒๑๑ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๑๑ รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล ว๓๐๒๙๕ โครงงานวิทย์ฯ – คณิตฯ - คอม ๕ ส๓๐๒๖๒ โลกศึกษา ๓ อ๓๓๒๑๗ อังกฤษรอบรู้ ๑ จ๓๓๒๐๕ จีนรอบรู้ ๑ รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๓๙๐๕ กิจกรรมแนะแนว ก๓๓๙๒๕ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

* กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง รวม รวมทั้งสิ้น

๒ ๒

๑.๐ ๑.๐

* เรียนเสริมพิเศษ

(๓)

-

รายวิชาเพิ่มเติมความเป็นสากล อ๓๐๒๔๓ การเขียนความเรียงขัน้ สูง ๓ ว๓๐๒๙๖ โครงงาน วิทย์ฯ – คณิตฯ - คอม ๖ อ๓๓๒๑๘ อังกฤษรอบรู้ ๒ จ๓๓๒๐๖ จีนรอบรู้ ๒

๑ ๑ ๑ ๑

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

๑๕

๗.๕

-

๑ ๑ ๑ ๑

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

๑๙

๙.๕

-

รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก๓๓๙๐๖ กิจกรรมแนะแนว

-

ก๓๓๙๒๖ กิจกรรมวิชาการ/ กิจกรรม นศท. + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

-

๓ ๓๔

๑๕.๕

* กิจกรรมเพื่อสังคมฯ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง รวม รวมทั้งสิ้น

๓ ๒๙

๑๓.๐


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตารางที่ ๑๑

โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ รายวิชา

จํานวนชั่วโมง

จํานวนหน่วยกิต

พื้นฐาน ท๓๑๑๐๑ ท๓๑๑๐๒ ท๓๒๑๐๑ ท๓๒๑๐๒ ท๓๓๑๐๑ ท๓๓๑๐๒

ภาษาไทย ๑ ภาษาไทย ๒ ภาษาไทย ๓ ภาษาไทย ๔ ภาษาไทย ๕ ภาษาไทย ๖

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐

เพิ่มเติม ท๓๑๒๐๑ ท๓๑๒๐๒ ท๓๒๒๐๓ ท๓๒๒๐๔ ท๓๓๒๐๕ ท๓๓๒๐๖

การเขียน ๑ การเขียน ๒ การพูด ๑ ภาษากับวัฒนธรรม การอ่านและพิจารณาหนังสือ วรรณกรรมท้องถิ่น

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐

๑ ๑ ๑

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

เพิ่มเติมความเป็นสากล ท๓๐๒๔๑ องค์ความรู้ ๑ ท๓๐๒๔๒ องค์ความรู้ ๒ ท๓๐๒๔๓ องค์ความรู้ ๓

๓๑


๓๒

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๑๒

โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ รายวิชา

จํานวนชั่วโมง

จํานวนหน่วยกิต

พื้นฐาน ค๓๑๑๐๑ ค๓๑๑๐๒ ค๓๒๑๐๑ ค๓๒๑๐๒ ค๓๓๑๐๑ ค๓๓๑๐๒

คณิตศาสตร์ ๑ คณิตศาสตร์ ๒ คณิตศาสตร์ ๓ คณิตศาสตร์ ๔ คณิตศาสตร์ ๕ คณิตศาสตร์ ๖

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐

เพิ่มเติม ค๓๑๒๐๑ ค๓๑๒๐๒ ค๓๒๒๐๓ ค๓๒๒๐๔ ค๓๓๒๐๕ ค๓๓๒๐๖ ค๓๑๒๐๗ ค๓๑๒๐๘ ค๓๒๒๐๙ ค๓๒๒๑๐ ค๓๓๒๑๑ ค๓๓๒๑๒

คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๒ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๓ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๔ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๕ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๖ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๗ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๘ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๙ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑๑ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑๒

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓

๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕

๑ ๑

๐.๕ ๐.๕

เพิ่มเติมความเป็นสากล ค๓๐๒๙๑ คณิตศาสตร์ พสวท. (ตรรกศาสตร์เบื้องต้นและวิธีการพิสูจน์) ค๔๐๒๙๒ คณิตศาสตร์ พสวท. (คอมบินาทอริก)


๓๓

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๑๓

โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ รายวิชา พื้นฐาน ว๓๑๑๐๑ ฟิสิกส์ ว๓๑๑๐๒ เคมี ว๓๑๑๐๓ ชีววิทยา ว๓๑๑๐๔ ธรณีและดาราศาสตร์ เพิ่มเติม ว๓๐๒๘๔ โลกดาราศาสตร์และอวกาศ ๑ ว๓๐๒๘๕ โลกดาราศาสตร์และอวกาศ ๒ ว๓๐๒๘๖ โลกดาราศาสตร์และอวกาศ ๓ ว๓๑๒๐๑ ฟิสิกส์ ๑ ว๓๒๒๐๒ ฟิสิกส์ ๒ ว๓๒๒๐๓ ฟิสิกส์ ๓ ว๓๓๒๐๔ ฟิสิกส์ ๔ ว๓๓๒๐๕ ฟิสิกส์ ๕ ว๓๑๒๒๑ เคมี ๑ ว๓๒๒๒๒ เคมี ๒ ว๓๒๒๒๓ เคมี ๓ ว๓๓๒๒๔ เคมี ๔ ว๓๓๒๒๕ เคมี ๕ ว๓๑๒๔๑ ชีววิทยา ๑ ว๓๒๒๔๒ ชีววิทยา ๒ ว๓๒๒๔๓ ชีววิทยา ๓ ว๓๓๒๔๔ ชีววิทยา ๔ ว๓๓๒๔๕ ชีววิทยา ๕ ว๓๒๒๘๑ วิทยาศาสตร์ทั่วไป ๑ ว๓๒๒๘๒ วิทยาศาสตร์ทั่วไป ๒ ว๓๒๒๘๑๓ วิทยาศาสตร์ทั่วไป ๓ เพิ่มเติมความเป็นสากล ว๓๐๒๙๔ โครงงานสร้างสรรค์วทิ ย์-คณิต-คอม ๔ ว๓๐๒๙๕ โครงงานสร้างสรรค์วทิ ย์-คณิต-คอม ๕ ว๓๐๒๙๖ โครงงานสร้างสรรค์วทิ ย์-คณิต-คอม ๖

จํานวนชั่วโมง

จํานวนหน่วยกิต

๔ ๓ ๓ ๒

๒.๐ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๐

๒ ๒ ๒ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๒ ๒ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐

๑ ๑ ๑

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕


๓๔

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๑๔ โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ รายวิชา

จํานวนชั่วโมง

จํานวนหน่วยกิต

๒ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ ๑.๕ ๑.๐ ๐.๕ ๑.๐ ๐.๕ ๑.๐

เพิ่มเติม ส๓๐๒๐๑ ศาสนาและจริยธรรม ๑ ส๓๐๒๐๒ ศาสนาและจริยธรรม ๒ ส๓๐๒๒๑ การปกครองท้องถิ่น

๑ ๑ ๒

๐.๕ ๐.๕ ๑.๐

เพิ่มเติมความเป็นสากล ส๓๐๒๐๓ โลกศึกษา ๑ ส๓๐๒๒๒ โลกศึกษา ๒ ส๓๐๒๖๑ โลกศึกษา ๓

๑ ๑ ๑

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

พื้นฐาน ส๓๑๑๐๑ ส๓๑๑๐๒ ส๓๑๑๐๓ ส๓๒๑๐๑ ส๓๒๑๐๒ ส๓๒๑๐๓ ส๓๓๑๐๑ ส๓๓๑๐๒ ส๓๓๑๐๓

สังคมศึกษา ๑ (ประวัติศาสตร์ไทย) สังคมศึกษา ๒ (หน้าที่พลเมืองฯ) สังคมศึกษา ๓ (พระพุทธศาสนา ๑) สังคมศึกษา ๔ (ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) สังคมศึกษา ๕ (เศรษฐศาสตร์) สังคมศึกษา ๖ (พระพุทธศาสนา ๒) สังคมศึกษา ๗ (ภูมิศาสตร์) สังคมศึกษา ๘ (พระพุทธศาสนา ๓) สังคมศึกษา ๙ (ประวัติศาสตร์สากล)


๓๕

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๑๕ โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ รายวิชา พื้นฐาน พ๓๑๑๐๑ พ๓๑๑๐๒ พ๓๒๑๐๑ พ๓๒๑๐๒ พ๓๓๑๐๑ พ๓๓๑๐๒

สุขศึกษา สุขศึกษา สุขศึกษา สุขศึกษา สุขศึกษา สุขศึกษา

เพิ่มเติม พ๓๐๒๐๑ พ๓๐๒๐๒ พ๓๐๒๐๓ พ๓๐๒๐๔ พ๓๐๒๐๕ พ๓๐๒๐๖ พ๓๐๒๐๗ พ๓๐๒๐๘ พ๓๐๒๐๙ พ๓๐๒๑๐ พ๓๐๒๑๑

วอลเลย์บอล บาสเกตบอล แบดมินตัน เทนนิส ลีลาศ การบริหารกายประกอบดนตรี ตะกร้อ เทเบิลเทนนิส กอล์ฟ มวยไทย กระบี่กระบอง

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖

จํานวนชั่วโมง

จํานวนหน่วยกิต

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕


๓๖

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๑๖

โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ รายวิชา พื้นฐาน ศ๓๑๑๐๑ ศ๓๑๑๐๒ ศ๓๒๑๐๑ ศ๓๒๑๐๒ ศ๓๓๑๐๑ ศ๓๓๑๐๒

ศิลปะ ศิลปะ ศิลปะ ศิลปะ ศิลปะ ศิลปะ

เพิ่มเติม ศ๓๐๒๐๑ ดนตรี

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖

จํานวนชั่วโมง

จํานวนหน่วยกิต

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

๑.๐


๓๗

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๑๗ โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ รายวิชา

จํานวนชั่วโมง

จํานวนหน่วยกิต

๑ ๒ ๓ ๔

๑ ๑ ๑ ๑

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

เพิ่มเติม ง๓๐๒๐๑ งานบ้าน ง๓๐๒๐๒ งานประดิษฐ์ ง๓๐๒๐๓ งานช่าง ง๓๐๒๐๖ การบัญชี ๑ ง๓๐๒๐๗ การบัญชี ๒ ง๓๐๒๐๘ งานธุรกิจ ง๓๐๒๒๑ การจัดสวน ง๓๐๒๒๒ งานเกษตร ง๓๑๒๔๑ คอมพิวเตอร์ ๑ ง๓๑๒๔๒ คอมพิวเตอร์ ๒ ง๓๒๒๔๓ คอมพิวเตอร์ ๓ ง๓๒๒๔๔ คอมพิวเตอร์ ๔ ง๔๐๒๐๕ สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕

พื้นฐาน ง๓๑๑๐๑ ง๓๑๑๐๒ ง๓๒๑๐๑ ง๓๒๑๐๒

การงานอาชีพและเทคโนโลยี การงานอาชีพและเทคโนโลยี การงานอาชีพและเทคโนโลยี การงานอาชีพและเทคโนโลยี


๓๘

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๑๘

โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ รายวิชา พื้นฐาน อ๓๑๑๐๑ อ๓๑๑๐๒ อ๓๒๑๐๑ อ๓๒๑๐๒ อ๓๓๑๐๑ อ๓๓๑๐๒ เพิ่มเติม อ๓๑๒๐๑ อ๓๑๒๐๒ อ๓๒๒๐๓ อ๓๒๒๐๔ อ๓๓๒๐๕ อ๓๓๒๐๖ อ๓๑๒๐๗ อ๓๑๒๐๘ อ๓๒๒๐๙ อ๓๒๒๑๐ อ๓๓๒๑๑ อ๓๓๒๑๒ อ๓๐๒๔๑ อ๓๐๒๔๒ อ๓๐๒๔๓ อ๓๑๒๑๓ อ๓๑๒๑๔ อ๓๒๒๑๕ อ๓๒๒๑๖ อ๓๓๒๑๗ อ๓๓๒๑๘

จํานวนชั่วโมง

จํานวนหน่วยกิต

ภาษาอังกฤษ ๑ ภาษาอังกฤษ ๒ ภาษาอังกฤษ ๓ ภาษาอังกฤษ ๔ ภาษาอังกฤษ ๕ ภาษาอังกฤษ ๖

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒

๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐

ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๑ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๒ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๓ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๔ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๕ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๖ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๗ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๘ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๙ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๑๐ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๑๑ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๑๒ การเขียนความเรียงขั้นสูง ๑ การเขียนความเรียงขั้นสูง ๒ การเขียนความเรียงขั้นสูง ๓ ทักษะการฟัง-พูด ๑ ทักษะการฟัง-พูด ๒ การเขียน ๑ การเขียน ๒ อังกฤษรอบรู้ ๑ อังกฤษรอบรู้ ๒

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕


๓๙

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๑๘ โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ต่อ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ รายวิชา เพิ่มเติม (ต่อ) จ๓๑๒๐๑ ทักษะการฟัง-พูด ๑ จ๓๑๒๐๒ ทักษะการฟัง-พูด ๒ จ๓๒๒๐๓ การเขียน ๑ จ๓๒๒๐๔ การเขียน ๒ จ๓๓๒๐๕ จีนรอบรู้ ๑ จ๓๓๒๐๖ จีนรอบรู้ ๒

จํานวนชั่วโมง

จํานวนหน่วยกิต

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้และเกณฑ์การจบการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถานศึกษาในโครงการ โรงเรียนมาตรฐานสากล การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้จึงเป็นการดําเนินการตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ควบคู่ไปกับการพัฒนาหลักสูตรและการสอน โรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในรายวิชาความเป็นสากลที่ผู้เรียนจะต้องแสดง ผลสัมฤทธิ์การเรียน ทั้งด้านความรู้และทักษะต่าง ๆ ที่มีการพัฒนาจากภาคเรียนหนึ่งต่อไปอีกภาคเรียนหนึ่ง ให้เป็นที่ประจักษ์โดยครูผู้สอนและกรรมการสอบตามเกณฑ์ที่กําหนด ทั้งด้านเนื้อหาความรู้ (Content) ผลสัมฤทธิ์จากกระบวนการเรียนรู้ (Process of Academic achievement) และวิธีการเรียนรู้และวัฒนธรรม การเรียนรู้ (Learning Style and Cultural Patterns) ของผู้เรียนโดยดําเนินการบนหลักการพื้นฐานสอง ประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนและตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนา คุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสําเร็จมีคุณลักษณะเป็นเลิศวิชาการ สื่อสารได้อย่างน้อย ๒ ภาษา ล้ําหน้า ทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก นั้น ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนา และประเมินผลตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศ ที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้าและความสําเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ โดยมีหลักเกณฑ์การปฏิบัติดังต่อไปนี้


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๑. วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อปรับปรุงพัฒนาผู้เรียน และการจัดการเรียนการสอนให้ถือปฏิบัติดังนี้ ๑ ผู้สอนแจ้งให้ผู้เรียนทราบมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด วิธีการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ เกณฑ์การผ่านตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้รายภาค และเกณฑ์ขั้นต่ําของการผ่านรายวิชาก่อนสอน รายวิชานั้น ๒ ผลการเรียนรู้จะต้องครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓ ประเมินผลก่อนเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อศึกษาความพร้อมและความรู้พื้นฐาน ของผู้เรียนในเรื่องที่จะเรียนของผู้เรียน ๔ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาคเรียน เพื่อศึกษาผลการเรียน เพื่อจัดสอน ซ่อมเสริมและเพื่อนําคะแนนจากการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาคเรียนของผู้เรียนไปรวมกับ การวัดผลปลายภาคเรียน โดยให้วัดและประเมินผลตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ระหว่างภาคเรียน ประกอบด้วย ๔.๑ วัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยการประเมินตามสภาพจริง ระหว่างเรียนเป็นระยะ ๆ โดยวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ที่คณะกรรมการ บริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษากําหนด ๔.๒ วัดและประเมินผลการเรียนรู้กลางภาคเรียน ๑ ครั้ง ด้วยการทดสอบ โดยวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ ของสถานศึกษากําหนด ยกเว้นรายวิชาความเป็นสากลไม่ต้องดําเนินการวัดและประเมินผลกลางภาคเรียน การประเมินผลตามข้อ ๔.๑ และข้อ ๔.๒ ถ้าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ ต่ํากว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ให้ผู้สอนวินิจฉัยหาข้อบกพร่องของผู้เรียน แล้วสอน ซ่อมเสริมให้สอดคล้องกับลักษณะของการเรียนรู้และจัดให้มีการประเมินใหม่ ๑ ครั้ง ในตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ที่ต่ํากว่าเกณฑ์ที่กําหนดตามแต่กรณีในข้อ ๔.๑ หรือ ๔.๒ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและบรรลุผลการเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ที่กําหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ๔.๓ ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ ของผู้เรียนรายภาค โดยให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษาเป็นผู้กําหนดมาตรฐาน ตัวชี้วัด แนวทาง วิธีการ เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการปรับปรุงแก้ไขผู้เรียนที่มีผลการประเมินไม่ผ่านหรือ ไม่น่าพึงพอใจตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และการพัฒนาหลักสูตร และการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๔.๔ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนโดยประเมินตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และตามการพัฒนาหลักสูตรและการสอนโรงเรียน มาตรฐานสากล ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กําหนดคุณลักษณะที่จะประเมินเพิ่มเติมโดยเป็นการประเมิน รายคุณลักษณะแล้วรวบรวมผลการประเมินจากทุกฝ่ายนํามาพิจารณาสรุปเป็นรายภาค และการจบการศึกษา

๔๐


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๔.๕ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมตาม จุดประสงค์และเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในกิจกรรมและใช้เป็นข้อมูลประกอบ การเลื่อนชั้นของผู้เรียน และการจบการศึกษา การตัดสินผลการเรียนให้นําคะแนนระหว่างภาคเรียนที่ได้จากการประเมินผลการเรียนรู้ ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสาระ ซึ่งเป็นการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะ การคิดที่กําหนดอยู่ในมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ของหลักสูตร รวมกับคะแนนปลายภาคเรียน ตามอัตราส่วนที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษากําหนดแล้วนํามาเปลี่ยน เป็นระดับผลการเรียน การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรียน ให้ผู้สอนประจํารายวิชาดําเนินการ วัดผลตามเกณฑ์ที่กําหนดและการตัดสินผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรียน ให้ระดับผลการประเมินเป็นผ่าน/ไม่ผ่าน กรณีที่ผ่านให้ระดับผลการประเมิน ๓ ระดับ ดังนี้ ๓ (ดีเยี่ยม) หมายถึง สามารถจับใจความสําคัญได้ครบถ้วน เขียน วิพากษ์วิจารณ์ เขียนสร้างสรรค์แสดงความคิดเห็นประกอบอย่างมีเหตุผลได้ถูกต้องและสมบูรณ์ ใช้ภาษาสุภาพและ เรียบเรียงได้สละสลวย มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ ๒ (ดี) หมายถึง สามารถจับใจความสําคัญได้ครบถ้วน เขียนวิพากษ์วิจารณ์ และเขียนสร้างสรรค์ได้โดยใช้ภาษาสุภาพ มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ๑ (ผ่าน) หมายถึง สามารถจับใจความสําคัญและเขียนวิพากษ์วิจารณ์ได้บ้าง เป็นที่ยอมรับแต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ กรณีไม่ผ่าน ได้รับผลการประเมิน ๐ (ไม่ผ่าน) หมายถึง ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถ ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน หรือถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยังมีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไข หลายประการ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ให้ผู้สอนดําเนินการประเมินไปพร้อม กับการประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียน ตามเกณฑ์ที่กําหนดและการตัดสินการประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียน ให้ระดับผลการประเมินเป็นผ่าน/ไม่ผ่าน กรณีที่ผ่านให้ระดับผลการประเมินดังนี้ ๓ (ดีเยี่ยม) หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติงานจนเป็นนิสัยและนําไปใช้ ในชีวิตประจําวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม ๒ (ดี) หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติงานตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของสังคม ๑ (ผ่าน) หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ พัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์กําหนด

๔๑


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

กรณีไม่ผ่าน ได้รับผลการประเมิน ๐ (ไม่ผ่าน) หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบ ตามเกณฑ์ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์กําหนด การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ประเมินเป็นรายภาคเรียนตามแนวทาง ที่คณะอนุกรรมการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกําหนด โดยให้ผู้รับผิดชอบกิจกรรมดําเนินการตามจุดประสงค์ และให้ใช้ตัวอักษรแสดงระดับผลการตัดสินการประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดังนี้ ผ หมายถึง ผ่านเกณฑ์การประเมินโดยมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในแต่ละ กิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ และมีผลการประเมินตามผลการเรียนรู้ที่สําคัญของกิจกรรมนั้น ๆ ตามเกณฑ์ ที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษากําหนด มผ หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เพราะมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในแต่ละกิจกรรมไม่ถึงร้อยละ ๘๐ หรือมีผลการประเมินตามผลการเรียนรู้ที่สําคัญของกิจกรรมนั้น ๆ ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษากําหนด ๒. เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การตัดสินผลการเรียนกําหนดให้ตัดสินการผ่านรายวิชา เป็นรายภาคเรียน การเลื่อนชั้นและการซ้ําชั้นเป็นปีการศึกษา และการจบการศึกษา หลักเกณฑ์การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้เพื่อตัดสินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และการพัฒนาหลักสูตรและการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากลระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีดังนี้ ๑. การตัดสินผลการเรียน ๑.๑ ประธานคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พิจารณาตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ ๑.๒ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ และผ่านเกณฑ์ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษากําหนด โดยเกณฑ์ การผ่านรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม ต้องผ่านมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูไ้ ม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของแต่ละรายวิชา การพิจารณาเลื่อนชั้น ถ้าผู้เรียนมีความบกพร่องเพียงบางมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษาอาจพิจารณาว่าสามารถพัฒนา และสอนซ่อมเสริมได้ ก็ให้อยู่ในดุลยพินิจของประธานคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ ๑.๓ ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา ๑.๔ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ ที่คณะกรรมการพิจารณาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน กําหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กําหนดในการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และคณะอนุกรรมการกลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกําหนดในการประเมิน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

๔๒


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๑.๕ ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ําของรายวิชาที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการของสถานศึกษากําหนดไว้ให้ได้ระดับผลการเรียน “ ๐ ” ๑.๖ ผู้เรียนที่ทุจริตในการสอบหรือทุจริตในงานที่มอบหมายให้ทําในรายวิชาใด ครั้งใดก็ตามให้ได้คะแนน “ ๐ ” ในครั้งนั้น ๑.๗ ผู้เรียนที่มีเหตุทําให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้ ให้ได้ผลการเรียน “ ร ” ๑.๘ ผู้เรียนที่ไม่มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินผลปลายภาคเรียน เพราะมีเวลาเรียน ในรายวิชานั้น ๆ ไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ให้ได้ผลการเรียน “ มส ” ๑.๙ ผู้เรียนที่ประสงค์จะเรียนรายวิชาใด โดยไม่ต้องการระดับผลการเรียน ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษาที่จะอนุญาต ให้เข้าเรียนได้ และต้องมีเวลาเรียนครบร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ให้ได้ผลการเรียน “ มก ” ๒. การตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้ถือปฏิบัติดังนี้ ๒.๑ พิจารณาตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นรายภาคเรียน และจบการศึกษา ๒.๒ พิจารณาตัดสินว่าผู้เรียนได้ผลการเรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเฉพาะกิจกรรม ที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “ ผ ” (ผ่าน) เท่านั้น ๒.๓ พิจารณาตัดสินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แต่ละกิจกรรม พิจารณา จากการผ่านจุดประสงค์ที่สําคัญและมีเวลาเรียนเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ที่จัดกิจกรรม เมื่อสิ้นสุดกิจกรรมให้นํามาพิจารณาตัดสินร่วมกัน โดยผ่านเกณฑ์การประเมินให้ได้ผลการเรียน “ ผ ” ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินให้ได้ผลการเรียน “ มผ ” ๓. การตัดสินผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ให้ถือปฏิบัติ ดังนี้ ๓.๑ พิจารณาตัดสินการอ่าน คิดวิวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ เป็นรายวิชา รายภาคและจบการศึกษา ๓.๒ การให้ผลการประเมิน ถ้าผู้เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินที่คณะกรรมการ พัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน กําหนดให้ได้ผลการประเมิน “ ๑ ถึง ๓ ” ถ้าผู้เรียน ไม่ผ่านเกณฑ์ให้ได้ผลการประเมิน “ ๐ ” ๔. การตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ถือปฏิบัติดังนี้ ๔.๑ พิจารณาตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นรายวิชา รายภาคและจบการศึกษา ๔.๒ การให้ผลการประเมิน ถ้าผู้เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่คณะกรรมการ พัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์กําหนด ให้ได้ผลการประเมิน “ ๑ ถึง ๓ ” ถ้าผู้เรียน ไม่ผ่านเกณฑ์ให้ได้ผลการประเมิน “ ๐ ”

๔๓


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๕. การเปลี่ยนระดับผลการเรียน ให้ถือปฏิบัติ ดังนี้ ๕.๑ การเปลี่ยนระดับผลการเรียนจาก “ ๐ ” ให้คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระ การเรียนรู้ จัดสอนซ่อมเสริมตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสอบไม่ผ่านก่อน แล้วจึงให้สอบแก้ตัว การสอบแก้ตัวให้สอบแก้ตัวได้ไม่เกิน ๒ ครั้ง ทั้งนี้ให้ดําเนินการตามที่คณกรรมการบริหาร หลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษากําหนด และให้เสร็จสิ้นก่อนเปิดภาคเรียนถัดไป หรือตามที่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด ถ้ามีเหตุสุดวิสัยไม่สามารถดําเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลา ที่กําหนดไว้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษาที่จะพิจารณา ขยายเวลาการเปลี่ยนระดับผลการเรียน “ ๐ ” ออกไปได้ไม่เกิน ๑ ภาคเรียน การสอบแก้ตัวให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “ ๑ ” ถ้าสอบแก้ตัว ๒ ครั้งแล้ว ยังได้รับผลการเรียน “ ๐ ” อีกหรือไม่ได้มาดําเนินการ สอบแก้ตัวให้ปฏิบัติ ดังนี้ ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐานให้เรียนซ้ําในรายวิชานั้น ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ให้เรียนซ้ําในรายวิชานั้นหรือให้เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียน แทนรายวิชาใด ๕.๒ การเปลี่ยนผลการเรียน “ ร ” แยกเป็น ๒ กรณีดังนี้ ๑. ในกรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “ ร ” เพราะเหตุสุดวิสัย เช่น เจ็บป่วย เมื่อผู้เรียนได้เข้าสอบหรือส่งผลงานที่ติดค้างอยู่เสร็จเรียบร้อยแล้ว หรือแก้ปัญหาเสร็จสิ้นแล้วให้ได้ระดับ ผลการเรียนตามปกติ (ตั้งแต่ “ ๐ ถึง ๔”) ๒. ในกรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “ ร ” ซึ่งคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา พิจารณาแล้วเห็นว่ามีใช่เหตุสุดวิสัย เมื่อผู้เรียนได้เข้าสอบหรือ ส่งผลงานที่ติดค้างอยู่เสร็จเรียบร้อยแล้วหรือแก้ปัญหาเสร็จสิ้นแล้ว ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “ ๑ ” การเปลี่ยนผลการเรียน “ ร ” ให้ดําเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ถ้าผู้เรียนไม่มาดําเนินแก้ “ ร ” ตามระยะเวลาที่กําหนดไว้ให้เรียนซ้ํารายวิชานั้น ยกเว้นเหตุสุดวิสัยให้อยู่ ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “ ร ” ออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรียน แต่เมื่อพ้นกําหนดนี้แล้วให้ปฏิบัติ ดังนี้ (๑) ให้เรียนซ้ําในรายวิชานั้นถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐาน (๒) ให้เรียนซ้ําในรายวิชานั้นหรือให้เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ถ้าเป็น รายวิชาเพิ่มเติม ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทน รายวิชาใด

๔๔


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๕.๓ การเปลี่ยนผลการเรียน “ มส ” ๑. กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “ มส ” เพราะเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ แต่มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ให้ผู้สอนจัดให้ผู้เรียน เรียนเพิ่มเติมโดยใช้ชั่วโมง สอนซ่อมเสริมหรือชั่วโมงว่างหรือวันหยุดหรือมอบหมายงานให้ทํา จนมีเวลาเรียนครบตามเกณฑ์ ที่กําหนด แล้วจึงให้สอบและประเมินผลเป็นกรณีพิเศษ ผลการสอบแก้ “ มส ” ให้ได้ระดับผลการเรียน ไม่เกิน “ ๑ ” (ตั้งแต่ “ ๐ ถึง ๑”) ทั้งนี้ให้ดําเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ถ้ามีเหตุสุดวิสัยไม่ สามารถดําเนินการแก้ “ มส ” ได้ให้ขยายเวลาแก้ “ มส ” ออกไปอีก ๑ ภาคเรียน แต่เมื่อพ้นกําหนดนี้แล้วให้ ปฏิบัติดังนี้ (๑) ให้เรียนซ้ําในรายวิชานั้น ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐาน (๒) ให้เรียนซ้ําในรายวิชานั้นหรือให้เปลี่ยนรายวิชาใหม่ ถ้าเป็น (๓) รายวิชาเพิ่มเติมในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมาย เหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทนวิชาใด ๒. กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “ มส ” และมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษาจัดให้เรียนซ้ํา ในรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติมนั้นหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่สําหรับรายวิชาเพิ่มเติม ๓. ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียน ว่าเรียนแทนรายวิชาใด ๕.๔ ในกรณีภาคเรียนที่ ๒ หากผู้เรียนยังมีผลการเรียน “ ๐ ” “ ร ” “ มส ” ให้ดําเนินการเปลี่ยนผลการเรียน “๐” “ร” “มส” ให้เสร็จสิ้นก่อนเปิดภาคเรียนปีการศึกษาถัดไป ๕.๕ การเปลี่ยนผลการเรียน “ มผ ” กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนทั้ง ๓ กิจกรรม คือ ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน ๓) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ให้ผู้เรียน ปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่บกพร่องให้แล้วเสร็จจึงจะได้รับการพิจารณาตัดสินผลการประเมินเป็น “ ผ ” ทั้งนี้ให้ดําเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนเปิดภาคเรียนถัดไป ยกเว้น มีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจ ของกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา ๕.๖ การเปลี่ยนผลการประเมิน “ไม่ผ่าน” การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ให้ผู้เรียนดําเนินการแก้ไขในส่วนที่บกพร่อง แล้วประเมินใหม่จึงพิจารณาผลการประเมินเป็น “ผ่าน” ทั้งนี้ ให้ดําเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนเปิดภาคเรียนถัดไปหรือตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ ของสถานศึกษากําหนด ๕.๗ การเปลี่ยนพฤติกรรม “ไม่ผ่าน” ของการประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของสถานศึกษาให้ผู้เรียนเข้ารับการอบรม และ/หรือปฏิบัติกิจกรรมคุณงามความดีชดเชย ตามแนวทางที่คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์กําหนดแล้วประเมินใหม่ จึงพิจารณาตัดสินผลการประเมิน เป็น “ผ่าน” ทั้งนี้ ให้ดําเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนเปิดภาคเรียนถัดไป หรือตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษากําหนด

๔๕


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๔๖

๕.๘ การเปลี่ยนผลการประเมิน “ไม่ผ่าน” กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ให้ผู้เรียนทํากิจกรรม จนครบตามเวลาที่กําหนดหรือปฏิบัติกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะ ที่ต้องปรับปรุง แก้ไข แล้งจึงเปลี่ยนผลการประเมินเป็น “ผ่าน” ทั้งนี้ให้เสร็จสิ้นก่อนเปิดภาคเรียนถัดไป หรือ ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษากําหนด ๓. การให้ระดับผลการเรียน ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียน ในแต่ละรายวิชาดังต่อไปนี้ ๑. การให้ระดับผลการเรียน ๔ หมายถึง ผลการเรียนดีเยี่ยม ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๘๐ – ๑๐๐ ๓.๕ หมายถึง ผลการเรียนดีมาก ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๗๕ – ๗๙ ๓ หมายถึง ผลการเรียนดี ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๗๐ – ๗๔ ๒.๕ หมายถึง ผลการเรียนค่อนข้างดี ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๖๕ – ๖๙ ๒ หมายถึง ผลการเรียนปานกลาง ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๖๐ – ๖๔ ๑.๕ หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๕๕ – ๕๙ ๑ หมายถึง ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ขั้นต่ํา ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๕๐ – ๕๔ ๐ หมายถึง ผลการเรียนต่ํากว่าเกณฑ์ขั้นต่ํา ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๐ – ๔๙ ๒. ให้ใช้ตัวอักษรแสดงผลการเรียนที่มีเงื่อนไขในแต่ละรายวิชา ดังนี้ ร หมายถึง รอการตัดสินหรือยังตัดสินไม่ได้ มส หมายถึง ไม่มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินผลปลายภาค มก หมายถึง เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต มีเวลาเรียนครบร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ๔. การอนุมัติการเลื่อนชั้นปี ๑ ผู้เรียนที่จะได้รับการพิจารณาอนุมัติการเลื่อนชั้นปี ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ ๑.๑ รายวิชาพื้นฐานต้องได้ระดับผลการเรียน ตั้งแต่ “ ๑ ถึง ๔” ทุกรายวิชา ในปีการศึกษานั้น ๑.๒ รายวิชาเพิ่มเติมทุกรายวิชาต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนตั้งแต่ “๑ ถึง ๔” ๑.๓ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน “ผ่าน” ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์) การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน และการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในปีการศึกษานั้น ๑.๔ ผู้เรียนควรได้ผลการเรียนเฉลี่ยไม่ต่ํากว่า ๒.๐๐ ๑.๕ ถ้าผู้เรียนไม่มีสมบัติตามข้อ ๑.๑ หรือ ข้อ ๑.๒ หรือข้อ ๑.๓ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่จะให้สอนซ่อมเสริมผู้เรียนและให้ได้รับการแก้ไข ผลการเรียนเพื่อให้ได้เลื่อนชั้น


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๑.๖ ให้ประธานคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนเป็นผู้อนุมัติผลการเรียนและการเลื่อนชั้นปี ๕. การสอนซ่อมเสริม การสอนซ่อมเสริมเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ และให้โอกาสผู้เรียนได้มีเวลาเรียนรู้ สิ่งต่าง ๆ เพิ่มขึ้น จนสามารถบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ที่กําหนดไว้ การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนกรณีพิเศษ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องที่พบในผู้เรียน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและ คํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนและจัดการสอนซ่อมเสริมโดยให้ดําเนินการได้ในกรณีดังต่อไปนี้ ๕.๑ ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น ๕.๒ การประเมินระหว่างเรียน ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการหรือ เจตคติ/ คุณลักษณะที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ๕.๓ ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์และหรือต่ํากว่าเกณฑ์การประเมิน โดยผู้เรียนได้ระดับ ผลการเรียน “๐” ผู้สอนต้องจัดสอนซ่อมเสริมก่อนให้ผู้เรียนสอบแก้ตัว ๕.๔ ผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ ของสถานศึกษาพิจารณาจัดให้ผู้สอนดําเนินการสอนซ่อมเสริมในภาคเรียนฤดูร้อน ๖. การเรียนซ้ํา ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษาดําเนินการจัดให้ผู้เรียน เรียนซ้ําใน ๒ กรณี ดังนี้ กรณีที่ ๑ เรียนซ้ํารายวิชา หากผู้เรียนได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว ๒ ครั้งแล้วไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ให้เรียนซ้ํารายวิชานั้น ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรและงานวิชาการ ของสถานศึกษาให้เรียนซ้ํา ในช่วงเวลาที่เห็นว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด ชั่วโมงว่างหลังเลิกเรียน ภาคเรียนฤดูร้อน เป็นต้น กรณีที่ ๒ เรียนซ้ําชั้นมี ๒ ลักษณะ คือ ๑) ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นต่ํากว่า ๒.๐๐ ๒) ผู้เรียนมีผลการเรียน ๐, ร, มส เกินครึ่งหนึ่งของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน ในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้ ๒ ลักษณะให้ยกเลิกผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน ๗. เกณฑ์การจบการศึกษา การอนุมัติผลการจบการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และการพัฒนาหลักสูตรและการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้ถือปฏิบัติ ดังนี้

๔๗


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ผู้เรียนที่จะได้รับการพิจารณาอนุมัติให้ จบการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ และหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ ๗.๑ ผู้เรียนต้องเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๘๔ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการของสถานศึกษากําหนดไว้ไม่น้อยกว่า ๔๓ หน่วยกิต ๗.๒ ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต ๗.๓ ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตรายวิชาความเป็นสากลและได้รับการตัดสิน ผลการเรียนครบทุกรายวิชา ๗.๔ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมิน “ผ่าน” ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนทุกกิจกรรม ๗.๕ ผู้เรียนมีผลการประเมิน “ดีเยี่ยม” หรือ “ดี” หรือ “ผ่าน” ในการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ทุกภาคเรียน ๗.๖ ผู้เรียนมีผลการประเมิน “ดีเยี่ยม” หรือ “ดี” หรือ “ผ่าน” ในการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ทุกภาคเรียน ๗.๗ ผู้เรียนต้องผ่านการทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (O-NET) ๗.๘ ให้ประธานคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นผู้อนุมัติการจบการศึกษา ๘ การรายงานผลการเรียน ให้งานวัดผลและงานทะเบียนสรุปผลการเรียนของผู้เรียน และจัดทํา เอกสารรายงานผลการเรียนให้ผู้ปกครองของผู้เรียนทราบเป็นระยะ ๆ หรืออย่างน้อย ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ๙. เอกสารหลักฐานการศึกษา ให้มีการจัดหาและจัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา ดังต่อไปนี้ ๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด ประกอบด้วย ๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript) (ปพ.๑) ๑.๒ หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษาและหรือใบประกาศนียบัตร (ปพ.๒) ๑.๓ แบบรายงานผู้สําเร็จการศึกษา (ปพ.๓) ๒. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากําหนด ๒.๑ แบบบันทึกผลการเรียนประจํารายวิชา (ปพ. ๕) ๒.๒ แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (ปพ. ๖) ๒.๓ ใบรับรองผลการเรียน (ปพ. ๗) ๒.๔ ระเบียนสะสม (ปพ. ๘) ๓. การออกใบประกาศนียบัตร ให้เป็นไปตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการออกใบประกาศนียบัตร

๔๘


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๔. ในการประเมินผลการเรียนให้ใช้ระเบียบโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา – ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๑๐ การเทียบโอนผลการเรียน ๑. ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนที่เรียนรู้จากสถานศึกษาได้ในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การละทิ้งการศึกษา และการขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและเข้าศึกษาต่อภายในประเทศ ๒. ให้มีการเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การศึกษาโดยครอบครัว ๓. การเทียบโอนผลการเรียนต่างหลักสูตร ให้ดําเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรกที่สถานศึกษาผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียน ต้องศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยให้คณะกรรมการการเทียบโอนของสถานศึกษา ที่รับการเทียบโอนให้กําหนดรายวิชา จํานวนหน่วยกิต ที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม ๔. การพิจารณาการเทียบโอน ให้ดําเนินการดังนี้ ๔.๑ พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา ๔.๒ พิจารณาจากความรู้ ประสบการณ์ตรง จากความสามารถและการปฏิบัติจริง การทดสอบ การสัมภาษณ์ เป็นต้น ๔.๓ ในกรณีมีเหตุผลจําเป็นระหว่างเรียน ผู้เรียนสามารถแจ้งความจํานงขอไปศึกษา บางรายวิชาในสถานศึกษา/สถานประกอบการอื่น แล้วนํามาเทียบโอนได้ โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา ๕. การเทียบโอนผลการเรียนให้ดําเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอน ของสถานศึกษาจํานวนไม่น้อยกว่า ๓ คนแต่ไม่เกิน ๕ คน การเทียบโอนให้ดําเนินการดังนี้ ๕.๑ กรณีที่ผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ๆ ให้นํารายวิชาหรือ หน่วยกิตที่มีตัวชี้วัด / มาตรฐานการเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง / จุดประสงค์ / เนื้อหา ที่สอดคล้อง กันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๕.๒ กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ให้พิจารณาจากเอกสาร หลักฐาน (ถ้ามี) โดยให้มีการประเมินด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและพิจารณาให้ระดับผลการเรียนให้สอดคล้อง กับหลักสูตรที่รับเทียบโอน ๕.๓ กรณีการเทียบโอนที่ผู้เรียนเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศ ให้ดําเนินการตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องหลักการและแนวปฏิบัติการเทียบชั้นเรียนสําหรับผู้เรียน ที่เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ วิธีการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง

๔๙


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ในกรณีผู้เรียนที่เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ซึ่งควรจะจบหลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๕๔ หรือก่อนปีการศึกษา ๒๕๕๔ แต่ไม่สามารถจบหลักสูตร ได้ให้เทียบโอนมายังหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา – ภาคตะวันออกเฉียงเหนือพุทธศักราช ๒๕๕๓ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

๕๐


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๑๙ ผู้ปฏิบัติ ๑. คณะกรรมการ สถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน

๒. คณะกรรมการ บริหารหลักสูตร และงานวิชาการ ของสถานศึกษา

ตารางแสดงภารกิจและประเมินผลการเรียนรู้ของบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ บทบาทหน้าที่ในการดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๑.๑ ให้ความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษาและระเบียบการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ๑.๒ ให้ความเห็นชอบต่อเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลดังนี้ การเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่ม - ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑.๓ ให้ความเห็นชอบกระบวนการและวิธีการสอนซ่อมเสริม การแก้ไข ผลการเรียนและอื่น ๆ ๑.๔ กํากับ ติดตามการดําเนินการจัดการเรียนการสอน ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ การพัฒนาความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑.๕ กํากับ ติดตามการวัดและประเมินผล และการตัดสินผลการเรียน

๒.๑ กําหนดระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา ๒.๒ กําหนดแผนการประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางและสาระ เพิ่มเติมของรายวิชาต่าง ๆ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยวิเคราะห์ จากมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ และจัดทํารายวิชา พร้อมเกณฑ์การประเมิน ๒.๓ กําหนดสิ่งที่ต้องการประเมินในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ของสถานศึกษา พร้อมเกณฑ์การประเมินและแนวทางการประเมินและ แนวทางการปรับปรุงแก้ไขผู้เรียน ๒.๔ กําหนดการทบทวนการพัฒนาสมรรถนะสําคัญของผู้เรียน ๒.๕ ให้ข้อเสนอแนะ ข้อหารือเกี่ยวกับการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไป ตามหลักการและแนวทางการเทียบโอนผลการเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ ๓. คณะอนุกรรมการ ๓.๑ กําหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนพร้อมแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรม ๓.๒ สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การวัดและ พัฒนาผู้เรียน ประเมินผลการเรียนรู้ และตัดสินผลการเรียนตามแนวทางที่กําหนดไว้

๕๑


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๕๒

๓.๓ พิจารณาให้ความเห็นชอบผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายภาคและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตารางที่ ๑๙ ผู้ปฏิบัติ ๔. คณะกรรมการ พัฒนาและ ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ๕. คณะกรรมการ พัฒนาและ ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์

๖. คณะกรรมการ เทียบโอน ผลการเรียน

๗. ประธานคณะ อนุกรรมการ กลุ่มสาระการ เรียนรู้และกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน

ตารางแสดงภารกิจและประเมินผลการเรียนรู้ของบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ (ต่อ) บทบาทหน้าที่ในการดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๔.๑ กําหนดแนวทางในการพัฒนาและการประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรียน ๔.๒ ดําเนินการประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ๔.๓ ตัดสินผลการพัฒนาความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรียน ราย ภาคและการจบการศึกษาแต่ละระดับ ๕.๑ กําหนดแนวทางการพัฒนา แนวทางการประเมิน เกณฑ์การประเมินและ แนวทางการปรับปรุงแก้ไขคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕.๒ พิจารณาตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายภาคและ การจบการศึกษา ๕.๓ จัดระบบการปรับปรุงแก้ไขคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้วยวิธีการ อันเหมาะสม และส่งต่อข้อมูลเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๖.๑ จัดทําสาระ เครื่องมือ และวิธีการเทียบโอนให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการ เทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่การศึกษาในระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งจัดทํา โดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สิงหาคม ๒๕๔๙) ๖.๒ ดําเนินการเทียบโอนผลการเรียนให้กับผู้เรียนที่ร้องขอ ๖.๓ ประมวลผลและตัดสินผลการเทียบโอน ๖.๔ เสนอผลการเทียบโอนต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ ของสถานศึกษา เพื่อให้ความเห็นชอบและเสนอผู้บริหารสถานศึกษาตัดสิน อนุมัติการเทียบโอน ๗.๑ เป็นเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ๗.๒ เป็นประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา ๗.๓ อนุมัติผลการประเมินผลการเรียนรายภาค และตัดสินอนุมัติการเลื่อนชั้นเรียน การซ้ําชั้น การจบการศึกษา ๗.๔ ให้คําแนะนําข้อปรึกษาหารือเกี่ยวกับการดําเนินงานแก่บุคลากรในสถานศึกษา ๗.๕. กํากับ ติดตามให้การดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนบรรลุเป้าหมาย ๗.๖ นําผลการประเมินไปจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน กําหนดนโยบายและ วางแผนพัฒนาการจัดการศึกษา


หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

ตารางที่ ๑๙

ตารางแสดงภารกิจและประเมินผลการเรียนรู้ของบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ (ต่อ)

ผู้ปฏิบัติ ๘. ผู้สอน

๙. งานวัดผล

๑๐. นายทะเบียน

หมายเหตุ

๕๓

บทบาทหน้าที่ในการดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๘.๑ จัดทําหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการประเมินผลการเรียนรู้ใน รายวิชาที่รับผิดชอบ ๘.๒ วัดและประเมินผลระหว่างเรียนควบคู่กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม แผนการ เรียนรู้ที่กําหนด พร้อมกับการปรับปรุงแก้ไขผู้เรียนที่มีข้อบกพร่อง ๘.๓ ประเมินตัดสินผลการเรียนรู้รายภาค ส่งหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้หรือกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ๘.๔ นําผลการประเมินไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ๘.๕ ตรวจสอบสมรรถนะสําคัญของผู้เรียน ๙.๑ ส่งเสริมพัฒนาระบบและเทคนิควิธีการและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านต่าง ๆ แก่ครูและบุคลากรของสถานศึกษา ๙.๒ ให้คําปรึกษา ติดตาม กํากับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษาให้ เป็นไปตามหลักวิชาการและแนวทางที่สถานศึกษากําหนดไว้ ๙.๓ ตรวจสอบ กลั่นกรอง ปรับปรุงคุณภาพของวิธีการ เครื่องมือวัดและประเมินผล การเรียนรู้ของสถานศึกษา ๙.๔ ปฏิบัติงานร่วมกับนายทะเบียนในการรวบรวม ตรวจสอบและประมวลผลการ เรียนรู้ของผู้เรียน ๑๐.๑ ปฏิบัติงานร่วมกับครูวัดผลในการรวบรวม ตรวจสอบและบันทึกผลการประมวล ข้อมูลผลการเรียนของผู้เรียนแต่ละคน ๑๐.๒ ตรวจสอบและสรุปข้อมูลผลการเรียนของผู้เรียนรายบุคคลแต่ละชั้นปีและเมื่อ จบการศึกษา เพื่อเสนอรายชื่อผู้มีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์และให้คณะกรรมการ บริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบและเสนอให้ ผู้บริหารสถานศึกษาตัดสินและอนุมัติผลการเลื่อนชั้นเรียนและจบการศึกษา ๑๐.๓ จัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา

ให้คณะกรรมการประกันคุณภาพของสถานศึกษา มีหน้าที่กํากับ ติดตามสนับสนุน ให้เป็นไปตามระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.