หลวงพ อ วั ด ไร ข ง ิ ตําบลไรขิง อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์
(ปัญญา อินฺทปญฺโญ ป.ธ.๖, พธ.ด.กิตติมศักดิ์)
อดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๔ ผู้ริเริ่มการจัดตั้งสำานักอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔
พระธรรมโพธิมงคล
(สมควร ปยสีโล ป.ธ. ๙) เจ้าคณะภาค ๑๔ รก. วัดนิมมานรดี พระอารามหลวง กรุงเทพมหานคร ประธานกรรมการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔
พระเทพคุณาภรณ์
(โสภณ โสภณจิตฺโต ป.ธ. ๙) วัดเทวราชกุญชร วรวิหาร กรุงเทพมหานคร รองประธานกรรมการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔
พระเทพมหาเจติ พระเทพมหาเจติยยาจารย์ าจารย์
(ชั(ชัยยวัวัฒฒน์น์ ปญฺ ปญฺญญาสิ าสิรริ ิ ป.ธ. ป.ธ. ๙, ๙, พธ.ม.กิ พธ.ม.กิตตติติมมศัศักกดิดิ์)์) เจ้เจ้าาคณะจั คณะจังงหวั หวัดดนครปฐม นครปฐม วัวัดดพระปฐมเจดี พระปฐมเจดียย์ ์ ราชวรมหาวิ ราชวรมหาวิหหาร าร จัจังงหวั หวัดดนครปฐม นครปฐม รองประธานกรรมการอบรมบาลี รองประธานกรรมการอบรมบาลีกก่อ่อนสอบ นสอบ คณะสงฆ์ คณะสงฆ์ภภาค าค ๑๔ ๑๔
พระราชวิ พระราชวิสสุทุทธิธิเเมธี มธี
(ปั(ปัญญญา ญา วิวิสสุทุทฺธฺธิปิปญฺญฺโโญญ ป.ธ. ป.ธ. ๙, ๙, พธ.บ.) พธ.บ.) เจ้เจ้าาคณะจั คณะจังงหวั หวัดดกาญจนบุ กาญจนบุรรี ี วัวัดดไชยชุ ไชยชุมมพลชนะสงคราม พลชนะสงคราม จัจังงหวั หวัดดกาญจนบุ กาญจนบุรรี ี รองประธานกรรมการอบรมบาลี รองประธานกรรมการอบรมบาลีกก่อ่อนสอบ นสอบ คณะสงฆ์ คณะสงฆ์ภภาค าค ๑๔ ๑๔
พระราชปริยัติเมธี
(เชษฐา ฉินฺนาลโย ป.ธ. ๙, Ph.D) เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดสุวรรณภูมิ จังหวัดสุพรรณบุรี รองประธานกรรมการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔
พระเทพสาครมุนี
(สมบูรณ์ ปญฺญาวุโธ ป.ธ. ๙, พธ.ด.กิตติมศักดิ์) เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดเจษฎาราม พระอารามหลวง จังหวัดสมุทรสาคร รองประธานกรรมการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔
พระเทพศาสนาภิบาล
พระมงคลกิ พระมงคลกิตตติติววิบิบูลูลย์ย์
(แย้ม กิตฺตินฺธโร ป.ธ. ๓, พธ.ด., ปร.ด.กิตติมศักดิ์) รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดไร่ขิง พระอารามหลวง จังหวัดนครปฐม ประธานอำานวยการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔
(ทั(ทับบทิทิมม กิกิตตฺตฺติเสโน ิเสโน ป.ธ. ป.ธ. ๔) ๔) รองเจ้ รองเจ้าาคณะจั คณะจังงหวั หวัดดสุสุพพรรณบุ รรณบุรรี ี วัวัดดวิวิมมลโภคาราม ลโภคาราม จัจังงหวั หวัดดสุสุพพรรณบุ รรณบุรรี ี รองประธานกรรมการอบรมบาลี รองประธานกรรมการอบรมบาลีกก่อ่อนสอบ นสอบ คณะสงฆ์ คณะสงฆ์ภภาค าค ๑๔ ๑๔
พระราชวิสุทธาภรณ์
พระมหาวิ พระมหาวิสสูตูตรร วิวิสสุทุทฺธฺธิปิปญฺญฺโโญญ ป.ธ. ป.ธ. ๙๙
(ทองดำา อิฏฐาสโภ ป.ธ. ๖) รองเจ้ รองเจ้าาคณะจั คณะจังงหวั หวัดดกาญจนบุ กาญจนบุรรี ี รองเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี ผูผู้ช้ช่ว่วยเจ้ ยเจ้าาอาวาสวั อาวาสวัดดเทวสั เทวสังงฆาราม ฆาราม พระอารามหลวง พระอารามหลวง วัดพระแท่นดงรัง จังหวัดกาญจนบุรี รองประธานกรรมการอบรมบาลี รองประธานกรรมการอบรมบาลีกก่อ่อนสอบ นสอบ คณะสงฆ์ คณะสงฆ์ภภาค าค ๑๔ ๑๔ รองประธานกรรมการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ประมวลภาพ พิธีทักษิณานุปทานแด พระอุบาลีคุณูปมาจารย
ประมวลภาพ กิจกรรมเนื่องในวันมาฆบูชา ๒๕๖๒
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ประมวลภาพ การอบรมบาลีกอนสอบ ปที่ ๔๕ ในเขตปกครองคณะสงฆภาค ๑๔
ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ก
ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ข
ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ค
ชั้นประโยค ป.ธ. ๓ ห้อง ก
ชั้นประโยค ป.ธ. ๓ ห้อง ข
ชั้นประโยค ป.ธ. ๔
ชั้นประโยค ป.ธ. ๕
คำ�ปรารภ กำ�หนดการ ประกาศคณะสงฆ์ ภาค ๑๔ ระเบียบปฏิบัติของผู้เข้ารับการอบรมฯ จุดประสงค์ คำ�กล่าวถวายรายงานเปิดการอบรมบาลีก่อนสอบฯ โดย พระธรรมโพธิมงคล ปฐมนิเทศนานุสาสนียกถา โดย พระมหาโพธิวงศาจารย์ สัมปสาทนียกถา โดย พระธรรมโพธิมงคล คำ�กล่าวปฏิสันถาร โดย พระเทพคุณาภรณ์
๓ ๔ ๕ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๓ ๒๐ ๒๖
ภาควิชาการ บทธรรมคำ�กลอน โอวาทปาฏิโมกข์ โดย...พระเทพมหาเจติยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ธรรมะวันหยุด โดย...พระเทพคุณาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดเทวราชกุญชร วรวิหาร บุญกิริยาวัตถุ ความสามัคคีสำ�คัญไฉน ? ความเสียสละ คุณธรรมอันน่ายกย่อง
๓๒ ๕๓ ๕๖ ๕๙ ๖๗
ภาคสถิติและข้อมูล ๗๒ ๙๒ ๑๐๕ ๑๐๖ ๑๐๙ ๑๑๐ ๑๓๗ ๑๔๖ ๑๕๓ ๑๗๗
ประกาศคณะสงฆ์ภาค ๑๔ สถิตินักเรียนอบรมบาลีก่อนสอบ และสอบไล่ได้ ปี พ.ศ. ๒๕๒๗-๒๕๖๑ สถิตินักเรียนเข้าอบรมบาลีก่อนสอบและสอบได้ ภาค ๑๔ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๖๑ สถิติผู้เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔ พ.ศ. ๒๕๖๒ ปีที่ ๔๕ สถิติวิทยากรและนักเรียนแต่ละชั้น อบรมบาลีก่อนสอบ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๖๑ บัญชีรายชื่อผู้เข้าอบรมฯ และสอบได้ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ตารางอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ บัญชีรายชื่อผู้เข้าอบรมบาลีก่อนสอบฯ พ.ศ. ๒๕๖๒ คำ�กล่าวถวายรายงานพิธีปิดการอบรมบาลีก่อนสอบฯ (พระเทพคุณาภรณ์)
ภาคผนวก (อนุโมทนา) ๑๘๒ ๑๘๘ ๒๑๘ ๒๑๙ ๒๒๐
สำ�เนาเอกสารการอบรมบาลีก่อนสอบฯ รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า-เพล รายนามผู้อุปถัมภ์รางวัลแก่พระภิกษุสามเณร รายการปฏิบัติงานของคณะครู นักเรียนช่วยงานถวายภัตตาหารเช้า-เพล รายนามพระสงฆ์กล่าวสัมโมทนียกถา 2
คำ�ปรารภ เหตุที่จักทำ�ให้เกิดความรู้แตกฉาน ซาบซึ้ง ถูกใจ ไม่ถูกใจ อาศัยการริเริ่มจากเราเป็นสำ�คัญต่อมาก็มี เขาร่วมกันด้วย รวมกันได้เป็นเอกฉันท์หรือส่วนมากทำ�ให้ส่วนรวม จุดใหญ่ จุดเล็ก เห็นด้วยก็ยอมรับ ไม่เห็น ด้วยก็ขาดความสนใจ แต่เมื่อส่วนใหญ่เห็นชอบก็น่าจะปฏิบัติให้สอดคล้องต้องกันในเมื่อยังมีเหตุผลไม่เพียงพอ ขาดความเป็นธรรม การอบรมบาลีก่อนสอบของภาค ๑๔ มี ๔ จังหวัด นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และสมุทรสาคร เริ่มปี ๒๕๑๘ เป็นแห่งแรกของประเทศไทย เฉพาะต่างจังหวัด และขยายเพิ่มปริมาณยิ่งด้วย คุณภาพ จังหวัดต่างๆ ที่มาร่วมสูงสุดไม่เกิน ๓๕ จังหวัด ในระยะ ๔๕ ปี อาศัยทุกฝ่ายร่วมกัน ที่สำ�คัญเป็นพลังนำ�องค์หลวงพ่อวัดไร่ขิง พระพุทธปฏิมากร แทนองค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในพระอุโบสถ ร่วมส่งเสริม ก. ทบทวนวิชาที่ศึกษามาแล้วให้คงที่ ไม่ประมาทและเพิ่มวิชาใหม่ๆ ข. ผู้รับภารกิจสอนหนังสือในที่ต่างๆ ห่างครู-วิชาที่จะสอบ คล่องตัวในวิชานั้นๆ ค. มีเวลาพักผ่อนเสริมความรู้ โดยมิต้องขาดสัปปายะมากเกินควร ส่วนสำ�คัญยิ่งนั้น จักช่วยผู้บำ�เพ็ญตน ให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับสังคมเพื่อความมั่นคงของประเทศชาติ พระพุทธศาสนา ในอนาคตอันไม่ไกล มุ่งความสำ�คัญดังกล่าวร่วมกัน ทำ�งานด้วยความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าอย่างไร ก็จักไม่คำ�นึงถึง โดยมี สิ่งปลอบใจ พลังใจในส่วนที่เป็นโอวาทพระเดชพระคุณท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ อดีตเจ้าคณะใหญ่ หนกลาง วัดสามพระยา ประทานไว้ว่า “ถึงเหนื่อยยาก แล้วเหนื่อยหาย แต่เครื่องหมายความดียังมีอยู่” หนังสือนี้จึงปรากฏในสายตาของทุกท่าน รวมผลงานที่ต่างทำ�ไว้เป็นหลักฐาน คงอยู่ได้นานสำ�หรับผู้ สนใจจะค้นคว้า ส่วนสิ่งอื่นๆ นั้น ก็คงจะสลายไปตามกาลเวลา ทุกฝ่ายต่างทุ่มเทพลังกาย พลังความคิด พลัง สติปัญญา เกิดความแตกฉาน เพราะได้ทำ�ร่วมกันในงานครั้งนี้ ใครทำ�น้อย ทำ�มาก ไม่ต้องว่ากัน ถือว่าความ สำ�เร็จด้วยดี สามัคคีเป็นเอกฉันท์ ต่างผลิตผลงานให้มีประสิทธิภาพ สัมฤทธิ์ผลกับทุกท่านผู้สนใจ ผดุงไว้ซึ่งความ ดี ผู้ทำ�ซาบซึ้งในความดี พึงมีค่าสูงยิ่งกว่าที่จักได้รับคำ�ว่า “ขอบคุณ” จากใครใดอื่นนั่นแล ฯ พระธรรมโพธิมงคล ผู้อำ�นวยการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ 3
กำ�หนดการ เนื่องด้วย� การเปิดอบรมนักเรียนบาลีก่อนสอบ� ภาค� ๑๔� ณ� วัดไร่ขิง� ตำ�บลไร่ขิง� อำ�เภอสามพราน� จังหวัดนครปฐม�จะเปิดการอบรมบาลีก่อนสอบ�ตั้งแต่วันที่��๑๒��ถึง��๒๖��กุมภาพันธ์�พุทธศักราช��๒๕๖๒� รวม�๑๕�วัน�มีนักเรียนเข้าอบรมตั้งแต่ประโยค�๑-๒�ถึง�ประโยค�ป.ธ.๕��ทางภาค�๑๔��จึงขอให้นักเรียนที่เข้า รับการอบรมพร้อมกันที่อาคารปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ�๘๔�พรรษา�มหาราชา�ตามกำ�หนดการดังนี้ �
� � � �
วันที่��๑๑��กุมภาพันธ์��พุทธศักราช�๒๕๖๒ เวลา��๑๗.๓๐��น.� พร้อมกันที่อาคารราชวิริยาลังการ เวลา��๑๘.๐๐��น.� ประธานกล่าวเปิดการอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔ เวลา��๑๙.๐๐��น.� ประกาศกฎระเบียบผู้เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔
� � � �
วันที่��๑๒��กุมภาพันธ์��พุทธศักราช�๒๕๖๒ เวลา��๐๖.๐๐��น.� พร้อมกันที่อาคารราชวิริยาลังการ เวลา��๐๗.๐๐��น.� ฉันภัตตาหารเช้า เวลา��๐๘.๐๐��น.� เข้าห้องเข้ารับการอบรมฯ�เข้ารับการอบรมเป็นวันแรก
4
ประกาศคณะสงฆ์ภาค�๑๔
�
เรื่อง�ระเบียบการรับสมัครนักเรียนผู้ที่จะสมัครเข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔
ด้วยคณะสงฆ์ภาค�๑๔��ได้เปิดอบรมบาลีก่อนสอบแก่พระภิกษุสามเณร�นักเรียนนักศึกษา�วิชาภาษา บาลี��ประโยค�๑-๒�ประโยค�ป.ธ.๓,�ป.ธ.๔�และ�ป.ธ.๕��ณ�วัดไร่ขิง�อำ�เภอสามพราน��จังหวัดนครปฐม��ตั้งแต่� พ.ศ.� ๒๕๑๘� เป็นต้นมา� เพื่อส่งเสริมการศึกษาวิชาบาลี� ให้เจริญก้าวหน้า� และส่งเสริมกำ�ลังใจ� ของนักเรียนให้ ร่าเริงอาจหาญ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔�มีความยินดีเป็นอย่างยิ่ง�ที่ได้รับผลสมความมุ่งหมาย��จนปรากฏว่ามีจำ�นวน นักเรียนนักศึกษาเพิ่มขึ้นทุกปี��ในปี�พ.ศ.�๒๕๖๒�นี้�มีผู้สมัครฯ�ถึง�๖๔๙�รูป�จึงเป็นเหตุให้เกิดปัญหาเรื่องการ อำ�นวยความสะดวก�เช่น�ที่พักอาศัย�ตลอดถึงสถานที่ศึกษาอบรมฯ � คณะกรรมการดำ�เนินงาน�คณะกรรมการอำ�นวยการ�และคณะวิทยากร�ได้ประชุมพิจารณา�ถึงปัญหาต่างๆ� แล้วมีความเห็นกันว่า� � เพื่อให้การอบรมบาลีก่อนสอบนี้� � มีคุณภาพ� และประสิทธิภาพ� � จึงวางระเบียบปฏิบัติ หน้าที่สำ�หรับผู้ที่จะสมัครเข้ารับการอบรมฯ�ดังนี้ � ๑.� กำ�หนดรับสมัครนักเรียนทุกประโยค��๑,๐๐๐��รูป � ๒.�กำ�หนดเวลาอบรมฯ�๑๕�วัน�เริ่มตั้งแต่วันขึ้น�๘�ค่ำ��เดือน�๓�ถึง�วันแรม�๗�ค่ำ��เดือน�๓ � ๓.� ผู้ที่จะมาสมัครอบรมฯ�จะต้องแจ้งความประสงค์เป็นลายลักษณ์อักษรก่อนวันเปิดอบรมบาลีก่อนสอบ� � � ๓๐��วัน��(ก่อนวันขึ้น�๗�ค่ำ��เดือน�๒) � ๔.�หนังสือแจ้งความประสงค์�จะต้องได้รับคำ�รับรองจากเจ้าอาวาส�ที่ผู้สมัครอยู่ด้วย � ๕.�ส่งหนังสือแจ้งความประสงค์ท�่ี พระเทพศาสนาภิบาล�ประธานอำ�นวยการอบรมบาลีกอ่ นสอบ� � � ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง��อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม�๗๓๒๑๐ � ๖.�เมื่อได้รับหนังสือตอบจากประธานอำ�นวยการฯ�แล้วจึงได้รับสิทธิ์ในการเข้ารับการอบรมฯ �
5
และต้องนำ�หนังสือตอบรับมาแสดงด้วย ๗. เฉพาะนักเรียน ประโยค ๑-๒ จะต้องท่องแบบไวยากรณ์ และเรียนแปลมาแล้ว มิใช่ มาฝึกหัดแปลหรือทดลองสนาม ๘. พระภิกษุสามเณรทุกรูป ต้องห่มผ้าให้เป็นปริมณฑล (ห่มดอง รัดอก) เพื่อความเป็น ระเบียบเรียบร้อย ๙. นักเรียนจะเดินทางมาล่วงหน้าก่อนไม่เกิน ๒ วันเท่านั้น (ขึ้น ๖ - ๗ ค่ำ� เดือน ๓) ๑๐. นักเรียนจะต้องเข้ารับการอบรม ฯ ตามกำ�หนดจะหยุดได้ไม่เกิน ๓ ครั้ง เว้นแต่อาพาธ หรือได้รับอนุญาตจากประธานอำ�นวยการ ฯ หรืออาจารย์ประจำ�ชั้น ๑๑. นักเรียนทุกรูป จะต้องปฏิบัติตามระเบียบของสำ�นักอบรม ฯ โดยเคร่งครัด ๑๒. เพื่อเป็นการบำ�รุงกำ�ลังใจ จะมอบรางวัลแก่นักเรียนในภาค ๑๔ ที่สอบไล่ได้ในสนาม หลวงทุกประโยคที่มีการอบรม ฯ และนักเรียนทุกรูปที่เคยได้รับการอบรมฯ ในภาค ๑๔ (วัดไร่ขิง) ซึ่งสอบได้ประโยค ป.ธ.๙ จะได้รับผ้าไตรแพร จากผู้อำ�นวยการเป็นพิเศษ ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒
(พระธรรมโพธิมงคล) ผู้อำ�นวยการอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔
6
ประกาศคณะสงฆ์ภาค�๑๔
�
เรื่อง���ระเบียบปฏิบัติของนักศึกษาที่เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง�อำ�เภอสามพราน��จังหวัดนครปฐม
ด้วยภาค� ๑๔� ได้เปิดให้มีการอบรมนักศึกษาภาษาบาลีก่อนสอบ� ในเขตปกครองภาค� ๑๔� ปรากฏว่า� มีนักศึกษามาขอรับการอบรมบาลี� เพิ่มขึ้นเป็นจำ�นวนมากทุกปี� เพื่อความเรียบร้อย� และอนุเคราะห์แก่นักศึกษา� ให้การอบรมนี้มีประสิทธิภาพ�ส่งเสริมวิชาการจรณะ�เพิ่มคุณภาพ�นักศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม�และเพื่อเตรียมการ� ในการอำ�นวยความสะดวกของฝ่ายจัดการอบรมคณะสงฆ์ภาค�๑๔��จึงได้ตราระเบียบไว้เป็นข้อปฏิบัติ��ดังต่อไปนี้ � ๑.� ระเบียบนี้ให้ชื่อว่า�“ระเบียบปฏิบัติสำ�หรับนักศึกษาอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔”� � ๒.� ให้ใช้ระเบียบนี้�ตั้งแต่วันเปิดอบรมฯ�คือ�วันขึ้น�๘�ค่ำ��เดือน�๓�ถึง�วันแรม�๗�ค่ำ��เดือน�๓ � ๓.� นักเรียนผู้จะสมัครเข้ารับการอบรมฯ�ในภาค�๑๔�ให้เจ้าสำ�นักศาสนศึกษาหรือเจ้าอาวาส�ส่งรายชื่อ� � � ไปยังเจ้าคณะจังหวัดในสังกัด�และเจ้าคณะจังหวัดรวบรวมรายชื่อส่งไปยัง�ภาค�๑๔��ส่วนนักเรียน � � สำ�นักอื่นต้องให้เจ้าอาวาส�เจ้าสำ�นักศาสนศึกษา�หรืออาจารย์ที่นักเรียนสังกัดอยู่หรือพระวิทยากร � � สำ�นักอบรมฯ�ภาค�๑๔�มีหนังสือส่งไปยังผู้อำ�นวยการอบรมบาลีก่อนสอบ�� � ๔.� ต้องส่งรายชื่อนักเรียนไปถึงประธานอำ�นวยการอบรม�ฯ�ก่อนวันเปิดอบรม�๑๕�วัน�สำ�หรับนักเรียน � � จากสำ�นักอื่น��จะพิจารณาตามลำ�ดับก่อนหลัง��เมื่อมิได้ปฏิเสธกลับไป��ให้ถือว่าสำ�นักอบรม�ฯ� � � รับสมัครแล้ว � ๕.� กำ�หนดเปิดการอบรมเป็นเวลา�๑๕�วัน�เริ่มตั้งแต่�วันขึ้น�๘�ค่ำ��เดือน�๓�ถึง�วันแรม�๗ � � ค่ำ���เดือน�๓ � ๖.� ในระหว่างการอบรม�ฯ��นักศึกษาจะต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นนักศึกษา��ตั้งแต่วันเดินทางเข้า � � สำ�นักอบรม�ฯ�จนถึงวัน�เดินทางกลับด้วยความเอื้อเฟื้อ�ดังนี้������ �
7
๖.๑ ต้องประพฤติตนให้เหมาะสมกับสมณภาวะทั้งส่วนตัว และการอยู่ร่วมกัน เพื่อเป็นที่ตั้งแห่งศรัทธา ๖.๒ ต้องรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเสนาสนะที่พักอาศัย ห้องน้ำ� ห้องสุขา ตลอดทั้ง เก็บรักษาบริขารเครื่องใช้ เช่น ที่นอน สบง จีวร เป็นต้น ให้เป็นที่เจริญตาแก่ผู้พบเห็น ๖.๓ ต้องรักษาเวลาเพื่อเพิ่มคุณค่าชีวิต คือ ๖.๓.๑ เวลา ๐๕.๐๐ น. มีสัญญาณปลุก เวลา ๐๖.๓๐ น. ประชุมพร้อมกันสวดมนต์ทำ�วัตรเช้า ๖.๓.๒ เวลา ๐๗.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเช้า เวลา ๑๑.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล ส่วนน้ำ�ปานะจะจัดถวายตามโอกาส ๖.๓.๓ เข้าห้องเรียนก่อนเวลา เช้าเวลา ๐๘.๐๐ น. หยุดเวลา ๑๐.๓๐ น. บ่ายเวลา ๑๓.๐๐ น. หยุดเวลา ๑๖.๓๐ น. กลางคืน ๑๘.๐๐ น. หยุดเวลา ๒๐.๓๐ น. ๖.๔ นักเรียนเลือกหัวหน้าชั้นเรียนหรือหัวหน้าห้องพัก เพื่อเป็นผู้ประสานงานระหว่างกันโดยนักเรียน จะต้องเชื่อฟังคำ�แนะนำ�ที่ถูกต้องของหัวหน้า ๖.๕ ตั้งแต่ลงทะเบียนเป็นนักเรียนแล้ว หากจำ�เป็นจะออกนอกบริเวณสำ�นักฯ ต้องแจ้งแก่วิทยากร ประจำ�ชั้น หรือเจ้าหน้าที่ทะเบียน หรือกองเลขานุการ ๖.๖ หากนักเรียนขาดการทำ�วัตรสวดมนต์เกินกว่า ๕ ครั้ง ขาดเรียนเกินกว่า ๓ ครั้ง หรือออกนอก บริเวณสำ�นัก ฯ โดยมิได้บอกลา หรือโดยไม่มีเหตุผลสมควร ขอให้พิจารณาตนเองหรือออกจาก สำ�นัก ฯ โดยทันที เมื่อได้รับคำ�สั่ง ๖.๗ นักเรียนจะต้องทำ�กิจกรรม เพื่อสร้างความสามัคคีธรรม ตามที่หัวหน้า หรือพระวิทยากร หรือคณะกรรมการแนะนำ� ๖.๘ นักเรียนจะต้องอยู่ในโอวาทของคณะกรรมการ วิทยากร หากมีปัญหา ขอให้แจ้งทันที คณะสงฆ์ภาค ๑๔ 8
ระเบียบปฏิบัติ
เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย เกิดความงอกงามไพบูลย์ในบวรพระพุทธศาสนา เจริญก้าวหน้า ในการเล่า เรียน เป็นประโยชน์สูงสุดในการเข้ารับการอบรม จึงได้ออกระเบียบปฏิบัติ สำ�หรับนักเรียน ผู้เข้ารับการอบรมบาลี ก่อนสอบไว้ ดังนี้ : ๑. ห่มดองรัดอกให้เป็นปริมณฑลทุกครั้งที่เข้าอบรม ๒. ตั้งใจเข้ารับการฝึกอบรม มาตรงเวลา ไม่หลบหลีกการเข้าห้องอบรม ๓. ให้ความเคารพสถานที่และครูวิทยากร ไม่คุยกัน ไม่หลับในห้องอบรม ๔. ทำ�แบบฝึกหัดโดยไม่ดูแบบคู่มือหรือถามเพื่อน ๕. หากมีธุระที่ต้องหยุดการอบรม ต้องมีใบลา และแจ้งแก่วิทยากรผู้สอนให้ทราบ ๖. ไม่ออกไปเดินหรือนั่งบริเวณหน้าวัด ควรอยู่แต่เฉพาะในห้องอบรม ๗. ไม่สูบบุหรี่ในห้องเรียน ห้องน้ำ� หรือที่สาธารณะ อันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใส ๘. สำ�รวมกิริยาอาการ สำ�รวมระวังการใช้โทรศัพท์มือถือ ปฏิบัติตนเหมาะสมแก่สมณสารูป ๙. ทุกครั้งที่ออกไปและกลับเข้าห้องอบรม ต้องยกมือไหว้ขออนุญาตอาจารย์ผู้ควบคุมดูแล (หากอาจารย์ไม่อยู่ / มีผู้คุมการสอบซึ่งมีพรรษาน้อยกว่า ให้ไหว้องค์หลวงพ่อวัดไร่ขิง) ๑๐. โต๊ะนั่งสอนในห้องอบรมและโต๊ะนั่งตรวจข้อสอบของครู นักเรียนไม่ควรเข้าไปนั่ง ๑๑. นอกเวลาอบรม หากประสงค์จะเดินบริเวณหน้าวัด ต้องห่มจีวรให้เรียบร้อย ๑๒. เวลาในการอบรมมีดังนี้ เวลา ๐๕.๐๐ น. มีสัญญาณปลุก เวลา ๐๖.๓๐ น. ประชุมพร้อมกันสวดมนต์ทำ�วัตรเช้า เวลา ๐๗.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเช้า เวลา ๐๘.๐๐ น. เข้ารับการอบรม เวลา ๑๐.๓๐ น. หยุดรับการอบรม เวลา ๑๑.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล เวลา ๑๓.๐๐ น. เข้ารับการอบรม เวลา ๑๖.๓๐ น. หยุดรับการอบรม เวลา ๑๘.๐๐ น. เข้ารับการอบรม เวลา ๒๐.๓๐ น. หยุดรับการอบรม 9
จุดประสงค์
การจัดอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๕ ณ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ประจำ�ปี ๒๕๖๒ ๑. เพื่ออนุรักษ์ระบบการศึกษาของคณะสงฆ์ไทยด้านนี้ให้มั่นคงสืบไป ๒. เพื่อปลูกฝังความนิยมในการเรียนรู้บาลีภาษาอันเป็นภาษา ทางพระพุทธศาสนา ให้แพร่หลายยิ่งขึ้น ๓. เพื่อสร้างสรรค์อนุชนให้พร้อมที่จะเป็นศาสนทายาทที่ดีสืบไป ๔. เพื่อเป็นศูนย์ให้ผู้มีคุณวุฒิด้านนี้ ถ่ายทอดความรู้ออกให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ ๕. เพื่อส่งเสริมสามัคคีธรรมของนักศึกษา และครูอาจารย์ ๖. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความชำ�นาญในบาลีภาษาแก่นักศึกษาและครูอาจารย์ทั้งมวล ๗. เพื่อเป็นโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อความก้าวหน้า ทางการศึกษา ด้านนี้ให้ยิ่งขึ้น ๘. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความพร้อมและความมั่นใจ เมื่อเข้าสอบสนามหลวง ๙. เพื่อบำ�รุงศรัทธาปสาทะแห่งพุทธศาสนิกชน ให้เจริญงอกงามตลอดไป
ประธานอำ�นวยการอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔
10
คำ�กล่าวถวายรายงาน
พิธเี ปิดการอบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีท่ี ๔๕ วันจันทร์ท ่ี ๑๑ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ณ วัดไร่ขงิ พระอารามหลวง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม กราบเรียน
พระเดชพระคุณ พระมหาโพธิวงศาจารย์ เจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม ทีป่ รึกษาแม่กองบาลีสนามหลวง ทีเ่ คารพอย่างสูง
เกล้าฯ พระธรรมโพธิมงคล ผูร้ กั ษาการแทนเจ้าคณะภาค ๑๔ พร้อมด้วยเจ้าคณะ จังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัดพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑๔ และคณะ พระวิทยากรตลอดถึงนักเรียนผู้เข้าร่วมการอบรมบาลีก่อนสอบทุกรูป มีความปลาบปลื้มปีติ ยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่พระเดชพระคุณมีเมตตา มาเป็นประธานในการปฐมนิเทศเปิดการอบรม บาลีก่อนสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๕ ในครั้งนี้ การอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ได้ด�ำ เนินการติดต่อกันมา เริม่ ตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๑๘ จนถึงปีน้ี เป็นปีท่ี ๔๕ แล้ว โดยมุง่ หมายทีจ่ ะส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาภาษาบาลี ให้ได้รบั การเอาใจใส่จากพระภิกษุสามเณรและเจ้าสำ�นักเรียน ตลอดถึงเจ้าคณะพระสังฆาธิการ อีกส่วนหนึง่ ยังเป็นการเพิม่ พูนความชำ�นาญแก่นกั ศึกษาผูต้ อ้ งการศึกษาภาษาบาลีอกี ประการ หนึง่ ด้วย รวมทัง้ เป็นการสนับสนุนเจตนารมณ์ของพระเดชพระคุณพระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ (ปัญญา อินทฺ ปญฺญมหาเถร) อดีตทีป่ รึกษาเจ้าคณะภาค ๑๔ และอดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ ทีท่ า่ น ตัง้ ใจจะให้นกั เรียนภาษาบาลีได้มกี �ำ ลังใจทีจ่ ะศึกษาเล่าเรียน และเข้าสอบสนามหลวงต่อไปด้วย อีกทัง้ ตัง้ แต่มกี ารอบรมมา มีสถิตกิ ารสอบไล่ได้กเ็ ป็นทีน่ า่ พอใจ เฉพาะในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ นี้ มีผขู้ อเข้ารับการอบรม ดังนี้ ในเขตภาค ๑๔ มีจ�ำ นวน ๕๕๘ รูป นอกเขตภาค มีจ�ำ นวน ๔๐ รูป แยกเป็นชัน้ ประโยค ได้ดงั นี้
11
๑. ชัน้ ประโยค ๑-๒ มีจ�ำ นวน ๒. ชัน้ ประโยค ป.ธ.๓ มีจ�ำ นวน ๓. ชัน้ ประโยค ป.ธ.๔ มีจ�ำ นวน ๔. ชัน้ ประโยค ป.ธ.๕ มีจ�ำ นวน รวมจำ�นวนทัง้ สิน้ มีคณะวิทยากรผูส้ อนและวิทยากรผูต้ รวจ รวมจำ�นวน
๓๒๔ ๑๓๗ ๙๕ ๔๒ ๕๙๘ ๑๕๑
รูป รูป รูป รูป รูป รูป
ด้านภัตตาหารเช้า ภัตตาหารเพล และน้�ำ ปานะ ตลอดการอบรม ๑๕ วัน ได้รบั ความ อุปถัมภ์จากเจ้าคณะพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑๔ และจากคณะศรัทธา สาธุชนโดยทัว่ ไป ด้านอาคารสถานทีอ่ บรม สถานทีพ่ กั และสถานทีฉ่ นั ภัตตาหาร ได้รบั ความร่วมมือ ร่วมใจจากพระภิกษุสามเณรวัดไร่ขงิ โดยท่านเจ้าคุณพระเทพศาสนาภิบาล รองเจ้าคณะจังหวัด นครปฐม เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ พร้อมด้วยเทศบาลเมืองไร่ขงิ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน สามพราน โรงเรียนวัดไร่ขงิ (สุนทรอุทศิ ) โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ ) โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยนครปฐม (พระตำ�หนักสวนกุหลาบมัธยม) โรงเรียน พระปฐมวิทยาลัย โรงเรียนนาคประสิทธิ์ โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ์ วิทยาลัยสงฆ์พทุ ธปัญญาศรีทวารวดี วัดไร่ขงิ แพทย์พยาบาลและเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขงิ ) โรงพยาบาลสามพราน (วัดไร่ขงิ ) องค์การขนส่ง มวลชนกรุงเทพ เขต ๖ และคณะแม่ครัวอุบาสกอุบาสิกาวัดไร่ขงิ ได้ชว่ ยเหลือเป็นอย่างดียง่ิ บัดนี้ ได้เวลาอันเป็นอุดมมงคลแล้ว เกล้าฯ ขอกราบอาราธนาพระเดชพระคุณท่าน เจ้าคุณอาจารย์ฯ ได้กล่าวเปิดปฐมนิเทศ พร้อมทัง้ ให้โอวาท เพือ่ เป็นสิรมิ งคลและเป็นขวัญกำ�ลังใจ แก่คณะพระวิทยากรและคณะนักเรียนผูเ้ ข้ารับการอบรมบาลีกอ่ นสอบ ของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีท่ี ๔๕ ประจำ�ปี ๒๕๖๒ สืบไป กราบเรียนมาด้วยความเคารพอย่างสูง
12
ปฐมนิเทศนานุสาสนียกถา พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙) ราชบัณฑิต เจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม กรุงเทพมหานคร พิธีเปิดการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๕ วันจันทร์ที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒
ท่านเจ้าคุณพระธรรมโพธิมงคล รักษาการแทนเจ้าคณะภาค ๑๔ เจ้าคณะจังหวัด ในเขตปกครองของภาค ๑๔ ทุกท่าน รวมทัง้ พระสังฆาธิการ ครูบาอาจารย์พระวิทยากร เพือ่ นสหธรรมิกทีเ่ ข้ารับการอบรมทุกๆ รูป และขอเจริญพร ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักงานพระพุทธ ศาสนาประจำ�จังหวัด และสาธุชนทุกคนทุกท่าน ทีอ่ ยูใ่ นอาคารสถานทีน่ ้ี วันนี้ เป็นอีกวาระหนึง่ ทีไ่ ด้มโี อกาสมาเปิดปฐมนิเทศการอบรมบาลีกอ่ นสอบ ในเขต ปกครองของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปี ซึง่ ได้สงั วิธานจัดขึน้ เป็นปีท่ี ๔๕ การมีโอกาสได้มา ณ สถานทีแ่ ห่งนีน้ น้ั ถือว่าเป็นอันนำ�มาซึง่ ความปีตยิ นิ ดี และ ความรูส้ กึ อบอุน่ สบายใจแก่ผม คล้าย ๆ กับการย้อนไปในวันวานทีผ่ า่ นมา เหตุเป็นเช่นนีก้ ็ เพราะว่า พระอารามนามว่า ไร่ขงิ นีถ้ อื เป็นต้นแบบ แห่งการเป็นผูเ้ ริม่ คิด เริม่ ทำ� ซึง่ อาจ กล่าวได้วา่ เป็นต้นแบบในการฝึกอบรมบาลีกอ่ นสอบก็วา่ ได้ ย้อนไป เมือ่ ๔๕ ปีกอ่ นนัน้ ทีท่ า่ นเจ้าคณะภาค ๑๔ ซึง่ ก็คอื ท่านเจ้าคุณพระธรรม ราชานุวตั ร วัดพระเชตุพน ในยุคนัน้ และหลวงพ่อพระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ ในสมัยเมือ่ ตอน ท่านยังดำ�รงตำ�แหน่ง รองเจ้าคณะภาค ในพระราชาคณะชัน้ ราช เป็นเจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ พร้อมด้วย เจ้าคณะจังหวัดทัง้ ๔ มีหลวงพ่อเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดสุวรรณภูมิ มีอายุ ๙๐ ปีเศษ ซึง่ ถือว่า เป็นอาวุโสสูงสุดสำ�หรับยุคนัน้ รองจากท่านนัน้ ก็คอื เจ้าคณะจังหวัด สมุทรสาคร วัดสุทธิวาตวราราม ส่วนเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม คือท่านเจ้าคุณพระธรรม เสนานี เจ้าอาวาสวัดวังตะกู ซึง่ ยังดำ�รงธาตุขนั ธ์อยูต่ ราบเท่าปัจจุบนั นี้ มีอายุบรรลุถงึ ๙๓ ปี เข้าแล้ว อีกทัง้ ท่านเจ้าคุณพระธรรมคุณาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี ได้รว่ มปรึกษา หารือกัน ในอันทีจ่ ดั เปิดการอบรมบาลีกอ่ นสอบ
13
จึงได้น�ำ ความเข้ากราบเรียนเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา ซึง่ สมเด็จท่านก็เห็นสมควรและอนุมตั ใิ ห้ จัดเปิดอบรมได้ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ขึน้ อันนัน้ เป็น ปฐมวาร หรือครัง้ แรก สมัยนัน้ มีนกั เรียนทีเ่ พียรพากมา ประมาณได้วา่ น่าจะ ๘๐ – ๑๒๐ รูป แรกเริม่ เดิมทีปนี น้ั ประมาณการได้วา่ ท่านจัดเพียง ๑๐ วัน จัดในตอนทีซ่ ง่ึ เข้าใกล้จวนเจียน เฉียด ฉิวกับการสอบวัดผลในสนามจริงแล้ว พระสงฆ์องค์เณร จึงไม่แกล้วกล้า กวดวิชาไม่รเู้ รือ่ ง เพราะยังไม่ทนั ได้กระเตือ้ งคุน้ ชินชิมรสการอบรมอย่างเป็นทางการ หลวงพ่อเจ้าคุณพระธรรมราชานุวตั ร แนะนำ�ผมให้ไปดู การเปิดอบรมบาลีกอ่ นสอบ ทีว่ ดั ไร่ขงิ ผมเองตอนนัน้ ยังสอนหนังสือเด็กๆ อยูท่ ว่ี ดั ก็รวบรัด รับคำ�ท่าน ท่านรูว้ า่ รับเท่านัน้ ก็จดั ให้สารถีมารับทีว่ ดั ราชโอรสารามทันที ออกเดินทางมาถึง วัดไร่ขงิ นี้ ก็ตกยามประมาณได้สกั ๑ ทุม่ ตอนนัน้ ยังอบรมแบบลูกทุง่ ๆ ไม่มงุ่ รูปแบบ มีพระท่าน พาไปดูหอ้ งโน้นนีน้ น่ั ซึง่ กำ�ลังพากันนัง่ อบรมอยู่ สักครูก่ ม็ เี สียงกระซิบมาว่า ดูชว่ ยหน่อย อีก ๔-๕ วันก็จะสอบแล้ว เลยบอกเอาไว้ปหี น้าก็แล้วกันสำ�หรับปีนน้ี น้ั คงไม่ทนั โอกาส ครัน้ ถึงปี ๒๕๑๙ เข้า ก็จบั เข่าเข้าประชุมกันใหม่ โดยนิมนต์พระผูใ้ หญ่มาร่วมประชุม วางแผน ซึง่ ผมก็ถกู นิมนต์ดว้ ย ท่านให้ชว่ ยด้านวิชาการ ควบกับอีกหนึง่ งาน คือ ถูกแต่งตัง้ ให้เป็น หัวหน้าพระวิทยากร แล้วก็รบั หน้าทีน่ น้ั มาถึงเกือบ ๒๐ ปี ใน ๑๐ ปีแรก ผมต้องมานอนทีว่ ดั ไร่ขงิ ๑๕ วันเลย เพือ่ ดูแลงานด้านวิชาการแทบทุก อย่าง ไม่วา่ จะเป็นตารางสอน การออกข้อสอบ การให้ท�ำ แบบฝึกหัดของทุกชัน้ ครูผสู้ อนเองก็ ต้องคอยดูแลหมด ทัง้ เครือ่ งไม้เครือ่ งมือ รวมทัง้ วัสดุปกรณ์ตา่ งๆ มีพระทีท่ �ำ งาน ก็ประมาณไม่ เกิน ๓-๔ รูป เครือ่ งถ่ายเอกสารมีเครือ่ งเดียวเท่านัน้ แถมความเก่าเข้าร่วมด้วย เพราะต้องช่วย เรือ่ งการตรวจข้อสอบทัง้ หมด ผมเลยต้องมากินนอนอยูท่ น่ี ่ี จนกระทัง่ ถึงปีท่ี ๗ จึงลงตัว ทีน้ี ถึงเบาหัวเริม่ สบายคลายกังวล เมือ่ วิทยากรทุกรูปทุกคนเริม่ รูจ้ กั หน้าที่ วิทยากรรุน่ โบราณา จารย์ ระดับเจ้าคณะจังหวัด ก็มรณภาพไป แต่งานไม่ได้มรณภาพด้วย พระสังฆาธิการในยุคปัจจุบนั นี้ ส่วนหนึง่ ก็เป็นลูกศิษย์ทผ่ี า่ นการอบรมทีน่ ม่ี า ซึง่ พอจะ เห็นหน้าคาดตาอยูจ่ นทุกวันนี้ เป็นเจ้าคณะจังหวัดไปแล้วหลายรูป เป็นวิทยากรก็มี เป็นนักเรียน ก็มี อย่างท่านเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐมนีถ้ อื เป็นรุน่ เดียวกัน เป็นวิทยากร เหมือนกัน สอบได้ ๙ ประโยคปีเดียวกัน หลังจากนัน้ ก็มาร่วมกันเป็นวิทยากร เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาครปัจจุบนั นีส้ �ำ เร็จบาลีเปรียญ ธรรม ๙ ประโยค ถือเป็นรุน่ ลูกศิษย์ ก็เคยมาเรียนทีน่ ่ี เพราะฉะนัน้ รวมแล้ว เจ้าคณะจังหวัด
14
ในเขตภาค ๑๔ เป็นลูกศิษย์ ๓ รูป ๙ ประโยคทัง้ หมด และทีส่ �ำ คัญคือ เจ้าคุณพระธรรมโพธิมงคล ผูร้ กั ษาการแทนเจ้าคณะภาค ๑๔ และรองเจ้าคณะภาค วัดเทวราชกุญชร ๙ ประโยคทัง้ คู่ ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครปฐม ก็นบั ว่าเป็นลูกศิษย์อกี ท่าน นีก้ ถ็ อื เป็นการเล่าความเก่าครัง้ หลังสูก่ นั ฟัง เพือ่ ให้ทา่ นทัง้ หลายได้รวู้ า่ ผูท้ ผ่ี า่ นการเป็น วิทยากร หรือการอบรมจากทีน่ ไ่ี ปแล้ว ถึงเมืองแก้วคือความสำ�เร็จเป็นอันมาก ผมจึงปลืม้ ใจ ทีบ่ คุ คลากรจากบ้านของตัวเอง จังหวัดของตัวเอง ทีไ่ ปอยูก่ รุงเทพ แล้วได้เป็นเจ้าอาวาส พระอารามหลวง เป็นเจ้าคณะภาค มีสมณศักดิเ์ ป็นรองสมเด็จก็มี นีก้ ล็ ว้ นผ่านสนามลานฝึก อบรมบาลีกอ่ นสอบทีว่ ดั ไร่ขงิ นีเ้ ป็นส่วนใหญ่ เมือ่ วานนี้ มีโอกาสไปทีว่ ดั พิกลุ ทอง จังหวัดสิงห์บรุ ี ปลัดจังหวัดมากราบ แล้วรายงานตัว บอกว่าผมเป็นลูกศิษย์วดั ไร่ขงิ ท่านอาจารย์เคยไปเป็นวิทยากรอบรมผม ได้ ๗ ประโยค พอ วิปโยคจากผ้ากาสาวะจึงลาสึกไปเรียนต่อ ภายหลังมาเป็นนายอำ�เภอ อยูท่ จ่ี งั หวัดน่าน ตอน นีเ้ ป็นปลัดจังหวัด เคยเป็นสามเณรทีว่ ดั ไชยชุมพลชนะสงคราม จังหวัดกาญจนบุรี แต่ปจั จุบนั นีเ้ ป็นประธานสมาคมลูกศิษย์วดั ใต้ มีชอ่ื เสียงครึกโครมโด่งดังเยอะ เลยคิดว่า น่าจะรวมตัวทำ� อะไร ทีไ่ ม่ใช่แค่มาทำ�บุญ ควรจะมีกจิ กรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ วัดวาศาสนาของพระผูม้ พี ระภาค เจ้าให้มากกว่านี้ อีกท่านทีจ่ �ำ ได้คอื มหาสำ�เนียง เป็น ดร. จบจากมหาวิทยาลัยเดลี ลาสิกขาไป ทำ�งานทีก่ ระทรวงการต่างประเทศ หลายคนส่วนใหญ่อยูก่ ระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบนั นี้ เกษียณแล้ว เรียนหนังสืออย่างเดียว ได้ ๙ ประโยค ต่อยอดความรูจ้ นมีความเข้าใจ และใช้ ประโยชน์จากความรูอ้ นั นัน้ นีก้ ถ็ อื ว่า อยูก่ เ็ ป็นประโยชน์แก่พระศาสนาได้ สึกไปก็มคี ณ ุ ค่าแก่ การบ้านการเมือง รุง่ เรืองด้วยการบำ�เพ็ญประโยชน์ตอ่ เพือ่ นมนุษย์ สำ�คัญทีส่ ดุ ก็คอื ต้องมี จิตสำ�นึก คำ�ว่า จิตสำ�นึก คือ ตัวความรูส้ กึ ว่าเคยบวชเคยเรียน เพียงใช้ธรรมะจากบาลีให้เป็น ประโยชน์เท่านัน้ จะสึกก็ได้ อยูก่ ด็ ี ไม่มปี ญ ั หา แต่ทเ่ี ป็นปัญหาคือ การศึกษาบาลีทกุ วันนี้ ต้องบอกว่า ไม่วา่ จะเรียนชัน้ ไหน ส่วนใหญ่ มักให้ความรูส้ กึ เป็นไปว่ามันเคว้งคว้าง ผมเคย ถามพระเณรทีเ่ รียนประโยคต่�ำ ๆ ว่า เรียนบาลีท�ำ ไม ก็พากันตอบไม่ได้ เวลาสอนประโยค ๙ ก็ถามนักเรียนประโยค ๙ ว่าพวกเรามาเรียนกันทำ�ไม ตอบไปมัว่ ทัว่ ทิศานุทศิ กันซะหมด เลย ก็กลายเป็นว่า เรียนอย่างมีเป้าหมายไม่แน่นอน จึงอยากฝากท่านทัง้ หลายไว้ในทีน่ ้ี ว่าการเรียนบาลีตอ้ งมีเป้าหมาย การมีเป้าหมาย ต้องมีวตั ถุประสงค์ของตัวเอง อาจจะ เหมือนกันก็ได้ เพือ่ ใช้เป็นฐานรองรับให้เกิดความมัน่ ใจและแน่วแน่ในการทีจ่ ะศึกษาเล่าเรียน
15
ถ้าสักแต่วา่ เขาเรียนก็เรียนไป สอบได้กไ็ ปต่อ สอบตกจิตแตก แบกรับความเบือ่ หน่าย บางทีเขินอาย พาลพาลาสึก บ้างก็ได้รบั ประโยชน์สงู ๆ แต่ภายหลัง สึกไปใจทิง้ หมด ไม่ เสียดายความรูท้ ส่ี เู้ รียนมาถึง ๕ ปี ๑๐ ปี เพราะไม่มเี ป้าหมาย อันทีจ่ ริงเรียนได้ประโยค ไหนไม่ได้ส�ำ คัญ แต่ขอถามท่านว่า มีเป้าหมายหรือไม่ เรียนเพือ่ พระพุทธศาสนา เรียนเพือ่ อยูท่ �ำ ประโยชน์ให้แก่สงั คม เรียนเพือ่ ทีจ่ ะทำ�ความเข้าใจในพระพุทธศาสนา โดยธัมมานุ ธัมมปฏิบตั ิ เพือ่ ทีจ่ ะได้ไปแนะนำ�สัง่ สอนฆราวาสญาติโยม หรือเพือ่ ทีจ่ ะเป็นหน่อพุทธา งกูร สืบสานป้องกันความสูญเสือ่ มแห่งพระศาสนาภาษาบาลี เป็นครูบาอาจารย์สอนลูก ศิษย์รนุ่ น้องต่อไป หรือเรียนเพือ่ ทีจ่ ะได้ความรูเ้ ป็นคูม่ อื สืบสานฐานในทางโลก ได้ความรูเ้ พิม่ เติม เมือ่ ลาสิกขาไปมีครอบครัว ก็ใช้หลักธรรมะนำ�ทาง เป็นพ่อบ้านทีด่ ี เป็นข้าราชการทีด่ ี เป็นแบบอย่าง แก่รนุ่ น้องทีย่ งั ครองเพศพระเพศเณรอยู่ เขาเห็นเข้าก็เฝ้าปลาบปลืม้ ตืน้ ตันใจ เพราะเห็นเป็นตัวอย่างว่า เรียนแล้วได้รบั ความสำ�เร็จ สึกหาลาเพศแล้ว ก็ไม่แคล้วจากฝัง่ ฝัน นีเ้ ป็นอันชือ่ ว่า แบบอย่างทีด่ ี แบบอย่างทีด่ นี น่ั แหละ ถือเป็นสิง่ ทีส่ ดุ ยอด ไม่ใช่สกั แต่วา่ สึก ไปแล้ว หลบพวกลับฝูง หน่ายวาลาวัด ไม่ได้เป็นโล้เป็นพายอะไร เพราะไม่มเี ป้าหมายใดๆ ในชีวติ นับเป็นทีน่ า่ เสียดายละอายจิต ทีม่ โี อกาสได้ศกึ ษาบาลี อนึง่ เพราะว่าวุฒภิ าวะสติปญ ั ญาของคนเราไม่เหมือนกัน ในส่วนของเป้าหมายที่ จะต้องเจริญรุง่ เรืองก้าวหน้า จะต้องสอบได้ให้อย่างนัน้ อย่างนี้ เห็นทีจะเป็นไปได้ยาก การ เรียนเพือ่ สอบไล่ได้ ไม่ยากเย็นเข็ญใจอะไรเลย ทีจ่ ริง เพราะไม่เข้าใจเรียนเอง มันจึงยาก ถ้า เข้าใจเรียน ไม่มยี ากแน่นอน ทีเ่ ขาสอบกันได้ในประโยค ๑-๒ จนถึง ๙ ประโยคตัง้ แต่เป็น สามเณร เพราะเขาเข้าใจเรียน บาลีน้ี เรียนเพือ่ ให้สอบไล่ได้ไม่ยาก มันยากหลายขัน้ หลาก ตอน อยากจะย้อนฝากท่านทัง้ หลายไว้เหมือนกัน อันดับแรก คือ ต้องมีเป้าหมายก่อน หากมีเป้าหมาย ก็จะแน่วแน่ อุปมาเหมือนกับ เรานัง่ รถเข้ามากรุงเทพ เราวางเป้าหมายว่าจะไปตรงนัน้ ตรงนี้ วัดนัน้ วัดนี้ หมายไว้ได้ทก่ี จ็ รลี ดิง่ ไปเลย รถจะติดอย่างไร แต่เป้าหมายมีอยูแ่ ล้วก็ดน้ั ด้นไปจนถึง ข้อนีฉ้ นั ใด แม้การเรียนบาลี ก็ฉนั นัน้ ถ้าเรามัน่ มุง่ เอาเป้าหมาย ก็อาจไปถึงได้ โดยไม่ทอ้ แท้ถดถอย ถ้าไม่มเี ป้าหมาย แล้วก็ แม้นจะเรียนให้ไปถึงได้ ๙ ประโยค ก็เตะฝุน่ เสียเท่านัน้ อย่างนีม้ เี ยอะแยะไปในกรุงเทพ หรือต่างจังหวัด ทำ�ไมเขาไม่ใช้ เจ้าคุณก็ไม่ได้เป็น หนังสือก็ไม่สอน เทศน์กไ็ ม่ได้ อันนีก้ เ็ พราะ ปราศจากเป้าหมายตัง้ แต่แรก มีแต่ความรูท้ ส่ี อบได้ แต่ไม่มศี กั ยภาพในอันนำ�มาใช้ จึงบอกท่านทัง้ หลายว่า ถึงสอบไม่ได้ ก็ขอให้มคี วามรู้ ความเข้าใจเป็นพอ เราเรียนบาลี ต้องได้รบั ประโยชน์ ๓ ประการเป็นอย่างน้อย
16
คือ แรกเริม่ ต้องได้รบั ความชอบใจ บางทีเราไม่รวู้ า่ เรียนเรียนบาลีไปทำ�ไม จึงไม่เกิด ฉันทะ เรียนบาลีเราต้องชอบก่อน ต้องรักก่อน สมดังพุทธานุศาสนียท์ ป่ี รารภว่า ฉันทะ พอใจ รักใคร่ในสิง่ นัน้ ซึง่ ถืออันเป็นปฐมแห่งอิทธิบาทข้อต้น ครัน้ เกิดฉันทะ รักชอบ พอใจ วิรยิ ะ จิตตะ วิมงั สา ก็ตามมาเป็นลำ�ดับ นีเ้ ป็นเรือ่ งของคนคิดเป็น คิดไม่เป็น ชอบบาลีไม่ได้ คิดตรองไปก็ไร้เหตุผล เรียนไป ทำ�อะไร จะได้ประโยชน์อะไร ส่วนคนคิดเป็นพินจิ ไป ความชอบใจก็เกิดเอง อย่างที่ ๒ คือ ได้รบั ความชืน่ ใจ เวลาเราชอบ เราก็ดู ศึกษาเล่าเรียน สอบได้บา้ ง สอบ ตกบ้าง ก็ยงั ชืน่ ใจ ไปไหนเขาก็เรียกพระมหา ก็อม่ิ เอิบอุราเริงร่าแช่มชืน่ อย่างนี้ มันทำ�ให้อา่ น บาลีแล้วไม่เบือ่ ทุกวันนีผ้ มก็ยงั อ่านอยู่ ไม่วา่ จะเป็นธรรมบท มงคลทีปนี ก็ยงั มีตดิ อยูค่ รู่ ถ คว้า ธรรมบทได้ เป็นต้องอ่าน เพราะอ่านแล้วชืน่ ใจ ข้อที่ ๓ สำ�คัญทีส่ ดุ คือ ได้รบั ความเข้าใจ เรียนบาลีตอ้ งเข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจ ความชอบใจ ความชืน่ ใจก็เกิดขึน้ ไม่ได้ เห็นได้วา่ เรียนบาลีไม่ใช่เพียงแค่สอบ หรือแปลได้ แต่ตอ้ งเข้าใจด้วย นีเ้ ป็นเรือ่ งของความคิดพินจิ พิจารณา ต้องคิด ตัง้ ปัญหา และหาคำ�ตอบสำ�หรับตนเองให้ได้ ฉะนัน้ เวลาเราผ่านการสอบแล้ว ไม่ส�ำ คัญว่าจะได้หรือไม่ แต่ตอ้ งเอามาดูใหม่ แปลใหม่ แม้นจะสอบได้กป่ี ระโยคแล้วก็ตาม เอามาดู ว่าเขาอธิบายอย่างไร ทำ�ไมเป็น มโน ปุพพฺ งฺคมา อรรถกถาเขาแก้ไว้อย่างไร ไขความอย่างไร พินจิ พิจารณาตีความให้กระจ่าง ทำ�ไมเขาวางแบบนี้ ใจ มีตง้ั เยอะ จิตตฺ บางทีกแ็ ปลว่าใจ มน ก็แปลว่าใจ มนส หรือเจตสิก ก็ แปลว่าใจ แล้วต่างกันอย่างไร คำ�นีม้ ใี ช้ในกรณีไหน ไวยากรณ์เรียนมาบอกว่านีเ้ ป็น ปัจจุบนั กาล อดีตกาล บางทีเป็นเรือ่ งปัจจุบนั ก็ใช้วตั ตมานา ผ่านไปเป็นอัชชัตตนี แต่บางครัง้ เรือ่ ง เก่าโบราณ สมัยพระพุทธเจ้า แต่เขายังใช้ปจั จุบนั กาล พิจารณาดูอย่างละเอียดรอบคอบ จึงจะเข้าใจ แล้วใส่ใจในเหตุผล ว่าเพราะอะไร ถ้าไม่รู้ ก็ถามผูร้ ู้ ถึงจะได้รบั ประโยชน์ การเรียนในโรงเรียน ก็ได้รบั ประโยชน์ในระดับหนึง่ เท่านัน้ เวลาอยูท่ ก่ี ฏุ เิ อามาดู มาย้�ำ อ่านย้�ำ คิด จึงจะเกิดความแตกฉาน เรียนบาลีอย่างนี้ จึง ชือ่ ว่าได้รบั ความเข้าใจ พอได้รบั ความเข้าใจแล้ว ประโยชน์อย่างอืน่ จะตามมา จะชอบบาลี ยิง่ ขึน้ ชืน่ ใจยิง่ ขึน้ และจะเข้าใจยิง่ ขึน้ มีความเข้าใจ เวลาจะถ่ายทอด จะทำ�สามารถแสดงได้อย่างแตกฉาน ๑๐ กว่าปีมานี้ เวลาว่าง ผมได้เขียนหนังสือไว้เยอะมาก เขียนเรือ่ งทีเ่ ราเรียนกันนีแ้ หล่ะ ยกมาจากธรรมบทบ้าง ชาดกบ้าง เมือ่ ๒ วันนี้ เขียนเสร็จไป ๒ – ๓ เรือ่ ง โดยถือเอาพระบาลีในชาดกส่วนหนึง่ ทีเ่ ป็น พระคาถา มหามังคลชาดก สาธกยกมาตีความ ทำ�ความเข้าใจ จึงเขียนออกมาได้ นีช่ อ่ื ว่าเป็นการ
17
ถ่ายทอด เรียกว่าเทศนา เรียนบาลีตอ้ งให้เทศนาได้ คือการถ่ายทอด ชีแ้ จง แถลงไขแจกใจความ เทศน์ได้ อธิบายขยายความ อิงหลักฐานผสานทีม่ าทีไ่ ปให้ชดั เจน จักได้ไม่ถกู ตำ�หนิวา่ เทศน์ไม่ได้ ประสา ก็มาเป็นมหาเปรียญ ขึน้ ธรรมาสน์กไ็ ม่ได้ เขินอายไม่กล้าเทศน์ ข้อนีฝ้ ากท่านทัง้ หลายที่ เป็นนักเรียน และวิทยากรไว้ดว้ ย วิทยากรนีก้ ส็ �ำ คัญ เพราะจะต้องไปชีแ้ จงแสดงให้นกั เรียนฟัง ว่าตรงนีม้ ที ม่ี าทีไ่ ป อย่างนี้ ชีใ้ ห้นกั เรียนแตกฉานขึน้ ตัวเองก็แตกฉานไปด้วย เพราะว่าจะต้องไปค้นคว้าเพิม่ เพือ่ ทีจ่ ะได้มาเติมมาสอนนักเรียน ผูต้ รวจก็ส�ำ คัญ ต้องยึดมัน่ ในกติกาของบาลีสนามหลวง ทุกวันนีเ้ รียนบาลีทไ่ี ม่คอ่ ยได้ผลเท่าทีค่ วร ก็อยูท่ ก่ี ารตรวจส่วนหนึง่ หากคุณภาพการตรวจ ไม่ได้ กติกาก็ไม่คอ่ ยยึดถือเริม่ มาตัง้ แต่สมัยเป็นนักเรียน พอไปสอบ ผูต้ รวจก็ไม่เคร่งกติกา ตัวเองรูอ้ ยูท่ �ำ ผิด แต่ยงั สอบได้ จึงคิดว่าผิดแค่นไ้ี ม่เป็นอะไร ภายหลังครัง้ เมือ่ ได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค เลยไม่มคี ณ ุ ภาพ เพราะไม่ซมึ ซาบ ความรูจ้ ริงก็ไม่มี ฉะนัน้ ทุกอย่างควรถูกต้อง ตรงตามกติกา ท่านทัง้ หลาย ในการอบรม ๑๕ วันนี้ เราจะได้เรียนรู้ ระเบียบ วินยั การขบฉันอย่างอืน่ ร่วมด้วย สมัยก่อนหลวงพระพ่ออุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ ท่านฉันคำ�สองคำ�อิม่ แล้ว ก็จะพูดอบรม นักเรียน ท่านจะชีแ้ จงนักเรียน และวิทยากร หลังจากเห็นปัญหาทีเ่ ขาตรวจแล้ว บางทีตี ๑ ตี ๒ วิทยากร นัง่ ตรวจท่านก็มาอยูเ่ ป็นเพือ่ นตลอด หรือเรือ่ งรองเท้า คนไทยเราวางรองเท้าไม่ เป็นระเบียบ แต่ทน่ี เ่ี ขามีระเบียบ เมือ่ ก่อนท่านเจ้าคุณพระราชวิสทุ ธาจารย์ เจ้าคณะอำ�เภอ สามพราน ก่อนนำ�พระเณรสวดมนต์ ท่านจะจัดระเบียบรองเท้าให้สวย การถอดรองเท้าต้อง วางไว้ขา้ ง ๆ ไม่วางไว้ตรงกลางอย่างนีเ้ ป็นต้น แม้แต่มารยาทในทีป่ ระชุมก็เช่นกัน ยกตัวอย่าง เช่น ต้องลุกขึน้ ยืนรับ เวลาประธานมา เมือ่ ยืนรับแล้วจะสมควรนัง่ ตอนไหน ประธานนัง่ เมือ่ ไหร่ เราก็นง่ั ได้เมือ่ นัน้ ถ้าประธานยังไม่นง่ั ก็ยนื อยูอ่ ย่างนัน้ นีค่ อื มารยาทในทีป่ ระชุม โดย เฉพาะของพระเรา ทีม่ กี ารลุกขึน้ ยืนรับเป็นการแสดงความเคารพ แต่ไม่ใช่เฉพาะในกรณี ประธานเท่านัน้ ยกตัวอย่างเช่น เวลาทีป่ ระธานยังไม่มา เรานัง่ อยู่ เมือ่ มีเจ้าคณะจังหวัดเข้ามา ในทีป่ ระชุมนัน้ แต่มพี ระผูใ้ หญ่ ทีใ่ หญ่กว่าเจ้าคณะจังหวัดนัง่ อยูด่ ว้ ย เช่น ถ้าเจ้าคณะภาคนัง่ อยู่ เจ้าคณะจังหวัดเดินมาจะไม่ลกุ ขึน้ ยืนรับ เพราะทีน่ ง่ั อยูเ่ ป็นผูใ้ หญ่ทม่ี ศี กั ดิเ์ หนือกว่าท่าน ทีม่ าใหม่ ถ้าลุกขึน้ ก็ถอื ว่า เป็นมารยาททีไ่ ม่สมควร เพราะเป็นการไม่เคารพผูใ้ หญ่ ถ้าผูใ้ หญ่ นัง่ อยู่ ห้ามลุก บางทีไปต่างจังหวัด สมเด็จท่านนัง่ อยู่ พอเจ้าคณะจังหวัดของตัวเองมา ก็ลกุ ขึน้ ต้อนรับกัน อย่างนีไ้ ม่สมควร เพราะถ้าสมเด็จท่านนัง่ อยูไ่ ม่ตอ้ งลุก กรณีในทีป่ ระชุมก็ เหมือนกัน องค์ทม่ี าใหม่ใหญ่ทส่ี ดุ ถึงควรลุกขึน้ ยืนรับ หรือถ้าผูใ้ หญ่เขาลุก ทุกรูปก็ลกุ
18
ตาม ถ้าผูใ้ หญ่นง่ั ก็นง่ั ตาม เว้นเสียแต่ผใู้ หญ่ยงั ยืนปรารภธรรมกันอยู่ แล้วท่านโบกมือให้เรา นัง่ เราจึงนัง่ เพราะท่านอนุญาตแล้ว ภาษาพระะวินยั เรียกขอโอกาส ยกตัวอย่างเช่น จะเข้า ห้องน้�ำ เวลาประชุม ต้องลุกขึน้ ยกมือไหว้พธิ กี ร หรือมีวทิ ยากรทีก่ �ำ ลังพูดอยู่ แต่เขาเป็น คฤหัสถ์กย็ กมือไหว้พระพุทธรูปก็ได้ สำ�หรับฆราวาส เขาลุกขึน้ แล้ว โค้งคำ�นับ ก็จดั เป็นการ ขอโอกาส กิรยิ ามารยาทอย่างนี้ ค่อย ๆ ซึมซับไปด้วย เวลานำ�มาใช้ มันจะได้ยกระดับจิตใจ และฐานะของเราโดยอัตโนมัติ นีค่ อื สิง่ ทีเ่ ราได้นอกเหนือจากมาอบรมบาลี ผมก็ใช้เวลามามากพอสมควรแล้ว เพราะผมมาแล้วสบายใจ เพราะผมเจอลูกศิษย์ ลูกหา จึงปลาบปลืม้ ใจ ในสำ�นักอบรมบาลีกอ่ นสอบของวัดไร่ขงิ นีท้ ถ่ี อื เป็นต้นแบบ ของการ อบรม ไม่วา่ จะเป็นเขตภาค ๒ ภาค ๓ หรือภาค ๑๕ ก็ลว้ นแต่เอารูปแบบนีไ้ ปทำ�ทัง้ นัน้ ทุกวันนีท้ ด่ี ขี น้ึ ก็เพราะรูปแบบทีเ่ ข้มข้น รักษาการแทนเจ้าคณะภาค เจ้าคณะจังหวัด ก็มา ร่วมด้วยช่วยกัน จนทุกอย่างจัดสรรอย่างลงตัว จึงขอให้รกั ษาความดีขอ้ นีไ้ ว้ ขออนุโมทนาต่อท่าน ผูร้ กั ษาการแทนเจ้าคณะภาค รองเจ้าคณะภาค เจ้าคณะจังหวัด ท่านพระสังฆาธิการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ท่านเจ้าคุณพระเทพศาสนาภิบาล รองเจ้าคณะ จังหวัดนครปฐม เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ และสรรพนิสติ นักศึกษาทุกรูป ทีม่ ใี จศรัทธาอุตสาหะมา ในวันนี้ ขอเปิดการอบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีท่ี ๔๕ ขออนุโมทนาบุญต่อ คณะท่านเจ้าภาพ ทุกๆ ท่าน ไม่วา่ จะเป็นสำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด พร้อมกับคณะ ครูอาจารย์ ชัน้ ประถม มัธยม โรงพยาบาล และสายธารท่านสาธุชนทัง้ หลาย ทีม่ ใี จศรัทธา ปสาทะมาช่วยเหลือเกือ้ กูลให้ การฝึกอบรมในปีน้ี เป็นไปด้วยดีเรียบร้อยงดงาม ขอให้ ท่านทัง้ หลาย จงเจริญรุง่ เรืองงอกงามไพบูลย์ในร่มเงาบวรพระศาสนาขององค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าให้ยง่ิ ๆ ขึน้ ไป ปรารถนาสิง่ ใด อันเป็นไปในทางทีช่ อบประกอบด้วยธรรม ขอให้สง่ิ นัน้ จงสำ�เร็จสมควรตามความมุง่ มาดปรารถนา และขออำ�นวยอวยพรให้นกั เรียน ทุก ๆ รูปมีสติปญ ั ญา สุขภาพพลานามัยแข็งแรง ไม่เจ็บไข้ได้ปว่ ย มีความรูค้ วามเข้าใจใน ภาษาบาลี และสอบไล่ได้ดว้ ยกันทุก ๆ รูป เทอญ.
19
สัมปสาทนียกถา
พระธรรมโพธิมงคล (สมควร ปิยสีโล ป.ธ.๙) เจ้าคณะภาค ๑๔ รก. เจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี กรุงเทพมหานคร ขอโอกาสพระเถรานุเถระ เจ้าคณะพระสังฆาธิการ ซึง่ มีทา่ นเจ้าคุณพระเทพคุณาภรณ์ รองเจ้าคณะภาค ๑๔ เป็นต้น พร้อมด้วยเจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำ�เภอ รองเจ้าคณะอำ�เภอ ตลอดจนเจ้าคณะพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑๔ และ คณะพระวิทยากร ทุกรูป วันนี้ ผมได้เห็นพวกเราตัง้ แต่รองเจ้าคณะภาค เจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำ�เภอ รองเจ้าคณะอำ�เภอ เจ้าอาวาส และผูท้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้องทีพ่ ร้อมกันมาสโมสร ณ สถานทีแ่ ห่งนี้ จึงมีความมัน่ ใจเกิดขึน้ มาทันใดว่า ศาสนาธุระของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ซึง่ มีวดั ไร่ขงิ โดยท่านเจ้าคุณพระเทพศาสนาภิบาล รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ผูม้ ไี มตรีจติ อุทศิ ตนเพือ่ การ พระศาสนา อนุเคราะห์ให้มาใช้สถานทีแ่ ห่งนี้ เพือ่ ขับเคลือ่ นงานการศึกษา นับเป็นเวลานาน มาถึง ๔๕ ปี ถือเป็นเครือ่ งการันตีวา่ เราไม่ทง้ิ เจตนารมณ์ มีอดุ มการณ์ มุง่ รักษาปณิธานของ บูรพาจารย์ทท่ี า่ นคิดอ่านริเริม่ ไว้ ซึง่ ไม่ใช่เถราจารย์อน่ื ไกล นัน่ คือหลวงพ่อพระอุบาลีคณ ุ ปู มา จารย์ ถ้าหากว่าดวงวิญญาณของท่านสถิตย์อยู่ คูอ่ ารามนี้ เชือ่ มัน่ เต็มทีว่ า่ คงจะปลืม้ ปีตดิ ใี จเป็น ล้นพ้น ทีค่ ณะสงฆ์ภาค ๑๔ คือพวกเราทัง้ หมดทีอ่ ยูต่ รงนี้ ได้มคี วามสมัครสมานสามัคคี ความ พร้อมเพรียงเพียรเพือ่ การศึกษาอย่างตัง้ ใจ ท่านเจ้าคุณอาจารย์พระมหาโพธิวงศาจารย์ได้กล่าวไว้วา่ จะสร้างคุณค่าใจต้องมัน่ ว่ามี เป้าหมาย ผมจึงพยายามพูดอยูต่ ลอดเวลาว่า จะเป็นกรรมานุกรรม งานทำ�ใหญ่หรืองานทำ�เล็ก สำ�คัญทีส่ ดุ คือต้องตัง้ เป้าเฝ้าจดจ่อ จะกำ�หนดไว้ทไ่ี หน ใกล้ไกลเพียงใดก็ตาม แต่การจะถึงฝัง่ วิธี การสำ�คัญทีส่ ดุ ทุกวันนี้ การศึกษาภาษาบาลีนน้ั ต้องยอมรับว่ามันค่อนข้างอ่อนลดทอนลงไป มาก เห็นได้ชดั เจนจากการมีนกั เรียนเป็นจำ�นวนมาก แต่กลับพลัง้ พลาดสอบได้นอ้ ย เหตุอนั เกิด จากผูเ้ รียนท้อถอยไม่มเี ป้าหมายทีช่ ดั เจน แม้นครูบาจารย์ช�ำ นาญเก่งเคร่งครัดรัดกุมเพียงใด ก็ไม่ อาจผลักอาจใสใจทีไ่ ม่มกี �ำ ลัง
20
เจ้าคุณพระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ พูดว่า บวชมาตัง้ แต่เป็นเณรอุปสมบท จนเป็นพระเถระมีต�ำ แหน่งปกครองเป็นเจ้าวัด กระทัง่ เป็นรองเจ้าคณะจังหวัด ก็มาจากสามเณร ตัวเล็ก ๆ หากไม่ร�ำ่ เรียนพรากเพียรปฏิบตั ิ กาลเวลาทีอ่ นุวตั ิ ก็พาให้วบิ ตั เิ ท่านัน้ เอง กาลเวลาที่ ผันผ่าน มันภินทนาการประหารอนาคตของเรา หากไม่รบี เร้าเร่งรีบใฝ่ศกึ ษา เหตุทไ่ี ม่ศกึ ษาก็ มีสาเหตุอยูใ่ ห้ได้เห็น คืออาจเกิดจากอุปนิสยั ส่วนตัว คือ ขีค้ ร้านรักสบาย ซึง่ ไม่มใี ครอาจใช้ยา รักษาให้หาย นอกจากยาตัวสุดท้ายคือตัวเราเฝ้าเยียวยาเสียเอง จึงทำ�ให้เติบโตแต่เนือ้ หนังมังสา แต่สติปญ ั ญาไม่พฒ ั นาร่วมด้วย ความรูเ้ ต็มร้อยแต่ดอ้ ยศักยภาพ การเรียนบาลี ไม่อาจวัดทีส่ มอง แต่ทส่ี �ำ คัญคือเรามองคุณประโยชน์ทเ่ี กิดขึน้ แก่ตนเอง สังคม หรือแก่พระศาสนาได้อย่างไรต่างหาก ซึง่ การทัง้ ปวงนี้ ต้องอาศัยสามัญสำ�นึก ผนึกกับสมณสัญญา ทีร่ วู้ า่ เป็นพระเป็นเณร ผมเองใช่วา่ บวชเป็นสามเณรมาก่อน มีโอกาสได้บวชพระ ก็หนหลังแต่ครัง้ เกณฑ์ทหาร แล้ว ก่อนหน้านัน้ ก็ไม่แคล้ว ทำ�ไร่ไถนา เลีย้ งวัว เลีย้ งควาย เกีย่ วข้าวจิปาถะ พอได้มาบวช เป็นพระก็อาศัยแต่วา่ มีศรัทธา เลยไม่ได้มงุ่ หวัง ว่าเป้าหมายและคุณค่าอยูแ่ ห่งไหน จะอยูห่ รือ ไปในช่วงพรรษาแรก เพราะยังแบกความเป็นวัยรุน่ อยู่ แต่เมือ่ ผ่านไปมากครูอ่ ปุ นิสยั ก็เกิดขึน้ บารมีปจั จัยทีใ่ คร่เคยสัง่ สมอบรมมาในชาติเก่า คงจะเร้าเตือนจิตสะกิดตลอด มาตุภมู ผิ มอยูท่ ่ี วัดบึงลาดสวาย อำ�เภอบางเลน จังหวัดนครปฐม เรียนนักธรรมเอง ไม่มคี รูน�ำ พร่�ำ สอนแม้แต่ คนเดียว เทีย่ วดูหนังสือเอง เทีย่ วถามผูร้ วู้ า่ กระทูน้ แ้ี ต่งอย่างไร ควรจำ�แค่ไหน ดูหนังสือเสร็จไป ก็ท�ำ งานก่อสร้าง แล้วเสร็จก็รบี ระเห็ดกลับมาดูหนังสือต่อ โทเอกก็ไม่ได้เรียน เพียรดูแต่ปญ ั หา ศกมาตลอด แล้วต่อยอดเอาหลักมาท่อง อาศัยความพยายาม สอบผ่านทุกปีไม่เคยตก ตอนนัน้ ตามชนบทอำ�เภอบางเลนไปมาลำ�บากยากมากด้วยคมนาคม ใครจะไปได้อย่างเดียวคือทางเรือ ถามเจ้าคุณแย้มดู เพราะอยูบ่ า้ นเดียวกัน วันหนึง่ นัน้ มีเรือเทีย่ วเดียว รถหาไม่ได้ ใคร่จะไปต้อง ต่อรถทีบ่ างบัวทอง มาทีน่ ครปฐม เพือ่ ไปสอบนักธรรมชัน้ ตรีทว่ี ดั เกษมสุรยิ มั นาจ อำ�เภอบางเลน สมัยนัน้ ถ้าสอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ก็นบั ว่ามเหศักดิแ์ ล้ว ต่อมา พระเดชพระคุณพระสุเมธมุนี อาจารย์มหาลำ�พวน ธมฺมธโร ป.ธ. ๗ ได้มาไปเป็นเจ้าอาวาสวัดบึงลาดสวาย ท่านก็ต�ำ หนิเราว่า ความรูเ้ ท่าหางอึง่ จึงก็มาคิดว่าทำ�อย่างไรเราจะรูภ้ าษาบาลีได้เหมือนอาจารย์ ถ้ามีโอกาสสักวัน เราจะต้องเรียนให้ได้ เลยคิดไปจะเข้ากรุงเทพ แต่โยมก็หา้ ม ว่าอายุปา่ นนีท้ า่ นจะไปทำ�ไม เพราะ มีหลายวัดมาขออยากได้เป็นเจ้าอาวาสแถวนัน้ เลยชะงกงึนงันตอบไม่ทนั ได้ แต่อาจเป็นเพราะ บุญเก่าทีม่ นั รบมันเร้าให้ตอ้ งเรียน จึงไปหาหนังสือบาลีมาเพียรดูกอ่ น แต่ดเู องก็ไม่เจนแก่ใจ จน พ.ศ. ๒๕๑๙ ทีเ่ ขาเริม่ อบรมบาลีทว่ี ดั ไร่ขงิ อย่างเป็นจริงเป็นจัง ผมในปีนน้ั เข้ามาเรียนบาลีท่ี กรุงเทพ อยูว่ ดั บางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย เดินไปเรียนทีว่ ดั สุวรรณารามทุกวัน อายุอานาม
21
ก็มากกว่าเขาทีส่ ดุ นักเรียนส่วนใหญ่มแี ต่สามเณรเสียมาก หากจะมีพระบ้าง ท่านก็ยงั เป็นวัย รุน่ เพิง่ บวชใหม่ บวชเรียนคูก่ นั ไปเราแก่ทส่ี ดุ กว่าเขาทีเ่ ฝ้าเรียนอยูต่ รงนัน้ บาลีไวยากรณ์ผมเรียน แค่เดือนเดียว ก็เริม่ หัดแปลธรรมบทเลย ในความรูส้ กึ ทีไ่ ม่เคยเลยถือว่ายากมาก เพราะเรายัง ไม่คนุ้ เคยกับภาษาแบบนี้ และในสมัยนัน้ การออกปัญหานี้ ออกคาถาและแก้อรรถเกือบทัง้ นัน้ ผมต้องแปลปณามคาถา ซึง่ ถือว่าเป็นคาถายกครู อาจารย์พระสุเมธมุนี ท่านบอกใครอยากได้ ประโยค ๙ ต้องท่องปณามคาถา ผมเลยอุตส่าห์ทอ่ งทุกๆวัน ท่องอย่างกับนกแก้ว นกขุนทอง ถามว่าเข้าใจไหม ตอบอย่างเร็วไว ไม่เข้าใจเหมือนกัน กว่าจะไปเข้าใจนัน้ คือได้ประโยค ๓ แล้ว เพราะเอาสัมพันธ์ไทยมาจับ ท้อบ้าง แต่เพราะมีเป้าหมายทีอ่ ยากสอบได้ จึงใช้เวลาดูหนังสือมาก อาจารย์เจ้าคุณพระศรีธรรมโสภณ ท่านเป็นคนสุพรรณบุรี สอนว่า ความอยากอย่างเดียวไม่ได้ จะให้ได้ตอ้ งมีความพยายามด้วย มีเป้าหมายแต่ไร้ซง่ึ วิธกี าร ก็หนักหนาสาการทีจ่ ะสำ�เร็จ สมัยนัน้ ทีวโี ทรศัพท์ไม่มี เหมือนปัจจุบนั นี้ ก็เลยไม่พลาดท่าเสียทีกบั สิง่ ทีไ่ ร้สาระ บ้าง ครัง้ เราไปมองเห็นสิง่ เหล่านี้ ว่ามีคา่ กว่าการศึกษาภาษาบาลี คิดว่าไม่ได้เล่นมันแล้วเราจะตกยุครู้ ไม่เท่าทัน แท้ทจ่ี ริงเรือ่ งเหล่านัน้ ไม่ได้ส�ำ คัญกับชีวติ ประจำ�วันได้เลย ผมจึงหมกมุน่ อยูก่ บั หนังสือ ทัง้ วัน ตัง้ ฝัง่ ฝันปณิธานไว้เลยว่า ดูเทีย่ วหนึง่ จำ�ไม่ได้ ดูสองเทีย่ ว สองเทีย่ วจำ�ไม่ได้ดสู ามเทีย่ ว สามเทีย่ วยังจำ�ไม่ได้ ดูมนั สีเ่ ทีย่ ว ถ้าจำ�ไม่ได้ให้มนั รูไ้ ป ดูให้จ�ำ ได้ แล้วก็ท�ำ ความเข้าใจ ตืน่ ตีสาม ครึง่ จะพักครึง่ ชัว่ โมงตอน ๑๐ โมงครึง่ ไปถึง ๑๑ โมง กิจนิมนต์ไม่รบั ไม่ไปไหน ไม่สร้างความ คุน้ เคยกับใคร เพราะจะเสียเวลาทีจ่ ะดูหนังสือ ผมสอบได้ประโยค ๑-๒ ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ หนึง่ วัน นอนไม่กช่ี ว่ั โมง เพราะผมมาเรียนตอนอายุมาก เวลาดูหนังสือแล้วจึงจะต้องมัน่ ใจ ว่าหลับตาไป ต้องรูแ้ จ้งแทงนัยหมดทัง้ ๔ ภาค ย้�ำ อ่านย้�ำ ดู ขุดคูอ้ ยูช่ ว่ั เช้าย้�ำ เย็น ทบทวนไวยากรณ์กอ่ น แล้วก็ ดูหนังสือวิชาแปล พ.ศ. ๒๕๒๐ สอบได้ ๓ ประโยค นับว่าเป็นโชคมากกว่าได้ ๙ ประโยค เสีย อีก นึกอยูใ่ นใจ ชาตินไ้ี ม่ตอ้ งเป็นหลวงตาแล้ว ถึงแม้จะเป็นหลวงตาก็เป็นหลวงตามหา ดีใจมาก ประโยค ๔ ประโยค ๕ ก็นกึ ว่าเป็นประโยคแถม ผมดูหนังสือหมดทุกหน้า ไม่มเี ก็ง ออกตรง ไหนก็ได้ไม่ตก จนถึงประโยค ๘ แต่ปว่ ยปีท่ี สอบประโยค ๙ เลยไม่ได้ สอบอีกปีหนึง่ ก็ได้ รวม แล้วเรียน ๙ ปี ในขณะทีเ่ รียนอยู่ มีความท้อบ้าง บางครัง้ ก็เบือ่ สิง่ ทีอ่ ยูร่ อบตัวเรามันเฝ้ารบกวน เสมือน ลองใจเราอยูต่ ลอดว่าเราจะรอดหรือไม่ จึงต้องรบกับจิตใจอยูต่ ลอด ต้องสวดมนต์และนัง่ สมาธิ ก่อนนอนให้จติ สงบ ถ้าฟุง้ ซ่านไม่จบแน่ เมือ่ ตัง้ ใจทำ�อะไรไว้แล้ว จะต้องทำ�ให้ได้ เดีย๋ วทำ�ไม่ท�ำ ไม่มที างสำ�เร็จ เพราะไม่มน่ั คงในความคิด คำ�พูดและการกระทำ� ถ้าใช้อย่างภาษานักเทศน์ ก็ คือ ใจทีค่ ดิ กิจทีท่ �ำ คำ�ทีพ่ ดู ต้องมัน่ คง ทุกวันนี้ ผมจะทำ�อะไรก็แล้วแต่ จะต้องทำ�ให้เสร็จ ถ้า
22
ไม่เสร็จ ไม่เลิก ผมไปอ่านเจอข้อความหนึง่ เขียนไว้ดมี าก เก็บคำ�ว่า ท้อ ไว้ในลิน้ ชัก เก็บคำ�ว่า พัก ไว้ในกระเป๋า ทิง้ คำ�ว่า เหนือ่ ย ให้หา่ งไกลจากตัวเรา เหลือเพียงคำ�ว่า สู้ อยูใ่ นเงา และคำ�ว่า เรา เป็นทีพ่ ง่ึ ของคน ข้อความนีไ้ ปเป็นแรงผลักดันให้กบั ผมได้ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์เต็มทีแ่ ละ ให้ถงึ จุดหมายปลายทางทีผ่ มต้องการได้ตลอด จะเรียนอะไรก็แล้วแต่ เอาให้จริง เอาให้จบ ไม่ใช่ จะเรียนแค่ครึง่ ๆ กลาง ๆ ครึง่ ทางก็หยุดพัก เหมือนกับเป็ด บินก็ได้ แต่ไม่ได้เหมือนนก ดำ�น้�ำ ก็ได้ แต่ไม่ได้เหมือนปลา เราอย่าเป็นอย่างนัน้ เขาเรียกว่าบัณฑิตเป็ด ความรูต้ า่ ง ๆ มันเป็นเครือ่ งยกระดับจิตใจของเรา ให้ใช้ความรูย้ กระดับฐานะของตัว เองขึน้ มา ด้วยคุณค่าของธรรมวินยั ทีศ่ กึ ษาเล่าเรียน เวลาเรียนบาลีผมอยากให้พวกเราช่วยสรุป นิทานธรรมบท แต่ละเรือ่ ง ๆ ไว้ดว้ ย ว่ามีคณ ุ ค่าทีแ่ ท้จริงอย่างไร เวลาทีผ่ มสอนจบตอนหนึง่ ๆ ก็จะบอกนักเรียนว่า ลองเล่าคร่าว ๆ พอเป็นเคล้า ให้ผมฟังหน่อย ว่า เป็นอย่างไร ได้อะไร จากเรือ่ งนี้ สรุปจากทีศ่ กึ ษาในธรรมบทนัน้ ๆ เอามาผูกมาพันธ์ผลันใช้ปรับแก้แก่ชวี ติ ประจำ�วัน อย่างไร เพราะแต่ละเรือ่ ง ๆ ล้วนประเทืองปัญญาเสียทัง้ หมด เรามีความรูท้ เ่ี หนือเขา เปรียบ เทียบเข้ากับคนทีไ่ ม่ได้เรียน แต่ไม่ใช่ใช้น�ำ ไปข่มเขา เราได้รใู้ นสิง่ ทีช่ าวบ้านเขาไม่รู้ พระเณรอีก หลายรูปไม่เห็น จึงนำ�มาซึง่ ความภาคภูมใิ จ ทำ�ไมผูท้ เ่ี รียนสูง ๆ จึงมีความคิดทีห่ ลากหลาย ขยายข้อคิด วิเคราะห์ ต่อด้วยวิจารณญาณ อย่างมีวสิ ยั ทัศน์ เป็นระบบระเบียบ ผมทีท่ �ำ งาน อยูท่ กุ วันนี้ ไม่ได้เรียนทางโลกเลย จบแค่ ป.๔ ใช้ภาษาบาลีทม่ี ที ง้ั หมด มายืนอยูต่ รงจุดนีไ้ ด้ ก็ เพราะใช้บาลี คนเรียนบาลีจะมีความขยัน ไม่ยอ้ ท้ออยูใ่ นตัว เช่นตัวอย่างในธรรมบท ขอยกเรือ่ งโคนันทิวศิ าลมาเล่า สมดังเคล้าพระบาลีมคี วามว่า โพธิสตฺตานญฺหิ สิถลิ กรณํ นาม นตฺถิ ขึน้ ชือ่ ว่าการกระทำ�ย่อหย่อนของพระโพธิสตั ว์ทง้ั หลาย ย่อมไม่มี เราเป็นผูด้ �ำ เนินตามปฏิปทาของพระโพธิสตั ว์ พอได้เห็นปฏิปทาของพระพุทธเจ้าผูเ้ ป็น พระโพธิสตั ว์ มันชวนให้เกิดความฮึกเหิมเหีย้ มหาญขึน้ มาทันที เรียนไปแล้วขอให้ได้ท�ำ หน้าที่ ของความเป็นพระเป็นเณรให้ดที ส่ี ดุ โดยทีเ่ กิดจากสามัญสำ�นึกของเราเอง ขึน้ ชือ่ ว่าการศึกษา ดีทง้ั หมด แต่ขอให้เหมาะกับสมณภาวะ และสถานะทีเ่ ราเป็นอยู่ พวกเราเป็นพระภิกษุสามเณรในพระพุทธศาสนา ซึง่ นับว่าเป็นสถาบันหลักหนึง่ ทีอ่ ยูใ่ น ๓ สถาบัน คือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ นีค่ อื สิง่ ทีพ่ วกเราจะต้องคิด ถ้าเราไม่ท�ำ ตามระบบของ เรานีแ้ ล้ว ศาสนาจะมีทที า่ อย่างไร ใครจะสืบทอดหลักธรรมคำ�สอน หลักธรรมอยูไ่ ด้มาถึงทุกวัน นีก้ เ็ พราะมีการสืบทอดทางการศึกษา ท่านเจ้าคุณอาจารย์พระมหาโพธิวงศาจารย์สอนว่า ศึกษา เสร็จให้น�ำ มาถ่ายทอด มีธรุ ะอยูแ่ ค่ ๒ อย่าง ในพระพุทธศาสนา คือ คันธุระ ซึง่ ได้แก่การศึกษา เล่าเรียน พรากเพียรบอกสอน และวิปสั สนาธุระ อันหมายเอาสัมมาปฏิบตั เิ พือ่ ถือเอาอรหัตตผล
23
นีน้ บั ว่าเป็นหน้าทีโ่ ดยตรงและสำ�คัญทีส่ ดุ ทีเ่ ราจะต้องทำ�ด้วยจิตสำ�นึก อะไรเรียนแล้วได้บญ ุ ได้กศุ ลก็ควรเรียน ทีเ่ ห็นก็คอื มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาทีเ่ ราศึกษาแล้วได้บญ ุ จิตสงบ ไม่ ฟุง้ ซ่าน มีสมาธิ เรียนแล้วได้บญ ุ เรียนจนจบประโยค ๙ มีเงินนิตยภัตถวายอีกด้วย สอบได้ท่ี วัดดังๆ มีเงินอุดหนุนอีกเป็นแสน เป็นล้าน ก็เพราะท่านต้องการให้ไปต่อยอดเชือ่ มโลกด้วยธรรม เพราะฉะนัน้ จึงกล่าวว่า ทีข่ น้ึ ชือ่ ว่าความรูก้ ด็ ที ง้ั หมด เราเรียนบาลีดว้ ยสามัญสำ�นึกว่า จะต้อง เป็นโยธารักษาพระพุทธศาสนาเอาไว้ เหมือนกับบูรพาจารย์ของเราทัง้ หลายทีเ่ ห็นอยูท่ กุ วันนี้ บวชอยูต่ ราบใด ก็ตอ้ งศึกษารักษาศาสนาไป ตราบนัน้ จะเสริมความรูข้ า้ งนอกมาก็ไม่เป็นไร แต่ ให้ยดึ ถือพระธรรมวินยั เป็นหลักหมายเลข ๑ ไม่ใช่เรียนแล้วทิง้ พระธรรมวินยั เลย เอาไปวางไว้ ทีไ่ หนก็ไม่รู้ ฉะนัน้ อย่าลืมระเบียบวินยั ของเรา มาอยูท่ น่ี ฝ่ี กึ ให้ดไี ด้หลาย ๆ อย่าง ฝากรองเจ้า คณะภาคให้ดแู ลเรือ่ งอาจาระช่วยด้วย เพราะความเป็นระเบียบเรียบร้อย คือ อัตลักษณ์ของ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ขอให้เรามีก�ำ ลังใจสู้ ไม่สแู้ ล้วจะชนะได้อย่างไร ผมตกประโยค ๙ หนึง่ ปี จะมีไวท์บอร์ด ไว้เขียนศัพท์กอ่ นไปบิณฑบาตเสมอ เพือ่ จะได้จ�ำ ก่อนนอนก็ดู พอจำ�ได้แล้วก็ลบทิง้ แค้นนีต้ อ้ ง ชำ�ระ เราจะต้องทำ�ให้ดกี ว่านี้ ผมเขียนไว้เลย เพราะจะต้องไปหาข้อมูลมาเพิม่ ใหม่ ทำ�อย่างไร แต่งอย่างไร ไปถามอาจารย์เจ้าคุณพระศรีธรรมโสภณ ท่านบอกว่าต้องแต่งสำ�นวนวิสทุ ธิมรรค ของประโยค ๘ สลับซับซ้อน ผมก็เอาสำ�นวนของท่านเจ้าคุณอาจารย์พระธรรมวโรดม วัด เบญจมบพิตร รวบรวมมาทัง้ หมด ภาษาใช้แบบนี้ เฉลยแบบนี้ มากำ�หนดดูวา่ ทำ�ไมท่าน เฉลยแบบนีเ้ พราะอะไร พวกเราผูล้ งเรือร่วมชะตากรรมเดียวกัน มาอยูด่ ว้ ยกัน ขอให้ชว่ ยกันรักษาบ้านอัน เป็นสมบัตทิ พ่ี อ่ ให้ไว้จงได้ นัน่ หมายถึงหลักธรรมคำ�สอน อยูไ่ ม่ได้ ใคร่จะสึก ก็อย่านึกคิดจะ ทำ�ลายบ้าน อยูก่ ท็ �ำ ตามหน้าทีข่ องเรา ธำ�รงเคล้าเก่าพระพุทธศาสนาให้ยาวไกล ผมอาจจะเข้ม งวด กวดขัน ดุดนั กับพวกเราหลาย ๆ รูป กับผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ด้วยเจตนาแล้ว ก็ไม่แคล้วเพือ่ ประโยชน์ของสถาบันทีจ่ ะต้องอยูร่ ว่ มกันให้รอดปลอดภัย ส่วนการเรียนการศึกษาซึง่ เป็นวิธี การทีจ่ ะทำ�ให้เป้าหมายมัน่ คงนัน้ การศึกษาภาษาบาลี เป็นวิธกี ารหนึง่ ทีจ่ ะทำ�เป้าหมายของเรา สำ�เร็จ พวกเราอาจจะยังไม่เห็นในวันนี้ แต่วนั หนึง่ ท่านจะรูค้ ณ ุ ค่าของภาษาบาลี ผมนัง่ คิด ตอน ทีผ่ มมารับตำ�แหน่งหน้าทีใ่ หม่ ๆ ถ้าผมไม่อดทนในวันนัน้ แล้วเลิกเสีย คงไม่ได้ประโยค ๙ และ ถ้าไม่ได้ประโยค ๙ เราจะมีวนั นีไ้ หม จะได้มารับตำ�แหน่งนีไ้ หม เขามองเห็นว่าเรามีความรู้ แต่ ความสามารถนัน้ จะตามมากับหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย ถ้าไม่อดทน มันก็คงไม่มวี นั นีท้ เ่ี ห็นยืน อยู่ ทีพ่ วกเราเรียนบาลีน้ี ไม่ได้เรียนเพือ่ ทีจ่ ะมีต�ำ แหน่งหน้าที่ แต่ทเ่ี รียนนัน้ ก็เพือ่ ทีจ่ ะปกป้อง ตัวเอง เพือ่ จะยกระดับตัวเอง ยกระดับจิตใจของตัวเอง บวชอยูก่ เ็ ป็นพระเณรทีม่ คี วามรูค้ วาม
24
สามารถ ลาเพศออกไปก็เป็นอุบาสกทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถเหนือคนอืน่ เมือ่ อยูใ่ นสถานะอะไร ก็ท�ำ หน้าทีต่ รงนัน้ ให้ดที ส่ี ดุ ตรงนีเ้ ป็นเรือ่ งทีส่ �ำ คัญ ฉะนัน้ ฝากพวกเราไว้วา่ อย่าท้อแท้ อย่าเบือ่ หน่าย สักวันหนึง่ คงจะถึงจุดหมายปลายทาง ถ้าตัง้ ใจดี คงสอบได้ไม่นาน ๒ ปีสอบได้ชน้ั หนึง่ ก็ยงั ไม่สายเกินไป ดีกว่าไม่เรียนอะไรเลย ๑๐ ปี ก็ไม่ได้สกั ชัน้ หนึง่ ตกก็ไม่ใช่เรือ่ งแปลก ถือว่าความรูเ้ รายังไม่ถงึ ถ้าความรูถ้ งึ แล้ว ถึงจุดหมาย ปลายทางแน่นอน ในไม่ชา้ หรือเร็ว พระเทพสาครมุนี เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร เป็นลูกศิษย์ท่ี ท่านเจ้าคุณอาจารย์พระมหาโพธิวงศาจารย์พดู ถึง สอบประโยค ๙ เป็น ๑๐ ปี เป็นนักเรียนรุน่ เดียวกัน แต่ทา่ นก็มาสอบได้ทหี ลัง ก่อนจบขอฝากคาถาในมงคลทีปนี ไว้เป็นเครือ่ งเตือนใจพวกเรา ดังนีว้ า่ โน เจ อสฺส สกา พุทธฺ ิ วินโย วา สุสกิ ขฺ โิ ต วเน อนฺธมหึโสว จเรยฺย พหุโก ชโนฯ หากว่า ความรูข้ องตน หรือวินยั ทีศ่ กึ ษาดีแล้ว จะไม่พงึ มีไซร้ คนเป็นอันมากจะพึงเทีย่ วไป เหมือนกระบือบอด เทีย่ วไปในกลางป่า ฉะนัน้ ฯ กระบือตาบอดเทีย่ วไปในป่า มันไม่รวู้ า่ ทีต่ รงไหนจะหากินอย่างไร ตรงไหนเป็นเหว ตกลงไปตาย ตรงไหนมีหญ้าสดงดงามหรือบริบรู ณ์ดว้ ยน้�ำ ก็ไม่รู้ เหมือนกับคนไม่มคี วามรูท้ อ่ี ยู่ ข้างนอก ไปทำ�งานทีไ่ หน ใครก็ไม่รบั เข้า แท้ทจ่ี ริงจะเป็นความรูท้ างโลกหรือทางธรรมได้หมด แต่ขอให้รวู้ า่ สถานะของตัวเองเป็นอย่างไร สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณขอบใจเจ้าคณะพระสังฆาธิการ รองเจ้าคณะภาค เจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำ�เภอ และคณะพระวิทยากร โดยเฉพาะอย่างยิง่ เจ้าของสถานที่ คือท่านเจ้าคุณพระเทพศาสนาภิบาล รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ คณะ พระภิกษุสามเณรวัดไร่ขงิ ทุกรูป ทีอ่ ทุ ศิ ทุม่ เทแรงใจในงานนี้ รวมทัง้ อุบาสกอุบาสิกาทีใ่ ห้การ อุปถัมภ์ดว้ ย ขออำ�นวยอวยพร ด้วยการอ้างอิงคุณพระศรีรตั นตรัยอันมีหลวงพ่อวัดไร่ขงิ เป็นประธาน บุญบารมีของบูรพาจารย์ของวัดไร่ขงิ มีหลวงพ่อพระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ เป็นต้น และบุญบารมี ของคณะสงฆ์ทง้ั ๔ จังหวัด ขอให้มารวมกันเป็น ตบะ เดชะ เป็นพลวปัจจัย ดลบันดาลให้ทา่ น ทัง้ หลายจงเจริญงอกงามไพบูลย์อยูใ่ นพระพุทธศาสนา ปราศจากภัยในการดำ�เนินชีวติ และ เจริญด้วยจตุรพิธพรชัยทัง้ ๔ ประการ มีอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ ธรรมสารสมบัติ จง ทุกประการ เทอญ ฯ
25
คำ�กล่าวปฏิสันถาร พระเทพคุณาภรณ์ (โสภณ โสภณจิตฺโต ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดเทวราชกุญชร วรวิหาร
ขอถวายความเคารพ พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระธรรมโพธิมงคล ผูร้ กั ษาการแทน เจ้าคณะภาค ๑๔ ขอโอกาสพระเถรานุเถระ และพระวิทยากรทุกรูป ขอความสวัสดีจงมีแด่ พระภิกษุสามเณร ผูเ้ ข้าอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ทุกรูป การศึกษาพระปริยตั ธิ รรมแผนกบาลีนน้ั นับเป็นสิง่ สำ�คัญยิง่ เพราะเป็นการสืบทอดอายุ พระพุทธศาสนาให้เจริญวัฒนาสถาพร โดยเฉพาะภาษาบาลี คำ�ว่า บาลี นี้ มาจากคำ�ว่า ปาลี ซึง่ วิเคราะห์มาจาก ปาล ธาตุ ในความรักษา ลง ณี ปัจจัย ปัจจัยทีเ่ นือ่ งด้วย ณ แล้วลบ ณ ทิง้ เสีย มีรปู วิเคราะห์วา่ พุทธฺ วจนํ ปาเลตีติ ปาลี แปลโดยพยัญชนะว่า ภาษาใด ย่อมรักษาไว้ ซึง่ พระพุทธวจนะ เพราะเหตุนน้ั ภาษานัน้ ชือ่ ว่า ปาลี แปลโดยอรรถว่า ภาษาทีร่ กั ษาไว้ซง่ึ พระพุทธวจนะ แสดงให้เห็นว่า ภาษาบาลีนน้ั เป็นภาษาทีร่ องรับพระพุทธพจน์ เป็นตันติภาษา เป็นภาษาทีม่ แี บบแผน เมือ่ ศึกษาให้เข้าใจอย่างลึกซึง้ แล้ว ย่อมเป็นความภาคภูมใิ จของผูศ้ กึ ษา ทีส่ ามารถเรียนรูไ้ ด้จนกระทัง่ นำ�ไปเผยแผ่ให้แก่ชาวโลก ได้ประพฤติปฏิบตั ติ ามคำ�สอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เรือ่ งการศึกษาภาษาบาลีน้ี ต้องศึกษาด้วยความเคารพ ด้วยความตัง้ ใจจึงชือ่ ว่า รักษาพระพุทธพจน์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้ได้ การอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ มีจดุ ประสงค์เพือ่ เพิม่ พูนความรู้ ความ ชำ�นาญ และเพือ่ ให้เกิดความพร้อมในการเข้าสอบบาลีสนามหลวง โดยเปิดอบรมบาลีกอ่ นสอบ ชัน้ ประโยค ๑ – ๒ ประโยค ป.ธ.๓ ป.ธ.๔ และชัน้ ประโยค ป.ธ.๕ พระภิกษุสามเณรทีศ่ กึ ษา ภาษาบาลีในเบือ้ งต้น ต้องท่องจำ�บาลีไวยากรณ์ ตามหลักสูตรให้แม่นยำ� ท่องจำ�แบบนกแก้ว นกขุนทอง เมือ่ ท่องจำ�ได้แล้วต้องทำ�ความเข้าใจกับภาษาบาลีทศ่ี กึ ษา จะเป็นวิชาแปลมคธเป็น ไทย วิชาแปลไทยเป็นมคธ หรือวิชาสัมพันธ์ไทยก็ตาม ต้องใช้ความพากเพียรพยายามและ อดทน เมือ่ สามารถสอบได้เป็นเปรียญธรรม ๓ ประโยคแล้ว เริม่ มีความเข้าใจเกิดขึน้ ก็จะศึกษา ภาษาบาลีได้อย่างลึกซึง้ จนเกิดความคล่องแคล่วชำ�นาญมากขึน้ สามารถเข้าถึงพืน้ ฐานของวิชา บาลีไวยากรณ์ เข้าใจประโยคบาลี โดยเฉพาะประโยค ป.ธ.๔ และประโยค ป.ธ.๕ วิชาแปลไทย เป็นมคธ จะเรียนธรรมบทภาค ๑-๒-๓-๔ ซึง่ ได้เคยเรียนวิชาแปลมคธเป็นไทยมาแล้ว เพียงแต่
26
ต้องให้เป็นไปตามหลักบาลีไวยากรณ์ และนึกไว้ในใจเสมอว่า ประธานอยูห่ น้า กิรยิ าอยูท่ า้ ย ตัวขยายอยูห่ น้าตัวทีถ่ กู ขยาย ลดหลัน่ กันไปตามลำ�ดับ นึกไว้แค่นแ้ี ล้วก็ดหู นังสือธรรมบท ที่ เคยศึกษาเล่าเรียนมาตัง้ แต่ประโยค ๑-๒ และประโยค ป.ธ.๓ จะเห็นได้วา่ การศึกษาเล่าเรียน ภาษาบาลีตามหลักสูตรจะวนไปวนมาอยูอ่ ย่างนัน้ เพียงแต่ตอ้ งทำ�ความเข้าใจกับภาษาบาลี และภาษาบาลีน้ี ยังมีเสน่หช์ วนให้อยากศึกษาเรียนรูย้ ง่ิ ขึน้ ลองดูตวั อย่าง เช่น อ การันต์ในปุง ลิงค์ แจกอย่าง ปุรสิ ในปฐมาวิภตั ติ ปุรโิ ส ศัพท์เดิมคือ ปุรสิ ลง สิ วิภตั ติ เอา อะ กับ สิ เป็น โอ (เอา อะ ที่ ปุรสิ ะ กับ สิ วิภตั ติ เป็น โอ) สำ�เร็จรูปเป็น ปุรโิ ส เป็นต้น ทำ�ไมไม่บอกว่า ปุรสิ ลง โอ สำ�เร็จรูปเป็น ปุรโิ ส อันว่าบุรษุ เพียงแค่นน้ี กั ศึกษาบาลี ย่อมรูไ้ ด้วา่ มีความลึกซึง้ เพียงใด ซึง่ เป็นลีลาของภาษาและในการศึกษาภาษาบาลีนน้ั ถ้าจะเทียบกันระหว่างพระภิกษุสามเณรทีม่ ี ปัญญาดีและมีปญ ั ญาน้อยกว่า ผูท้ ม่ี ปี ญ ั ญาดีดหู นังสือเพียงครัง้ สองครัง้ ก็จ�ำ ได้ดี แต่ผทู้ ม่ี ปี ญ ั ญา น้อยกว่า ต้องดูหนังสือหลายครัง้ กว่าจะจำ�ได้ ขอให้พระภิกษุสามเณรทุกรูป นึกไว้ในใจว่า การดู หนังสือนัน้ เป็นการแสวงหาความรูท้ เ่ี กิดขึน้ อย่างไม่รสู้ กึ เหน็ดเหนือ่ ย มีความสุขทีเ่ กิดขึน้ ใน ขณะแสวงหาความรู้ ความรูท้ เ่ี กิดขึน้ อย่างยัง่ ยืน คือการเรียนมากกว่าการสอน ซึง่ การสอน เป็นสิง่ ทีผ่ อู้ น่ื มาบอกกับเรา แต่การเรียนเป็นสิง่ ทีเ่ ราเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง เป็นความรูท้ ย่ี ง่ั ยืน มากกว่า ถ้าเมือ่ ได้เข้าสูร่ ะบบการศึกษาและผ่านขบวนการศึกษาแล้ว ก็จะมีทกั ษะชีวติ เพิม่ มากขึน้ กลายเป็นบุคคลทีม่ คี ณ ุ ภาพ เพราะฉะนัน้ ผูท้ ร่ี ตู้ วั เองว่ามีปญ ั ญาน้อยกว่าผูอ้ น่ื ต้องใช้ ความพยายามมากขึน้ ตามหลักอิทธิบาท ๔ คือ ฉันทะ ความพอใจในการศึกษาเล่าเรียน วิรยิ ะ ความพากเพียรในการศึกษา จิตตะ ความเอาใจใส่ฝกั ใฝ่ในการศึกษา วิมงั สา ความหมัน่ สอด ส่องในการศึกษา ชีวติ ของคนเรามีหลายด่านทีจ่ ะต้องผ่าน ในการผ่านนัน้ ด่านทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ คือการผ่าน ด่านด้านจิตใจของตนเอง ต้องเข้มแข็ง ต้องใจสู้ หากหมดแรงและหมดใจเสียตัง้ แต่ดา่ นแรกแล้ว ด่านต่อไปก็ผา่ นไม่ได้ ไม่ควรประพฤติอย่างกิง้ ก่า ทีม่ ปี กติวง่ิ ไปได้หน่อยหนึง่ แล้วก็หยุดพักมอง ซ้ายมองขวา แล้วจึงวิง่ ต่อไป เพราะฉะนัน้ ความเพียรพยายามควรให้เป็นไปอย่างต่อเนือ่ ง จะ เห็นได้วา่ ชีวติ ของมนุษย์นน้ั มีเวลาเท่ากัน ขึน้ อยูว่ า่ ใครจะจัดเวลาให้แก่ตวั เองตรงตามฐานะตาม หน้าทีม่ ากน้อยเพียงไร ในการศึกษาภาษาบาลี ก็ตอ้ งจัดเวลาของแต่ละรูปให้เหมาะแก่วชิ า เช่น ประโยค ๑ – ๒ วิชาบาลีไวยากรณ์นน้ั ท่องกันมาตัง้ แต่บาลีไวยากรณ์ชน้ั ต้น พอมาเรียนแปล มคธเป็นไทย ในชัน้ ประโยค ๑ – ๒ ก็ตอ้ งท่องบาลีไวยากรณ์ดว้ ย พอผ่านไป ๒ วัน หรือ ๓ วัน ก็ตอ้ งทบทวนบาลีไวยากรณ์ดว้ ย แล้วก็หดั แปลมคธเป็นไทยไปด้วย ประโยค ป.ธ.๓ ก็เช่น เดียวกัน ไม่ควรละเลยวิชาบาลีไวยากรณ์ ควรแบ่งเวลาแต่ละวิชาให้เท่ากัน เพียงแต่วา่ บาลี
27
ไวยากรณ์นน้ั เคยศึกษามาแล้ว ก็คงเพิม่ วิชาสัมพันธ์ไทยเข้ามา ส่วนแปลมคธเป็นไทยก็เคยแปล มาแล้ว ก็มลี กั ษณะการเดินประโยคเหมือนกัน เพียงแต่จะมีประโยคบาลีและคำ�ศัพท์เปลีย่ น ไปบ้าง อันนีก้ ต็ อ้ งเพิม่ ความจำ�เข้ามา พอถึงประโยค ป.ธ.๔ คงเหลือเพียง ๒ วิชา คือ วิชา แปลไทยเป็นมคธ และวิชาแปลมคธเป็นไทย ก็เรียนตามหลักสูตรซึง่ วนกันอยูอ่ ย่างนี้ จนถึง ประโยค ป.ธ.๕ เรียนกันอยูใ่ นหนังสือธรรมบทภาค ๑ ถึง ภาค ๔ เรียนซ้�ำ ไปซ้�ำ มาโดยตลอด ขอแนะนำ�ว่า การศึกษาภาษาบาลีตามหลักสูตรทัง้ หมดนีต้ อ้ งใช้ความจำ� ต้องมีความอดทน และความพยายามเป็นพิเศษ ดังคำ�ทีน่ กั ปราชญ์กล่าวไว้วา่ “ไม่สงู ต้องเขย่งไม่เก่งต้องขยัน เจอปัญหาต้องฝ่าฟัน เจอแรงกดดันต้องกล้าชน เพราะชีวติ ไม่มอี ะไรแน่นอน จงทำ�ทุก ฉากทุกตอนด้วยหัวใจ เพราะวันเวลาย้อนกลับมาไม่ได้ จงรักษาสิง่ ข้างกายไว้ให้ด”ี และ ว่า “อัจฉริยะเกิดจากแรงบันดาลใจ เพียง ๑ เปอร์เซ็นต์และอีก ๙๙ เปอร์เซ็นต์ คือความ อุตสาหะ เหมือนอย่างทีพ่ ระภิกษุสามเณรมาอบรมบาลีกอ่ นสอบ เมือ่ เจอปัญหาก็ตอ้ งแก้ ปัญหาให้ได้ ปัญหาทีอ่ อกเป็นข้อสอบจะเป็นวิชาใดก็ตาม ต้องใคร่ครวญให้รอบคอบเสียก่อน จึงค่อยลงมือทำ� และทำ�ด้วยความตัง้ ใจเคียงคูก่ บั ความพยายาม ดังพระพุทธวจนะทีว่ า่ วาย เมเถว ปุรโิ ส ยาว อตฺถสฺส นิปปฺ ทา เกิดเป็นคน ต้องพยายามอยูร่ �ำ่ ไป จนกว่าจะประสบ ความสำ�เร็จ พระเถระ พระวิทยากรทัง้ หลาย ทีม่ านัง่ อยูใ่ นทีน่ ก้ี ป็ ระสบความสำ�เร็จในการศึกษา ภาษาบาลีเกือบทุกรูป เป็นแบบอย่างให้พระภิกษุสามเณรทีเ่ ข้าอบรมบาลีกอ่ นสอบได้รไู้ ด้เห็น และมาเป็นกำ�ลังใจส่งเสริมสนับสนุนดัง่ เช่นบูรพาจารย์ในอดีตทำ�เป็นแบบอย่างไว้ให้อนุชนรุน่ หลังและบูรพาจารย์เหล่านัน้ ได้เจริญรุง่ เรืองในพระพุทธศาสนามาจนกระทัง่ ทุกวันนี้ ล้วนได้ ศึกษาเล่าเรียนภาษาบาลีมาโดยตลอดจนสำ�เร็จเป็นเปรียญธรรม ๓ ประโยคบ้าง สูงสุดจนถึง เปรียญธรรม ๙ ประโยคบ้าง ส่วนพ่อแม่นบั ว่าเป็นผูม้ สี ว่ นส่งเสริมสนับสนุนด้วยความตัง้ ใจจริง อยากเห็นลูกของตนทีเ่ ข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาประสบความสำ�เร็จในการศึกษาเล่าเรียน มุง่ หวังอยากให้ได้เป็นมหาเปรียญ ถ้าเป็นมหาเปรียญแล้วก็จะเป็นเกียรติประวัตเิ ป็นศักดิศ์ รี เป็นทีช่ น่ื ชมของญาติพน่ี อ้ งและคนโดยทัว่ ไป แสดงว่าการได้เป็นมหาเปรียญนีม้ คี วามสำ�คัญ มาก ถือว่าเป็นยอดแห่งการศึกษาของพระภิกษุสามเณร และในการอบรมบาลีกอ่ นสอบครัง้ นี้ ถือว่าเป็นการมารวมกันเพือ่ ความเป็นยอดของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ทีจ่ ดั อบรมบาลีกอ่ นสอบขึน้ เพือ่ ยกระดับคุณภาพการศึกษาภาษาบาลี ฉะนัน้ พระวิทยากรต้องแสดงความรูค้ วามสามารถ อย่างเต็มที่เพื่อให้พระภิกษุสามเณรที่เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบได้ความรู้ความเข้าใจเพิ่ม มากขึน้ ซึง่ แต่ละสำ�นักต่างก็มงุ่ หวังเพือ่ ให้พระภิกษุสามเณรในสำ�นักของตนทีม่ าอบรมบาลี
28
ก่อนสอบมีความรูเ้ พิม่ ขึน้ และเตรียมพร้อมในการสอบประโยคบาลีสนามหลวง สามารถสอบ ประโยคบาลีในสนามหลวงได้ ขอให้พระภิกษุสามเณรทุกรูปตัง้ ใจปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ อย่าง เคร่งครัด เพือ่ ความพร้อมเพรียงกัน เพือ่ หมูค่ ณะ เพือ่ ชือ่ เสียงเกียรติยศของสำ�นัก และของ ครูบาอาจารย์ทง้ั หลายทีไ่ ด้อบรมพร่�ำ สอนพระภิกษุสามเณรมาโดยตลอด โดยเฉพาะในการอยู่ ร่วมกันนัน้ จะต้องฉันด้วยกัน จะต้องนอนด้วยกัน จะต้องศึกษาเล่าเรียนด้วยกัน อยูร่ ว่ มกัน เพือ่ ให้เกิดความผาสุก ต้องรูจ้ กั เอาใจเขามาใส่ใจเรา ต้องเห็นอกเห็นใจซึง่ กันและกัน มีความ เกรงอกเกรงใจซึง่ กันและกัน ยกตัวอย่างเช่น พระภิกษุสามเณรบางรูปนอนไม่หลับ บางรูปจะ นอน บางรูปจะดูหนังสือ ต้องให้มคี วามรูส้ กึ เห็นใจกัน ต้องรูจ้ กั เกรงใจกัน อย่าเอาอารมณ์ ของตนเป็นทีต่ ง้ั บางครัง้ ต้องทำ�ตัวให้เป็นเหมือนถังขยะ ถังขยะทีว่ า่ นีห้ มายถึงการเป็นผูร้ องรับ อารมณ์และรับเรือ่ งราวต่าง ๆ ของผูอ้ น่ื ได้ ถ้ารองรับอารมณ์และเรือ่ งราวต่าง ๆ ของผูอ้ น่ื ไม่ได้ ก็จะเกิดอารมณ์ทม่ี ากระทบ กันจนทำ�ให้เสียบรรยากาศในการรับรู้ รับฟัง และในการอยูร่ ว่ มกัน ตลอดจนถึงการรักษาอาจาระให้เหมาะสมกับสมณะสารูป ให้เป็นทีเ่ ลือ่ มใสศรัทธาของผูพ้ บเห็น ดังพระพุทธพจน์ ว่า แท้จริง บุคคลผูม้ ปี กติเทีย่ วสมคบคนพาล ย่อมเศร้าโศกสิน้ กาลนาน เพราะ การอยูร่ ว่ มกับคนพาล เป็นเหตุน�ำ ทุกข์มาให้ในกาลทุกเมือ่ เหมือนการอยูร่ ว่ มกับศัตรู ส่วน บัณฑิตมีการอยูร่ ว่ มเป็นสุข เหมือนสมาคมแห่งหมูญ ่ าติ เพราะเหตุนน้ั แล นรชนพึงคบบัณฑิต ผู้ มีปญ ั ญา เป็นพหุสตู เอาการงาน มีศลี มีวตั ร ไกลจากกิเลส และเป็นสัตบุรษุ มีปญ ั ญาดี เปรียบ ดังพระจันทร์ คบอากาศอันเป็นทางโคจรแห่งดวงดาว ฉะนัน้ ฯ การอบรมบาลีกอ่ นสอบในปีน้ี ขอให้พระสังฆาธิการและพระวิทยากรทุกท่านได้ชว่ ยกัน สอดส่องดูแลเข้มงวดกวดขันให้มาก ฝึกทักษะเพือ่ เพิม่ พูนความรูเ้ ท่าทีส่ ามารถจะทำ�ได้ และขอ ให้พระภิกษุสามเณรทุกรูปทีเ่ ข้ารับการอบรมบาลีกอ่ นสอบ จงตัง้ ใจศึกษาเล่าเรียน ปฏิบตั ติ าม กฎระเบียบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ และคำ�แนะนำ�ของพระวิทยากร โดยใช้สติปญ ั ญาพากเพียร พยายามให้เต็มกำ�ลังความสามารถ ขอให้พระสังฆาธิการและพระภิกษุสามเณรทีเ่ ข้ารับการ อบรมบาลีกอ่ นสอบได้เกิดความรูส้ กึ ภาคภูมใิ จร่วมกันว่าการศึกษานีเ้ ป็นพืน้ ฐานของความเจริญ รุง่ เรือง ทุกท่านล้วนเป็นผูม้ สี ว่ นช่วยจรรโลงสถาบันพระพุทธศาสนาให้มน่ั คงถาวร ท้ายทีส่ ดุ นี้ ขออวยพรให้พระภิกษุสามเณรทีเ่ ข้าอบรมบาลีกอ่ นสอบทุกรูป จงประสบ ความสำ�เร็จตามทีต่ ง้ั ใจไว้ทกุ รูป เทอญ.
29
๑๔��กุมภาพันธ์��๒๕๖๒�ครบ��๑๑��ปี��วันมรณภาพ
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์��(ปัญญา��อินฺทปญฺญมหาเถร��ป.ธ.�๖) อดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง��อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค��๑๔ ��
� �
� � � � � � � � � � �
� �
เมื่อนึกถึงซึ่งพระเถระสงฆ์� พระอุบาลีคุณูปมาจารย์� “วัดไร่ขิง”��สิ่งทั้งหลายได้เห็นอยู่� ปัจจุบันนั้นต่อเนื่องงามเลื่องลือ� คิดคำ�นึงเมื่อถึงคราท่านลาจาก� ทั้งเณรพระสุขสบายหายขาดแคลน� “สิบเอ็ดปี”��ที่บรรจบครบโอกาส� เหล่าบรรดาสานุศิษย์มิตรสัมพันธ์� “สิบสี่��กุมภาพันธ์��วันพฤหัสฯ”� ทำ�บุญหลักทักษิณานุปทาน� ขอกุศลผลบุญหนุนส่งให้� พบสุขทิพย์แดนนิพพานผ่านโลกีย์�
ผู้เที่ยงตรงทรงธรรมนำ�ลูกหลาน� เป็นสมภารทำ�งานดียอดฝีมือ ต้องเชิดชูสู่สากลคนนับถือ ดังออกสื่อระบือไกลไปทั่วแดน ผลงานมากฝากไว้ให้อาลัยแสน ได้แบบแผนสิ่งแทนตัวรู้ทั่วกัน มัจจุราชพิฆาตไปในสวรรค์ นัดสำ�คัญวันนี้จัดมีงาน พิธีจัดเต็มอัตรามหาศาล อันเป็นการสมานฉันท์พร้อมกันดี “หลวงปู่ใหญ่”��ไปสวรรค์บรรเจิดศรี บารมีวิถีธรรมนำ�ทางเทอญ�ฯ
พระมหาปริทัศน์��วรกิจฺโจ��ป.ธ.�๙
30
ภาควิชาการ
31
บทธรรมคำ�กลอน โอวาทปาฏิโมกข์ ประพันธ์โดย
พระเทพมหาเจติยาจารย์ (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ ป.ธ.๙) เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม
๑. ขันติความอดทน อุปสรรคและผองภัย ๒. ความสุขในมนุษย์ ขันธมารยังบีฑา ส่วนสุขในนิพพาน แก่ตายก็ไม่ม ี ๓. ธรรมดาบรรพชิต เว้นขาดการเข่นฆ่า ๔. ความชัว่ ทุกชนิด ศีลห้ารักษาไว้ ๕. ความดีหมัน่ ทำ�ไว้ เท่ากับได้สร้างสรรค์ ๖. จิตใจของมนุษย์ เมตตากรุณา
ใช้ผจญทุกข์กายใจ เราทนได้เขาไปเอง แม้ทส่ี ดุ ในชัน้ ฟ้า มรณายังย่�ำ ยี เหล่าหมูม่ ารต่างพ่ายหนี จึงสุขดีกว่าสุขใด ควรมีจติ อหิงสา จึงชือ่ ว่านักบวชจริง ล้วนมีพษิ และนำ�ภัย ดับทุกข์ภยั ได้ทง้ั มวล ด้วยจิตใจทีม่ งุ่ มัน่ สรวงสวรรค์แก่โลกเรา บริสทุ ธิด์ ว้ ยปัญญา ขอโปรดอย่าทอดทิง้ ไป
32
๗. บังคับและเข่นฆ่า เมตตาและอภัย ๘. ศีลและมรรยาท ผูค้ นมากราบไหว้ ๙. บาปกรรมคนส่วนใหญ่ อยากพ้นทุกข์ทง้ั ผอง ๑๐. ทีอ่ ยูท่ อ่ี าศัย เหมาะสมภาวะกัน ๑๑. ความเพียรชำ�ระใจ เพือ่ ดับความเร่าร้อน
สร้างศรัทธาคนไม่ได้ จึงได้ใจจากปวงชน มีอ�ำ นาจเหนือสิง่ ใด ใช่อน่ื ไกลศีลนัน่ เอง มักทำ�ไปเพือ่ ปากท้อง จึงจำ�ต้องรูป้ ระมาณ เป็นปัจจัยทีส่ �ำ คัญ ใจย่อมมัน่ อยูใ่ นธรรม ให้พน้ ภัยจากนิวรณ์ ทรงสัง่ สอนให้หมัน่ ทำ�
หลักความเชือ่ (กาลามสูตร)
๑. ศีรษะอย่าให้ห ู ให้ทส่ี มองบ้าง ๒. ความเชือ่ ถือแต่โบราณ บางอย่างต้องเปลีย่ นไป ๓. ฟังข่าวเขาเล่าลือ ฟังหูเหลือไว้ห ู ๔. คัมภีรแ์ ละตำ�รา เพราะบางกรณี ๕. เพียงแต่แค่นกึ คิด เพราะนัน้ อาจเป็นสิง่ ๖. คาดการณ์วา่ ภายหน้า ผิดถูกอาจจะมี ๗. อาการจากภายนอก บางครัง้ ก็เป็นสิง่ ๘. คนอืน่ ทำ�อะไร อย่าเชือ่ อย่างสนิท
33
มาตัง้ อยูต่ ามลำ�พัง ช่วยกันฟังช่วยกันกรอง บางอย่างนัน้ ก็ใช้ได้ ตามสมัยทีเ่ ปลีย่ นแปลง อย่าเชือ่ ถือตามทีร่ ู้ พิจารณ์ดใู ห้เหมาะความ พิจารณาดูให้ดี อาจจะมีแปลกปลอมมา อย่ายึดติดว่าต้องจริง ทีไ่ ม่จริงเหมือนคิดเลย ผลต้องมาเป็นอย่างนี้ ทางทีด่ อี ย่าตายใจ ใช่จะบอกตรงความจริง บังความจริงไว้ภายใน ตรงกับใจทีต่ นคิด แล้วเผลอจิตไปทำ�ตาม
๙. วาจาและท่าที ข้อนัน้ ย่อมมิใช่ ๑๐. สีเ่ ท้ายังรูพ้ ลาด ข้อคิดนีค้ วรฟัง
คติแห่งศรัทธา คือจริงทุกประการ ดังนัน้ ก่อนศรัทธา ปัญญาอย่าละเลย
แม้ดดู สี กั ปานใด ว่าจิตใจต้องดีตาม นักปราชญ์ยงั รูพ้ ลัง้ เป็นทีต่ ง้ั สติตน
สรุปเรือ่ งศรัทธา
นักปราชญ์วา่ สองสถาน มิฉะนัน้ ไม่จริงเลย เมือ่ ใครมากล่าวเอือ้ นเอ่ย ใช้กอ่ นเผยใจศรัทธา
มงคล ๓๘ ประการ
๑. ผูท้ �ำ พูด และคิด พุทธองค์ทรงเรียกขาน ๒. ผูท้ �ำ พูด และคิด พุทธองค์ทรงเรียกขาน บัณฑิตใครคบหา พบสิง่ มิง่ มงคล ๓. บิดามารดาครูอาจารย์ อาทิ องค์บรมศาสดา ๔. ศึกษาดี คนดี และความดี ปฏิรปู เทสท่านว่าไว้ ๕. ทัง้ คนดี ของดี ทีอ่ ยากได้ ก็เพราะบุญกุศลดลนำ�พา ๖. อันอาคารบ้านเรือนทีโ่ ตใหญ่ ชีวติ คนจะดีจะจีรงั ๗. อันวิชาความรูช้ ชู วี ติ ทัง้ ทรัพย์ยศการงานทีม่ น่ั คง
34
ทุจริตสามประการ ว่าเป็นพาลทรชน สุจริตสามประการ ว่าเป็นท่านบัณฑิตชน นำ�สุขมาทุกแห่งหน นำ�พาตนสูค่ วามดี ทัง้ ท่านผูร้ ะงับดับตัณหา ใครบูชาล้วนดีมมี งคล ทัง้ สามนีม้ ากมี ณ ทีไ่ หน เข้าอาศัยอยูเ่ ถิดเกิดมงคล จะสำ�เร็จดัง่ ใจปรารถนา ทำ�เถิดหนาบุญนีม้ มี งคล ย่อมมัน่ คงอยูไ่ ด้เพราะทีต่ ง้ั ก็เพราะตัง้ ตนไว้ในความดี ให้สมั ฤทธิใ์ นสิง่ ทีป่ ระสงค์ ความรูส้ ง่ มาให้ได้ทง้ั มวล
๘. ความเชีย่ วชาญในการงานต่างต่าง ทำ�ให้โลกมีคา่ น่าชืน่ ชม ๙. การนับถือบูชามีมาได้ ใช่อน่ื ไกลวินยั นัน้ นำ�มา ๑๐. คำ�พูดดีคอื วจีสจุ ริต เสนาะโสตซาบซึง้ ถึงดวงมาน ๑๑. ยามพ่อแม่แก่เฒ่าเฝ้ารับใช้ พูดกับท่านด้วยปิยวาจา ๑๒. ลูกเป็นหงส์หรือกาท่านว่าไว้ เลีย้ งลูกให้ดมี ปี ญ ั ญา ๑๓. คูค่ รองคือผูอ้ ยูค่ ชู่ วี ติ ซือ่ สัตย์เสียสละ ๑๔. ผูท้ �ำ งานทุกสิง่ ไม่ทง้ิ ขว้าง ให้ส�ำ เร็จโดยธรรมตามขัน้ ตอน ๑๕. ความโลภนำ�จิตให้คดิ ต่�ำ จะดับโลภจากใจต้องให้ทาน ๑๖. การทำ�ดี พูดดี และคิดดี เรียกธรรมจริยาสมาทาน ๑๗. มีน�ำ้ ใจเอือ้ เฟือ้ ช่วยเหลือญาติ ด้วยการให้เงินทองและของกิน ๑๘. การกระทำ�สิง่ ใดทีไ่ ร้โทษ หมัน่ พากเพียรทำ�ไปให้ยง่ั ยืน ๑๙. การฆ่าการลักทรัพย์กบั ผิดกาม ล้วนเป็นการสร้างเวรและสร้างภัย ๒๐. ยาเสพติดและสุราฆ่าสติ ทำ�ลายคุณธรรมความเป็นคน ๒๑. แม้ดนิ น้�ำ ลมไฟให้ประโยชน์ มีสติเป็นธรรมประจำ�ใจ
35
สามารถสร้างสิง่ ใหม่ได้เหมาะสม เกิดอุดมมงคลด้วยผลงาน ทัง้ ลาภยศหลัง่ ไหลเข้ามาหา รักษาวินยั เถิดเกิดมงคล เรียกวาจาสุภาษิตใครกล่าวขาน เครือ่ งประสานความรัก สามัคคี ยามเจ็บไข้อ�ำ นวยช่วยรักษา บุตรธิดาเช่นนีม้ มี งคล มิใช่ใครพ่อแม่แน่นกั หนา จึงนับว่าประเสริฐเกิดมงคล ต้องอุทศิ รักแท้ไม่แปรผัน อภัยกัน ต่างยึดมัน่ ความดีมมี งคล ตามแนวทางอิทธิบาททีต่ รัสสอน ย่อมพบพรสูงส่งมงคลธรรม สร้างบาปกรรมมากมายหลายสถาน เชิญทุกท่านให้เถิดเกิดมงคล เป็นวิธสี ร้างสุขขัน้ พืน้ ฐาน ช่วยให้ผา่ นทุกข์เข็ญเป็นมงคล ผูท้ ข่ี าดปัจจัยไร้ทรัพย์สนิ จอมมุนนิ ทร์สอนไว้ได้มงคล เกิดประโยชน์แก่ตนและคนอืน่ ย่อมหยิบยืน่ มงคลสูต่ นเอง อีกทัง้ พล่ามมุสาท่านว่าไว้ ใครเว้นได้ยอ่ มดีมมี งคล ความดำ�ริในใจไร้เหตุผล หลีกให้พน้ เสียได้ปลอดภัยเอย อาจเกิดโทษบางครัง้ บ้างก็ได้ มิประมาทสิง่ ใด ได้มงคล
๒๒. ทุกสังคมมีเด็กและผูใ้ หญ่ ย่อมจะได้ความรักสามัคคี ๒๓. ผูอ้ อ่ นน้อมถ่อมตนไร้ชนชัน้ ใครพบเห็นซาบซึง้ ตรึงดวงมาน ๒๔. ฝึกใจให้ยนิ ดีเท่าทีไ่ ด้ ใช้หนังทำ�รองเท้าเพียงน้อยนิด ๒๕. ทรัพย์ยศความสุขและสรรเสริญ อันตรายทัง้ หลายไม่แผ้วพาน ๒๖. การฟังธรรมตามเวลาและหน้าที ่ ได้ความรูไ้ ด้ความดีมวี นิ ยั ๒๗. บาปธรรมทุกอย่างต่างเสือ่ มสูญ เพราะมีขนั ติธรรมประจำ�ใจ ๒๘. คนว่าง่ายด้วยนิสยั ใฝ่กศุ ล ได้ความรูไ้ ด้งานได้ปญ ั ญา ๒๙. รูค้ วามจริงทุกอย่างทัง้ ยอมรับ คืออริยสัจธรรม เพือ่ ให้ชาวพุทธได้หยุดคิด หันมาพึง่ ความเพียรและปัญญา ๓๐. ยามท้อแท้หรือจิตคิดฟุง้ ซ่าน สนทนาธรรมเถิดเกิดมงคล ๓๑. ตา หู จมูก ลิน้ และกายใจ ละยินดียนิ ร้ายให้ดบั ลง ๓๒. กามคุณทัง้ ห้าถ้าละได้ ก็เป็นพรหมจรรย์อนั งามงด ๓๓. สุขแท้พระตรัสว่า เมือ่ รูส้ รรพสิง่ ปัญหาสาระพัด เล็กใหญ่ขนาดไหน
36
ต่างเคารพนบไหว้ตามหน้าที่ อยูร่ ว่ มกันอย่างนีม้ มี งคล ไม่ถอื มัน่ ยศศักดิอ์ คั รฐาน ทุกถิน่ ฐานอยูไ่ ด้ไร้ศตั รู ย่อมนำ�สุขมาให้แก่ชวี ติ ง่ายกว่าคิดปูหนังทัง้ แผ่นดิน ย่อมเจริญแก่ผรู้ คู้ ณ ุ ท่าน ปฏิการท่านเถิดเกิดมงคล เราชาวพุทธควรมีอชั ฌาศัย ทัง้ จิตใจระงับดับนิวรณ์ บุญกุศลเพิม่ พูนขึน้ มาได้ ผูท้ นไหวจึงประสบพบผลดี บัณฑิตชนสนใจใคร่คบหา เป็นทางมาแห่งมงคลแก่ตนเอง พร้อมกับทำ�ตามความจริงนัน้ อันสำ�คัญ ทีอ่ งค์ภควันต์ทรงรูม้ า ไปพึง่ ฤทธิผ์ ใู้ ดเทีย่ วใฝ่หา จึงจะพาพ้นทุกข์พบสุขจริง หรือมีการสงสัย ในเหตุผล อกุศลค่อยคลายหายไปเอง ใช้สติคมุ ไว้มใิ ห้หลง พุทธองค์ตรัสว่าตบะธรรม แม้เป็นไปเพียงกาลท่านกำ�หนด เป็นการลดความทุกข์สร้างสุขใจ ล้วนเกิดมาจากความจริง ตามเป็นจริงได้ดง่ั ใจ ไม่จ�ำ กัดว่าเรือ่ งใด ล้วนจบได้เพราะรูจ้ ริง
๓๔. ตัณหาพาจิตคิดอยากได้ ชาวโลกต้องมาเข่นฆ่ากัน อยากให้โลกและตนพ้นความทุกข์ โปรดดำ�เนินตามบาทพระศาสดา ๓๕. โลกธรรมทัง้ สองฝ่าย ไม่หวัน่ ไหวแม้นอ้ ยนิด ๓๖. เมือ่ ของรักคนรักต้องจากไป ด้วยรูซ้ ง้ึ ถึงคติธรรมดา ๓๗. รัก ชัง ทัง้ หลงใหล ทรงเรียกว่าธุล ี ดี ชัว่ และทุกข์ภยั ใครละจากใจตน ๓๘. คบคนดีรบั สิง่ ดีสชู่ วี ติ มีความเพียรบริสทุ ธิผ์ ดุ ผ่อง ปฏิบตั ติ ามหลัก ทำ� พูด คิด สิง่ ใดใช้ปญ ั ญา
คติธรรมทัว่ ไป
๑. มนุษย์มตี ณ ั หา อยากมี อยากเป็น อยากได้ ๒. หากคนไม่อยากได้ แม้แต่แค่เสือ้ ผ้า ๓. แม้ชาติและกำ�เนิด แต่กรรมทีท่ �ำ ไว้ ๔. ชีวติ ของชาวโลก รอยยิม้ และน้�ำ ตา ๕. ฉันเป็นงู เธอเป็นกบ ฉันหิวเธอต้องพลี งู กบ คบแบบนี ้ สามัคคีมมี ลทิน
37
ให้เกิดภัยเกิดทุกข์ไร้สขุ สันต์ ถึงแบ่งชัน้ วรรณะอหังการ์ ประสบสุขดัง่ ใจ ปรารถนา ดับตัณหาจากใจไปนิพพาน ดีและร้ายกระทบจิต นีค้ อื จิตมิง่ มงคล ไม่เศร้าโศกเสียใจอาลัยหา ใจอย่างนีป้ ราชญ์วา่ ค่ามากมี ทำ�จิตใจให้หมองศรี เป็นราคีเปือ้ นใจคน เป็นอย่างไรไม่เห็นหน เป็นมงคลประเสริฐจริง ปรับความคิดความเห็น ให้ถกู ต้อง ตามครรลองแห่งธรรมพระสัมมา อริยสัจ มุง่ กำ�จัดสมุทยั คือตัณหา จึงนับว่ายอดมงคลพ้นทุกข์ภยั
เป็นเพือ่ นมาแต่เกิดกาย อยูค่ ใู่ จคนทุกคน โลกคงไม่พฒ ั นา อาจเห็นว่าไม่จ�ำ เป็น จะล้�ำ เลิศกว่าใครใคร ย่อมยิง่ ใหญ่กว่านัน้ เอย เคราะห์และโชคธรรมดา มักเปลีย่ นหน้ามาเยีย่ มเยือน เชิญมาคบสามัคคี แม้ชวี ใี ห้ฉนั กิน กบย่อมมีแต่ดบั ดิน้ ฝ่ายถูกกินไหนจะยอม
๖. ไม่รบพินาศแน่ ถึงยอมแพ้เขาก็ฆา่ แต่รบอาจรักษา ดวงชีวาอยูเ่ ป็นคน ท่านผูเ้ ป็นบัณฑิต ย่อมไม่คดิ ยอมจำ�นน แต่กล้าเข้าผจญ แม้ชพี ป่นเกียรติยงั คง ๗. เพราะอยากได้อยากพ้น ประชาชนจึงขวนขวาย คิดสร้างทางสบาย จนโลกกลายเป็นวิมาน ไยว่าตัณหาสาม นัน้ เลวทรามตัวล้างผลาญ เนือ้ ความทีก่ ล่าวขาน เป็นพยานข้อเท็จจริง ๘. ตัณหาอย่าคิดมัว่ ว่าเขาชัว่ เสียทุกอย่าง หากใช้ให้ถกู ทาง คือผูส้ ร้างความเจริญ ๙. สติกบั อำ�นาจ หากมาขาดออกจากกัน อำ�นาจทีม่ นี น้ั ก็จะหันมาฆ่าตน ๑๐. สามัคคีนน้ั ดีแน่ แต่ยากแท้จะสร้างได้ กดขีบ่ งั คับใจ นัน้ ย่อมกลายเป็นจองเวร ๑๑. อำ�นาจของผูท้ ม่ี อี �ำ นาจ ใช้พฆิ าตศัตรูคแู่ ข่งได้ แต่ผลของเวรกรรมทีท่ �ำ ไว้ เขาจะไม่มที างลบล้างเลย ๑๒. ขาดทานคือการให้ จะมีใครในโลกา เหลือรอดชีวติ มา เดินลอยหน้าในสังคม พ่อแม่มคี วามรัก เฝ้าฟูมฟักให้ดม่ื นม เลีย้ งดูอย่างเหมาะสม ตามนิยมจึงรอดตาย ๑๓. มีรกั มีอาลัย อยูท่ ไ่ี หนก็มที กุ ข์ หมดรักหมดอาลัย อยูท่ ไ่ี หนก็มสี ขุ ๑๔. สรรพสัตว์ทง้ั มวลล้วนมีจติ จะให้คดิ เหมือนกันนัน้ ไฉน คุณและเขาคิดต่างบ้างก็ได้ ขอเพียงใจทัง้ คูอ่ ยูใ่ นธรรม ๑๕. ความถูกผิดดีรา้ ยในโลกนี ้ มักอยูท่ อ่ี �ำ นาจจะตัดสิน ชนะเป็นเจ้าแพ้เป็นโจรเห็นจนชิน ยากจะสิน้ หมดไปจากใจคน ๑๖. พืชงามด้วยน้�ำ ฝน ส่วนคนงามด้วยปัญญา หมัน่ เรียนหมัน่ ศึกษา ขาดปัญญาจะเฉาตาย ๑๗. ตัวเปือ้ นแล้วเทีย่ วป้ายให้เขาเปรอะ ให้เลอะเทอะใหญ่โตโง่เหลือหลาย แม้คนอืน่ เปรอะเปือ้ นกันมากมาย ก็อย่าหมายว่าตนพ้นโสมม
38
๑๘. เมืองสองเจ้าเหย้าสองเขยท่านเอ่ยขาน ว่าทัง้ สองนัน้ มันอัปมงคล ๑๙. ชีวติ ทุกชีวติ สุขทุกข์ความประลัย ๒๐. ผูช้ นะและผูแ้ พ้ ไม่ชนะไม่แพ้ใคร ๒๑. เขาจองเวรเข่นฆ่ากันสาหัส อยูร่ ว่ มกันด้วยรักด้วยเมตตา ๒๒. รอยยิม้ บนใบหน้า เป็นเครือ่ งประสานใจ ๒๓. อำ�นาจนัน้ สร้างยาก สังคมลุกเป็นไฟ ๒๔. ความร้อนแห่งไฟรัก เพราะเผาทัง้ หัวใจ ๒๕. มีคนรักของรักมาเท่าไร เพราะเมือ่ ถึงเวลาต้องจากกัน ๒๖. ทุกข์สขุ ทุกชนิด หากจิตคิดอย่างมาร ๒๗. อำ�นาจของผูท้ ม่ี อี �ำ นาจ แต่ผลของเวรกรรมทีท่ �ำ ไว้ ๒๘. ทำ�บุญรีบมุง่ มัน่ บุญขาดเพียงน้อยนิด ๒๙. ฟังธรรมแล้วชืน่ ใจ ส่วนคนร้ายดวงจิต ๓๐. อยากได้ตนต้องทำ� ทวยเทพทุกวิมาน ๓๑. เงาเมฆแม้กอ้ นใหญ่ มิตรภาพของคนพาล ๓๒. ทองคำ�และเพชรพลอย มีเงินอาจซือ้ หา
39
แต่โบราณบอกความตามเหตุผล ยากจะพ้นวิวาทขัดแย้งกัน ใช่ลขิ ติ มาจากใคร เกิดขึน้ ได้ทกุ เวลา นัน้ ล้วนแต่มเี วรภัย เวรภัยใดจะมีมา เราขจัดเวรภัยไม่หงิ สา ใครจะมาไร้ทกุ ข์สขุ เหมือนเรา และเมตตาในหทัย ให้สงั คมเกิดปรองดอง ผูใ้ ช้มากมักหมดไว เมือ่ ผูใ้ ช้ตามใจตน นัน้ ร้อนหนักกว่าไฟใด และลามไหม้คณ ุ ธรรม เหมือนบ่มหนามในหัวใจมากเท่านัน้ ใจจะพลันกลัดหนองครองระทม เริม่ จากจิตคิดสัง่ การ ย่อมพบพานแต่ทกุ ข์ภยั แม้สามารถล้างศัตรูคแู่ ข่งได้ อำ�นาจใดไม่มที างลบล้างเลย บาปรีบกันออกจากจิต บาปมีสทิ ธิเ์ ข้าครองใจ คือวิสยั ของบัณฑิต มักจะคิดรังเกียจธรรม อย่ามัวพร่�ำ แต่บนบาน ล้วนมีงานทีต่ อ้ งทำ� แต่อาศัยได้ไม่นาน ก็ใช้การได้ชว่ั คราว นัน้ ค่าน้อยกว่าปัญญา แต่ปญ ั ญาไม่มขี าย
๓๓. วัวควายต่างมีเขา ทัง้ มวลล้วนกล้าเก่ง ๓๔. ครอบครัวและสังคม ไม่รอ้ นไม่ล�ำ เค็ญ ก็เพราะศีลทัง้ ห้า เริม่ ต้นคนในบ้าน ไม่ฆา่ ไม่ท�ำ ร้าย ทรัพย์สนิ ไม่สบั สน คูค่ รองต่างซือ่ สัตย์ พูดจาเชือ่ ถือได้ สุรายาเสพติด เห็นว่ามันร้ายแสน ห้าข้อรักษาได้ ครอบครัวสุขสมปอง ๓๕. เขาดิน้ รนขวนขวายเทีย่ วไขว่คว้า เรามิให้ตณ ั หามาเผาใจ ๓๖. บาปอะไรไหนเล่าเท่าความโกรธ เกิดความโกรธรีบดับเสียฉับไว ๓๗. สุขทุกข์ของเราท่าน พระเจ้าพระองค์ไหน ๓๘. มีตาไม่ลมื ดู โบราณท่านว่าไว้ ๓๙. กระต่ายไม่มเี ขา ล้วนแต่เสียเวลา ๔๐. แสงสว่างแห่งปัญญา เพราะสามารถขับไล่ ๔๑. อัคนีอยูท่ ไ่ี หน ความเพียรปัญญานี ้ ๔๒. ปัญญาคุม้ ครองตน กองทัพและคูคา่ ย
40
แต่มกั เอาขวิดกันเอง ทางข่มเหงพวกเดียวกัน จะสุขสมและร่มเย็น เหมือนดังเป็นสรวงสวรรค์ ทีร่ กั ษาโดยทัว่ กัน รักษามัน่ กันทุกคน กายและใจให้ทกุ ข์ทน ใช้ของตนไม่โกงใคร ถือเคร่งครัดไม่นอกใจ ไม่ท�ำ ใครให้เจ็บแค้น ทุกชนิดไม่ดแู คลน ใครมาแค่นไม่ทดลอง หมดเวรภัยสิน้ ทัง้ ผอง สังคมครองความร่มเย็น ตามอำ�นาจตัณหามาขับไส ก็สขุ ได้ดว้ ยอยูร่ พู้ อเพียง คนพิโรธแม่พอ่ ก็ฆา่ ได้ หากปล่อยไว้อาจทำ�กรรมหนักเอย ผูบ้ นั ดาลคือจิตใจ จะยิง่ ใหญ่กว่าใจคน มีความรูใ้ ช้ไม่ได้ น่าไยไพกว่าไม่มี ไฉนเล่าเฝ้าเสาะหา พัฒนาค่าของคน สว่างกว่าแสงอืน่ ใด ความมืดไปจากใจคน ส่องแสงได้ไม่เลือกที่ แม้ใครมีกร็ งุ่ เรือง ถึงให้พน้ จากอบาย คุม้ อบายไม่ได้เลย
๔๓. ทิง้ ธรรมเพือ่ อยูไ่ ด้ ความตายประเสริฐล้�ำ ๔๔. กระแสแห่งตัณหา สติพอกันได้ ๔๕. เดินตามรอยคนดี ข้อนัน้ ย่อมส่งผล ๔๖. ทุกคนมีทฏิ ฐิ คุณคิดจะนำ�ใคร เขาสูงทะเลลึก แต่ของสองสิง่ นัน้ ๔๗. สิง่ ทีย่ งั ไม่ถงึ ทุกอย่างล้วนมีผล ๔๘. เฝ้าคิดแต่เรือ่ งทุกข์ ความทุกข์เขาจากไป ๔๙. ระหว่างดินกับฟ้า บัณฑิตกับคนพาล ๕๐. เพราะจิตคิดเข่นฆ่า ช่วยโลกให้อบอุน่ ๕๑. มีความรูท้ จุ ริต นัน้ คือเครือ่ งศัสตรา ๕๒. อายุ ทรัพย์ กับปัญญา ศีลห้าสมาทาน ๕๓. ได้ทรัพย์แต่เสียธรรม นักปราชญ์ทา่ นกำ�ชับ ๕๔. ความรูข้ องคนดี ตนเองได้พฒ ั นา ๕๕. ทัง้ มวลล้วนเป็นกลาง ก็เพราะคนทัง้ หลาย ๕๖. สรรเสริญและนินทา ดีใจหรือเสียใจ
กับความตายเพือ่ คุณธรรม การทิง้ ธรรมไม่ดเี ลย ทีไ่ หลบ่ามาท่วมใจ แต่หยุดไหลด้วยปัญญา ด้วยใจทีเ่ ป็นกุศล นำ�พาตนพ้นทุกข์ภยั ความดำ�ริตา่ งกันไป ไปตามใจไม่มวี นั คุณอาจนึกให้เหมือนกัน ไม่มวี นั เหมือนกันเลย อย่าได้พงึ คิดกังวล ในวังวนอนิจจัง จะพบสุขได้ทไ่ี หน แล้วทำ�ไมไปตามมา สุดคณนาความห่างกัน คิดห่างกันกว่าฟ้าดิน ทัว่ โลกาจึงว้าวุน่ เติมใจคุณด้วยเมตตา เกิดภัยพิษร้ายนักหนา สำ�หรับฆ่าคุณธรรม คนทัว่ หล้าล้วนต้องการ ช่วยทุกท่านสุขสมปอง กับได้ธรรมแต่เสียทรัพย์ ยอมเสียทรัพย์อย่าเสียธรรม ย่อมมากมีซง่ึ คุณค่า ชาวประชาได้พง่ึ พิง แต่ตอ้ งต่างเป็นดีรา้ ย นัน้ มากมายอุปาทาน เพียงผ่านมาแล้วผ่านไป จิตยิง่ ไกลไปจากธรรม
41
๕๗. แม้หนาวร้อนแดดลมโหมเข้าใส่ ตนพึง่ ตนเรียนรูส้ ฝู้ า่ ฟัน ๕๘. ยักษ์ใหญ่รา้ ยทีส่ ดุ ตนนัน้ คือเวลา วันเคลือ่ นเดือนปีผา่ น สมควรจะยินดี ๕๙. จิตคนซนนักหนา เหมือนแมลงทีช่ อบไฟ ๖๐. ความเพียรเป็นมิตรแท้แก่ชวี ติ เพียรเข้าเถิดอย่าท้ออย่ารอรา ๖๑. สังคมเกิดสุขได้ ต่างคนต่างด่าตี ๖๒. มีอาจารย์และคัมภีรด์ แี ค่ไหน เหมือนมียาดีอยูท่ ต่ี น ๖๓. สุขทุกขเวทนา ทำ�ใจให้ดน้ิ รน ๖๔. กุศล อกุศล ทำ�ความดีอยูเ่ นืองนิตย์ ๖๕. พุทธองค์ทรงบอกชี ้ ไม่คดิ เรือ่ งทีท่ กุ ข์ ๖๖. ผูม้ ศี ลี และมรรยาท เหมือนดังอัคนี ๖๗. การช่วยเพือ่ นมนุษย์ ศีลพรตประเภทไหน ๖๘. บาปเคราะห์ของมนุษย์ มิใช่ดวงดารา ๖๙. บาปกรรมตัวนำ�ทุกข์ ด้วยจิตคิดนิยม ๗๐. บุญกรรมนำ�สุขให้ หมัน่ ทำ�เป็นอาจิณ
42
ถึงลำ�บากเพียงไหนไม่ไหวหวัน่ คนอย่างนัน้ โชคอยูค่ กู่ บั ตัว กินมนุษย์ทว่ั โลกา เรียกกันว่าวันเดือนปี อายุสน้ั ลงทุกที หรือควรมีสงั เวชธรรม ชอบแส่หาทุกข์มาให้ ห้ามอย่างไรไม่เชือ่ ฟัง ยิง่ กว่ามิตรคนไหนในโลกหล้า สมบัตมิ าเกียรติมที ค่ี วามเพียร เพราะอาศัยสามัคคี สามัคคีเกิดอย่างไร ไม่สนใจปฏิบตั ยิ อ่ มขาดผล ไหนจะพ้นโรคภัยเมือ่ ไม่กนิ สร้างตัณหาแก่ใจคน กลายเป็นคนอุปาทาน จุดเริม่ ต้นคือความคิด แล้วความคิดนัน้ จะดี ถึงวิธหี าความสุข คุณก็สขุ ได้ถมไป ล้วนสามารถเป็นคนดี ในราตรีกร็ งุ่ เรือง ประเสริฐสุดกว่าบุญใด ก็ไม่ใหญ่เท่าช่วยคน ร้ายทีส่ ดุ อวิชชา จากฟากฟ้ามาบันดาล ใครสนุกชอบสะสม จะระทมเมือ่ ปลายมือ ดับทุกข์ภยั ได้ทรัพย์สนิ ทัง้ ทาน ศีล ภาวนา
๗๑. ความเกิดและความดับ สิง่ ทีจ่ ะเกิดมา ๗๒. อวิชชาจงทิง้ ไป ให้หมดจากชีวา ๗๓. ความวิบตั เิ สียหายในชีวติ อย่าหลงเชือ่ หลงโกรธหรือโทษใคร ๗๔. ความเพียรกับปัญญา เพียรสูอ้ ยูท่ กุ วัน ๗๕. มีใครทีไ่ หนเล่า ยามสุขร่วมดีใจ ๗๖. ทรัพย์สนิ สิง่ ภายนอก บุญทานทีท่ �ำ ไว้ ๗๗. ความรักและความชัง สามัคคีมไี ม่ได้ ๗๘. ทรัพย์สนิ พระสอนไว้ บางครัง้ ก็น�ำ ทุกข์ ๗๙. แม้คนไม่ท�ำ บาป ชือ่ เสียงย่อมหมองมัว ๘๐. มีธรรมประจำ�ตัว เพราะธรรมคุม้ ครองภัย ๘๑. ยามมีทรัพย์กบั อำ�นาจวาสนา ครัน้ ไร้ยศหมดทรัพย์ตกอับไป ๘๒. ผูม้ จี ติ คิดร้ายทำ�ลายเขา ย่อมประสบกรรมเวรเห็นทันตา ๑. ต้องเจ็บปวดอย่างหนักยากรักษา ๓. อวัยวะแตกหักจากร่างกาย ๕. เกิดโรคทางจิตคิดฟุง้ ซ่าน ๗. อุปสรรคมามีเข้าบีฑา ๙. ทรัพย์สนิ ย่อยยับอย่างฉับพลัน ทัง้ ๑๐ ข้อไม่ขอ้ หนึง่ ก็ขอ้ ใด
43
ย่อมมีกบั ทุกชีวา คือวิชชาท่านว่าดี ขออย่าได้เก็บรักษา พระสอนว่าประเสริฐจริง ใช่ลขิ ติ จากฟ้าก็หาไม่ เหตุนน้ั ไซร้คอื กรรมทำ�ไว้เอง นักปราชญ์วา่ ต้องคูก่ นั ทำ�อย่างนัน้ เกิดปัญญา จะสุขเท่ามิตรสหาย ยามมีภยั ไม่ทง้ิ กัน นักปราชญ์บอกโจรลักได้ ย่อมพ้นภัยจากหมูโ่ จร เป็นทีต่ ง้ั แห่งทุกข์ภยั เพราะหัวใจมีรกั ชัง ว่ามิใช่ให้แต่สขุ มารานรุกจนถึงตาย แต่อยูก่ บั เหล่าคนชัว่ คนเกลียดกลัวว่าชัว่ ทราม มิตอ้ งกลัวต่อสิง่ ใด ทัง้ นอกในได้ทง้ั มวล คนมากหน้ามาเป็นมิตรอยูช่ ดิ ใกล้ ก็พลอยไร้มวลมิตรอนิจจา โดยว่างเปล่าโทษทัณฑ์นน้ั บาปหนา พระสอนว่าสิบอย่างทุกข์ปางตาย ๒. โภคาเสือ่ มถอยค่อยหดหาย ๔. โรคร้ายเกาะเกีย่ วสุดเยียวยา ๖. มีการอือ้ ฉาวถูกกล่าวหา ๘. ญาติกาทีร่ กั ต้องจากไป ข้อ ๑๐ นัน้ บ้านเรือนถูกไฟไหม้ เป็นต้องได้ประสบพบแน่นอน
๘๓. ความทุกข์แม้มากมาย ไม่รกั และไม่หวง ๘๔. มีศรี ษะอย่าแต่แค่ให้ห ู ให้สมองแบ่งทีส่ ว่ นนีไ้ ป ๘๕. ความดีในมนุษย์สดุ แต่ทรัพย์ ชาติตระกูลสูงเด่นเห็นทันตา ๘๖. บุคคลผูเ้ กียจคร้าน ปัญญาย่อมหมดไป ๘๗. คนรักและของรัก ต่างเพียงเธอจากฉัน ๘๘. อารมณ์กบั ยาพิษ ถึงตายได้ทง้ั นัน้ ๘๙. การละชัว่ ทำ�ดีมไิ ด้คดิ ความประมาทอย่างนีม้ แี ก่ใคร ๙๐. ตัวยายังไม่ได้ใช้รกั ษา ความดียงั ไม่เคยพิสจู น์ ๙๑. ทัง้ อาวุธและปาก อาวุธฆ่าชีวติ ๙๒. ขุดบ่อลึกเท่าไร บาปกรรมก็เหมือนกัน ๙๓. ผูเ้ พียรไม่ถอยหลัง เทวาก็หมดสิทธิ ์ ๙๔. เมือ่ ถึงกาลเวลา ความหวังของบุคคล ๙๕. อุบายและอบาย อุบายทีม่ งุ่ หวัง ๙๖. ฝ่ายหนึง่ มีจติ คิดอยากได้ ทัง้ สองฝ่ายเป็นศัตรูตอ่ สูก้ นั ๙๗. ทำ�การอย่างผลีผลาม ต่อไปในภายหน้า
44
ย่อมทำ�ร้ายคนมีหว่ ง ทุกข์ทง้ั ปวงไม่บฑี า มาตัง้ อยูพ่ ง่ึ พิงอิงอาศัย ร่วมกันใช้ท�ำ งานท่านว่าดี มัง่ มีคนยอมรับมานับหน้า คำ�พูดจาทัง้ มวลล้วนน่าฟัง ชอบหลบงานเป็นนิสยั ทีเ่ กิดใหม่กไ็ ม่มี แน่นอนนักต้องจากกัน มิฉะนัน้ ฉันจากเธอ นัน้ ออกฤทธิร์ า้ ยเท่ากัน ก่อนใช้มนั ตรองให้ดี ทัง้ การกิจมิได้เอาใจใส่ คนนัน้ ท่านว่าไว้ตายทัง้ เป็น โยธาไม่เคยรบไพรี คนมักพูดอวดสรรพคุณ ต่างก็มากอิทธิฤทธิ์ ปากฆ่าจิตวิญญาณ พาตัวให้ต�ำ่ เท่านัน้ ยิง่ ทำ�มันยิง่ ต่�ำ ทราม สิง่ ทีห่ วังย่อมสัมฤทธิ์ จะแผลงฤทธิม์ ากีดกัน มวลรุกขาจึงมีผล ก็เกิดผลตามเวลา ใครจะใช้ควรระวัง มักแอบฝังด้วยอบาย อีกฝ่ายหนึง่ หวงไว้ซง่ึ สิง่ นัน้ ใจจึงหันเหไปไกลจากธรรม ด้วยความทรามแห่งปัญญา ทุกข์จะมาแผดเผาตน
๙๘. โลกมนุษย์เป็นสุขได้ เพราะคนไม่เบียดเบียนกัน ศีลห้ารักษามัน่ ช่วยป้องกันความเบียดเบียน ๙๙. การฆ่าการทำ�ร้าย บ่งถึงใจไร้เมตตา โลกนีพ้ ระสอนว่า มีเมตตาช่วยค้�ำ จุน หากคนชอบเข่นฆ่า ทัง้ โลกาคงว้าวุน่ ช่วยโลกให้อบอุน่ เติมใจคุณด้วยเมตตา ๑๐๐. ลักขโมยและคดโกง นัน้ เชือ่ มโยงโลภจิต เป็นการทุจริต ดุจยาพิษกัดกร่อนธรรม ของตน ตนหวงแหน โกรธเคืองแค้นคนล่วงล้�ำ เหตุใดจึงใจต่�ำ คิดและทำ�การคดโกง ๑๐๑. โลกนีม้ ขี องคู ่ ประจำ�อยูโ่ ดยทัว่ ไป มนุษย์มหี ญิงชาย ก่อเกิดกายเป็นคูก่ นั คูค่ รองของใครใคร ล้วนมีใจรักผูกพัน ฝ่ายใดเปลีย่ นแปรผัน อีกฝ่ายพลันทุกข์ระทม คูก่ นั อย่าหนีออก คนภายนอกอย่านิยม เป็นชูค้ ดิ สูส่ ม ไปเชยชมคูข่ องเขา เพราะนัน่ เป็นบาปกรรม ล้วนแต่น�ำ ความโศกเศร้า ครอบครัวเกิดแตกร้าว ใจลูกเต้าร้าวระทม ๑๐๒. บุคคลเกิดศักดิศ์ รี หรือจะมีคนศรัทธา สำ�คัญคือวาจา ทีอ่ อกมาจากปากตน พูดจริงและสุภาพ ย่อมซึง้ ซาบดวงจิตคน เวรภัยห่างไกลตน เป็นมงคลแก่ปากเอย ๑๐๓. เล็บ ฟัน และเส้นผม ย่อมน่าชมเพราะทีต่ ง้ั แต่กลับดูนา่ ชัง เพราะไม่ ตัง้ ในทีต่ น พ่อแม่คมุ้ ครองลูก จึงจะถูกด้วยเหตุผล ไล่ลา่ ฆ่าลูกตน จะเป็นคนได้อย่างไร ๑๐๔. บาปกรรมทุกชนิด ล้วนมีพษิ และนำ�ภัย ศีลห้ารักษาไว้ ป้องกันภัยได้ทง้ั มวล ๑๐๕. เกราะเพชรแม้แกร่งกล้า ก็รกั ษาแค่รา่ งกาย ส่วนศีลป้องกันภัย มิให้ไปอบายภูมิ
45
๑๐๖. ก่อกำ�แพงสูงเท่าไร ความดีท�ำ ทุกวัน ๑๐๗. สุรายาเสพติด จิตใจและร่างกาย ชือ่ เสียงและสินทรัพย์ ทำ�ร้ายพ่อแม่ตน เห็นโทษแล้วเว้นขาด ตนเองก็ปลอดภัย ๑๐๘. คิดสร้างสามัคคี ยากหาหมูม่ วลมิตร ๑๐๙. บ้านเรือนถูกไฟไหม้ เราคงสุดชอกช้�ำ ๑๑๐. ผลประโยชน์เชือ่ มประสาน บัณฑิตต่างจากนัน้ ๑๑๑. ตอกเส้นเดียวใช้งานสานตะกร้า คนคนเดียวสร้างเมืองได้อย่างไร ๑๑๒. ติเพือ่ ก่อพอให้ได้ขอ้ คิด คำ�พูดนัน้ ท่านว่าค่ามากมาย ๑๑๓. ท่านว่าระแวงภัย แต่ระแวงทุกชนิด ๑๑๔. ทรัพย์ ยศ อันอธรรม เหตุใดจึงสนุก ๑๑๕. คนเป็นอารยะ กรุณาต่อปวงชน ๑๑๖. ไม่รอู้ ริยสัจ ข้อทีส่ อนให้ท�ำ ๑๑๗. ถูกต้องทีส่ ดุ แล้ว แต่ขาดเงินก็รสู้ กึ ๑๑๘. เงินทองเวลาตาย แต่เงินขาดมือไป
46
พาตัวให้สงู เท่านัน้ ใจของท่านก็สงู ตาม ล้วนออกฤทธิท์ างเลวร้าย ถูกทำ�ลายถึงวิกล ต้องย่อยยับลงปีป้ น่ ความเป็นคนหมดจากใจ อย่าเผลอพลาดกินหรือใช้ ครอบครัวไม่ทกุ ข์ระทม ใช้วจีทจุ ริต มาร่วมคิดร่วมทำ�งาน เราดับไฟได้ดว้ ยน้�ำ หากว่าน้�ำ เกิดเป็นไฟ เหล่าคนพาลให้รวมกัน เขารวมกันทีค่ ณ ุ ธรรม ไม้ตน้ เดียวเป็นป่าได้ทไ่ี หน ข้อเตือนใจโบราณท่านสอนมา ไม่มจี ติ ฝ่ายต่�ำ คิดทำ�ร้าย ปราชญ์ทง้ั หลายต่างพร้อมน้อมรับฟัง เป็นวิสยั ของบัณฑิต อาจไร้มติ รมาร่วมงาน มักจะนำ�สูค่ วามทุกข์ หาความสุขจากอธรรม ต้องชนะกิเลสตน ช่วยให้พน้ จากทุกข์ภยั พูดให้ชดั ไม่ท�ำ ตาม และทีห่ า้ มว่าไม่ควร เงินไม่ใช่แก้วสารพัดนึก เหมือนสิง่ ทีน่ กึ ไม่มจี ริง นำ�ติดกายไปมิได้ ก็เหมือนใจจะขาดตาม
๑๑๙. มือคนทีย่ น่ื มา ในเวลาทีเ่ ราล้ม มีคา่ น่ากราบก้ม กว่าอินทร์พรหมองค์ใดใด ๑๒๐. มวลมนุษยชน ยากหนีพน้ ผลประโยชน์ จิตใจเกิดเหีย้ มโหด เพราะประโยชน์นน้ั ขัดกัน ๑๒๑. นักปราชญ์วา่ ยศ ทรัพย์ กับอำ�นาจ นีส้ ามารถพาใจให้ลมุ่ หลง จนทำ�ให้ชวี ติ ถึงปลิดปลง รูแ้ ล้วจงเตือนตนให้พน้ ภัย ๑๒๒. ความสุขของจิตใจ ย่อมหาได้ไม่ยากนัก หากคนนัน้ รูจ้ กั และยึดหลักคำ�ว่าพอ ๑๒๓. ไม่คดิ และทำ�ใคร ให้เดือดร้อน เอือ้ อาทรเผือ่ แผ่เพือ่ นมนุษย์ พยายามทำ�หน้าทีด่ ที ส่ี ดุ ควรเป็นจุดมุง่ หมายแห่งใจคน ๑๒๔. ขาดสติเหนีย่ วรัง้ ยัง้ ความโกรธ ยามพิโรธได้แต่แค่ลา้ งผลาญ ถูกโทสะเข่นฆ่า ปัญญาญาณ จะทำ�งานอย่างไรเมือ่ ไร้ธรรม ๑๒๕. เมือ่ ทุกอย่างเป็นแต่แค่ศรัทธา ไยถือว่าประเสริฐเลิศกว่าเขา ละมานะจากใจ ให้บางเบา สังคมเราอาจดีกว่านีเ้ อย ๑๒๖. ตัณหาทีม่ ใี นใจมนุษย์ นัน้ เป็นจุดต้นทางสร้างปัญหา แม้นมิได้ดง่ั ใจให้โกรธา ทีไ่ ด้มามากมาย ก็ไม่พอ ๑๒๗. แม้ไม่รอู้ ะไรนอกกายบ้าง นัน่ ย่อมมิใช่ทางสร้างปัญหา ไม่รตู้ วั เมือ่ ไรภัยมักมา ฝึกปัญญาให้เปรือ่ งเรือ่ งรูต้ วั ๑๒๘. สมมุตแิ ละปรมัตถ์ ล้วนแต่จดั เป็นความจริง ทำ�ตามทัง้ สองสิง่ ได้พง่ึ พิงทัง้ กายใจ ถือแต่ปรมัตถ์ โดยสลัดสมมุตไิ ป เหล่าสัตว์ทง้ั น้อยใหญ่ ล้วนทำ�ได้ทกุ ตัวตน หากถือละสมมุต ิ ว่าคือจุดความหลุดพ้น เหล่าสัตว์ทกุ แห่งหน ย่อมลุผลพระนิพพาน ๑๒๙. ต้นไม้เปลือกสีเทา ใบนัน้ เล่ามีสเี ขียว ดอกแดงในต้นเดียว งามจริงเชียวไม้ตน้ นี้ คำ�สอนของศาสนา เป็นทางมาแห่งความดี หลายอย่างต่างวิธ ี มิใช่มแี ต่ทางเดียว
47
๑๓๐. กบเขียดมีดนิ อยู ่ มักแหงนดูบนท้องฟ้า วิหคบนเวหา มักมองมายังพืน้ ดิน เหมือนกับคนบางคน ของของตนไม่ยลยิน เบือ่ หน่ายไปเสียสิน้ เฝ้าถวิลหาใหม่มา ๑๓๑. สังคมเกิดวิบตั ิ ใครกำ�จัดให้หมดได้ เขาคือผูย้ ง่ิ ใหญ่ นีแ่ หละไซร้วรี ชน ๑๓๒. หน้าทีม่ องเราเขายิม้ แฉ่ง แต่มอื เขาแอบแทงอยูข่ า้ งหลัง หน้าอย่างหนึง่ มืออย่างหนึง่ พึงระวัง มีคนพังเพราะเชือ่ หน้ามามากมาย ๑๓๓. วิชาการสรรพศาสตร์นกั ปราชญ์วา่ ล้วนเป็นสิง่ มีคา่ น่าเรียนรู้ แต่ความรูส้ ดุ ประเสริฐท่านเชิดชู คือความกตัญญูรคู้ ณ ุ คน ๑๓๔. ผูไ้ ม่รคู้ ณ ุ ท่านนัน้ เลวสุด เป็นมนุษย์ชว่ั ช้าน่าอดสู แม้ความรูร้ ะดับสัพพัญญู ก็เพียงรูเ้ พือ่ มาฆ่าคุณธรรม ๑๓๕. ทิวาและราตรี ทำ�ให้มมี ดื สว่าง ไม่มที ง้ั สองอย่าง มืดสว่างย่อมไม่มี ดีชว่ั ก็อย่างนัน้ อยูค่ กู่ นั ไปทุกที่ ไม่มที ง้ั ชัว่ ดี สังคมนีจ้ งึ สุขจริง ๑๓๖. ทะเลกับท้องฟ้า ต่างพึง่ พาอิงอาศัย ทะเลส่งน้�ำ ให้ ฟ้ารับไว้คนื ฝนมา แม่น�ำ้ และลำ�คลอง ฝนเจิง่ นองน้�ำ ไหลบ่า ทะเลรับน้�ำ มา ส่งให้ฟา้ กลับคืนไป เหมือนกันมวลมนุษย์ ดีทส่ี ดุ คือการให้ เฉลีย่ แบ่งปันไป ความยากไร้ยอ่ มไม่มี ๑๓๗. ทุกคนในโลกนี ้ ล้วนเคยมีความผิดพลาด ไยคิดว่าประหลาด เมือ่ ใครพลาดพลัง้ ผิดไป เยาะเย้ยและเหยียดหยาม ด่าประณามดีไฉน ปลอบโยนกำ�ลังใจ ควรมีให้กนั และกัน ๑๓๘. ประดาทรัพย์มนุษย์ ประเสริฐสุดคืออินทรีย์ กายใจของตนนี ้ สมบูรณ์ดไี ม่พกิ าร เงินทองของมีคา่ ทัง้ ยศฐาน์ทกุ สถาน ล้วนแต่เป็นผลงาน ประกอบการแห่งอินทรีย์
48
๑๓๙. ชีวติ เหมือนต้นไม้ สุดท้ายโค่นลงมา ทีเ่ หลือคือดอกผล งอกเป็นต้นไม้ใหม่ ๑๔๐. สัจธรรมคือความจริง แก่ เจ็บ มรณา ทุกข์เพราะสัจธรรม แต่ทกุ ข์เพราะอยากพ้น ๑๔๑. ชีวติ คนทัง้ หลาย ทุกข์โศกเป็นบางตอน แต่พรจริงของชีวติ ทุกข์โศกตลอดวัย ๑๔๒. อำ�นาจของเงินตรา เปลีย่ นแปลงทุกสิง่ ได้ ๑๔๓. เราคิดจะเดินหน้า ถึงเขาเดินไม่ได้ ๑๔๔. สิง่ ทีม่ นุษย์สร้าง เมือ่ คนเขาคัดค้าน เราอยูไ่ ด้หนึง่ วัน หมัน่ คิดหมัน่ คำ�นึง ๑๔๕. เมือ่ ถูกเขานินทา สรรเสริญก็อย่าได้ ความจริงทีเ่ ขาพูด ชัว่ จริงรีบบรรเทา ๑๔๖. ความผิดกับอำ�นาจ อำ�นาจมากเท่าไร ๑๔๗. รอยยิม้ บนใบหน้า ยิม้ เยาะเหมือนยาพิษ
เมือ่ โตใหญ่ได้เวลา แล้วอำ�ลาจากโลกไป สิง่ ทีต่ นก่อเกิดไว้ คูโ่ ลกไปตลอดกาล ทีไ่ ม่ทง้ิ ธรรมดา ใครเกิดมาเจอทุกคน มีประจำ�ทุกตัวตน แล้วดิน้ รนไม่ควรมี มิใช่งา่ ยเหมือนละคอน แล้วได้พรสุขสมใจ ผูล้ ขิ ติ อยูท่ ไ่ี หน มิเคยได้พบเห็นเลย โบราณว่าเหนือสิง่ ใด แม้จติ ใจมนุษย์ชน มัวขัดขาคนอืน่ ไว้ เราก็ใช่จะเดินเร็ว ทุกทุกอย่างมีสองด้าน หรือวิจารณ์อย่าโกรธขึง้ ทีห่ มดนัน้ ก็วนั หนึง่ ย่อมรูซ้ ง้ึ สัจธรรม พระสอนว่าอย่าเสียใจ ระเริงใจไปตามเขา เร่งพิสจู น์ในตัวเรา ทีด่ เี ล่าอย่าทะนง มักจะขาดกันไม่ได้ ผิดมีได้มากตามกัน พระสอนว่าเกิดจากจิต ทีอ่ อกฤทธิท์ �ำ ลายคน
49
รอยยิม้ จากเมตตา ชะโลมหัวใจคน ๑๔๘. เชือ่ คำ�ของศัตรู พลัดตกมาตัง้ ไกล ๑๔๙. ทุจริตสิบประการ ใครทำ� พูด และคิด ลงโทษคนเช่นนัน้ แต่ทา่ นกล่าวประณาม ๑๕๐. อำ�นาจทีข่ าดธรรม อคติ อธรรมะ รัก ชัง ทัง้ หลงกลัว ใครนำ�เอามาใช้ ๑๕๑. นักโทษถูกประหาร จะพ้นมัจจุราช ดังนัน้ ท่านจึงว่า จงพร้อมยอมบรรลัย ๑๕๒. ท่านว่าเหล่าคนชัว่ ทำ�ดีไว้ทกุ สิง่ การรูส้ จั ธรรม ความจริงพูดไม่ได้ ๑๕๓. แข่งเรือแข่งเวลา แข่งบุญผูย้ ง่ิ ใหญ่ ๑๕๔. ความเจริญของฝ่ายตน นีค้ อื นโยบาย ๑๕๕. ยึดถือเหตุทกุ ข์ใจ ไม่ถอื เสียทุกอย่าง ๑๕๖. เมือ่ ยล้ามากเท่าไร โง่มากก็เหมือนกัน
50
มีคณ ุ ค่าประเสริฐล้น เหมือนหยาดฝนชะโลมดิน เหมือนหลับอยูบ่ นกิง่ ไม้ แล้วจึงได้รสู้ กึ ตัว เป็นพืน้ ฐานของความผิด ทุจริตย่อมเลวทราม นักปราชญ์ทา่ นมิได้หา้ ม ผูก้ ระทำ�ต่อคนดี เป็นตัวนำ�หายนะ ทีต่ อ้ งละขาดจากใจ เป็นความชัว่ ทีย่ ง่ิ ใหญ่ ย่อมเกิดภัยแก่สงั คม แม้กราบกรานเพชฌฆาต นัน้ มิอาจเป็นไปได้ จะวันทาเขาทำ�ไม รักษาไว้ซง่ึ เกียรติคน ล้วนหวาดกลัวต่อความจริง กลัวความจริงไปทำ�ไม เป็นเหตุน�ำ ความสุขให้ สุขทีไ่ หนจะมีมา โบราณว่าพอแข่งได้ ท่านว่าภัยจะมีมา ความอับจนของอีกฝ่าย ทีท่ า่ นใช้ท�ำ การเมือง ดับทุกข์ได้ดว้ ยปล่อยวาง อาจลบล้างคุณธรรม ทางยิง่ ไกลมากเท่านัน้ สิง่ ทีฝ่ นั ยิง่ ห่างไกล
๑๕๗. เมือ่ ต่างชาติศาสนา ก็ยงั ไม่นา่ เศร้า ๑๕๘. รับได้แต่ค�ำ ชม ก็เท่ากับทอดทิง้ ๑๕๙. รูโ้ กรธ รูก้ ารุณ เมือ่ ท่านรูจ้ กั ใช้ ๑๖๐. ติ ชม คือโลกธรรม ทัง้ สองใครรับได้ ๑๖๑. เรือ่ งราวทีเ่ ถียงกัน ไยจึงยึดถือว่า ตาบอดไปคลำ�ช้าง คิดได้หายเย่อหยิง่ ๑๖๒. ยึดหลักติดกับหลัก ไม่มแี ผ่ขยาย ๑๖๓. ผูท้ เ่ี ราชังเขา สติดใู จตัว ๑๖๔. เมือ่ ทำ�งานจิตใจไม่สบั สน คือสัมปชัญญะค่ามากมาย ๑๖๕. การละอายแก่ใจไม่ท�ำ ผิด ต่อมนุษย์และเหล่าชาวเทวา ๑๖๖. การงดเว้นบาปกรรมไม่ท�ำ ชัว่ โอตตัปปะมีไว้ใช้คมุ้ ครอง ๑๖๗. หิรโิ อตตัปปะ ประพฤติเป็นอาจิณ ๑๖๘. หนาวร้อนหิวกระหาย อุปสรรคทุกชนิด ยืนหยัดเพือ่ ผลงาน ผลงานงามสมใจ
51
มาเข่นฆ่าชาวพุทธเรา เท่าพุทธเราฆ่ากันเอง ไม่นยิ มคำ�ติตงิ ทรัพย์อนั ยิง่ ด้วยราคา ล้วนเป็นคุณแก่ผใู้ หญ่ ด้วยจิตใจทีเ่ ป็นธรรม มีประจำ�อยูท่ ว่ั ไป เป็นทางให้เกิดปัญญา อยูใ่ นขัน้ ของศรัทธา ความเห็นข้าคือความจริง เป็นตัวอย่างทีด่ ยี ง่ิ อย่าทอดทิง้ คำ�โบราณ ซึง่ ก็มกั เป็นของตาย มีแต่ทลายพังลงมา อย่านึกเอาว่าเขาชัว่ ความมืดมัวอาจจางไป คิดเรือ่ งอืน่ มาปนให้เสียหาย งานทัง้ หลายสำ�เร็จเสร็จด้วยดี ด้วยความคิดอับอายและขายหน้า หิรธิ รรมท่านว่า ค่าอนันต์ เพราะเกรงกลัวผลกรรมตามสนอง โลกทัง้ ผองร่มเย็นเป็นสุขใจ เป็นธรรมะให้เกิดศีล ย่อมมีศลี ทีส่ มบูรณ์ คำ�หยาบคายน่าเคืองจิต ก็ไม่คดิ ทิง้ งานไป และทนทานต่อสูไ้ ด้ เพราะการใช้ขนั ติธรรม
๑๖๙. โสรัจจะเสงีย่ มใจ วางตนได้เหมาะสม ๑๗๐. ผูก้ ารุณหนุนเกือ้ เมือ่ ตกยาก บุพการีชนนีด้ นี กั นา ๑๗๑. ยามตกยากมีใครได้เกือ้ หนุน กตัญญูตอ่ ท่านอย่างมัน่ คง ๑๗๒. บุคคลทีห่ ายาก ช่วยเหลือคนอืน่ ไว้
52
ไม่ออ่ นไหวตามอารมณ์ ปราชญ์ชน่ื ชมว่าคนงาม น้อยหรือมากอำ�นวยช่วยจัดหา ในโลกายากนักจักหาเจอ จำ�บุญคุณใส่ใจมิไหลหลง พุทธองค์สอนว่าหายากจริง คือผูม้ ากด้วยน้�ำ ใจ และผูไ้ ม่ลมื คุณคน
ธรรมะวันหยุด โดย
พระเทพคุณาภรณ์ (โสภณ โสภณจิตฺโต ป.ธ. ๙) วัดเทวราชกุญชร วรวิหาร นำ�ดีตามดี
ผูน้ �ำ ทุกระดับชัน้ นอกจากมีความรู้ ความสามารถดีแล้ว ยังต้องรูข้ นบธรรมเนียม จารีต ประเพณี กฎหมาย และศีลธรรม ในสถานทีน่ น้ั ๆ ด้วย ผูน้ �ำ จึงมีบทบาทสำ�คัญ ในการให้คณ ุ และโทษแก่ผตู้ าม สามารถนำ�ความเสือ่ มหรือความเจริญมาให้หมูค่ ณะได้ ผูน้ �ำ ทีด่ ี ต้องมีความ ซือ่ สัตย์ ความเทีย่ งธรรม ทำ�งานด้วยความโปร่งใส จริงใจ ไม่หลงใหลในอำ�นาจ ไม่เบียดเบียน ใครให้เดือดร้อน ยกย่องผูท้ ส่ี มควรได้รบั การยกย่อง หากผูน้ �ำ หลงอำ�นาจ มีความลำ�เอียงเพราะ รัก หรือชัง จะนำ�ความเดือดร้อนมาให้ไม่จบสิน้
เส้นทางเศรษฐี
ประโยชน์ทส่ี ามารถมองเห็นได้ในปัจจุบนั มี ลาภ ยศ สุข สรรเสริญ ประโยชน์ชน้ั สูง คือ มีจติ ใจเจริญด้วยคุณธรรม เป็นหลักประกันในชาติหน้า และประโยชน์อย่างยิง่ คือ พระนิพพาน อันเป็นเป้าหมายสูงสุด สังคมในปัจจุบนั มุง่ เน้นแต่ประโยชน์สขุ ขัน้ พืน้ ฐาน และให้การยกย่อง นับถือผูท้ ม่ี ที รัพย์สนิ เงินทอง ผูท้ ต่ี อ้ งการทรัพย์สนิ เกียรติยศชือ่ เสียง ควรปฏิบตั ติ ามเส้นทาง เศรษฐี คือ ขยันหา หมัน่ รักษา คบหาคนดี มีชวี ติ ทีพ่ อเพียง นำ�มาเป็นแนวทางในการประกอบ อาชีพ ดำ�เนินชีวติ ให้มคี วามรุง่ เรือง
รีบทำ�ความดี
ความดีตอ้ งรีบทำ� และขณะทีก่ �ำ ลังทำ�ความดีอยู่ พึงห้ามจิตไม่ให้คดิ ทำ�ความชัว่ ทาง กาย วาจา ใจ เพราะตามปกติของจิตใจ ย่อมแสวงหาแต่อารมณ์ฝา่ ยต่�ำ เสมอ เปรียบเหมือนปลา ทีถ่ กู จับโยนขึน้ บนบก ย่อมดิน้ รนกระเสือกกระสนลงสูน่ �ำ้ ฉะนัน้ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสสอนให้หา้ มจิตใจไม่ให้คดิ ถึงการทำ�ความชัว่ ให้รบี ขวนขวายทำ�ความดีอยูเ่ สมอ เพราะถ้า
53
ทำ�ความดีชา้ ไป จิตใจก็จะถูกความประมาทครอบงำ� ยินดีมวั เมาในการทำ�ความชัว่ แต่ถา้ รีบทำ� แต่ความดีแล้ว จิตใจก็ยอ่ มน้อมไปในความดียง่ิ ๆ ขึน้ ไป
จิตทีบ่ ริสทุ ธิ์
คนทีเ่ กิดมาในโลกนี้ ล้วนต้องการแสวงหาความดีความเจริญให้แก่ตนเอง เมือ่ มีความดี ควรทีจ่ ะรักษาความดี ความเจริญของตนไว้ ไม่ให้เสือ่ มสิน้ ไป พึงรักษาความดีของตนไว้ เหมือน เกลือรักษาความเค็ม คนทำ�ดี มีแต่ความสุขใจ คนทำ�ชัว่ มีแต่ความเดือดร้อนทุกข์ใจ ความดีท่ี ควรทำ� คือ แบ่งปัน รักษากายวาจาให้เป็นปกติ อบรมจิตให้ตง้ั มัน่ ไม่หวัน่ ไหว ถ้าจิตใจบริสทุ ธิ์ สะอาด กายและวาจาล้วนสะอาดบริสทุ ธิ์ ช่วยในการทำ�ดี พูดดี มีประโยชน์ทง้ั แก่ตนและคน รอบข้าง
ทีพ่ ง่ึ คือบุญ
ผลบุญ เรียกว่า บุญวิบาก คือความสุข ความอิม่ ใจ ทัง้ ในชาติน้ี และภพเบือ้ งหน้า พระพุทธองค์ตรัสไว้วา่ “ถ้าบุคคลพึงทำ�บุญ พึงทำ�บุญนีบ้ อ่ ยๆ พึงทำ�ความพอใจในบุญนัน้ เพราะ ว่าความสะสมบุญทำ�ให้เกิดความสุข” บุญ จึงเป็นทีพ่ ง่ึ ของชีวติ ทัง้ ในภพปัจจุบนั และยังติดตาม ไปยังภพเบือ้ งหน้า ดังพระพุทธวจนะว่า “บุญทัง้ หลาย ย่อมเป็นทีพ่ ง่ึ ของสัตว์มชี วี ติ ทัง้ หลายทัง้ ในโลกนี้ และโลกหน้า” ผูม้ ปี ญ ั ญาทราบความดังนีแ้ ล้ว พึงขวนขวายในการทำ�บุญ บริจาคทาน รักษาศีล เจริญภาวนา สวดมนต์ไหว้พระ สะสมบุญไว้เนืองนิตย์ เพือ่ เป็นทีพ่ ง่ึ ของชีวติ
น้�ำ ใจเสียสละ
ผูม้ นี �ำ้ ใจเสียสละ เอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่แก่ทกุ คน เห็นใครสมควรทีจ่ ะช่วยได้ เข้าช่วยเหลือตาม กำ�ลัง มากบ้างน้อยบ้าง บางครัง้ ช่วยเหลือด้วยกำ�ลังกาย บางครัง้ ช่วยเหลือด้วยกำ�ลังทรัพย์ บาง ครัง้ ช่วยเหลือด้วยกำ�ลังสติปญ ั ญา ทุกๆ ครัง้ ทีช่ ว่ ยเต็มไปด้วยความกรุณาเป็นเบือ้ งหน้า มุง่ ทีจ่ ะ ปลดเปลือ้ งความทุกข์ของผูอ้ น่ื ด้วยความเต็มใจ ผูท้ ฝ่ี กึ ฝนมาดีในเรือ่ งของการเสียสละ ย่อมทำ�ได้ โดยง่ายไม่ฝนื ใจ สามารถทำ�ได้อย่างสม่�ำ เสมอ การเสียสละ นับเป็นคุณธรรมสำ�คัญทีส่ ร้างความ นับถือผูกมิตรไมตรี ทำ�คนเกลียดให้กลายเป็นคนรัก ทำ�คนทีร่ กั อยูแ่ ล้วให้มคี นรักมากๆ ยิง่ ขึน้
พึง่ ตนพึง่ พระ
มีคนจำ�นวนมาก ต้องดิน้ รนเพือ่ ความอยูร่ อด เหมือนผูท้ ล่ี อยคออยูใ่ นทะเล ยังมองไม่ เห็นฝัง่ ต่างคนต่างแหวกว่ายบนคลืน่ แห่งชีวติ เพือ่ หาทีพ่ ง่ึ ให้ตนเอง บางคนยึดทีพ่ ง่ึ ผิดๆ ชีวติ ที่ เคยเป็นสุขต้องมาเป็นทุกข์เพราะขาดทีพ่ ง่ึ ทีถ่ กู ต้อง พึง่ ตน เบือ้ งต้นต้องพึง่ พ่อแม่เลีย้ งดู แต่พอ่
54
แม่ไม่ได้อยูก่ บั เราตลอด ต่อไปเราต้องพึง่ ตนเอง พึง่ คน ยามเด็กพึง่ พ่อแม่ ยามเรียนพึง่ ครู ยาม ขัดสนเงินทอง อาจขอหยิบยืมจากญาติสนิทมิตรสหาย พึง่ คุณ คนทีพ่ ง่ึ พาคุณธรรมมักจะมีความ สำ�เร็จในชีวติ พึง่ บุญ บุญทีเ่ ราสัง่ สมมา จะคอยหนุนนำ�เรา พึง่ พระ พึง่ คำ�สอนทางพระพุทธ ศาสนา
ชนะตนพ้นภัย
การต่อสูท้ ว่ั ไปต้องมีแพ้ชนะ ผูช้ นะย่อมก่อเวร ผูแ้ พ้ยอ่ มนอนเป็นทุกข์ ส่วนผูท้ เ่ี อาชนะ กิเลสในตัวเองให้สงบลงได้ ไม่ให้ก�ำ เริบ เรียกว่าชนะตน ย่อมมีความสุข ชนะกิเลสในตัวเองได้ เพียงครัง้ เดียว ดีกว่าเอาชนะคนอืน่ ตัง้ ร้อยครัง้ พันครัง้ แม้วา่ จะเอาชนะคนอืน่ ได้มากๆ แต่ยงั แพ้ กิเลส แพ้ความชัว่ ของตัวเอง ยอมให้ความชัว่ ครอบงำ�ตัวเอง บังคับตัวเองให้ท�ำ ความชัว่ ได้ตา่ ง ๆ นานา ได้ชอ่ื ว่าเป็นคนแพ้ จะต้องประสบแต่ความทุกข์ตลอดไป เมือ่ ใดชนะกิเลสในตัว ชนะความชัว่ ไม่ให้ครอบงำ�ให้ท�ำ ชัว่ ได้ เมือ่ นัน้ จึงมีความสุข พ้นทุกข์โทษภัยได้
บุญหมดยศหาย
ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เป็นของไม่เทีย่ ง เมือ่ ได้มาสมความปรารถนาแล้ว แทนทีจ่ ะ ดำ�รงอยูไ่ ด้นาน กลับมีอาการเสือ่ มได้ เช่น ไร้บญ ุ วาสนา ลาภทีไ่ ด้มาก็เสือ่ มไป หรือเกียจคร้าน ไม่เอาใจใส่ในการเลีย้ งชีพ และยอมตนให้ตกอยูใ่ นอบายมุข คือปากแห่งความเสือ่ มแห่งโภค สมบัตอิ ย่างใดอย่างหนึง่ ลาภนัน้ ก็เสือ่ ม เมือ่ มีคณ ุ ความดีกย็ งั มียศ มีคนนับถือบูชา ไร้คณ ุ ความ ดีเมือ่ ไร ก็เสือ่ มยศ ผูใ้ ดประพฤติลว่ งยุตธิ รรม เพราะความรัก ความชัง ความกลัว ความเขลา ยศของผูน้ น้ั ย่อมเสือ่ มไป คล้ายพระจันทร์ในข้างแรม ฉะนัน้
อายชัว่ กลัวบาป
ถ้ามนุษย์และสัตว์ไม่เบียดเบียนกัน มีเมตตาต่อกัน จะช่วยชักนำ�จิตใจ ให้เกิดความ ละอาย ความเกรงกลัวต่อความชัว่ และผลของความชัว่ ทีจ่ ะติดตามมา ผูท้ ล่ี ะอายต่อการทำ�ชัว่ เปรียบได้กบั ชายหนุม่ หญิงสาวผูร้ กั สวยรักงาม อาบน้�ำ แต่งตัวอย่างดีแล้ว ย่อมกลัวร่างกายจะ เปือ้ นของโสโครก ผูท้ ก่ี ลัวต่อผลของความชัว่ เปรียบได้กบั คนทีม่ นี สิ ยั หวาดกลัว เห็นอสรพิษตัว เล็กๆ เกิดความกลัว ไม่อยากเข้าใกล้ พยายามหลีกหนีให้หา่ งไกล ผูฝ้ กึ จิตใจให้อายชัว่ กลัวบาป ได้ดแี ล้วเท่านัน้ จึงจะไม่ท�ำ ความผิดทัง้ ต่อหน้าและลับหลัง
55
บุญกิริยาวัตถุ อพฺยาปชฺชํ สขุ ํ โลเก
การไม่เบียดเบียนกันเป็นความสุข พระพุทธเจ้า ท่านมีความบริสทุ ธิใ์ นน้�ำ พระทัยไม่มอี ะไรเศร้าหมอง พระองค์ทา่ น ทรงมีปญ ั ญารูแ้ จ้งเห็นจริงในเรือ่ งของความทุกข์ ฉะนัน้ พระพุทธองค์ทรงตรัสให้ญาติโยม พุทธศาสนิกชนทัง้ หลาย จงหมัน่ ทำ�บุญทำ�กุศล การทำ�บุญ คือ บุญกิรยิ าวัตถุทง้ั ๑๐ ประการ คือ สิง่ อันเป็นทีต่ ง้ั แห่งการทำ�บุญหรือกล่าวอย่างง่าย ๆ ว่า การกระทำ�ทีเ่ กิดเป็นบุญเป็นกุศลแก่ ผูก้ ระทำ�มีดว้ ยกันอยู่ ๑๐ ประการ คือ ๑. บุญสำ�เร็จด้วยการบริจาค คือ การเสียสละ นับตัง้ แต่ทรัพย์สนิ สิง่ ของเงินทอง ตลอด จนปัญญาความรูค้ วามสามารถ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์แก่ผอู้ น่ื โดยส่วนรวม รวมถึงการละกิเลส โลภะ โทสะ โมหะ ออกจากจิตใจ จนถึงการสละได้แม้กระทัง้ ชีวติ อันเป็นสิง่ ทีม่ คี า่ ทีส่ ดุ เพือ่ ใน การปฏิบตั ธิ รรม ๒. บุญสำ�เร็จได้ดว้ ยการรักษาศีล คือ การตัง้ ใจรักษาศีล และการปฏิบตั ติ นไม่ให้ละเมิด ศีล ไม่วา่ จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ ของอุบาสก - อุบาสิกา หรือศีล ๑๐ ของสามเณร หรือศีล ๒๒๗ ข้อ ของพระภิกษุสงฆ์ เพือ่ รักษากาย วาจา และใจ ให้บริสทุ ธิ์ พ้นจากกายทุจริตทัง้ ๔ ประการ คือ ละเว้นจากการฆ่าสัตว์, ละเว้นจากการลักทรัพย์, ละเว้นจากการประพฤติผดิ ในกาม, ละเว้นจาก สิง่ ทีเ่ ป็นสิง่ เสพติดและมึนเมาทัง้ หลาย อันเป็นสิง่ ทีต่ ง้ั แห่งความประมาท วจีทจุ ริต ๔ ประการ คือ ไม่พดู สอดเสียด, ไม่พดู ปด, ไม่พดู เพ้อเจ้อ และไม่พดู คำ�หยาบ มโนทุจริตมี ๓ ประการ คือ ไม่ หลงงมงาย, ไม่พยาบาท, ไม่หลงผิดจากครรลองคลองธรรม
56
๓. บุญสำ�เร็จด้วยการภาวนา คือ การอบรมจิตใจในการละกิเลส ตัง้ แต่หยาบไปจนถึง กิเลสอย่างละเอียด ยกระดับจิตใจให้สงู ขึน้ โดยใช้สมาธิปญ ั ญา รูท้ างเจริญและทางเสือ่ มจนทำ�ให้ เรานัน้ ได้พบอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์, สมุทยั , นิโรธ และมรรค เป็นทางให้ถงึ ความพ้นทุกข์ บรรลุ มรรคผลนิพพานได้ในทีส่ ดุ ๔. บุญสำ�เร็จได้ดว้ ยการประพฤติออ่ นน้อมถ่อมตนต่อผูใ้ หญ่ รูท้ างเจริญและทาง เสือ่ ม คือ การให้ความเคารพต่อผูใ้ หญ่และผูม้ พี ระคุณมีอยู่ ๓ ประเภท คือ ผูม้ วี ยั วุฒิ ได้แก่ พ่อ แม่ญาติพน่ี อ้ ง และผูส้ งู อายุ ผูม้ คี ณ ุ วุฒิ ได้แก่ ครูบาอาจารย์ พระภิกษุสงฆ์ และผูม้ ชี าติวฒ ุ ิ ได้แก่ พระมหากษัตริยแ์ ละเชือ้ พระวงศ์ ๕. บุญสำ�เร็จได้ดว้ ยการขวนขวายในกิจการงานทีช่ อบ คือ การกระทำ�สิง่ ทีเ่ ป็น คุณงามความดี ทีเ่ กิดประโยชน์ตอ่ ตนและส่วนรวม โดยเฉพาะทางพระพุทธศาสนา เช่น การ ชักนำ�บุคคลให้มาประพฤติปฏิบตั ธิ รรม มีทาน มีศลี รูจ้ กั ภาวนา เป็นต้น ๖. บุญสำ�เร็จได้ดว้ ยการให้สว่ นบุญ คือ การอุทศิ ส่วนบุญส่วนกุศลทีไ่ ด้กระทำ�ให้แก่ สรรพสัตว์ทง้ั ปวง การบอกให้ผอู้ น่ื ได้รว่ มอนุโมทนาบุญด้วย ทัง้ มนุษย์และอมนุษย์ได้ทราบข่าว การบุญการกุศลทีเ่ ราได้กระทำ�ไป ๗. บุญสำ�เร็จได้ดว้ ยการอนุโมทนา คือ การได้รว่ มอนุโมทนา เช่นกล่าวว่า “สาธุ” เพือ่ เป็นการยินดี ยอมรับความดีและขอมีสว่ นร่วมในความดีของบุคคลอืน่ ถึงแม้วา่ เราไม่มโี อกาสได้ กระทำ� ก็ขอให้ได้มโี อกาส ได้แสดงความรับรูด้ ว้ ยใจ ด้วยความปีตยิ นิ ดีทง้ั หลาย ในบุญกุศลนัน้ บุญผลบุญก็จะเกิดขึน้ แก่บคุ คลทีไ่ ด้อนุโมทนาในครัง้ นัน้ ด้วย ๘. บุญสำ�เร็จได้ดว้ ยการฟังธรรม คือ การตัง้ ใจฟังธรรมทีไ่ ม่เคยได้ฟงั มาก่อนหรือที่ เคยได้ฟงั แล้ว ก็รบั ฟังเพือ่ ได้รบั ความกระจ่างมากขึน้ บรรเทาความสงสัยและทำ�ความเห็นให้ ถูกต้องยิง่ ขึน้ จนเกิดปัญญาหรือความรู้ ความพยายามนำ�ความรู้ และธรรมะนัน้ นำ�ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ สูห่ นทางแห่งความเจริญต่อไป ๙. บุญสำ�เร็จได้ดว้ ยการแสดงธรรม คือ การแสดงธรรม ไม่วา่ จะเป็นรูปแบบของการ กระทำ�หรือการประพฤติปฏิบตั ดิ ว้ ยกาย วาจา ด้วยใจ ในทางทีช่ อบ ตามรอยของ องค์พระศาสดา ให้เป็นตัวอย่างทีด่ แี ก่บคุ คลอืน่ หรือการนำ�ธรรมไปขัดเกลากิเลสอุปนิสยั เพือ่ เป็นแบบอย่างทีด่ ี แก่ผอู้ น่ื ให้เกิดความเลือ่ มใสศรัทธาในพระพุทธศาสนามาประพฤติปฏิบตั ธิ รรม ๑๐. บุญสำ�เร็จได้ดว้ ยการทำ�ความเห็นให้ตรง คือ ความเข้าใจในเรือ่ งบาป - บุญ คุณ - โทษ ทีเ่ ป็นแก่นสารและไม่เป็นแก่นสาร ทางเจริญหรือทางเสือ่ ม สิง่ ทีค่ วรประพฤติสง่ิ ทีค่ วร ละเว้น ตลอดจนการกระทำ�ความดี ความเห็นในทีเ่ ป็นสัมมาทิฏฐิอยูเ่ สมอ
57
บุญกิรยิ าวัตถุทง้ั ๑๐ ประการนี้ ถ้าผูใ้ ดได้น�ำ ไปปฏิบตั ไิ ด้เพียงข้อใดข้อหนึง่ ใน ๑๐ ข้อ หรือยึดถือปฏิบตั ไิ ด้ทง้ั ๑๐ ข้อเป็นประจำ� บุคคลผูน้ น้ั เป็นผูท้ ม่ี บี ญ ุ ได้รบั อานิสงส์ในการ ประพฤติปฏิบตั ใิ นบุญกิรยิ าวัตถุนท้ี ง้ั ๑๐ ประการอย่างแน่แท้ ตามรอยขององค์พระสัมมา สัมพุทธเจ้า เพราะฉะนัน้ แล้ว อาตมภาพ ก็ขอฝากไว้กบั บรรดาท่านสาธุชนคนใจดีพทุ ธบริษทั ทัง้ หลาย ทีไ่ ด้รว่ มใจกันขวนขวายในการถือศีลปฏิบตั ธิ รรมในวันธรรมสวนะ พร้อมใจกันมา ถือศีลปฏิบตั ธิ รรม น้อมนำ�เอาบุญกิรยิ าวัตถุทง้ั ๑๐ ประการนี้ นำ�ไปประพฤติ นำ�ไปปฏิบตั ิ ให้ ได้ครบทุกข้อ ผลานิสงส์ผลทัง้ หลาย ก็จะดลบันดาลให้กบั บรรดาพุทธบริษทั ทัง้ หลาย ตลอด ทัง้ ครอบครัว ได้พบกับความสุขทัง้ ในโลกนีแ้ ละโลกหน้า และก็จะได้พบกับความสุขความเจริญ ตลอดยิง่ ๆ ขึน้ ไป
58
ความสามัคคีสาคัญไฉน? สามัคคี แปลว่า ความพร้อมเพรียง หมายความว่า ความร่วมมือร่วมใจเป็นอันหนึง่ อันเดียวกัน ความสำาเร็จทีย่ ง่ิ ใหญ่เกิดขึน้ ได้กเ็ พราะความสามัคคี ความสามัคคีปรองดองเป็นอัน หนึง่ อันเดียวกับความรักใคร่ เผือ่ แผ่ชว่ ยเหลือกันฉันญาติพน่ี อ้ ง สองประการนี้ คือ คุณลักษณะ สำาคัญของคนไทย ทีช่ ว่ ยให้ชาติบา้ นเมืองอยูร่ อดเป็นอิสระและเจริญมัน่ คงมาตัง้ แต่อดีตจนถึง ปัจจุบนั พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายว่า สามัคคี หมายถึง ความพร้อม เพรียงกัน ความกลมเกลียวเป็นน้าำ หนึง่ ใจเดียวกัน ร่วมใจกันปฏิบตั งิ านอย่างสร้างสรรค์ ให้บรรลุ ผลตามทีต่ นต้องการ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความ มีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิดความหลากหลายในเรือ่ งเชือ้ ชาติ ความ กลมเกลียวกันในลักษณะเช่นนี้ เรียกอีกอย่างว่าความสมานฉันท์ ผูท้ ม่ี คี วามสามัคคี คือ ผูท้ เ่ี ปิด ใจกว้างเพือ่ รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ น่ื รูจ้ กั บทบาทของตนทัง้ ในฐานะผูน้ าำ และผูต้ ามทีด่ ี มีความ มุง่ มัน่ ต่อการรวมพลัง ช่วยเหลือเกือ้ กูลกันเพือ่ ให้การงานสำาเร็จลุลว่ ง สามารถแก้ปญ ั หาและ ขจัดความขัดแย้งได้ เป็นผูม้ เี หตุผลยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม ทางความ คิดและความเชือ่ พร้อมทีจ่ ะปรับตัวเพือ่ อยูร่ ว่ มกันอย่างสันติ ประเทศชาติทม่ี คี นพร้อมเพรียง อย่างนี้ ย่อมนำาไปสูค่ วามเจริญมัน่ คง ซึง่ เป็นบ่อเกิดของความสุข ความเจริญและเป็นสิง่ คุม้ ครอง ป้องกันภัยอันตรายต่าง ๆ ไปด้วย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ พระราชทานความ หมายทีล่ กึ ซึง้ กว่าว่า “...ความสามัคคีควรจะมีความหมายทีล่ กึ ซึง้ กว่านัน้ อีกด้วย เช่น ควรจะหมาย ถึงความพร้อมเพรียงของทุกฝ่ายทุกคน ทีม่ คี วามสำานึกแน่ชดั ในความรับผิดชอบทีจ่ ะพึง ใช้ความรู ้ ความคิด ความสามารถ ตลอดจนคุณสมบัตทิ กุ ๆ ประการของตน ให้ประกอบ พร้อมเข้าด้วยกัน และให้เกือ้ กูลส่งเสริมกัน เพือ่ สร้างสรรค์สง่ิ ทีเ่ ป็นสาระแก่นสารและทีเ่ ป็น ประโยชน์ เป็นความเจริญต่อส่วนรวมและเพือ่ นมนุษย์...”
59
หมูช่ นใดตัง้ แต่ครอบครัว หมูส่ มาคม ประเทศชาติตลอดถึงชนทัง้ โลก มีความสามัคคี พร้อมเพรียงกันช่วยทำ�กิจกรรมของหมูค่ ณะร่วมกันอย่างขยันขันแข็ง ไม่ลกั ขโมยของกันสังคม หมูน่ น้ั ก็จะเข้มแข็งมีความเจริญรุง่ เรือง ทุกคนในหมูค่ ณะนัน้ จะอยูร่ ว่ มกันอย่างร่มเย็นเป็นสุข เพราะความสามัคคีเป็นคุณธรรมทีส่ �ำ คัญทีจ่ ะพัฒนาหมูช่ นนัน้ ๆ ดังนัน้ ความสามัคคีจงึ นับว่า เป็นคุณธรรมอันสำ�คัญอย่างยิง่ สำ�หรับหมูค่ ณะ ความสามัคคีนน้ั สามารถทำ�ให้เกิดได้ทง้ั ในระดับครอบครัว ระหว่างสามีภรรยาบิดา มารดา บุตรธิดา ในระดับสังคม ระหว่างครูอาจารย์กบั ศิษย์ เพือ่ นกับเพือ่ นและในระดับประเทศ ชาติ ซึง่ ทุกคนจะต้องนึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก ควบกันไปกับประโยชน์สว่ นตน ถ้าไม่เช่นนัน้ แล้ว ทัง้ ประโยชน์สว่ นตนและส่วนรวม ก็จะได้รบั ความเสียหายไปด้วยกันดังคำ� ประพันธ์ไว้วา่ “มุง่ ประโยชน์ ส่วนตน แต่คนเดียว ไม่แลเหลียว ส่วนรวม จะเสียหาย เมือ่ ส่วนใหญ่ ยับย่อย พลอยวอดวาย ส่วนของตน ก็สลาย ไปด้วยกัน ละส่วนตน ไว้กอ่ น จึงย้อนกลับ เมือ่ ส่วนรวม ได้รบั สมานฉันท์ อานิสงส์ ส่วนใหญ่ ได้รว่ มกัน จะส่งผล ให้ตนนัน้ สุขสันต์เอย” ดังนัน้ ความสามัคคี จึงเป็นคุณธรรมทีท่ �ำ ให้เกิดความร่วมมือ ร่วมใจกัน ทีส่ ามารถรักษา และพัฒนาชาติบา้ นเมืองให้เจริญรุง่ เรือง หากทุกคนมีความคิด จิตใจและการประพฤติปฏิบตั ทิ ่ี เป็นอันหนึง่ อันเดียวกัน ในทางทีด่ ที เ่ี จริญ มีพร้อมอยูใ่ นกายในใจของคนไทย หมัน่ เจริญให้เกิด ขึน้ และรักษาไว้มใิ ห้เสือ่ ม ประเทศชาติไทยจะมัน่ คงดำ�รงอยูด่ ว้ ยความร่มเย็นเป็นสุขตลอดไปได้ ทัง้ ในปัจจุบนั และในภายภาคหน้า คุณธรรมนีน้ บั ว่า สำ�คัญมากในหมูค่ ณะ เป็นคุณธรรมทีก่ อ่ ให้เกิดความสุขอย่างยิง่ แก่ หมูค่ ณะ เพราะถ้าหากหมูค่ ณะมีความสามัคคีกนั แล้ว สามารถจะช่วยเหลือเกือ้ กูลซึง่ กันและกัน ร่วมแรงร่วมใจเป็นอันหนึง่ อันเดียวกัน ย่อมจะทำ�ให้กจิ การทีท่ �ำ นัน้ ประสบความสำ�เร็จได้ ก่อให้ เกิดความสงบสุข ความเจริญขึน้ แก่สงั คมนัน้ ในการอยูร่ ว่ มกันเป็นบริษทั หรือเป็นหมูค่ ณะตัง้ แต่ ๒ คนขึน้ ไปนัน้ บางครัง้ อาจมีการ กระทบกระทัง่ กันบ้าง มีการทะเลาะวิวาทกันบ้าง นินทากันบ้าง เพราะในการดำ�เนินชีวติ ของเรา ย่อมต้องมีความสัมพันธ์กบั ผูอ้ น่ื ไม่วา่ จะเป็นพีน่ อ้ งร่วมครอบครัว เพือ่ นร่วมห้องเพือ่ นร่วมงาน ผู้ อยูร่ ว่ มชุมชน จะเกิดเป็นความสัมพันธ์อนั ดี หรือทีเ่ รียกว่า ความสามัคคีได้นน้ั ต้องอาศัยธรรม ทีเ่ ป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน กระทำ�ซึง่ ความเคารพระหว่างกัน อยูร่ ว่ มกันในสังคมด้วยดีมคี วามสุข ความสงบ ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง ไม่ท�ำ ร้ายทำ�ลายกันทีเ่ รียกว่า สาราณียธรรม ๖ ประการ คือ
60
๑. เมตตากายกรรม หรือทำ�ต่อกันด้วยเมตตา คือ แสดงไมตรีและความหวังดีตอ่ เพือ่ น ต่อผูอ้ น่ื ด้วยการช่วยเหลือธุระต่าง ๆ โดยเต็มใจ แสดงอาการกิรยิ าสุภาพ เคารพนับถือกัน ทัง้ ต่อ หน้าและลับหลัง ๒. เมตตาวจีกรรม หรือพูดต่อกันด้วยเมตตา คือ ช่วยบอกสิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์สง่ั สอน หรือแนะนำ�ตักเตือนกันด้วยความหวังดี กล่าววาจาสุภาพ แสดงความเคารพนับถือกันทัง้ ต่อหน้า และลับหลัง ๓. เมตตามโนกรรม หรือคิดต่อกันด้วยเมตตา คือ ตัง้ จิตปรารถนาดี คิดทำ�แต่สง่ิ ทีเ่ ป็น ประโยชน์แก่กนั มองกันในแง่ดี มีหน้าตายิม้ แย้มแจ่มใสต่อกัน ๔. สาธารณโภคี หรือได้มาแบ่งกันกินใช้ คือ แบ่งปันลาภผลทีไ่ ด้มาโดยชอบธรรมแม้ เป็นของเล็กน้อย ก็แจกจ่ายให้ได้มสี ว่ นร่วมใช้สอยบริโภคทัว่ กัน ๕. สีลสามัญญตา หรือประพฤติให้ดเี หมือนเขา คือ มีความประพฤติสจุ ริต ดีงามรักษา ระเบียบวินยั ของส่วนรวม ไม่ท�ำ ตนให้เป็นทีน่ า่ รังเกียจหรือทำ�ความเสือ่ มเสียแก่หมูค่ ณะ ๖. ทิฏฐิสามัญญตา หรือปรับความเห็นเข้ากันได้ คือ เคารพรับฟังความคิดเห็นกันมี ความเห็นชอบร่วมกัน ตกลงกันได้ในหลักการสำ�คัญ ยึดถืออุดมคติหลักแห่งความดีงามหรือจุด หมายอันเดียวกัน ธรรมทัง้ ๖ ประการนี้ ได้แก่ การทำ� - พูด - คิดต่อกันด้วยเมตตา มีน�ำ้ ใจแบ่งปันประพฤติ สุจริต รับฟังความคิดเห็นซึง่ กันและกัน สามารถเคารพนับถือกัน ช่วยเหลือดูแลกัน มีความพร้อม เพรียง มีความร่วมมือ ผนึกกำ�ลังกัน เป็นน้�ำ หนึง่ ใจเดียวกัน หากเราทุกคนได้ปฏิบตั กิ จ็ ะเกิดเป็น คุณค่าทีจ่ ะก่อให้เกิดความสุข ความสามัคคีในการอยูร่ ว่ มกันในสังคมด้วยดีและมีความสงบสุข ปลอดภัย อันเป็นสิง่ ทีเ่ ราทุกคนล้วนปรารถนา ความสามัคคี มี ๒ ประการ คือ ๑. การพร้อมเพรียงกันทางกาย ได้แก่ การร่วมแรงร่วมใจช่วยกันสนับสนุนส่งเสริมการ งานของหมูค่ ณะให้ส�ำ เร็จลุลว่ งไม่รงั เกียจเกีย่ งงอน ไม่แก่งแย่งชิงดีกนั หรือไม่แตกแยกเป็นก๊ก เป็นเหล่า ๒. การพร้อมเพรียงกันทางใจ ได้แก่ มีใจรักใคร่หวังดีตอ่ กัน ไม่บาดหมาง ไม่เกลียดชัง มีความคิดเห็นกลมเกลียว ร่วมใจปรึกษาหารือ หาทางแก้ไขปัญหา ช่วยกันคิดอ่านการงานของ หมูค่ ณะ ด้วยใจซือ่ ตรงและหวังประโยชน์สว่ นรวมเป็นใหญ่ ไม่ท�ำ ความคิดเห็นแตกต่างไม่คดิ ชิง ดีกนั ด้วยอำ�นาจทิฏฐิมานะ ความรักความสามัคคี จึงเป็นเรือ่ งสำ�คัญทีจ่ ะนำ�ความสุขความเจริญ มาสูส่ ถาบันต่าง ๆ เริม่ จากสถาบันเล็ก ๆ ในครอบครัวทีอ่ ยูด่ ว้ ยกันด้วยความรัก ความเข้าใจ รูจ้ กั รักษาน้�ำ ใจซึง่ กันและกัน มีความเคารพต่อกัน ยอมรับฟังกันรูบ้ ทบาทหน้าทีข่ องตัวเอง ช่วยเหลือ
61
เกือ้ กูลกัน และเมือ่ เข้าสูส่ งั คมทีใ่ หญ่ขน้ึ กว้างขึน้ คงเป็นไปไม่ได้ทจ่ี ะทำ�ให้ทกุ คนรักกัน แต่ทกุ คน ก็งดเว้นจากการเบียดเบียนกันได้ ถึงจะไม่รกั กัน ก็เคารพซึง่ กันและกันได้ ด้วยการยอมรับความ แตกต่าง และเห็นคุณค่าของกันและกันอย่างน้อยไม่ท�ำ ร้ายกัน ไม่เบียดเบียนกัน ทุกคนสามารถ ไว้วางใจ ไม่ตอ้ งคอยระแวงกันรูส้ กึ ปลอดภัยทีจ่ ะอยูร่ ว่ มกัน ก็สามารถเป็นสิง่ รับประกัน การอยู่ ร่วมกันอย่างเป็นสุขในชุมชนได้ อานิสงส์ของความสามัคคีน้ี เป็นบ่อเกิดแห่งความสุขความเจริญ เป็นเหตุแห่งความ สำ�เร็จในกิจการงานต่าง ๆ การงานอันเกินกำ�ลังทีค่ น ๆ เดียวจะทำ�ได้ตอ้ งอาศัยความสามัคคี เป็นทีต่ ง้ั แมลงปลวกสามารถสร้างจอมปลวกทีใ่ หญ่โตกว่าตัวหลายเท่าให้ส�ำ เร็จได้กอ็ าศัยความ สามัคคีกนั โทษของการแตกสามัคคีกนั นัน้ ท่านกล่าวไว้วา่ หาความสุขความเจริญไม่ได้ไม่มี ความสำ�เร็จ ด้วยประการทัง้ ปวง เหตุให้แตกความสามัคคีกนั นี้ อาจเกิดจากเหตุเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็เป็นได้เหมือนเรือ่ งน้�ำ ผึง้ หยดเดียว แต่เป็นเหตุให้เกิดสงครามได้เหมือนกันยกตัวอย่างเรือ่ ง ของเมืองไพศาลี แคว้นวัชชี เมือ่ พวกเจ้าลิจฉวี มีความสามัคคีกนั พระเจ้าอชาตศัตรู ก็ท�ำ อะไรไม่ได้ แต่เมือ่ ถูกวัสสการพราหมณ์ ยุยงให้แตกสามัคคีกนั เท่านัน้ ก็เป็นเหตุให้พระเจ้าอชาตศัตรู เข้า โจมตีและยึดเมืองเอาไว้ได้ในทีส่ ดุ การรวมใจสามัคคีกนั จึงจะเกิดเป็นพลัง ความสามัคคีเกิดขึน้ ทีใ่ ด ย่อมทำ�ทีน่ น้ั มีแต่ ความสงบสุข มีแต่ความเจริญ ส่วนการแตกสามัคคีกนั ทำ�ให้มกี �ำ ลังน้อย ความแตกสามัคคีเกิด ขึน้ ทีใ่ ด ย่อมทำ�ให้ทน่ี น้ั ประสบแต่ความทุกข์ มีแต่ความเสือ่ ม เราจะอยูอ่ ย่างราบรืน่ กลมกลืนกับ ผูอ้ น่ื ได้ ก็ตอ่ เมือ่ เราเชือ่ มัน่ ในความดีหรือเห็นว่า ความสามัคคี การเอือ้ เฟือ้ เกือ้ กูลกันเป็นสิง่ ทีด่ ี งาม สามารถสมานน้�ำ ใจผูอ้ น่ื ได้ และจะนำ�ไปสูก่ ารร่วมมือเพือ่ ก่อประโยชน์แก่ทกุ ฝ่าย แต่หาก เรามีความคิดในทางตรงข้าม ในทีส่ ดุ ชีวติ เรา ก็จะมีแต่เรือ่ งเดือดร้อนไม่เป็นทีไ่ ว้วางใจ ไม่เป็น ทีร่ กั ของผูอ้ น่ื ความสามัคคีเกิดขึน้ ด้วยการสร้างความเข้าใจจากเหตุการณ์ตา่ ง ๆ เหล่านี้ ได้แก่ ๑. เรือ่ งกีฬา กีฬาเป็นเรือ่ งสนุก แต่บางครัง้ ผูเ้ ล่นก็คาดหวังทีจ่ ะต้องชนะเพียงอย่าง เดียว ควรคิดวิเคราะห์ถงึ คุณค่าทีแ่ ท้จริงจากการเล่นกีฬาว่า “เราเล่นกีฬาทำ�ไม” เพือ่ สร้างความ รักสามัคคีกบั เพือ่ น เพือ่ ออกกำ�ลังกายให้สขุ ภาพแข็งแรง “การทีเ่ ราแพ้แท้จริงแล้วเป็นประโยชน์ หรือเป็นโทษต่อเรา” เราจะได้ฝกึ ฝนและพัฒนาความสามารถให้ดขี น้ึ ต่อไปทัง้ ยังได้ฝกึ และฝืนตัว เอง จากการเล่นกีฬาตามกติกาทีก่ �ำ หนดไว้ ไม่มงุ่ หวังแค่จะชนะเพียงอย่างเดียว ควรรูจ้ กั การ แบ่งปันและมีจติ ใจเมตตา นึกถึงความรูส้ กึ ของผูอ้ น่ื รูจ้ กั ให้อภัยกล้ายอมรับผิดและพร้อมจะ แก้ไขปรับปรุงตัวเองใหม่
62
๒. การทำ�งานเป็นกลุม่ การรับผิดชอบต่อหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย จะช่วยให้เรา สามารถทำ�งานทีย่ ากลำ�บากให้ส�ำ เร็จได้ ช่วยให้เกิดความมัน่ ใจในตนเอง เพราะสามารถช่วย ป้องกัน ฟันฝ่าอุปสรรคจนลุลว่ งไปได้ ผลดีจากการช่วยกันทำ�งานเป็นกลุม่ คือ ได้สมั ผัสความคิด เห็นและวิธกี ารทำ�งานทีแ่ ตกต่างกัน เป็นการขยายมุมมองและประสบการณ์ให้กว้างขึน้ ช่วยให้ เกิดการเรียนรูท้ จ่ี ะยอมรับความแตกต่าง ทำ�ให้ค�ำ นึงถึงความคิดและความต้องการของผูอ้ น่ื มาก ขึน้ แทนทีจ่ ะยึดติดกับความคิดและความต้องการของตนเองอย่างเดียว ๓. การแลกเปลีย่ นประสบการณ์และความคิดเห็น หลังจากทีท่ �ำ งานร่วมกันแล้วควร ทบทวน ไตร่ตรอง พิจารณาร่วมกัน แลกเปลีย่ นประสบการณ์และความคิดเห็นต่าง ๆ จากการ ทำ�งานร่วมกัน อะไรเป็นข้อดี จากการทำ�งานครัง้ นี้ และมีอะไรทีต่ อ้ งปรับปรุง เพือ่ จะทำ�ให้งานดี ขึน้ ได้ การทบทวนนีจ้ ะทำ�ให้ได้แง่คดิ ความรู้ หรือบทเรียนอันหลากหลายจากเพือ่ นร่วมงานหรือ ผูใ้ หญ่ในชุมชน ซึง่ เป็นประโยชน์แก่ตนเองและยังช่วยให้แต่ละคนได้ทบทวนประสบการณ์ของ ตนเอง สามารถสรุปเป็นข้อคิดและบทเรียนสำ�หรับตัวเองเพือ่ นำ�ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ ไปได้ ๔. การเจริญสติ เราทุกคนเป็นเพือ่ นมนุษย์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่มใี ครในโลกนีต้ อ้ งการ ความทุกข์ มีมใี ครในโลกนี้ ทีจ่ ะปฏิเสธความสุข ทุกคนเหมือนกันหมด ทุกคนจึงควรได้ฝกึ ตัวเอง ด้วยศีล ด้วยสมาธิและเจริญสติ ให้ได้สมั ผัสความสงบ ด้วยการสวดมนต์ นัง่ สมาธิ แผ่เมตตา จน รูค้ วามหมายและประโยชน์ของสติ ควรมีสติในการฟัง อ่าน คิด ถามและเขียนด้วยกิจกรรมการ เคลือ่ นไหวอย่างมีสติ ฝึกสมาธิเบือ้ งต้น ด้วยการนับลมหายใจ เมือ่ มีความสงบภายในแล้ว ความ ดิน้ รนวุน่ วายทีจ่ ะแสวงหาความสุขนอกตัว ก็นอ้ ยลงเป็นธรรมดามันยังไม่หายไปทีเดียว แต่อย่าง น้อยก็สามารถควบคุมตัวเอง ภายในกรอบของศีลธรรมไม่เบียดเบียนใคร ไม่สร้างความทุกข์ ความเดือดร้อนกับครอบครัว กับชุมชน ซึง่ เป็นผลมาจากความสงบภายใน ๕. พ่อแม่ผปู้ กครองควรจะส่งเสริมคุณธรรมพืน้ ฐานเรือ่ งสามัคคีให้ลกู สามารถเป็น แบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั ลูก ความสามัคคีเป็นเรือ่ งสำ�คัญ ความสุขของครอบครัว เริม่ ต้นจากพ่อแม่ เมือ่ พ่อแม่เคารพรักกัน เป็นคนดี มีความรัก ความเมตตาต่อลูก ทัง้ การแสดงออกทางกาย ทาง วาจาและทางใจทีล่ กู สามารถสัมผัสได้ เป็นทีพ่ ง่ึ ได้ สามารถเป็นแบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั ลูก ลูกก็มี ความเคารพศรัทธา มีความเชือ่ มัน่ เชือ่ ฟังในสิง่ ทีพ่ อ่ แม่สอนและเกิดความอยากจะประพฤติปฏิบตั ิ ให้เป็นคนดี ๖. เรียนรูเ้ รือ่ งความแตกต่างระหว่างบุคคล ทุกคนมีความแตกต่างกัน ทัง้ ร่างกาย จิตใจ ความคิด ลักษณะอารมณ์ การแสดงออก ทีส่ �ำ คัญ คือ เราต้องตระหนักและเคารพให้ เกียรติกนั ในเรือ่ งความแตกต่างเหล่านี้ ทัง้ ทางความคิดและการกระทำ� ให้ความสำ�คัญกับทุกคน
63
ทุกบทบาทหน้าที่ในสังคม เราต้องตระหนักและเคารพในความแตกต่างนี้เพราะแท้จริงแล้ว ความแตกต่างระหว่างบุคคลต่างหาก ทีท่ �ำ ให้โลกของเราน่าอยูแ่ ละน่าสนใจ ๗. รูจ้ กั ทำ�ประโยชน์ ควรทำ�ความดี บำ�เพ็ญประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม เริม่ จากความรับ ผิดชอบต่อกิจวัตรของตัวเอง การให้บริการผูอ้ น่ื การทำ�ความดีหรือบำ�เพ็ญประโยชน์อย่าง สม่�ำ เสมอ จะทำ�ให้เกิด “จิตอาสา” คือ จิตทีอ่ ยากทีอ่ ยากทำ�ความดีเพือ่ ผูอ้ น่ื เป็นจิตทีม่ อี ตั ตา เล็กลง จึงเปิดรับความสุขได้งา่ ย โดยไม่จ�ำ เป็นต้องพึง่ วัตถุ การทำ�ความดียงั ช่วยให้ได้เห็นว่ายัง มีผอู้ น่ื ทีท่ กุ ข์ยากลำ�บากกว่าตน ทำ�ให้ความทุกข์ของเรา กลายเป็นเรือ่ งเล็กน้อยไปหรือทำ�ให้เรา คิดว่า เรายังโชคดีกว่าคนอืน่ อีกมากมาย ขณะเดียวกัน การเห็นคนทุกข์อยูต่ รงหน้ามิอาจทนนิง่ เฉยได้ตอ่ ไป มิใช่เป็นคนเห็นแก่ตวั ควรตัง้ มัน่ อยูใ่ นศีล มีความเคารพนับถือตัวเองมีความเคารพ นับถือคนอืน่ ไม่เบียดเบียนใคร ด้วยกาย ด้วยวาจา และเป็นผูท้ ค่ี ดิ จะช่วยเหลือเกือ้ กูลสังคม เท่า ทีจ่ ะทำ�ได้ มีอดุ มการณ์ ในการสร้างประโยชน์ให้คนอืน่ มีความเป็นห่วงต่อเพือ่ นมนุษย์ มีความ เป็นห่วงต่อสิง่ แวดล้อม มีความเป็นห่วงต่ออนาคตของสังคมของประเทศชาติ มีความคิดทีจ่ ะ เสียสละเพือ่ ส่วนรวม จึงจะเป็นเอกลักษณ์ของมนุษย์ทส่ี มบูรณ์เป็นสิง่ ทีน่ า่ ภาคภูมใิ จ ทีเ่ ราทุกคน สามารถสร้างประโยชน์แก่ผอู้ น่ื และสามารถมีความเคารพนับถือตัวเอง มีความสุข มีความรัก ความสามัคคี มีจติ ใจเป็นบุญเป็นกุศล สาเหตุส�ำ คัญทีท่ �ำ ให้สงั คมไทยมีปญ ั หามากมาย ทัง้ ในระดับบุคคล ครอบครัวและสังคม สร้างทุกข์แก่ผคู้ นเป็นอันมาก การขจัดทุกข์และสร้างสุขให้เกิดขึน้ ได้ ด้วยการปลูกฝังให้คดิ ถึงคน อืน่ มากกว่าตัวเอง เพราะการคิดถึงแต่ตวั เอง ทำ�ให้อตั ตาหรือตัวตนใหญ่ขน้ึ ทำ�ให้ถกู กระทบหรือ เป็นทุกข์ได้งา่ ย ขณะเดียวกันก็เป็นคนสุขยาก เพราะได้เท่าไรก็ไม่พอใจเสียที ในทางตรงข้าม การคิดถึงผูอ้ น่ื ช่วยให้ตวั ตนเล็กลง เห็นความทุกข์ของตนเอง เป็นเรือ่ งเล็กน้อย ยิง่ ช่วยผูอ้ น่ื มาก เท่าไรก็ยง่ิ มีความสุข เพราะได้เห็นผูอ้ น่ื มีความสุขด้วย เพราะเราไม่อาจอยูค่ นเดียวในโลกนีไ้ ด้ แต่ ต้องเกีย่ วข้องสัมพันธ์กบั ผูอ้ น่ื การช่วยให้ผอู้ น่ื มีความสุขก็ยอ่ มทำ�ให้เรามีความสุขด้วย และยิง่ มี ความเห็นแก่ตวั น้อยลงเพียงใด ก็ยง่ิ มีความสุขเพิม่ ขึน้ เพียงนัน้ จิตทีพ่ ร้อมจะให้ จิตคิดทีจ่ ะให้ จิต พอใจทีจ่ ะให้ยนิ ดีทจ่ี ะช่วย ยินดีทจ่ี ะให้เป็นคุณธรรมทีท่ �ำ ให้มคี วามสุข เกิดความสมานสามัคคี ความอบอุน่ ความรักกันอยูใ่ นชุมชน ความสามัคคี เป็นสิง่ คุม้ ครองป้องกันภัยอันตราย ถ้าชาติใดมีความสามัคคีพร้อม เพรียงกัน ชาตินน้ั ก็มพี ลังต่อสูเ้ ข้มแข็ง หากมีชาติอน่ื มารุกราน ก็สามารถรวมกำ�ลังต่อสูเ้ พือ่ รักษา อิสรภาพไว้ได้
64
การแตกความสามัคคี จะเป็นผลร้าย นำ�ความหายนะมาสูห่ มูค่ ณะ ตลอดถึงประเทศ ชาติ ถ้าทุกคนทำ�หน้าทีห่ รือเกีย่ งงอนกัน ไม่ปฏิบตั หิ น้าทีข่ องตน ประเทศชาติกจ็ ะถึงความ พินาศล่มจม ซึง่ เป็นผลมาจากการแตกความสามัคคีทง้ั สิน้ การทีบ่ คุ คลคิดถึงประโยชน์ของตน ยิง่ กว่าประโยชน์ของหมูค่ ณะ เป็นเหตุท�ำ ให้ความสามัคคีแตกร้าว จากความหมายดังกล่าว จึงสรุปได้วา่ ความสามัคคี เป็นความพร้อมเพรียงกันของทุก ฝ่าย ทุกคน ในความรับผิดชอบ ทีจ่ ะพึงใช้ความรู้ ความคิด ความสามารถ ตลอดจนคุณสมบัติ ทุก ๆ ประการของตน ให้ประกอบพร้อมเข้าด้วยกัน และให้เกือ้ กูลส่งเสริมกันเพือ่ สร้างสรรค์สง่ิ ที่ เป็นสาระแก่นสารและทีเ่ ป็นประโยชน์ เป็นความเจริญต่อส่วนรวมและเพือ่ นมนุษย์ การทีจ่ ะเกิด ความสามัคคีทางกายได้ตอ้ งเริม่ จากจิตใจ ถ้าทุกคนมีความสามัคคีเป็นน้�ำ หนึง่ ใจเดียวกันแล้ว ประเทศชาติยอ่ มคลาดแคล้วจากภัยของศัตรู และตัง้ มัน่ มีความสุขสมบูรณ์อยูไ่ ด้ ต้องอาศัยความ สามัคคีเป็นทีต่ ง้ั เป็นกำ�ลังของความสำ�เร็จ ช่วยให้งานทีย่ ากยิง่ กว่างมเข็มในมหาสมุทร หรืองาน ทีห่ นักยิง่ กว่าเข็นครกขึน้ ภูเขา ก็สามารถสำ�เร็จลงได้ ดังนัน้ หมูค่ ณะใด ทีม่ คี วามพร้อมเพรียงไม่ หวาดระแวงกันและกัน หมูค่ ณะนัน้ ย่อมประสบแต่ความสุขความเจริญ ไม่มใี ครสามารถเอาชนะ ได้ หากทุกคนชาวไทยยินดีทจ่ี ะประสานผลประโยชน์ เพือ่ ให้เกิดความสามัคคีขน้ึ ในชาติ ดังพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ เนือ่ งในพิธสี วนสนาม ทหารรักษาพระองค์ วันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๐๕ ว่า “...คราวใดทีช่ าวไทยมีความสามัคคีเป็นน้�ำ หนึง่ ใจเดียวกัน ร่วมแรงร่วมใจกัน เพือ่ ประเทศชาติแล้ว ชาติกไ็ ด้รอดพ้นจากภัยพิบตั สิ คู่ วามสุข ความเจริญ แต่คราวใดทีข่ าด ความสามัคคีกลมเกลียวกันก็ตอ้ งประสบเคราะห์กรรมกันทัง้ ชาติ จึงเป็นหน้าทีข่ องเราทัง้ หลาย ทีจ่ ะต้องร่วมใจกันปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ดที ส่ี ดุ ...” มนุษย์เป็นสัตว์สงั คมชอบอยูอ่ าศัยกันเป็นกลุม่ เป็นชุมชน ต้องการเพือ่ น ไม่ชอบการ อยูอ่ ย่างโดดเดีย่ ว ตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา พระพุทธองค์กว็ างหลักธรรมสำ�หรับเป็น เครือ่ งยึดเหนีย่ วความสามัคคีไว้ เรียกว่า สังคหวัตถุ ๔ ประการ คือ ๑. ทาน การเสียสละแบ่งปันสิง่ ของเครือ่ งใช้ให้แก่เพือ่ นมนุษย์ ๒. ปิยวาจา การพูดจาสนทนาปราศรัยกันด้วยถ้อยคำ�ไพเราะอ่อนหวาน น่าฟัง ๓. อัตถจริยา การบำ�เพ็ญประโยชน์ให้แก่กนั และกัน เช่น ช่วยเพือ่ นทำ�งานช่วยรักษา พยาบาล ช่วยสงเคราะห์ดา้ นอืน่ ๆ เป็นต้น ๔. สมานัตตตา คือ การวางตนได้อย่างเสมอกันระหว่างเพือ่ นมนุษย์ ไม่สงู เกินไปไม่ต�ำ่ เกินไป
65
ความพร้อมเพรียงของมนุษย์จะดำ�รงอยูไ่ ด้เพราะอาศัยธรรมะ ๔ ประการนี้ เมือ่ คนมี ความสามัคคีกนั ไม่แบ่งแยกเป็นกลุม่ เป็นพวก ก็จะได้รบั แต่ความสุข ความเจริญ การสนับสนุน คนผูพ้ ร้อมเพรียงเป็นปึกแผ่นสมานสามัคคีกนั นัน้ ก็จดั เป็นความสุขทัง้ ตัวผูส้ นับสนุนและกลุม่ คนผูส้ ามัคคีกนั นัน้ เพราะว่าต่างฝ่ายก็ได้รบั ประโยชน์ทค่ี วรจะได้รบั ผูย้ นิ ดีในคนผูพ้ ร้อมเพรียง กัน ตัง้ ตนอยูใ่ นธรรมตามหลักศาสนาย่อมจะได้รบั สุขสมบัตติ ามทีป่ รารถนาทุกประการทัง้ ใน ชาตินแ้ี ละในชาติหน้า
66
“ความเสยสละ”
คุณธรรมอันน่ายกย่อง มตฺตาสุขปริจจฺ าคา ปสฺเส เจ วิปลุ ำ สุข ำ จเช มตฺตาสุข ำ ธีโร สมฺปสฺส ำ วิปลุ ำ สุขำ ถ้าพึงเห็นสุขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย ผูม้ ปี ญ ั ญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์ ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย การทำาความดีจะต้องมีความตัง้ ใจจริงมีกาำ ลังกายกำาลังใจอย่างสูง จึงจะสามารถทำา ภาระหน้าที่ ทีเ่ ป็นไปเพือ่ ประโยชน์สขุ ของส่วนรวมได้ เพราะคนทีจ่ ะทำาภาระหน้าทีท่ ย่ี ง่ิ ใหญ่ได้ดี จะต้องยอมเสียสละความสุขส่วนตัวลงบ้าง กล่าวคือ คนทีจ่ ะเป็นผูย้ ง่ิ ใหญ่จะต้องลดความเห็น แก่ตวั สละความสุขส่วนตัวเพือ่ ความสุขของส่วนรวม การทำาความดีไม่ใช่ทาำ ง่าย ๆ บางครัง้ บางที ก็พบอุปสรรคเข้ามาขัดขวาง คนทำาความดีนน้ั มักจะหลีกเลีย่ งการผจญมารไม่พน้ มารจะไม่มา ขวางทางคนทำาไม่ดี “มาร แปลว่า สิง่ ทีม่ าขัดขวาง” ใครทีท่ าำ ความดีมารจะเข้ามายัว่ ทำาให้เกิด อุปสรรค เหมือนพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก่อนจะตรัสรู้ ได้ตดั สินพระทัยแน่วแน่วา่ “แม้วา่ เลือดและเนือ้ ในพระวรกายของพระองค์จะเหือดแห้ง ไปจนเหลือแต่เอ็น หนัง และกระดูกก็ตามที หากพระองค์ยงั ไม่ได้ตรัสรูพ้ ระอนุตตรสัมมาสัมโพธิ ญาณก็จกั ไม่ลกุ ขึน้ จากอาสนะ” พระยามารกลัวว่า พระองค์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าจึงมาขัด ขวางในการบำาเพ็ญเพียรของพระองค์ สุดท้ายพระองค์ได้มชี ยั ชนะเหนือพระยามารได้สาำ เร็จเป็น พระพุทธเจ้า อย่างไรก็ตาม มารเป็นเครือ่ งทดสอบการทำาความดีของคนมารไม่มบี ารมีไม่เกิด เพราะมารมีบารมีจงึ เกิด ความเข้มแข็งอดทนของคนเรานัน้ เกิดมาได้เพราะมีอปุ สรรค เหมือน กับว่าวทีข่ น้ึ ทีส่ งู ได้เพราะมีลมต้าน ส่วนคนเรานัน้ จะขึน้ ทีส่ งู ได้กเ็ พราะมีอปุ สรรคต้าน เพราะ
67
เหตุใดการทำ�ความดีแต่ละครัง้ มักจะมีอปุ สรรคมาต้านอยูเ่ สมอ เพราะการทำ�ความดีนน้ั อาจจะ ทำ�ให้โดดเด่นเกินหน้าเกินตาคนอืน่ เขา ดังทีห่ ลวงวิจติ รวาทการประพันธ์ไว้วา่ “อันทีจ่ ริงคนเขาอยากให้เราได้ดี แต่ถา้ เด่นขึน้ ทุกทีเขาหมัน่ ไส้ จงทำ�ดีแต่อย่าเด่นจะเป็นภัย ไม่มใี ครเขาอยากเห็นเราเด่นเกิน” การทำ�ความดีบางครัง้ ไม่สามารถหลีกเลีย่ งความเด่นได้ เพราะต้องกล้าทำ�ในสิง่ ทีค่ นอืน่ ไม่เคยหรือไม่กล้าทำ� ดังนัน้ ในการทำ�ความดี จึงต้องกล้าเผชิญกับอุปสรรคปัญหาต่าง ๆ ต้องมี ความเสียสละสูอ้ ปุ สรรค เสียสละสุขส่วนตัว เพือ่ ประโยชน์สขุ ทีไ่ พบูลย์กว่า สมดังพระบาลีวา่ “มตฺตาสุขปริจจฺ าคา” เป็นต้น ซึง่ แปลความว่า “ถ้าเห็นแก่ประโยชน์สขุ ทีย่ ง่ิ ใหญ่กว่าเพราะ สละสุขเล็กน้อย นักปราชญ์ควรสละสุขเล็กน้อย เพือ่ เห็นแก่ความสุขทีย่ ง่ิ ใหญ่กล่าวในทาง ธรรม” สุขทีย่ ง่ิ ใหญ่กว่าได้แก่ “พระนิพพาน คือ การดับกิเลสอย่างสิน้ เชิง” หากเราต้องการ ความสุข คือ พระนิพพานก็ตอ้ งสละความสุขทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจำ�วันซึง่ เป็นความสุขเล็กน้อย เสีย ดังเช่นเจ้าชายสิทธัตถะได้เสียสละความสุขในราชสมบัติ เสด็จออกผนวชเพือ่ แสวงหาความ สุขทีย่ ง่ิ ใหญ่กว่า นัน่ คือ ความเป็นพระพุทธเจ้าและหากเจ้าชายสิทธัตถะจะทรงเห็นแก่พระองค์ ไม่ยอมสละความสุขในการครองราชสมบัตเิ ชือ่ แน่วา่ เราท่านทัง้ หลาย คงจะไม่ได้พบแสงสว่าง จากพระธรรมคำ�สอนอย่างเช่นทุกวันนีอ้ ย่างแน่นอน นีแ่ หละ คือ ผลแห่งการเสียสละความสุข เล็กน้อยของพระองค์ หากจะกล่าวในทางโลกความสุขของคนส่วนรวมสำ�คัญกว่าความสุขส่วน ตัว เนือ่ งจากคนเรา จะอยูต่ ามลำ�พังตัวคนเดียวไม่ได้ จำ�ต้องพึง่ พาอาศัยกันและกัน เริม่ ตัง้ แต่ เกิดจนกระทัง่ ตาย แต่การทีจ่ ะพึง่ พาอาศัยกันได้ ก็เพราะอีกฝ่ายหนึง่ ยอมเสียสละให้ เช่น ลูก ๆ ทีเ่ จริญเติบโตมาได้กเ็ พราะการเสียสละของพ่อแม่ ลูกศิษย์ทป่ี ระสบความสำ�เร็จได้กเ็ พราะความ เสียสละของครูบาอาจารย์ ประเทศชาติทม่ี น่ั คงยัง่ ยืนมาถึงทุกวันนีไ้ ด้ ก็เพราะการเสียสละเลือด เนือ้ แรงกายแรงใจของบรรพบุรษุ ร่วมกันสร้างมา คนทีเ่ ห็นแก่ประโยชน์ของคนอืน่ มากกว่าความ สุขส่วนตัว สามารถทนต่อความลำ�บากเพือ่ สร้างสรรค์คณ ุ งามความดีให้เกิดขึน้ ได้ ในเรือ่ งนี้ ขอกล่าวถึงท่านมหาตมคานธี ซึง่ เสียสละประโยชน์สว่ นตัวเพือ่ ประโยชน์สขุ ของประเทศอินเดีย ท่านมหาตมคานธี เป็นลูกเศรษฐีเกิดในตระกูลมีทรัพย์สนิ เงินทองมากมายจบการศึกษานิตศิ าสตร์ จากประเทศอังกฤษ แล้วเดินทางกลับมาประเทศอินเดีย ตอนนัน้ อยูภ่ ายใต้การปกครองของ ประเทศอังกฤษ ทำ�ให้เกิดความรูส้ กึ ว่า ในขณะทีค่ นทัง้ ประเทศอยูภ่ ายใต้การกดขีม่ คี วามทุกข์ ยากแสนสาหัส เราจะมีความสุขเพียงคนเดียวได้อย่างไร จึงคิดสละความสุขส่วนตัวเพือ่ ความ สุขของคนส่วนรวม เพือ่ จะได้ชว่ ยให้คนทัง้ หลายได้พน้ จากความทุกข์นน้ั คิดได้ดงั นัน้ จึงสละ ทรัพย์สมบัตอิ ทุ ศิ ตนเพือ่ ประเทศชาติเพือ่ ประชาชน เดิมทีทา่ นมหาตมคานธีเป็นคนชืน่ ชอบ
68
อ่านวรรณคดีภาษาอังกฤษ อ่านแล้วมีความเข้าใจลึกซึง้ จนกระทัง่ วันหนึง่ เห็นว่า ตนเองไม่ควร ทีจ่ ะไปชืน่ ชอบวรรณคดีของชาวต่างชาติ ซึง่ เป็นประเทศมหาอำ�นาจกดขีป่ ระชาชนในประเทศ ของตน จึงหันมาศึกษาวรรณคดีประเทศของตนอย่างละเอียด อ่านเพือ่ จะได้น�ำ มาเขียนเป็น ภาษาของตนเอง แต่การจะทำ�อย่างนัน้ ได้กต็ อ้ งเสียสละความรืน่ รมย์ในการอ่านวรรณคดีภาษา อังกฤษ เป็นการเสียสละประโยชน์สว่ นน้อยเพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม และท่านยังได้เสียสละความ สุขของตนเอง ด้วยการมาเป็นผูน้ �ำ ทางการเมือง ทีต่ อ่ สูเ้ พือ่ เอกราชของชาวอินเดียจากอังกฤษ โดยใช้หลักสันติวธิ หี รือแบบอหิงสา เช่น อดอาหารประท้วงและการไม่นยิ มใช้ความรุนแรง จนทำ�ให้องั กฤษยอมคืนเอกราชให้ เรือ่ งราวของท่านมหาตมคานธีน้ี แสดงให้เห็นถึงการเสียสละ ประโยชน์สขุ ส่วนน้อยของตนเพือ่ ประโยชน์สขุ ของส่วนรวม ดังพระบาลีบทหนึง่ ว่า “จเช ธนํ องฺควรสฺส เหตุ” เป็นต้น ซึง่ แปลความว่า “พึงสละทรัพย์เพือ่ เห็นแก่อวัยวะพึงสละอวัยวะ เพือ่ เห็นแก่ชวี ติ พึงสละทรัพย์อวัยวะและชีวติ เพือ่ เห็นแก่ธรรม” คนเราเมือ่ เกิดการเจ็บไข้ได้ ป่วยอวัยวะอาจจะชำ�รุดเสียหาย จำ�ต้องสละทรัพย์เพือ่ การรักษาแต่หากว่าอวัยวะส่วนใดส่วน หนึง่ กลายเป็นพิษ จำ�เป็นต้องตัดแขนตัดขาเพือ่ รักษาชีวติ เอาไว้ เราก็จ�ำ เป็นต้องตัดอวัยวะนัน้ ๆ เพือ่ รักษาชีวติ แต่เมือ่ หวนระลึกได้วา่ เมือ่ ต้องการรักษาอุดมการณ์ทส่ี �ำ คัญสูงสุดอันเป็นไป เพือ่ ประโยชน์สขุ ของส่วนรวม สามารถจะสละได้ทง้ั ทรัพย์อวัยวะและชีวติ เพือ่ รักษาธรรม จึงจำ�เป็นต้องมีความเสียสละอย่างยิง่ ใหญ่ แต่คนเราในปัจจุบนั นี้ บางครัง้ บางทีมกั จะมองเห็น ความสุขส่วนตัวสำ�คัญกว่าประโยชน์สขุ ของส่วนรวม เมือ่ เป็นเช่นนี้ สังคม ประเทศชาติ และพระ ศาสนา ก็จะเจริญรุง่ เรืองได้โดยยาก เพราะฉะนัน้ ท่านทัง้ หลายผูม้ ปี ญั ญา เมือ่ เล็งเห็นประโยชน์ สุขของส่วนรวมทีย่ ง่ิ ใหญ่กว่า จึงควรยอมเสียสละความสุขเล็ก ๆ น้อย ๆ เสียบ้าง เพือ่ ความเจริญ รุง่ เรืองเพือ่ ความสุขของสังคม ประเทศชาติ และพระศาสนาต่อไป
69
สักการะหลวงพ่อวัดไร่ขิง
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม กราบหลวงพ่อวัดไร่ขิงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แต่ละวันนั้นมากหากประมาณ พระประธานฐานใหญ่โตอุโบสถ สมใจนึกระลึกถึงที่พึ่งพิง เป็น “ปางมารวิชัย” ไกลอริ โพธิมัณฑ์บัลลังก์ทองของสร้างมา “พระนามาภิไธยย่อ ส.ธ.” เห็น “สมเด็จพระเทพรัตน” โปรดจัดตรง “ครบหกรอบ” ระบอบหลักจักราศี พระราชทานการมงคลจุดสนใจ เรื่องวัตถุมงคลผลประจักษ์ ที่เห็นก็ “รูปหล่อใหญ่” ให้บูชา “เหรียญเล็กใหญ่” ไว้ห้อยคอก็เห็นอยู่ “เงินลงยา” น่าเลี่ยมทองมองสวยดี ถ้าจะมาบูชาไหว้ก็ง่ายอยู่ ขึ้น “แปดสี่” นี้ถึงวัดถนัดไป “ห้าห้าหก” ยกมาว่าอีกสาย “วัดไร่ขิง” ยิ่งราบรื่นแนวครื้นเครง พระพุทธปฏิมาบูชาไหว้ พุทธพจน์บทนำ�แนวดำ�เนิน
คนทั่วทิศจิตศรัทธามหาศาล อธิษฐานบนบานขอต่อองค์จริง แน่นไปหมดปรากฏผลชนชายหญิง ได้ทุกสิ่งไม่ทิ้งกันคำ�สัญญา “ทานาทิธรรมะ” มารผวา เหล่าพญาปัจจามิตรพิชิตลง ผ้าทิพย์เด่นเน้นนูนสุดจุดประสงค์ เมื่อพระองค์ทรงดำ�เนินเจริญวัย “หกสิบปี” นี้วาระสมสมัย เมื่อเข้าไปในโบสถ์นั้นพลันติดตา เนื่องด้วยหลักความศักดิ์สิทธิ์คนคิดหา หลายราคาว่าตามนิ้วจิ๋วก็มี ลองมาดูจะรู้ได้หลากหลายสี จัดพิธีที่เข้มขลังดังทั่วไทย มี “รถตู้” อยู่ “สายใต้” หายสงสัย เมื่อข้องใจไปถามได้ความเอง คนมากมายได้ขึ้นไปไม่โหรงเหรง เขาเปิดเพลงบรรเลงฟังนั่งแล้วเพลิน ผลมากมายบรรยายไว้ไม่ผิวเผิน ตรัสสรรเสริญเชิญเถิดเราเข้าถึงบุญ ฯ
พระมหาปริทัศน์ วรกิจฺโจ ป.ธ. ๙ 70
ภาคสถิติ และข้อมูล
71
ประกาศเจ้าคณะภาค�๑๔
เรื่อง�แต่งตั้งคณะกรรมการอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔ ปีการศึกษา��๒๕๖๒ � �เพื่อให้การอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔�ปีที่�๔๕�ประจำ�ปี�๒๕๖๒�ระหว่างวันที่�๑๒�ถึง�๒๖�กุมภาพันธ์� พ.ศ.�๒๕๖๒�ดำ�เนินไปด้วยความเรียบร้อย�มีประสิทธิภาพ�และบรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายของคณะสงฆ์� � �อาศัยอำ�นาจตามความในข้อ�๑๐�(๑)�และ�(๒)�แห่งกฎมหาเถรสมาคม�ฉบับที่�๒๓�(พ.ศ.�๒๕๔๑)�ว่าด้วย ระเบียบการปกครองคณะสงฆ์� ออกตามความในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์� พ.ศ.�๒๕๐๕�แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ คณะสงฆ์�(ฉบับที่�๒)�พ.ศ.�๒๕๓๕�จึงแต่งตั้งให้ผู้มีรายนามดังต่อไปนี้�เป็นคณะกรรมการอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔� ปีที่�๔๕�ประกอบด้วย�: � � � � � � � � � �
๑.�พระธรรมโพธิมงคล� ๒.�พระเทพคุณาภรณ์� ๓.�พระธรรมเสนานี� ๔.�พระธรรมพุทธิมงคล� ๕.�พระราชรัตนวิมล� ๖.�พระศรีปริยัติโกศล� ๗.�พระสุธีธรรมนาท� ๘.�พระครูปราการลักษาภิบาล� ๙.�พระครูอดุลพัฒนาภรณ์� ๑๐.�พระครูกาญจนสิรินธร�
คณะกรรมการกองอำ�นวยการ
เจ้าคณะภาค�๑๔�รก.� เจ้าอาวาสวัดเทวราชกุญชร�วรวิหาร� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี� 72
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ
๑๑. พระครูสาครธรรมโสภณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร ๑๒. พระเทพสาครมุนี เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร ๑๓. พระเทพมหาเจติยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ๑๔. พระราชปริยัติเมธี เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕. พระราชวิสุทธิเมธี เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี ๑๖. พระเทพศาสนาภิบาล รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ๑๗. พระราชวิสุทธาภรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี ๑๘. พระมงคลกิตติวิบูลย์ รองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ๑๙. พระมหาวิสูตร วิสุทฺธิปญฺโญ ป.ธ. ๙ รองเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี ๒๐. พระราชวิสุทธาจารย์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอสามพราน ๒๑. พระครูพิศาลสาธุวัฒน์ เจ้าคณะอำ�เภอเมืองนครปฐม ๒๒. พระครูสิริปุญญาภิวัฒน์ เจ้าคณะอำ�เภอนครชัยศรี ๒๓. พระพิพัฒน์ศึกษากร เจ้าคณะอำ�เภอสามพราน ๒๔. พระครูถาวรศีลวัตร ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอบางเลน ๒๕. พระศรีวิสุทธิวงศ์ เจ้าคณะอำ�เภอบางเลน ๒๖. พระครูอาทรภัทรกิจ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอกำ�แพงแสน ๒๗. พระครูอมรบุญญารักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอกำ�แพงแสน ๒๘. พระศรีธีรวงศ์ เจ้าคณะอำ�เภอดอนตูม ๒๙. พระครูบวรธรรมานุสิฐ เจ้าคณะอำ�เภอพุทธมณฑล ๓๐. พระครูศรีปริยัตยานุศาสก์ เจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี ๓๑. พระวิมลภาวนานุสิฐ วิ. ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า ๓๒. พระครูศาสนกิจจาภิรม ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า ๓๓. พระครูโสภณคุณาธาร เจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า ๓๔. พระปริยัติวรคุณ เจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง ๓๕. พระรัตนเวที เจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง ๓๖. พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอดอนเจดีย์ ๓๗. พระครูศรีประจันตคณารักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอศรีประจันต์ 73
รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
๓๘. พระครูศาสนกิจจาภรณ์ เจ้าคณะอำ�เภอสามชุก ๓๙. พระครูศรีสุตาคม เจ้าคณะอำ�เภอเดิมบางนางบวช ๔๐. พระครูธรรมสารรักษา เจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง ๔๑. พระครูศาสนกิจจานุยุต เจ้าคณะอำ�เภอหนองหญ้าไซ ๔๒. พระโสภณกาญจนาภรณ์ เจ้าคณะอำ�เภอเมืองกาญจนบุร ี ๔๓. พระครูกาญจนสุตาคม เจ้าคณะอำ�เภอท่าม่วง ๔๔. พระครูวิบูลกาญจโนภาส เจ้าคณะอำ�เภอท่ามะกา ๔๕. พระครูนิโครธโยคาภิรักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค ๔๖. พระครูวรกาญจนโชติ เจ้าคณะอำ�เภอทองผาภูมิ ๔๗. พระครูสิริกาญจนาภิรักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอบ่อพลอย ๔๘. พระมหาธวัชชัย กลฺยาโณ ป.ธ. ๙ เจ้าคณะอำ�เภอพนมทวน ๔๙. พระครูสิริกาญจโนภาส เจ้าคณะอำ�เภอเลาขวัญ ๕๐. พระวิสุทธิพงษ์เมธี เจ้าคณะอำ�เภอศรีสวัสดิ์ ๕๑. พระมหาสุชาติ สิริปญฺโญ ป.ธ. ๙ เจ้าคณะอำ�เภอสังขละบุรี ๕๒. พระครูเกษมกาญจนสิทธิ์ เจ้าคณะอำ�เภอด่านมะขามเตี้ย ๕๓. พระครูกาญจนธรรมธัช เจ้าคณะอำ�เภอหนองปรือ ๕๔. พระมหาชะโลม ปญฺญาวชิโร ป.ธ. ๙ เจ้าคณะอำ�เภอห้วยกระเจา ๕๕. พระครูสุทธิธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอำ�เภอเมืองสมุทรสาคร ๕๖. พระครูสีลาธิการี เจ้าคณะอำ�เภอกระทุ่มแบน ๕๗. พระมงคลพัฒนาภรณ์ เจ้าคณะอำ�เภอบ้านแพ้ว ๕๘. พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ป.ธ. ๙ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองนครปฐม ๕๙. พระครูโกวิทสุตการ รองเจ้าคณะอำ�เภอนครชัยศรี ๖๐. พระครูพิทักษ์สุขวัฒน์ รองเจ้าคณะอำ�เภอบางเลน ๖๑. พระครูโกศลธรรมรัตน์ รองเจ้าคณะอำ�เภอกำ�แพงแสน ๖๒. พระครูสิริวรธรรมาภินันท์ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุร ี ๖๓. พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุร ี ๖๔. พระครูโกศลธรรมานุสิฐ รองเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า 74
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
๖๕. พระครูสิริวุฒิรังสี ๖๖. พระมหาทศวร กิตฺติวฑฺฒโน ๖๗. พระครูอนุกูลปัญญากร ๖๘. พระครูสุวรรณประชานุกูล ๖๙. พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ ๗๐. พระครูสุวรรณปริยัตยาทร ๗๑. พระครูพิพัฒน์สุวรรณาภรณ์ ๗๒. พระครูพิมลสุวรรณเขต ๗๓. พระครูสิริสิกขการ ๗๔. พระครูวิริยศาสนกิจ ๗๕. พระครูโกศลคชเขต ๗๖. พระครูคชเขตบุรารักษ์ ๗๗. พระครูกิตติวีรานุวัฒน์ ๗๘. พระเมธีปริยัติวิบูล ๗๙. พระมหาบุญรอด มหาวีโร ๘๐. พระครูวัชรกาญจนาภรณ์ ๘๑. พระครูวิศาลกาญจนกิจ ๘๒. พระครูกาญจนวุฒิกร ๘๓. พระครูกาญจนสุตาภรณ์ ๘๔. พระครูกาญจนปัญญาวุฒิ ๘๕. พระครูศรีกาญจนารักษ์ ๘๖. พระครูกาญจนสมาจาร ๘๗. พระครูพิศาลจารุวรรณ ๘๘. พระครูวุฒิกาญจนวัตร ๘๙. พระครูปริยัติกาญจนโสภณ ๙๐. พระมหาสันติ โชติกโร ป.ธ.๙ ๙๑. พระครูสาครธรรมประสิทธิ์
รองเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า รองเจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง รองเจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง รองเจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง รองเจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง รองเจ้าคณะอำ�เภอดอนเจดีย์ รองเจ้าคณะอำ�เภอศรีประจันต์ รองเจ้าคณะอำ�เภอสามชุก รองเจ้าคณะอำ�เภอเดิมบางนางบวช รองเจ้าคณะอำ�เภอเมบางนางบวช รองเจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง รองเจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง รองเจ้าคณะอำ�เภอหนองหญ้าไซ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี รองเจ้าคณะอำ�เภอท่าม่วง รองเจ้าคณะอำ�เภอท่ามะกา รองเจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค รองเจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค รองเจ้าคณะอำ�เภอทองผาภูมิ รองเจ้าคณะอำ�เภอบ่อพลอย รองเจ้าคณะอำ�เภอพนมทวน รองเจ้าคณะอำ�เภอเลาขวัญ รองเจ้าคณะอำ�เภอศรีสวัสดิ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอหนองปรือ รองเจ้าคณะอำ�เภอห้วยกระเจา รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสมุทรสาคร 75
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
๙๒. พระครูสิริชยาภรณ์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะตำ�บลบ้านใหม่ กรรมการ ๙๓. พระครูจินดากิจจานุรักษ์ เจ้าคณะตำ�บลบางช้าง กรรมการ ๙๔. พระครูจารุวัฒนคุณ เจ้าคณะตำ�บลไร่ขิง กรรมการ ๙๕. พระครูวรดิตถานุยุต เจ้าคณะตำ�บลบ้านใหม่ กรรมการ ๙๖. พระมหาสมเกียรติ เตชวณฺโณ เจ้าคณะตำ�บลยายชา กรรมการ ๙๗. พระรัตนสุธี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง กรรมการ ๙๘. พระกิตติสุวัฒนาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดเทวสังฆาราม กรรมการ ๙๙. พระภาวนาวิสุทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดเกตุมดีศรีวราราม กรรมการ ๑๐๐. พระญาณวิกรม เจ้าอาวาสวัดท่าไม้ กรรมการ ๑๐๑. เจ้าคณะพระสังฆาธิการจังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสมุทรสาคร กรรมการ ๑๐๒. สำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กรรมการ ๑๐๓. สำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครปฐม กรรมการ ๑๐๔. สำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุพรรณบุรี กรรมการ ๑๐๕. สำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกาญจนบุร ี กรรมการ ๑๐๖. สำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสมุทรสาคร กรรมการ ๑๐๔. คณะอุบาสก อุบาสิกา จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสมุทรสาคร กรรมการ
๑. พระธรรมเสนานี ๒. พระธรรมพุทธิมงคล ๓. พระราชรัตนวิมล ๔. พระราชวิสุทธาจารย์ ๕. พระเทพมหาเจติยาจารย์ ๖. พระเทพสาครมุนี ๗. พระราชวิสุทธิเมธี ๘. พระราชปริยัติเมธี ๙. พระรัตนสุธี
คณะกรรมการแผนกปกครอง
ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอสามพราน เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง 76
ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา หัวหน้า รองหัวหน้า รองหัวหน้า รองหัวหน้า รองหัวหน้า
๑๐. พระศรีธีรวงศ์ ๑๑. พระมหามนูญ ปริญฺญาโณ ๑๒. พระครูสุธีเจติยานุกูล ๑๓. พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์ ๑๔. พระครูศรีกาญจนวิสุทธิ์ ๑๕. พระครูสิริสารนิวิฐ ๑๖. พระครูปลัด ประวิทย์ วรธมฺโม ๑๘. พระปลัด วิทยา สุนฺทรธมฺโม ๑๙. พระครูศรีธรรมวราภรณ์ ๒๐. พระสมุห์ วิโรจน์ วิโรจโน
๑. พระครูปฐมธีรวัฒน์
เจ้าคณะอำ�เภอดอนตูม รองหัวหน้า ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง หัวหน้าปกครองนักเรียนนอกภาค เลข.จจ.นครปฐม หัวหน้าปกครองจังหวัดนครปฐม เลข.จจ.สุพรรณบุรี หัวหน้าปกครองจังหวัดสุพรรณบุรี เลข.จจ.กาญจนบุรี หัวหน้าปกครองจังหวัดกาญจนบุรี เลข.จจ.สมุทรสาคร หัวหน้าปกครองจังหวัดสมุทรสาคร เลข.รจจ.นครปฐม ผู้ช่วยหัวหน้าปกครองจังหวัดนครปฐม เลข.รจจ.สุพรรณบุรี ผู้ช่วยหัวหน้าปกครองจังหวัดสุพรรณบุรี เลข.รจจ.กาญจนบุรี ผู้ช่วยหัวหน้าปกครองจังหวัดกาญจนบุรี เลข.รจจ.กาญจนบุรี ผู้ช่วยหัวหน้าปกครองจังหวัดกาญจนบุรี
ฝ่ายปกครองประจำ�ตลอดโครงการ
๑. พระมหาโพธิวงศาจารย์ ป.ธ. ๙ ๒. พระพรหมกวี ป.ธ. ๙ ๓. พระพรหมเวที ป.ธ. ๙ ๔. พระพรหมเสนาบดี ป.ธ. ๗ ๕. พระธรรมโพธิมงคล ป.ธ. ๙ ๖. พระธรรมพุทธิมงคล ป.ธ. ๘ ๗. พระเทพโสภณ ป.ธ. ๙ ๘. พระเทพคุณาภรณ์ ป.ธ. ๙ ๙. พระเทพสาครมุนี ป.ธ. ๙ ๑๐. พระเทพมหาเจติยาจารย์ ป.ธ. ๙ ๑๑. พระเทพวิสุทธิโสภณ ป.ธ. ๙ ๑๒. พระราชวชิรโมลี ป.ธ. ๙
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง
ฝ่ายวิชาการ
ราชบัณฑิต ผู้รักษาการแทนเจ้าคณะภาค ๑๓ ผู้รักษาการแทนเจ้าคณะภาค ๑๕ ผู้รักษาการแทนเจ้าคณะภาค ๗ ผู้รักษาการแทนเจ้าคณะภาค ๑๔ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าอาวาสพระอารามหลวง เจ้าอาวาสพระอารามหลวง เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม เจ้าอาวาสพระอารามหลวง เจ้าอาวาสพระอารามหลวง 77
นครปฐม วัดราชโอรสาราม วัดกัลยาณมิตร วัดพระปฐมเจดีย์ วัดปทุมคงคา วัดนิมมานรดี วัดป่าเลไลยก์ วัดราชบุรณะ วัดเทวราชกุญชร วัดเจษฎาราม วัดพระปฐมเจดีย์ วัดราชคฤห์ วัดสวนพลู
๑๓. พระราชวิสุทธิเมธี ป.ธ. ๙ ๑๔. พระราชปริยัติเมธี ป.ธ. ๙ ๑๕. พระราชปริยัติสุธี ป.ธ. ๙ ๑๖. พระราชปริยัติมุนี ป.ธ. ๙ ๑๗. พระศรีปริยัติโกศล ป.ธ. ๙ ๑๘. พระเมธีธรรมานันท์ ป.ธ. ๙ ๑๙. พระศรีสุธรรมเวที ป.ธ. ๙ ๒๐. พระศรีธวัชเมธี ป.ธ. ๙ ๒๑. พระสุธีธรรมนาท ป.ธ. ๗ ๑. พระเทพสุวรรณเมธี ป.ธ. ๘ ๒. พระเทพศาสนาภิบาล ป.ธ. ๓ ๓. พระราชวรเมธี ป.ธ. ๕ ๔. พระศรีธวัชเมธี ป.ธ. ๙ ๕. พระมหามนูญ ปริญฺญาโณ ป.ธ. ๗ ๖. พระครูสิริวรธรรมาภินันท์ ป.ธ. ๔ ๗. พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์ ป.ธ. ๖ ๘. พระครูปลัดสาธุวัฒน์ ๙. พระครูพิศิษฏ์จริยานุยุต ๑๐. พระครูโสภณวีรานุวัตร ป.ธ. ๔ ๑๑. พระครูสิริสารนิวิฐ ป.ธ. ๕ ๑๒. พระครูสุธีเจติยานุกูล ป.ธ. ๖ ๑๓. พระครูศรีกาญจนวิสุทธิ์ ป.ธ. ๖
เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี
ฝ่ายเลขานุการ
รองเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชบุรณะ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุร ี รจอ.เมืองสุพรรณบุรี/เลข.จจ.สุพรรณบุรี เจ้าคณะตำ�บลทัพหลวง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์ วรวิหาร เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี
78
วัดไชยชุมพลชนะสงคราม วัดสุวรรณภูมิ วัดธรรมามูล วัดพระเชตุพนฯ วัดป่าเลไลยก์ วัดดอนหวาย วัดพระปฐมเจดีย์ วัดราชบุรณะ วัดบ้านถ้ำ� ที่ปรึกษา หัวหน้า รองหัวหน้า รองหัวหน้า รองหัวหน้า รองหัวหน้า รองหัวหน้า ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย
ประจำ�กองงานเลขานุการ
๑. พระปริยัติวรานุกูล ป.ธ. ๕ ๒. พระครูปลัดโพธิวรวัฒน์ ป.ธ. ๓ ๓. พระมหาสมชาย วรเมธี ป.ธ. ๗ ๔. พระมหาเขมา อนุชาโต ป.ธ. ๔ ๕. พระปลัด สรพงษ์ ปญฺญาพโล ๖. พระครูปลัด พงศ์พันธ์ ขนฺติโสภโณ ๗. พระอดุลศักดิ์ จกฺกรตโน ๘. พระครูปลัด พงษ์พันธ์ วํสวโร ๙. พระมหาณัฐพล ปุญฺญตีรโก ป.ธ. ๓ ๑๐. พระมหานพรัตน์ นนฺทเมธี ป.ธ. ๕
วัดนิมมานรดี วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดพระปฐมเจดีย์ วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดวังน้ำ�ขาว วัดหนองกระโดน วัดนิมมานรดี
เจ้าหน้าที่สนับสนุนและประสานงานฝ่ายวิชาการและกองตรวจ
๑. พระครูปฐมธรรมวงศ์ ป.ธ. ๓ ๒. พระมหาเกริกสัน ญาณสมฺปนฺโน ป.ธ. ๙ ๓. พระมหาวรวิทย์ วรวิชฺชกิตฺติ ป.ธ. ๙ ๔. พระมหาอรชุน อริยวํโส ป.ธ. ๙ ๕. พระมหาชนะชัย โสตฺถิโก ป.ธ .๙ ๖. พระมหาอดิเรก อติเรโก ป.ธ. ๘ ๗. พระมหาวุฒิพงษ์ กิตฺติปญฺโญ ป.ธ. ๙ ๘. พระมหาประกาศิต สิริเมโธ ป.ธ. ๘ ๙. พระมหาขวัญชนก สิกฺขาสโภ ป.ธ. ๘ ๑๐. พระมหาธาวิน รตนเมธี ป.ธ. ๘ ๑๑. พระมหาบุญโชติ ปุญฺ โชติ ป.ธ. ๗ ๑๒. พระมหาวัชร วชิรเวที ป.ธ. ๗ ๑๓. พระมหาวิง จิตฺตาสโภ ป.ธ. ๖ ๑๔. พระมหาพุฒิแผน ปญฺญาวุโธ ป.ธ. ๖
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง
79
หัวหน้า รองหัวหน้า ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย หัวหน้า รองหัวหน้า ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย
๑๕. พระมหาวรเชษฐ์ อาวุธปญฺโญ ป.ธ. ๖ ๑๖. พระมหาสุรศักดิ์ จิตฺตทนฺโต ป.ธ. ๖ ๑๗. พระมหากิตติ กิตตฺ ิเมธี ป.ธ. ๗
วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง
เจ้าหน้าที่ฝ่ายบันทึกข้อมูลและสถิติ
๑. พระมหามนูญ ปริญฺญาโณ ป.ธ. ๗ ๒. พระมหาปฐมพล วรญาณเมธี ป.ธ. ๔ ๓. พระมหาสุธน สุรเสโน ป.ธ. ๘ ๔. พระมหาศรัณยู ฉนฺทจิตฺโต ป.ธ. ๕ ๕. พระมหาสมศักดิ์ ธีรวํโส ป.ธ. ๖ ๖. พระมหาพงศธร ธมฺมภาณี ป.ธ. ๖ ๗. พระครูปลัด นที สิปฺปเมธี ป.ธ. ๓ ๘. พระปลัด ไพศาล วิสาลวาที ป.ธ. ๓ ๙. นายทรงศักดิ์ ชวศุภกุล ป.ธ. ๖
วัดเทวราชกุญชร วรวิหาร วัดนิมมานรดี วัดเทวราชกุญชร วรวิหาร วัดเทวราชกุญชร วรวิหาร วัดเทวราชกุญชร วรวิหาร วัดนิมมานรดี วัดนิมมานรดี วัดนิมมานรดี จนท.สำ�นักงานวัดนิมมานรดี
เจ้าหน้าที่ฝ่ายประสานงานและปฏิสันถาร
๑. พระปริยัติวรานุกูล ป.ธ. ๕ ๒. พระมหามนูญ ปริญฺญาโณ ป.ธ. ๗ ๓. พระมหาวิเชียร ชาตวชิโร ป.ธ. ๙ ๔. พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ. ๗ ๕. พระมหาปฐมพล วรญาณเมธี ป.ธ. ๔ ๖. พระมหามนตรี กพฺยาธิปตฺติ ป.ธ. ๘ ๗. พระมหาทัศนะ ทสฺสนีโย ป.ธ. ๗ ๘. พระมหาพงศธร ธมฺมภาณี ป.ธ. ๖ ๙. พระครูปลัด นที สิปฺปเมธี ป.ธ. ๓ ๑๐. พระปลัด ไพศาล วิสาลวาที ป.ธ. ๓
ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย หัวหน้า ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี หัวหน้า ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเทวราชกุญชร วรวิหาร รองหัวหน้า วัดอ่างทอง วรวิหาร ผู้ช่วย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี ผู้ช่วย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี ผู้ช่วย วัดเทวราชกุญชร วรวิหาร ผู้ช่วย วัดเทวราชกุญชร วรวิหาร ผู้ช่วย วัดนิมมานรดี ผู้ช่วย วัดนิมมานรดี ผู้ช่วย วัดนิมมานรดี ผู้ช่วย
80
แผนกประชาสัมพันธ์
๑. พระเทพศาสนาภิบาล ๒. พระปริยัติวรานุกูล ๓. พระมหาเกริกสัน ญาณสมฺปนฺโน ป.ธ. ๙ ๔. พระครูปฐมธีรวัฒน์ ๕. พระครูปฐมธรรมวงศ์ ๖. พระครูปลัดโพธิวรวัฒน์ ๗. พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ. ๗
๑. พระเทพสาครมุนี ป.ธ. ๙ ๒. พระราชวิสุทธิเมธี ป.ธ. ๙
เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี ครูสอนพระปริยัติธรรมวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี
หัวหน้า รองหัวหน้า รองหัวหน้า ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย
วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ๑-๒
วัดเจษฎาราม หัวหน้า วัดไชยชุมพลชนะสงคราม รองหัวหน้า
วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ก
๑. พระศรีวิสุทธิวงศ์ ป.ธ. ๙ ๒. พระมหายวง ทิวากโร ป.ธ. ๙ ๓. พระมหาวีระ วีรปญฺโญ ป.ธ. ๙ ๔. พระมหามาณะ มหาธีโร ป.ธ. ๗ ๕. พระมหาชาญชัย ชยาภิภู ป.ธ. ๗
วัดพระปฐมเจดีย์ วัดป้อมวิเชียรโชติการาม วัดพระงาม วัดพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์
วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ก
๑. พระมหาชัยชุมพล ชุตินฺธโร ป.ธ. ๘ ๒. พระมหาวรทัส วรทสฺสโน ป.ธ. ๘ ๓. พระมหาปรัชญ์กวินท์ ภูริสิทฺโธ ป.ธ. ๘ ๔. พระมหากฤชนันต์ สุวฑฺฒโน ป.ธ. ๗ ๕. พระมหาศรเทพ ธมฺมวโร ป.ธ. ๗ ๖. พระมหาสุภาพ ทนฺตกาโย ป.ธ. ๗
วัดพระปฐมเจดีย์ วัดป่าเลไลยก์ วัดป่าเลไลยก์ วัดป่าเลไลยก์ วัดท่าพูด วัดพระปฐมเจดีย์
81
จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม
๗. พระมหาวัฒนา ฉนฺทโสภณ ป.ธ. ๖ ๘. พระมหาชุมพล สุทสฺสี ป.ธ. ๖ ๙. พระมหาอำ�นวย ถิรธมฺโม ป.ธ. ๖ ๑๐. พระมหาวีรชน ฐิตสีโล ป.ธ. ๖ ๑๑. พระมหาสุชัย โชติญาโณ ป.ธ. ๕ ๑๒. พระมหาวีระศักดิ์ อภิวฑฺฒโน ป.ธ. ๕ ๑๓. พระมหาภูวนัย ภทฺทจารี ป.ธ. ๕ ๑๔. พระมหาพัทธ์ธนายุ ปญฺญาวชิโร ป.ธ. ๕ ๑๕. พระมหาสมใจ ปภากโร ป.ธ. ๕ ๑๖. พระมหาพิเศษ ธมฺมทีโป ป.ธ. ๕ ๑๗. พระมหาทินรัตน์ อภินนฺโท ป.ธ. ๕
วัดพระปฐมเจดีย์ วัดหนองกระโดน วัดราษฎร์บูรณะ วัดพระปฐมเจดีย์ วัดกงลาด วัดวังศาลา วัดวังตะกู วัดโพธิ์ราษฎร์ศรัทธาทำ� วัดพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์
วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ข
๑. พระมหาอำ�นวย อภิญาโณ ป.ธ. ๘ ๒. พระมหาสมคิด ยสพโล ป.ธ. ๙ ๓. พระมหาวิเชียร ฐิตปุญฺโญ ป.ธ. ๙ ๔. พระมหาประจักษ์ ปญฺญาลาภี ป.ธ. ๙ ๕. พระมหาฉัตรชัย ภทฺทสาโร ป.ธ. ๘ ๖. พระมหาสัมฤทธิ์ อธิจิตฺโต ป.ธ. ๕
วัดพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์
วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ข
๑. พระมหาอนุรักษ์ กนฺตสีโล ป.ธ. ๙ ๒. พระมหาอุโลม อาทโร ป.ธ. ๗ ๓. พระมหาวันเฉลิม อเนญฺชธิติ ป.ธ. ๗ ๔. พระมหาอานนท์ ภูริวฑฺฒโน ป.ธ. ๖ ๕. พระมหาบันลือศักดิ์ ยสวฑฺฒโก ป.ธ. ๖ ๖. พระมหาอนุชิต สิริวุฑฺโฒ ป.ธ.๖ ดร.
วัดพรหมวงศาราม วัดหนองพะอง วัดพรหมวงศาราม วัดเจษฎาราม วัดสุทธิวาตวราราม วัดป้อมวิเชียรโชติการาม
82
จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม กรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม กรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร กรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร
๗. พระมหาสุรพัฒน์ สีลสุทฺโธ ป.ธ. ๖ ๘. พระมหาพรสุเทพ สุเทโว ป.ธ. ๖ ๙. พระมหาทศพล จนฺทวํโส ป.ธ. ๕ ๑๐. พระมหาพีรพงษ์ ปิยธมฺโม ป.ธ. ๗ ๑๑. พระมหาอนุสรณ์ จารุมโย ป.ธ. ๕ ๑๒. พระมหาเจริญ ฉตฺตมงฺคโล ป.ธ. ๔ ๑๓. พระมหาวัชรินทร์ วิริยเตโช ป.ธ. ๖ ๑๔. พระมหาเอกชัย ฐิตสีโล ป.ธ. ๕ ๑๕. พระมหาคารม ธมฺมปาโล ป.ธ. ๕ ๑๖. พระมหาปฏิพัทธ์ สิริวิชฺโช ป.ธ. ๖ ๑๗. พระมหาเบ็น วํสธโร ป.ธ. ๖ ๑๘. พระมหาณัฐพล ณฏฺฐพโล ป.ธ. ๕ ๑๙. พระมหาขจรศักดิ์ วีรกิตฺติ ป.ธ. ๕ ๒๐. พระมหาทวีศักดิ์ อคฺคธมฺโม ป.ธ. ๕ ๒๑. สามเณรนริศ นาคยิ้ม ป.ธ. ๕ ๒๒. สามเณรไชยโรจน์ ละครศรี ป.ธ. ๖ ๒๓. สามเณรอมรเทพ เกตุบุตร ป.ธ. ๖ ๒๔. สามเณรชัยธวัช อุสาหะ ป.ธ. ๖ ๒๕. สามเณรสุรชัย กองแก ป.ธ. ๖ ๒๖. สามเณรจุฑาวัฒน์ หลวงคำ� ป.ธ. ๕
วัดราษฎร์บำ�รุง วัดพระปฐมเจดีย์ วัดบางปิ้ง วัดใต้บ้านบ่อ วัดหนองกระโดน วัดหนองกลางด่าน วัดป้อมวิเชียรโชติการาม วัดเจษฏาราม วัดเจษฏาราม วัดสุทธิวาตวราราม วัดสวนหงส์ วัดพรสวรรค์ วัดพรสวรรค์ วัดสุทธิวาตวราราม วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ วัดบางปิ้ง
วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ค
๑. พระมหาวีรธิษณ์ วรินฺโท ป.ธ. ๙ ๒. พระมหาบดินทร์ ญาณวุโธ ป.ธ. ๙ ๓. พระมหาเจริญ จิรนนฺโท ป.ธ. ๙ ๔. พระมหาอดิเดช สติวโร ป.ธ.๙ ดร. ๕. พระมหาบุญโชค พุทฺธสีโล ป.ธ. ๘
วัดป้อมวิเชียรโชติการาม วัดไชยชุมพลชนะสงคราม วัดบางปิ้ง วัดหงส์รัตนาราม วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
83
จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสมุทรสาคร กรุงเทพมหานคร จังหวัดกาญจนบุรี
วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ค
๑. พระมหาเอกชัย เอกชโย ป.ธ. ๙ ๒. พระมหาพัฒน์ วรเมธี ป.ธ. ๗ ๓. พระครูศรีกาญจนากร ป.ธ. ๖ ๔. พระมหาปัญญา ธมฺมวีโร ป.ธ. ๖ ๕. พระมหานนธรรมพล ขนฺติวโร ป.ธ. ๖ ๖. พระมหาอิทธิ์ อคฺคเตโช ป.ธ. ๖ ๗. พระมหาถนอม ฐานวโร ป.ธ. ๖ ๘. พระมหาบรรจง ปญฺญาวชิโร ป.ธ. ๗ ๙. พระมหาพรชัย ชยเมธี ป.ธ. ๖ ๑๐. พระมหาไกรวิทย์ ธนปาโล ป.ธ. ๕ ๑๑. พระมหาลิมู่ จิตฺตปุญฺโญ ป.ธ. ๕ ๑๒. พระมหาเริงฤทธิ์ สุภทฺโท ป.ธ. ๕ ๑๓. พระมหารัชชานนท์ ธีรปญฺโญ ป.ธ. ๕ ๑๔. พระมหามาโนช อภินนฺโท ป.ธ. ๖ ๑๕. พระมหาอิศวรา คำ�สุนี ป.ธ. ๖ ๑๖. สามเณรนันทวัฒน์ เกิดสุข ป.ธ. ๖ ๑๗. สามเณรธนากร แจ่มศรี ป.ธ. ๕ ๑๘. สามเณรภรากรณ์ วงษ์เศษ ป.ธ. ๖ ๑๙. สามเณรธนูศิลป์ บุญขาว ป.ธ. ๗
วัดหลักสี่ราษฎร์สโมสร วัดป้อมวิเชียรโชติการาม วัดพุประดู่ วัดพังตรุ วัดเขาน้อยเทียมสวรรค์ วัดทับคล้อ วัดไร่เกาะต้นสำ�โรง วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ วัดป้อมวิเชียรโชติการาม วัดป้อมวิเชียรโชติการาม วัดโคกขาม วัดดอนโฆสิตาราม วัดทุ่งคอก วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์
วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ป.ธ. ๓ ห้อง ก
๑. พระอุดมธรรมเมธี ป.ธ. ๙ ๒. พระมหาณรงค์ พุทฺธสโร ป.ธ. ๙ ๓. พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ป.ธ. ๙ ๔. พระมหาเอนก มหคฺฆปญฺโญ ป.ธ. ๙ ๕. พระมหาชัยนิวัฒน์ อริยปญฺโญ ป.ธ. ๙ ๖. พระมหาภพพล เตชพโล ป.ธ. ๘
วัดพระงาม วัดวังตะกู วัดพระงาม วัดห้วยจระเข้ วัดพระปฐมเจดีย์ วัดปรีดาราม
84
จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดพิจิตร จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม
วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ป.ธ. ๓ ห้อง ข
๑. พระเมธีปริยัติวิบูล ป.ธ. ๙ ๒. พระครูศรีกาญจนกิตติ ป.ธ. ๗ ๓. พระมหาสุนทร สุนฺทรเมธี ป.ธ. ๘ ๔. พระมหาลิขิต ชยวิญฺญู ป.ธ. ๘ ๕. พระมหาวิชัย วิชโย ป.ธ. ๗ ๖. พระมหาเกียรติศักดิ์ กุสลาสโภ ป.ธ. ๗ ๗. พระมหาสัณทยา ธีรธารี ป.ธ. ๗
วัดไชยชุมพลชนะสงคราม วัดไชยชุมพลชนะสงคราม วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ วัดเทวสังฆาราม วัดวังขนายทายิการาม
วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ป.ธ. ๓
๑. พระมหาจรูญ กิตฺติปญฺโญ ป.ธ. ๙ ๒. พระมหาสมัคร ธมฺมิโก ป.ธ. ๙ ๓. พระมหาแสงเพชร สุทฺธิจิตฺโต ป.ธ. ๙ ๔. พระมหาจตุพล ญาณธีโร ป.ธ. ๙ ๕. พระมหาสายชล อคฺคธมฺโม ป.ธ. ๙ ๖. พระมหาฤทธิชัย ธีเรสุโต ป.ธ. ๘ ๗. พระมหาเอกรินทร์ กลฺยาโณ ป.ธ. ๘ ๘. พระมหาสาวาน จนฺทเสโน ป.ธ. ๘ ๙. พระมหาวิรัตน์ อธิปญฺโญ ป.ธ. ๗ ๑๐. พระมหาโบรา ภูริเมธี ป.ธ. ๗ ๑๑. พระมหาเกริกชัย ภูมิโฆสโก ป.ธ. ๗ ๑๒. พระมหาวิจิตร กลฺยาณจิตฺโต ป.ธ. ๗ ๑๓. พระมหาณฐพงษ์ ฐิตรตโน ป.ธ. ๗ ๑๔. พระมหาเฉลิมชัย ฐานสิริ ป.ธ. ๖ ๑๕. พระมหาวีระ วีรนาโค ป.ธ. ๖ ๑๖. พระมหาวิง จิตฺตาสโภ ป.ธ. ๖ ๑๗. พระมหาทองเหลือง สจฺจวโร ป.ธ. ๖
วัดพระงาม วัดห้วยจระเข้ วัดพระงาม วัดสวนหงส์ วัดเทวราชกุญชร วัดพยัคฆาราม วัดพระงาม วัดพระงาม วัดพระงาม วัดไร่เกาะต้นสำ�โรง วัดห้วยจระเข้ วัดมหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม วัดห้วยจระเข้ วัดวังน้ำ�ขาว วัดพยัคฆาราม วัดไร่ขิง วัดห้วยจระเข้
85
จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี กรุงเทพมหานคร จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม
๑๘. พระมหาบันดิษฐ์ สิริคุตฺโต ป.ธ. ๖ ๑๙. พระมหามนัสวิน ภูริปญฺโญ ป.ธ. ๕ ๒๐. พระมหาธานี จิรวฑฺฒโน ป.ธ. ๕ ๒๑. พระมหาสรรชัย อิทฺธิญาโณ ป.ธ. ๕ ๒๒. พระมหานมา ธมฺเมสโก ป.ธ. ๖ ๒๓. พระมหารณชัย รณญฺชโย ป.ธ. ๕ ๒๔. พระมหาชนะพร ฉนฺทธมฺโม ป.ธ. ๖ ๒๕. พระมหายศกร ยโสธโร ป.ธ. ๖ ๒๖. พระมหาไมตรี สุภคฺโค ป.ธ. ๖ ๒๗. พระมหาไมตรี มเหสเมธี ป.ธ. ๖ ๒๘. สามเณรอนุสรณ์ พันธ์เพช็ร ป.ธ. ๕
วัดห้วยจระเข้ วัดพยัคฆาราม วัดพยัคฆาราม วัดพระงาม วัดห้วยจระเข้ วัดพยัคฆาราม วัดพยัคฆาราม วัดพยัคฆาราม วัดพระงาม วัดไร่เกาะต้นสำ�โรง วัดพระงาม
วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ป.ธ. ๔
๑. พระเมธีธรรมานันท์ ป.ธ. ๙, Ph.D ๒. พระมหาวิทูร สิทฺธิเมธี ป.ธ. ๙, ศศ.ม. ๓. พระมหาธเนศ จนฺทปญฺโญ ป.ธ. ๙ ๔. พระมหาบุญลือ วิชฺชากโร ป.ธ. ๙, ศษ.ม. ๕. พระมหาปริทัศน์ วรกิจฺโจ ป.ธ. ๙ ๖. พระมหาบัญชา วิสุทฺโธ ป.ธ. ๘
วัดดอนหวาย วัดพระงาม วัดปรีดาราม วัดพระปฐมเจดีย์ วัดบพิตรพิมุข วรวิหาร วัดพระปฐมเจดีย์
วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ป.ธ. ๔
๑. พระเมธีธรรมานันท์ ป.ธ. ๙, Ph.D ๒. พระมหาสุธี อาสโภ ป.ธ. ๙ ๓. พระมหาจักกรี ปิยธมฺโม ป.ธ. ๙ ๔. พระมหากิตติ กิตฺติโก ป.ธ. ๙ ๕. พระมหาวิมล วิมโล ป.ธ. ๙ ๖. พระมหาสายชล อคฺคธมฺโม ป.ธ. ๙
วัดดอนหวาย วัดเชิงเลน วัดพระงาม วัดธัญญวารี วัดเทวราชกุญชร วัดเทวราชกุญชร
86
จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม กรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
๗. พระมหาวุฒิพงษ์ กิตฺติปญฺโญ ป.ธ. ๙ ๘. พระมหาสถาพร สุทฺธิเมธี ป.ธ. ๘ ๙. พระมหาสงคราม สุเมโธ ป.ธ. ๙ ๑๐. พระมหาณพล ปารติณฺโณ ป.ธ. ๙ ๑๑. พระมหาประกาศิต สิริเมโธ ป.ธ. ๘ ๑๒. พระมหาณรงค์ชัย ฐิตปญฺโญ ป.ธ. ๖ ๑๓. พระมหาสุบรรณ ปยุตฺโต ป.ธ. ๕ ๑๔. พระมหาจรินทร์ อนุภทฺโท ป.ธ. ๔ ๑๕. สามเณรณัฐพล บุญชู ป.ธ. ๕
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง วัดพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ วัดชลประทานรังสฤษดิ์ วัดไร่ขิง วัดพระปฐมเจดีย์ วัดพระงาม วัดเทพนิมิตร วัดปรีดาราม
จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดภูเก็ต จังหวัดนครปฐม
วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ป.ธ. ๕
๑. พระเทพมหาเจติยาจารย์ ป.ธ. ๙ ๒. พระศรีธีรวงศ์ ป.ธ. ๙ ๓. พระมหาเชาวน์ วรเขโม ป.ธ. ๙ ๔. พระมหาอรชุน อริยวํโส ป.ธ. ๙ ๕. พระมหามานะ สุภาทโร ป.ธ. ๙ ๖. พระมหาสมัย นิรุตฺติเมธี ป.ธ. ๙
วัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม วัดพระประโทณเจดีย์ จังหวัดนครปฐม วัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม วัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม วัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม วัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม
วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ป.ธ. ๕
๑. พระมหาธวัชชัย กลฺยาโณ ป.ธ. ๙ ๒. พระมหาณรงค์ ปญฺญาวชิโร ป.ธ. ๙ ๓. พระมหาแสวง สํวโร ป.ธ. ๘ ๔. พระมหาทศวร กิตฺติวฑฺฒโน ป.ธ. ๗ ๕. พระมหาเชวง จรณธมฺโม ป.ธ. ๘ ๖. พระมหาทศพร คุเณสโก ป.ธ. ๖
วัดพังตรุ วัดพระประโทณเจดีย์ วัดพระประโทณเจดีย์ วัดพรสวรรค์ วัดไร่ขิง วัดห้วยจระเข้
87
จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม
๑. พระเทพศาสนาภิบาล ๒. พระราชวิสุทธาจารย์ ๓. พระรัตนสุธี ๔. พระครูปฐมธีรวัฒน์ ๕. พระครูโสภณปฐมาภรณ์ ๖. พระครูปฐมธรรมวงศ์ ๗. พระครูพิสิฐธรรมนันท์ ๘. พระครูปลัดโพธิวรวัฒน์ ๙. พระปลัด พุฒิพงศ์ กิตฺติวฑฺฒโน ๑๐. พระครูวินัยธร สมัย เตชสีโล ๑๑. พระสมุห์ ปฐมชัย เขมธมฺโม ๑๒. พระสมุห์ พิสิษฐ์ สุภธมฺโม ๑๓. พระมหาวิง จิตฺตาสโภ ๑๔. พระมหาชนะชัย โสตฺถิโก ๑๕. พระใบฎีกา วราวุธ จิรธมฺโม ๑๖. พระมหาวรวิทย์ วรวิชฺชกิตฺติ ๑๗. พระสมุห์ อภิเชษฐ์ อภิเชฏฺโฐ ๑๘. พระมหาอดิเรก อติเรโก ๑๙. พระมหาประกาศิต สิริเมโธ ๒๐. พระสมุห์ สำ�อางค์ ปุญฺญสํวโร ๒๑. พระทศพล พลปญฺโ ๒๒. พระมหาอรชุน อริยวํโส ๒๓. พระใบฎีกา ภมร คมฺภีรปญฺโ ๒๔. พระมหาวุฒิพงษ์ กิตฺติปญฺโ ๒๕. พระสมโภช ติกฺขวีโร ๒๖. พระมหาสุรศักดิ์ จิตฺตทนฺโต
แผนกจัดสถานที่
เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง เลขานุการวัดไร่ขิง เลขานุการวัดไร่ขิง เลขานุการวัดไร่ขิง เลขานุการวัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง
88
ประธานที่ปรึกษา รองประธานที่ปรึกษา รองประธานที่ปรึกษา หัวหน้า รองหัวหน้า รองหัวหน้า รองหัวหน้า รองหัวหน้า ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย
๒๗. พระคงศักดิ์ จกฺกรตโน ๒๘. พระสมุห์ เสริมศักดิ์ เขมธมฺโม ๒๙. พระปลัด สรพงษ์ ปญฺญาพโล ๓๐. พระสมชาย จารุธมฺโม ๓๑. พระครูใบฎีกา ธีรยุทธ จนฺทูปโม ๓๒. พระนรินทร์ จนฺทโสภโณ ๓๓. พระมหาธนภูมิ ปุริสุตฺตโม ๓๔. พระครูปลัด พงศ์พันธ์ ขนฺติโสภโณ ๓๕. พระไพรินทร์ จารุวณฺโณ ๓๖. พระมหาวรเชษฐ์ อาวุธปญฺโญ ๓๗. พระมหาจักรพงษ์ กวิวํโส ๓๘. พระมหาจักรกฤษ ทินฺนปญฺโญ ๓๙. พระมหาเกริกสัน าณสมฺปนฺโน ๔๐. พระสานิต ฉินฺนาลโย ๔๑. พระมหาขวัญชนก สิกฺขาสโภ ๔๒. พระมหาสมชาย วรเมธี ๔๓. พระมหาเมธา สนฺตจิตฺโต ๔๔. พระศรายุทธ สมจิตฺโต ๔๕. พระสมุห์ นพดล กนฺตวีโร ๔๖. พระมหาวิรัช ธมฺมยุตฺโต ๔๗. พระมหาธาวิน รตนเมธี ๔๘. พระพีรยุทธ ฐิตเมโธ ๔๙. พระมหาอลงกต วราลงฺกาโร ๕๐. พระอดุลศักดิ์ จกฺกรตโน ๕๑. พระณัฐกร ยสวฑฺฒโน ๕๒. พระเปรมนุกูล สิรินนฺโท ๕๓. พระศุภกริช ปญฺ าสโภ
วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง 89
ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย
๕๔. พระมหากิตติ กิตฺติเมธี ๕๕. พระหฤษฎ อคฺคธมฺโม ๕๖. พระพิเชษฐ จนฺทโสรโต ๕๗. สามเณรสุเมธ อินทร์คำ�น้อย ๕๘. สามเณรเกียรติศักดิ์ สุทธิจินดา ๕๙. สามเณรพีรพล สุวรรณชาติ ๖๐. สามเณรเกรียงศักดิ์ จิรัมย์ ๖๑. สามเณรรณกฤต รุ่งกิตติวงศ์ ๖๒. สามเณรชัยวัฒณ์ พรำ�นัก ๖๓. สามเณรศักรินทร์ ไกรยโส ๖๔. สามเณรเอกพจน์ ภูฆัง ๑. นายแพทย์ปานเนตร ปางพุทธิพงศ์ ๒. แพทย์หญิง สายจินต์ อิสีประดิษฐ์ ๓. นายแพทย์ทินกร ชื่นชม ๔. คณะแพทย์และพยาบาล ๕. คณะแพทย์และพยาบาล ๑. พระเทพศาสนาภิบาล ๒. พระครูโสภณปฐมาภรณ์ ๓. พระปลัด พุฒิพงศ์ กิตฺติวฑฺฒโน ๔. พระสมุห์ ปฐมชัย เขมธมฺโม ๕. พระสมุห์ พิสิษฐ์ สุภธมฺโม ๖. คณะพระภิกษุ - สามเณร
วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง
ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย
แผนกปฐมพยาบาล
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ปรึกษา ผอ.โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) หัวหน้า ผอ.โรงพยาบาลสามพราน (วัดไร่ขิง) รองหัวหน้า โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) ผู้ช่วย โรงพยาบาลสามพราน (วัดไร่ขิง) ผู้ช่วย
แผนกรับบริจาค
เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง เลขานุการวัดไร่ขิง เลขานุการวัดไร่ขิง เลขานุการวัดไร่ขิง วัดไร่ขิง
90
หัวหน้า รองหัวหน้า ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย
๑. พระครูพิสิฐธรรมนันท์ ๒. พระสมุห์เสริมศักดิ์ เขมธมฺโม ๓. พระครูใบฎีกา วิชัย สุขวฑฺฒโก ๔. พระสมุห์ นพดล กนฺตวีโร ๕. พระหฤษฎ อคฺคธมฺโม ๖. พระพิเชษฐ์ จนฺทโสรโต ๗. พระสิทธิพร เตชธโร
แผนกเครื่องดื่ม
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดรางกำ�หยาด วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง วัดไร่ขิง
หัวหน้า ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย ผู้ช่วย
ขอให้ท่านที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ได้ช่วยรับเป็นภารธุระเพื่อให้การอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๕ ประจำ�ปี ๒๕๖๒ ดำ�เนินไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพและสำ�เร็จลุล่วงด้วยดี ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ เดือน มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๒ (พระธรรมโพธิมงคล) เจ้าคณะภาค ๑๔ รก.
91
สถิตินักศึกษาผู้เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔ ณ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม และสอบไล่ได้ในสนามหลวง เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๗ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๑ สถิติ พ.ศ. ๒๕๒๗ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ
เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๒๗ ๑-๒ ๒๒๒ ๒๒๒ ๘๐ ๑๔๒ ๓๖.๐๓ ๓ ๑๖๗ ๑๖๗ ๗๗ ๙๐ ๔๖.๑๐ ๔ ๖๒ ๖๒ ๓๗ ๒๕ ๕๙.๖๗ ๕ ๖๐ ๖๐ ๒๓ ๓๗ ๓๘.๓๓ รวม ๕๑๑ ๕๑๑ ๒๑๗ ๒๙๔ ๔๒.๔๖
สถิติ พ.ศ. ๒๕๒๘ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
๒๕๒๘ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๑๕๘ ๑๙๘ ๔๔.๓๘ ๑๒๐ ๖๖ ๖๔.๕๒ ๔๔ ๔๑ ๕๑.๗๙ ๒๐ ๓๒ ๓๘.๔๖ ๓๔๒ ๓๓๗ ๕๐.๓๖
๓๕๖ ๑๘๖ ๓๕ ๕๒ ๖๗๙
๓๕๖ ๑๘๖ ๓๕ ๕๒ ๖๗๙
92
สอบตก คิดเป็น %
สถิติ พ.ศ. ๒๕๒๙ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ ๒๕๒๙ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๓๒๙ ๓๒๙ ๑๓๙ ๑๙๓ ๔๑.๓๓ ๒๔๘ ๒๔๘ ๑๔๘ ๑๐๐ ๕๙.๖๗ ๑๓๒ ๑๓๒ ๖๖ ๖๖ ๕๐.๐๐ ๘๑ ๘๑ ๓๐ ๕๑ ๓๗.๐๓ ๗๙๐ ๗๙๐ ๓๘๓ ๔๑๐ ๔๘.๑๐
สถิติ พ.ศ. ๒๕๓๐ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๐ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๑๔๗ ๑๘๑ ๑๐๘ ๔๖ ๔๘๒
๒๘๗ ๓๓.๘๗ ๑๒๔ ๕๙.๓๔ ๗๙ ๕๗.๗๕ ๓๘ ๕๔.๗๖ ๕๒๘ ๔๗.๗๒
๔๓๔ ๔๓๔ ๓๐๕ ๓๐๕ ๑๘๗ ๑๘๗ ๘๔ ๘๔ ๑,๐๑๐ ๑,๐๑๐
สถิติ พ.ศ. ๒๕๓๑ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
๒๕๓๑ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๑๘๕ ๒๕๐ ๔๒.๕๒ ๑๓๑ ๑๐๙ ๕๔.๕๘ ๖๔ ๑๐๒ ๓๘.๕๕ ๕๒ ๕๑ ๔๕.๔๘ ๔๓๒ ๕๑๒ ๔๕.๗๖
๔๓๕ ๒๔๐ ๑๖๖ ๑๐๓ ๙๔๔
๔๓๕ ๒๔๐ ๑๖๖ ๑๐๓ ๙๔๔
93
สอบตก คิดเป็น %
สถิติ พ.ศ. ๒๕๓๒ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
๒๕๓๒ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๑๔๕ ๒๙๐ ๓๓.๓๓ ๑๔๑ ๑๑๙ ๕๔.๒๓ ๕๐ ๘๒ ๓๗.๘๗ ๓๕ ๒๙ ๕๔.๖๘ ๓๗๑ ๕๒๐ ๔๑.๖๓
๔๓๕ ๒๖๐ ๑๓๒ ๖๔ ๘๙๐
๔๓๕ ๒๖๐ ๑๓๒ ๖๔ ๘๙๑
สอบตก คิดเป็น %
สถิติ พ.ศ. ๒๕๓๓ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๓ ๑-๒ ๔๗๖ ๓ ๒๕๗ ๔ ๑๑๒ ๕ ๘๒ รวม ๙๒๗
๑๗๘ ๑๔๘ ๕๓ ๕๒ ๔๓๑
๒๙๘ ๓๗.๓๙ ๑๐๙ ๕๗.๕๙ ๕๙ ๕๗.๓๒ ๓๐ ๖๓.๔๑ ๔๙๖ ๔๖.๔๙
๔๗๖ ๒๕๗ ๑๑๒ ๘๒ ๙๒๗
สถิติ พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๔ ๑-๒ ๔๘๕ ๔๘๕ ๒๐๑ ๒๘๔ ๔๐.๔๔ ๓ ๒๙๖ ๒๙๖ ๑๓๗ ๑๕๙ ๔๖.๒๘ ๔ ๑๓๖ ๑๓๖ ๗๐ ๖๖ ๕๓.๘๕ ๕ ๘๒ ๘๒ ๓๕ ๔๗ ๔๒.๖๘ รวม ๙๙๙ ๙๙๙ ๔๔๓ ๕๕๖ ๔๔.๓๔
94
สถิติ พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ ๒๕๓๕ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๔๓๐ ๔๓๐ ๑๖๗ ๒๖๔ ๓๘.๗๕ ๒๓๓ ๒๓๓ ๑๕๓ ๑๓๑ ๕๓.๘๗ ๙๕ ๙๕ ๘๗ ๕๒ ๖๒.๕๙ ๖๙ ๖๙ ๒๔ ๘๐ ๒๓.๐๙ ๘๑๕ ๘๑๕ ๔๓๑ ๕๒๗ ๔๔.๙๙
สถิติ พ.ศ. ๒๕๓๖ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๖ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๑๑๖ ๑๗๗ ๕๑ ๒๑ ๓๒๕
๓๐๒ ๒๗.๗๕ ๙๖ ๕๘.๘๐ ๔๔ ๕๓.๖๘ ๘๐ ๓๐.๔๓ ๔๙๐ ๓๙.๘๘
๔๑๘ ๒๓๓ ๑๘๗ ๘๔ ๘๑๕
๔๑๘ ๒๓๓ ๑๘๗ ๘๔ ๘๑๕
สถิติ พ.ศ. ๒๕๓๗ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๗ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๑๑๑ ๙๐ ๖๔ ๕๕ ๓๒๐
๒๐๒ ๓๕.๔๖ ๘๓ ๕๒.๐๒ ๕๐ ๕๖.๑๔ ๓๒ ๖๓.๒๒ ๓๖๗ ๔๖.๕๘
๓๑๓ ๑๗๓ ๑๑๔ ๘๗ ๖๘๗
๓๑๓ ๑๗๓ ๑๑๔ ๘๗ ๖๘๗
95
สถิติ พ.ศ. ๒๕๓๘ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ ๒๕๓๘ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๓๒๓ ๒๔๑ ๘๘ ๖๙ ๗๒๑
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๓๒๓ ๑๙๒ ๑๓๑ ๕๙.๔๔ ๒๔๑ ๑๑๗ ๙๗ ๕๔.๖๗ ๘๘ ๓๔ ๕๔ ๕๖.๑๔ ๖๙ ๓๔ ๓๕ ๔๙.๒๘ ๗๒๑ ๗๗๗ ๓๑๗ ๕๔.๒๘
สถิติ พ.ศ. ๒๕๓๙ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๙ ๑-๒ ๓๗๔ ๓๗๔ ๑๓๘ ๒๓๖ ๓๖.๙๐ ๓ ๒๘๔ ๒๘๔ ๙๙ ๑๔๒ ๓๔.๘๖ ๔ ๑๑๕ ๑๑๕ ๖๒ ๓๙ ๕๓.๙๑ ๕ ๔๐ ๔๐ ๑๘ ๓๒ ๔๕.๐๐ รวม ๘๑๓ ๘๑๓ ๓๑๗ ๔๓๒ ๓๘.๙๙
สถิติ พ.ศ. ๒๕๔๐ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
๒๕๔๐ ๑-๒ ๓๑๗ ๓๑๗ ๙๘ ๓ ๒๓๐ ๒๓๐ ๘๘ ๔ ๗๑ ๗๑ ๓๒ ๕ ๕๔ ๕๔ ๒๒ รวม ๖๗๒ ๖๗๒ ๓๑๗
96
สอบตก คิดเป็น % ๒๑๙ ๓๙.๙๑ ๑๔๒ ๓๘.๒๖ ๓๙ ๕๓.๙๑ ๓๒ ๔๕.๐๐ ๔๓๑ ๓๘.๙๙
สถิติ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ ๒๕๔๑ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๑๕๐ ๑๑๔ ๔๐ ๒๖ ๓๓๐
๑๕๐ ๑๑๔ ๔๐ ๒๖ ๓๓๐
สอบได้ ๓๒ ๓๒ ๑๐ ๑๗ ๙๑
สอบตก คิดเป็น % ๑๑๘ ๒๑.๓๓ ๘๒ ๒๘.๐๗ ๓๐ ๒๕.๐๐ ๙ ๖๕.๓๘ ๒๓๙ ๒๗.๕๗
สถิติ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
๒๕๔๒ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๗๕ ๓๐๗ ๑๙.๖๓ ๒๗ ๙๖ ๒๑.๙๕ ๔๐ ๔๘ ๔๕.๔๕ ๑๐ ๒๑ ๓๒.๒๕ ๑๕๒ ๔๗๒ ๒๔.๓๕
๓๒๓ ๑๒๓ ๘๘ ๓๑ ๖๒๔
๓๒๓ ๑๒๓ ๘๘ ๓๑ ๖๒๔
สอบตก คิดเป็น %
สถิติ พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ ๒๕๔๓ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
เข้าสอบ
๓๘๔ ๓๘๔ ๑๔๔ ๑๔๔ ๓๖ ๓๖ ๔๘ ๔๘ ๖๑๒ ๖๑๒
97
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๑๐๒ ๖๐ ๒๓ ๒๐ ๒๐๕
๒๘๒ ๒๖.๕๖ ๘๔ ๔๑.๖๖ ๑๓ ๖๓.๘๘ ๒๘ ๔๑.๖๖ ๔๗๒ ๓๓.๕๐
สถิติ พ.ศ. ๒๕๔๔ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๔ ๑-๒ ๓๒๒ ๓๒๒ ๑๔๓ ๑๗๙ ๔๔.๔๑ ๓ ๑๕๑ ๑๕๑ ๘๑ ๗๐ ๕๓.๖๔ ๔ ๖๖ ๖๖ ๔๐ ๒๖ ๖๐.๖๐ ๕ ๒๕ ๒๕ ๑๑ ๑๔ ๔๔.๐๐ รวม ๕๖๔ ๕๖๔ ๒๗๕ ๒๘๙ ๔๘.๗๖ ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาแปลมคธเป็นไทย สอบได้ ๔ รูป ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาไวยากรณ์ สอบได้ ๓๗ รูป
สถิติ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
๒๕๔๕ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๙๙ ๓๐๔ ๒๓.๓๒ ๑๐๒ ๑๑๔ ๔๗.๒๒ ๔๐ ๗๖ ๕๒.๖๓ ๑๖ ๒๓ ๔๑.๐๒ ๒๕๗ ๔๗๗ ๓๕.๐๑
๔๐๓ ๒๑๖ ๗๖ ๓๙ ๗๓๔
๔๐๓ ๒๑๖ ๗๖ ๓๙ ๗๓๔
สอบตก คิดเป็น %
ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาแปลมคธเป็นไทย สอบได้ ๔ รูป ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาไวยากรณ์ สอบได้ ๑๓๔ รูป
98
สถิติ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ ๒๕๔๖ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๒๑๑ ๑๑๒ ๕๐ ๒๕ ๒๙๘
สอบได้
๒๑๑ ๔๓ ๑๑๒ ๔๘ ๖๐ ๓๕ ๒๕ ๑๑ ๒๙๘ ๑๓๗
สอบตก คิดเป็น % ๑๖๘ ๒๐.๓๘ ๖๔ ๔๒.๘๖ ๑๕ ๗๐.๐๐ ๑๔ ๔๔.๐๐ ๒๖๑ ๓๔.๔๒
ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาแปลมคธเป็นไทย สอบได้ ๔ รูป ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาไวยากรณ์ สอบได้ ๒๔ รูป
สถิติ พ.ศ. ๒๕๔๗ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
๒๕๔๗ ๑-๒ ๒๑๖ ๒๑๖ ๘๓ ๓ ๑๒๙ ๑๒๙ ๕๗ ๔ ๖๒ ๖๒ ๔๑ ๕ ๕๔ ๕๔ ๒๗ รวม ๔๖๑ ๔๖๑ ๒๐๘
สอบตก คิดเป็น % ๑๓๓ ๓๘.๔๓ ๗๒ ๔๔.๑๙ ๒๑ ๖๖.๑๓ ๒๗ ๕๐.๐๐ ๒๕๓ ๔๕.๑๒
ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาแปลมคธเป็นไทย สอบได้ ๖ รูป ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาไวยากรณ์ สอบได้ ๒๗ รูป
99
สถิติ พ.ศ. ๒๕๔๘ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ ๒๕๔๘ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๒๗๒ ๑๕๓ ๗๓ ๕๓ ๔๖๑
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๗๒ ๔๘ ๑๘๘ ๓๐.๘๘ ๑๕๓ ๗๓ ๘๐ ๔๗.๗๑ ๗๓ ๔๕ ๒๘ ๖๑.๖๔ ๕๓ ๓๓ ๒๐ ๖๒.๒๖ ๔๖๑ ๒๐๘ ๒๕๓ ๔๕.๑๒
สถิติ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๙ ๑-๒ ๑๙๑ ๑๙๑ ๖๗ ๑๒๔ ๓๕.๐๘ ๓ ๑๕๐ ๑๕๐ ๗๓ ๗๗ ๔๘.๖๗ ๔ ๘๕ ๘๕ ๔๖ ๓๙ ๕๔.๑๒ ๕ ๗๓ ๗๓ ๔๑ ๓๒ ๕๖.๑๖ รวม ๔๙๙ ๔๙๙ ๒๒๗ ๒๗๒ ๔๕.๔๙
สถิติ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ ๒๕๕๐ ๑-๒ ๑๙๑ ๓ ๑๒๘ ๔ ๗๒ ๕ ๔๘ รวม ๔๓๙
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๑๙๑ ๖๓ ๑๒๘ ๓๒.๙๙ ๑๒๘ ๔๙ ๗๙ ๓๘.๒๙ ๗๒ ๔๓ ๔๓ ๔๐.๒๘ ๔๘ ๒๖ ๒๖ ๔๘.๘๓ ๔๓๙ ๑๖๓ ๒๗๖ ๓๗.๑๒
100
สถิติ พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
๒๕๕๑ ๑-๒ ๑๗๐ ๑๗๐ ๓๘ ๓ ๙๘ ๙๘ ๒๔ ๔ ๕๑ ๕๑ ๒๐ ๕ ๕๑ ๕๑ ๑๗ รวม ๓๗๐ ๓๗๐ ๙๙
สอบตก คิดเป็น % ๑๓๒ ๒๒.๓๕ ๗๔ ๒๔.๔๙ ๓๑ ๓๙.๑๒ ๓๔ ๓๓.๓๓ ๒๗๑ ๒๖.๗๖
สถิติ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๒ ๑-๒ ๑๔๐ ๑๔๐ ๓๖ ๑๐๔ ๒๕.๗๑ ๓ ๘๙ ๘๙ ๒๐ ๖๙ ๒๒.๔๗ ๔ ๖๘ ๖๘ ๓๘ ๓๐ ๕๕.๘๘ ๕ ๓๐ ๓๐ ๙ ๒๑ ๓๐.๐๐ รวม ๓๒๗ ๓๒๗ ๑๐๓ ๒๒๔ ๓๑.๕๐
สถิติ พ.ศ. ๒๕๕๓ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ
เข้าสอบ
๒๕๕๓ ๑-๒ ๑๔๘ ๑๔๘ ๓ ๙๐ ๙๐ ๔ ๕๕ ๕๕ ๕ ๔๓ ๔๓ รวม ๓๓๖ ๓๓๖
101
สอบได้ ๓๖ ๒๒ ๑๗ ๒๐ ๙๕
สอบตก คิดเป็น % ๑๑๒ ๒๔.๓๒ ๖๘ ๒๔.๔๔ ๓๘ ๓๐.๙๐ ๒๓ ๔๖.๕๑ ๒๔๑ ๒๘.๒๗
สถิติ พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ ๒๕๕๔ ๑-๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๑๕๓ ๑๑๑ ๔๘ ๓๐ ๓๔๒
เข้าสอบ ๑๕๓ ๑๑๑ ๔๘ ๓๐ ๓๔๒
สอบได้ ๓๓ ๔๖ ๒๒ ๘ ๙๘
สอบตก คิดเป็น % ๑๓๑ ๑๔.๓๗ ๖๕ ๔๑.๔๔ ๓๖ ๔๕.๘๓ ๒๒ ๒๖.๖๖ ๒๔๔ ๒๘.๖๕
สถิติ พ.ศ. ๒๕๕๕ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๕ ๑-๒ ๑๗๒ ๑๗๒ ๓ ๙๐ ๙๐ ๔ ๖๕ ๖๕ ๕ ๓๙ ๓๙ รวม ๓๖๖ ๓๖๖
๔๗ ๓๒ ๒๒ ๖ ๑๐๓
๑๒๕ ๒๗.๓๒ ๕๘ ๓๕.๕๕ ๔๓ ๓๓.๘๔ ๓๓ ๑๕.๓๘ ๒๕๙ ๒๙.๒๓
สถิติ พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๖ ๑-๒ ๑๘๓ ๑๘๓ ๖๐ ๑๒๓ ๓๒.๗๘ ๓ ๑๐๒ ๑๐๒ ๒๘ ๗๒ ๒๗.๔๕ ๔ ๕๗ ๕๗ ๓๐ ๒๗ ๕๒.๖๓ ๕ ๓๒ ๓๒ ๙ ๒๓ ๒๘.๑๒
รวม
๓๗๔
๓๗๔
102
๑๒๗
๒๔๕
๓๓.๙๕
สถิติ พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๗ ๑-๒ ๑๘๖ ๑๘๖ ๕๘ ๑๒๘ ๓๑.๑๘ ๓ ๑๒๔ ๑๒๔ ๓๑ ๙๓ ๒๕.๐๐ ๔ ๕๓ ๕๓ ๒๓ ๓๐ ๔๓.๓๙ ๕ ๔๑ ๔๑ ๑๙ ๒๒ ๔๖.๓๔
รวม
๔๐๔
๔๐๔
๑๓๑
๒๗๓
๓๒.๔๒
สถิติ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๘ ๑-๒ ๓ ๔ ๕
๓๖๕ ๓๖๕ ๘๔ ๒๘๑ ๒๓.๐๑ ๒๒๓ ๒๒๓ ๖๔ ๑๕๙ ๒๘.๖๙ ๑๐๑ ๑๐๑ ๔๙ ๕๒ ๔๘.๕๑ ๔๙ ๔๙ ๒๗ ๒๒ ๕๕.๑๐
๗๓๘
รวม
๗๓๘
๒๒๔
๕๑๔
๓๐.๓๕
สถิติ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๙ ๑-๒ ๓๙๕ ๓๙๕ ๗๓ ๓๒๒ ๑๘.๔๘ ๓ ๒๑๖ ๒๑๖ ๔๙ ๑๖๗ ๒๒.๖๙ ๔ ๙๒ ๙๒ ๕๔ ๓๘ ๕๘.๗๐ ๕ ๖๗ ๖๗ ๔๐ ๒๗ ๕๙.๗๐
รวม
๗๗๐
๗๗๐
103
๒๑๖
๕๕๔
๒๘.๐๕
สถิติ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๖๐ ๑-๒ ๓๗๗ ๓๗๗ ๓ ๒๐๑ ๒๐๑ ๔ ๖๘ ๖๘ ๕ ๗๘ ๗๘
๘๕ ๗๘ ๑๘ ๓๑
๒๙๒ ๒๒.๕๕ ๑๒๓ ๓๘.๘๑ ๕๐ ๒๖.๔๗ ๔๗ ๓๙.๗๔
๒๑๒
๕๑๒
รวม
๗๒๔
๗๒๔
๒๙.๒๘
สถิติ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ
สอบได้
สอบตก คิดเป็น %
๒๕๖๑ ๑-๒ ๓๖๑ ๓๒๐ ๑๒๘ ๓ ๑๘๑ ๑๖๐ ๑๐๖ ๔ ๙๘ ๘๗ ๔๒ ๕ ๓๔ ๓๒ ๒๓
๑๙๒ ๔๐.๐๐ ๕๔ ๖๖.๒๕ ๔๕ ๔๘.๒๘ ๙ ๗๑.๘๘
๓๐๐
รวม
๖๗๔
๕๙๙
104
๒๙๙
๔๙.๙๒
สถิตินักเรียนเข้าอบรมบาลีก่อนสอบ และสอบได้ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๑
สำ�นักอบรมบาลีก่อนสอบสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔
ประโยค ๑-๒
เข้าสอบ สอบได้ สอบตก
๑๐,๕๒๓ ๓,๘๑๓ ๖,๖๓๑
รูป รูป รูป
ประโยค ป.ธ. ๔
เข้าสอบ สอบได้ สอบตก
๓,๒๙๑ ๑,๖๗๐ ๑,๖๐๗
รูป รูป รูป
ประโยค ป.ธ. ๓
ประโยค ป.ธ. ๕
เข้าสอบ สอบได้ สอบตก
๖,๘๗๗ ๓,๔๔๐ ๓,๕๒๘
เข้าสอบ สอบได้ สอบตก
๒,๐๗๗ ๙๕๘ ๑,๑๑๓
รูป รูป รูป
รูป รูป รูป
ที่ผ่านเข้ารับการอบรมฯ ๒๒,๗๖๘ รูป สอบได้ ๙,๘๘๑ รูป สอบตก ๑๒,๘๗๙ รูป คิดเป็นเปอร์เซ็น ๔๓.๔๐ เปอร์เซ็น นักเรียนและพระวิทยากร ในสำ�นักอบรมแห่งนี้ สอบไล่ได้ประโยค ป.ธ. ๙ จำ�นวน ๑๑๐ รูป 105
สถิตินักเรียน
การอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๕ ระหว่างวันที่ ๑๒ ถึง ๒๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒
จังหวัด
ชั้น ประโยค ๑-๒
ประโยค ป.ธ.๓
ประโยค ป.ธ.๔
ประโยค ป.ธ.๕
๒๕ ๗ ๑๑ ๒๐ ๒ - ๑ ๒ ๑ ๑ - - -
๑๖ ๔ ๒ ๑๑ ๔ - - - - - - ๑ -
พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร
นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร กรุงเทพมหานคร ภูเก็ต เพชรบุรี ตรัง นครศรีธรรมราช ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี สุราษฎร์ธานี
๖๗ ๓๐ ๓๐ ๙ ๒๘ ๔๔ ๑๔ ๑๘ ๒๙ ๕๑ ๒๖ ๑๑ ๔๗ ๑๙ ๑๗ ๒ ๒ ๒ ๓ ๖ - - - ๑ - - - - - - - - - ๑ - - - - - - ๑ - - - ๑ ๑ - - - ๑ - - รวมแต่ละชั้น ๓๒๔ ๑๓๗
หมายเหตุ : รวมพระภิกษุ รวมสามเณร บาลีศึกษา
๓๗๓ รูป ๒๒๕ รูป ๓ คน
๕๕๘ รูป ๔๐ รูป
ภายในภาค ๑๔ นอกภาค
106
๙๕
๙ ๗ ๒ - ๖ ๑ - - - - - - -
๔๒
- ๒ - - ๒ - - - - - - - -
รวม
๑๘๖ ๑๒๔ ๑๓๒ ๑๑๖ ๒๗ ๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๑ ๓ ๑ ๕๙๘
สถิตินักเรียน
การอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๕
ระหว่างวันที่ ๑๒ ถึง ๒๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ณ วัดไร่ขิง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
ชั้นประโยค ๑-๒
นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร นอกภาค พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร
๖๗ ๓๐ ๒๘ ๔๔ ๒๙ ๕๑ ๔๗ ๑๙
๔
๕
รวม ๙๗ รูป รวม ๗๒ รูป รวม ๘๐ รูป รวม ๖๖ รูป รวม ๙ รูป รวมประโยค ๑-๒ นักเรียน ๓๒๔ รูป โดยแบ่งเป็นพระภิกษุ จำ�นวน ๑๗๕ รูป สามเณร จำ�นวน ๑๔๙ รูป
ชั้นประโยค ป.ธ. ๓
นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร นอกภาค พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร
๓๑ ๙
๑๔ ๑๘ ๒๖
๑๑
๑๗
๒
๓
๖
รวม ๔๐ รูป รวม ๓๒ รูป รวม ๓๗ รูป รวม ๑๙ รูป รวม ๙ รูป รวมประโยค ป.ธ. ๓ นักเรียน ๑๓๗ รูป โดยแบ่งเป็นพระภิกษุ จำ�นวน ๙๑ รูป สามเณร จำ�นวน ๔๖ รูป
107
ชั้นประโยค ป.ธ. ๔
นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร นอกภาค พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร
๒๕ ๙
๗
๗
๑๑
๒
๒๐
-
๘
๕
รวม ๓๔ รูป รวม ๑๔ รูป รวม ๑๓ รูป รวม ๒๐ รูป รวม ๑๓ รูป รวมประโยค ป.ธ. ๔ นักเรียน ๙๔ รูป โดยแบ่งเป็นพระภิกษุ จำ�นวน ๗๑ รูป สามเณร จำ�นวน ๒๓ รูป
ชั้นประโยค ป.ธ. ๕
นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร นอกภาค พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร
๑๖ -
๔
๒
๒
-
๑๑
-
๖
๒
รวม ๑๖ รูป รวม ๖ รูป รวม ๒ รูป รวม ๑๑ รูป รวม ๘ รูป รวมประโยค ป.ธ. ๕ นักเรียน ๔๔ รูป โดยแบ่งเป็นพระภิกษุ จำ�นวน ๓๙ รูป สามเณร จำ�นวน ๔ รูป
รวมนักเรียนที่เข้าอบรมฯ - ในภาค ๑๔ จำ�นวน ๕๕๘ รูป
- นอกภาค
จำ�นวน
๔๐ รูป
108
สถิติพระวิทยากร และนักเรียน การอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๕
ระหว่างวันที่ ๑๒ ถึง ๒๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ณ วัดไร่ขิง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
ประโยค นักเรียน ๑-๒ ๓๒๔ ๓ ๑๓๗ ๔ ๙๕ ๕ ๔๒
รวม
๕๙๘
- รวมพระวิทยากร - รวมนักเรียน - รวมทั้งสิ้น
พระวิทยากร ประจำ�ชั้น ๑๕ ๑๕ ๕ ๖
พระวิทยากร กองตรวจ ๖๒ ๒๗ ๑๕ ๖
๔๐๑ ๑๗๙ ๑๑๕ ๕๔
๔๑
๑๑๐
๗๔๙
จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน
109
๑๕๑ รูป ๕๙๘ รูป ๗๔๙ รูป
รวม
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๐ ถึง พ.ศ.๒๕๖๑ วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ๑-๒ “ธรรมบท ภาค ๑ - ๔ เรียงหน้า” รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ. ๗
พ.ศ. ๒๕๔๔ ๒๕๕๔/๒ ๒๕๓๘ ๒๕๔๐ ๒๕๔๗ ๒๕๔๗ ๒๕๕๐/๒ ๒๕๕๐/๒ ๒๕๕๓/๒ ๒๕๒๔ ๒๕๕๓/๒ ๒๕๒๕ ๒๕๔๘/๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๓ ๒๕๕๘ ๒๕๕๘ ๒๕๕๘/๒ ๒๕๕๘/๒ ๒๕๓๖ ๒๕๒๐ ๒๕๒๐
ข้อ ภาค เรื่อง ๑ ๑ จักขุปาล ๑ ๑ จักขุปาล ๑ ๑ จักขุปาล ๑ ๑ จักขุปาล ๑ ๑ จักขุปาล ๒ ๑ จักขุปาล ๑ ๑ จักขุปาล ๒ ๑ จักขุปาล ๑ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๑ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๒ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๑ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๑ ๑ กาลียักขินี ๑ ๑ กาลียักขินี ๒ ๑ กาลียักขินี ๑ ๑ โกสัมพี ๒ ๑ โกสัมพี ๑ ๑ จุลลกาลมหากาล ๒ ๑ จุลลกาลมหากาล ๑ ๑ จุลลกาลมหากาล ๑ ๑ จุลลกาลมหากาล ๒ ๑ จุลลกาลมหากาล
หน้า ๓ ๓ ๓ - ๔ ๔ - ๕ ๗ - ๘ ๘ - ๙ ๑๑ - ๑๒ ๑๒ - ๑๓ ๒๕ - ๒๖ ๒๖ - ๒๘ ๓๑ - ๓๒ ๓๒ - ๓๓ ๔๒ - ๔๓ ๔๓ ๔๓ - ๔๔ ๕๘-๕๙ ๕๙ ๖๑ ๖๑ – ๖๒ ๖๒ - ๖๓ ๖๗ - ๖๘ ๖๘ - ๖๙
เริ่ม - จบ จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ - ปตฺถนํ กตฺวา ปกฺกามิ ฯ สาวตฺถิยํ กิร มหาสุวณฺโณ - ทฺวินฺนํเยว วิวเรสุํ ฯ สาวตฺถิยํ กิร - วสฺสาวาเส วสิ ฯ ตสฺมึ สมเย สตฺถา - ปญฺหํ น ปุจฺฉติ ฯ มนุสฺสา วตฺตสมฺปนฺเน - ภนฺเต อปฺปมตฺตา โหถาติ ฯ เถรสฺส นิทฺทํ อโนกฺกมนฺตสฺส - ปุจฺฉิยมาโนปิ น กเถสิ ฯ เวชฺโช ทิสฺวา กึ ภนฺเต - กตฺวา คามํ ปวิสึสุ ฯ เถโรปิ อิตเร สฏฺฐิภิกฺขู - อนุคนฺตฺวา ปริเทวิตฺวา นิวตฺตึสุ ฯ ตสฺมึ ขเณ มฏฺฐกุณฺฑลี - โรทนฺโต อฏฺฐาสิ ฯ พฺราหฺมโณ ตํ ทิสฺวา - โก นีธ กนฺทตํ พาลฺยตโรติ ฯ พฺราหฺมโณปิ เคหํ คนฺตวา - นิพฺพตฺตภาโว กถิโตติ ฯ ทฺวีหิ ชเนหิ กถิตํ - ตุฏฺฐึ ปเวเทสิ ฯ เอโก กิร กุฎุมฺภิกปุตฺโต - วุจฺจมานาปิ ปุนบฺปุนํ กเถสิ ฯ วญฺฌิตฺถี ตํ กถํ สุตฺวา - ทุติยมฺปิ ตเถว ปาเตสิ ฯ อถ นํ ปฏิวิสฺสกิตฺถิโย - กุกฺกุฏี หุตฺวา นิพฺพตฺติ ฯ อถ นํ สตฺถา – มหาราชาติ ฯ อนาถปิณฺฑิโกปิ – ภาริยํ กตนฺติ อาห ฯ สุภานุปสฺสึ – สงฺกิเลสญฺจ กเถสิ ฯ ตํสุตฺวา มหากาโล – วิหารํ อาคจฺฉติ ฯ เถโร กึ ปน - ทสฺเสตฺวา ฌาเปสฺสามีติ ฯ สตฺถา มา ภิกฺขเว – วีริยกรณวิรหิตํ ฯ ปสหตีติ อภิภวติ - น สกฺโกตีติ อตฺโถ ฯ
110
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๓๗ ๒๕๑๗ ๒๕๔๖ ๒๕๑๐ ๒๕๑๕ ๒๕๑๐ ๒๕๓๕ ๒๕๓๔ ๒๕๓๓ ๒๕๒๘ ๒๕๕๔/๒ ๒๕๑๑ ๒๕๓๒ ๒๕๓๙ ๒๕๕๖/๒ ๒๕๕๖/๒ ๒๕๕๖/๑ ๒๕๕๖/๑ ๒๕๔๙/๑ ๒๕๕๒/๑ ๒๕๕๒/๑ ๒๕๕๒/๒ ๒๕๕๒/๒ ๒๕๑๖ ๒๕๕๔/๑ ๒๕๕๔/๒ ๒๕๑๐ ๒๕๑๐
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒
หน้า
๑ เทวทัต ๗๐ - ๗๑ ๑ สัญชย ๘๓-๘๔ ๑ นันทเถระ ๑๐๕ - ๑๐๖ ๑ จุนทสูกริก ๑๑๖ - ๑๑๗ ๑ จุนทสูกริก ๑๑๖ - ๑๑๗ ๑ จุนทสูกริก ๑๑๗ - ๑๑๙ ๑ ธัมมิกอุบาสก ๑๒๐ - ๑๒๑ ๑ เทวทัต ๑๒๙ -๑๓๐ ๑ เทวทัต ๑๓๑ - ๑๓๒ ๑ สุมนาเทวี ๑๔๒ ๑ เทวสหายกภิกขุ ๑๔๖ ๑ เทวสหาย ๑๔๖ - ๑๔๗ ๑ เทวสหาย ๑๔๗ ๒ สามาวดี ๑ - ๒ ๒ สามาวดี ๒ – ๓ ๒ สามาวดี ๓ ๒ สามาวดี ๙ – ๑๐ ๒ สามาวดี ๑๐ – ๑๑ ๒ สามาวดี ๑๒ - ๑๓ ๒ สามาวดี ๒๐ ๒ สามาวดี ๒๑ ๒ สามาวดี ๒๒ - ๒๓ ๒ สามาวดี ๒๓ - ๒๔ ๒ สามาวดี ๔๐ - ๔๑ ๒ สามาวดี ๔๘ – ๔๙ ๒ สามาวดี ๔๙ – ๕๐ ๒ สามาวดี ๕๖-๕๘ ๒ สามาวดี ๕๘ - ๕๙
เริ่ม - จบ อุปาสโก นครวีถิยํ - วิจรตีติ วทึสุ ฯ อถสฺส เอตทโหสิ - มหาสมโณติ คาถมาห ฯ สตฺถา หิ ปวตฺติตปวรธมฺม - สตฺถา ตตฺถาปิ น คณฺหิ ฯ อิธ โสจติ เปจฺจ โสจตีติ - มหานิรยสนฺตาโป อุปฏฺฐหิ. ฉาตกกาเล สกเฏน - ขาทิตฺวา เสสํ วิกฺกีณาติ ฯ อวีจิสนฺตาโป นาม - ผรุโส สตฺโต ทิฏฺฐปุพฺโพติ ฯ สาวตฺถิยํ กิร - อาคเมถาติ อาห ฯ อปรภาเค สตฺถริ - ลาภสกฺการํ นิพฺพตฺเตสิ ฯ เทวทตฺตสฺสาปิ กมฺมํ - สทฺธึ เอกโต ว อเหสุ ํฯ โส โสตาปนฺโนปิ - เอวํ คหปตีติ ฯ สตฺถา สาธุ สาธูติ - อิมา คาถา อภาสิ ฯ พหุมฺปิ เจ สหิตํ - น ทุสฺสีลสฺส ฯ ตํ อาจริเย - น ทุสฺสีลสฺส ฯ อปฺปมาโท อมตํ ปทนฺติ - เต ตถา กรึสุ ฯ อปรภาเค เวฏฺฐทีปกตาปโส - โกจิ อุปทฺทโว อตฺถึติ ฯ อาม อาวุโส หตฺถึ - หตฺถี ปลาเปตฺวา วสิ ฯ ตํ ทิวสญฺจ โคปาลกสฺส - ภตึ กโรนฺตี วสิ ฯ สาปิ โข สุนขี - เอกมนฺเต นิปชฺชติ ฯ ติรจฺฉานา นาเมเต อุชุชาติกา - กุจฺฉิจฺสมึ ปฏิสนฺธึ คณฺหิ ฯ เสฏฺฐิโน ปเนกา ธีตา อตฺถิ - อวตฺถริตฺวา คณฺหิ ฯ อถ นํ ปุจฺฉิ กุหึ โส - โอตริตฺวา ทุสฺสนฺเตเยวสฺส พนฺธิฯ เสฏฺฐิโน ยํ กาเรมิ ตํ น โหติ - คมิสฺสสิ อจฺฉ ตาวาติ อาหฯ เสฏฺฐิโน โรโค พลวา ชาโต - อตฺตโน ปุริเส อาณาเปสิ ฯ อถ นํ พฺราหฺมโณ อาห - อิมํ คาถมาห ฯ อเถกทิวสํ มาคนฺทิยา อตฺตโน - ตสฺมึ กาเล อุปฺปนฺนานิ ฯ มาคนฺทิยา ตาสํ กิญฺจิ - ติสฺโส คาถา อภาสิ ฯ มาคนฺทิยา ยมหํ กโรมิ - คติ โก อภิสมฺปราโยติ ฯ สนฺเตตฺถ ภิกฺขเว - ญาติคณํ ปกฺโกสาเปหีติ.
111
พ.ศ. ๒๕๓๙ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙/๒ ๒๕๕๙/๒ ๒๕๑๔ ๒๕๖๑/๑ ๒๕๔๕ ๒๕๑๘ ๒๕๑๒ ๒๕๔๘/๑ ๒๕๔๓ ๒๕๔๑ ๒๕๓๐ ๒๕๓๐ ๒๕๒๖ ๒๕๒๖ ๒๕๓๘ ๒๕๒๙ ๒๕๖๑/๒ ๒๕๒๙ ๒๕๑๗ ๒๕๕๑/๑ ๒๕๕๑/๒ ๒๕๔๙/๑ ๒๕๕๑/๒
ข้อ ภาค ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๑ ๓ ๑ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓
เรื่อง สามาวดี กุมฺภโฆสก กุมฺภโฆสก จูฬปันถกเถร จูฬปันถกเถร จูฬปันถกเถร จูฬปันถกเถร จูฬปันถกเถร จูฬปันถกเถร มหากัสสป อัญญตรภิกขุ อัญญตรภิกขุ อัญญตรภิกขุ จิตตหัตถ ปูติคัตติสสะ ปูติคัตติสสะ นันทโคปาลก นันทโคปาลก โสเรยยเถร โสเรยยเถร โสเรยยเถร โสเรยยเถร โสเรยยเถร มรีจิกัมมฐาน วิฑูฑภ วิฑูฑภ วิฑูฑภ วิฑูฑภ
หน้า ๖๑ ๖๖-๖๗ ๖๗-๖๘ ๗๘-๗๙ ๗๙ ๗๙ - ๘๐ ๘๑ -๘๒ ๘๒ ๘๔ - ๘๕ ๙๑ - ๙๒ ๑๑๑ - ๑๑๒ ๑๒๓ ๑๒๕ - ๑๒๖ ๑๓๕ ๑๔๖ - ๑๔๗ ๑๔๗ ๑๔๙ - ๑๕๐ ๑๕๐ - ๑๕๑ ๑๕๓ ๑๕๖ ๑๕๖ ๑๕๖ -๑๕๘ ๑๕๖ - ๑๕๘ ๓ - ๔ ๕ - ๖ ๖ - ๗ ๖ - ๗ ๗
เริ่ม - จบ เอวํ วุตฺเต ภิกฺขู สตฺถารํ - พุทฺธนฺตเร ปุพฺพกมฺมํ ฯ ราชคหนครสฺมึ หิ – ภตกวีถึ ปาปุณิ ฯ อถ นํ ภตกา ทิสฺวา – เอตํ าตุ วฏฺฏตีติ ฯ โส กิร กสฺสปสมฺมาสมฺพุทฺธกาเล - ปาโต ว วิพฺภมิตุ ปายาสิ ฯ สตฺถา ปจฺจูสกาเลเยว โลกํ – คนฺตฺวา ปญฺญตฺตาสเน นิสีทิ ฯ จูฬปนฺถโกปิ สุริยํ - วิคตรชสฺส สาสเน….ติ ฯ ชีวโกปิ โข โกมารภจฺโจ - ปุริเสน สทฺธึ อคมาสิ. สตฺถา ภตฺตกิจฺจปริโยสาเน - พลนฺนาม มหนฺตนฺติ. ตทา พาราณสีราชา - อตฺถิ ตํ อาเนหีติ ฯ สตฺถา เชตวเน นิสินฺนโกว - อกิจฺเฉน อเวกฺขตีติ ฯ โส วิเสเสตฺวา กมฺมฏฺฐานํ - กโรนฺโต คจฺฉตีติ อตฺโถ ฯ โส จินฺเตสิ อยํ อุปาสิกา - สตฺถุ สนฺติกํ อคมาสิ ฯ สตฺถา ตสฺส ภิกฺขุโน - นิพฺพานธาตุยา ปรินิพฺพายิ ฯ ตสฺมึ ขเณ ตสฺส ภริยา - ปฏิสมฺภิทาหิ อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ พุทฺธานญฺจ นาม - หุตฺวา มญฺจเก นิปชฺชิ ฯ สตฺถา ตสฺส อุสฺสีสเก - ปฐวิยํ เสสฺสตีติ ฯ สาวตฺถิยํ กิร - วนฺทิตฺวา นิวตฺติ ฯ อถ นํ เอโก ลุทฺธโก - สีสํ อุกฺขิปิตุ น เทตีติ ฯ ปุริสา หิ อิตฺถิโย อิตฺถิโย - อิตฺถีภาวํ ปฏิลภิ ฯ ปุริสลิงฺเค ปาตุภูตมตฺเตเยว -โสเรยฺยตฺเถโรติ นามํ อโหสิ ฯ ปุริสลิงฺเค ปาตุภูต - นามํ อโหสิ. ชนปทวาสิโน ตํ - อิมํ คาถมาห. ชนปทวาสิโน ตํ ปวตฺตึ - เสยฺยโส นํ ตโต กเรติ ฯ สตฺถา คนฺธกุฏิยํ - มหานิพฺพานํ คจฺเฉยฺยาติ ฯ ตตฺรายํ อนุปุพฺพีกถา - ตตฺเถว วาสํ กปฺเปสิ ฯ อเถกทิวสํ ราชา - อานนฺทตฺเถรสฺส ภารมกาสิ ฯ อเถกทิวสํ ราชา - อานนฺทตฺเถรสฺส ภารมกาสิ ฯ ราชา ภิกฺขุสงฺเฆ - มหาปุญฺญา อภินีหารสมฺปนฺนา ฯ
112
พ.ศ. ๒๕๕๑/๑ ๒๕๕๕/๒ ๒๕๕๕/๒ ๒๕๔๙/๒ ๒๕๔๒ ๒๕๒๑ ๒๕๒๑ ๒๕๓๓ ๒๕๕๕/๑ ๒๕๕๕/๑ ๒๕๔๘/๒ ๒๕๔๓ ๒๕๔๔ ๒๕๔๒ ๒๕๕๐/๑ ๒๕๒๗ ๒๕๑๓ ๒๕๑๒ ๒๕๑๙ ๒๕๒๓ ๒๕๒๓ ๒๕๒๗ ๒๕๑๔ ๒๕๓๑ ๒๕๓๑ ๒๕๔๖ ๒๕๔๐ ๒๕๑๘
ข้อ ภาค ๒ ๓ ๑ ๓ ๒ ๓ ๑ ๓ ๑ ๓ ๑ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๑ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๑ ๓ ๑ ๓ ๑ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๑ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๑ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๒ ๔ ๑ ๔
เรื่อง วิฑูฑภ วิฑูฑภ วิฑูฑภ วิฑูฑภ วิฑูฑภ วิฑูฑภ วิฑูฑภ ปาฏิกาชีวก ฉัตตปาณิ ฉัตตปาณิ วิสาขา วิสาขา วิสาขา วิสาขา วิสาขา มหากัสสปะ ครหทิน ครหทิน อัญญตรปุริส อานนทเสฏฐี อานนทเสฏฐี สุมนมาลาการ ชมพุกาชีวก สุธัมมะ สุธัมมะ วนวาสิติสสะ ราธเถระ ราธเถระ
หน้า ๗ - ๘ ๘ – ๙ ๑๑ – ๒๒ ๒๐ - ๒๑ ๒๑ - ๒๒ ๒๓ - ๒๔ ๒๔ - ๒๕ ๓๙ - ๔๐ ๔๑ – ๔๒ ๔๒ – ๔๓ ๔๕ - ๔๖ ๔๘ - ๔๙ ๕๗ - ๕๘ ๖๑ ๗๐ - ๗๑ ๘๑ - ๘๒ ๙๑ - ๙๒ ๙๘ - ๙๙ ๑๐๙ - ๑๑๐ ๑๒๑ - ๑๒๒ ๑๒๒ - ๑๒๓ ๑๓๔ - ๑๓๖ ๑๕๒ - ๑๕๓ ๑๖๕ - ๑๖๖ ๑๖๖ - ๑๖๗ ๑๘๖ - ๑๘๗ ๑ - ๒ ๒ - ๓
เริ่ม - จบ อานนฺทตฺเถโรปิ - ภิกฺขู อามนฺเตตฺวา อิมํ สุตฺตมาห ฯ สตฺถา ภิกฺขูนํ โทสํ อวตฺวา - ปุฏฺโฐ อตีตํ อาหริ ฯ ราชา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ - อาเนยฺยาถาติ เปเสสิ ฯ วิฑูฑโภปิ รชฺชํ - มหนฺเตน พเลน นิกฺขมิ ฯ สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ปน - จ ชีวิตํ ลภึสุ ฯ วิฑูฑโภปิ มยฺหํ - นทิยํ วิสํ ปกฺขิปึสูติ ฯ สตฺถา อาคนฺตฺวา - นิมุชฺชาเปตีติ ฯ พุทฺธานญฺจ มคฺคเทสเกน - วฏฺฏตีติ วตฺวา (อาห) ฯ สาวตฺถิยํ หิ ฉตฺตปาณิ - วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ ฯ สตฺถา กุปิตภาวํ ญตฺวา - ครุกาเนตฺถ เทวาติ. สา กิร องฺครฎฺเฐ - ทสพลสฺส ปจฺจุคฺคมนํ กโรหีติ ฯ มหาปุญฺญาย หิ อิตฺถิยา - อิทํ วยกลฺยาณํ นาม ฯ อถ เสฺว มม ธีตา - กิญฺจิ อเสเสตฺวา นิกฺขมึสุ ฯ เสฏฺฐี กลฺยาณํ เอสา - กึ โทสํ ปสฺสตีติ ฯ อเถกทิวสํ สตฺถา - จินฺเตตฺวา เถรสฺส ปตฺตํ คณฺหิ ฯ ตสฺมึ ขเณ สกฺโก - สามีติ ปฏิวจนํ อทาสิ ฯ โส ตสฺมึ ทฺวินฺนํ - อสุจินา มกฺขยึสูติ ฯ สตฺถา อนุโมทนํ กโรนฺโต - วิโรจติ โสภตีติ ฯ โสปิ ปุริโส ตตฺเถว - อสกฺโกนฺตานํ อติทีโฆเยวาติ ฯ สา ตํ กิจฺเฉน โปสยมานา - มหาชนกาโย สนฺนิปติ ฯ สตฺถา มูลสิรึ อามนฺเตตฺวา - สุขํ อุปฺปาทยึสูติ ฯ อถ มาลากาโร - นิกฺขมนฺโต นาม นตฺถิ ฯ สตฺถา มหาชนสฺส - ตปจรณโต มหนฺตตรนฺติ ฯ สตฺถา ตยา อุปาสโก - อิจฺฉา มาโน จ วฑฺฒตีติ ฯ ตตฺถ อสนฺตนฺติ - นววิธมาโน จ วฑฺฒตีติ ฯ อานนฺทตฺเถโร กิร – การุญฺญตโร ฯ อเถกทิวสํ สตฺถา - กติปาเหเนว อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ อถ นํ สตฺถา ปฏิสนฺถารํ - วิตฺถาเรตฺวา กเถสิ ฯ
113
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๕๗/๑ ๒๕๕๗/๑ ๒๕๕๐/๑ ๒๕๖๐ ๒๕๖๐ ๒๕๕๗/๒ ๒๕๕๗/๒ ๒๕๓๕ ๒๕๒๒ ๒๕๔๘/๑ ๒๕๖๐/๒ ๒๕๖๐/๒ ๒๕๔๙/๒ ๒๕๔๕ ๒๕๑๖ ๒๕๓๗ ๒๕๑๓ ๒๕๔๑ ๒๕๓๔ ๒๕๑๙ ๒๕๒๒ ๒๕๒๕ ๒๕๑๑ ๒๕๒๘ ๒๕๒๔ ๒๕๓๒ ๒๕๑๕ ๒๕๓๖
๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
หน้า
ราธเถระ ๑ - ๒ ราธเถระ ๒ - ๓ มหากัปปินะ ๑๑ มหากัปปินะ ๙-๑๐ มหากัปปินะ ๑๐ มหากัปปินะ ๑๙ – ๒๐ มหากัปปินะ ๒๐ ปัณฑิตสามเณร ๒๑ - ๒๒ ปัณฑิตสามเณร ๒๔ - ๒๕ ปัณฑิตสามเณร ๒๖ - ๒๗ ปัณฑิตสามเณร ๓๕-๓๖ ปัณฑิตสามเณร ๓๖ ธัมมิก ๔๗ - ๔๘ มหากัสสปะ ๕๕ - ๕๖ เพฬัฏฐสีสะ ๕๙ - ๖๐ อนุรุทธ ๖๑ สารีปุตตัตเถร ๖๗ - ๖๘ ขทิรวนิยิยเรวัต ๗๘ - ๗๙ ทารุจีริย ๙๖ - ๙๗ กุณฑลเกสี ๑๐๒ อนัตถปุจฉก ๑๐๗ - ๑๐๘ สารีปุตต ๑๑๑ - ๑๑๓ อายุวัฑฒนกุมาร ๑๑๔ - ๑๑๕ อายุวัฑฒนกุมาร ๑๑๔ - ๑๑๕ อายุวัฑฒนกุมาร ๑๑๖ สังกิจจสามเณร ๑๑๗ - ๑๑๙ ปฏาจาร ๑๔๐ - ๑๔๒ พหุปุตติกา ๑๔๘ - ๑๔๙
เริ่ม - จบ โส (ราโธ) กิร คิหิกาเล - ตํ พฺราหฺมณํ ปพฺพาเชสิ ฯ ตสฺส ภตฺตคฺเค อาสนปริยนฺเต -วิตฺถาเรตฺวา กเถสิ ฯ(ตัดถาถา) อเถกทิวสํ วิหาเร - จีวรานิ สชฺชยึสุ ฯ อตีเต กิรายสฺมา – ปจฺเจกพุทฺธา อธิวาสยึสุ ฯ สา คามํ ปวิสิตฺวา - กตฺวา ปกฺกมึสุ ฯ สตฺถา ตสฺสา อาคมนภาวํ – เอกจฺเจ วทนฺติ ฯ สตฺถา ปน ตา อุปสิกาโย – อุทานํ อุทาเนตีติ ฯ อตีเต กิร - คณฺหถาติ. สตฺถา อธิวาเสสิ ฯ ตํ สุตฺวา เสฏฺฐี - นว ตณฺฑุลนาฬิโย อเหสุํ ฯ ตํ ทิวสํ ปน สตฺถา -ภติยา กตฺตพฺพนฺติ ปุจฺฉิ ฯ อถสฺส เตเชน – ปูเรตฺวา อทํสุ ฯ เถโร หรณาการํ ทสฺเสสิ – เถโร วิสฺสชฺเชสิ ฯ สาวตฺถิยํ หิ เอโก อุปาสโก น - จิรสฺเสว อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ เอกสฺมึ หิ สมเย สตฺถา - ปริสาย สทฺธึ นิวตฺตสฺสูติ ฯ สตฺถา เอตสฺมึ นิทาเน - น สกฺกา ปญฺญาเปตุนฺติ ฯ เอกสฺมึ หิ ทิวเส เถโร - ตํ สตฺถา สูจิปาสเก อาวุณิ ฯ สตฺถา ตํ กถํ สุตฺวา - สํสารา นาม น โหนฺตีติ ฯ ตตฺถ ปน เทฺว - นิวาสนฏฺฐานสทิสํ อุปาสิเกติ ฯ โส เอวํ วตฺวา ตรมานรูโป - น ปริปุณฺณนฺติ อาห ฯ อถ นํ สา ติกฺขตฺตุ ตตฺถ - ตตฺถ วิจกฺขณาติ ฯ โส กิร พฺราหฺมโณ - เนว สกฺกุเณยฺยาติ ฯ ตมฺปิ หิ เถโร - อภิวาทนเมว เสยฺโยติ ฯ สตฺถา ทีฆายุโก โหหีติ - สตฺถุ สนฺติกํ อคมาสิ ฯ สตฺถา ทีฆายุโก โหหีติ - ปริวุโต วิจรติ ฯ (สตฺถา) อิมํ คาถมาห - วฑฺฒนํ นาม นตฺถีติ ฯ สา ตสฺมึ กุจฺฉิคเต - อยํ สงฺกิจฺจสามเณโร นาม ฯ สตฺถา ตสฺสา วจนํ สุตฺวา - มรนฺติเยวาติ จินฺเตสิ ฯ อถ นํ กติปาหจฺจเยน - เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห ฯ
114
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๑ วิชาแปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.๓ “ธรรมบท ภาค ๕ - ๘ เรียงหน้า” รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ.๗
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๕๑/๒ ๒๕๕๑/๒ ๒๕๕๔/๒ ๒๕๔๕ ๒๕๕๔ ๒๕๓๘ ๒๕๕๐/๑ ๒๕๕๔ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๔๙/๒ ๒๕๓๕ ๒๕๔๘/๑ ๒๕๕๗/๒ ๒๕๔๐ ๒๕๔๙/๒ ๒๕๕๗/๒ ๒๕๓๒ ๒๕๕๕/๒ ๒๕๔๐ ๒๕๕๕/๒ ๒๕๓๗
๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๑
๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖
หน้า
จูเฬกสาฎก ๑ - ๒ จูเฬกสาฎก ๒-๓ จูเฬกสาฎก ๓ – ๔ จูเฬกสาฎก ๓ - ๔ อนาถปิณฑิกะ ๙ – ๑๐ อนาถปิณฑิกะ ๑๒ - ๑๓ อนาถปิณฑิกะ ๑๒ - ๑๔ พิฬาลปทกะ ๑๘ สุปปพุทธะ ๔๒ สุปปพุทธะ ๔๒ – ๔๓ ฉัพพัคคีย์ ๔๔ - ๔๕ โมคคัลลานะ ๖๓ - ๖๔ ปิโลติกเถระ ๗๗ - ๗๘ อธิมานิกภิกขุ ๑๐๑ ปฐมโพธิ ๑๑๕ - ๑๑๖ มหาธนเศรษฐีบุตร ๑๑๘ มหาธนเศรษฐีบุตร ๑๑๘ -๑๑๙ โพธิราชกุมาร ๓ มหากาลอุบาสก ๑๖ - ๑๗ มหากาลอุบาสก ๑๖ - ๑๗ มหากาลอุบาสก ๑๗ – ๑๘ เทวทัตต ๑๙ - ๒๐
เริ่ม - จบ วิปสฺสิทสพลสฺส กาลสฺมึ - เมติ ติกฺขตฺตุ ํ มหาสทฺทมกาสิ ฯ ราชา ปเสนทิโกสโล - เต ตถา กรึสุ ฯ ราชา สตสหสฺสคฺฆนเก - กลฺยาณกมฺมํ กาตพฺพนฺติ อาห ฯ ภิกฺขู ธมฺมสภายํ - ปาปนินฺนเมว โหตีติ ฯ อนาถปิณฺฑิโก หิ วิหารเมว - เวลามสุตฺตมสฺส กเถสิ ฯ สา สาธุ เทวาติ - ภทฺรานิ ปสฺสตีติ ฯ สตฺถา กลฺยาณปาปกานํ - ภทฺรานิเยว ปสฺสตีติ ฯ ตํ สุตฺวา เสฏฺฐี จินฺเตสิ - โถกํปิ อาจินนฺติ ฯ โส กิร อยํ มม ธีตรํ - ยถาสุตํ อาโรเจสิ ฯ โส ตสฺส วจนํ สุตฺวา - นปฺปสเหยฺย มจฺจูติ ฯ สตฺถา เตสํ - หนาเปยฺยาติ อตฺโถ ฯ โย ทณฺเฑณ อทณฺเฑสุ - อุปฺปชฺชตีติ วุตฺตํ ฯ ตํ สุตฺวา สตฺถา - ทุลฺลโภติ อตฺโถ ฯ ปญฺจสตา กิร ภิกฺขู – ตานิ ทิสฺวาน กา รตีติ ฯ (คาถา) อเนกชาติสํสารนฺติ - อนุวิจรินฺติ อตฺโถ ฯ อถสฺส น จิรสฺเสว - ภุญฺชิตุํ อารภิ ฯ โส สเตนปิ สตทฺวเยนปิ – วิย ชาโตติ (อาห) ฯ สตฺถา อปฺปวิสิตฺวา ว - อตีตํ อาหริตฺวา ทสฺเสสิ ฯ สตฺถา อาม ภิกฺขเว - ยานกํ โยเชตฺวา ปายาสิ ฯ อตีเต กิร - เอกํ มณิรตนํ อตฺถิ ฯ อถสฺส ยานกํ เสเธนฺตา - อภิมตฺถติ วิทฺธํเสตีติ ฯ สตฺถา อาคนฺตฺวา กาย - นามาติ อตฺโถ ฯ
115
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๖๑ ๒๕๖๑ ๒๕๔๙/๑ ๒๕๕๐/๒ ๒๕๔๘/๒ ๒๕๕๐/๒ ๒๕๔๒ ๒๕๔๗ ๒๕๓๘ ๒๕๕๑/๑ ๒๕๕๐/๑ ๒๕๕๑/๑ ๒๕๔๕ ๒๕๓๓ ๒๕๕๒/๑ ๒๕๔๗ ๒๕๕๒/๑ ๒๕๓๙ ๒๕๔๒ ๒๕๔๓ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๖๑/๒ ๒๕๖๑/๒ ๒๕๓๐ ๒๕๓๐ ๒๕๓๔ ๒๕๕๙
๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑
๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๗ ๗
หน้า
สังฆเภทปริสักกน ๒๐ – ๒๑ กาลเถร ๒๒ – ๒๓ กาลเถร ๒๒ - ๒๓ เปสการธีตุ ๔๐ - ๔๑ เปสการธีตุ ๔๓ เปสการธีตุ ๔๓ - ๔๔ จิญฺจมาณวิกา ๔๖ - ๔๗ อสทิสทาน ๕๒ - ๕๓ ยมกปาฏิหาร ๗๖ ยมกปาฏิหาร ๗๔ - ๗๕ ยมกปาฏิหาร ๘๐ - ๘๑ ยมกปาฏิหาร ๘๑ - ๘๒ ยมกปาฏิหาร ๘๒ - ๘๓ ยมกปาฏิหาร ๙๑ - ๙๒ อัตตโนบุพพกรรม ๙๓ - ๙๔ เอรกปัตตะ ๙๘ - ๙๙ วัชชีปุตตกภิกษุ ๑๐๗ - ๑๐๘ ปัญจสตะ ๑๕๒ นันทิยะ ๑๕๗ - ๑๕๘ อุตตราอุปาสิกา ๑๖๖ - ๑๖๗ อุตตราอุปาสิกา ๑๖๘ -๑๖๙ อุตตราอุปาสิกา ๑๗๒ –๑๗๓ ภิกขูหิ ปุฏฐปัญห ๑๗๗ -๑๗๘ อตุลอุบาสก ๑๘๕ – ๑๘๖ อตุลอุบาสก ๑๘๖ อตุลอุบาสก ๑๘๖ - ๑๘๗ โลฬุทายีเถระ ๑๔ อัญญตรกุลปุตต ๑๕ – ๑๖
เริ่ม - จบ เอกทิวสํ หิ เทวทตฺโต - ปจฺฉามุขกรณํ วิย อติทุกฺกรนฺติ. โส ตํ สุตฺวา ว กุจฺฉิยํ - อตฺตโน ฆาตาย ผลฺลตีติ. สา เอกทิวสํ ยาโตว - ฆาตาย พลฺลตีติ ฯ ปิตา ปนสฺสา - ตํ สตฺถา อาห ฯ อถสฺสา สตฺถา มยา - ปาปุณาตีติ อตฺโถ ฯ สาปิ ตสรปจฺฉึ - อาหตฺตํ ปาปุณีติ ฯ ปฐมโพธิยํ หิ - สตฺถารํ นาเสหีติ ฯ อถ นํ มลฺลิกา - สพฺพํ กาเรสิ ฯ อถ นํ ฆรณี นาม - เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ ฯ ราชา เอวรูโป - สตฺถา อากาเส รตนจงฺกมํ มาเปสิ ฯ กตมํ ตถาคตสฺส - ยมกปฺปาฏิหาริเย ญาณนฺติ ฯ ตสฺมึ ขเณ มหาชโน - ปาณโกฏีนํ ธมฺมาภิสมโย อโหสิ ฯ สตฺถา ปาฏิหาริยํ - ปฏิจฺฉาทยมานํ ขิปิ ฯ สพฺพพุทฺธานํ กิร อวิชหิตเมว - อุปธาเรถาติ อาหํสุ ฯ โส เอเกกสฺส - เอกวสฺสํ วิย จ ชาตนฺติฯ อถ นํ สตฺถา - อติวิย ทุลฺลโภติ ฯ ทุปฺปพฺพชฺชํ ทุรภิรมนฺติ - ปีฬีโต เอวมาห ฯ ทารกา มหากสฺสปตฺเถรํ - โหติเยวาติ อตฺโถ ฯ จิรปฺปวาสึ ปุริสํ - เสสญาตกา วิยาติ อตฺโถ ฯ ปุณฺโณ เถรํ ทิสฺวา - ภตฺตกิจจํ อกาสิ ฯ อถสฺส ปาโตว กสิตฏฺฐานํ - สุวณฺณเมว อโหสิ ฯ สา อุตฺตราย อาฆาตํ - ขมนฺเต ขมิสฺสามีติ ฯ ภควโต กิร ภิกฺขุสงฺฆปริวุตสฺส - อนาคามิผลํ ปาปุณึสุ อถ เน สตฺถา อาห - อิมา คาถา อภาสิ สตฺถา ตสฺส กถํ - พฺรหฺมุนาปิ ปสํสิโตติ ฯ ตตฺถ โปราณเมตนฺติ - ปสํสิโตเยวาติ อตฺโถ ฯ อสชฺฌสยมาลา มนฺตา - มลฏฺฐานิยตฺตา มลนฺติ อตฺโถ ฯ อถ นํ สตฺถา – นิมฺมลา โหถาติ อตฺโถ ฯ
116
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๕๙ ๒๕๕๙/๒ ๒๕๕๙/๒ ๒๕๓๓ ๒๕๓๙ ๒๕๔๘/๑ ๒๕๔๖ ๒๕๔๓ ๒๕๔๔ ๒๕๓๗ ๒๕๓๒ ๒๕๕๒/๒ ๒๕๓๖ ๒๕๓๔ ๒๕๕๒/๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๓ ๒๕๓๑ ๒๕๓๑ ๒๕๒๙ ๒๕๒๙ ๒๕๔๙/๒ ๒๕๔๑ ๒๕๕๘/๒ ๒๕๕๘/๒ ๒๕๖๐/๒ ๒๕๖๐/๒ ๒๕๖๐
๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑
๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘
จูฬสาริภิกขุ จูฬสาริภิกขุ จูฬสาริภิกขุ จูฬสารีภิกษุ เมณฑกะ เมณฑกะ เมณฑกะ วินิจฉัย สัทธิวิหาริกฯ อัตตโน อัตตโน อัตตโน อัตตโน อัตตโน อัตตโน ทุพพจภิกขุ อิสสาปกตอิตถี อัตตโน อัตตโน ปริชิณณะ ปริชิณณะ สาณุสามเณร มาร วัตถุ วิพภันตกภิกษุ พันธนาคาร อุคคเสน อุคคเสน มาร วัตถุ
หน้า
เริ่ม - จบ
๑๗ โส กิร เอกทิวสํ – สุเขน ชีวิตุ สกฺกา ฯ ๑๗-๑๘ กากสูเรนาติ สูรกากสทิเสน – อหิริเกน สุชีวนฺติ อตฺโถ ฯ ๑๘-๑๙ ธิสินาติ อสุกตฺเถโร นาม – ปาปชีวิตเมวาติ อตฺโถ ฯ ๑๗ - ๑๘ สตฺถา ภิกฺขเว อหิริโก - อหิริเกน สุชีวนฺติ อตฺโถ ฯ ๓๐ เอวํ วิปสฺสิพุทฺธกาเล - ตตฺเถว ชีวถาติ ฯ ๓๑ - ๓๒ ตสฺมึ ขเณ - ปตฺเต โอกิริ ฯ ๓๖ - ๓๗ เอวํ มหานุภาโว - วชฺชํ ฉาเทตีติ อตฺโถ ฯ ๔๑ -๔๒ สตฺถา น ภิกฺขเว - น โหตีติ อตฺโถ ฯ ๗๗ - ๗๘ อถ นํ สตฺถา - อุปจารชฺฌานํ อุปฺปชฺชิ ฯ ๘๗ เอกสฺมึ หิ สมเย - ภยํ น อุปฺปชฺชตีติ ฯ ๙๑ – ๙๒ เตน ยงฺกิญฺจีติ วุตฺตมตฺเตเยว - สตฺถารํ ยาจึสุ ฯ ๙๒ - ๙๓ คงฺคาย นิพฺพตฺตา - อุทิกฺขมาโน อฏฺฐาสิ ฯ ๙๒ - ๙๓ มยํ กึ นุ กโรมาติ - นิมฺมิตพุทฺธํ มาเปสิ ฯ ๙๖ - ๙๗ สตฺถา อิทํ อตีตํ - ตํ มตฺตาสุขํ จเชยฺยาติ ฯ ๙๖ - ๙๗ สตฺถา อิทํ อตีตํ - สมฺปสฺสํ วิปุลํ สุขนฺติ ฯ ๑๒๗ - ๑๒๘ เอโก กิร ภิกฺขุ - น มหปฺผลํ โหตีติ อตฺโถ ฯ ๑๒๙ - ๑๓๐ สา อิสฺสาปกตา ตํ ทาสึ - กตฺวา นานุตปฺปตีติ ฯ ๑๓๖ - ๑๓๗ วตฺถุ อปฺปมาทวคฺคสฺส - อิมา คาถา อภาสิ ฯ ๑๓๗ - ๑๓๘ อหํ นาโคว สงฺคาเม - อุตฺตริตโรติ อตฺโถ ฯ ๑๔๑ โสปิ นสฺส วสลีติ - ภควา เตนุปสงฺกมีติ ฯ ๑๔๑ - ๑๔๒ สตฺถา เอกมนฺตํ นิสินฺเนน - ฆาเตสฺสามิ โวติ ฯ ๑๔๙ - ๑๕๐ อถ โส สามเณโร - ภูมิยํ วิปฺผนฺทิ ฯ ๑๕๙ - ๑๖๐ อถ นํ สตฺถา - อิมา คาถา อภาสิ ฯ ๑๔ – ๑๕ เถโร ปิณฺฑาย – ฆราวาสพนฺธนเมว ธารตีติ ฯ ๑๖ – ๑๗ เอกสฺมึ กิร กาเล – ปพฺพชึสูติ อาห ฯ ๒๖-๒๗ เทสนาวยสเน จตุราสีติยา – อตีตํ อาหริ ฯ ๒๗-๒๘ อตีเต กิร กสฺสปทสพลสฺส – อรหตฺเต ปติฏฐตีติ ฯ ๓๓-๓๔ เอกทิวสํ หิ วิกาเล – (มหาปุริโส) ติ วุจฺจตีติ ฯ
117
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๖๐ ๒๕๔๔ ๒๕๓๖ ๒๕๔๑ ๒๕๕๘ ๒๕๕๘ ๒๕๔๖ ๒๕๔๘/๒ ๒๕๔๙/๑ ๒๕๕๖ ๒๕๓๕ ๒๕๕๖/๒ ๒๕๕๖/๒ ๒๕๕๖
๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑
๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘
อปุตตกเสฏฐี สักกเทวราช ธัมมาราม ปัญจทายก ปัญจทายก ปัญจทายก สันตกายเถระ นังคลกูฏเถระ ปเสนทิโกศล ปิลินทวัจฉะ สิวลี โชติกะ โชติกะ ธัมมทินนาเถรี
หน้า ๔๒-๔๓ ๔๐ - ๔๑ ๕๙ - ๖๐ ๖๓ - ๖๔ ๖๓ – ๖๕ ๖๕ ๗๘ - ๗๙ ๘๐-๘๘ ๑๐๕ - ๑๐๖ ๑๔๑ ๑๕๑ - ๑๕๒ ๑๘๐ – ๑๘๑ ๑๘๑ ๑๘๗–๑๘๙
เริ่ม - จบ ตสฺส กิร กาลกิริยํ – ปูเรตฺวา อทาสิ ฯ สพฺพทานํ ธมฺมทานํ - ธมฺมทานเมว เสฏฺฐํ ฯ ภิกฺขุ ตถาคตสฺส - อาวชฺชนฺโตติ อตฺโถ ฯ สตฺถา ตสฺส จ - อทสฺเสตฺวา น ปกฺกมนฺติ ฯ สา เอวมยํ สมณํ – มุนิ เวทยนฺตีติ (คาถาฯ) พฺราหฺมโณ ตํ สุตฺวา ว – ภิกฺขูติ วุจฺจตีติ ฯ ตสฺส กิร หตฺถปาทกุกฺกุจฺจนฺนาม - วุจฺจตีติฯ โส พุทฺธานํ - ภทฺรํว วาณิโชติ ฯ ปเสนฺทิโกสโล กิร - จบคาถา ฯ โส กิรายสฺมา เอหิ - ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณนฺติ ฯ เอกสฺมึ หิ สมเย - ปพฺพชิโต อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ อชาตสตฺตุกุมาโรปิ - มุทฺทิกํปิ กฑฺฒิตํ นาสกฺขิ ฯ อถ นํ เสฏฺฐี - ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณนฺติ ฯ สา ลทฺธุปสมฺปทา - พฺราหฺมณํ วทามีติ อตฺโถ ฯ
118
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๑ ประโยค ป.ธ. ๓ วิชา สัมพันธ์ไทย รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ.๗
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๔๑ ๒๕๕๐/๒ ๒๕๓๗ ๒๕๓๐ ๒๕๓๙ ๒๕๔๔ ๒๕๖๑/๒ ๒๕๕๑/๒ ๒๕๕๘/๒ ๒๕๓๖ ๒๕๔๙/๑ ๒๕๕๘ ๒๕๕๓/๒ ๒๕๕๓/๑ ๒๕๖๑ ๒๕๔๙/๒ ๒๕๔๘/๑ ๒๕๔๐ ๒๕๔๕ ๒๕๕๐/๑ ๒๕๕๒/๑ ๒๕๕๕/๒
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗
อนาถปิณฑิกะ พิฬาลปทกะ มหาโมคคัลลานะ มัลลิกาเทวี โลฬุทายี โลฬุทายี โพธิราชกุมาร โพธิราชกุมาร โพธิราชกุมาร โพธิราชกุมาร มารธีตา ยมกปาฏิหาร อัญญตร นันทิยะ นันทิยะ โคฆาตกปุตตะ โคฆาตกปุตตะ ติสสเถระ จูฬสาริภิกขุ วินิจฉัย อปุตตกะเสฏฐี เอกุทานเถระ
หน้า ๑๓ - ๑๔ ๑๘ ๖๓ - ๖๔ ๑๑๐ - ๑๑๑ ๑๑๓ - ๑๑๔ ๑๑๔ ๑ – ๒ ๓ ๓ ๔ - ๕ ๖๕ - ๖๖ ๙๒ – ๙๓ ๑๒๘-๑๒๘ ๑๕๖-๑๕๗ ๑๕๖ -๑๕๗ ๓ - ๔ ๕ - ๖ ๑๐ ๑๗ - ๑๘ ๔๑ - ๔๒ ๔๓ - ๔๔ ๔๔ – ๔๕
เริ่ม - จบ ปาโปปิ ปสฺสตี - ภทฺรานิเยว ปสฺสตีติ ฯ ตํ สุตฺวา เสฏฺฐี - โถกํปิ อาจินนฺติ ฯ โย ทณฺเฑน - ญาตีนํ ปริกฺขยํ วา ฯ อถ นํ สตฺถา - สทฺธึ กเถนฺตีติ อตฺโถ ฯ โส สํวจฺฉรมตฺเตน - น วฑฺฒตีติ ฯ อปฺปสฺสุตายํ ปุริโส - หุตฺวา วิจรติ ฯ โส (โพธิราชกุมาโร) ตมตฺถํ - สาธูติ ปฏิสฺสุณิ. สตฺถา อปฺปวิสิตฺวาว - สตฺถา อตีตํ อาหริตฺวา ทสฺเสสิ ฯ สตฺถา อปฺปวิสิตฺวา ว – อาหริตฺวา ทสฺเสสิ ฯ อตฺตานญฺเจ - นํ กโรติ ฯ เริ่มคาถา - จบแก้อรรถ สตฺถา สารีปุตฺโต – อาโรเปตํุ สมตฺโถติ ฯ โส สตฺถารา วุตฺตฏฺฐาเนเยว - วตฺวา อิมํ คาถมาห ฯ อถสฺส เต เทวปุตฺตา - เทวตา อภินนฺทนฺตีติ อาห ฯ อจฺฉราสงฺโฆปิ นํ ทิสฺวา - เทวตา อภินนฺทนฺตีติ อาห. (วตฺวา) ปณฺฑุปลาโสว ทานิสิ - ปาปุณิสฺสสีติ อตฺโถ ฯ อุปนีตวโยว ทานิสิ - คหิตาเนว โหนฺติ ฯ สาปิ สตฺตเม ทิวเส - อิมํ คาถมาห ฯ สุชีวํ อหิริเกน - คามาภิมุโข ว โหติ ฯ น เตน โหติ - ปวุจฺจตีติ อตฺโถ ฯ เตน วุตฺตํ ยํ - หนฺติ อญฺเญว อตฺตานนฺติฯ เตสุ เอโก เตปิฏกตฺเถโร - โย ธมฺมํ นปฺปมชฺชตีติ.
119
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๕๕ ๒๕๕๑/๑ ๒๕๕๗/๒ ๒๕๕๗ ๒๕๔๒ ๒๕๔๗ ๒๕๓๘ ๒๕๓๔ ๒๕๔๘/๒ ๒๕๖๐ ๒๕๓๕ ๒๕๖๐/๒ ๒๕๒๙ ๒๕๔๓ ๒๕๕๙/๒ ๒๕๕๙ ๒๕๕๔/๒ ๒๕๓๑ ๒๕๕๖/๒ ๒๕๕๒/๒ ๒๕๕๔ ๒๕๓๒ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๓๓
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘
สมพหุลภิกขุ สมฺพหุลภิกขุ โปฐิลัตเถระ สารีปุตตเถระ ภัททิยภิกขุ วัชชีปุตตกะ จูฬสุภัททา ทุพพจภิกษุ สุนทรีปริพพาชิกา ทุกขปีฬิสัตต อาคันตุกะ อัตตโน อัตตโน นิคคัณหะ สานุสามเณร สานุสามเณร กปิลมัจฉะ อุคคเสนเศรษฐี อปุตตกเศรษฐี อังกุรเทวบุตร ปัญจภิกขุ สามเณร มหาปันถกเถระ สีวลีเถระ โชติกเถระ
หน้า ๔๗– ๔๘ ๕๕ - ๕๖ ๗๒ – ๗๓ ๗๗ – ๗๘ ๑๐๐ - ๑๐๑ ๑๐๙ - ๑๑๐ ๑๑๕ - ๑๑๖ ๑๒๗-๑๒๘ ๑๒๑-๑๒๒ ๑๒๓ ๑๓๑ - ๑๓๒ ๑๓๖-๑๓๗ ๑๓๗-๑๓๘ ๑๓๒ ๑๔๙ - ๑๕๐ ๑๕๓ ๑ - ๒ ๒๕ – ๑๖ ๔๒ ๔๕ - ๔๖ ๔๘ - ๔๙ ๑๓๘-๑๓๙ ๑๔๐ ๑๕๑ - ๑๕๒ ๑๗๒-๑๗๓
เริ่ม - จบ เอกสฺมึ หิ สมเย - สาธุรูโปติ วุจฺจตีติ ฯ เต สพฺเพปิ เอกทิวสํ - เอวํ อปฺปวตฺตโกปิ ภโว ทุกฺโขติ ฯ โส นีหตมาโน สามเณรสฺส - ปทีปุชฺชลนํ วิย อโหสิ ฯ เถโรปิ สการณํ สอุปมํ - กมฺมฏฺฐานสปฺปายนฺติ จินฺเตสิ ฯ ยํ หิ กิจฺจํ - อภาวํ คจฺฉนฺตีติ อตฺโถ ฯ ทุรภิรมํ ทุราวาสา - น ภเวยฺยาติ อตฺโถ ฯ ตสฺมึ ขเณ - ปกาเสนฺตีติ อตฺโถ ฯ กุโส ยถา ทุคฺคหิโต - มหปฺผลํ โหตีติ อตฺโถ ฯ ราชา เตนหิ - สมา ภวนฺตีติ อตฺโถฯ อายสฺมา หิ มหาโมคฺคลฺลาโน – ปจฺจนฺตีติ อตฺโถ ฯ นครํ ยถา - โสจนฺตีติ อตฺโถ ฯ วตฺถุ อปฺปมาทวคฺคสฺส – สพฺเพ อกฺโกสนฺตีติ ฯ (สตฺถา) อหํ อานนฺท สงฺคามํ - อชฺฌุเปกฺขนํ เม ภาโร ฯ อลชฺชิตาเย - ทุคฺคตึ คจฺฉนฺตีติ อตฺโถ ฯ โส อุกฺกณฺฐิตภาวํ – อาลิงฺคิตฺตฺวา อุรูสุ นิปชฺชาเปสิ ฯ อถสฺส อจิรุปสมฺปนฺนสฺส – วิติกฺกมิตุ ทสฺสามีติ ฯ ตสฺส ปริยตฺตึ นิสฺสาย - ภิกฺขู ฉฑฺฑยึสุ ฯ เถโร คนฺตฺวา วํสสฺส - น อุปคจฺฉสีติ อตฺโถ ฯ ตสฺส กิร กาลกิริยํ - ตสฺส ปุพฺพกมฺมํ กเถสิ ฯ ติณโทสานิ เขตฺตานีติ - เทเสนฺโต อิมา คาถา อภาสิฯ เตสุ กิร เอเกโก อิมํ คาถํ ทสฺเสสิ ฯ (ทสฺเสตฺวา) ตสฺมึ ขเณ สกฺโก - ตุมฺเห น กุชฺฌิตฺถาติ ฯ โส หิ อายสฺมา - ตมหํ พฺราหฺมณํ วทามีติ อตฺโถ ฯ เอกสฺมึ หิ สมเย - ทุกฺขํ นิตฺถินฺนนฺติ ฯ เหฏฺฐาคงฺคาย จ เทฺว - ปพฺพาเชถ นนฺติ อทาสิ ฯ
120
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๑ ประโยค ป.ธ. ๔ วิชา แปลมคธเป็นไทย “มงฺคลตฺถทีปนี ภาค ๑ เรียงหน้า”
รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ. ๗
พ.ศ. ข้อ
เรื่อง
๒๕๔๔ ๑ ๒๕๕๑/๒ ๑ ๒๕๕๔/๒ ๑ ๒๕๔๙/๒ ๑ ๒๕๕๐/๒ ๑ ๒๕๕๑/๒ ๒ ๒๕๔๐ ๑ ๒๕๔๐ ๒ ๒๕๔๙ ๑ ๒๕๕๙/๒ ๑ ๒๕๕๙/๒ ๒ ๒๕๕๙ ๑ ๒๔๔๖ ๑ ๒๕๕๙ ๒ ๒๕๔๙ ๒ ๒๕๕๐ ๑ ๒๕๔๙/๒ ๒ ๒๕๓๒ ๑ ๒๕๕๐/๒ ๒ ๒๕๔๓ ๑ ๒๕๔๗ ๑ ๒๕๓๙ ๑
ปณามกถา อุปปัตติกถา อุปปัตติกถา นิทานัตถวัณณนา นิทานัตถวัณณนา นิทานัตถวัณณนา พาลปัณฑิตกถา พาลปัณฑิตกถา พาลปัณฑิตกถา พาลปัณฑิตกถา พาลปัณฑิตกถา พาลปัณฑิตกถา พาลปัณฑิตกถา พาลปัณฑิตกถา พาลปัณฑิตกถา พาลปัณฑิตกถา พาลปัณฑิตกถา พาลปัณฑิตกถา ปูชากถา ปูชากถา ปฏิรูปเทสวาสกถา ปุพเพกตปุญญตากถา
เลขข้อ หน้า
เริ่ม - จบ
๑ ๑ ปณามคาถา - ตํ สุณาถ สมาหิตาติ ฯ ๓ ๓ - ๔ ตํ สุตฺวา มุตมงฺคลิโก - สกลชมฺพุทีเป ปากฏา ฯ ๓ -๔ ๓ - ๔ เต ตโย อญฺญมญฺญํ - นิฏฺฐงฺคโต นาโหสิ ฯ ๖ ๖ อิทานิ ยนฺตํ มงฺคลสุตฺตสฺส - เอวํ อีทิสเมวาตฺยตฺโถ ฯ ๘ – ๙ ๘ – ๙ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยาติ - เอกปสฺสํ. ภาวนปุํสกเมตํ ฯ ๙ – ๑๐ ๙ อฏฺฐาสีติ ฐานํ กปฺเปสิ - ฐิตา โข สาตฺยาทิ ฯ ๑๗ ๑๓ – ๑๔ อเสวนา นาม อภชนา - ทุกฺกฏกมฺมการี จาติ ฯ ๑๘ – ๑๙ ๑๔ ๑๕ ปณฺฑิตา นาม เยเกจิ - เต พาลา นาม ฯ ๑๙ – ๒๐ ๑๕ อปโร นโย - สุวโปตกาทิวตฺถุ กเถตพฺพํ ฯ ๒๐-๒๑ ๑๖-๑๗ ตตฺถ ปณฺฑิตา ว เสวิตพฺพา – รุกฺขจฺฉายาย นิปชฺชิ ฯ ๒๑-๒๒ ๑๗ ตทา สพฺเพ โจรา – ปสํสิตฺวา อิตรํ นินฺทิ ฯ ๒๙ – ๓๑ ๒๔-๒๕ เอวํ นิชฺชีวกวตฺถุมฺปิ – นกฺขตฺตปภํ ว จนฺทิมาติ (คาถา) ฯ ๓๓ – ๓๔ ๒๗ อปิจ เย เกจิ - ติณาคาเรปิ เอเสว นโย ฯ ๓๕ – ๓๗ ๒๙-๓๐ ภยนฺติ ภีตเจตโส – ภเชถ ปุริสุตฺตเมติ (คาถา) ฯ ๓๙ – ๔๐ ๓๒ โส(ตาปโส) วรํ คณฺหณฺโต - อทสฺสนเมว สุนฺทรนฺติ ฯ ๔๐ ๓๓ – ๓๔ ตาปโส ปุนญฺญํ วรํ - สุขนฺติปิ ปาโฐ ฯ ๔๓ ๓๕ – ๓๗ เทวทตฺโต กิร สตฺถารํ - ปวิสิตฺวา อวีจิมฺหิ นิพฺพตฺติ ฯ ๕๕ ๕๑ ตตฺถ ยสฺมา โย - พาลอเสวนํ วิญฺญาเปสิ ฯ ๖๙ ๗๕ – ๗๖ เอวํ ตาว อามิสปูชา - จิรฏฺฐิติกามตาย จ ฯ ๗๐ ๗๗ ตตฺถ ธมฺมานุธมฺมปฏิปทา - มหาปรินิพฺพานสุตฺตวณฺณนานโยฯ ๘๗ ๙๓ เอตฺถ จ ทสฺสนานุตฺตริยนฺติ - เอกงฺคุตฺตรวณฺณนาย นโย ฯ ๑๐๐ ๑๑๑ สตฺถา ปน อิมํ - ปณฺฑิตา กตปุญฺญตนฺติ ฯ
121
พ.ศ. ข้อ เรื่อง เลขข้อ หน้า เริ่ม - จบ ๒๕๔๘ ๑ อัตตสัมมาปณิธิกถา ๑๑๐ - ๑๑๑ ๑๓๐-๑๓๑ อิจฺเจเต สพฺเพ ทุสฺสีลํ - สพฺพทุกฺขํ เทติ ฯ ๒๕๔๘ ๒ อัตตสัมมาปณิธิกถา ๑๑๒ ๑๓๑-๑๓๒ มิจฺฉาฐปิตญฺหิ จิตฺตํ - อุกฺขิปิตู น เทตีติ ฯ ๒๕๕๐ ๒ พาหุสัจจกถา ๑๒๑ ๑๓๙ อิติ พหุสฺสุตสฺส - อธิปฺปเตยฺยสุตฺตวณฺณนา ฯ ๒๕๔๑ ๑ พาหุสัจจกถา ๑๒๓-๑๒๔ ๑๔๐-๑๔๒ วุตฺตํ หิ ภควตา - อุปฏฺฐานนฺติ อาห อิธาติอาทึ สหชาตนามกาเยนาติ - ยากโรตีติ ตฏฏีกา ฯ (ต่อ) ๒๕๒๙ ๑ สิปปกถา ๑๒๘-๑๒๙ ๑๔๙-๑๕๐ สิปฺปํ นาม อนาคาริยาคาริยวเสน - วุจฺจตีติ ตฏฺฏีกา ฯ ๒๕๓๑ ๑ สิปปกถา ๑๓๑ ๑๕๐ - ๑๕๑ ตตฺถ ยตฺร หีติ - อนฺวาธิกํ อาโรเปตพฺพํ. ๒๕๒๙ ๒ สิปปกถา ๑๓๓-๑๓๔ ๑๕๒-๑๕๓ ตทา อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน – อลฺลิยาปนวตฺถขณฺฑํ ฯ ๒๕๕๔ ๑ วินยกถา ๑๔๗ ๑๖๙ วินโย นาม อนาคาริยาคาริยวเสน - น ตโต ปรนฺติ ฯ ๒๕๔๒ ๑ วินยกถา ๑๕๕–๑๕๖ ๑๗๔-๑๗๕ ตสฺมา ยํ ยํ - สผลา อโหสิ ฯ ๒๕๕๕ ๑ วินยกถา ๑๕๖ ๑๗๕-๑๗๖ ตํ สุตฺวา สฏฺฐิยา - จูฬจฺฉราสงฺฆาตสุตฺตวณฺณนานโยฯ ๒๕๕๕ ๒ วินยกถา ๑๕๗ ๑๗๖ จตุปฺปาริสุทฺธิสีลํ วา - วฑฺเฒตฺวา อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ ๒๕๔๘/๒ ๑ วินยกถา ๑๗๔ ๑๘๗-๑๘๘ อินฺทฺริยสํวรสีลญฺหิ น ปุเนวํ - วนฺทิตฺวา นิวตฺติ ฯ ๒๕๕๕/๒ ๑ วินยกถา ๑๗๔ ๑๘๗ อินฺทริยสํวรสีลญฺหิ - ปุปฺผิตภาวํ ชานาติ ฯ ๒๕๕๕/๒ ๒ วินยกถา ๑๗๔-๑๗๕ ๑๘๗-๑๘๙ ราชา เถรสฺส คุณสมฺปตฺตึ - ภิกฺขเว สมฺมาอาชีโวติ ฯ ๒๕๖๐/๒ ๑ วินยกถา ๑๗๗-๑๗๘ ๑๘๙-๑๙๐ ตตฺถ ปฏิกขฺ ติ ตฺ เวชฺชกมฺมนฺติ – อกตวิญญฺ ตฺตยิ าปิ ปริเยสิตพฺพํ ฯ ๒๕๖๐/๒ ๒ วินยกถา ๑๗๘-๑๘๐ ๑๙๐-๑๙๑ อกตวิญฺญตฺติ นาม วท – มชฺชนฺติ วุตฺตํ ฯ ๒๕๕๖ ๑ วินยกถา ๑๘๐–๑๘๒ ๑๙๑-๑๙๒ อริฏฺฐปจนนฺติ เอตฺถ - อาสีวิสา วิย ปริวชฺเชตพฺพา ฯ ๒๕๕๖ ๒ วินยกถา ๑๘๓-๑๘๕ ๑๙๒-๑๙๓ ตทุภยญฺจ อปริคฺคหิตธูตงฺคสฺส-อฏฺฐกถาจริเยหิ วุตฺตํฯ ๒๕๕๖/๒ ๑ วินยกถา ๑๘๕-๑๘๗ ๑๙๓-๑๙๔ ตสฺมา ภิกฺขุนา นาม - วตฺวา อตีตํ อาหริ ฯ ๒๕๕๖/๒ ๒ วินยกถา ๑๘๘–๑๘๖ ๑๙๔-๑๙๕ อตีเต พาราณสิยํ โพธิสตฺโต - วตฺวา อตีตํ อาหริ ฯ ๒๕๔๑ ๒ วินยกถา ๑๙๑-๑๙๓ ๑๙๖-๑๙๗ รูปิยสิกฺขาปทวณณฺนาทีสุ - นามาติ วุตฺตํ ฯ ตสฺมา ยถาวุตฺตมาทีนวํ - ปริโภเค ปริโภเคติ ฯ (ต่อ) ๒๕๖๑ ๑ วินยกถา ๑๙๑-๑๙๓ ๑๙๖-๑๙๗ รูปิยสิกฺขาปทวณณฺนาทีสุ - นามาติ วุตฺตํ ฯ ตสฺมา ยถาวุตฺตมาทีนวํ - ปริโภเค ปริโภเคติ ฯ (ต่อ) ๒๕๖๑ ๒ วินยกถา ๑๙๓–๑๙๖ ๑๙๗–๑๙๘ วิสุทฺธิมคฺคฏีกายํ จีวรํ - กตฺวาติอาทินฺติ วิมติวิโนทนี. ๒๕๔๓ ๒ วินยกถา ๑๙๓-๑๙๖ ๑๙๗-๑๙๘ วุตฺตญฺจฏฺฐกถาสุ จีวรํ - กตฺวาติอาทินฺติ วิมติวิโนทนี ฯ ๒๕๔๒ ๒ วินยกถา ๒๐๑ ๒๐๑-๒๐๒ พฺรหฺมชาลฏีกายํ – สมฺมาทิฏฐิสุตฺตฏีกา ฯ
122
พ.ศ. ข้อ
เรื่อง
๒๕๓๗ ๑ ๒๕๖๐ ๑ ๒๕๖๐ ๒ ๒๕๔๕ ๑ ๒๕๔๗ ๒ ๒๕๓๔ ๑ ๒๕๓๖ ๑ ๒๕๓๔ ๒ ๒๕๓๑ ๒ ๒๕๓๕ ๑ ๒๕๓๖ ๒ ๒๕๔๕ ๒ ๒๕๓๒ ๒ ๒๕๕๔ ๒ ๒๕๓๐ ๑ ๒๕๓๐ ๒ ๒๕๔๓ ๒ ๒๕๕๒/๒ ๑ ๒๕๕๘ ๑ ๒๕๕๘ ๒ ๒๕๕๒/๒ ๒ ๒๕๖๑/๒ ๑ ๒๕๖๑/๒ ๒ ๒๕๕๒ ๑ ๒๕๕๒ ๒ ๒๕๕๘/๒ ๑ ๒๕๕๘/๒ ๒ ๒๕๓๓ ๑
วินยกถา วินยกถา วินยกถา วินยกถา วินยกถา วินยกถา วินยกถา วินยกถา วินยกถา วินยกถา วินยกถา วินยกถา วินยกถา วินยกถา สุภาสิตวาจากถา สุภาสิตวาจากถา สุภาสิตวาจากถา สุภาสิตวาจากถา โคนันทิวิศาล โคนันทิวิศาล สุภาสิตวาจากถา สุภาสิตวาจากถา สุภาสิตวาจากถา สุภาสิตวาจากถา สุภาสิตวาจากถา มาตาปิตุอุปัฏฐานกถา มาตาปิตุอุปัฏฐานกถา สุภาสิตวาจากถา
เลขข้อ หน้า
เริ่ม - จบ
๒๐๓-๒๐๔ ๒๐๒-๒๐๔ ปรปริคฺคหิเต - ..เสวนาธิปฺปาเยนาติ ตฏฺฏีกา ฯ ๒๐๔-๒๐๕ ๒๐๔-๒๐๕ ตตฺถ อคมนียฏฺฐานํ – มคฺเคน มคฺคปฏิปตฺติอธิวาสนนฺติ ฯ ๒๐๗-๒๐๘ ๒๐๖ ยถาวุตฺตญฺเจตํ ติวิธํ – นิทสฺสนนฺติ ตฏฺฏีกา ฯ ๒๐๙-๒๑๐ ๒๐๗-๒๐๘ มุสาติ วิสํวาทนปุเรกฺขารสฺส-ติพฺพตาย มหาสาวชฺโช ฯ ๒๑๑-๒๑๒ ๒๐๘-๒๐๙ อปโร นโย ฯ คหฏฐานํ – ทูสิตจิตฺตสฺสาติ อตโถ ฯ ๒๒๒-๒๒๓ ๒๑๕-๒๑๖ ยถาวุตฺตญฺเจตํ ติวิธํ - อธิปฺปาโยติ ตฏฺฏีกา ฯ ๒๒๒ ๒๑๕ ยถาวุตฺตญฺเจตํ ติวิธํ – อฏฺฐสาลินีนโย ฯ ๒๒๔ ๒๑๖-๒๑๗ สุคติทุคฺคตีสุ อุปฺปชฺชนํ - ทฏฺฐพฺพนฺติ ตทนุฏีกา ฯ ๒๓๔ ๒๒๓-๒๒๔ สชฺฌายนฺตีติ ตํ ทิฏฺฐิทีปกํ - กิมฺปเนสาติอาทิ วุตฺตํ ฯ ๒๓๕-๒๓๖ ๒๒๕-๒๒๖ อิติ อนนฺตริยกมฺมโตปิ - วทนฺตีติ ตฏฺฏีกา ฯ ๒๔๕ ๒๓๑-๒๓๒ กมฺมปถสทฺทตฺโถ ตุ - ทฏฺฐพฺพนฺติ สงฺคีติสุตฺตาทิฏีกาฯ ๒๕๐-๒๕๒ ๒๓๓-๒๓๕ สมฺปตฺตวิรติ สมาทานวิรตีติ - ทฺวารมฺปิ กายทฺวารํ ฯ ๒๕๕ ๒๓๖-๒๓๗ เอตฺถาห นนุ ปาปวิรติ - ตตฺถ ทสฺสิตาติ ฯ ๒๕๗ ๒๓๘-๒๓๙ โพธิสตฺโต ตสฺส อนุกมฺปาย - สุสมาหิตา จรนฺติ ฯ ๒๖๐-๒๖๑ ๒๔๑-๒๔๒ วาจาสทฺโท กรณสาธโน-ยถาวุตฺตวณฺณนาหิ วิรุชฺฌติ ฯ ๒๖๒-๒๖๔ ๒๔๒ สุภาสิตลกฺขณนฺตุ ปญฺจหิ - อนนุวชฺชา จ วิญฺญูนนฺติฯ ๒๖๖-๒๖๗ ๒๔๕ มุสาวาทา เวรมณฺยาทิกํ - .....วาจาสํวตฺตนิโก โหตีติ ฯ ๒๗๐ ๒๔๘-๒๔๙ ตสฺมา ทุพฺภาสิตวาจาสงฺขาตํ - อสมฺผปฺปลาโปว กาตพฺโพ ฯ ๒๗๒ ๒๔๙–๒๕๐ ตสฺมา อปฺปิยวจนสงฺขาตํ – สมุทาจรสีติ อาห ฯ ๒๗๒ ๒๕๐–๒๕๑ พฺราหฺมโณ คนฺตวา – อโหสีติ วุตฺตํ ฯ ๒๗๕ ๒๕๒ อตีเต พาราณสิยํ จตฺตาโร- อเภชฺชสหาโย อโหสีติ ฯ ๒๘๓ ๒๖๐ สจฺจวาที จ นาม - คาถาวณฺณนายมาคตํ ๒๘๔ ๒๖๐–๒๖๑ อิติ สุภาสิตภาสนาทีหิ - อรหตฺตปฺปตฺตา นิทสฺสนํ ๒๘๔-๒๘๕ ๒๖๐-๒๖๑ อิติ สุภาสิตภาสนาทีหิ - สุตฺวา อรหตฺตมฺปตฺโต ฯ ๒๘๕ ๒๖๑-๒๖๒ พุทฺธนฺตเร จ อญฺญตโร - วิญฺญาเปตีติ อธิปฺปาโย ฯ ๒๙๔ ๒๖๙–๒๗๐ อุโภปิเจเต พฺรหฺมา – เทวา นาม ฯ ๒๙๔ ๒๗๐–๒๗๑ ยสฺมา จ ปุตฺตา – ทสฺเสตาโรติ ฯ ๒๙๕-๒๙๖ ๒๗๑-๒๗๓ พฺรหฺมาติ มาตาปิตโร - โสณนนฺทชาตเกปิ อาคตา ฯ
123
พ.ศ. ข้อ
เรื่อง
๒๕๔๖ ๒ ๒๕๓๙ ๒ ๒๕๕๓ ๑ ๒๕๔๘/๒ ๒ ๒๕๕๓ ๒ ๒๕๕๑ ๒ ๒๕๓๓ ๒ ๒๕๕๓/๒ ๑ ๒๕๕๑ ๑ ๒๕๓๕ ๒ ๒๕๕๑ ๒ ๒๕๕๗ ๑ ๒๕๓๗ ๒ ๒๕๕๗ ๒ ๒๕๕๗/๒ ๑ ๒๕๕๗/๒ ๒ ๒๕๕๓/๒ ๒ ๒๕๕๔/๒ ๒
ปุพเพกตปุญญตา มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน มาตาปิตุอุปัฏฐาน ปุตตทารสังคหก ปุตตทารสังคหก ปุตตทารสังคหก อนากุลกัมมันต
เลขข้อ หน้า
เริ่ม - จบ
๓๐๓-๓๐๔ ๒๗๗-๒๗๘ เตสํ เภสชฺชํ กโรโตปิ - ทาตพฺพนฺติ ตพฺพณณนา ฯ ๓๓๔-๓๓๕ ๓๑๒ อิติ ยถาวุตฺตํ - ทิสาติ เวทิตพฺพาติ ฯ ๓๓๖ ๓๑๕ อิธ ปน พฺราหฺมณ - ชาณุสฺโสณิสุตฺตํ ฯ ๓๓๖ ๓๑๔-๓๑๕ เอโก กิร ชาณุสฺโสณิ - ตํ ทานํ อุปกปฺปตีติ ฯ ๓๓๗ ๓๑๖ ตตฺถ มยมสฺสูติ เอตฺถ - เอวมาหาติ ตพฺพณฺณนานโยฯ ๓๔๓ ๓๒๓ อิทานิ ยสฺมา อิทํ - สกฺกจฺจํ อนุโมทเรติ ฯ (ต่อ) ๓๔๗ ๓๒๖ ยสฺมา เปตา อิโต- อิทํ ปจฺจตฺตวจนนฺติ ฯ ๓๔๗ ๓๒๖ ยสฺมา เปตา อิโต - อิทํ ปจฺจตฺตวจนนฺติ ฯ ๓๖๐ ๓๓๕-๓๓๖ เตนาห ปญฺจกงฺคุตฺตเร - มยา โภเคหิ กตา ฯ ๓๖๐-๓๖๑ ๓๓๕-๓๓๖ เตนาห ปญฺจกงฺคุตฺตเร - วาริตาติ วุตฺตํ โหติ ฯ ๓๖๔ ๓๓๗-๓๓๘ อุปฏฺฐิตาติ มยา โภเคหิ - โส สคฺเค ปโมทตีติ ฯ ๓๖๔-๓๖๗ ๓๓๘-๓๓๙ ตสฺมา อิมํ - นิเวเสนฺติ ปติฏฺฐาเปนฺติ ฯ ๓๖๕-๓๖๗ ๓๓๘ อิติ ภรณาทิอุปฏฺฐานํ - นิเวเสนฺติ ปติฏฺฐาเปนฺติ ฯ ๓๗๑-๓๗๔ ๓๔๒-๓๔๓ เอวํ วุตฺตปฺปการํ มาตาปิตโร - ปุตฺตํ ปฏฺเฐนฺติ ฯ ๓๗๘ ๓๔๗-๓๔๘ ตโย หิ ปุตฺตา - สงฺขยํ คจฺฉนฺตีติ ฯ ๓๘๐-๓๘๒ ๓๔๘-๓๔๙ ทารา นาม วีสติ – สงฺคีติสุตฺตสมฺมาทิฏฺฐิสุตฺตฏีกา ฯ ๓๘๓ ๓๕๐-๓๕๑ อปฺเปน วา พหุนา วา - สญฺจริตฺตวณฺณนานโย ฯ ๔๑๐ ๓๖๗-๓๖๘ โย ปน อติสีตาทีนิ - อจฺเจนฺติ มาณเวติ ฯ
124
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๑ วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ. ๔ “ธรรมบท ภาค ๑ เรียงหน้า” รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ. ๗
พ.ศ. ๒๕๕๑/๒ ๒๕๓๖ ๒๕๓๖ ๒๕๓๔ ๒๕๕๑/๒ ๒๕๔๔ ๒๕๕๐/๒ ๒๕๔๙ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๓๖ ๒๕๔๐ ๒๕๓๙ ๒๕๓๙ ๒๕๓๙ ๒๕๕๔/๒ ๒๕๕๘ ๒๕๔๖ ๒๕๕๘ ๒๕๔๘/๑ ๒๕๕๙
ข้อ ภาค ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
เรื่อง จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล จักขุบาล มัฏฐกุณฑลี
หน้า ๕ - ๖ ๕ ๕ - ๖ ๖- ๗ ๖ - ๖ ๗ ๗ - ๘ ๑๒-๑๓ ๑๒-๑๓ ๑๓ - ๑๔ ๑๔ ๑๔ - ๑๕ ๑๖ ๑๖ ๑๖ - ๑๗ ๑๗ - ๑๘ ๑๗ – ๑๘ ๑๘ - ๑๙ ๑๘ – ๑๙ ๑๙ ๒๓
เริ่ม - จบ ตทา สาวตฺถียํ สตฺต - อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ ฯ ตทา สาวตฺถิยํ สตฺต - ธมฺมสฺสวนตฺถาย คจฺฉนฺติ ฯ พุทฺธา จ นาม ธมฺมํ - ฆราวาเสน ปพฺพชิสฺสามีติ ฯ ตํ สุตฺวา มหาปาโล - ปพฺพชิสฺสาเมวาหํ ตาตาติ ฯ อถ นํ สตฺถา นตฺถิ - ปุญฺญานิ กาตุํ มา เอวมกตฺถาติ ฯ (โส) ลทฺธปพฺพชฺชูปสมฺปโท - ปิณฺฑาย ปาวิสิ ฯ มนุสฺสา วตฺตสมฺปนฺเน - กริสฺสามีติ ปวาเรส ฯ เถโรปิ อิตเร - ปริเกวิตฺวา นิวตฺตึสุ ฯ มา โว อาวุโส - เปเสถ ภนฺเตติ ฯ อถ นํ ปพฺพาเชตฺวา - สเร นิมิตฺตํ คณฺหิ ฯ อิตฺถีสทฺโท วิย หิ อญฺโญ -ยถยิทํ ภิกฺขเว อิตฺถีสทฺโทติ ฯ อิตฺถีสทฺโท วิย หิ - ยฏฺฐิโกฎิคฺคหณกิจฺจํ นตฺถีติ ฯ เถรสฺสาปิ สีลเตเชน -จกฺขุนา เถรํ อทฺทส ฯ (ต่อ) อถสฺส เอตทโหสิ สจาหํ - คมิสฺสามิสฺส สนฺติกนฺติ ฯ (ต่อ) อุปคนฺตฺวา จ ปน - ภวิสฺสตีติ สลฺลกฺเขสิ ฯ (ต่อ) โส เถรสฺเสวตฺถาย - มหาเมโฆ อุฏฺฐหิ ฯ โส เถรสฺเสวตฺถาย – ตทภิมุขา อเหสุ ฯ อเถกทิวสํ ทิสาวาสิโน - น ทิฏฺโฐ ภนฺเตติ ฯ ตสฺมึขเณ มหาเมโฆ – นตฺถิภิกฺขเวติ ฯ อตีเต พาราณสิยํ - จกฺขุปาโล อโหสิฯ สาวตฺถียํ กิร อทินฺนปุพฺพโก นาม – เอกํ เวชฺชํ ปกฺโกสิ ฯ
125
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๔๗ ๒๕๓๖ ๒๕๕๔/๒ ๒๕๔๙/๒ ๒๕๕๙ ๒๕๔๘/๒ ๒๕๔๙/๒ ๒๕๓๑ ๒๕๕๖/๒ ๒๕๕๙/๒ ๒๕๕๙/๒ ๒๕๕๖/๒ ๒๕๓๕ ๒๕๓๙ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๓๔ ๒๕๕๖ ๒๕๕๑/๑ ๒๕๔๘/๒ ๒๕๓๓ ๒๕๕๗ ๒๕๕๑/๑ ๒๕๔๖ ๒๕๕๕/๒ ๒๕๕๕/๒ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕
๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
หน้า
มัฏฐกุณฑลี ๒๓ - ๒๔ มัฏฐกุณฑลี ๒๔ มัฏฐกุณฑลี ๒๕ - ๒๖ มัฏฐกุณฑลี ๓๑ - ๓๒ มฏฺฐกุณฑลี ๓๑-๓๒ ติสสเถระ ๓๕ - ๓๖ ติสสเถระ ๓๙ - ๔๐ ติสสเถระ ๓๗ - ๓๘ กาลียักษิณี ๔๒ - ๔๓ กาลียักษิณี ๔๒-๔๓ กาลียักษิณี ๔๓ กาลียักษิณี ๔๓ - ๔๔ กาลียักษิณี ๔๖ โกสัมพิกภิกษุ ๔๙ - ๕๐ โกสัมพิกภิกษุ ๔๙ - ๕๐ โกสัมพิกภิกษุ ๕๐ โกสัมพิกภิกษุ ๕๐ - ๕๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๒ - ๕๓ โกสัมพิกภิกษุ ๕๓ - ๕๔ โกสัมพิกภิกษุ ๕๕ โกสัมพิกภิกษุ ๕๕ - ๕๖ โกสัมพิกภิกษุ ๕๕ - ๕๖ โกสัมพิกภิกษุ ๕๖ - ๕๗ โกสัมพิกภิกษุ ๕๘ - ๕๙ โกสัมพิกภิกษุ ๕๘ - ๕๙ โกสัมพิกภิกษุ ๕๙ จุลลกาลมหากาล ๖๔ - ๖๖ จุลลกาลมหากาล ๖๖
เริ่ม - จบ สาวตฺถิยํ กิร อทินฺนปุพฺพโก - อาลินฺเท นิปชฺชาเปสิ ฯ ตํ ทิวสํ ภควา - อาฬาหเน วิจริสฺตีติ ฯ ตสฺมึ ขเณ มฏฺฐกุณฺฑลี - กหํ เอกปุตฺตกาติ ฯ อถ นํ เทวปุตฺโต - นิพฺพตฺตภาโว กถิโตติ ฯ พฺราหฺมโณปิ เคหํ คนฺตฺวา – สคฺเค นิพฺพตฺตภาโว กถิโตติ ฯ โส กิรายสฺมา ภควโต - เอกมนฺตํ นิสีทึสุ ฯ นารโท สพฺพํ - ปาทมูเล โอนมาเปสิ ฯ เทวโล นาม ตาปโส - ทฺวารมชฺเฌ ติริยํ นิปชฺชิ ฯ เอโก กิร กุฏุมฺพิกปุตฺโต - วุจฺจมานาปิ ปุนปฺปุนํ กเถสิ ฯ เอโก กิร กุฏุมฺพิกปุตฺโต – สามิกสฺส ฆเร อกาสิ ฯ อถสฺสา เอตทโหสิ – สา ตมติถํ อาโรเจสิ (อาโรเจตฺวา) ฯ วญฺฌิตฺถี ตํ กถํ สุตฺวา - ตติยวาเร น กเถสิ ฯ ตสฺมึ สมเย สตฺถา - เอส ธมฺโม สนนฺตโนติ ฯ โกสมฺพิยํ หิ โฆสิตาราเม - อหญฺญมญฺญํ กลหํ วฑฺฒยึสุ ฯ โกสมฺพิยํ หิ โฆสิตาราเม - อหญฺญมญฺญํ กลหํ วฑฺฒยึสุ ฯ ตโต วินยธโร โอกาสํ - โกลาหลํ อคมาสิ ฯ อเถโก ภิกฺขุ ตถาคตํ ปตฺตาติ - วฏฺฏกชาตกํ กเถสิ ฯ โกสมฺพีวาสิโนปิ โข - ตํ อนฺโตวสฺสํ วีตินาเมสุํ ฯ อถโข โส หตฺถินาโค ยูถา - สพฺเพตานิ กโรติ ฯ อเถโก มกฺกโฏ ตํ - อจฺฉราสหสฺสปริวาโร อโหสิ ฯ ตถาคตสฺส ตตฺถ - วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ ฯ ตถาคตสฺส ตตฺถ - พุทฺธุปฏฺฐาโก เอโสติ อาห ฯ โส ตตฺเถว ทณฺฑํ - นาควคฺเค ติสฺโส คาถาโย อภาสิ ฯ โกสมฺพิกา ภิกฺขู - ภควนฺตํ ขมาเปสุํ ฯ โส หิ สตฺถารํ - นิสีทนฺติ น ติฏฺฐนฺติ ฯ อาคตาคตา สตฺถารํ - อิมํ คาถมาห ฯ เถโร อิทํ สรีรํ - สตฺถารํ นิมนฺตยึสุ ฯ ตทา ปน อาสนปญฺญาปนตฺถํ - ตสฺส ปพฺพชฺชนฺตรยนฺติ ฯ
126
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๓๕ ๒๕๓๘ ๒๕๕๖ ๒๕๓๘ ๒๕๓๗ ๒๕๓๒ ๒๕๔๔ ๒๕๓๓ ๒๕๕๘/๒ ๒๕๓๑ ๒๕๕๘/๒ ๒๕๔๘/๑ ๒๕๕๐/๒ ๒๕๕๒ ๒๕๕๒ ๒๕๔๗ ๒๕๕๒/๒ ๒๕๕๒/๒ ๒๕๖๐ ๒๕๖๐ ๒๕๒๙ ๒๕๒๙ ๒๕๔๑ ๒๕๔๓ ๒๕๔๒ ๒๕๔๕ ๒๕๔๑ ๒๕๔๓
๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๒
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
เทวทัต เทวทัต เทวทัต เทวทัต เทวทัต สัญชัย สัญชัย สัญชัย สญชัย สัญชัย สญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย สัญชัย
หน้า ๗๐ ๗๑ ๗๑ ๗๒ ๗๒ - ๗๓ ๗๕ - ๗๖ ๗๙ - ๘๐ ๘๑ - ๘๒ ๘๑ – ๘๒ ๘๒ - ๘๓ ๘๒ – ๘๓ ๘๒ - ๘๓ ๘๕ - ๘๖ ๘๕ - ๘๖ ๘๖ ๘๖ - ๘๗ ๘๗ ๘๗ - ๘๘ ๙๐ ๙๑ ๙๑ - ๙๓ ๙๓ ๙๓ - ๙๔ ๙๔ - ๙๕ ๙๕ - ๙๖ ๙๖ - ๙๗ ๙๗ - ๙๘ ๙๘ - ๙๙
เริ่ม - จบ เอกสฺมึ หิ สมเย - คณฺหถาติ เถรํ นิมนฺเตสิ ฯ อุปาสโก เตนหิ เอกสฺมึ - ปารุปิตฺวา วิจรตีติ วทึสุ ฯ อถสฺส เอโก กุฏุมฺพิโก - ปารุปิตฺวา วิจรตีติ วทึสุ ฯ อตีเต พาราณสิยํ - โส ตเถว กโรติ ฯ อตีเต พาราณสิยํ - วิลมฺพมาโน อาคจฺฉติ ฯ อมฺหากํ หิ สตฺถา - ยาวตายุกํ ฐตฺวา (อฏฺฐาสิ) ฯ เอวํ โลเก เอกสฏฺฐิยา - ตตฺเถว วาสํ กปฺเปสิ ฯ เทฺว ปน ชนา - ญาตนฺติ วุตฺเต (อาห) ฯ เตน โข ปน สมเยน – กติกํอกํสุ ฯ เอวํ เตสุ กติกํ กตฺวา - กุณฺฑิกาย อุทกํ อทาสิ ฯ เอวํ เตสุ กติกํ – อุปญาตํมคฺคนฺติ ฯ ตสฺมึ สมเย - มยฺหํ ภาโรติ อาห ฯ สารีปุตฺตตฺเถโร จ - นาหํ คมิสฺสามีติ ฯ สารีปุตฺตตฺเถโร จ - ตุมฺเห อาจริยาติ ปกฺกมึสุ ฯ เตสุ คจฺฉนฺเตสุ - สญฺชยสฺส อุปริมคฺคกิจฺจํ น นิฏฺฐาสิ ฯ อายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโน - ทตฺวา ปาฏิโมกฺขํ อุทฺทิสิ ฯ สารีปุตฺตตฺเถโรปิ ปพฺพชิตทิวสโต - ปาฏิโมกฺขํ อุทฺทิสิ ฯ ภิกฺขู อุชฺฌายึสุ สตฺถา - อาม ภนฺเตติ ฯ ยสกุลปุตฺตปมุขา ปญฺจปญฺญาส – โอโลเกตฺวา ทมฺมีติ ฯ อุรุเวลกสฺสปาทโย ปน – พุทฺธุปฏฺฐานํ กโรติ ฯ รญฺโญ ปน อปเรปิ - คเหตฺวา ทานํ เทนฺติ ฯ กมฺมกรานํ ปน ปุตฺตา - มุขํ โอโลเกตฺวา ทมฺมีติ ฯ ตทา ปน เตสํ - รญฺโญ อตฺตานํ ทสฺสยึสุ ฯ โส ปุนทิวเส เวฬุวนํ - ทิพฺพตฺตภาเวน สณฺฐหึสุ ฯ อคฺคสาวกา ปน ภนฺเต - อิสิปพฺพชฺชํ ปพฺพชิ ฯ เตน สมเยน อโนมทสฺสี - คเหตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ ฯ ตสฺมึ สมเย จตุสตฺตติสหสฺสา - ปตฺเต ปติฏฺฐาเปสิ ฯ ตโต ภตฺตกิจฺจํ กตฺวา - อิทฺธิวิสโย เหส ฯ
127
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๔๒ ๒๕๖๐/๒ ๒๕๖๐/๒ ๒๕๔๙/๑ ๒๕๕๗/๒ ๒๕๕๗/๒ ๒๕๓๒ ๒๕๕๓ ๒๕๔๐ ๒๕๖๑/๑ ๒๕๖๑/๑ ๒๕๕๓ ๒๕๕๐/๑ ๒๕๕๐/๑ ๒๕๔๐ ๒๕๓๗ ๒๕๓๗ ๒๕๖๑/๒ ๒๕๖๑/๒ ๒๕๓๐ ๒๕๓๐ ๒๕๕๓/๒ ๒๕๕๓/๒
๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
สัญชัย สัญชัย สัญชัย นันทเถระ นันทเถระ นันทเถระ นันทเถระ ธัมมิกอุบาสก ธัมมิกอุบาสก ธัมมิกอุบาสก ธัมมิกอุบาสก ธัมมิกอุบาสก เทวทัตตะ เทวทัตตะ เทวทัตตะ เทวทัตตะ เทวทัตตะ สุมนาเทวี สุมนาเทวี เทวสหาย เทวสหาย เทวสหาย เทวสหาย
หน้า ๙๙ - ๑๐๐ ๑๐๑-๑๐๒ ๑๐๒-๑๐๓ ๑๐๕-๑๐๖ ๑๐๗ - ๑๐๘ ๑๐๘ ๑๑๐ - ๑๑๑ ๑๒๐ - ๑๒๑ ๑๒๑-๑๒๒ ๑๒๑ – ๑๒๒ ๑๒๒ – ๑๒๓ ๑๒๒-๑๒๓ ๑๒๖ ๑๒๗-๑๒๘ ๑๓๑ - ๑๓๒ ๑๓๖ ๑๓๖ - ๑๓๗ ๑๔๑ – ๑๔๒ ๑๔๒ – ๑๔๓ ๑๔๔ - ๑๔๕ ๑๔๕ ๑๔๔ - ๑๔๕ ๑๔๕ - ๑๔๖
เริ่ม - จบ เอวํ นิสินฺเน สตฺถริ - ภิกฺขโวติ หตฺถํ ปสาเรสิ ฯ สรทตาปโสปิ อนฺเตวาสิกตฺเถรานํ – อภิสกฺการํ สชฺเชหีติ ฯ สิริวฑฺฒโณ ตสฺส วจนํ – ทุติยสาวโก ภเวยฺยนฺติ ฯ สตฺถา หิ - วตฺตุ ํ นาสกฺขิ ฯ สตฺถา กปิลวตฺถุปุรํ – นํ สามิกํ กโรมีติ ฯ อถโข ภควา อายสฺมนฺตํ - มหาธมฺมปาลชาตกํ กเถสิ ฯ อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู - นนฺโท อรหตํ อโหสิ ฯ อถสฺส อปรภาเค โรโค - อุฏฺฐายาสนา ปกฺกมึสุ ฯ อุปาสโก โถกํ วีตินาเมตฺวา - รถํ น ปสฺสติ ฯ อุปาสโก โถกํ วีตินาเมตฺวา - อากาเส โอลมฺพิ. มหาชโน ตเทว ปสฺสติ - สพฺพตฺถ โมทนฺติเยวาติ เต ขิปึสุ ฯ - ตาหิ สทฺธึ กเถสีติ ฯ อถ นํ ปุตฺโต - อุฏฺฐหตีติ อาห ฯ ตโต ภทฺทิโย - ตมตฺถํ อาโรเจสิ ฯ เทวทตฺตสฺสาปิ กมฺมํ - สงฺฆเภทาย ปรกฺกมิ ฯ เทวทตฺโตปิ โข นว- อาฆาโต นตฺถีติ ฯ ภิกฺขู กิร ปญฺจนฺนํ - เต ปฐวึ ปวิสึสุ ฯ อนาถปิณฺฑิโกปิ มหาสุภทฺทํ - โทมนสฺสํ อุปฺปชฺชตีติ. อถ นํ ภควา อาห - นนฺทนฺติเยวาติ สาวตฺถีวาสิโน หิ - เทฺว สหายกภิกฺขู ภนฺเตติ วทนฺติ ฯ เอวํ เถเร ปุนปฺปุนํ - อิตโร ตํ สพฺพํ กเถสิ ฯ ภิกฺขู สตฺถุ สนฺติเก - วฏฺฏตีติ จินฺเตสิ ฯ ตตฺถ ตตฺถ นิสีทนฺตา - ปสํสามตฺตํปิ น กรีติ ฯ
128
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๑ วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ. ๕ “มงฺคลตฺถทีปนี ภาค ๒ เรียงหน้า” รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ. ๗
พ.ศ. ข้อ
เรื่อง
๒๕๕๔/๒ ๑ ทานกถา ๒๕๕๑/๒ ๑ ทานกถา ๒๕๔๐ ๑ ทานกถา ๒๕๕๔/๒ ๒ ทานกถา ๒๕๕๑/๒ ๒ ทานกถา ๒๕๓๘ ๑ ทานกถา ๒๕๕๓/๒ ๑ ทานกถา ๒๕๕๓/๒ ๒ ทานกถา ๒๕๓๗ ๑ ทานกถา ๒๕๔๖ ๑ ทานกถา ๒๕๖๐ ๑ ทานกถา ๒๕๖๐ ๒ ทานกถา ๒๕๖๐/๒ ๑ ทานกถา ๒๕๖๐/๒ ๒ ทานกถา ๒๕๔๗ ๑ ทานกถา ๒๕๕๒ ๑ ทานกถา ๒๕๔๔ ๑ ทานกถา ๒๕๕๐ ๑ ทานกถา ๒๕๕๖/๒ ๑ ทานกถา ๒๕๕๖/๒ ๒ ทานกถา ๒๕๕๓ ๑ ธัมมจริยากถา ๒๕๕๓ ๒ ธัมมจริยากถา
เลขข้อ
หน้า
เริ่ม - จบ
๑๐ -๑๑ ๑๐ -๑๑ ๑๒ - ๑๔ ๑๓ - ๑๔ ๑๓ - ๑๔ ๑๕ - ๑๖ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๒๖ ๒๗ ๔๓ ๔๓ - ๔๕ ๔๔ - ๔๖ ๕๐ - ๕๑ ๕๐ - ๕๑ ๕๒ ๕๕ ๕๘ - ๖๐
๗ - ๘ ๗-๘ ๘ - ๙ ๘ - ๙ ๘ - ๙ ๙ -๑๐ ๑๒ - ๑๓ ๑๓ - ๑๔ ๑๔ - ๑๕ ๑๕ - ๑๖ ๑๔-๑๕ ๑๕-๑๖ ๒๐-๒๒ ๒๒ ๓๗ - ๓๙ ๓๙ - ๔๐ ๓๙ - ๔๐ ๔๓ - ๔๔ ๔๓ - ๔๔ ๔๔ - ๔๕ ๔๗ - ๔๘ ๕๒ - ๕๔
อิทมโวจ ภควา - ปพฺพชิโตติ ฉฬงฺคสุตฺตวณฺณนา ฯ อิทมโวจ ภควา - ปพฺพชิโตติ ฉฬงฺคสุตฺตวณฺณนา ฯ ฉฬงฺคสมนฺนาคตนฺติ - วุตฺตานีติ ตฏฺฏีกา ฯ ทกฺขนฺติ วฑฺเฒนฺติ - วุตฺตานีติ ตฏฺฏีกา ฯ ทกฺขนฺติ วฑฺเฒนฺติ - ปฐมวคฺควณฺณนา ฯ ยญฺญสฺส สมฺปทาติ - อธิปฺปาโยติ ตฏฺฏีกา ฯ อนุคฺคหปูชนิจฺฉาวเสน หิ - ผลโต อสงฺเขยฺยํ ฯ โก เนสํ วิเสโสติ - เขตฺตสมฺปตฺติยา มหปฺผลํ โหตีติ ฯ เตสุ ติสรณคตสฺส - อุตฺตรตา ปากฏาเอว ฯ พุทฺธปฺปมุขอุภโตสงฺฆสฺส - นยํ ปหายาติ วุตฺตํ ฯ เตสุ ติสรณคตสฺส – อุตฺตริตรตา ปากฏาเอว ฯ ตถา หิ อุปริมํ – อุปเทนสฺสาปิ น โหติเยว ฯ สนฺทิฏฺฐิกนฺติ อสมฺปรายิกตาย – อพนฺธสฺสาติ ตฏฺฏีกา ฯ ทายโก ทานปตีติ – มาฆสุตฺตวณฺณนา ฯ สเจปิ หิ - ชินาตีติ ธมฺมปทวณฺณนา ฯ ธมฺมรโสติ - สพฺพนฺธิตพฺพนฺติ ตฏฺฏีกา ยา เจสา - ธมฺโม เทเสตพฺโพติ ฯ ธมฺมทานมฺปน ยสฺมา - สมาธิยตีติ ตพฺพณฺณนา ฯ ธมฺมทานมฺปน ยสฺมา - สมาธิยตีติ ตพฺพณฺณนา ฯ วิมุตฺตายตนนฺติ - นสฺสิตุนฺติ ตฏฺฏีกา ฯ อิธ คหปตโย เอกจฺโจ - จตุพฺพิธํ วาจาย .. โหติ ฯ เอหมฺโภ ปุริสาติ อาลปนเมตํ - ปหายาติ อตฺโถ ฯ
129
พ.ศ. ข้อ ๒๕๓๑ ๑ ๒๕๓๓ ๑ ๒๕๔๓ ๑ ๒๕๔๗ ๒ ๒๕๕๖ ๑ ๒๕๕๖ ๒ ๒๕๕๒ ๒ ๒๕๕๐/๒ ๑ ๒๕๕๑ ๑ ๒๕๕๗ ๑ ๒๕๔๑ ๑ ๒๕๕๗/๒ ๑ ๒๕๕๗ ๒ ๒๕๕๗/๒ ๒ ๒๕๓๖ ๑ ๒๕๓๑ ๒ ๒๕๕๑ ๒ ๒๕๔๓ ๒ ๒๕๕๐ ๒ ๒๕๕๐/๒ ๒ ๒๕๔๙ ๑ ๒๕๓๔ ๑ ๒๕๔๘/๒ ๑ ๒๕๔๑ ๒ ๒๕๖๑/๒ ๑ ๒๕๔๒ ๑ ๒๕๖๑/๒ ๒ ๒๕๔๘ ๑
เรื่อง ธัมมจริยากถา ธัมมจริยากถา ธัมมจริยากถา ธัมมจริยากถา ธัมมจริยากถา ธัมมจริยากถา ธัมมจริยากถา ธัมมจริยากถา อนวัชชกัมมะ อนวัชชกัมมะ อนวัชชกัมมะ อนวัชชกัมมะ อนวัชชกัมมะ อนวัชชกัมมะ ปาปวิรัติ ปาปวิรัติ ปาปวิรัติ ปาปวิรัติ มิจฉาจาร มิจฉาจาร อารตี วิรตีกถา อัปปมาทคาถา คารวกถา คารวกถา คารวกถา คารวกถา คารวกถา คารวกถา
เลขข้อ หน้า เริ่ม - จบ ๖๐ -๖๑ ๕๔ - ๕๕ ตตฺถ อณฺฑกาติ ยถา - จูฬหตฺถิปโทปมาทิวณฺณนา ฯ ๖๓ - ๖๔ ๕๖ -๕๗ กาเล วทตีติ กาลวาที - ภยเภรวสุตฺตวณฺณนา ฯ ๖๖ ๕๘ - ๕๙ สมฺมา โสภนา - คเหตพฺพํ ฯ ๖๙ ๖๐ - ๖๑ อิติ ภควา - นิทฺทิฏฺโฐติ สาเลยฺยกวณฺณนา ฯ ๗๐ ๖๓ - ๖๔ ปหายาติ วา - ปวตฺตมาโน วุตฺโต ฯ ๗๐ ๖๔ - ๖๕ มิชฺชติ สินิยฺหตีติ - จูฬหตฺถิปโทปมจตุกฺกงฺคุตฺตรฏีกาฯ ๗๔-๗๖ ๖๕ - ๖๖ อสุกวีถึ วา อุทฺทิสฺส - รุกฺเขติอาทินฺติ สาเลยฺยกฏีกาฯ ๘๙ ๗๗ - ๗๘ ทานเมว อุปนิสฺสโย - วุตฺตนฺติ ตฏฺฏีกาฯ ๑๐๖ - ๑๐๘ ๙๒ - ๙๓ ยมฺปนฏฺฐกนิปาเต - กตฺตพฺพตา ทสฺสิตา ฯ ๑๑๗ - ๑๑๘ ๙๗ - ๙๙ กาโลติ ภิกฺขูนํ -น วีติกฺกโมติ ขุทฺทกปาฐวณฺณนา ฯ ๑๒๔ - ๑๒๖ ๑๐๑ - ๑๐๒ มญฺจปีฐปาทา หิ - มญฺจปฺปฏิปาทกนฺติ ฯ ๑๒๔-๑๒๕ ๑๐๑ มญฺจปีฐปาทา หิ - นิฏฺฐเมตฺถ คนฺตพฺพํ ฯ ๑๒๖ - ๑๒๗ ๑๐๑ - ๑๐๒ มญฺจปฺปฏิปาทกา ตุ - พฺรหฺมชาลอุโปสถสุตฺตฏีกา ฯ ๑๒๙-๑๓๐ ๑๐๓-๑๐๕ ตมฺปน อุปวสนฺเตน - ปรวิหึสาปฏิสยุตฺตาติ ตฏฏีกา ฯ ๑๖๓ ๑๓๑-๑๓๒ กมฺมกฺกิเลสาติ วจนโต - กายวจีมโนกมฺมานีติ ฯ ๑๗๑-๑๗๒ ๑๓๕-๑๓๖ ฏีกากาโร หิ ยทิปิ - มุสา ภณิเต อสฺสมโณ โหตีติ ฯ ๑๘๔ - ๑๘๕ ๑๔๒-๑๔๓ ยสฺมา ปน ตํตํเวรโต - อุปฺปาเทตพฺพนฺติอาทิมาห ฯ ๑๙๑ - ๑๙๒ ๑๔๗-๑๔๙ มชฺชปานาทีนโว ปน - การณนฺติ ตพฺพณฺณนา ฯ ๒๐๗-๒๐๙ ๑๖๐-๑๖๑ อตีเต สาวตฺถิยํ - อนฺโต ภวิสฺสตีติ ฯ ๒๐๘ - ๒๑๑ ๑๖๑-๑๖๒ สการํ วตฺวา นิมุคฺโค - โลหกุมฺภีชาตกํ เทเสสิ ฯ ๒๓๖-๒๓๗ ๑๗๙-๑๘๐ ตสฺมา อริยธมฺมสงฺคตา - วุจฺจตีติ วุตฺตํ ฯ ๒๔๐-๒๔๑ ๑๘๒-๑๘๓ อปฺปมาโท นาม ปมาทสฺส – วิภงฺควณฺณนา ฯ ๒๖๒ ๑๙๔-๑๙๕ ครู นาม ครุกาตพฺพา - ปูเชตพฺพํ น ปูเชติ ฯ ๒๖๖ - ๒๖๗ ๑๙๗-๑๙๙ ยสฺมา ปน อคารเว - สงฺคีติสุตฺตฏีกา ฯ ๒๖๗-๒๖๘ ๑๙๘-๑๙๙ ยถา เจติยํ อุทฺทิสฺส - นามาติ กสฺสปสํยุตฺตวณฺณนา. ๒๖๘ ๑๙๙-๒๐๐ โย เจติยงฺคณํ - ทุวิธนฺติ ตฏฺฏีกา ฯ ๒๗๐ ๒๐๐-๒๐๑ ปฏิสณฺฐาโรติ อยํ - ธมฺมกถนนฺติ ตฏฺฏีกา. ๒๖๙-๒๗๐ ๒๐๐-๒๐๑ สณฺฐาโร ปฏิสณฺฐาโรติ - ธมฺมกถนนฺติ ตฏฺฎีกา ฯ
130
พ.ศ. ข้อ
เรื่อง
๒๕๔๘ ๒ ๒๕๔๒ ๒ ๒๕๔๐ ๒ ๒๕๓๒ ๑ ๒๕๖๑/๑ ๑ ๒๕๖๑/๑ ๒ ๒๕๓๖ ๒ ๒๕๕๘/๒ ๑ ๒๕๓๐ ๑ ๒๕๓๐ ๒ ๒๕๕๘/๒ ๒ ๒๕๕๘ ๑ ๒๕๕๘ ๒ ๒๕๔๕ ๑ ๒๕๓๗ ๒ ๒๕๓๓ ๒ ๒๕๔๕ ๒ ๒๕๓๙ ๑ ๒๕๕๕/๒ ๒ ๒๕๕๙ ๑ ๒๕๕๙ ๒ ๒๕๔๙ ๒ ๒๕๕๙/๒ ๑ ๒๕๕๙/๒ ๒ ๒๕๓๔ ๒ ๒๕๔๘/๒ ๒ ๒๕๕๕ ๑ ๒๕๕๕ ๒
คารวกถา คารวกถา นิวาตกถา สันตุฏฐิกถา สันตุฎฐิกถา สันตุฎฐิกถา สันตุฏฐิกถา สันตุฏฐิกถา สันตุฏฐิกถา สันตุฏฐิกถา สันตุฏฐิกถา สันตุฏฐิกถา สันตุฏฐิกถา สันตุฏฐิกถา กตัญญุตา กตัญญุตา กตัญญุตา ธัมมสวนกถา ธัมมสวนกถา ธัมมสวนกถา ธัมมสวนกถา ขัตติกถา ขันติกถา ขันติกถา โสวจัสสตากถา โสวจัสสตากถา สมณทัสสนกถา สมณทัสสนกถา
เลขข้อ
หน้า
เริ่ม - จบ
๒๗๒ ๒๐๑-๒๐๒ ปฏิสณฺฐารโก โหตีติ - อาทาย คนฺตพฺพํ ฯ ๒๗๔-๒๗๕ ๒๐๔-๒๐๕ อนามฏฺฐปิณฺฑปาโต - ปิณฺฑปาโตติ ตฏฺฏีกา ฯ ๒๘๖-๒๘๗ ๒๑๗ นิวาโต นาม - สณฺหวาจตาติ ตฏฺฏีกา ฯ ๒๙๓ ๒๒๔ สนฺตุฏิ นาม - สเมน ตุสฺสโกติ วุจฺจตีติ ฯ ๒๙๙–๓๐๐ ๒๒๙-๒๓๐ สามญฺญผลาทิวณฺณนา อีสกํ - เวทิตพฺโพติ ตฏฺฏีกา ๓๐๑ ๒๓๐-๒๓๑ อาพาธิโก โหติ - อคฺโคติ ตฏฺฏีกา. ๓๐๒ ๒๓๑-๒๓๓ อิมินา ปน - จตุตฺถปณฺณาสกวณฺณนา จ ฯ ๓๐๓ – ๓๐๔ ๒๓๓ – ๒๓๔ จีวรปิณฺฑปาตานํ – คจฺฉนฺตีติ ตฏฺฏีกา ฯ ๓๐๗ ๒๓๕-๒๓๗ จีวรตฺถาย คจฺฉนฺตสฺส - สตฺต วาเร วิชฺฌิตพฺพ ฯ ๓๐๗ ๒๓๗-๒๓๘ เอว กโรนตสฺส หิ - ปณฺณรส สนฺโตสา ฯ ๓๐๙ – ๓๑๑ ๒๔๓ – ๒๔๔ เอวมฺปเภโท – ติรจฺฉานคตานมฺปิ ฯ ๓๒๐ – ๓๒๒ ๒๕๒ – ๒๕๓ มหนฺตานิ วตฺถูนิ – วิภงฺควณฺณนา ฯ ๓๕๐ – ๓๕๑ ๒๖๗ – ๒๖๘ เอวํ ปจฺจยปฺปิจฺฉปฺปฎิปทํ – อาปชฺชตีติ วุตฺตํ ฯ ๓๓๓-๓๓๔ ๒๕๙-๒๖๐ เอวมฏฺฐกถาสุ ปาปิจฺฉ - ทสุตฺตรสุตฺตวณฺณนา ฯ ๓๖๔-๓๖๕ ๒๗๗-๒๗๘ ตตฺถ อาจาริยูปชฺฌายาติ - อุปชฺฌาติ วุตฺตํ ฯ ๓๖๙ ๒๘๐ ตโมติ อปฺปกาสภาเวน - อตฺโถ เวทิตพฺโพติ ตฏฏีกา ฯ ๓๗๐ ๒๘๐-๒๘๑ นีจกุลปจฺฉาชาติอาทิเกน - ปุคฺคลปญฺญตฺติ ฏีกาฯ ๓๘๒ ๒๙๘-๒๙๙ กาเลน ธมฺมสฺสวนํ - อฏฺฐานฆาตวเสน ทีเปตพฺพา ฯ ๓๙๒ ๓๐๘-๓๐๙ โสตานุคตานนฺติ ยถาวโต - ปฏิวิทฺธาติ ตฏฺฏีกา ฯ ๓๙๙-๔๐๐ ๓๑๖-๓๑๗ เอวํ ธมฺมสวนํ – อสมฺภวโตติ ตฏฺฏีกา ฯ ๔๐๑-๔๐๒ ๓๑๗-๓๑๘ ถูลผุสิตเกติ มหาผุสิตเก – ปญฺจธมฺมา สํวตฺตนฺตีติ ฯ ๔๑๒-๔๑๓ ๓๒๖-๓๒๗ เอวํ ปุณฺณตฺเถร - อธิวาสนกฺขตฺตีติ วุตฺตํ ฯ ๔๓๑-๔๓๒ ๓๓๖-๓๓๘ เอวํ ขนฺติยุตฺโต ปุคฺคโล – อนุปสนฺตา เวเทหิกาติ ฯ ๔๓๓ ๓๓๘ อิติ ยตฺตกา คุณา - อุปสนฺโตติ เวทิตพฺโพติ ฯ ๓๔๕-๓๔๖ ๓๔๐-๓๔๑ โสวจสฺสตา นาม - วุตฺตปฺปฏิปกฺขนเยนาติ ตฏฏีกา ฯ ๔๔๑ ๓๔๓-๓๔๔ สุวโจ จ นาม อตฺตโนปิ - ภิกฺขเว สิกฺขิตพฺพนฺติ ฯ ๔๕๖ ๓๕๕-๓๕๖ ขีณาสวสฺส โลกุตฺตรสีลํ - ฌานวิปสฺสนาติอาทิ วุตฺตํ ฯ ๔๕๗-๔๕๙ ๓๕๗-๓๕๙ อิทานิ เยน การเณน - วิตฺถารโต วุตฺตํ ฯ
131
พ.ศ. ข้อ ๒๕๓๙ ๒ ๒๕๔๙/๒ ๑ ๒๕๔๙/๒ ๒ ๒๕๔๖ ๒ ๒๕๔๔ ๒ ๒๕๒๙ ๑ ๒๕๒๙ ๑ ๒๕๓๕ ๑ ๒๕๓๘ ๒ ๒๕๓๕ ๒ ๒๕๕๔ ๑ ๒๕๕๔ ๒ ๒๕๓๒ ๒
เรื่อง ตปกถา ตปกถา ตปกถา อริยสัจจะ นิพพาน เขมจิต เขมจิต เขมจิต เขมจิต เขมจิต เอกาทสมคาถา เอกาทสมคาถา เอกาทสมคาถา
เลขข้อ หน้า เริ่ม - จบ ๔๗๐-๔๗๒ ๓๖๖-๓๖๗ ตโป นาม - ตปนโต วิริยนฺติ วุตฺตํ ฯ ๔๗๔ ๓๖๘-๓๖๙ อินฺทฺริเยสุ คุตฺตทฺวาโรติ - วิสุทฺธิมคฺโค ฯ ๔๙๑-๔๙๒ ๓๘๘-๓๘๙ เอวํ สตฺถา อตึตํ - ปฏิลภตีติ อตฺโถ ฯ ๕๒๖-๕๒๗ ๔๐๘-๔๐๙ ตตฺถ ปุริมานิ เทฺว สจฺจานิ – มคฺคสํยุตฺตฎีกา ฯ ๕๓๘ ๔๑๕-๔๑๖ นิพพานํ นาม - สพฺพภวานิ ตาทิโนติ ฯ ๖๐๑-๖๐๓ ๔๖๓-๔๖๕ เอว ราชฺโ - ธมฺมเสนาปตินา วุตฺโต ฯ ๖๐๔-๖๐๕ ๔๖๕-๔๖๖ อิฏานิฏเ ตาทีติ - ทุติยปณฺณาสกวณฺณนา ฯ ๖๐๕-๖๐๖ ๔๖๕-๔๖๖ อาหุเนยฺโยติ อาหุติสงฺขาตํ – โลกสฺสาติ ตฏฺฏีกา ฯ ๖๐๖ ๔๖๖-๔๖๗ อาเนตฺวา หุติตพฺพนฺติ - โลกสฺสาติ ตฏฺฏีกา ฯ ๖๐๗ ๔๖๗-๔๖๘ เอวเมตํ อปฺปวตฺตกฺ.... - นานุภวนฺติ ทสฺสนายาติ ฯ ๖๑๔-๖๑๖ ๔๗๑-๔๗๒ กตฺวานาติ กริตฺวา มาโรติ - วุตฺตนฺติ ตฏฺฏีกา ฯ ๖๑๗-๖๑๘ ๔๗๒-๔๗๓ มปราชิตาติ มกาโร คาถาพนฺธสุขตฺถํ - วุตฺโตติ วุตฺตํ ฯ ๖๒๕ ๔๗๗-๔๗๘ อิทานิ สพฺพมงฺคเลสุ - ... ตนฺเตสมงฺคลมุตฺตมนฺติ ฯ
132
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๑ วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ. ๕ “ธรรมบท ภาค ๒ - ๔ เรียงหน้า” รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ. ๗
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๕๑/๒ ๒๕๕๑/๒ ๒๕๓๒ ๒๕๖๑/๒ ๒๕๖๑/๒ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๔๐ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙/๒ ๒๕๕๙/๒ ๒๕๓๔ ๒๕๔๔ ๒๕๖๑/๑ ๒๕๖๑/๑ ๒๕๔๘ ๒๕๓๓ ๒๕๓๘ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔
๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒
๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒
สามาวดี สามาวดี สามาวดี สามาวดี สามาวดี สามาวดี สามาวดี สามาวดี สามาวดี วิสาขา วิสาขา วิสาขา วิสาขา สามาวดี กุมภโฆสก จูฬปันถกเถระ จูฬปันถกเถระ จูฬปันถกเถระ มหากัสสปะ สักกะ นิคมวาสิติสส นิคมวาสิติสส
หน้า ๑ - ๒ ๓ - ๔ ๑๒ - ๑๓ ๒๐ -๒๑ ๒๑ ๒๒ - ๒๓ ๒๔ ๓๐ - ๓๑ ๓๖ - ๓๗ ๔๗ ๔๗-๔๘ ๕๑-๕๒ ๕๒-๕๓ ๕๕ - ๕๖ ๗๒ - ๗๓ ๗๖ ๗๗ ๘๔ - ๘๕ ๙๑ - ๙๒ ๙๖ - ๙๗ ๑๑๒ - ๑๑๓ ๑๑๓ - ๑๑๔
เริ่ม - จบ อตีเต อลฺลกปฺปรฏฺเฐ อลฺลกปฺปราชา - เต ตถา กรึสุ ฯ ตสฺมึ สมเย โกสมฺพิยํ - อตฺตโน ปณฺฑิตตาย อธิวาเสสิ ฯ ติรจฺฉานา นาเมเต - กุจฺฉิสฺมึ ปฏิสนฺธึ คณฺหิ ฯ เสฏฺฐิโน ปเนกา - อุปฺปลํว ยโถทเกติ อถ นํ ปุจฺฉิ - ทุสฺสนฺเตเยวสฺส พนฺธิ ตํ สุตฺวา เสฏฺฐิโน - ตเถว ปฏิปชฺชิฯ ปวิฏฺฐกาเล ปน เสฏฺฐิปุตฺโต - ตํขณญฺเญว กาลมกาสี ฯ อเถกทิวสํ ตสฺมึ นคเร นกฺขตฺติ - ตถา สาสนํ ปาเหสิ ฯ โส จินฺเตสิ อยฺโย - ยถาติ อนุโมทนํ อกาสิฯ เตน โข ปน สมเยน – กตฺตพฺพยุตฺตกํ อกาสิ ฯ ราชาปิสฺส มหนฺตํ – ฉวิกลฺยาณํ วยกลฺยาณนฺติ ฯ พฺราหฺมณา ตสฺสา กถนกาเล – เอกโต ว อคมํสุ ฯ ธนํ ตาว – อนุภวิสฺสนฺตีติ สํวิทหิ ฯ ตา เอกทิวสํ เถรสฺส - ทินฺนานิ สตสหสฺสขตฺตุํ ลภิ. ราชา อเนกสตานิ - อปฺปมตฺตสฺส ยโสภิวฑฺฒตีติ ฯ เตสํ ตตฺถ วสนฺตานํ - อยฺยกกุเล วฑฺฒนฺติ. เตสุ จูฬปนฺถโก อติทหโร - จูฬปนฺถกํ ปพฺพาเชยฺยนฺติ. ตทา พาราณสีราชา - นิเวสนํ ปาวิสิฯ เอกสฺมึ หิ ทิวเส - ธีโร พาเล อเวกฺขตีติ ฯ สกฺโก มหาลิ - ขิปฺปเมว นํ ปฏิวิเนยฺยนฺติ ฯ เอกสฺมึ หิ สาวตฺถิโต - ยาจิโต อตีตํ อาหริ ฯ อตีเต หิมวนฺเต คงฺคาตีเร - กเถนฺโต อิมํ คาถมาห ฯ
133
พ.ศ. ๒๕๓๖ ๒๕๔๒ ๒๕๕๔/๒ ๒๕๔๖ ๒๕๕๔/๒ ๒๕๔๙/๒ ๒๕๓๕ ๒๕๓๗ ๒๕๕๐/๒ ๒๕๓๖ ๒๕๔๐ ๒๕๖๐ ๒๕๖๐ ๒๕๕๒ ๒๕๕๒ ๒๕๕๒/๒ ๒๕๕๒/๒ ๒๕๕๖/๒ ๒๕๓๕ ๒๕๕๖/๒ ๒๕๖๐/๒ ๒๕๖๐/๒ ๒๕๔๕ ๒๕๔๗ ๒๕๔๙/๒ ๒๕๔๘/๒ ๒๕๔๘ ๒๕๔๓
ข้อ ภาค เรื่อง ๑ ๒ เมฆิยะ ๑ ๒ อัญญตรภิกขุ ๑ ๒ อัญญตรภิกขุ ๑ ๒ อัญญตรภิกขุ ๒ ๒ อัญญตรภิกขุ ๑ ๒ อัญญตรภิกฺขุ ๑ ๒ อารัทธวิปัสสก ๑ ๒ โสเรยยะ ๑ ๒ โสเรยยะ ๒ ๓ มรีจิ ๒ ๓ มรีจิ ๑ ๓ วิทูฑภะ ๒ ๓ วิทูฑภะ ๑ ๓ วิทูฑภะ ๒ ๓ วิทูฑภะ ๑ ๓ วิฑูฑภะ ๒ ๓ วิฑูฑภะ ๑ ๓ วิฑูฑภะ ๒ ๓ วิฑูฑภะ ๒ ๓ วิฑูฑภะ ๑ ๓ วิทูฑภะ ๒ ๓ วิทูฑภะ ๑ ๓ วิฑูฑภะ ๑ ๓ วิฑูฑภะ ๒ ๓ ปติปูชิกา ๑ ๓ มัจฉริโกสิยเสฏฐี ๒ ๓ มัจฉริโกสิยเสฏฐี ๑ ๓ ปาฏิกาชีวก
หน้า ๑๑๖ - ๑๑๗ ๑๑๙ - ๑๒๐ ๑๑๙ ๑๒๐ - ๑๒๑ ๑๒๑-๑๒๒ ๑๒๕ ๑๔๑-๑๔๒ ๑๕๒ ๑๕๖-๑๕๗ ๓ - ๔ ๓ ๙-๑๐ ๑๐-๑๑ ๑๔ - ๑๕ ๑๕ - ๑๖ ๑๗ ๑๗ - ๑๘ ๑๗ - ๑๘ ๑๘ - ๑๙ ๑๘ - ๑๙ ๑๙-๒๐ ๒๐ ๒๐ - ๒๑ ๒๔ ๒๘ - ๒๙ ๓๒ - ๓๓ ๓๕ - ๓๖ ๓๙ - ๔๐
เริ่ม - จบ สตฺถา ปน ตีหิ - ปเนกํ จิตฺตนฺติ วุตฺตํ ฯ เต ตตฺถ วสนฺตา - นาม นตฺถิ ฯ อถ เน โย ตสฺส - เภสชฺชํ กริสฺสามาติ ฯ อุปาสิกา เอเกกฏฺฐานโต - จ อาคมึสุ ฯ เตสํ สปฺปายาหารํ - ตสฺสา คุณกถํ กถยึสุ ฯ สตฺถา ตสฺส ภิกฺขุโน - อกาสีติ จินฺเตสิ ฯ เต อญฺญมญฺญํ ตุยฺหํ - ปวิเสยฺยาถาติ อุยฺโยเชสิ ฯ สมฺมาสมฺพุทฺเธ สาวตฺถิยํ - น ชานาถาติ วทึสุ ฯ ชนปทวาสิโน ตํ ปวตฺตึ - นํ ตโต กเรติ ฯ โส กิร สตฺถุ - อทสฺสนํ มจฺจุราชสฺส คจฺเฉติ ฯ โส กิร สตฺถุ - ภิชฺชนสภาโวเอวาติ วตฺวา ฯ อิติ โข มหาราช – วนฺทิตฺวา ปกฺกมึสุ ฯ กปฺปกนฺเตวาสิเกน สทฺธึ – สุวณฺณวณฺโณ อโหสิ ฯ อเถกา ทาสี - ปกติปริหารเมว ทาเปสิ ฯ สา นจิรสฺเสว คพฺภํ - อาคตมคฺเคเนว ปายาสิ ฯ พนฺธุโล เตนหิ อิมา - ชีวิตกฺขยํ ปตฺตา ฯ อเถกทิวสํ วินิจฺฉเย กุฏฏฺฏปราชิตา - มหาโยเธ เปเสสิ ฯ อเถกทิวสํ วินิจฺฉเย - ปุตฺเตหิ สีสํ ฉินฺทึสุ ฯ ตํทิวสํ มลฺลิกาย เทวิยา - อุฏฺฐายาสนา วิหารํ อคมาสิ ฯ ตํทิวสํ มลฺลิกาย - ราชา สมฺปฏิจฺฉิ ฯ สาปิ ทฺวตฺตึสสุณิสาโย – รชฺชสุขํ นานุโภติ ฯ ตทา สตฺถา สากิยานํ – สรีรกิจฺจํ กาเรสิ ฯ วิฑูฑโภปิ รชฺชํ - จตุตฺถวาเร นาคเมสิ ฯ สตฺถา ตํ กถํ สุตฺวา - อาทาย คจฺฉตีติ ฯ ปุนทิวเส ภิกฺขู - กุรุเต วสนฺติ ฯ อถ สตฺถา ปาโตว - เอกธูโม อโหสิฯ ปุนทิวเส สายณฺหสมเย - เอวํ คาเม มุนี จเรติ ฯ พุทฺธานญฺจ มคฺคเทสเกน - นาสกฺขิ ฯ
134
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๔๑ ๒๕๓๑ ๒๕๔๗ ๒๕๕๐/๒ ๒๕๕๐ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๓ ๒๕๕๓ ๒๕๕๕/๒ ๒๕๕๕/๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๘ ๒๕๓๘ ๒๕๕๓/๒ ๒๕๕๓/๒ ๒๕๔๙ ๒๕๔๖ ๒๕๓๙ ๒๕๓๙ ๒๕๓๙ ๒๕๔๓ ๒๕๓๐ ๒๕๓๐ ๒๕๕๘/๒ ๒๕๕๘/๒
๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๒
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓
วิสาขา วิสาขา วิสาขา วิสาขา วิสาขา วิสาขา วิสาขา มหากัสสปะ มหากัสสปะ อัญญตรปุริสะ อัญญตรปุริสะ อัญญตรปุริสะ อัญญตรปุริสะ อัญญตรปุริสะ อัญญตรปุริสะ อัญญตรปุริสะ อัญญตรปุริสะ อัญญตรปุริสะ ติณฐิภทราโจร กสกวัตถุ อุบลวัณณา อุบลวัณณา อุบลวัณณา วนวาสิติสสเถระ วนวาสิติสสเถระ วนวาสิติสสเถระ วนวาสิติสสเถระ วนวาสิติสสเถระ
หน้า ๔๙ - ๕๐ ๕๐ - ๕๑ ๕๗ - ๕๘ ๖๐ - ๖๑ ๖๑ - ๖๒ ๖๑ ๗๕ - ๗๖ ๘๐ - ๘๑ ๘๒ - ๘๓ ๑๐๐-๑๐๑ ๑๐๑-๑๐๒ ๑๐๒ ๑๐๒-๑๐๓ ๑๐๔ – ๑๐๖ ๑๐๖ ๑๐๘-๑๐๙ ๑๑๒-๑๑๓ ๑๑๓ ๑๒๔ ๑๓๓ ๑๔๐ ๑๔๑ ๑๔๑-๑๔๒ ๑๘๘-๑๘๙ ๑๗๔-๑๗๕ ๑๗๕-๑๗๖ ๑๗๖ – ๑๗๗ ๑๗๗ – ๑๗๘
เริ่ม - จบ ตสฺมึ ปน นคเร - กํสตาลสฺสโร วิย นิจฺฉรติ ฯ อถ เน ปุน มธุรสทฺเทน - น ธาวิตมฺหิ ตาตาติ ฯ อถ เสฺว มม - สทฺธึ ธีตรํ อุยฺโยเชสิ ฯ วิสาขา สสุรํ วีชมานา - มยฺหํ โทสํ โสธาเปถาติ ฯ เสฏฺฐี กลฺยาณํ - อทตฺวา วสิตุนฺติ ฯ เสฏฺฐี กลฺยาณํ - กึ โทสํ ปสฺสสีติ ฯ สตฺถา สมิชฺฌิสฺสติ - กุสลํ พหุนฺติฯ เอกสฺมี หิ ทิวเส - อิมินา ว เทวาติ ฯ ตทา เถโร จินฺเตสิ - อุทานํ อุทาเนสิ ฯ ราชา กิร ปเสนทิโกสโล - วนฺทิตฺวา อฏฺฐาสิ ฯ อถ นํ ราชา - ภตฺตํ ปกฺกํ อโหสิ ฯ โส อนุจฺฉิฏฺฐํ กตฺวา ว - อรุณวตีมตฺตีกํ อทาสิ ฯ ราชา ปน จินฺเตสิ - ตํ อิตฺถึ อาเนสฺสามีติ ฯ วุตฺตํปิ เจตํ – ตสฺโสวาทํกโรหีติ ฯ อถโข ราชา – มยาอิธานีโตติ ฯ โส ภาริยํ วติทํ - สทฺธมฺมํ อวิชานตนฺติ ฯ สกฺโก อหํปิ ตํ - ปุปฺผมุฏฺฐินา ปูเชสิ ฯ ปุน ราชา อาห-อนุสฺสรนฺตี โรทามีติ อาห. (วตฺวา) เต กิร สทา - จบคาถา อถ นํ ราชา กสฺมา - วิปากํ ปฏิเสวตีติ ฯ สา กิร ปทุมุตฺตรพุทฺธสฺส - นามํ อกํสุ ฯ ตสฺสา อจิรปพฺพชิตายเอว - อภิญฺญาหิ จ ฯ มาตุลปุตฺโต ปนสฺสา – อถ (พาโล) ทุกฺขํ นิคจฺฉตีติ ฯ ภิกฺขูนํ ธมฺมสภายํ - พฺรูหเยติ จบคาถา ฯ ทุคฺคตกาเล ทินฺนทานํ ปน - ทินฺนปายสฺส นิสฺสนฺโท ฯ ชาตมงฺคลทิวเส ปน - อปฺโปทกมธุปายาสเมว อทํสุ ฯ ทารโก วุฑฺฒิมนฺวาย – ปิณฺฑาย ปาวิสิ ฯ ปุเนกทิวสํ สามเณโร – กมฺพเล ปฏิจฺฉาเทหีติ ฯ
135
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง ๒๕๓๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๔๑ ๒๕๔๙ ๒๕๕๗/๒ ๒๕๔๔ ๒๕๕๗/๒ ๒๕๓๒ ๒๕๒๙ ๒๕๒๙ ๒๕๔๘/๒ ๒๕๔๒ ๒๕๒๙ ๒๕๓๓ ๒๕๓๔ ๒๕๔๕ ๒๕๓๑
๒ ๑ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
หน้า
มหากัปปินะ ๑๔ - ๑๕ มหากัปปินะ ๑๖ - ๑๗ มหากัปปินะ ๑๘ บัณฑิต ๒๑ - ๒๒ บัณฑิต ๒๑ - ๒๒ บัณฑิต ๒๑ - ๒๒ บัณฑิต ๒๒ - ๒๓ บัณฑิต ๒๓ - ๒๔ บัณฑิต ๓๓ ปัญจสตภิกษุ ๔๕ - ๔๖ ธัมมิกเถระ ๔๗ - ๔๘ ธัมมัสสวนะ ๔๙ - ๕๐ โกสัมพีวาสิติสสะ ๗๑ - ๗๒ ขทิรวนิยเรวต ๗๕ ขทิรวนิยเรวต ๗๗ - ๗๘ ขทิรวนิยเรวต ๗๘ - ๗๙ ขทิรวนิยเรวต ๗๙ - ๘๐ ปฏาจารา ๑๓๖ - ๑๓๘
เริ่ม - จบ สตฺถาปิ ตํ ทิวสํ - วิย มา อโหสีติ ฯ สตฺถา อาคมิสฺสติ นุ โข - เทฺว สาสนานิ อาโรเจสุํ ฯ สา เตสํ ภริยาโย - คนฺตฺวา ปพฺพชิสฺสามีติ ฯ อตีเต กิร กสฺสปสมฺมา - สตฺถา อธิวาเสสิ ฯ อตีเต กิร กสฺสปสมฺมา - สตฺถา อธิวาเสสิ ฯ อตีเต กิร กสฺสปสมฺมา - สตฺถา อธิวาเสสิ ฯ โส คามํ ปวิสิตฺวา - น ชานาสีติ ฯ โส ตสฺมึ กเถนฺเต - โกฏฺเฏติ เจว โอผุนาติ ฯ เถโร อฏฺฐเม ทิวเส - มาติกา นาม สามเณราติ ฯ สาวตฺถีวาสิโน สตฺถุ - วิตฺถาเรน กเถสิ ฯ สาวตฺถิยํ กิร เอโก - นิกฺขมิตฺวา ปพฺพชฺชิ ฯ (ต่อ) สาวตฺถิยํ กิร เอกวีถิวาสิโน - มจฺจุเธยฺยํ สุทุตฺตรนฺติ ฯ โส คนฺตฺวา - อุปสนฺตสฺส ตาทิโนติ จบคาถา ฯ มาตาปิสฺส เรวตกุมารํ - ปพฺพชิตุํ วฏฺฏตีติ ฯ (ต่อ) โถกํ คตกาเล อานนฺทตฺเถโร - ...ฐานสตานิ จ มาเปสิ ฯ ตตฺถ ปน เทฺว - ทิสฺวา อาทาย ปกฺกมึสุ ฯ อุปาสิกา จินฺเตสิ - ตํ ภูมิรามเณยฺยกนฺติ ฯ อถ เตสํ คจฺฉนฺตานํ - เวเคน อุทเก ปติ ฯ
136
บัญชรายชอผู้เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค�๑๔��ปีที่�๔๔
และสอบประโยคบาลี��ชั้นประโยค��๑-๒��ได้��ในสนามหลวง�พ.ศ.�๒๕๖๑ ที่
� ๑� � ๒� � ๓� � ๔� � ๕� � ๖� � ๗� � ๘� � ๙� � ๑๐� � ๑๑� � ๑๒� �๑๓� � ๑๔� � ๑๕� � ๑๖�
ชื่อ
พระวิรัช� พระกวินฬพัฒน์� สามเณรดรัณภพ� สามเณรศิวกร� พระครูเมธังกร� พระเมธัส� พระอวิรุทธิ์� พระณัฐวุฒิ� สามเณรวศิน� พระทินกร� พระวิทยา� พระสิทธิศักดิ์� พระทีระภัทร� พระศราวุธ� สามเณรราชัน� สามเณรวงค์ศักดิ์�
ฉายา
กนฺตสีโล� อิสฺสโร� � � คุณวฑฺโฒ� ฐานวีโร� อวิรุทฺโธ� ณฏฺฐวุฑฺโฒ� � โชติวโร� อสิญาโณ� สุทฺธิจิตฺโต� ญาณโสภโน� สํวุฑฺโฒ� � �
นามสกุล อายุ พรรษา
อนวัชมรรคา� ณ�สงขลา� ปากดี� อสิพงษ์� อิสรสกุล� อินเบ้า� ดวงใจ� สุวรรณเวช� จ้อยร่อย� สุกันณ์� ใหม่เจริญพร� จิ๋วเจริญ� ทองรอด� พุฒห้อย� เหล่ากอแก้ว� นาคใหญ่�
137
๕๑� ๓๗� ๑๔� ๑๔� ๔๐� ๒๙� ๒๕� ๒๒� ๑๖� ๔๒� ๒๓� ๒๕� ๔๕� ๓๑� ๑๗� ๑๗�
๘� ๔� � � ๑๑� ๗� ๒� ๑� � ๗� ๔� ๒� ๕� ๕� � �
วัด
พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� ไร่เกาะต้นสำ�โรง� ไร่เกาะต้นสำ�โรง� ญาณเวศกวัน� ญาณเวศกวัน� ญาณเวศกวัน� ประชาราษฎร์บำ�รุง� ประชาราษฎร์บำ�รุง� สี่แยกเจริญพร� สี่แยกเจริญพร� ป่าเลไลยก์วรวิหาร� ปราสาททอง� สวนหงส์� สวนหงส์� สวนหงส์�
จังหวัด
นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี
ที่
๑๗ ๑๙ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑
ชื่อ
ฉายา
สามเณรศุภกร สามเณรณัฐพงษ์ สามเณรพงษ์ศักดิ์ สามเณรอรรถพันธ์ สามเณรอมรเทพ สามเณรพนม สามเณรปรีชา พระพงษ์ศักดิ์ สาสนวฑฺฒโน พระชาญชัย ชยานนฺโท พระพงศภรณ์ กตปุญฺโญ พระอนุชา อนุตฺตโร พระบัณฑิต อนุวํโส สามเณรพรประสิทธิ์ สามเณรชินาวุธ สามเณรพัสกร สามเณรมานะ สามเณรอภิสิทธิ์ พระเกรียงไกร ธมฺมสาโร พระสุวิทย์ เขมโก พระทวีทรัพย์ ทีปงฺกโร พระชูชัย ปภสฺสโร พระจิรพงศ์ จิตปญฺโญ พระธีรพงษ์ สิริสาโร พระสำ�เนียง นวรตโน พระปลัดพิพัฒน์ อคฺควฑฺฒโน
นามสกุล อายุ พรรษา
แก้วกัณหา แสงแดด ยอดพูน อุสาหะ มิตรทอง คนงานดี บูชา พูลสิน ประมวล นิยมล้อทิพย์ พรมมา อ่อนศรี อ่อนศรี สำ�นัก เขียวเซ็น ทวีทรงพล ขุนทอง กรรณิการ์ สังขวทัญญู ช่อรัก พ่วงงามพันธ์ สุทธิรัตน์ ปั้นน้ำ�เงิน ศรีสุวรรณ บุญประเสริฐ
138
๑๗ ๑๕ ๑๕ ๑๔ ๑๔ ๑๔ ๑๖ ๔๔ ๒ ๒๒ ๓ ๒๗ ๑ ๓๘ ๑๐ ๔๒ ๕ ๑๗ ๑๗ ๑๔ ๑๓ ๑๓ ๓๗ ๙ ๒๕ ๖ ๒๑ ๒ ๓๗ ๒ ๓๓ ๓ ๓๐ ๗ ๔๒ ๕ ๔๗ ๒
วัด
สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สองพี่น้อง สองพี่น้อง พรสวรรค์ พยัคฆาราม พยัคฆาราม กำ�มะเชียร ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม วังขนายทายิการาม วังขนายทายิการาม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม พระแท่นดงรัง ทุ่งมะสัง โกรกกราก สวนส้ม นาโคก
จังหวัด
สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร
ที่
๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙
ชื่อ
ฉายา
พระณัชชา สุทฺธิวโร พระกิตติ ปภากโร พระพิริยะสรรค์ วิริยสกฺโก สามเณรพลสิทธิ์ สามเณรสิทธิชัย สามเณรโสฬส พระเฉลิมศักดิ์ จตฺตมโล พระกิตติภณ สุเมโธ
นามสกุล อายุ พรรษา
อยู่เสงี่ยม ชมชื่น ศิริน้อย ไชยศรี ไชยศรี ม้าเฒ่า ทองแม้น แสงอินทร์
๒๕ ๑ ๒๗ ๒ ๒๔ ๔ ๑๙ ๑๙ ๑๕ ๓๔ ๓ ๓๘ ๖
139
วัด
โสภณาราม ธรรมโชติ พรหมวงศาราม พรหมวงศาราม พรหมวงศาราม บุญยประดิษฐ์ เทพนิมิตต์ สุคันธาวาส
จังหวัด
สมุทรสาคร สมุทรสาคร กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพ สมุทรปราการ
บัญชรายชอผู้เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค�๑๔��ปีที่�๔๔
และสอบบาลีชั้นประโยค��ป.ธ.�๓��ได้��ในสนามหลวง�พ.ศ.�๒๕๖๑ ที่
� ๑� � ๒� � ๓� � ๔� � ๕� � ๖� � ๗� � ๘� � ๙� � ๑๐� � ๑๑� �๑๒� � ๑๓� � ๑๔� � ๑๕� � ๑๖� � ๑๗� � ๑๘�
ชื่อ
พระบุญธรรม� พระศักดิ์ชัย� พระญาณกิตติ์� พระวิบูลย์� พระวันชัย� พระวรวิชญ์� สามเณรพร้อมพงค์� สามเณรสุนทร� สามเณรนิติพัฒน์� สามเณรสาธกา� สามเณรวิบูล� สามเณรโบริน� พระบรรดิฐ� พระชุติพัฒน์� พระนันทวัฒน์� พระจตุพร� พระพิชัย� พระจิรพงศ์�
ฉายา
กลฺยาณจิตฺโต� วรธมฺโม� อตฺถกาโร� ธมฺมวิปุโล� สุวณฺณชโย� นนฺทปญฺโญ� � � � � � � วิสารโท� โชติวฑฺฒโน� ภูริวฑฺฒโน� จนฺทธมฺโม� ปภาโส� นนฺทมาโน�
นามสกุล อายุ พรรษา
ชาวบางงาม� ธนูทอง� อิ่นคำ�� วงศ์สนันท์� หินทอง� ปฐมนันทกุล� สมพัตร์� ชารีเพ็ง� เชี่ยวชาญ� กานุสนธิ์� เฌียต� พอน� จิตงาม� โชคอำ�นวย� ระวัน� ไขแสง� บัวโอภาส� กิจหว่าง�
140
๓๙� ๓๗� ๓๓� ๖๒� ๕๘� ๒๔� ๑๙� ๑๘� ๑๖� ๑๖� ๑๖� ๑๖� ๔๒� ๒๗� ๒๒� ๓๘� ๔๐� ๕๗�
๗� ๖� ๕� ๓� ๓� ๓� � � � � � � ๗� ๓� ๒� ๙� ๕� ๓�
วัด
พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระงาม� พระงาม� พระงาม� ธรรมศาลา� ธรรมศาลา� ห้วยจระเข้�
จังหวัด
นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม
ที่
๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖
ชื่อ
ฉายา
สามเณรณรงค์ศักดิ์ พระใบฎีกาบุญเกล้า นาคเสโน พระรัตนกฤช มนสิทฺโธ พระอิทธิพล สนฺตมโน สามเณรแสง พระปฐมพงษ์ มงฺคลวํโส พระครูวรวงศ์ ถิรญาโณ พระธีรพงษ์ อุตฺตโม พระพัชระ สุทฺธิจิตฺตโพธิ สามเณรวิชัยยุทธ สามเณรภานุพงค์ สามเณรธันวา สามเณรชัยวัฒน์ สามเณรปรีชา สามเณรนภูรินทร์ สามเณรอภิสิทธิ์ สามเณรกิจสุพัฒน์ สามเณรพิภพ พระประพันธ์ ชิตมาโร พระนิเวศน์ ฐานุตฺตโม พระวิจิตร ฐิตสีโล พระนิกร จารุวณฺโณ สามเณรสายชล พระครูปลัดมนัส สิริภทฺโท พระจิระเดช จิรเตโช พระรังษี รตนโชโต พระธนพนธ์ ฐานุตฺตโม พระปรีดี อธิปญฺโญ
นามสกุล อายุ พรรษา
เปาปราโมทย์ ปราบภัย ภูมิภักดิ์ บำ�รุงศรี คำ�งาม เรียบร้อยเจริญ กุลครอง ชัยวิภาส พงษ์ทวี นาคชัย วงษ์สุวรรณ จำ�ปาจันทร์ ทรดี พึ่งน้ำ� ใต้คีรี เค็มบิง จันโต ปานเทศ กัมมา ไทรสังข์ฐิติกุล ปัญญาชัยรักษา สมโรง ทดแก้ว ทับไกร ใจซื่อกุล เทศพันธ์ ทองย้อย ศรีสวัสดิ์
141
๑๙ ๓๖ ๑๑ ๓๔ ๖ ๒๙ ๘ ๑๙ ๒๙ ๘ ๓๑ ๙ ๔๐ ๓ ๒๐ ๑ ๑๗ ๑๕ ๑๕ ๑๔ ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๔๑ ๑๕ ๒๙ ๕ ๓๑ ๔ ๔๑ ๓ ๔๖ ๖ ๑๙ - ๔๘ ๒๒ ๓๔ ๙ ๖๓ ๑๓ ๒๐ ๔๕ ๖
วัด
หนองกระโดน ทะเลบก ลาดหญ้าไทร บางช้างเหนือ ปรีดาราม ท่าข้าม ญาณเวศกวัน ญาณเวศกวัน สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สองพี่น้อง สองพี่น้อง พรสวรรค์ ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม พังตรุ ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม โกรกกราก โกรกกราก ศาลพันท้ายนรสิงห์
จังหวัด
นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร
ที่
๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕
ชื่อ
พระไกรสร พระวรพล พระอยินเอสิกะ พระใบฎีกาอนันตชัย พระอภิสิทธิ์ พระโชคชัย พระวัชรินทร์ พระสมปอง ภิกษุณีชมภัสสร
ฉายา
นามสกุล อายุ พรรษา
จารุวํโส ภู่เทียน วรพโล เสือเดช เอสิโก มงฺคโล สิทธิมงคล ฐิตปญฺโญ จินตะบุบผา ฐิตวฑฺฒโน มิตรทอง อธิปญฺโญ นาเนกรังสรรค์ ฐิตชโย แกตุเปลี่ยน ธมฺมภาวิตา ศรอินทร์
142
๒๔ ๔๘ ๕๐ ๔๐ ๔๕ ๒๖ ๓๒ ๒๘ ๔๗
๕ ๙ ๓๐ ๑๒ ๖ ๑ ๘ ๔ ๒
วัด
โรงเข้ ธรรมจริยาภิรมย์ ศิริมงคล สุทธิวาตวราราม แหลมสุวรรณาราม ศรีสุทธาราม บางปิ้ง บ้านเกาะสิเหร่ ทรงธรรมกัลยาณี
จังหวัด
สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร ภูเก็ต นครปฐม
บัญชรายชอผู้เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค�๑๔��ปีที่�๔๔
และสอบบาลีชั้นประโยค��ป.ธ.�๔��ได้��ในสนามหลวง�พ.ศ.๒๕๖๑ ที่
ชื่อ
� ๑� � ๒� � ๓� � ๔� � ๕� � ๖� � ๗� � ๘� � ๙� � ๑๐� � ๑๑� � ๑๒� � ๑๓� � ๑๔� � ๑๕� � ๑๖� � ๑๗� � ๑๘�
พระมหาณัฐภูมิ� พระมหาจักรพงษ์� พระมหาอุตรา� พระมหากันตพัฒน์� พระมหาภัทรพงศ์� สามเณรณัฐวุฒิ� สามเณรสุริยา� พระมหาณัฐพล� พระมหาบุญชัย� พระมหาวุทธี� พระมหาประมวล� พระมหาณรงค์ศักดิ์� พระมหาธีรักษ์� พระมหาสุรชาติ� พระมหาวิชาญ� พระมหาปฐมฤกษ์� พระมหาธนากร� พระมหาวรินทร์พัทธ์�
ฉายา
สิริปุญฺโญ� ปญฺญาทีโป� อุตฺตโร� สุทฺธิญาโณ� ภทฺรธมฺโม� � � ชินวํโส� ธมฺมธีโร� พฺรหฺมโชโต� อติสุโภ� สุทนฺโต� วณฺณธโร� สุรชาโต� ปิยสีโล� จารุธมฺโม� ธนากโร� นนฺทโก�
นามสกุล อายุ พรรษา
แสงอุทัยฉาย� เกิดอินท์� วรรณากรกิจ� เดชแพง� เตชรุ่งอรุณ� เรืองกัลป์� วันเพ็ญ� ช้างบัญชร� ส่งเจริญทรัพย์� พรหม� โปร่งมาก� สุทนต์� วรรณฤมล� สิทธิคุณสาร� ท่าน้ำ�ตื้น� ทองสอาด� คะแนนศิลป์� เบญจวัติ�
143
๓๐� ๒๙� ๕๒� ๓๘� ๒๕� ๒๑� ๒๑� ๕๔� ๒๖� ๓๒� ๕๐� ๒๑� ๓๒� ๓๒� ๔๖� ๔๙� ๒๐� ๓๙�
๙� ๘� ๗� ๕� ๔� � � ๕� ๔� ๗� ๑๔� ๑� ๕� ๖� ๒๔� ๕� ๑� ๗�
วัด
พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระงาม� ไผ่ล้อม� เกาะวังไทร� ไร่เกาะต้นสำ�โรง� ลาดหญ้าแพรก� ไร่ขิง� บางช้างเหนือ� ญาณเวศกวัน� กำ�แพงแสน� สุวรรณภูมิ� สุวรรณภูมิ� สวนหงส์�
จังหวัด
นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี
ที่
๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙
ชื่อ
ฉายา
พระมหาบุญตา เมธิโน พระมหาอนุรุทธ อภิชาโน สามเณรอิสริยะยศ สามเณรมาโนช สามเณรณัฐดนัย พระมหานิติพล อุตฺตมธมฺโม พระมหาสุวิทย์ สิทฺธิปญฺโญ พระมหาสนอง ปญฺญาวโร พระมหารุ่ง ฐานุตฺตโร พระมหาอนุกูล มหาวิริโย พระมหาปิยะพล ปิยสีโล พระมหากิตติ กิตฺติญาโณ พระมหาทัตพล อธิปญฺโญ พระมหาสุจินดา ธมฺมปาโล พระมหาวัชระ ฐิตสีโล พระมหาเกียรติภุมิ กิตฺติเมธี สามเณรรณชัย สามเณรกฤษฎา พระมหาโบรา ปญฺญาธโร พระมหาเป้า เตชปญฺโญ นางปัญญาสิริย์
นามสกุล อายุ พรรษา
ทรงศรี เกณฑ์มา น้อยพรหม ปรึกไธสง มะกรูดอินทร์ สุวรรณมิตร สมจินดา ท้วมสมบูรณ์ ทองโสภา ล้ำ�เลิศวิทยา สังข์สำ�รวม อยู่ประเสริฐ ปัญญาภรณ์ ชื่นสุวรรณ คงเพ็ง ดิษฐ์สายทอง ระเนีย ปาจุติ กุจ ค้าสบาย เดชาวิชิตเลิศ
144
๓๐ ๔ ๒๗ ๔ ๑๕ ๑๘ ๑๗ ๒๒ ๓ ๒๓ ๒ ๔๑ ๑๑ ๓๑ ๑๐ ๓๐ ๗ ๔๐ ๕ ๒๖ ๔ ๒๕ ๔ ๒๖ ๖ ๓๐ ๕ ๒๒ ๑ ๒๑ ๑๙ ๓๔ ๑๑ ๕๘ ๓๒ ๔๑
วัด
จังหวัด
สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สองพี่น้อง สองพี่น้อง ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม บางน้ำ�วน หลักสี่ราษฎร์สโมสร หลักสองราษฎร์บำ�รุง ยกกระบัตร รางตันนิลประดิษฐ์ ธรรมโชติ ปราสาทสิทธิ์ วิชิตสังฆาราม บุณยประดิษฐ์ พรหมวงศาราม พรหมวงศาราม ม่วง ใหม่ยายแป้น พระงาม
สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร ราชบุรี ภูเก็ต กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร นครปฐม
บัญชรายชอผู้เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค�๑๔��ปีที่�๔๔
และสอบบาลีชั้นประโยค��ป.ธ.�๕��ได้��ในสนามหลวง�พ.ศ.๒๕๖๑ ที่
ชื่อ
ฉายา
� ๑� � ๒� � ๓� � ๔� � ๕� � ๖� � ๗� � ๘� � ๙� � ๑๐� � ๑๑� � ๑๒� � ๑๓� � ๑๔� � ๑๕� � ๑๖� � ๑๗� � ๑๘� � ๑๙�
พระมหาพิเศษ� พระมหาสมใจ� พระมหาทินรัตน์� พระมหาเอกชัย� สามเณรอนุสรณ์� สามเณรสมเพ็ชร� สามเณรณัฐพล� พระมหาเอกวัฒน์� พระมหาองอาจ� พระมหาจักรกฤช� สามเณรก้องพนัส��� พระมหากำ�ธร� พระมหาเสกสรรค์� สามเณรปัญญา� พระมหาบุญ� พระมหาไกรวิทย์� พระมหาลิหมู่� พระมหาเริงฤทธิ์� พระมหารัชชานนท์�
ธมฺมทีโป� ปภากโร� อภินนฺโท� ภทฺทโก� � � � เอกคฺคจิตฺโต� อาสโภ� นนฺทโก� � ฐิติสมฺปนฺโน� จนฺทวํโส� � กนฺตสีโล� ธนปาโล� จิตฺตปญฺโญ� สุภทฺโท� ธีรปญฺโญ�
นามสกุล อายุ พรรษา
ไทรสังขเจติยะ� บุญขาว� ศรีสุวรรณ์� กัณฑ์หามี� พันธ์เพชร� พรำ�นัก� บุญชู� รัตนาวิทย์� สุนทรากานต์� กลิ่นนิ่มนวล� สัญนาค� ทองจำ�รูญ� เกษมเมธากุล� กองแก� เคียงตะวัน� บางปลา� ยศยิ่งอภิราม� สืบศรี� ปานจิตร�
145
๓๕� ๔๓� ๔๕� ๒๗� ๒๐� ๑๙� ๑๖� ๒๘� ๓๓� ๔๗� ๑๖� ๕๐� ๔๙� ๑๖� ๓๐� ๒๙� ๒๘� ๓๖� ๒๘�
๑๕� ๖� ๕� ๔� � � � ๕� ๑๒� ๓� � ๒๗� ๒๗� �� ๗� ๙� ๘� ๖� ๘�
วัด
พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระงาม� พระงาม� ไร่ขิง� ปรีดาราม� ญาณเวศกวัน� ประชาราษฎร์บำ�รุง� สองพี่น้อง� สองพี่น้อง� ช่องลม� สวนหงส์� สวนหงส์� ไชยชุมพล�ฯ� ป้อมวิเชียร�ฯ� ป้อมวิเชียร�ฯ� โคกขาม� ดอนโฆสิตาราม�
จังหวัด
นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร
ตารางอบรมบาลีชันประโยค ๑-๒ ห้อง ก. ภาค��๑๔��ปีที่��๔๕�� วันที่��๑๒�ถึง�๒๖�กุมภาพันธ์��พ.ศ.�๒๕๖๒
วัน/เดือน/พ.ศ.
๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐
๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐
๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐
๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๒
ฟ งแปลภาค ๑
ทดสอบแปล
ทดสอบ ทดสอบนาม - อัพพยศัพท ฟ งแปลภาค ๑ ทดสอบ อาขยาต ฟ งแปลภาค ๒ ฟ งแปลภาค ๒ ฟ งแปลภาค ๒ ทดสอบ สมาส ฟ งแปลภาค ๓ ทดสอบ ตัทธิต ฟ งแปลภาค ๓ ฟ งแปลภาค ๓ ฟ งแปลภาค ๔ ฟ งแปลภาค ๔ ป จฉ�มน�เทศ
๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖
กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ
๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๑ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๑ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๑ ๒๕๖๒ ทดสอบ กิตก ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๒ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๒ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ทดสอบ สมัญญาภิธาน - สนธิ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๔ ๒๕๖๒ ทดสอบบาลีไวยากรณ� ๗ ข อ ๒๕๖๒ พิธปี ด
ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๔ ทดสอบแปลภาค ๔ กลับวัด
หมายเหตุ : แปลภาคไหน ทดสอบภาคนั�น ออกไม เกินที่แปล
146
ตารางอบรมบาลีชันประโยค ๑-๒ ห้อง ข. ภาค��๑๔��ปีที่��๔๕�� วันที่��๑๒�ถึง�๒๖�กุมภาพันธ์��พ.ศ.�๒๕๖๒
วัน/เดือน/พ.ศ.
๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐
๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐
๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐
๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๒
ฟ งแปลภาค ๑
ทดสอบแปล
ทดสอบ ทดสอบนาม - อัพพยศัพท ฟ งแปลภาค ๑ ทดสอบ อาขยาต ฟ งแปลภาค ๒ ฟ งแปลภาค ๒ ฟ งแปลภาค ๒ ทดสอบ สมาส ฟ งแปลภาค ๓ ทดสอบ ตัทธิต ฟ งแปลภาค ๓ ฟ งแปลภาค ๓ ฟ งแปลภาค ๔ ฟ งแปลภาค ๔ ป จฉ�มน�เทศ
๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๔๖
กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ
๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๑ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๑ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๑ ๒๕๖๒ ทดสอบ กิตก ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๒ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๒ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ทดสอบ สมัญญาภิธาน - สนธิ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๔ ๒๕๖๒ ทดสอบบาลีไวยากรณ� ๗ ข อ ๒๕๖๒ พิธปี ด
ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๔ ทดสอบแปลภาค ๔ กลับวัด
หมายเหตุ : แปลภาคไหน ทดสอบภาคนั�น ออกไม เกินที่แปล
147
ตารางอบรมบาลีชันประโยค ๑-๒ ห้อง ค ภาค��๑๔��ปีที่��๔๕ วันที่��๑๒��ถึง��๒๖�กุมภาพันธ์��พ.ศ.�๒๕๖๒
วัน/เดือน/พ.ศ.
๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐
๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐
๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐
๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๒
ฟ งแปลภาค ๑
ทดสอบแปล
ทดสอบ ทดสอบนาม - อัพพยศัพท ฟ งแปลภาค ๑ ทดสอบ อาขยาต ฟ งแปลภาค ๒ ฟ งแปลภาค ๒ ฟ งแปลภาค ๒ ทดสอบ สมาส ฟ งแปลภาค ๓ ทดสอบ ตัทธิต ฟ งแปลภาค ๓ ฟ งแปลภาค ๓ ฟ งแปลภาค ๔ ฟ งแปลภาค ๔ ป จฉ�มน�เทศ
๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖
กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ
๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๑ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๑ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๑ ๒๕๖๒ ทดสอบ กิตก ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๒ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๒ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๓ ๒๕๖๒ ทดสอบ สมัญญาภิธาน - สนธิ ๒๕๖๒ ฟ งแปลภาค ๔ ๒๕๖๒ ทดสอบบาลีไวยากรณ� ๗ ข อ ๒๕๖๒ พิธปี ด
ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๔ ทดสอบแปลภาค ๔ กลับวัด
หมายเหตุ : แปลภาคไหน ทดสอบภาคนั�น ออกไม เกินที่แปล
148
ตารางอบรมบาลีชันประโยค ป.ธ. ๓ ห้อง ก. ภาค��๑๔��ปีที่��๔๕�� วันที่��๑๒��ถึง��๒๖��กุมภาพันธ์��พ.ศ.�๒๕๖๒
วัน/เดือน/พ.ศ. ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖
กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ
๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒
๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐
๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐
๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐
แปล - สัมพันธ (๕) แปล - สัมพันธ (๕) ทดสอบแปล (๕) แปล - สัมพันธ (๖) ทดสอบแปล (๖) แปล - สัมพันธ (๖) แปล - สัมพันธ (๗) แปล - สัมพันธ (๗) ทดสอบแปล (๗) แปล - สัมพันธ (๗) ทดสอบแปล (๗) ทดสอบแปล (๘) ทดสอบไวยากรณ� (รวม) แปล - สัมพันธ (๘) พิธีป ด
ทดสอบสัมพันธ (๕) ทดสอบแปล (๕) สมัญญาภิธาน-สนธิ ทดสอบสัมพันธ (๖) นาม - อัพยยศัพท ทดสอบแปล (๖) อาขยาต - กิตก ทดสอบสัมพันธ (๗) บุรพภาค ทดสอบแปล (๗) สมาส - ตัทธิต ทดสอบสัมพันธ (๘) ทดสอบสัมพันธ (๘) อาจารย สอนสรุป กลับวัด
แปล - สัมพันธ (๕) แปล - สัมพันธ (๕) แปล - สัมพันธ (๕) แปล - สัมพันธ (๖) แปล - สัมพันธ (๖) แปล - สัมพันธ (๖) แปล - สัมพันธ (๗) แปล - สัมพันธ (๗) แปล - สัมพันธ (๗) แปล - สัมพันธ (๗) แปล - สัมพันธ (๘) แปล - สัมพันธ (๘) แปล - สัมพันธ (๘) ป จฉ�มน�เทศ
149
ตารางอบรมบาลีชันประโยค ป.ธ.๓ ห้อง ข. ภาค��๑๔��ปีที่��๔๕� วันที่��๑๒��ถึง��๒๖��กุมภาพันธ์��พ.ศ.�๒๕๖๒
วัน/เดือน/พ.ศ. ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖
กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ
๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒
๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐
๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐
๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐
แปล - สัมพันธ (๕) แปล - สัมพันธ (๕) ทดสอบแปล (๕) แปล - สัมพันธ (๖) ทดสอบแปล (๖) แปล - สัมพันธ (๖) แปล - สัมพันธ (๗) แปล - สัมพันธ (๗) ทดสอบแปล (๗) แปล - สัมพันธ (๗) ทดสอบแปล (๗) ทดสอบแปล (๘) ทดสอบไวยากรณ� (รวม) แปล - สัมพันธ (๘) พิธีป ด
ทดสอบสัมพันธ (๕) ทดสอบแปล (๕) สมัญญาภิธาน-สนธิ ทดสอบสัมพันธ (๖) นาม - อัพยยศัพท ทดสอบแปล (๖) อาขยาต - กิตก ทดสอบสัมพันธ (๗) บุรพภาค ทดสอบแปล (๗) สมาส - ตัทธิต ทดสอบสัมพันธ (๘) ทดสอบสัมพันธ (๘) อาจารย สอนสรุป กลับวัด
แปล - สัมพันธ (๕) แปล - สัมพันธ (๕) แปล - สัมพันธ (๕) แปล - สัมพันธ (๖) แปล - สัมพันธ (๖) แปล - สัมพันธ (๖) แปล - สัมพันธ (๗) แปล - สัมพันธ (๗) แปล - สัมพันธ (๗) แปล - สัมพันธ (๗) แปล - สัมพันธ (๘) แปล - สัมพันธ (๘) แปล - สัมพันธ (๘) ป จฉ�มน�เทศ
150
ตารางอบรมบาลีชันประโยค ป.ธ. ๔ ภาค��๑๔��ปีที่��๔๕ วันที่��๑๒��ถึง��๒๖��กุมภาพันธ์��พ.ศ.�๒๕๖๒
วัน/เดือน/พ.ศ. ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖
กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ
๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒
๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐ ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย พิธีป ด
151
๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐
๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐
ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ฟ งแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลไทยเป นมคธ สรุปแปลมคธเป นไทย กลับวัด
ตารางอบรมบาลีชันประโยค ป.ธ. ๕ ภาค��๑๔��ปีที่��๔๕�� วันที่��๑๒��ถึง��๒๖��กุมภาพันธ์��พ.ศ.�๒๕๖๒
วัน/เดือน/พ.ศ.
๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖
กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ กุมภาพันธ
๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒
๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐
๑๓.๐๐ - ๑๗.๐๐
ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ ทดสอบแปลไทยเป นมคธ พิธีป ด
152
ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย ทดสอบแปลมคธเป นไทย กลับวัด
๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐
แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย แปลมคธเป นไทย
บัญชรายชอนักเรียนบาลี ชันประโยค ๑-๒ ห้อง ก. ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔�ปีที่�๔๕ วันที่��๑๒��ถึง��๒๖��กุมภาพันธ์��พ.ศ.�๒๕๖๒
ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง�อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม ที่ � � � � � � � � � � � � � � � � � �
๑� ๒� ๓� ๔� ๕� ๖� ๗� ๘� ๙� ๑๐� ๑๑� ๑๒� ๑๓� ๑๔� ๑๕� ๑๖� ๑๗� ๑๘�
ชื่อ
ฉายา
พระกว้าง� พระเธีย� พระภาคิน� พระพิพัฒน์� พระพิชิตชัย� พระสุมิตร� พระนันทวัฒน์� พระสิทธิโชค� พระสิน� สามเณรพงศธร� พระปรัชญา� พระชนม์� พระวันชนะ� พระจิรโชติ� พระสมบัติ� พระสาธิต� พระจักรพันธ์� สามเณรเอกพัน�
ญาโณ� อชิโต� สมิทฺธิชโย� วิวฑฺฒโน� พฺรหฺมชยวํโส� มุทิตมโน� อคฺคธมฺโม� สิทฺธิญาโณ� วินยธโร� � ฐิติโก� ชาตวีโร� ปญฺญาวุโธ� อตฺตทนฺโต� ธมฺมิโก� อินฺทญาโณ� อมโล� �
นามสกุล อายุ พรรษา บ้านหนองบัว� ทรีว� วงศ์ทอง� พีรพัฒน์ดิษฐ์� ชาติวงษ์� ช่างบุ� เตชเอี่ยมสกุล� แซ่จึง� ซีน� สระทองห้อย� สระไพร� ทองลินันท์� ทองอ้น� สวนเวียง� สุขทวีเลิศพงศ์� กลิ่นถนอม� ป้านสกุล� อินทอง�
153
๒๙� ๒๘� ๓๕� ๔๘� ๓๑� ๒๘� ๕๐� ๒๖� ๒๒� ๑๗� ๓๕� ๔๘� ๓๓� ๕๒� ๔๙� ๓๑� ๒๘� ๑๕�
๘� ๗� ๕� ๔� ๔� ๔� ๓� ๓� ๑� � ���� ๙� ๒� ๑๒� ๒๓� ๘� ๓� �
วัด พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� บ้านยาง� วังตะกู� วังตะกู� สัมปตาก� ลานตากฟ้า� บางช้างเหนือ� บางช้างเหนือ� ปรีดาราม�
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม
ที่ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗
ชื่อ
ฉายา
พระศักดิ์ชัย สนฺตจิตฺโต พระประจักษ์ ปิยสีโล พระอินทรปกรณ์ ฐิตสุโภ พระพันธ์ยศ พลสาโร พระประเสริฐ โชติวโร พระชาญชัย ธมฺมชโย พระนภัสถ์ มนฺตเสวี สามเณรฉัตรเทพ สามเณรวีระเพชร พระศรชัย โฆสโก สามเณรเพียบ พระจักรกฤษณ์ กิตฺติโก พระณฐทรรศน์ กิจฺจสาโร พระพงษ์ศิริ ปญฺญาทีโป สามเณรภานุวัฒน์ สามเณรปฏิภาณ สามเณรเจตน์สฤษฎิ์ภูมิ สามเณรกวีวัธน์ สามเณรพงค์ภรณ์ พระโอภาส อนาลโย สามเณรธนพล สามเณรจิราวัฒน์ สามเณรสราวุฒิ สามเณรอติชาติ พระจารุพงศ์ จารุโภ พระสุรพล สุรพโล พระประสงค์ ฐิตสํวโร พระสุนทร สุนฺทรธมฺโม พระทวีพจน์ สิริปญฺโญ
นามสกุล อายุ พรรษา เบาบาง โล่เรียง ตรีไวทยานนท์ แสงจำ�รัส บุตราช ชมสารวิวัฒน์ รักเมือง ดำ�ปานดี ขุนแก้ว ชุมพลชัย พานุต ทัศนเรืองเดช รอบคอบ ดิลกรัตน พะง้า นพวงษ์ ดวงจันทร์ สิริทรัพย์ทวี เอี่ยมศรี บุญรอด เมืองพิล วานุนาม ภูฆัง พะโย บุญปางวงษ์ ปานมุนี เจียรละม่อม สุขเกษม ชื่นภิรมย์
154
๒๙ ๙ ๒๘ ๗ ๔๑ ๖ ๕๗ ๔ ๔๐ ๓ ๓๓ ๓ ๒๔ ๓ ๑๘ ๑๖ ๒๙ ๗ ๑๙ ๒๙ ๒ ๒๕ ๑ ๓๗ ๓ ๑๗ ๑๓ ๑๘ ๑๖ ๑๕ ๒๘ ๔ ๑๖ ๑๔ ๑๓ ๑๓ ๒๗ ๘ ๖๐ ๓ ๕๕ ๖ ๓๙ ๔ ๓๒ ๒
วัด ทุ่งกระพังโหม ทุ่งกระพังโหม พระปฐมเจดีย์ พระปฐมเจดีย์ พระปฐมเจดีย์ พระปฐมเจดีย์ พระปฐมเจดีย์ พระปฐมเจดีย์ พระปฐมเจดีย์ ไผ่ล้อม ไร่เกาะต้นสำ�โรง อินทราราม ท่าข้าม ทุ่งพิชัย ป่าเลไลยก์วรวิหาร ป่าเลไลยก์วรวิหาร สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง พรสวรรค์ พรสวรรค์ พรสวรรค์ พรสวรรค์ พรสวรรค์ พระลอย ปราสาททอง สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี
ที่ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๖๙ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕ ๗๖
ชื่อ
ฉายา
พระสมมาตร ขนฺติมโน สามเณรธนกร สามเณรพุทธชาติ สามเณรคมสัน พระสุเมธ สุจิณฺโณ สามเณรจิรวัฒน์ พระณัฐพงษ์ กิตฺติวุฑฺโฒ สามเณรอนุชิต สามเณรอติชาติ สามเณรโชดก สามเณรชยานนท์ พระประเสริฐ จนฺทโก สามเณรณฐคุณ พระนวพร สุทฺธิโชโต สามเณรสมเกียรติ สามเณรสุพรรณ สามเณรวิสุทธิรัตน์ สามเณรทนงศักดิ์ สามเณรปกรณ์ชัย สามเณรปริญญา พระสุขสันต์ สนฺติสุโข พระอัมรินทร์ อมฺมรธมฺโม พระวิทยา ทิฏฺฐธมฺโม พระธีรานนท์ สุธีโร พระสมชาย วุทฺฒิธมฺโม พระศิริวุฒิ ธมฺมาวุโธ พระสุเมธ สุเมโธ พระอนันตพล ปชฺโชโต พระพินิจ ภูริปญฺโญ
นามสกุล อายุ พรรษา จี่มุข แซ่ตั้ง โพธิ์อนันต์ นามยี สว่างศรี ชัยธวัช วงษ์จันทร์ เค็มบิง อินตะเป็ง พะโย นาคใหม่ ลาสีเกตุ พงษ์ธนัทปภา ยิ้มประเสริฐ สุขภาพดี สังขพิริยะ สังขเจริญชัย ยิ่งสุข ไชยอนันติกูล ชงกุล เวธศรี จันทร์ฉาย ซิบเข เชียงกา จันทร์มณี เพียรประสบสุข สมทบบารมี ครุฑสุวรรณ์ กรวยทอง
155
๒๓ ๒ ๑๗ ๑๔ ๑๔ ๓๙ ๓ ๑๖ ๒๕ ๓ ๑๖ ๑๕ ๑๒ ๑๖ ๓๖ ๕ ๑๗ ๒๙ ๖ ๑๙ ๑๙ ๑๘ ๑๗ ๑๗ ๑๖ ๕๙ ๘ ๔๒ ๑ ๓๖ ๗ ๕๙ ๗ ๓๔ ๔ ๔๐ ๓ ๒๖ ๒ ๒๗ ๗ ๓๓ ๕
วัด สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ บางยี่หน สองพี่น้อง พรสวรรค์ พรสวรรค์ พรสวรรค์ พรสวรรค์ พยัคฆาราม พระลอย ไชยชุมพลชนะสงคราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ทุ่งมะสัง ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม วัดบ้านถ้ำ� ถ้ำ�เสือ ท่ามะกา สนามแย้ หวายเหนียว ท่าเรือ พังตรุ เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม
จังหวัด สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี
ที่ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๕ ๘๖ ๘๗ ๘๘ ๘๙ ๙๐ ๙๑ ๙๒ ๙๓ ๙๔ ๙๕ ๙๖ ๙๗ ๙๘ ๙๙ ๑๐๐ ๑๐๑ ๑๐๒ ๑๐๓ ๑๐๔ ๑๐๕
ชื่อ
ฉายา
พระณรงค์ฤทธิ์ ฐานวโร สามเณรรุ่งโรจน์ สามเณรปิยพงษ์ สามเณรพิทยา สามเณรเมธา พระครูสังฆรักษ์ธีรศักดิ์ อภิวณฺโณ พระพิเชษฐ์ จนฺทสาโร พระเอกชัย ปิยวุฑฺโฒ พระวุฒิชัย วฑฺฒิปญฺโญ พระจักรกฤษณ์ ถิรเมธี สามเณรภาณุพงศ์ สามเณรดนุสรณ์ สามเณรวริทธิ์ สามเณรธีรภัทร สามเณรฆรรธสร พระพงษ์เทพ อโสโก สามเณรธีรธรรม พระชัยวัฒน์ อิสฺสโร พระอุทัย รวิวณฺโณ พระญัตติพงษ์ เตชวณฺโณ พระวินัย ชุตินฺธโร พระปิยะวัฒก์ ปญฺญาพโล พระครูสังฆรักษ์อนุรักษ์ ธีรสกฺโก พระพงษ์พัฒน์ สิริภทฺโท พระสมเกียรติ อริญฺชโย พระทรงยศ เขมงฺกโร พระอาทิตย์ อภิปาโล สามเณรวิทวัส พระสมบัติ โชติวโร
นามสกุล อายุ พรรษา หนูชาวนา นุ่มสพ มั่นเขตกิจ ธิติกิจรุ่งเรือง เกิดสมนึก กองบาง เปรมประสิทธิ์ กรรณเทพ คำ�พู กองแก้ว ชั้นสุวรรณพงศ์ ไชยเศษ ม่วงกลม ตรงดี สว่างภพ แก่นแดง นามศักดิ์ คำ�ศรี โลระลุน พวงราช ศรีจาด นุตตะโร ช้างเมือง ยิ้มพราย แซ่ส่ง สมวรรณดี ท่าจ๋อม ช่างปลูก บุญรวม
156
๒๐ ๑ ๑๘ ๑๗ ๑๔ ๑๒ ๕๗ ๕ ๓๐ ๒ ๓๕ ๒ ๒๘ ๒ ๒๐ ๑ ๑๙ ๑๗ ๑๕ ๑๕ ๑๓ ๓๗ ๒ ๑๓ ๔๐ ๔ ๕๔ ๓ ๒๙ ๘ ๕๘ ๖ ๔๓ ๕ ๔๐ ๑๕ ๒๔ ๒ ๔๙ ๓ ๒๔ ๔ ๓๒ ๕ ๒๐ ๕๐ ๑
วัด เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ศรีสุทธาราม ศรีสุทธาราม หนองพะอง ศรีสำ�ราญราษฎร์บำ�รุง โพธิ์แจ้ ยกกระบัตร บางน้ำ�วน หลักสี่ราษฎร์สโมสร ฟุ้งประชาธรรมาราม หนองนกไข่ ดอนไก่ดี พรหมวงศาราม พรหมวงศาราม เสนหา
จังหวัด กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร นครปฐม
บัญชรายชอนักเรียนบาลี ชันประโยค ๑-๒ ห้อง ข. ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔�ปีที่�๔๕
ระหว่างวันที่��๑๒��ถึง��๒๖�กุมภาพันธ์��พุทธศักราช��๒๕๖๒ ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง�อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม ที่
ชื่อ
� ๑� � ๒� � ๓� � ๔� � ๕� � ๖� � ๘� � ๙� � ๑๐� � ๑๑� �๑๒� �๑๓� �๑๔� �๑๕� �๑๖� �๑๗� �๑๘� �๑๙� �๒๐�
พระประเสริฐศักดิ์� พระกฤตณัฏฐ์� พระดำ�รงค์� พระจักรกฤษณ์� พระวุฒิชัย� พระสุรเกียรติ� พระวีรพร� พระชูเกียรติ� สามเณรธนบดี� พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย์� พระสมภพ� พระธนัตถ์บดี� พระณัฐสิทธิ์� พระละม่อม� พระดุสิต� พระเลิศภัทร� พระพนมพร� สามเณรพิทยา� พระไฉน�
ฉายา ปญฺญาเสฏฺโฐ� อาภากโร� ปภสฺสโร� มงฺคลรตโน� นรินฺโท� สุรกิตฺติโก� พฺรหฺมปุญฺโญ� อาภากโร� � คุณวโร� ภูริญาโณ� โชติปญฺโญ� ฐานวโร� ฉนฺทกโร� พลปญฺโญ� ธมฺมภทฺโท� ฐิตธมฺโม� � ชุติปญฺโญ�
นามสกุล อายุ พรรษา สิงหนาท� แคนดา� จันทร์แจ้ง� เกตุแก้ว� ชัยเพชร� จูเจริญ� เกตุแก้ว� บัวแก้ว� ชูวงษ์วาลย์� สวัสดิ์เสรี� เจนวิทยาพันธ์� นพเวช� สุรีย์ชัยนิรันดร์� เนียมแตง� โตวิเชียร� ไข่นาค� ช่องคันปอน� ชำ�นาญพล� ใจทน�
157
๓๐� ๓๗� ๓๓� ๖๔� ๓๐� ๒๑� ๕๓� ๒๘� ๑๓� ๕๓� ๔๐� ๔๘� ๕๓� ๗๕� ๔๐� ๕๔� ๕๐� ๑๖� ๕๓�
๘� ๑๐� ๑๐� ๒� ๑� ๑� ๖� ๖� � ๒๐� ๘� ๓� ๒� ๖� ๔� ๔� ๘� � ๒�
วัด พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� วังตะกู� ใหม่ปิ่นเกลียว� ปรีดาราม� ญาณเวศกวัน� ญาณเวศกวัน� ญาณเวศกวัน� ญาณเวศกวัน� มงคลประชาราม� ลาดหญ้าไทร� พระงาม� ทัพยายท้าว� ธรรมศาลา� ไร่เกาะต้นสำ�โรง�
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม
ที่ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔
ชื่อ
ฉายา
พระยุทธชาติ กนฺตธมฺโม พระศิลวัตร คุณงฺกโร พระชัชวาลย์ อธิจิตฺโต สามเณรณัฐดนัย พระบุญเลิศ ธมฺมเขโม พระสุทธิพงศ์ ถาวรธมฺโม พระวิเชียร จนฺทสโร พระสุรินทร์ จิตฺตกาโร พระชัยมงคล เขมจาโร พระวิโรจน์ ปุญฺญาคโม พระพัฒนิล ธมฺมเมธี สามเณรวรายุทธ พระวิชัย วิสุทฺโธ พระบุญนำ� อคฺคปุญฺโญ พระณัฐวัฒน์ กิตฺติภทฺโท พระชัยวัฒน์ ชยวฑฺฒโน สามเณรสุวพิชญ์ สามเณรภุชงค์ สามเณรธันวา สามเณรโกศล สามเณรระพีพัฒน์ สามเณรบุญลักษ์ สามเณรพรทวี สามเณรเมธาสิทธิ์ สามเณรเอกชัย สามเณรปฏิพัทธ์ พระอนุชิต อลีโน พระพุทธิกร ธมฺมธโร พระกิตติ สุธีโร พระเทียนทัศ คมภีรปญฺโญ พระมนตรี ขนฺติมโน พระณรงค์ จนฺทธมฺโม พระคิมหันต์ อติภทฺโท
นามสกุล อายุ พรรษา อักษณศรี ทิพย์ทวี อยู่ประเสริฐ บุญรักษา ชูศรี จงสกุลธรรม สุคนธา ประเสริฐวาที เกิดใจบุญ นนทะบุตร จูแวน ไทรศรีคำ� หมายมั่น จิระกุลกิตติ ชายศรีชัยรัต อบกลิ่น เอี่ยมศรี วงษ์พัฒน์ เฟื่องสิน แสงวันทอง เห็นประเสริฐ พรหมมินทร์ พวงทอง คนเพียร พาดำ�เนิน ยาศรี มั่นปาน รัตนโพธิ์สมรัก พีรกิจเดชา หนูนุรักษ์ ธาตุแก้วใจธรรม อ่วมรัมย์ เลี้ยงเลข
158
๒๑ ๑ ๓๓ ๔ ๖๕ ๓ ๑๙ ๔๐ ๙ ๒๔ ๓ ๖๐ ๑๒ ๕๗ ๒๘ ๔๑ ๓ ๕๐ ๓ ๓๓ ๑ ๑๖ ๔๙ ๕ ๔๑ ๕ ๒๔ ๔ ๖๗ ๖ ๑๖ ๑๔ ๑๔ ๑๔ ๑๓ ๑๒ ๑๗ ๑๗ ๑๖ ๑๖ ๒๘ ๘ ๓๖ ๙ ๒๐ ๑ ๒๓ ๓ ๖๓ ๗ ๔๕ ๗ ๒๓ ๒
วัด ไร่เกาะต้นสำ�โรง หนองกระโดน หนองกระโดน หนองกระโดน ห้วยจระเข้ อินทราราม ตุ๊กตา ห้วยพลู ทุ่งพิชัย บางหลวง บางไผ่นารถ บางไผ่นารถ ป่าเลไลยก์วรวิหาร ป่าเลไลยก์วรวิหาร สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง เขากำ�แพง เขากำ�แพง ปราสาททอง ปราสาททอง ปราสาททอง สามทอง สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี
ที่ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๖๙ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕ ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๕ ๘๖ ๘๗
ชื่อ
ฉายา
นามสกุล อายุ พรรษา
พระภานุพันธ์ สนฺติกโร ทัดปากน้ำ� พระวีระนนท์ ฐิตปุญฺโญ คนเจนดี สามเณรตะวัน จงสันเทียะ สามเณรณัฐิวุฒิ ปิ่นทองคำ� สามเณรเสนติศักดิ์ โพธิ์อุดม สามเณรจักรรินทร์ บุระเนตร สามเณรสุภวัทน์ สระหงษ์ทอง สามเณรเตชธรรม คำ�สุน ี สามเณรสมคิด ภักดียา สามเณรธนาวุธ ฝ่ายสมบัติ สามเณรสมรักษ์ ดิษกุล สามเณรนราวิชญ์ อัมพุธ พระขจร มหาปญฺโญ ผมหอม สามเณรโชคนพคุณ อ่ำ�ขำ�พงษ์ พระโกศล โกสโล บุญธรรม พระสุภพัฒน์ สุภโร วิเชียร พระอุดมพล อนีโฆ ลิ้มพงษ์ พระไพรัตน์ ติกฺขสกฺโก ศรีสายหยุด พระสุรปรีชา กุสลจิตโต บัวทอง สามเณรอานนท์ วงศ์รามัญ สามเณรปฎิภาณ ดอกรัก สามเณรธนพล คำ�เชาว์ พระภิญโญ ปญฺญาทีโป เอี่ยวสุวรรณ สามเณรอลงกรณ์ สุขเพราะนา สามเณรสหเทพ ช่อรัก สามเณรบุญช่วย เกียรตินิยมขจร สามเณรธนพร ศรีสงคราม สามเณรศุภกร บูชา สามเณรธราเทพ อาจเอื้อม สามเณรชนกันต์ สามเณรรพีภัทร ดีสุดใจ พระจารึก กิตฺติสาโร เกตุอ่ำ� พระวิรัช สิริธมฺโม ธีระธรรมโสภณ
159
๓๘ ๒ ๒๔ ๑ ๑๔ ๑๔ ๑๔ ๑๓ ๑๓ ๑๓ ๑๓ ๑๒ ๑๒ ๕๓ ๓ ๑๕ ๓๗ ๗ ๕๖ ๑๒ ๖๗ ๗ ๔๗ ๗ ๔๒ ๔ ๑๗ ๑๐ ๑๔ ๓๐ ๑ ๑๗ ๑๗ ๑๗ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๔ ๕๐ ๘ ๔๖ ๕
วัด สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ พรสวรรค์ พยัคฆาราม คอกวัว ไชนาวาส ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ไชยชุมพลชนะสงคราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม
จังหวัด สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี
ที่ ๘๘ ๘๙ ๙๐ ๙๑ ๙๒ ๙๓ ๙๔ ๙๕ ๙๖ ๙๗ ๙๘ ๙๙ ๑๐๐ ๑๐๑ ๑๐๒ ๑๐๓ ๑๐๔ ๑๐๕ ๑๐๖ ๑๐๗ ๑๐๘ ๑๐๙ ๑๑๐ ๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๓ ๑๑๔ ๑๑๕ ๑๑๖ ๑๑๗ ๑๑๘ ๑๑๙ ๑๒๐
ชื่อ
ฉายา
สามเณรเอก พระพิจิตร วิสุทฺธจิตฺโต พระภิเศก สุเมโธ สามเณรอภิชาติ สามเณรนันทกร พระประวิท ปภสฺสโร พระชูชีพ ชีวนาโค พระกุญชเดช สุภทฺนาโค พระอนุสรณ์ อนิปฺผโล พระจักรพงษ์ กมโล สามเณรวิศรุต สามเณรสุพรรณภูมิ สามเณรณัฐวุฒิ สามเณรพีระพล สามเณรเทวัญ สามเณรบัญชา สามเณรพัชรพล สามเณรธนชัย สามเณรสมชัย สามเณรศักดิ์ดา สามเณรณัฐพล สามเณรจีรวัฒน์ สามเณรอำ�นาจ สามเณรสุทธิศักดิ์ สามเณรวรโชติ พระอนันต์ ฐิตเมโธ พระสุนาถ อกฺโกธชิโน พระสุธินันท์ สุทฺธสทฺโธ พระกล้า ปญฺญาพโล พระพิชิต สิริจนฺโท พระอดิเรก วุฑฺฒิพนฺโธ พระมณฑล สิริสาโร พระเพลิน รตนาโภ
นามสกุล อายุ พรรษา นันท์สิริโสภา แจ่มจำ�รัส ว่าชื่น สระศรี โยธาศรี สีจง ตะกรุดเดี่ยว บุญสม โสดา บุญคุ้ม ขันทอง แสงวิเวก ศรีรัตน์ สุดจีรัตน์ พวงชีวงษ์ ทรัพย์มิตร เกิดสวัสดิ์ ยิ้มใหญ่หลวง อรุณศรีสุวรรณ ลีเกศ ชวนมา วังนาค พรมสร ใจพอ ทองลมูล บุญสงวน ดุน แววฉิมพลี สาระศาลิน เทศขวัญ ผิวจันทร์ สิมาชัย แก้วไพศาล
160
๑๕ ๔๗ ๑ ๔๒ ๓ ๑๓ ๑๓ ๕๑ ๒ ๓๑ ๑๑ ๒๒ ๒ ๒๙ ๙ ๒๙ ๑ ๑๘ ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๔ ๑๓ ๑๙ ๑๘ ๑๖ ๓๔ ๓ ๔๙ ๒๒ ๕๙ ๑๑ ๔๘ ๗ ๓๙ ๙ ๔๙ ๘ ๓๔ ๘ ๔๓ ๖
วัด ถ้ำ�เขาปูน โป่งเสี้ยว วังขนายทายิการาม วังขนายทายิการาม วังขนายทายิการาม วัดวังศาลา ห้วยนาคราช ห้วยนาคราช พระแท่นดงรังวรวิหาร เขาสะพายแร้ง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง เขาวงจินดาราม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม บางปลา
จังหวัด กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร
ที่ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๓ ๑๒๔ ๑๒๕ ๑๒๖ ๑๒๗ ๑๒๘ ๑๒๙ ๑๓๐ ๑๓๑ ๑๓๒ ๑๓๓ ๑๓๔
ชื่อ
ฉายา
พระรุ่งทวี จตฺตสลฺโล พระสิงหวัฒน์ ปิยสีโล พระตุลา อตฺถธมฺโม พระพิพัฒน์ ปญฺญาวุโธ พระประวิทย์ ปวิชฺโช พระธนกฤต กิจฺจวโร สามเณรภูวนัย สามเณรฉันทพัฒน์ พระคุณาสิน ชาคโร พระบรรจง ขนฺตยาภิรโต สามเณรอัศดา พระกิตติพงษ์ กิตฺติปญฺโญ พระสมบัติ ธมฺมิโก ภิกษุณีรัชฎา ธมฺมรชฺฎา
นามสกุล อายุ พรรษา เล้าประเสริฐ ทองม่วง อรรถวัน พ่อบาล ภู่ทอง วรสิงหทัย อ่วมจันทร์ ยืนยง จุ้ยอ่วม แก้วแก่นคูณ จิตรีเนื่อง ห้วยหงษ์ทอง สุขทวีเลิศพงศ์ มนัสไชยกุล
161
๕๐ ๖ ๓๘ ๗ ๖๓ ๕ ๔๔ ๔ ๔๙ ๗ ๔๒ ๒ ๑๗ ๑๓ ๕๔ ๒ ๓๕ ๑ ๑๙ ๒๖ ๓ ๔๙ ๒๓ ๕๙ ๑
วัด บางตะคอย ศรีสำ�ราญราษฎร์บำ�รุง คลองมะเดื่อ ปากบ่อ ท่ากระบือ ท่ากระบือ ดอนโฆสิตาราม หลักสี่ราษฎร์สโมสร ปราสาทสิทธิ์ บางหลวง ปราสาทสิทธิ์ โพรงมะเดื่อ ลานตากฟ้า ทรงธรรมกัลยาณี
จังหวัด สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร ราชบุรี นครปฐม ราชบุรี นครปฐม นครปฐม นครปฐม
บัญชรายชอนักเรียนบาลี ชันประโยค ๑-๒ ห้อง ค. ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔�ปีที่�๔๕
ระหว่างวันที่��๑๒��ถึง��๒๖��กุมภาพันธ์��พุทธศักราช��๒๕๖๒ ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง�อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม ที่ � ๑� � ๒� � ๓� � ๔� � ๕� � ๖� � ๗� � ๘� � ๙� � ๑๐� � ๑๑� � ๑๒� � ๑๓� � ๑๔� � ๑๕� � ๑๖� � ๑๗� � ๑๘� � ๑๙� � ๒๐�
ชื่อ พระฮุง� สามเณรพุทธิวงศ์� พระนรินทร์� พระปณตพล� สามเณรเกียรติศักดิ์� สามเณรสุเมธ� สามเณรเกรียงศักดิ์� พระสุธีร์� พระสัญญา� พระชาญชัย� พระประสิทธิ์� สามเณรมนตรี� สามเณรชนาธิป� สามเณรอนุรักษ์� สามเณรกฤตเมธ� สามเณรกุมุทชาติ� สามเณรฤทธิชัย� สามเณรสุริยันต์� สามเณรณัฐศาตร์� สามเณรปัณณวิชญ์�
ฉายา อินฺทปญฺโญ� � จนฺทโสภโณ� คุตฺตสีโล� � � � สุธีโร� ปญฺญาธโร� กนฺตสีโล� อตฺตสนฺโต� � � � � � � � � �
นามสกุล อายุ พรรษา ฬิน� โทรสุทธิ� แหสุนทร� โค้วปรีชา� สุทธิจินดา� อินทร์คำ�น้อย� จิรัมย์� สีมา� ท้วมแสนงาม� แกลงกระโทก� เย็นแม้น� อบเชย� พูลจันทร์� คอนสิงห์� เถื่อนยศ� หอมชาติ� วังมั่น� จันทร์อ่อน� ใสคำ�� ประดิษฐ์อนันต์�
162
๒๕� ๑๗� ๔๑� ๓๐� ๑๙� ๑๗� ๑๖� ๖๖� ๓๒� ๕๖� ๕๒� ๒๖� ๑๘� ๑๗� ๑๗� ๑๗� ๑๗� ๑๗� ๑๖� ๑๖�
๕� � ๘� ๓� � � � ๑๓� ๕� ๔� ๗� � � � � � � � � �
วัด พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� ไร่ขิง� ไร่ขิง� ไร่ขิง� ไร่ขิง� ไร่ขิง� สามพราน� ราษฏร์สามัคคี� ศรีประชาวัฒนาราม� มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม� มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม� มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม� มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม� มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม� มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม� มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม� มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม� มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม� มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม�
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม
ที่ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓
ชื่อ
ฉายา
นามสกุล อายุ พรรษา
สามเณรวีรพงษ์ สีโสภา สามเณรพิษณุชัย คำ�มุงคุณ สามเณรศิริธรรมจักร คุชิตา สามเณรสมชาย แก้วดึง สามเณรเดชาวัต คำ�ดี สามเณรธนพล คำ�แพง สามเณรวันชนะ สมาน สามเณรอานนท์ ทูปขุนทด สามเณรทัตเทพ สัญนาค สามเณรวรนิพิฐ ทองบุ พระพรชัย กิตฺติสาโร สะราคำ� สามเณรปฐมพร สุโพธิ์ สามเณรณัฐวุฒิ ภูฆัง สามเณรธนกฤต กุลประสิทธิ์ สามเณรจิระ สามเณรมินทดา ปานเปีย สามเณรสมรักษ์ ไร้โจ สามเณรตั้งชัย สิงหชาติ สามเณรจุมพล ศรีสงวน สามเณรศรายุทธิ์ โพธิ์สาชัย สามเณรปัณณวิชญ์ ชาลีกุล สามเณรสมนึก ด้วงต้อย สามเณรเป็นเอก อุตรนคร สามเณรราเมศว์ เจิมสุวรรณ สามเณรนิยม กนกพิมาน พระบัณฑิต อายุวฑฺฒโก ไม้สัก พระไกรภพ สิริภทฺโท ชูกลิ่น พระชาญชัย กนฺตวีโร สาครบุรี สามเณรสิรภพ กองแก้ว สามเณรสมปอง หงษา สามเณรอภิรชัย เจริญผล พระสำ�เริง จนฺทวํโส เลิศพิทยาการ พระสมุห์ธีรยุทธ อภิปญฺโญ แดงสอน
163
๑๖ ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๑๔ ๑๖ ๑๕ ๑๕ ๑๓ ๑๔ ๔๐ ๑๕ ๑๙ ๑๗ ๑๗ ๑๒ ๑๗ ๑๗ ๑๗ ๑๖ ๑๖ ๑๕ ๑๕ ๑๔ ๑๔ ๑๔ ๔๔ ๒๓ ๓๐ ๖ ๕๖ ๔ ๑๗ ๑๗ ๑๖ ๕๗ ๑๔ ๓๓ ๓
วัด มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม มหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง พยัคฆาราม พยัคฆาราม พยัคฆาราม สองพี่น้อง เทวสังฆาราม ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ทุ่งมะสัง ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ทองธรรมิการาม บางปิ้ง
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร
ที่ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๖๙ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕ ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๕
ชื่อ
ฉายา
สามเณรวิทยา พระอนุชาติ ฐิตธมฺโม พระพงศ์วิทธิ์ ฐิตคุโณ พระจีรศักดิ์ ชยปาโล พระสุรฤทธิ์ ฐิตญาโณ สามเณรธวัชชัย สามเณรจักรวาล พระชลอ จนฺทวํโส พระมณฑา จิตฺตทนฺโต พระคุณากร เขมิโย พระ ร.ต.สุเทพ ฐานิโย พระไพศาล ภทฺทธมฺโม พระปัญญา ปญฺญาพโล พระฉัตรชัย สุวีรธมฺโม พระปิยบุตร ปิยวณฺโณ พระพนม พลวโร พระวีระศักดิ์ ญาณวีโร พระธนาธิป อริยธโน พระสุรินทร์ อติธมฺโม พระศรายุทธ จิตฺตโสภโณ สามเณรสุพรพงษ์ สามเณรบุญชัย สามเณรจีระศักดิ์ สามเณรจิรายุทธ สามเณรพิพัฒน์ พระโฆษิต สิริธมฺโม สามเณรบุญพรรณ สามเณรวรวิทย์ พระวัชรธร ญาณฐิโต พระสมชาย โฆสโก สามเณรชายธง พระสมพงษ์ อนาลโย
นามสกุล อายุ พรรษา
วัด
สุกนคร ๑๘ เทพนรรัตน์ วัฒนามหามงคล ๕๗ ๕ โกรกกราก สุขสวัสดิ์ ๕๔ ๓ โกรกกราก ดิษฐเกิด ๔๑ ๒ โกรกกราก โพธิ์เทศ ๒๙ ๓ โกรกกราก อินทร ๑๖ โกรกกราก พวงน้อย ๑๖ โกรกกราก สุริยันต์ ๔๔ ๒๕ บางปิ้ง ศรีฉ่ำ� ๕๙ ๓ สหกรณ์โฆสิตาราม นิ่มเขียว ๒๒ ๒ สหกรณ์โฆสิตาราม อินม่วง ๖๐ ๒ หนองพะอง ศรธนู ๕๑ ๓ หนองพะอง สุวรรณพันธุ์ ๕๕ ๒๓ ป่ามหาไชย มีแววแสง ๒๖ ๓ ป่ามหาไชย แก่นแก้ว ๕๑ ๒๘ โพธิ์แจ้ ศรีรานนท์ ๕๔ ๗ หนองสองห้อง หมดทุกข์ ๔๒ ๗ รางตันนิลประดิษฐ์ เกษมศุภมงคล ๕๘ ๒ ไร่ไทรทอง อิทธานุเวคิน ๖๔ ๗ ท่ากระบือ หอมจันทร์ ๓๘ ๓ หนองนกไข่ สุขวรรณะโชติ ๑๙ หลักสี่ราษฎร์สโมสร วนานิเวศ ๑๔ หลักสี่ราษฎร์สโมสร ปิโพ ๑๕ หลักสี่ราษฎร์สโมสร ใจสุวรรณ ๑๔ หลักสี่ราษฎร์สโมสร พู่พันชิต ๑๔ ฟุ้งประชาธรรมาราม บัวบาน ๔๕ ๕ พรหมวงศาราม หวามา ๑๖ พระมหาธาตุฯ โพธิ์พ่วง ๑๖ สมหวัง พุ่มใจดี ๓๕ ๕ ทุ่งมะสัง ศักดิ์ศิริ ๖๐ ๗ ธรรมศาลา ศรีวังพล ๑๙ มหรรณพาราม กิ่งนอก ๕๕ ๕ อ้อมใหญ่
164
จังหวัด สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร กรุงเทพฯ พระนครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี กาญจนบุรี นครปฐม กรุงเทพมหานคร นครปฐม
บัญชรายชอนักเรียนบาลี ชันประโยค ป.ธ. ๓ ห้อง ก. ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔�ปีที่�๔๕
ระหว่างวันที่��๑๒��ถึง��๒๖��กุมภาพันธ์��พุทธศักราช��๒๕๖๒ ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง�อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม ที่ � ๑� � ๒� � ๓� � ๔� � ๕� � ๖� � ๗� � ๘� � ๙� � ๑๐� � ๑๑� � ๑๒� � ๑๓� � ๑๔� � ๑๕� � ๑๖� � ๑๗� � ๑๘�
ชื่อ พระจารึก� พระชาตรี� พระวิรัช� พระธวัชชัย� พระกวินฬพัฒน์� พระปราบภัย� พระปัญญา� สามเณรสุราวี� สามเณรธวัชชัย� พระนครินทร์� สามเณรไชยณรงค์� พระวุฒิโชค� พระพิเชษฐ์� พระสหัสนัย� พระครูใบฎีกาโสภณ� สามเณรเอกพจน์� พระครูเมธังกร� พระอมรวิทย์�
ฉายา ธมฺมธโร� กิตฺติปาโล� กนฺตสีโล� ภูริวิชฺโช� อิสฺสโร� อคฺคธมฺโม� ฐิตสิริ� � � ธมฺมินฺทโชติ� � ติกฺขวีโร� สุเมโธ� ฐานิสฺสโร� ธมฺมธโร� � คุณวฑฺโฒ� นนฺทิโย�
นามสกุล อายุ พรรษา เกตุเห่ง� แซ่เยื้อง� อนวัชมรรคา� เจริญยิ่งสถาพร� ณ�สงขลา� บุรกรณ์� มาฆะเซ็นต์� วอน� สามบุญเที่ยง� อินอุ่นโชติ� สุดประเสริฐ� สุดใจชื้น� พงค์สมบูรณ์� เดือนฉาย� เจริญกุล� ภูฆัง� อิสรสกุล� ยิ้มเข็ม�
165
๔๒� ๓๔� ๕๒� ๕๔� ๓๘� ๔๑� ๒๒� ๒๑� ๑๘� ๒๙� ๑๗� ๔๓� ๔๑� ๔๕� ๕๐� ๑๙� ๔๑� ๒๗�
๑๖� ๑๒� ๙� ๘� ๕� ๓� ๒� � � ๘� � ๗� ๒๐� ๑๐� ๒๙� � ๑๒� ๖�
วัด พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระงาม� พระงาม� ไร่เกาะต้นสำ�โรง� ทัพหลวง� หนองกระโดน� ปรีดาราม� ไร่ขิง� ญาณเวศกวัน� ญาณเวศกวัน�
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม
ที่ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗
ชื่อ
ฉายา
พระสุนทร อตฺตสุโภ พระทินกร โชติวโร พระวิทยา อสิญาโณ พระณัฐวุฒิ ณฏฺฐวุฑฺโฒ สามเณรวศิน พระมานพ มานิโต พระรับบุญ สุธมฺโม พระชานนท์ สุเมธี พระสำ�เริง ฐานกโร พระธนัท สิริวฑฺฒโน สามเณรสุเมธี สามเณรนันทวัฒน์ สามเณรธนกมล สามเณรวัฒนลักษณ์ สามเณรพัชรพล สามเณรพนม พระอาทิตย์ อาภาธโร พระเตวิช โชติญาโณ สามเณรทักษิณ พระบัณฑิต อนุวํโส พระสงคราม สํวโร สามเณรกฤษฎา สามเณรชินาวุธ สามเณรพัสกร พระสิริพงษ์ สนฺตมโน พระอิษฏนันท์ รกฺขิตสีโล สามเณรอดิศักดิ์ พระศุภณัฐ สุจิณฺโณ พระชูชัย ปภสฺสโร
นามสกุล อายุ พรรษา เหลืองวรวัฒนา สุกันณ์ ใหม่เจริญพร สุวรรณเวช จ้อยร่อย แย้มเดช วงษ์พันธุ์ เรืองศิริ นอกตะแบก ศรีรุ่งเรือง ศรีประจันทร์ ทองแกมแก้ว นิลขำ� ปั้นทองคำ� เฟื่องสิน คนงานดี น้อยพิมาย พันธเดช ไพเราะ อ่อนศรี จับสี ผดุงกิจ สำ�นัก เขียวเซ็น เสมจันทร์ ห้าวล้อม น้ำ�ใจสุข สุขสวัสดิ์ พ่วงงามพันธ์
166
๕๔ ๒๑ ๔๓ ๘ ๒๔ ๔ ๒๓ ๒ ๑๗ ๓๖ ๑๐ ๔๐ ๑๒ ๓๑ ๑๐ ๖๓ ๑๑ ๒๗ ๗ ๒๑ ๑๘ ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๑๕ ๒๒ ๒ ๒๑ ๑ ๑๖ ๔๓ ๖ ๔๗ ๕ ๑๘ ๑๘ ๑๔ ๒๙ ๕ ๔๑ ๔ ๑๘ ๓๕ ๙ ๓๘ ๓
วัด ประชาราษฎร์บำ�รุง ประชาราษฎร์บำ�รุง ประชาราษฎร์บำ�รุง ประชาราษฎร์บำ�รุง ประชาราษฎร์บำ�รุง สุวรรณรัตนาราม สระสี่เหลี่ยม บางหลวง ชุมนุมศรัทธา สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง สองพี่น้อง เขากำ�แพง เขากำ�แพง เขากำ�แพง ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ดงสัก ดงสัก เขาสะพายแร้ง กระต่ายเต้น พระแท่นดงรังวรวิหาร
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี
ที่ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๖๙ ๗๐
ชื่อ
ฉายา
พระจิรพงศ์ จิตปญฺโญ สามเณรเอกภพ พระสมภาร สิริปุญฺโญ พระอนุวัฒน์ วฑฺฒนปญฺโญ พระเชษฐ์ระพีพัฒน์ พุทฺธิปญฺโญ พระอรรถพล สุภโร พระพิชิต ปภสฺสโร พระมงคล ธมฺมจารี พระธีระพงษ์ สิริสาโร พระปลัดพิพัฒน์ อคฺควฑฺฒโน พระสมโภชน์ ธมฺมรโต พระพรทิวา กิจฺจกาโร พระสำ�ราญ พลวโร พระสาธิต โชติโย พระสุธรรม สุธมฺโม พระสำ�เนียง นวรตโน พระกิตติ ปภากโร สามเณรสุรศักดิ์ สามเณรทินกร สามเณรศิรวิทย์ พระเชิดชูศักดิ์ สุวฑฺฒโน พระเกิดไพศาล เกสระมฺโฒ สามเณรศุภจุฑา
นามสกุล อายุ พรรษา สุทธิรัตน์ ไม้งาม เหมือนเขียว เพิ่มนาม อัครเดชยุวัฒน์ ฮู้ทรง คูสกุล ฉ่ำ�มิ่งขวัญ ปั้นน้ำ�เงิน บุญประเสริฐ อรุณโชค ทองคงยำ� แก้วอยู่ พรหมเกษร ล้อมสินทรัพย์ ศรีสุวรรณ ชมชื่น แปะทู อำ�รุงสายชล ยั่วยวนดี กาญจนบุตร ไกรเกริกฤทธิ์ พีระยุทธ
167
๓๔ ๔ ๑๗ ๔๔ ๑๙ ๓๕ ๒ ๔๒ ๑ ๓๒ ๗ ๕๒ ๖ ๓๐ ๙ ๓๑ ๘ ๔๘ ๓ ๓๖ ๙ ๕๗ ๒๐ ๔๒ ๒๐ ๕๓ ๑๑ ๓๓ ๑๒ ๔๓ ๖ ๒๘ ๓ ๑๗ ๑๗ ๑๘ ๒๖ ๗ ๔๗ ๕ ๒๐
วัด เสาหงส์ เขาวงจินดาราม พังตรุ สิริกาญจนาราม
จังหวัด
กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี ป่าหลวงตาบัว ญาณสัมปันโน กาญจนบุรี ป้อมวิเชียรโชติการาม สมุทรสาคร น้อยนางหงษ์ สมุทรสาคร โกรกกราก สมุทรสาคร โกรกกราก สมุทรสาคร นาโคก สมุทรสาคร ศรีวนาราม สมุทรสาคร โพธิ์แจ้ สมุทรสาคร โพธิ์แจ้ สมุทรสาคร อ้อมน้อย สมุทรสาคร ยกกระบัตร สมุทรสาคร สวนส้ม สมุทรสาคร ธรรมโชติ สมุทรสาคร หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร นิมมานรดี กรุงเทพมหานคร วิเศษการ กรุงเทพมหานคร ปราสาทสิทธิ์ ราชบุรี ปราสาทสิทธิ์ ราชบุรี
บัญชรายชอนักเรียนบาลี ชันประโยค ป.ธ. ๓ ห้อง ข. ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔�ปีที่�๔๕
ระหว่างวันที่��๑๒��ถึง��๒๖��กุมภาพันธ์��พุทธศักราช��๒๕๖๒ ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง�อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม ที่ � ๑� � ๒� � ๓� � ๔� � ๕� � ๖� � ๗� � ๘� � ๙� � ๑๐� � ๑๑� � ๑๒� � ๑๓� � ๑๔� � ๑๕� � ๑๖� � ๑๗� � ๑๘�
ชื่อ พระกิตติ� พระศุภชัย� พระมาณพ� สามเณรพงศกร� พระวุฒิชัย� พระธรรมรงค์� สามเณรสุชัชพงษ์� พระพงษ์ศิริ� พระประสิทธิ์� สามเณรวัชระ� สามเณรธีรดนย์� พระสุนทร� พระไสว� พระสิทธิศักดิ์� พระทีระภัทร� พระอาทร� พระไกรษร� สามเณรราชัน�
ฉายา กิตฺติโก� ปริปุณฺโณ� ภูมิมาณโว� � วุฑฺฒิชโย� สิริธมฺโม� � กิตฺติปญฺโญ� ปสิทฺธิโก� � � ปภากโร� วชิรญาโณ� สุทฺธิจิตฺโต� ญาณโสภโณ� จิตฺตกาโร� จารุธมฺโม� �
นามสกุล อายุ พรรษา ชุ่มอุระ� ทองเต่าอินทร์� มั่นศรีจันทร์� ดวงเพ็ชร์� ประเสริฐโสภา� แม่นศรี� พุ่มรัก� สงล่า� ไกรสุข� ปัญญาคารวะ� อริยมงคลสกุล� แจ่มนิยม� ชีน้อย� จิ๋วเจริญ� ทองรอด� คำ�ยุธา� สมจันทร์� เหล่ากอแก้ว�
168
๒๗� ๕๑� ๕๐� ๑๖� ๓๕� ๓๑� ๑๙� ๒๗� ๕๗� ๒๐� ๑๘� ๕๓� ๒๙� ๒๖� ๔๖� ๓๔� ๓๐� ๑๘�
๗� ๔� ๘� � ๙� ๗� � ๕� ๔� � � ๑๔� ๗� ๓� ๖� ๑๑� ๔� �
วัด พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระงาม� พระงาม� พระงาม� ไร่เกาะต้นสำ�โรง� ไร่เกาะต้นสำ�โรง� ธรรมศาลา� หนองกระโดน� บางพระ� ญาณเวศกวัน� ป่าเลไลยก์วรวิหาร� ปราสาททอง� สวนหงส์� สวนหงส์� สวนหงส์�
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี
ที่ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗
ชื่อ
ฉายา
นามสกุล อายุ พรรษา
สามเณรวงค์ศักดิ์ นาคใหญ่ สามเณรศุภกร แก้วกัณหา สามเณรพงษ์ศักดิ์ ยอดพูน สามเณรอมรเทพ มิตรทอง สามเณรอรรถพันธ์ อุสาหะ สามเณรนพชัย จันทร์ทอง พระมงคล มงฺคโล ทาศรี พระสิทธิชัย ฐิตเมโธ สังข์วรรณะ พระพงษ์ศักดิ์ สาสนวฑฺฒโน พูลศิลป์ พระหลง สิริทตฺโต ทนเถื่อน พระมนู ปญฺญาวุฑฺโฒ กิจกระจ่าง พระพงศภรณ์ กตปุญฺโญ นิยมล้อทิพย์ สามเณรตะวัน - ไข่ฟัก สามเณรจิรายุทธ - มากเทพวงษ์ พระอนุชา อนุตฺตโร พรมมา สามเณรทวีบูรณ์ ปัญญานี พระชีโต ธมฺมิโก พระสุวิทย์ เขมโก สังขวทัญญู พระทวีทรัพย์ ทีปงฺกโร ช่อรัก พระกรียศ สิริปญฺโญ คำ�เคน พระนัฐพงษ์ อภิปญฺโญ ดวงแก้ว พระนิพนธ์ ภสฺสรปญฺโญ สุวรรณศรี พระโสภณ ปิยสีโล ธีระวัฒน์ พระนที ญานธมฺโม เอมทอง สามเณรเจษฎาพงศ์ เอี่ยมโสภณ สามเณรอภิสิทธิ์ ขุนทอง สามเณรมานะ ทวีทรงพล พระสำ�รวย ปญฺญาทีโป เครือเทศ พระนพดล กุสลพนฺโธ อ่อนศิลานนท์
169
๑๘ ๑๘ ๑๖ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๓๘ ๑๒ ๓๒ ๖ ๔๕ ๓ ๖๖ ๑๑ ๗๒ ๑๕ ๒๘ ๒ ๑๖ ๑๖ ๓๙ ๑๑ ๑๙ ๒๑ ๑ ๒๖ ๗ ๒๒ ๓ ๔๒ ๑๔ ๔๔ ๓ ๔๙ ๑ ๕๕ ๗ ๒๔ ๔ ๑๓ ๑๔ ๑๔ ๕๘ ๑๑ ๔๐ ๗
วัด สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สองพี่น้อง พรสวรรค์ พรสวรรค์ วังตะกู พยัคฆาราม พยัคฆาราม พยัคฆาราม พยัคฆาราม กำ�มะเชียร ดอนเจดีย์ ไชยชุมพลชนะสงคราม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม วังขนายทายิการาม วังขนายทายิการาม วังขนายทายิการาม วังขนายทายิการาม วังขนายทายิการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม เทพนรรัตน์
จังหวัด สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสาคร
ที่ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓
ชื่อ
ฉายา
พระทิวา สุทฺธญาโณ พระวันชาติ โอภาสวีโร สามเณรชาญณรงค์ สามเณรเสกสรร สามเณรภานุวัฒน์ พระสุกิต สุรปญฺโญ พระพิริยะสรรค์ วิริยสกฺโก สามเณรสิทธิชัย สามเณรพลสิทธิ์ พระใบฎีกาสมชาย ปภากโร พระกิตติ กิตฺติปาโล พระวิมล อาภากโร พระประพันธ์ ปญฺญาทีโป พระอำ�นาจ อํสุธมฺโม พระศิระพงษ์ ญาณคุโณ แม่ชีสมใจ
นามสกุล อายุ พรรษา วาสุกรี ลภัสพรโอฬาร ศรีขันธ์ ภูศรีริทธิ์ บริบูรณ์ ปานยอด ศิริน้อย ไชยศรี ไชยศรี บรรจงช่วย ไชยโชณิชย์ เปรื่องวิชา ดงแก้ว ศรีวิเชียร มั่นกสิกรรม ด่านน้อย
170
๕๒ ๙ ๕๒ ๓๐ ๑๘ ๑๖ ๑๖ ๓๒ ๗ ๒๕ ๕ ๒๐ ๒๐ ๓๓ ๙ ๕๕ ๑๖ ๓๘ ๑๙ ๕๐ ๙ ๔๔ ๔ ๓๙ ๑๔ ๔๘ ๒๘
วัด โกรกกราก แหลมสุวรรณาราม นิมมานรดี นิมมานรดี เทวราชกุญชร พรหมวงศาราม พรหมวงศาราม พรหมวงศาราม พรหมวงศาราม คลองเหลง วิชิตสังฆาราม มหรรณพาราม ปากน้ำ�ฝั่งใต้ เชิงแตระ จันทร์ ปลักไม้ลาย
จังหวัด สมุทรสาคร สมุทรสาคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร นครศรีธรรมราช ภูเก็ต กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร นครศรีธรรมราช นนทบุรี นครปฐม
บัญชรายชอนักเรียนบาลี ชันประโยค ป.ธ. ๔ ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔�ปีที่�๔๕
ระหว่างวันที่��๑๒��ถึง��๒๖��กุมภาพันธ์��พุทธศักราช��๒๕๖๒ ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง�อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม ที่ � ๑� � ๒� � ๓� � ๔� � ๕� � ๖� � ๗� � ๘� � ๙� � ๑๐� � ๑๑� � ๑๒� � ๑๓� � ๑๔� � ๑๕� � ๑๖� � ๑๗� � ๑๘�
ชื่อ พระมหาณัฐนันท์� พระมหาอานุกูล� พระมหาบุญธรรม� พระมหาศักดิ์ชัย� พระมหาสีมา� พระมหาวิบูลย์� พระมหาวันชัย� พระมหามนตรี� พระมหาวรวิชญ์� พระมหาสหภาพ� สามเณรพร้อมพงค์� สามเณรสุนทร� สามเณรวิบูล� สามเณรสาธกา� สามเณรโบริน� พระมหาอมร� พระมหาชุติพัฒน์� พระมหาธันยบูรณ์�
ฉายา ฐิตคุโณ� ธมฺมวุฑฺโฒ� กลฺยาณจิตฺโต� วรธมฺโม� ชินวํโส� ธมฺมวิปุโล� สุวณฺณชโย� มนาโป� นนฺทปญฺโญ� กิตฺติวณฺโณ� � � � � � สุเมโธ� โชติวฑฺฒโน� ธมฺมรกฺขิโต�
นามสกุล อายุ พรรษา คุณอยู่� วัฒนกูล� ชาวบางงาม� ธนูทอง� สอ� วงศ์สนันท์� หินทอง� คงเพ็ชร� ปฐมนันทกุล� พิศเพ็ง� สมพัตร์� ชารีเพ็ง� เฌียต� กานุสนธิ์� พอน� บัวลอย� โชคอำ�นวย� เทพรักษา�
171
๓๗� ๗๑� ๔๑� ๓๘� ๒๗� ๖๓� ๕๙� ๕๙� ๒๕� ๒๓� ๒๐� ๑๙� ๑๗� ๑๗� ๑๗� ๖๑� ๒๘� ๒๔�
๑๒� ๑๑� ๘� ๗� ๖� ๔� ๔� ๔� ๔� ๑� � � � � � ๑๔� ๔� ๓�
วัด
พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระปฐมเจดีย์� พระงาม� พระงาม� พระงาม�
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม
ที่ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗
ชื่อ
ฉายา
พระมหานันทวัฒน์ ภูริวฑฺฒโน พระมหาลิขิต รสฺมิปุตฺโต พระมหากฤษฎา กิตฺติสมฺปนฺโน พระมหาจิรพงศ์ นนฺทมาโน พระมหาจตุพร จนฺทธมฺโม สามเณรสิทธิพร สามเณรณรงค์ศักดิ์ พระกนก ป. กนฺตวีโร พระมหารัตนกฤช มนสิทฺโธ พระมหาธนภูมิ ปุริสุตฺตโม พระมหาอิทธิพล สนฺตมโน สามเณรแสง สามเณรสุภชัย พระมหาการุณย์ กุสลนนฺโท พระมหาธนัญชัย เตชปญฺโญ พระมหาธีรพงษ์ อุตฺตโม พระมหาสุทัศน์ สุทสฺสนเมธี พระมหาเมธี จนฺทวาโส พระมหาพัชระ สุทฺธจิตฺตโพธิ สามเณรวิชัยยุทธ สามเณรรามภูมิ สามเณรธันวา สามเณรชัยวัฒน์ สามเณรนภูรินทร์ สามเณรอภิสิทธิ์ พระมหาวรท กตปุญฺโญ สามเณรพูลทรัพย์ พระมหาปิยะ ปิยปุตฺโต พระมหานิวัฒน์ อภิชาโน
นามสกุล อายุ พรรษา ระวัน ประกิ่ง โพนดวงกรณ์ กิจหว่าง ไขแสง อุนอ่อน เปาปราโมทย์ วันทอง ภูมิภักดิ์ เจิมสุจริต บำ�รุงศรี คำ�งาม ปรีชาแสงจันทร์ หรรษชัยนันท์ สุกใส ชัยวิภาส นาดี จันทวาส พงษ์ทวี นาคชัย อินทราศรี จำ�ปาจันทร์ ทรดี ใต้คีรี เค็มบิง ฤทธิ์มะหันต์ ปฐวีพนาสณฑ์ จิตตั่งมั่นคง ช่วยพันธ์
172
๒๓ ๓ ๒๓ ๒ ๒๑ ๑ ๕๘ ๔ ๓๙ ๙ ๑๗ ๑๙ ๕๕ ๕ ๓๕ ๗ ๓๓ ๘ ๓๐ ๙ ๒๐ ๑๙ ๕๖ ๑๗ ๓๘ ๑๓ ๔๑ ๔ ๒๐ ๑ ๓๓ ๑๒ ๒๑ ๒ ๑๘ ๑๖ ๑๖ ๑๕ ๑๗ ๑๘ ๒๒ ๓ ๑๙ ๕๑ ๒๑ ๒๖ ๗
วัด
พระงาม พระงาม พระงาม ห้วยจระเข้ ธรรมศาลา ไร่เกาะต้นสำ�โรง หนองกระโดน ใหม่ปิ่นเกลียว ลาดหญ้าไทร ไร่ขิง บางช้างเหนือ ปรีดาราม ปรีดาราม ญาณเวศกวัน ญาณเวศกวัน ญาณเวศกวัน สำ�ปะซิว สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สองพี่น้อง พรสวรรค์ พยัคฆาราม พยัคฆาราม คอกวัว เขากำ�แพง
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี
ที่ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๖๙ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕ ๗๖
ชื่อ
ฉายา
นามสกุล อายุ พรรษา
พระมหากรณ์กฤตย์ ฐิตสจฺโจ วรภัทร์ธนวัชร์ พระมหาเอกชัย จนฺทวณฺโณ ทับทิมทอง พระมหาประพันธ์ ชิตมาโร กัมมา พระมหานิเวศน์ ฐานุตฺตโม ไทรสังข์ธิติกุล พระมหาวิจิตร ฐิตสีโล ปัญญาชัยรักษา สามเณรกิจสุพัฒน์ ระเบียบทองคำ� สามเณรพิภพ ปานเทศ พระมหาจิระเดช จิรเตโช ใจซื่อกุล พระมหาประยุทธ ปญฺญาคโม ไกรวิจิตร พระมหาสมจิตร วรปญฺโญ ระเบียบ พระมหาพิพัฒน์ วิวฑฺฒโน จันทร์สว่าง พระมหานิกร จารุวณฺโณ สมโรง พระสนิท (ป) ภทฺทปญฺโญ คุณแก้วอ้อม พระกิตติศักดิ์ (ป) กิตฺติปญฺโญ ราชมณี พระมหามนัส สิริภทฺโท ทับไกร พระมหาสุภาพ กิตฺติทินฺโน กองแก้ว พระมหาสัญญา จนฺทโชโต ตัญจรูญ พระมหาสายชล ญาณจารี ทดแก้ว พระมหาอินทรีย์น้อย ภทฺทปญฺโญ กลิ่นจันทร์ พระมหาพนม ฐานวํโส มาปากลัด พระมหาอยินเอสิกะ เอสิโก พระมหาอนันตชัย มงฺคโล สิทธิมงคล พระมหารังษี รตนโชโต เทศพันธ์ พระมหาสุริยา ชุติปญฺโญ ยอดเพชร พระมหาบุญเลิศ ปภาโส เลิศสง่า พระมหาโชคชัย ฐิตวฑฺฒโน มิตรทอง พระมหาปรีดี อธิปญฺโญ ศรีสวัสดิ์ พระมหาวัชรินทร์ อธิปญฺโญ นาเนกรังสรรค์ พระมหาจิระพงษ์ จิรวฑฺฒโน นวลจันทร์
173
173
๕๓ ๓๑ ๔๕ ๘ ๓๐ ๖ ๓๒ ๕ ๔๒ ๔ ๔๒ ๑๖ ๓๕ ๑๐ ๔๔ ๒๐ ๒๑ ๒ ๔๑ ๖ ๔๗ ๗ ๔๓ ๒ ๔๓ ๑ ๔๙ ๒๓ ๓๒ ๗ ๔๔ ๒๔ ๒๑ ๑ ๖๓ ๒๖ ๕๗ ๑๙ ๕๑ ๓๑ ๔๑ ๑๓ ๖๔ ๑๔ ๒ข ๗ ๒๖ ๖ ๒๘ ๘ ๔๖ ๗ ๓๓ ๖ ๔๒ ๘
วัด หนองสังข์ทอง ไชยชุมพลชนะสงคราม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม เทวสังฆาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม ราษฎร์ประชุมชนาราม กุสาวดี ด่านมะขามเตี้ย พระแท่นดงรังวรวิหาร ทุ่งมะสัง พังตรุ สิริกาญจนาราม สิริกาญจนาราม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม สหกรณ์โฆสิตาราม บางปลา ศิริมงคล สุทธิวาตวราราม โกรกกราก โกรกกราก โกรกกราก ศรีสุทธาราม ศาลพันท้ายนรสิงห์ บางปิ้ง ราษฎร์บำ�รุง
จังหวัด สุพรรณบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร
ที่ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๕ ๘๖ ๘๗ ๘๘ ๘๙ ๙๐ ๙๑ ๙๒ ๙๓ ๙๔ ๙๕
ชื่อ
ฉายา
นามสกุล อายุ พรรษา
พระมหาวิศิษฏ์ ปุญฺญวฑฺฒโน อรธรรมรัตน์ พระมหาชัยยุทธ เตชธมฺโม ตระการวาณิช พระมหาไกรสร จารุวํโส ภู่เทียน พระมหาธีรพันธ์ ญาณวุฑฺโฒ ไหมสีงาม พระมหาสมภักดิ์ สิริวณฺโณ สังข์ทอง พระมหาเนติ นิตินาโค สามเณรสหรัฐ จันทร์ทะเดช สามเณรจุลกิต สมแวง สามเณรเรวัฒน์ ศรีทม สามเณรศรัณย์กร ปภาณภณกุล สามเณรทนงศักดิ์ สีทอง พระมหาสุวรรณชาติ ญาณวีโร พุ่มแต้ พระมหาอนุพล อนุพโล สร้อยระย้า พระมหาสามารถ อินฺทโชโต ปัญญพัฒเดชา พระมหาอดิศักดิ์ คเวสโก ฉีดอิ่ม พระมหาสุธี ฐานวโร มีศรี พระมหาสมชาย ถามวโร ไชคำ� พระมหารัตนากร ปวโร นาคพล ภิกษุณีชมภัสสร ธมฺมภาวิตา คลิงเงอร์
174
๓๔ ๙ ๓๖ ๖ ๒๕ ๖ ๒๗ ๖ ๒๒ ๓ ๓๒ ๕ ๑๘ ๒๐ ๒๐ ๑๗ ๑๗ ๓๒ ๑๐ ๓๐ ๗ ๒๐ ๑ ๒๕ ๕ ๔๔ ๖ ๔๓ ๗ ๒๙ ๖ ๔๘ ๓
วัด เจษฎาราม รางตันนิลประดิษฐ์ โรงเข้ กระโจมทอง อุทยาราม นิมมานรดี นิมมานรดี นิมมานรดี นิมมานรดี นิมมานรดี เทวราชกุญชร วรวิหาร สวน ต้นสน สุธรรมวดี พระมหาธาตุฯ เปรมประชา วิชิตสังฆาราม กะพังสุรินทร์ ปลักไม้ลาย
จังหวัด สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร ตรัง เพชรบุรี กรุงเทพมหานคร นครศรีธรรมราช ปทุมธานี ภูเก็ต ตรัง นครปฐม
บัญชรายชอนักเรียนบาลี ชันประโยค ป.ธ. ๕ ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔�ปีที่�๔๔
ระหว่างวันที่��๑๒��ถึง��๒๖��กุมภาพันธ์��พุทธศักราช��๒๕๖๒ ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง�อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม ที่ � ๑� � ๒� � ๓� � ๔� � ๕� � ๖� � ๗� � ๘� � ๙� � ๑๐� � ๑๑� � ๑๒� � ๑๓� � ๑๔� � ๑๕� � ๑๖� � ๑๗� � ๑๘�
ชื่อ พระมหาสรเทพ� พระมหาณัฐภูมิ� พระมหาจักรพงษ์� พระมหาอุตรา� พระมหากันตพัฒน์� พระมหาภัทรพงศ์� พระมหาสุริยา� พระมหาณัฐพล� พระมหาบุญชัย� พระมหาวุฑฒี� พระมหานิพนธ์� พระมหาประมวล� พระมหามนศักดิ์� พระมหาวิชาญ� พระมหาณรงค์ศักดิ์� พระมหาธีรักษ์� พระมหาธนากร� พระมหาบุญตา�
ฉายา ปภสฺสโร� สิริปุญฺโญ� ปญฺญาทีโป� อุตฺตโร� สุทฺธิญาโณ� ภทฺรธมฺโม� สุริยเมธี� ชินวํโส� ธมฺมธีโร� พฺรหฺมโชโต� จนฺทมาโร� อติสุโภ� มนธมฺโม� ปิยสีโล� สุทนฺโต� วณฺณธโร� ธนากโร� เมธิโน�
นามสกุล อายุ พรรษา วัด ประคุต� ๓๘� ๑๓� พระปฐมเจดีย์� แสงอุทัยฉาย� ๓๑� ๑๐� พระปฐมเจดีย์� เกิดอินท์� ๓๐� ๙� พระปฐมเจดีย์� วรรณากรกิจ� ๕๓� ๘� พระปฐมเจดีย์� เดชแพง� ๓๙� ๖� พระปฐมเจดีย์� เตชรุ่งอรุณ� ๒๗� ๕� พระปฐมเจดีย์� วันเพ็ญ� ๒๒� ๑� พระงาม� ช้างบัญชร� ๕๕� ๖� ไผ่ล้อม� ส่งเจริญทรัพย์� ๒๗� ๕� เกาะวังไทร� พรหม� ๓๓� ๑๐� ไร่เกาะต้นสำ�โรง� ชัยชินบัญชร� ๓๙� ๑๘� ลาดหญ้าแพรก� โปร่งมาก� ๕๑� ๑๕� ลาดหญ้าแพรก� แซ่อัง� ๔๒� ๒๑� ใหม่ปิ่นเกลียว� ท่าน้ำ�ตื้น� ๔๗� ๒๕� กำ�แพงแสน� สุทนต์� ๒๓� ๒� ไร่ขิง� วรรณฤมล� ๓๓� ๖� บางช้างเหนือ� คะแนนศิลป์� ๒๒� ๒� สุวรรณภูมิ� ทรงศรี� ๓๑� ๕� สวนหงส์�
175
จังหวัด นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี
ที่ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔
ชื่อ
ฉายา
นามสกุล อายุ พรรษา
พระมหาอนุรุทธ อภิชาโน เกณฑ์มา ๒๘ ๕ พระมหาศิวดล วราสโย แสงชมภู ๒๐ ๑ สามเณรอิสริยะยศ น้อยพรหม ๑๖ สามเณรณัฐดนัย สังคดี ๑๘ พระมหาธีรสุด อธิปญฺโญ ขัตติโยทัย ๒๘ ๓ พระหิรัญ มงฺคลปญฺโญ โพธิสาร ๓๖ ๒ พระมหาณรงค์ จกฺกวํโส วงศ์ษา ๕๑ ๓๑ พระมหานิติพล อุตฺตมธมฺโม สุวรรณมิตร์ ๒๓ ๔ พระมหาสุวิทย์ สิทฺธิปญฺโญ สมจินดา ๒๔ ๓ พระมหาปฐมฤกษ์ จารุธมฺโม ทองสอาด ๕๐ ๖ พระมหาสรสิช จิตฺตกโร เตียวสมบูรณ์ ๒๖ ๖ พระมหากฤษฏิ์ณพัชร มนกิจฺโจ พงศธรไพบูลย์ ๓๑ ๑๑ พระมหาอนุกูล มหาวิริโย ล้ำ�เลิศวิทยา ๓๑ ๘ พระมหาปิยะพล ปิยสีโล สังข์สำ�รวม ๔๑ ๖ พระมหากิตติ กิตฺติญาโณ อยู่ประเสริฐ ๒๗ ๕ พระมหาทัตพล อธิปญฺโญ ปัญญาภรณ์ ๒๖ ๕ พระมหาสนอง ปญฺญาวโร ท้วมสมบูรณ์ ๔๒ ๑๑ สามเณรวุฒิชัย ไตรหล่อย ๑๘ พระมหารณชัย วิสุทฺธิเมธี ๒๑ ๑ สามเณรกฤษฎา ปาจุติ ๒๐ พระมหาสุจินดา ธมฺมปาโล ชื่นสุวรรณ ๒๗ ๖ พระมหาอ่องนุช อานนฺโท ศรีคำ�นวน ๒๖ ๖ พระมหากิ่ง อธิมุตฺโต สุนชัย พระมหาเกียรติภูมิ กิตฺติเมธี ดิษฐ์สายทอง ๒๒ ๒ พระมหาเป้า เตชปญฺโญ ค้าสบาย ๕๘ ๓๓ นางปัญญาสิริย์ เดชาวิชิตเลิศ ๔๒
176
วัด
สวนหงส์ สวนหงส์ สวนหงส์ สองพี่น้อง สิริกาญจนาราม ป่าหลวงตาบัว ญาณสัมปันโน ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม ป้อมวิเชียรโชติการาม โกรกกราก โกรกกราก กระโจมทอง หลักสองราษฎร์บำ�รุง ยกกระบัตร รางตันนิลประดิษฐ์ ธรรมโชติ บางน้ำ�วน นิมมานรดี พรหมวงศาราม พรหมวงศาราม ปราสาทสิทธิ์ สุธรรมวดี วิชิตสังฆาราม บุณยประดิษฐ์ ใหม่ยายแป้น พระงาม
จังหวัด สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสาคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร ราชบุรี กรุงเทพมหานคร ภูเก็ต กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร นครปฐม
คำ�กล่าวถวายรายงาน
ในพิธีปิดการอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๕ วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ณ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
กราบเรียน
พระเดชพระคุณ พระพรหมเวที ผูร้ กั ษาการแทนเจ้าคณะภาค ๑๕ ด้วยความเคารพอย่างสูง
เกล้าฯ พระเทพคุณาภรณ์ พร้อมด้วยเจ้าคณะพระสังฆาธิการ พระวิทยากร และคณะ นักเรียนทีไ่ ด้ประชุมกัน ณ สถานทีน่ ้ี ขอกราบขอบพระคุณ พระเดชพระคุณฯ เป็นอย่างยิง่ ทีไ่ ด้กรุณามาเป็นประธานในพิธปี ดิ การอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ในวันนี้ จึงขอ โอกาสกราบเรียนถวายรายงานการดำ�เนินงานเพือ่ โปรดทราบดังนี้ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ได้เปิดการอบรมบาลีกอ่ นสอบ ตัง้ แต่ชน้ั ประโยค ๑-๒ ถึง ชัน้ ประโยค ป.ธ. ๕ ทีว่ ดั ไร่ขงิ นี้ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ นับเป็นเวลา ๔๕ ปี โดยมีความมุง่ หมายทีจ่ ะส่ง เสริมการศึกษาภาษาบาลี ซึง่ เป็นการศึกษาพระปริยตั ธิ รรมแผนกหนึง่ ของคณะสงฆ์ และเพิม่ พูน ความรูค้ วามชำ�นาญแก่นกั เรียน ซึง่ จะเข้าสอบในสนามหลวง ในอีกไม่กว่ี นั ข้างหน้านี้ สถิตนิ กั เรียนมาเข้ารับการอบรมแล้ว ๔๕ ปี มีจ�ำ นวน ๒๒,๗๖๘ รูป และสอบได้ประโยค ป.ธ. ๙ จำ�นวน ๑๑๐ รูป และในปี พ.ศ.๒๕๖๒ นี้ มีจ�ำ นวนนักเรียนและวิทยากร ในเขตภาค และ นอกภาค ดังนี้ ๑. ประโยค ๑-๒ มีนกั เรียน จำ�นวน ๓๒๔ รูป วิทยากร ๗๗ รูป ๒. ประโยค ป.ธ. ๓ มีนกั เรียน จำ�นวน ๑๓๗ รูป วิทยากร ๔๒ รูป ๓. ประโยค ป.ธ. ๔ มีนกั เรียน จำ�นวน ๙๕ รูป วิทยากร ๒๐ รูป ๔. ประโยค ป.ธ. ๕ มีนกั เรียน จำ�นวน ๔๒ รูป วิทยากร ๑๒ รูป รวมนักเรียน ๕๙๘ รูป รวมวิทยากร ๑๕๑ รูป รวมนักเรียนทีเ่ ข้ารับการอบรมและวิทยากรทัง้ สิน้ จำ�นวน ๗๔๙ รูป
177
การอบรมบาลีกอ่ นสอบครัง้ นี้ ได้ปฏิบตั เิ หมือนเช่นปีกอ่ นๆ และปรับปรุงเพิม่ คณะ ทำ�งานให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ดังนี้ ๑. คณะกรรมการดำ�เนินงาน ประกอบด้วย - เจ้าคณะภาค ๑๔ เป็นประธานดำ�เนินงาน - รองเจ้าคณะภาค ๑๔ เป็นรองประธานดำ�เนินงาน - เจ้าคณะจังหวัด, รองเจ้าคณะจังหวัด, เจ้าคณะอำ�เภอ และรองเจ้าคณะอำ�เภอในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑๔ เป็นกรรมการ - เลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ เป็นกรรมการและเลขานุการ - เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัด และเลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัด เป็นกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
๒. คณะกรรมการฝ่ายปกครอง - พระธรรมเสนานี ทีป่ รึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม - พระราชวิสทุ ธาจารย์ ทีป่ รึกษาเจ้าคณะอำ�เภอสามพราน - พระเทพมหาเจติยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม - พระรัตนสุธี ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ
เป็นทีป่ รึกษา เป็นทีป่ รึกษา เป็นประธาน เป็นรองประธาน
๓. คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ - พระมหาโพธิวงศาจารย์ วัดราชโอรสาราม เป็นประธาน - พระเทพมหาเจติยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม เป็นรองประธาน - อาจารย์ประจำ�ชัน้ แต่ละประโยค และพระวิทยากรกองตรวจทุกประโยค เป็นกรรมการ ๔. คณะกรรมการฝ่ายธุรการ - พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ /รจจ.นครปฐม เป็นประธาน - เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดทุกจังหวัด เป็นกรรมการ ๕. คณะกรรมการฝ่ายสถานที่ และการบริการอืน่ ๆ - พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ / รจจ.นครปฐม เป็นประธาน - ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา เป็นรองประธาน - ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนวัดไร่ขงิ (สุนทรอุทศิ ) เป็นรองประธาน - ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย เป็นรองประธาน - ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ เป็นรองประธาน
178
- ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนรัตนโกสินทร์บวรนิเวศศาลายา เป็นรองประธาน - โรงเรียนสิรนิ ธรราชวิยาลัย นครปฐม เป็นรองประธาน - ผูอ้ �ำ นวยการวิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ ) เป็นรองประธาน - ผูอ้ �ำ นวยการโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขงิ ) เป็นรองประธาน - ผูอ้ �ำ นวยการโรงพยาบาลสามพราน (วัดไร่ขงิ ) เป็นรองประธาน - ผูอ้ �ำ นวยการไปรษณียไ์ ร่ขงิ เป็นรองประธาน - ผูอ้ �ำ นวยการสถาบันพัฒนาผูบ้ ริหารการศึกษา (วัดไร่ขงิ ) เป็นรองประธาน - หัวหน้าสำ�นักงานการประถมศึกษาอำ�เภอสามพราน เป็นรองประธาน - หัวหน้าศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) วัดไร่ขงิ เป็นรองประธาน พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณรวัดไร่ขงิ คณะกรรมการวัด, คณะพ่อครัวแม่ครัววัดไร่ขงิ
๖. คณะกรรมการฝ่ายอุปถัมภ์ - คณะสงฆ์จงั หวัดกาญจนบุร ี จัดถวายน้�ำ ปานะตลอดการอบรม - คณะสงฆ์จงั หวัดสุพรรณบุร ี จัดถวายค่าข้าวสาร ๕๐,๐๐๐ บาท - คณะสงฆ์จงั หวัดสมุทรสาคร จัดถวายน้�ำ ปลาตลอดการอบรมและเป็นเจ้าภาพ ถวายภัตตาหารเพล ในวันสุดท้ายของการอบรม - คณะสงฆ์จงั หวัดนครปฐม จัดถวายอุปกรณ์การอบรม - คุณพ่อบรรจง คุณสุวทิ ย์ แก้วค้า จัดถวายน้�ำ แข็งตลอดการอบรม - คุณบุญชัย ศิรมิ าลัยสุวรรณ จัดถวายน้�ำ เต้าหูต้ ลอดการอบรม ๗. ภัตตาหารเช้า-เพล ได้รบั ความอุปถัมภ์จากเจ้าคณะพระสังฆาธิการแต่ละอำ�เภอ ใน เขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค ๑๔ และมีผศู้ รัทธา รับเป็นเจ้าภาพจัดถวายทุกวัน ๘. รายจ่าย แบ่งประเภทใหญ่ ๆ ได้ดงั นี้ - เป็นค่าภัตตาหารเช้าและเพล ตลอด ๑๕ วัน เป็นจำ�นวนเงิน ๑,๘๐๐,๐๐๐ บาท - เป็นค่าน้�ำ ปานะตลอด ๑๕ วัน เป็นจำ�นวนเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท - เป็นค่ารางวัลวิทยากร-ผูป้ ฏิบตั งิ าน เป็นจำ�นวนเงิน ๑,๒๐๐,๐๐๐ บาท - เป็นค่ารางวัลนักเรียนผูส้ อบได้ เป็นจำ�นวนเงิน ๑๒๐,๐๐๐ บาท - เป็นค่าอุปกรณ์เครือ่ งเขียนสิง่ พิมพ์ตา่ ง ๆ เป็นจำ�นวนเงิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท - เป็นค่าอุปกรณ์เครือ่ งครัว เป็นจำ�นวนเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท รวมรายจ่ายทัง้ สิน้ ๓,๗๒๐,๐๐๐ บาท (สามล้านเจ็ดแสนสองหมืน่ บาทถ้วน)
179
การอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ทีด่ �ำ เนินการด้วยดีมาโดยตลอด ๔๕ ปีนน้ั ก็ดว้ ยความเป็นน้�ำ หนึง่ ใจเดียวกันของเจ้าคณะพระสังฆาธิการทุกจังหวัดในเขตคณะสงฆ์ ภาค ๑๔ และคณะพระวิทยากรทุกรูป ส่วนทีน่ า่ ยินดีเป็นอย่างยิง่ ประการหนึง่ ก็คอื วิทยากรส่วน มากเป็นศิษย์เก่ารุน่ ก่อนๆ ของสำ�นักอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ นี้ อนึง่ เกล้าฯ ขอโอกาส พระเดชพระคุณฯ ได้โปรดมอบผ้าไตร และของทีร่ ะลึก แก่ผู้ สอบประโยค ป.ธ. ๙ ได้ ปี พ.ศ.๒๕๖๑ ซึง่ ได้เคยเข้ารับการอบรมในสำ�นักอบรมนี้ และปัจจุบนั บางรูปก็ได้เป็นวิทยากรในการอบรมครัง้ นีด้ ว้ ย จำ�นวน ๔ รูป คือ พระมหาสงคราม สุเมโธ วัดพระปฐมเจดีย์ / นครปฐม พระมหาชัยนิวฒ ั น์ อริยปญฺโญ วัดพระปฐมเจดีย์ / นครปฐม พระมหาแสงเพชร สุทธฺ จิ ติ โฺ ต วัดพระงาม / นครปฐม พระมหาเจริญ จิรนนฺโท วัดบางปิง้ / สมุทรสาคร และขอพระเดชพระคุณฯ ได้โปรดเมตตาให้โอวาท และกล่าวปิดการอบรมบาลีกอ่ น สอบ แก่เจ้าคณะพระสังฆาธิการ คณะพระวิทยากร และนักเรียนทุกรูป เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล สืบไป. เกล้า ฯ พระเทพคุณาภรณ์ รองผูอ้ �ำ นวยการอบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔
180
ภาคผนวก
181
ในการอบรมบาลีกอนสอบ คณะสงฆภาค ๑๔
ตัวอยางเกียรติบัตร
182
(¾ÃиÃÃÁ⾸ÔÁ§¤Å) ਌Ҥ³ÐÀÒ¤ ñô á. ¼ÙŒÍӹǡÒÃͺÃÁºÒÅÕ¡‹Í¹Êͺ ¤³Ðʧ¦ ÀÒ¤ ñô
ãËŒ¶Ö§¤ÇÒÁà¨ÃÔާ͡§ÒÁ侺ÙÅ㹺ÇþÃоط¸ÈÒʹҵÅÍ´¡ÒŹҹà·ÍÞ. ãËŒäÇŒ ³ Çѹ·Õè òö à´×͹ ¡ØÁÀҾѹ¸ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõöò
ÇÑ´äË¢Ô§ ¾ÃÐÍÒÃÒÁËÅǧ ÍÓàÀÍÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á 䴌໚¹¾ÃÐÇÔ·Âҡà 㹡ÒÃͺÃÁºÒÅÕ¡‹Í¹Êͺ ¤³Ðʧ¦ ÀÒ¤ ñô »‚·Õè ôõ ³ ÇÑ´äË¢Ô§ ¾ÃÐÍÒÃÒÁËÅǧ ÍÓàÀÍÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á ÃÐËÇ‹Ò§Çѹ·Õè ñò - òö ¡ØÁÀҾѹ¸ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõöò
¾ÃÐà·¾ÈÒʹÒÀÔºÒÅ
¢ÍÁͺà¡ÕÂõԺѵÃãËŒäÇŒãËŒà¾×èÍáÊ´§Ç‹Ò
¡ÒÃͺÃÁºÒÅÕ¡‹Í¹Êͺ¤³Ðʧ¦ ÀÒ¤ ñô
ประโยค_______________________________� �
เลขที่_______________________________________ เลขที่ในหนังสือสุทธิ___________________________
ใบสมัครเข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ� คณะสงฆ์ภาค�๑๔� ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง��อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม วันที_่ _______�เดือน____________________พ.ศ___________________ ชื่อผู้สมัคร___________________________________�ฉายา________________________________�นามสกุล_______________________________�อายุ_________ปี�
พรรษา__________�เกิดวันที่__________�เดือน________________________�พ.ศ._________________�ตรงกับ______________________�ปี___________________� เกิดบ้านเลขที่____________�ตำ�บล_______________________________�อำ�เภอ_______________________________�จังหวัด_______________________________
�
ชื่อบิดา______________________________________�นามสกุล_______________________________�อาชีพ_______________________________
�
ปัจจุบันอยู่วัด________________________________�ถนน___________________________________�ตำ�บล_______________________________
�
ชื่อมารดา____________________________________�นามสกุล_______________________________�อาชีพ_______________________________
อำ�เภอ_______________________________�จังหวัด_______________________________ �
สอบได้ประโยค________�เมื่อพ.ศ._______________�สำ�นักเรียนวัด_______________________________�ตำ�บล_____________________________
�
ข้าพเจ้าได้ส่งหนังสือรับรองจากเจ้าอาวาส�หรือหนังสือรับรองจากเจ้าสำ�นักเรียน�และหนังสือสุทธิมาเป็นหลักฐานพร้อมใบสมัครนี้แล้ว�����������������
อำ�เภอ_______________________________�จังหวัด_______________________________
����� บัดนี้ข้าพเจ้าขอสมัครเข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ� ในชั้นประโยค_______________________________� ของการอบรมบาลีก่อนสอบ� ภาค� ๑๔�� ณ�วัดไร่ขิง�อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม�ข้าพเจ้าขอรับรองว่า��ข้อความข้างต้นนั้นเป็นความจริงทุกประการ��และขอปฏิญาณตนว่าจะปฏิบัติตามระเบียบข้อ บังคับของสำ�นักอบรมบาลีก่อนสอบนี้�อย่างเคร่งครัด (ลงชื่อ)_______________________________�ผู้เข้าอบรม
ใบรับสมัครนักเร�ยน
ในการอบรมบาลีกอนสอบ คณะสงฆภาค ๑๔ 183
ประวัติวิทยากร
อบรมบาลีก่อนสอบ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔��ปีที่��๔๕
ระหว่างวันที่��๑๒��ถึง��๒๖�กุมภาพันธ์��พ.ศ.�๒๕๖๒ ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง��อำ�เภอสามพราน��จังหวัดนครปฐม �
ชื่อ_____________________________________�ฉายา_________________________________�นามสกุล________________________________�
อายุ__________�พรรษา___________�วิทยฐานะ��ป.ธ._______���น.ธ.__________��วัด_________________________________________________________� ตำ�บล_____________________________�อำ�เภอ______________________________�จังหวัด_____________________________รหัสไปรษณีย_์ ______________ โทรศัพท์___________________________________� วิทยากรวิชา___________________________________��ชั้นประโยค____________�และวิชา___________________________________� ชั้นประโยค___________________________________��และ/หรือทำ�หน้าที_่ __________________________________� ลงชื่อ___________________________________เจ้าของประวัติ ____________�/______________�/________________�
เพื่อเก็บไว้เป็นเกียรติประวัติ ๑.�ลำ�ดับเลขที่________________________ ๒.�เวลาปฏิบัติงาน��ภาคเช้า________วัน���ภาคกลางวัน________วัน����ภาคค่ำ�________วัน ๓.�เวลาปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่�๑๒��ถึง��๒๖�กุมภาพันธ์�พ.ศ.�๒๕๖๒
แบบกรอกประวัติพระว�ทยากร
ในการอบรมบาลีกอนสอบ คณะสงฆภาค ๑๔
184
ใบลานักเรียน
ในการอบรมบาลีก่อนสอบ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔��ปีที่��๔๕ ระหว่างวันที่��๑๒��ถึง��๒๖�กุมภาพันธ์��พ.ศ.�๒๕๖๒ ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง��อำ�เภอสามพราน��จังหวัดนครปฐม �
ชื่อ_____________________________________�ฉายา_________________________________�นามสกุล________________________________�
�
ขอลาหยุดอบรม���วันที_่ _____________�เดือน__________________________�พ.ศ.___________________�ถึงวันที_่ ___________________
�
สาเหตุในการลา__________________________________________________________________________________________________________
วัด__________________________________�จังหวัด�___________________________________��นักเรียนอบรมชั้นประโยค�_____________________________� เดือน____________________________�พ.ศ.�______________�รวม______________วัน
_____________________________________________________________________________________________________________________________________
ลงชื่อ_________________________________________ผู้ลา ____________�/______________�/________________� ลงชื่อ_________________________________________ผู้อนุญาต (_________________________________________) อาจารย์ผู้ปกครอง ลงชื่อ_________________________________________ผู้อนุญาต (_________________________________________) อาจารย์ประจำ�ชั้น หมายเหตุ�:� ใบลาหยุดนี้�อาจารย์สอนแต่ละชั้นจะเป็นผู้อนุญาต�นักเรียนจะยื่นใบลาด้วยตนเอง�หรือมอบให้ผู้อื่นยื่น�แทนก็ได้ � เมื่อได้รับอนุญาต�ต้องนำ�ไปมอบให้เจ้าหน้าที่แผนกทะเบียนสถิติ
ใบลานักเร�ยน
ในการอบรมบาลีกอนสอบ คณะสงฆภาค ๑๔
185
� � � � � � � � �
� สัตถุศาสตร์สืบทอดได้� ด้วยปริยัติต้านธาร� บาลีหากรักษ์สาน� พุทธศาสน์คงอยู่ได้�
จิรกาล หยั่งไว้ นานเท่า�ตราบใด ตราบนั้น��ท่านเอย
� รักศาสน์รักษ์รากไว้� รากนั่นคือบาลี� สงฆ์ท่านภาคสิบสี่� ร่วมปิดภัยร้ายกล้ำ��
จงดี พจน์ล้ำ� หวังรัก�-ษานา มุ่งปั้น�การศึกษา
รายนามเจ้าภาพ ถวายภัตตาหารเช้า - เพล
187
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันอังคารที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๘ ค่ำ� เดือน ๓
๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี น�ำโดย... พระโสภณกาญจนาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม พระเมธีปริยัติวิบูลย์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม พระมหาบุญรอด มหาวีโร รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี ๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ น�ำโดย... พระวิสุทธิพงษ์เมธี เจ้าคณะอ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม พระครูวุฒิกาญจนวัตร รองเจ้าคณะอ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดถ�้ำองจุ เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ ๓. คณะศิษย์คนทรงหลวงพ่อวัดไร่ขิง ตระกูลสุขถาวร พร้อมญาติมิตร ๔. คณะตระกูลโชตะยากฤต น�ำโดย...คุณศักดิ์ดา โชตะยากฤต รองนายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลสวนหลวง
188
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันอังคารที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๘ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี น�ำโดย... พระโสภณกาญจนาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม พระเมธีปริยัติวิบูลย์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม พระมหาบุญรอด มหาวีโร รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี ๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ น�ำโดย... พระวิสุทธิพงษ์เมธี เจ้าคณะอ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม พระครูวุฒิกาญจนวัตร รองเจ้าคณะอ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดถ�้ำองจุ เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ ๓. คณะศิษย์คนทรงหลวงพ่อวัดไร่ขิง ตระกูลสุขถาวร พร้อมญาติมิตร ๔. คณะตระกูลโชตะยากฤต น�ำโดย...คุณศักดิ์ดา โชตะยากฤต รองนายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลสวนหลวง
189
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันพุธที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๙ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภอท่าม่วง นำ�โดย... พระสุธธี รรมนาท ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดบ้านถ้ำ� พระครูกาญจนสุตาคม เจ้าคณะอำ�เภอท่าม่วง วัดวังขนายทายิการาม พระครูวัชรกาญจนาภรณ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอท่าม่วง วัดศรีสุวรรณาวาส (ทุ่งทอง) เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอท่าม่วง ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอท่ามะกา นำ�โดย... พระครูวิบูลกาญจโนภาส เจ้าคณะอำ�เภอท่ามะกา วัดพระแท่นดงรัง พระครูวิสาลกาญจนกิจ รองเจ้าคณะอำ�เภอท่ามะกา วัดตะคร้ำ�เอน เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอท่ามะกา ๓. บริษัท เปอร์มาเฟล็กซ์ จำ�กัด โดย...คุณอดิศักดิ์ น้อยจีน ๔. คุณละออง ตันเสถียร พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร ๕. คุณนวลจันทร์ พูลสวัสดิ์ พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร ๖. ร้านไพโรจน์พานิชย์ พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร ๗. ภรรยา บุตร คุณเจริญ ไทรสาเกตุ ๘. คุณอุไร รุ่มนุ่ม พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร
190
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันพุธที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๙ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภอท่าม่วง นำ�โดย... พระสุธธี รรมนาท ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดบ้านถ้ำ� พระครูกาญจนสุตาคม เจ้าคณะอำ�เภอท่าม่วง วัดวังขนายทายิการาม พระครูวัชรกาญจนาภรณ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอท่าม่วง วัดศรีสุวรรณาวาส (ทุ่งทอง) เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอท่าม่วง ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอท่ามะกา นำ�โดย... พระครูวิบูลกาญจโนภาส เจ้าคณะอำ�เภอท่ามะกา วัดพระแท่นดงรัง พระครูวิสาลกาญจนกิจ รองเจ้าคณะอำ�เภอท่ามะกา วัดตะคร้ำ�เอน เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอท่ามะกา ๓. คณะลูกหลานคุณพ่อถนอม คุณแม่มณี ยี่ประชา
191
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันพฤหัสบดีที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๐ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์วัดไร่ขิง พระอารามหลวง นำ�โดย... พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอไทรโยค นำ�โดย... พระครูนิโครธโยคาภิรักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค วัดน้ำ�ตก พระครูกาญจนวุฒิกร รองเจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค วัดลุ่มสุ่ม พระครูกาญจนสุตาภรณ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค วัดไชยชุมพลชนะสงคราม เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอไทรโยค ๓. คณะสงฆ์อำ�เภอทองผาภูมิ นำ�โดย... พระครูวรกาญจนโชติ เจ้าคณะอำ�เภอทองผาภูมิ วัดปรังกาสี พระครูกาญจนปัญญาวุฒิ รองเจ้าคณะอำ�เภอทองผาภูมิ วัดเขื่อนวชิราลงกรณ์ เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอทองผาภูมิ ๔. คณะสงฆ์อำ�เภอพุทธมณฑล นำ�โดย... พระครูบวรธรรมานุสิฐ เจ้าคณะอำ�เภอพุทธมณฑล เจ้าอาวาสวัดมะเกลือ พระครูถาวรธรรมาภิมณฑ์ เจ้าคณะตำ�บลศาลายา เจ้าอาวาสวัดหทัยนเรศวร์ พระครูวิศิษฏ์ธรรมสาร เจ้าอาวาสวัดสาลวัน พระครูนิมิตกัลยาณวัตร เจ้าอาวาสวัดเทพนิมิต พระปลัดศิลา ธมฺมธีโร เจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม พระครูโสภณธรรมมงคล เจ้าอาวาสวัดมงคลประชาราม ๕. คณะครูนักเรียนโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย (พระตำ�หนักสวนกุหลาบมัธยม) ๖. คณะครูนักเรียนโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศ ศาลายา ๗. คณะครูนักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ๘. คณะครูนักเรียนโรงเรียนพระตำ�หนักสวนกุหลาบ มหามงคล
192
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันพฤหัสบดีที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๐ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์วัดไร่ขิง พระอารามหลวง นำ�โดย... พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอไทรโยค นำ�โดย... พระครูนิโครธโยคาภิรักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค วัดน้ำ�ตก พระครูกาญจนวุฒิกร รองเจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค วัดลุ่มสุ่ม พระครูกาญจนสุตาภรณ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค วัดไชยชุมพลชนะสงคราม เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอไทรโยค ๓. คณะสงฆ์อำ�เภอทองผาภูมิ นำ�โดย... พระครูวรกาญจนโชติ เจ้าคณะอำ�เภอทองผาภูมิ วัดปรังกาสี พระครูกาญจนปัญญาวุฒิ รองเจ้าคณะอำ�เภอทองผาภูมิ วัดเขื่อนวชิราลงกรณ์ เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอทองผาภูมิ ๔. คณะสงฆ์อำ�เภอพุทธมณฑล นำ�โดย... พระครูบวรธรรมานุสิฐ เจ้าคณะอำ�เภอพุทธมณฑล เจ้าอาวาสวัดมะเกลือ พระครูถาวรธรรมาภิมณฑ์ เจ้าคณะตำ�บลศาลายา เจ้าอาวาสวัดหทัยนเรศวร์ พระครูวิศิษฏ์ธรรมสาร เจ้าอาวาสวัดสาลวัน พระครูนิมิตกัลยาณวัตร เจ้าอาวาสวัดเทพนิมิต พระปลัดศิลา ธมฺมธีโร เจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม พระครูโสภณธรรมมงคล เจ้าอาวาสวัดมงคลประชาราม ๕. ผู้จัดการโรงงานสุราแสงโสมจ�ำกัด น�ำโดย...คุณกวีศิลป์ บูรณสมภพ พร้อมเจ้าหน้าที่พนักงาน ๖. บริษัท สยามแฮนดิ์ จ�ำกัด น�ำโดย...คุณอดิศร คุณอมรา พวงชมภู พร้อมเจ้าหน้าที่พนักงาน ๗. สจ. เสริม พัดเกร็ด พร้อมครอบครัว
193
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันศุกร์ที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๑ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอบ่อพลอย น�ำโดย... พระครูสิริกาญจนาภิรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบ่อพลอย วัดทุ่งมะสัง พระครูศรีกาญจนารักษ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอบ่อพลอย วัดเขาวงจินดาราม เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอบ่อพลอย ๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอพนมทวน น�ำโดย... พระครูกาญจนสิรินธร ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดกาญจนบุรีเก่า พระมหาธวัชชัย กลฺยาโณ ป.ธ. ๙ เจ้าคณะอ�ำเภอพนมทวน วัดพังตรุ พระครูกาญจนสมาจาร รองเจ้าคณะอ�ำเภอพนาทวน วัดดอนงิ้ว เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอพนมทวน ๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอก�ำแพงแสน น�ำโดย... พระครูอมรบุญญารักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดบ่อน�้ำจืด พระครูอาทรภัทรกิจ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดโพธิ์งาม พระครูโกศลธรรมรัตน์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดวังน�้ำเขียว พระครูปฐมเมธาภรณ์ เจ้าคณะต�ำบลทุ่งขวาง วัดสุวรรณรัตนาราม พระครูปฐมจินดากร วัดไร่แตงทอง เจ้าคณะต�ำบลทุ่งลูกนก พระครูสุมนสุนทรกิจ เจ้าคณะต�ำบลห้วยม่วง วัดทะเลบก พระครูวิธานธรรมนาถ เจ้าคณะต�ำบลก�ำแพงแสน วัดทุ่งกระพังโหม พระครูอดุลประชารักษ์ เจ้าคณะต�ำบลกระตีบ วัดเจริญราษฎร์บ�ำรุง พระครูพินิตสุตาคม เจ้าคณะต�ำบลห้วยขวาง วัดลาดหญ้าไทร พระครูไพโรจน์ภัทรคุณ เจ้าคณะต�ำบลดอนข่อย วัดสระพัง เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอก�ำแพงแสน ๔. คณะบุคลากรเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองไร่ขิง น�ำโดย... นายจ�ำรัส ตั้งตระกูลธรรม นายกเทศมนตรีเมืองไร่ขิง ๕. คณะบุคลากรเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าตลาด น�ำโดย... สจ. ประวัติ หิรัญ นายนิวัติ หิรัญ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าตลาด ก�ำนันทิพวรรณ หิรัญ ก�ำนันต�ำบลท่าตลาด พร้อมด้วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้น�ำชุมชนต�ำบลท่าตลาด
194
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันศุกร์ที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๑ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอบ่อพลอย น�ำโดย... พระครูสิริกาญจนาภิรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบ่อพลอย วัดทุ่งมะสัง พระครูศรีกาญจนารักษ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอบ่อพลอย วัดเขาวงจินดาราม เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอบ่อพลอย ๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอพนมทวน น�ำโดย... พระครูกาญจนสิรินธร ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดกาญจนบุรีเก่า พระมหาธวัชชัย กลฺยาโณ ป.ธ. ๙ เจ้าคณะอ�ำเภอพนมทวน วัดพังตรุ พระครูกาญจนสมาจาร รองเจ้าคณะอ�ำเภอพนาทวน วัดดอนงิ้ว เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอพนมทวน ๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอก�ำแพงแสน น�ำโดย... พระครูอมรบุญญารักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดบ่อน�้ำจืด พระครูอาทรภัทรกิจ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดโพธิ์งาม พระครูโกศลธรรมรัตน์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดวังน�้ำเขียว พระครูปฐมเมธาภรณ์ เจ้าคณะต�ำบลทุ่งขวาง วัดสุวรรณรัตนาราม พระครูปฐมจินดากร วัดไร่แตงทอง เจ้าคณะต�ำบลทุ่งลูกนก พระครูสุมนสุนทรกิจ เจ้าคณะต�ำบลห้วยม่วง วัดทะเลบก พระครูวิธานธรรมนาถ เจ้าคณะต�ำบลก�ำแพงแสน วัดทุ่งกระพังโหม พระครูอดุลประชารักษ์ เจ้าคณะต�ำบลกระตีบ วัดเจริญราษฎร์บ�ำรุง พระครูพินิตสุตาคม เจ้าคณะต�ำบลห้วยขวาง วัดลาดหญ้าไทร พระครูไพโรจน์ภัทรคุณ เจ้าคณะต�ำบลดอนข่อย วัดสระพัง เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอก�ำแพงแสน ๔. คณะบุคลากรเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองไร่ขิง น�ำโดย... นายจ�ำรัส ตั้งตระกูลธรรม นายกเทศมนตรีเมืองไร่ขิง ๕. คณะบุคลากรเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าตลาด น�ำโดย... สจ. ประวัติ หิรัญ นายนิวัติ หิรัญ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าตลาด ก�ำนันทิพวรรณ หิรัญ ก�ำนันต�ำบลท่าตลาด พร้อมด้วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้น�ำชุมชนต�ำบลท่าตลาด ๖. บริษัท คริสโก เคมีคอล จ�ำกัด นางสาวนันทา บุญชัย พร้อมเพื่อนกัลยาณมิตร
195
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันเสาร์ที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๒ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอเลาขวัญ น�ำโดย... พระครูสิริกาญจโนภาส เจ้าคณะอ�ำเภอเลาขวัญ วัดเขาวัง พระครูพิศาลจารุวรรณ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเลาขวัญ วัดทุ่งกระบ�่ำ เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเลาขวัญ ๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอดอนตูม น�ำโดย... พระศรีธีรวงศ์ เจ้าคณะอ�ำเภอดอนตูม วัดพระประโทณเจดีย์ พระครูปฐมปัญญาภรณ์ เจ้าคณะต�ำบลสามง่าม วัดทุ่งสีหลง พระครูปฐมวรญาณ เจ้าคณะต�ำบลบ้านหลวง วัดดอนพุทรา พระครูพิทักษ์ธรรมกิตติ์ เจ้าคณะต�ำบลห้วยด้วน วัดห้วยพระ เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอดอนตูม ๓. ดร.สนธยา กล่อมเปลี่ยน คุณหาญยุทธ สรไกรกิติกุล พร้อมด้วยญาติมิตร ๔. คณะบุตรธิดา ญาติมิตร คุณพ่อเซี้ยง เส็งประชา
196
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันเสาร์ที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๒ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอเลาขวัญ น�ำโดย... พระครูสิริกาญจโนภาส เจ้าคณะอ�ำเภอเลาขวัญ วัดเขาวัง พระครูพิศาลจารุวรรณ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเลาขวัญ วัดทุ่งกระบ�่ำ เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเลาขวัญ ๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอดอนตูม น�ำโดย... พระศรีธีรวงศ์ เจ้าคณะอ�ำเภอดอนตูม วัดพระประโทณเจดีย์ พระครูปฐมปัญญาภรณ์ เจ้าคณะต�ำบลสามง่าม วัดทุ่งสีหลง พระครูปฐมวรญาณ เจ้าคณะต�ำบลบ้านหลวง วัดดอนพุทรา พระครูพิทักษ์ธรรมกิตติ์ เจ้าคณะต�ำบลห้วยด้วน วัดห้วยพระ เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอดอนตูม ๓. ดร.สนธยา กล่อมเปลี่ยน คุณหาญยุทธ สรไกรกิติกุล พร้อมด้วยญาติมิตร ๔. คณะบุตรธิดา ญาติ คุณพ่อภักดิ์ โปรานานนท์ คุณพ่อลออ คุณแม่ตลับ มาประชา คุณพ่ออุบล คุณแม่ทุเรียน มาประชา คณะภรรยาบุตรธิดา ญาติ อาจารย์วิจิตร พร้อมมูล นำ�โดย... คุณอำ�ไพ พร้อมมูล คุณพนอ คุณสุพาพ มาประชา คุณบุญส่ง คุณศรีรม ไทยทวี ๕. คุณทวี คุณพรรณศรี แดงสวัสดิ์ และญาติมิตร ๖. ตระกูลคุณแม่พจนา เกษตรสุวรรณ พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร ๗. คุณวิโรจน์ คุณสมจิตต์ วิโรจนกุล พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร
197
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันอาทิตย์ที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๓ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอสังขละบุรี น�ำโดย... พระมหาสุชาติ สิริปญฺโญ ป.ธ. ๙ เจ้าคณะอ�ำเภอสังขละบุรี วัดวังก์วิเวการาม เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสังขละบุรี ๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย น�ำโดย... พระครูเกษมกาญจนสิทธิ์ เจ้าคณะอ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย วัดท่าเสด็จ เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย ๓. คุณแม่แตงไล้ เชาว์แหลม คุณปรีชา คุณเรวดี ปัถวี พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร ๔. ตระกูลคุณพ่อเคียมจั๊ว คุณมุ้ยกี่ ศรีสมเพ็ชร น�ำโดย... คุณประสิทธิ์ คุณประกิจ คุณประเสริฐ ศรีสมเพ็ชร คุณธวัชชัย คุณสดชื่น คุณธัญชนิต ศรีสมเพ็ชร ๕. ตระกูลผลสมบูรณ์โชค โดย... คุณแม่นรี ะ คุณสุนทรชัย คุณนพรัตน์ คุณสหกันต์ คุณสมนันท์ คุณนันทกันต์ ผลสมบูรณ์โชค ๖. ตระกูลวงศ์ฐิตกุล โดย... คุณธรรมธัช คุณจิตสุภา คุณธนตวันต์ คุณธรสงศ์ คุณธนวัฒน์ คุณกรรณิกา และครองครัววงศ์ฐิตกุล
198
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันอาทิตย์ที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๓ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอสังขละบุรี น�ำโดย... พระมหาสุชาติ สิริปญฺโญ ป.ธ. ๙ เจ้าคณะอ�ำเภอสังขละบุรี วัดวังก์วิเวการาม เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสังขละบุรี ๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย น�ำโดย... พระครูเกษมกาญจนสิทธิ์ เจ้าคณะอ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย วัดท่าเสด็จ เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย ๓. คณะภรรยาบุตรธิดา คุณพ่อประสาน โปราณานนท์ นำ�โดย.... คุณแม่สมจิตต์ คล้ายคลึง คุณแม่ณิชาภา โปราณานนท์ พล.ต.ต.กรไชย คุณณสุดา คล้ายคลึง คุณโชติอนันต์ คุณพิชชา นิ่มรวลภูพานิช คุณสมเกียรติ คุณกนนกวรรณ ดุสฎีกาญจน คุณประทีป คุณเฉลิม คงสมจิตร ๔. คุณแม่แตงไล้ เชาว์แหลม คุณปรีชา คุณเรวดี ปัถวี พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร ๕. คุณสมบูรณ์ คุณบุญพร้อม เตชะศิรินุกูล พร้อมครอบครัว
199
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันจันทร์ที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๔ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภอหนองปรือ นำ�โดย... พระครูกาญจนธรรมธัช เจ้าคณะอำ�เภอหนองปรือ วัดหนองไม้เอื้อย พระครูปริยัติกาญจนโสภณ รองเจ้าคณะอำ�เภอหนองปรือ วัดสมเด็จเจริญ เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอหนองปรือ ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอห้วยกระเจา นำ�โดย... พระมหาชะโลม ปญฺญาวชิโร ป.ธ. ๙ เจ้าคณะอำ�เภอห้วยกระเจา วัดทิพย์สุคนธาราม พระมหาสันติ โชติกาโร ป.ธ. ๙ รองเจ้าคณะอำ�เภอห้วยกระเจา วัดราษฎร์ประชุมชนาราม เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอห้วยกระเจา ๓. คณะบุตร-ธิดา คุณแม่สิริรัตน์ วัฒนศริ นำ�โดย... คุณอภิศักดิ์ วัฒนศริ พร้อมด้วยบุตรธิดา และญาติมิตร ๔. คณะบุตร-ธิดา คุณแม่แป้น ชนประชา นำ�โดย... คุณศรีอำ�พร ชนประชา และน้องๆ
200
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเเพล
ประจำ�วันจันทร์ที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๔ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภอหนองปรือ นำ�โดย... พระครูกาญจนธรรมธัช เจ้าคณะอำ�เภอหนองปรือ วัดหนองไม้เอื้อย พระครูปริยัติกาญจนโสภณ รองเจ้าคณะอำ�เภอหนองปรือ วัดสมเด็จเจริญ เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอหนองปรือ ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอห้วยกระเจา นำ�โดย... พระมหาชะโลม ปญฺญาวชิโร ป.ธ. ๙ เจ้าคณะอำ�เภอห้วยกระเจา วัดทิพย์สุคนธาราม พระมหาสันติ โชติกาโร ป.ธ. ๙ รองเจ้าคณะอำ�เภอห้วยกระเจา วัดราษฎร์ประชุมชนาราม เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอห้วยกระเจา ๓. คณะอุบาสิกาเยื้อน มีประมูล ๔. คณะบุตรธิดา คุณพ่ออารีย์ คุณแม่ประยงค์ เอ๊าเจริิญ ๕. พ.ท.สุชาติ คุณแป๋ว อุบลแย้ม พร้อมบุตรธิดาญาตมิตร
201
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันอังคารที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี นำ�โดย... พระครูศรีปริยัตยานุศาสก์ เจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี วัดปราสาททอง พระครูสิริวรธรรมาภินันท์ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี วัดมะนาว พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี เลข.จจ.สุพรรณบุรี วัดพระลอย เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอด่านช้าง นำ�โดย... พระครูธรรมสารรักษา เจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง วัดบรรหารแจ่มใส พระครูโกศลคชเขต รองเจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง วัดด่านช้าง พระครูคชเขตบุรารักษ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง วัดหนองมะค่าโมง เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอด่านช้าง ๓. ศาลาเจริญธรรมในองค์หลวงพ่อวัดไร่ขิง นำ�โดย... คุณรุ่งศักดิ์ น้อยประชา จสต.เจริญชัย คุณอารีย์ รัตนจรรยารักษ์ ปู่กิ่งแก้ว โพธิ์รักษา
202
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันอังคารที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี นำ�โดย... พระครูศรีปริยัตยานุศาสก์ เจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี วัดปราสาททอง พระครูสิริวรธรรมาภินันท์ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี วัดมะนาว พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี เลข.จจ.สุพรรณบุรี วัดพระลอย เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอด่านช้าง นำ�โดย... พระครูธรรมสารรักษา เจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง วัดบรรหารแจ่มใส พระครูโกศลคชเขต รองเจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง วัดด่านช้าง พระครูคชเขตบุรารักษ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง วัดหนองมะค่าโมง เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอด่านช้าง ๓. ศาลาเจริญธรรมในองค์หลวงพ่อวัดไร่ขิง นำ�โดย... คุณรุ่งศักดิ์ น้อยประชา จสต.เจริญชัย คุณอารีย์ รัตนจรรยารักษ์ ปู่กิ่งแก้ว โพธิ์รักษา ๔. คุณนิธินันท์ ทรัพย์ธนากานต์ และครอบครัว
203
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันพุธที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๑ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภอบางปลาม้า นำ�โดย... พระครูโสภณคุณาธาร เจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า วัดสาลี พระครูศาสนกิจจาภิรม ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า วัดดาว พระครูโกศลธรรมานุสิฐ รองเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า วัดสวนหงส์ พระครูสิริวุฒิรังษี รองเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า วัดช่องลม เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอบางปลาม้า ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอหนองหญ้าไซ นำ�โดย... พระครูศาสนกิจจานุยุต เจ้าคณะอำ�เภอหนองหญ้าไซ วัดหนองทราย พระครูกิตติวีรานุวัฒน์ รองเจ้าคณะอำ�เภอหนองหญ้าไซ วัดหนองหลวง เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัดใน เขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอหนองหญ้าไซ ๓. คณะสงฆ์ อุบาสก อุบาสิกา อำ�เภอนครชัยศรี นำ�โดย... พระครูสิริปุญญาภิวัฒน์ เจ้าคณะอำ�เภอนครชัยศรี วัดสำ�โรง พระครูวิบูลสิริธรรม ที่ปรึกษา จอ. นครชัยศรี วัดตุ๊กตา พระครูโกวิทสุตการ รองเจ้าคณะอำ�เภอนครชัยศรี วัดโคกเขมา พระครูวิจิตรสรคุณ เจ้าคณะตำ�บลท่าพระยา วัดบางแก้ว พระมหาเสวย ติสสฺ วํโส ป.ธ. ๗ เจ้าคณะตำ�บลศีรษะทอง วัดน้อยเจริญสุข พระครูสิริชัยสถิต เจ้าคณะตำ�บลสัมปทวน วัดสัมปตาก พระครูจันทเขมคุณ เจ้าคณะตำ�บลศรีมหาโพธิ์ วัดศรีมหาโพธิ์ พระครูปฐมโชติวัมน์ เจ้าคณะตำ�บลวัดละมุด วัดละมุด พระครูสิริชัยรังสี เจ้าคณะตำ�บลห้วยพลู วัดพุทธธรรมรังสี พระครูสถิตบุญเขต เจ้าคณะตำ�บลบางกระเบา วัดกลางบางแก้ว พระอธิการประมวล ปภากโร เจ้าอาวาสวัดกลางคูเวียง พระครูยติธรรมานุยุต เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์ เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอนครชัยศรี ๔. คุณอัจฉรา ซังเก พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร
204
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันพุธที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๑ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภอบางปลาม้า นำ�โดย... พระครูโสภณคุณาธาร เจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า วัดสาลี พระครูศาสนกิจจาภิรม ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า วัดดาว พระครูโกศลธรรมานุสิฐ รองเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า วัดสวนหงส์ พระครูสิริวุฒิรังษี รองเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า วัดช่องลม เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอบางปลาม้า ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอหนองหญ้าไซ นำ�โดย... พระครูศาสนกิจจานุยุต เจ้าคณะอำ�เภอหนองหญ้าไซ วัดหนองทราย พระครูกิตติวีรานุวัฒน์ รองเจ้าคณะอำ�เภอหนองหญ้าไซ วัดหนองหลวง เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัดใน เขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอหนองหญ้าไซ ๓. คณะสงฆ์ อุบาสก อุบาสิกา อำ�เภอนครชัยศรี นำ�โดย... พระครูสิริปุญญาภิวัฒน์ เจ้าคณะอำ�เภอนครชัยศรี วัดสำ�โรง พระครูวิบูลสิริธรรม ที่ปรึกษา จอ.นครชัยศรี วัดตุ๊กตา พระครูโกวิทสุตการ รองเจ้าคณะอำ�เภอนครชัยศรี วัดโคกเขมา พระครูวิจิตรสรคุณ เจ้าคณะตำ�บลท่าพระยา วัดบางแก้ว พระมหาเสวย ติสสฺ วํโส ป.ธ. ๗ เจ้าคณะตำ�บลศีรษะทอง วัดน้อยเจริญสุข พระครูสิริชัยสถิต เจ้าคณะตำ�บลสัมปทวน วัดสัมปตาก พระครูจันทเขมคุณ เจ้าคณะตำ�บลศรีมหาโพธิ์ วัดศรีมหาโพธิ์ พระครูปฐมโชติวัมน์ เจ้าคณะตำ�บลวัดละมุด วัดละมุด พระครูสิริชัยรังสี เจ้าคณะตำ�บลห้วยพลู วัดพุทธธรรมรังสี พระครูสถิตบุญเขต เจ้าคณะตำ�บลบางกระเบา วัดกลางบางแก้ว พระอธิการประมวล ปภากโร เจ้าอาวาสวัดกลางคูเวียง พระครูยติธรรมานุยุต เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์ เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอนครชัยศรี ๔. คณะคุณพ่อย้อย มีป้อม อาจารย์สวัสดิ์ คุณลออ นิ่มอนงค์ พร้อมด้วยบุตรธิดาและญาติมิตร ๕. คุณแม่รัตน์ทวี สุนประชา นำ�โดย....คุณสมภพ สุนประชา พร้อมด้วยบุตรธิดาและญาติมิตร ๖. คุณพ่อยวน คุณแม่สมควร ภู่มาลี พร้อมด้วยบุตรธิดา และญาติมิตร
205
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันพฤหัสบดีที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๒ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภอสองพี่น้อง นำ�โดย... พระปริยัติวรคุณ เจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง วัดสองพี่น้อง พระมหาทศวร กิตฺติวฑฺฒโน ป.ธ.๗ รองเจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง วัดพรสวรรค์ พระครูอนุกูลปัญญากร รองเจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง วัดไผ่โรงวัว เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัดในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอสองพี่น้อง ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอสามชุก นำ�โดย... พระครูศาสนกิจจาภรณ์ เจ้าคณะอำ�เภอสามชุก วัดลาดสิงห์ พระครูพิมลสุวรรณเขต รองเจ้าคณะอำ�เภอสามชุก วัดวิมลโภคาราม เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอสามชุก ๓. คุณบุญส่ง คุณโกมล ปัถวี พร้อมด้วยบุตรธิดา และญาติมิตร
206
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันพฤหัสบดีที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๒ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภอสองพี่น้อง นำ�โดย... พระปริยัติวรคุณ เจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง วัดสองพี่น้อง พระมหาทศวร กิตฺติวฑฺฒโน ป.ธ.๗ รองเจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง วัดพรสวรรค์ พระครูอนุกูลปัญญากร รองเจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง วัดไผ่โรงวัว เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัดในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอสองพี่น้อง ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอสามชุก นำ�โดย... พระครูศาสนกิจจาภรณ์ เจ้าคณะอำ�เภอสามชุก วัดลาดสิงห์ พระครูพิมลสุวรรณเขต รองเจ้าคณะอำ�เภอสามชุก วัดวิมลโภคาราม เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอสามชุก ๓. คณะสงฆ์ อุบาสก อุบาสิกา วัดพระงามพระอารามหลวง น�ำโดย... พระอุดมธรรมเมธี เจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง พระครูโสภณศีลวัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง พระครูโสภณธุราทร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง พระครูประภัทรธรรมาทร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง พระครูปฐมธีราภรณ์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง พระครูปฐมธรรมโสภณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง พระมหารุ่งธรรม ญาณสิทธฺ ิ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺตโิ ย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง พระมหาภาคภูมิ ภูมิโชติ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง พระมหาจรูญ กิตฺติปญฺโญ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง พระมหาวิทูรย์ สิทธิเมธี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
207
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันศุกร์ที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๓ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภออู่ทอง นำ�โดย... พระรัตนเวที เจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง วัดเขาดีสลัก พระครูสุวรรณประชานุกูล รองเจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง วัดเขากำ�แพง พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ รองเจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง วัดห้วยมงคล เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภออู่ทอง ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอศรีประจันต์ นำ�โดย... พระครูศรีประจันตคณารักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอศรีประจันต์ วัดดอนบุบผาราม พระครูพิพัฒน์สุวรรณาภรณ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอศรีประจันต์ วัดหนองเพียร เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอศรีประจันต์ ๓. ผู้ใหญ่พยนต์ คุณฉวี ซำ�ประชา คุณธานี คุณอารีย์ เชยกลิ่นเทศ พร้อมบุตรธิดาและญาติมิตร ๔. คณะคุณพ่อสมศักดิ์ เชิดชูธรรม นำ�โดย... คุณสุภี เชิดชูธรรม พร้อมบุตรธิดาหลานและญาติมิตร
208
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันศุกร์ที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๓ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อำ�เภออู่ทอง นำ�โดย... พระรัตนเวที เจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง วัดเขาดีสลัก พระครูสุวรรณประชานุกูล รองเจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง วัดเขากำ�แพง พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ รองเจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง วัดห้วยมงคล เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภออู่ทอง ๒. คณะสงฆ์อำ�เภอศรีประจันต์ นำ�โดย... พระครูศรีประจันตคณารักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอศรีประจันต์ วัดดอนบุบผาราม พระครูพิพัฒน์สุวรรณาภรณ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอศรีประจันต์ วัดหนองเพียร เจ้าคณะตำ�บลทุกตำ�บล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำ�เภอศรีประจันต์ ๓. คณะบุตรธิดา และหลานคุณแม่แฉล้ม หลีค้า อุบาสิกาสนั่น จารุวรรโณ ๔. คุณพันธ์ทิพย์ ภูไทย ๕. คุณสำ�เร็จ เติมสายทอง
209
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันเสาร์ที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๔ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอดอนเจดีย์ น�ำโดย... พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอดอนเจดีย์ วัดดอนเจดีย์ พระครูสุวรรณปริยัตยาทร รองเจ้าคณะอ�ำเภอดอนเจดีย์ วัดธัญญวารี เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอดอนเจดีย์ ๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอเดิมบางนางบวช น�ำโดย... พระครูศรีสุตาคม เจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดก�ำมะเชียร พระครูสิริสิกขการ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดเขาดิน พระครูวิริยศาสนกิจ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดกุ่มโคก เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบลเจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเดิมบางนางบวช ๓. มูลนิธิช้างหัสดินทร์ น�ำโดย... คุณแม่ปิ่น เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณประเสริฐ เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณวาณิช (อาจารย์ทองฟ้า กิมเทียนเซี่ยงตี่ไต่เทียงจุง) คุณแม่สุรีย์พร เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณสิริฤทัยวดี เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณแม่ฮุยเจ็ง แซ่กอ คุณภัตติมา เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณสมบูรณ์ กอบทองสิริโชค บริษัทไทยบูรพาโปรดักส์ จำ�กัด ร้านรุ่งเรืองชุปเปอร์มาเก็ต ด่านชั่ง ร้านรุ่งเรืองเภสัช ด่านชั่ง คุณเรืองยศสุวรรณ สุวรรณธาร คุณพิชิตสุวรรณ ริมสุขเจริญชัย คุณหญิงนพคุณ อยู่จำ�นงค์ คุณสุรพันธ์ จงทวีวิไล พลตำ�รวจตรี ศิลป์คมณ์ เอี่ยมวงศ์ ผู้บังคับการอำ�นวยการตำ�รวจภฺูธรภาค ๑ คุณชลธารทิพย์ อิ่มรักษา คุณแม่กาญจนา จงทวีวิไล คุณธารสุวรรณ จงทวีวิไล คุณสิรินภารัตน์ ไพรวัลย์ คุณแพรวพรรณเทวี สุณาโท บริษัทไครเซนมารุ จำ�กัด คุณสิรินพรัตน์ อำ�ลอย คุณสุรพรเพ็ญ วรโรจน์เจริญเดช คุณเอกจักรตรี กรอบทองสิริโชค ร้านอาหารญี่ปุ่นคอซูชิ ระนอง คุณราตรี บุญจันทร์ บริษัท เยสโมดิ้ง ไทยแลนด์ จำ�กัด คุณปัญญาภิรมย์ แซ่โง้ว คุณภัทรภิรมย์ ลัดดา คุณชลธารสุวรรณ อยู่ลือชา คุณนาถสิริวดี สุขเกษม คุณสิริจรรยา ข่าน คุณสิริพัชรา อยู่บุรี คุณวรรณวิภา บุญชัยพานิชวัฒนา และคณะศิษยานุศิษย์
210
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันเสาร์ที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๔ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอดอนเจดีย์ น�ำโดย... พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอดอนเจดีย์ วัดดอนเจดีย์ พระครูสุวรรณปริยัตยาทร รองเจ้าคณะอ�ำเภอดอนเจดีย์ วัดธัญญวารี เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอดอนเจดีย์ ๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอเดิมบางนางบวช น�ำโดย... พระครูศรีสุตาคม เจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดก�ำมะเชียร พระครูสิริสิกขการ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดเขาดิน พระครูวิริยศาสนกิจ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดกุ่มโคก เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบลเจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเดิมบางนางบวช ๓. มูลนิธิช้างหัสดินทร์ น�ำโดย... คุณแม่ปิ่น เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณประเสริฐ เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณวาณิช (อาจารย์ทองฟ้า กิมเทียนเซี่ยงตี่ไต่เทียงจุง) คุณแม่สุรีย์พร เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณสิริฤทัยวดี เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณแม่ฮุยเจ็ง แซ่กอ คุณภัตติมา เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณสมบูรณ์ กอบทองสิริโชค บริษัทไทยบูรพาโปรดักส์ จำ�กัด ร้านรุ่งเรืองชุปเปอร์มาเก็ต ด่านชั่ง ร้านรุ่งเรืองเภสัช ด่านชั่ง คุณเรืองยศสุวรรณ สุวรรณธาร คุณพิชิตสุวรรณ ริมสุขเจริญชัย คุณหญิงนพคุณ อยู่จำ�นงค์ คุณสุรพันธ์ จงทวีวิไล พลตำ�รวจตรี ศิลป์คมณ์ เอี่ยมวงศ์ ผู้บังคับการอำ�นวยการตำ�รวจภฺูธรภาค ๑ คุณชลธารทิพย์ อิ่มรักษา คุณแม่กาญจนา จงทวีวิไล คุณธารสุวรรณ จงทวีวิไล คุณสิรินภารัตน์ ไพรวัลย์ คุณแพรวพรรณเทวี สุณาโท บริษัทไครเซนมารุ จำ�กัด คุณสิรินพรัตน์ อำ�ลอย คุณสุรพรเพ็ญ วรโรจน์เจริญเดช คุณเอกจักรตรี กรอบทองสิริโชค ร้านอาหารญี่ปุ่นคอซูชิ ระนอง คุณราตรี บุญจันทร์ บริษัท เยสโมดิ้ง ไทยแลนด์ จำ�กัด คุณปัญญาภิรมย์ แซ่โง้ว คุณภัทรภิรมย์ ลัดดา คุณชลธารสุวรรณ อยู่ลือชา คุณนาถสิริวดี สุขเกษม คุณสิริจรรยา ข่าน คุณสิริพัชรา อยู่บุรี คุณวรรณวิภา บุญชัยพานิชวัฒนา และคณะศิษยานุศิษย์
211
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันอาทิตย์ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๕ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอสามพราน น�ำโดย... พระครูอดุลพัฒนาภรณ์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดเดชานุสรณ์ พระพิพัฒน์ศึกษากร เจ้าคณะอ�ำเภอสามพราน วัดบางช้างเหนือ พระมหาสมเกียรติ เตชวณฺโณ ป.ธ. ๗ เจ้าคณะต�ำบลยายชา วัดทรงคนอง พระครูจารุวัฒนคุณ เจ้าคณะต�ำบลไร่ขิง วัดหอมเกร็ด พระครูวรดิตถานุยุต เจ้าคณะต�ำบลบ้านใหม่ วัดท่าพูด พระครูจินดากิจจานุรักษ์ เจ้าคณะต�ำบลบางช้าง วัดจินดาราม เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสามพราน ๒. มูลนิธิช้างหัสดินทร์ น�ำโดย... คุณแม่ปิ่น เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณประเสริฐ เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณวาณิช (อาจารย์ทองฟ้า กิมเทียนเซี่ยงตี่ไต่เทียงจุง) คุณแม่สุรีย์พร เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณสิริฤทัยวดี เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณแม่ฮุยเจ็ง แซ่กอ คุณภัตติมา เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณสมบูรณ์ กอบทองสิริโชค บริษัทไทยบูรพาโปรดักส์ จำ�กัด ร้านรุ่งเรืองชุปเปอร์มาเก็ต ด่านชั่ง ร้านรุ่งเรืองเภสัช ด่านชั่ง คุณเรืองยศสุวรรณ สุวรรณธาร คุณพิชิตสุวรรณ ริมสุขเจริญชัย คุณหญิงนพคุณ อยู่จำ�นงค์ คุณสุรพันธ์ จงทวีวิไล พลตำ�รวจตรี ศิลป์คมณ์ เอี่ยมวงศ์ ผู้บังคับการอำ�นวยการตำ�รวจภฺูธรภาค ๑ คุณชลธารทิพย์ อิ่มรักษา คุณแม่กาญจนา จงทวีวิไล คุณธารสุวรรณ จงทวีวิไล คุณสิรินภารัตน์ ไพรวัลย์ คุณแพรวพรรณเทวี สุณาโท บริษัทไครเซนมารุ จำ�กัด คุณสิรินพรัตน์ อำ�ลอย คุณสุรพรเพ็ญ วรโรจน์เจริญเดช คุณเอกจักรตรี กรอบทองสิริโชค ร้านอาหารญี่ปุ่นคอซูชิ ระนอง คุณราตรี บุญจันทร์ บริษัท เยสโมดิ้ง ไทยแลนด์ จำ�กัด คุณปัญญาภิรมย์ แซ่โง้ว คุณภัทรภิรมย์ ลัดดา คุณชลธารสุวรรณ อยู่ลือชา คุณนาถสิริวดี สุขเกษม คุณสิริจรรยา ข่าน คุณสิริพัชรา อยู่บุรี คุณวรรณวิภา บุญชัยพานิชวัฒนา และคณะศิษยานุศิษย์
212
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันอาทิตย์ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๕ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอสามพราน น�ำโดย... พระครูอดุลพัฒนาภรณ์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดเดชานุสรณ์ พระพิพัฒน์ศึกษากร เจ้าคณะอ�ำเภอสามพราน วัดบางช้างเหนือ พระมหาสมเกียรติ เตชวณฺโณ ป.ธ. ๗ เจ้าคณะต�ำบลยายชา วัดทรงคนอง พระครูจารุวัฒนคุณ เจ้าคณะต�ำบลไร่ขิง วัดหอมเกร็ด พระครูวรดิตถานุยุต เจ้าคณะต�ำบลบ้านใหม่ วัดท่าพูด พระครูจินดากิจจานุรักษ์ เจ้าคณะต�ำบลบางช้าง วัดจินดาราม เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสามพราน ๒. มูลนิธิช้างหัสดินทร์ น�ำโดย... คุณแม่ปิ่น เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณประเสริฐ เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณวาณิช (อาจารย์ทองฟ้า กิมเทียนเซี่ยงตี่ไต่เทียงจุง) คุณแม่สุรีย์พร เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณสิริฤทัยวดี เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณแม่ฮุยเจ็ง แซ่กอ คุณภัตติมา เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณสมบูรณ์ กอบทองสิริโชค บริษัทไทยบูรพาโปรดักส์ จำ�กัด ร้านรุ่งเรืองชุปเปอร์มาเก็ต ด่านชั่ง ร้านรุ่งเรืองเภสัช ด่านชั่ง คุณเรืองยศสุวรรณ สุวรรณธาร คุณพิชิตสุวรรณ ริมสุขเจริญชัย คุณหญิงนพคุณ อยู่จำ�นงค์ คุณสุรพันธ์ จงทวีวิไล พลตำ�รวจตรี ศิลป์คมณ์ เอี่ยมวงศ์ ผู้บังคับการอำ�นวยการตำ�รวจภฺูธรภาค ๑ คุณชลธารทิพย์ อิ่มรักษา คุณแม่กาญจนา จงทวีวิไล คุณธารสุวรรณ จงทวีวิไล คุณสิรินภารัตน์ ไพรวัลย์ คุณแพรวพรรณเทวี สุณาโท บริษัทไครเซนมารุ จำ�กัด คุณสิรินพรัตน์ อำ�ลอย คุณสุรพรเพ็ญ วรโรจน์เจริญเดช คุณเอกจักรตรี กรอบทองสิริโชค ร้านอาหารญี่ปุ่นคอซูชิ ระนอง คุณราตรี บุญจันทร์ บริษัท เยสโมดิ้ง ไทยแลนด์ จำ�กัด คุณปัญญาภิรมย์ แซ่โง้ว คุณภัทรภิรมย์ ลัดดา คุณชลธารสุวรรณ อยู่ลือชา คุณนาถสิริวดี สุขเกษม คุณสิริจรรยา ข่าน คุณสิริพัชรา อยู่บุรี คุณวรรณวิภา บุญชัยพานิชวัฒนา และคณะศิษยานุศิษย์
213
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันจันทร์ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๖ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. พระธรรมโพธิมงคล รก.เจ้าคณะภาค ๑๔ วัดนิมมานรดี กรุงเทพมหานคร พระเทพคุณาภรณ์ วัดเทวราชกุญชร กรุงเทพมหานคร ๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองนครปฐม น�ำโดย... พระครูพิศาลสาธุวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม วัดพะเนียงแตก พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ป.ธ. ๙ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม วัดพระงาม พระครูพิพิธเจติยาภิบาล เจ้าคณะต�ำบลพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ พระครูสุวรรณเมธาภรณ์ เจ้าคณะต�ำบลพระประโทน วัดไร่เกาะต้นส�ำโรง พระครูปฐมวราจารย์ เจ้าคณะต�ำบลดอนยายหอม วัดดอนยายหอม พระครูสุจิตตานันท์ เจ้าคณะต�ำบลบางแขม วัดวังเย็น พระครูหริภูมิรักษ์ เจ้าคณะต�ำบลสวนป่าน วัดหนองดินแดง พระครูปฐมธรรมรักษ์ เจ้าคณะต�ำบลโพรงมะเดื่อ วัดโพรงมะเดื่อ พระครูปลัดสาธุวัฒน์ เจ้าคณะต�ำบลทัพหลวง วัดวังตะกู พระครูปฐมสุตากร เจ้าคณะต�ำบลบ้านยาง วัดหนองกระโดน เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองนครปฐม ๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอบางเลน น�ำโดย... พระศรีวิสุทธิวงศ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดพระปฐมเจดีย์ พระครูถาวรศีลวัตร ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดลานคา พระครูพิทักษ์สุขวัฒน์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดสุขวัฒนาราม พระครูไพศาลกิตติวรรณ เจ้าคณะต�ำบลบางระก�ำ วัดเวฬุวนาราม พระครูโสภณกิจวิบูล เจ้าคณะต�ำบลบางภาษี วัดบางภาษี พระครูปุญญาภิสันท์ เจ้าคณะต�ำบลบางไทรป่า วัดบางไผ่นารถ พระครูเกษมถาวรคุณ เจ้าคณะต�ำบลไผ่หูช้าง วัดบางเลน พระครูวิจิตรปทุมานันท์ เจ้าคณะต�ำบลบัวปากท่า วัดบัวหวั่น พระมหาณรงค์ มหาปญฺโญ ป.ธ.๖ เจ้าคณะต�ำบลบางหลวง วัดบางน้อยใน พระครูปิยธรรมพิมล เจ้าคณะต�ำบลาบางปลา วัดบางปลา เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอบางเลน ๔. คณะกองงานเลขานุการ ภาค ๑๔ น�ำโดย... พระปริยัติวรานุกูล ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี คณะกองงานเลขานุการจังหวัดนครปฐม คณะกองงานเลขานุการจังหวัดสุพรรณบุรี คณะกองงานเลขานุการจังหวัดกาญจนบุรี คณะกองงานเลขานุการจังหวัดสมุทรสาคร ๕. โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) ๖. โรงพยาบาลสามพราน (วัดไร่ขิง) ๗. ตลาดนัดชุมชนวัดไร่ขิง ๘. สภาวัฒนธรรมสามพราน
214
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันจันทร์ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๖ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์วัดปากน�้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร น�ำโดย... เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดปากน�้ำพร้อมด้วยคณะสมาคมศิษย์หลวงพ่อวัดปากน�้ำ ม.ส.จ. ๒. พระธรรมโพธิมงคล รก.เจ้าคณะภาค ๑๔ วัดนิมมานรดี กรุงเทพมหานคร พระเทพคุณาภรณ์ วัดเทวราชกุญชร กรุงเทพมหานคร ๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองนครปฐม น�ำโดย... พระครูพิศาลสาธุวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม วัดพะเนียงแตก พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม วัดพระงาม พระครูพิพิธเจติยาภิบาล เจ้าคณะต�ำบลพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ พระครูสุวรรณเมธาภรณ์ เจ้าคณะต�ำบลพระประโทน วัดไร่เกาะต้นส�ำโรง พระครูปฐมวราจารย์ เจ้าคณะต�ำบลดอนยายหอม วัดดอนยายหอม พระครูสุจิตตานันท์ เจ้าคณะต�ำบลบางแขม วัดวังเย็น พระครูหริภูมิรักษ์ เจ้าคณะต�ำบลสวนป่าน วัดหนองดินแดง พระครูปฐมธรรมรักษ์ เจ้าคณะต�ำบลโพรงมะเดื่อ วัดโพรงมะเดื่อ พระครูปลัดสาธุวัฒน์ เจ้าคณะต�ำบลทัพหลวง วัดวังตะกู พระครูปฐมสุตากร เจ้าคณะต�ำบลบ้านยาง วัดหนองกระโดน เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองนครปฐม ๔. คณะสงฆ์อ�ำเภอบางเลน น�ำโดย... พระศรีวิสุทธิวงศ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดพระปฐมเจดีย์ พระครูถาวรศีลวัตร ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดลานคา พระครูพิทักษ์สุขวัฒน์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดสุขวัฒนาราม พระครูไพศาลกิตติวรรณ เจ้าคณะต�ำบลบางระก�ำ วัดเวฬุวนาราม พระครูโสภณกิจวิบูล เจ้าคณะต�ำบลบางภาษี วัดบางภาษี พระครูปุญญาภิสันท์ เจ้าคณะต�ำบลบางไทรป่า วัดบางไผ่นารถ พระครูเกษมถาวรคุณ เจ้าคณะต�ำบลไผ่หูช้าง วัดบางเลน พระครูวิจิตรปทุมานันท์ เจ้าคณะต�ำบลบัวปากท่า วัดบัวหวั่น พระมหาณรงค์ มหาปญฺโญ ป.ธ.๖ เจ้าคณะต�ำบลบางหลวง วัดบางน้อยใน พระครูปิยธรรมพิมล เจ้าคณะต�ำบลาบางปลา วัดบางปลา เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอบางเลน ๕. คณะกองงานเลขานุการ ภาค ๑๔ น�ำโดย... พระปริยัติวรานุกูล ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี คณะกองงานเลขานุการจังหวัดนครปฐม คณะกองงานเลขานุการจังหวัดสุพรรณบุรี คณะกองงานเลขานุการจังหวัดกาญจนบุรี คณะกองงานเลขานุการจังหวัดสมุทรสาคร ๖. คุณอุดม คุณวาสนา คุณกุสุมา วรรณโพธิ์พร พร้อมญาติมิตร ๗. คุณเอนก คุณสมพร ชื่นเจริญ พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร
215
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันอังคารที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๗ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์จังหวัดสมุทรสาคร น�ำโดย... พระเทพสาครมุนี เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดเจษฎาราม พระภาวนาวิสุทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดเกตุมวดีศรีวราราม พระครูสาครธรรมโสภณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดโสภณาราม พระครูสุทธิธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร วัดสุทธิวาตวราราม พระมงคลพัฒนาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านแพ้ว วัดหลักสี่ราษฎร์สโมสร พระครูสีลาธิการี เจ้าคณะอ�ำเภอกระทุ่มแบน วัดหนองพะอง พระครูสาครธรรมประสิทธิ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร วัดหลังศาลประสิทธิ์ พระญาณวิกรม เจ้าอาวาสวัดท่าไม้ เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด คณะอุบาสก อุบาสิกา ในเขตปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดสมุทรสาคร ๒. โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา ๓. โรงเรียนวัดไร่ขิง (สุนทรอุทิศ) ๔. วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขิง) ๕. ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ๑ ๖. ศูนย์บริการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอ�ำเภอสามพราน (วัดไร่ขิง) ๗. สถาบันพัฒนาครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ๘. ที่ท�ำการไปรษณีย์โทรเลข (วัดไร่ขิง) ๙. สถานีต�ำรวจภูธรโพธิ์แก้ว ๑๐. ส�ำนักงานสรรพากรจังหวัดนครปฐม ๒ ๑๑. ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดนครปฐม (วัดไร่ขิง) ๑๒. ขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก) ๑๓. วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดีวัดไร่ขิง ๑๔. สถานีต�ำรวจภูธรสามพราน ๑๕. ส�ำนักงานขนส่งทางบกนครปฐม สาขาสามพราน (วัดไร่ขิง) ๑๖. กรมเจ้าท่า (วัดไร่ขิง) ๑๗. ต�ำรวจท่องเที่ยว (วัดไร่ขิง) ๑๘.วิทยาลัยทองสุข
216
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันอังคารที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตรงกับวันแรม ๗ ค่ำ� เดือน ๓ ๑. คณะสงฆ์จังหวัดสมุทรสาคร น�ำโดย... พระเทพสาครมุนี เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดเจษฎาราม พระภาวนาวิสุทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดเกตุมวดีศรีวราราม พระครูสาครธรรมโสภณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดโสภณาราม พระครูสทุ ธิธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร วัดสุทธิวาตวราราม พระมงคลพัฒนาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านแพ้ว วัดหลักสี่ราษฎร์สโมสร พระครูสีลาธิการี เจ้าคณะอ�ำเภอกระทุ่มแบน วัดหนองพะอง พระครูสาครธรรมประสิทธิ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร วัดหลังศาลประสิทธิ์ พระญาณวิกรม เจ้าอาวาสวัดท่าไม้ เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด คณะอุบาสก อุบาสิกา ในเขตปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดสมุทรสาคร ๒. พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ปธ.๙,ดร. รจอ.เมืองนครปฐม ผจล.วัดพระงาม ฯพณฯ นายวิรัช ชินวินิจกุล นายอดุลย์ ขันทอง ร้อยเอก ดร.ธรรมนัส พรหมเผ่า พระนวกะ รุ่น ๑-๘ (โครงการอุปสมบทหมู่ถวาย รัชกาลที่ ๙) ๓. คณะตระกูลธนธนานนท์ น�ำโดย... คุณแม่วันดี ธนธนานนท์ คุณณัฐพงศ์ คุณอรวรรณ ธนธนานนท์ และลูกๆ คุณพ่อโชติ ลิ้มสงวน และครอบครัว
217
รายนามผู้อุปถัมภ์รางวัลแก่พระภิกษุ สามเณร ผู้สอบได้ในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๑
ในการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๕ ระหว่างวันที่ ๑๒ ถึง ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
๑. พระธรรมพุทธิมงคล
ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดป่าเลไลยก์ วรวิหาร บริจาคเงิน ๓๐,๐๐๐ บาท
๒. พระเทพมหาเจติยาจารย์
เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร บริจาคเงิน ๓๐,๐๐๐ บาท
๓. พระราชปริยัติเมธี
เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดสุวรรณภูมิ บริจาคเงิน ๓๐,๐๐๐ บาท
๔. พระราชวิสุทธิเมธี
เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม บริจาคเงิน ๓๐,๐๐๐ บาท
๕. พระเทพสาครมุนี
เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดเจษฎาราม บริจาคเงิน ๓๐,๐๐๐ บาท 218
รายการปฏิบัติงานถวายภัตตาหารเช้า-เพล ในการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๕ ระหว่างวันที่ ๑๒ ถึง ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
วัน เดือน ปี
ถวายภัตตาหารเช้า
๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย ๑๓ กุมภาพันธ์ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๖ กุมภาพันธ์
๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ ) วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ )
219
ถวายภัตตาหารเพล โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชฯ โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชฯ โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนนาคประสิทธิ์ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนาคประสิทธิ์ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนสามพรานวิทยา โรงเรียนสามพรานวิทยา วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ ) วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ )
รายนามพระสงฆ์กล่าวสัมโมทนียกถา
ในการอบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีท่ี ๔๕ ระหว่างวันที ่ ๑๒ ถึง ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ วัดไร่ขงิ พระอารามหลวง ตำ�บลไร่ขงิ อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระศรีวิสุทธิวงศ์
เจ้าคณะอำ�เภอบางเลน
วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
พระมหาไกรวรรณ์ ชินขตฺติโย ป.ธ. ๙ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองนครปฐม
วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระมหายวง ทิวากโร ป.ธ. ๙
วัดพระงาม/นครปฐม
วิทยากร ประจำ�ชั้นประโยค ๑-๒
วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
วัดป้อมวิเชียรฯ/สมุทรสาคร
พระมหาวรทัส วรทสฺสโน ป.ธ. ๘ วิทยากร ประจำ�ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ก.
วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
พระมหาธวัชชัย กลฺยาโณ ป.ธ. ๙ เจ้าคณะอำ�เภอพนมทวน
วัดป่าเลไลยก์/สุพรรณบุรี วัดพังตรุ/กาญจนบุรี
วันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
พระมหาอำ�นวย อภิญาโณ ป.ธ. ๘ วิทยากร ประจำ�ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ข. วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
วันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
พระมหามนตรี กพฺยาธิปตฺติ ป.ธ. ๘ เจ้าหน้าที่ฝ่ายกองงานเลขานุการ
วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระมหารังษี รตนโชโต ป.ธ. ๓
นักเรียน ชั้นประโยค ป.ธ. ๔ 220
วัดเทวราชกุญชร/กรุงเทพมหานคร วัดโกรกราก/สมุทรสาคร
วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระมหาวิทูร สิทฺธิเมธี ป.ธ. ๙
วันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระธรรมพุทธิมงคล
วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระมหาบุญลือ วิชฺชากโร ป.ธ. ๙
วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระเมธีปริยัติวิบูล
วิทยากร ประจำ�ชั้นประโยค ป.ธ. ๔ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรบุรี
วัดป่าเลไลยก์/สุพรรณบุรี
วิทยากร ประจำ�ชั้นประโยค ป.ธ. ๕
วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองกาญจนบุร ี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม/กาญจนบุรี
วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
พระมหาปฐมฤกษ์ จารุธมฺโม ป.ธ. ๔ นักเรียนชั้นประโยค ป.ธ. ๕
วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
พระมหาเฉลิมชัย ฐานสิริ ป.ธ. ๖ วิทยากร กองตรวจชั้นประโยค ป.ธ. ๓
วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระเดชพระคุณพระพรหมเวที
วัดพระงาม/นครปฐม
ผู้รักษาการแทนเจ้าคณะภาค ๑๕
221
วัดโกรกกราก/สมุทรสาคร วัดวังน้ำ�ขาว/นครปฐม วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
คณะผู้จัดทำ�
หนังสือ : อบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๕ พระธรรมโพธิมงคล พระเทพคุณาภรณ์ พระราชวิสุทธิเมธี พระเทพศาสนาภิบาล พระราชวรเมธี พระรัตนสุธี พระครูโสภณวีรานุวัตร พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์
ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
เจ้าคณะภาค ๑๔ รก. วัดนิมมานรดี/กรุงเทพมหานคร เจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดเทวราชกุญชร/กรุงเทพมหานคร เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม/กาญจนบุรี รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดไร่ขิง/นครปฐม ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดประยุรวงศาวาส/กรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดไร่ขิง/นครปฐม ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดป่าเลไลยก์/สุพรรณบุรี รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุร ี วัดพระลอย/สุพรรณบุรี
บรรณาธิการ
พระครูปลัดโพธิวรวัฒน์
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง
วัดไร่ขิง/นครปฐม
พระปริยัติวรานุกูล พระมหามนูญ ปริญฺญาโณ ป.ธ. ๗ พระมหาคำ�สิงห์ สีหนนฺโท ป.ธ. ๗ พระมหาปฐมพล วรญาณเมธี ป.ธ. ๔ พระมหาสมชาย วรเมธี ป.ธ. ๗ พระครูปลัดพงศ์พันธ์ ขนฺติโสภโณ พระปลัดสรพงษ์ ปญฺญาพโล
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน
วัดนิมมานรดี/กรุงเทพมหานคร วัดเทวราชกุญชร/กรุงเทพมหานคร วัดเทวราชกุญชร/กรุงเทพมหานคร วัดนิมมานรดี/กรุงเทพมหานคร วัดไร่ขิง/นครปฐม วัดไร่ขิง/นครปฐม วัดไร่ขิง/นครปฐม
พระครูพิศิษฏ์จริยานุยุต พระมหาวิเชียร ชาตวชิโร ป.ธ. ๙
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง กองงานเลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔
วัดเทพธิดาราม/กรุงเทพมหานคร วัดอ่างทอง วรวิหาร/อ่างทอง
กองบรรณาธิการ
พิสูจน์อักษร
พิมพ์เมื่อ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ จำ�นวน ๑,๒๐๐ เล่ม ดำ�เนินการ : สุวรรณ เคลือบสุวรรณ์ โทร. ๐๘๑-๓๓๘๐๐๗๗ พิมพ์ที่ : หจก.สามลดา โทร. ๐๒-๔๖๒๐๓๐๓
222
223
224