TEST REPORT TEXT : อชิร รวีวงศ์ PHOTO : ฐานทอง กาญจน์ภูดิส
k ef ls 50 w i rel e s s
038
GM 2000
february 2017
เมื่อช่วงปลายปีที่แล้ว (2016) ผม มี โ อกาสได้ ไ ปงานเปิ ด ตั ว KEF LS50 Wireless ที่บริษัทซาวด์ รีพับ ลิค ครับ ซึ่งงานวันนั้น Mr. Johan Coorg (Brand Ambassador) ของ KEF ได้มาพรีเซนต์ด้วยตัวเองและ บอกว่า KEF LS50 Wireless นี่คือ ล�าโพงแอคทีฟระดับไฮเอนด์!
KEF LS50 WirELESS Mr. Johan Coorg พูดถึงที่มาที่ไปของKEF LS50 Wireless ว่าล�าโพงรุ่นนี้เป็นการต่อยอดความ ส�าเร็จมาจากล�าโพง Passive รุ่นฉลองครบรอบ 50 ปีที่ชื่อว่า KEF LS50 ครับ ตรงนี้ผมจะขยายความ ให้สักนิดครับว่ารหัส LS เป็นชื่อระดับต�านานที่สร้าง ชื่อให้กับ KEF มาอย่างยาวนาน ซึ่งล�าโพงที่สร้าง ชื่อและได้รับการยอมรับจนBBC ยกให้เป็นล�าโพง มอนิเตอร์ที่มีความเที่ยงตรงที่สุดส�าหรับออกอากาศ คือ KEF รุ่น LS3/5 ครับ และเมื่อ KEF มีอายุมาถึง 50 ปี เลยฉลองความส�าเร็จด้วยการเอารหัส LS มา ใช้อกี ครัง้ และเลข 50 ทีต่ ามหลังมาก็คอื 50 ปีที่ KEF ก่อตั้งมาซึ่งเมื่อผมได้ยิน Mr. Johan Coorg บอกว่า KEF LS50 Wireless เป็นล�าโพงแอคทีฟระดับไฮเอน ด์ ผมจึงไม่แปลกใจแต่อย่างใดเพราะการที่ KEF กล้า น�า LS50 ซึ่งเป็นล�าโพงรุ่นพิเศษแบบนี้มาท�าเป็นล�า โพงแอคทีฟผมเชื่อว่า KEF คงไม่ได้ท�าออกมาให้มัน เป็นเพียงของเล่นอย่างแน่นอน FirST iMPrESSiON ส�าหรับ KEF LS50 Wireless หากมองจาก ด้านหน้าไกลๆ ผมว่าคงท�าให้หลายคนนึกว่าเป็น KEF LS50 แน่ๆ แต่เขยิบเข้ามาใกล้สักนิดก็จะ เห็นความต่างอย่างชัดเจนเลยละครับ ในจุดแรกคือ ความลึกของตู้ล�าโพง KEF LS50 Wireless ดูจะลึก กว่า KEF LS50 ที่เป็น Passive อยู่พอสมควรแถม มีปิดท้ายด้วยฮีทซิงก์ระบายความร้อนอีกด้วย จุดนี้ ก็เพราะว่าพอเป็นล�าโพงแอคทีฟภายในตัวล�าโพงจึง ต้องส่วนอิเล็กทรอนิกส์เข้าไปด้วย เลยจ�าเป็นทีจ่ ะต้อ งมีฮที ซิงก์ระบายความร้อนครับ ซึง่ ต้องขอชืน่ ชมนัก ออกแบบของ KEF จริงๆ ที่ออกแบบฮีทซิงก์มาได้ สวยงามและดูไม่เป็นส่วนเกินของล�าโพงเลย ในส่วนของปุม่ ควบคุมฟังก์ชนั่ และ In-Put, OutPut นั้นจะอยู่ที่ล�าโพงแชนแนลขวาทั้งหมดครับ โดย ปุ่มควบคุมฟังก์ชั่นจะอยู่ด้านบนเป็นระบบ Touch Control ตัวจอแสดงผลเป็น OLED ให้แสงที่คมชัด สวยงามดีมากครับ ส่วนด้านหลังก็จะรวม In-Put, Out-Put ไว้ทงั้ หมด ส่วนล�าโพงแชนแนลซ้ายจะมีแค่ In-Put เดียวคือช่อง RJ45 ส�าหรับรับสัญญาณที่ส่ง มาจากแชนแนลขวาผ่านสาย CAT6 ที่มีให้มาในชุด โดยรวมต้องบอกเลยว่าส�าหรับผม KEF LS50 Wireless มันดูมีแพงและดูไฮเอนด์กว่า KEF LS50 เสี ย อี ก อาจจะด้ ว ยวั ส ดุ ข องตู ้ ล� า โพงที่ เ ป็ น ชนิ ด เดียวกันทั้งหน้ากากและตัวตู้การท�าสีที่เนียนสวย มากๆ ให้อารมณ์ประมาณรถซูปเปอร์คาร์เลยทีเดียว ยิ่งสี Titanium Grey/Red ที่ผมได้มาทดสอบนี่ต้อง บอกว่าดูพรีเมี่ยมสมราคามากๆ ครับ SPEc aNd FuNcTiON จุดเด่นที่ไม่เขียนถึงไม่ได้เลยของล�าโพง KEF ทุกรุ่นคงหนีไม่พ้น Uni-Q Driver ซึ่งส�าหรับ KEF LS50 Wireless นั้นยกเทคโนโลยี Uni-Q และ Bass reflex มาจาก KEF LS50 ที่เป็น Passive เลยครับ ซึ่งถือเป็นจุดเด่นเฉพาะของรุ่นนี้เลยก็ว่าได้ เพราะ เป็น Uni-Q ที่ออกแบบมาส�าหรับรุ่นนี้โดยเฉพาะ
In-Put,Out-Put จะอยู่ด้านหลังของลำาโพง แชนแนลขวาทั้งหมด
โดยในส่วนของเสียงแหลมใช้ทวิตเตอร์ โดมขนาด 25mm ที่เป็นเทคโนโลยี Tangerine Waveguide คือ โครงสร้างของทวิตเตอร์โดมนัน้ จะเป็นจีบโลหะแฉกๆ ซึ่งช่วยเพิ่มมุมกระจายเสียงย่านความถี่สูงๆ ได้ดียิ่ง ขึน้ และตอบสนองย่านความถีส่ งู ได้มากขึน้ โดยไม่เกิด การเสียรูป ส่วนที่ดอกย่านกลาง/ทุ้ม ตัววัสดุจะเป็น Magnesium/Aluminium ขนาด 130mm ที่มีความ แข็งแกร่งแต่น�า้หนักเบา ส่งผลให้การตอบสนองย่าน ความถี่ต�่าได้ดีแม้จะมีขนาดเล็ก สิ่งที่น่าแปลกใจส�าหรับผมคือแม้ว่าจะต้องมีการ ออกแบบภายในของตู้ล�าโพงใหม่เพราะต้องใส่ภาค อิเล็กทรอนิกส์เข้าไปแต่ตา� แหน่งของ Bass-reflex ยัง จัดวางไว้ในต�าแหน่งเดียวกับ LS50 ได้อย่างลงตัวและ ตัวท่อก็ยังคงเป็นทรงรีและใช้วัสดุที่เป็นใยสังเคราะห์ จุดนี้ทาง KEF ก็ไม่ได้มโนขึ้นมาเองนะครับว่าการ ใช้ท่อทรงรีและสัวดุแบบนี้จะท�าให้เสียงออกมาดี แต่ ได้มีการวิจัยด้วยระบบ CFD (Computational Fluid Dynamics) เพื่อหาลักษณะของท่อเปิดที่จะปล่อย อากาศออกไปได้อย่างลื่นไหลและลดการรบกวน ของมวลอากาศที่อาจจะไปไหลวนอยู่ปลายท่ออย่าง ละเอียด จนได้เป็นเทคโนโลยีทนี่ า� มาใส่ใน KEF LS50 ทั้งสองรุ่นนั่นเอง ในส่วนของสเปค KEF LS50 Wireless ดูจะไม่ ต่างจาก KEF LS50 Passive รุ่นพี่เท่าไหร่นัก แต่ ทีเด็ดของล�าโพงคู่นี้อยู่ที่เทคโนโลยีที่ ใส่เข้าไปใน ล�าโพงนี่แหละครับ! ก็แหม่เป็นล�าโพงแอคทีฟทั้งที่ก็ ต้องโชว์เหนือกันหน่อยสิครับ! หลักการท�างานของ KEF LS50 WirELESS ก่อนจะโม้ถงึ เรือ่ งเทคโนโลยีตา่ งๆ ของล�าโพงคู่ นีผ้ มว่าเรามาท�าความเข้าใจหลักการท�างานของ KEF LS50 Wireless กันสักหน่อยดีกว่าครับ KEF LS50 Wireless เป็นล�า โพงแอคทีฟที่ ท�างานด้วยระบบดิจิตอลเต็มรูปแบบครับ คือ In-Put
ทั้งหมดของKEF LS50 Wireless จะถูกรับมาในรูป แบบดิจติ อลทัง้ หมด ถึงแม้จะเป็นการส่งสัญญาณเข้า มาผ่าน In-Put Analog ที่ช่อง RCA ก็จะถูกแปลง สัญญาณให้เป็นดิจิตอลก่อนที่จะส่งต่อไปที่ Digital Signal Processing Crossover ครับ ดูจากภาพประกอบที่ผมยกตัวอย่างมาจะเห็น ว่า In-Put ที่เป็น Digitalทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นจากท าง USB, Optical, Network, Bluetooth หรือทาง RCA (จะถูกแปลงเป็นดิจิตอลก่อน) นั้นจะตรงเข้า มาที่ DSP ของล�าโพงแชนแนลขวา ซึ่งใน DSP จะ ประกอบไปด้วย 3 ส่วน ส่วนแรกคือ Digital Preamp เมื่อสัญญาณถูกส่งมาถึงจะท�าหน้าที่แยกสัญญาณ ออกเป็นสองแชนแนลคือขวาและซ้าย ในส่วนของ สั ญ ญาณแชนแนลซ้ า ยจะถู ก ส่ ง ต่ อ ไปที่ Digital Preamp ของล�าโพงแชนแนลซ้ายโดยตรง หลังจาก ส่วนนี้ล�าโพงทั้งสองแชนแนลจะท�างานแยกกันอิสระ โดยส่งต่อสัญญาณจากDigital Preamp ไปที่ User Equalization ที่เราได้ปรับแต่งไว้ ก่อนที่จะออกไป ยัง Digital Crossover เพื่อแยกสัญญาณและส่งต่อ ไปที่ DAC ซึ่งในล�าโพงหนึ่งข้างจะมี DAC (Digital to Analog Converter) และ แอมป์ อยู่อย่างละสองตัว คือมี DAC 1 ตัวท�าหน้าที่แปลงสัญญาณแล้วส่งไปที่ แอมป์ส�าหรับขับเสียงสูง (HF Amp) และ DAC อีก 1 ตัวท�าหน้าที่แปลงสัญญาณแล้วส่งไปที่แอมป์ส�าหรับ ขับเสียงย่าน กลาง/ต�่า (LMF Amp) ครับ สิริรวมแล้ว KEF LS50 Wireless คู่นี้มี DAC อยู่ ทั้งหมด 4 ตัว และ Amp 4 ตัวครับผม! ซึ่งที่ต้องมี แอมป์ขา้ งละสองตัวเพราะล�าโพงคูน่ ี้ใช้ระบบ Bi-Amp ครับ คือแอมป์แต่ละตัวก็ท�าหน้าที่ขับไดร์เวอร์ตัว เดียวไปเลย เรียกว่าท�างานแยกกันอิสระไม่ตอ้ งกังวล เรือ่ งก�าลังส�ารองจะไม่พอแล้วทาง KEF ก็ไม่ใช่แค่ใส่ Bi-Amp มาให้ธรรมดาๆ พอเป็นพิธีนะครับ แต่ใส่ใจ ในเรื่องคลาสและก�าลังของแอมป์ด้วย โดยแอมป์ที่ ท�าหน้าที่ขับเสียงกลาง/ต�่า นั้น KEF บอกว่าต้องการ ก�าลังส�ารองสูงแต่ตอ้ งขนาดเล็กเลยเลือกใช้ Class D 039
ที่ 200W ส่วนย่านเสียงแหลมหรือทวิตเตอร์นั้น KEF บอกว่าใช้แรงน้อยจัดให้แบบเนียนๆ เป็น Class AB 30W เป็นไงครับ อ่านถึงตรงนี้แล้วพอจะเชื่อผมได้รึ ยังว่า KEF LS50 Wireless คูน่ เี้ นีย่ มันเป็นล�าโพงแอค ทีฟระดับไฮเอนด์จริงๆ Time correcTion on DigiTal crossover ทลายขีดจ�ากัดด้วยพลังดิจิตอล! ปกติแล้ว Crossover หรือวงจนตัดแบ่งความถี่ ในล�าโพง Passive นัน้ ค่อนข้างจะมีความเพีย้ นทีค่ อ่ น ข้างสูง ผู้ออกแบบล�าโพงหลายๆ แบรนด์จึงต้องใช้ การออกแบบไดร์เวอร์แบบพิเศษ หรือออกแบบการ จัดวางดอกล�าโพงที่แตกต่างกันไป อย่าง KEF เองก็ มีเทคโนโลยีเฉพาะที่เรียกว่า Uni-Q Driver ที่มีความ โดดเด่นในเรื่องของการจัดการ Time Alignment แต่ นัน้ ก็ไม่ได้เปลีย่ นแปลงข้อเท็จจริงทีว่ า่ Crossover แบ บอนาล็อคนั้นมีความเพี้ยนสูง ซึ่งมันส่งผลต่อ Time Alignment ด้วย! ส�าหรับ KEF LS50 Wireless ที่เป็นล�าโพงแอค ทีฟ KEF จัดการแก้ปัญหาตรงนี้ด้วยการใช้ Digital Crossover ที่มีระบบ Time correction ครับ ซึ่งจะ ท�าหน้าที่จัดการแก้ไขสัญญาณที่รับเข้ามาด้วยระบบ ดิจิตอล ก่อนที่จะส่งต่อไป DAC และ Amp เรียกว่า เป็นการแก้ไขตั้งแต่ต้นทาง ท�าให้สัญญาณที่ถูกส่ง ออกไปจากล�าโพงมีความใกล้เคียงกับสัญญาณต้นทาง ที่รับเข้ามาในระดับที่เรียกได้ว่าเกือบจะสมบูรณ์แบบ เลยทีเดียว เซ็ทอัพและการใช้งาน ในส่วนของการเซ็ทอัพนัน้ KEF LS50 Wireless ให้ได้มากกว่าค�าว่าง่ายครับ ปกติแล้วล�าโพงแอคทีฟก็ จะมีจุดเด่นที่การเซ็ทอัพที่ง่ายไม่ต้องวุ่นวายอยู่แล้ว แต่ KEF LS50 Wireless ยกระดับขึ้นไปอีกขั้นโดย การใส่ตัวช่วยเจ๋งๆ มาให้ด้วย เรามาเริ่ ม กั นที่ จุ ด แรกคื อ ความง่ า ยกั นก่ อ น การ เชื่อมต่อระหว่างล�าโพงซ้ายและขวาของ KEF LS50 Wireless นั้นใช้สาย CAT6 หนึ่งเส้นเท่านั้นครับ จุด เด่นคือสามารถส่งข้อมูลดิจิตอลขนาดใหญ่ได้อย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ส่วนล�าโพงแต่ละข้างก็ ใช้สายไฟ AC ข้างละหนึ่ง สรุปรวมแล้วการจะใช้งาน KEF LS50 Wireless นั้นใช้เพียงสายไฟ AC 2 เส้น และสาย CAT6 1 เส้นเท่านั้ครับ ผมก็แค่จับ KEF LS50 Wireless ไปวางไว้บน ขาตั้งเสียบสายไฟเข้ากับล�าโพงทั้งคู่ ต่อสาย CAT6 เข้ากับล�าโพงทั้งสองข้าง แล้วกดเปิดล�าโพงที่ปุ่มทัช คอนโทรลทีอ่ ยูด่ า้ นบนของล�าโพงแชนแนลขวา เลือก In-Put กดเล่นเพลงแค่นี้ก็ได้ฟังเพลงเพราะๆ จาก KEF LS50 Wireless คู่นี้แล้วครับ ง่ายกว่าเดินไป ซื้อกล้วยที่เซเว่นมาปลอกกินซะอีกคุณ! ลองนึกเล่นๆ ดูว่าถ้าผมอยากจะเล่น KEF LS50 ทีเ่ ป็น Passive ให้เต็มระบบเหมือนกับซิสเท็มทีอ่ ยู่ใน KEF LS50 Wireless ผมจะต้องมอะไรบ้าง 1.ผมต้อง มีเน็ตเวิรค์ เพล์เยอร์หนึง่ ตัว 2.DAC ส�าหรับล�าโพงข้าง ซ้ายและขวาทั้งหมด 4 ตัว 3.Amp อีก 4 ส�าหรับขับ 040
GM 2000
february 2017
Uni-Q Driver ชุดเดียวกับ KEF LS50
การทดสอบใช้เพียง แค่ลำาโพงคู่เดียวในการ ฟังเพลงห้องทดสอบดู โล่งไปเลยครับฮาๆ
ล�าโพงแต่ละข้างแบบแยกไดร์เวอร์ 5.สายสัญญาณ ตั้งแต่ต้นทางมาจนถึงปลายทางทั้งสาย USB,สาย Analog, สายล�าโพง ที่นี้พอจะนึกภาพออกไหมครับ ว่าถ้าจะซือ้ ทัง้ หมดนีจ้ ะต้องใช้งบประมาณเท่าไหร่ ยัง ไม่รวมถึงเรือ่ งการแม็ทชิง่ และสภาพห้องว่าจะมีพนื้ ที่ พอจะวางของทั้งหมดที่ว่ามาเข้าไปรึเปล่านะครับ ส่วน KEF LS50 Wireless ก็อย่างที่เขียนไปตอน ต้นแหละครับว่าใช้แค่สายไฟสองเส้นกับสาย CAT6 หนึ่งเส้นก็จบแล้ว! เขียนถึงเรื่องความง่ายไปแล้วหลายคนก็อาจจะ ยังคิดว่ามันธรรมดา เป็นปกติของล�าโพงแอคทีฟที่ มันต้องง่ายอยู่แล้ว! แต่เดี๋ยวก่อนครับ KEF LS50 Wireless ยังมีตัวช่วยที่น่าสนใจอยู่อีกด้วยนั่นคือ Customized EQ ครับ พอเห็นค�าว่า EQ ก็อย่าเพิ่ง ท�าท่ารังเกียจกันก่อนนะครับ EQ ที่ว่านี้ไม่ใช่การที่ เราจะมาปรับแต่งย่านเสียงนู่นี่นั่นให้เสียงเละไม่เป็น ท่าอย่างที่หลายๆ คนเข้าใจ แต่สิ่งนี้จะมาช่วยแก้ ปัญหาในเรื่องของการจัดวางล�าโพงและสภาพห้อง ต่างหากละครับ ที่ด้านหลังของล�าโพงแชนแนลขวาจะมีปุ่มอยู่ สองปุ่มครับ จะมีชื่อบอกว่า Speaker EQ ซึ่งปุ่ม แรกจะให้เราเลือกว่าเราก�าลังวางล�าโพงอยู่บนโต๊ะ หรือขาตั้ง อีกปุ่มจะให้เราเลือกว่าเราวางล�าโพงอยู่ ใกล้ก�าแพงหรือห่างจากก�าแพงออกมามาก เมื่อเรา เลือกแล้ว ตัว DSP ในล�าโพงก็จะจัดการค�านวนและ จัดการกับชดเชยสิ่งที่ขาดหรือลดสิ่งที่เกินไปให้เรา เองโดยอัตโนมัติซึ่งแบบนี้จะเรียกว่าเป็น Quick EQ Settings ครับ
ส่วน Customized EQ คือเราสามารถไปปรับ แบบละเอี ย ดได้ ใ นแอพพลิ เ คชั่ น ที่ ชื่ อ ว่ า LS50 Wireless ได้อีกครับ ตรงนี้จะสามารถปรับแบบ ละเอียดได้ว่าเราวางกับขาตั้งหรือโต๊ะและห่างจาก ก�าแพงประมาณกี่เมตร เราก็เลือกชดเชยเองตาม ระยะที่เราวางห่างออกไปครับ และในแอพพลิเคชั่น ยังสามารถปรับย่านเสียงทุม้ ให้เข้ากับขนาดของห้อง ได้อกี ด้วย งานนี้ไม่วา่ ห้องคุณจะเล็กหรือใหญ่ จะวาง บนขาตั้งหรือโต๊ะจะวางห่างก�าแพงหรือชิดก�าแพง ก็ สามารถปรับแต่ง EQ ใน KEF LS50 Wireless ให้ เหมาะกับสภาพแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม หายห่วง เรื่องขนาดและอคูสติคห้องไปได้เยอะเลยละครับ! neTwork Player + acTive sPeaker = keF ls50 wireless อีกจุดที่ท�าให้ผมชื่นชอบ KEF LS50 Wireless คื อ มั นมี ทุ ก อย่ า งครบจบในตั ว ครั บ ล� า โพงคู ่ นี้ มี Network Player ในตัวที่สามารถเชื่อมต่อได้ทั้งสาย และ wifi แบบ Dual-Band2.4GHzและ 5GHz KEF LS50 Wireless รองรับระบบเน็ตเวิร์คทั้ง DLNA และ UPnP คือคุณสามารถจะควบคุม KEF LS50 Wireless ผ่านทั้งแอพพลิเคชั่นของทาง KEF เองหรือแอพพลิเคชั่นอื่นๆ ที่รองรับระบบ UPnP ได้ การใช้งานในระบบเน็ตเวิร์คก็ง่ายมากครับ ยกตั ว อย่ า งที่ GM2000 มี NAS (Network Attached Storage) อยู่ 1 ตัวไว้ส�าหรับเป็นเซิฟเวอร์ เก็บเพลง ผมก็จัดการให้ NAS, สมาร์ทโฟน และ KEF LS50 Wireless มาอยู่ในวงแลนเดียวกันครับ
ในการทดสอบก็ เลือกตามการใช้งานจริง คือวางบนขาตั้งโดยมี กำาแพงอยู่ด้านหลัง
ลำาโพงสองข้าง เชื่อมต่อกันง่ายๆ แต่ประสิทธิภาพสูง ด้วยสาย CAT6
หรือเรียกง่ายๆ ว่าให้ทุกอย่างที่ว่ามาเชื่อมต่อกับเร้า เตอร์ตัวเดียวกันนั่นเอง การเชื่อมต่อ KEF LS50 Wireless เข้ากับระบบ เน็ตเวิร์คนั้นมีสองวิธีครับคือเชื่อมต่อผ่านสาย LAN หรือ WiFi ซึง่ ทัง้ สองแบบเราต้องโหลดแอพพลิเคชัน่ LS50 Wireless ลงในสมาร์ทโฟนเราก่อนเพื่อที่จะ เข้าไปตั้งค่าล�าโพงได้ โดยการตั้งค่าจะตั้งเพียงครั้ง แรกครั้งเดียวจนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงการเชื่อม ต่อครับ โดยในหน้าแรกของแอพพลิเคชัน่ จะมีวธิ บี อก ไว้อย่างง่ายดาย ในการทดสอบผมเลือกที่จะให้ KEF LS50 Wireless เชื่อมต่อผ่าน WiFi ครับ เมือ่ เซ็ททุก อย่างเสร็จแล้วเราก็จะใช้สมาร์ทโฟนเป็นตัวควบคุม ซึ่งอย่างที่บอกไปว่าเราสามารถใช้แอพพลิเคชั่นของ ทาง KEF เองหรือ ใช้แอพพลิเคชั่นอื่นก็ได้ที่รองรับ ระบบ UPnP ในการทดสอบผมได้ทดลองทัง้ สองแบบ คือควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่น LS50 Wireless ของ KEF เองกับ ใช้แอพพลิเคชัน่ ทีช่ อื่ Bubble UPnP พบ ว่าสามารถใช้งานได้งา่ ยและลืน่ ไหลดีทงั้ คูค่ รับ และยัง สามารถเล่นไฟล์เพลงคุณภาพสูงถึง 24/192kHz ได้ โดยที่ไม่มีอาการหน่วงเลย ในส่วนของการท�าหน้าที่ เป็น Renderer ของ KEF LS50 Wireless ผมถือว่า สอบผ่านแบบน่าประทับใจมากๆ ครับ เสียง KEF LS50 Wireless มี In-Put ให้เลือกหลาก หลายครับซึ่งในช่วงเริ่มต้นผมได้ทดสอบในทุกรูป แบบ ข้อจ�ากัดของแต่ละ In-Put ที่ใช้งานก็จะแตกต่าง กันไปอย่างเช่นเมื่อผมเชื่อมต่อผ่านทางสาย RCA
ที่ต้องมีการแปลงกลับมาเป็นดิจิตอลก่อนนั้น พบ ว่าเสียงที่ได้นั้นยังให้คุณภาพได้ไม่เท่ากับการเชื่อม ต่อแบบ Optical แต่การเชื่อมต่อด้วยสาย Optical นั้นมีข้อจ�ากัดของการเล่นไฟล์เพลงอยู่ที่ 24/96kHz เท่านั้น จากการทดสอบผมพบว่า In-Put แบบใช้สายทีด่ ี ที่สุดส�าหรับล�าโพงคู่นี้คือการเชื่อมต่อผ่านสาย USB ครับ เพราะตัวล�าโพงเองท�างานด้วยระบบดิจิตอล ทั้งหมด และตัวล�าโพงยังมีใช้ระบบ Asynchronous USB ซึ่ง DSP ในล�าโพงแชนแนลขวาจะท�าหน้าที่ ควบคุม Clock เองทั้งหมดแทนคอมพิวเตอร์ และส่ง ผ่านข้อมูลดิจิตอลด้วยสาย CAT6 ที่มีความเร็วสูงไป ยังล�าโพงแชนแนลซ้าย ซึง่ การท�างานแบบนีท้ าง KEF เรียกว่าเป็น Bit-Perfect Digital Audio Transmission หรือการส่งต่อสัญญาณดิจิตอลที่สมบูรณ์แบบนั่นเอง ผมทดสอบด้วยการเล่นไฟล์เพลงผ่านโปรแกรม Roon บน Macbook แล้วเชื่อมต่อกับ KEF LS50 Wireless ด้วยสาย USB สิง่ แรกทีป่ ระทับใจในล�าโพง คู่นี้คือการโฟกัสชิ่้นดนตรีที่ท�าได้ดีมาก เราจะสัมผัส ได้ถึงต�าแหน่งของชิ้นดนตรีนั้นๆ ได้อย่างชัดเจน ไม่รู้สึกว่าโฟกัสมันเบลอจนจับจุดไม่ถูกว่าชิ้นดนตรี ที่เราก�าลังได้ยินอยู่นั้นมาจากต�าแหน่งไหน อีกส่วน คือเรื่องของไทม์มิ่งที่เป็นธรรมชาติฟังเพลงแล้ว ไม่รู้สึกว่าจังหวะของดนตรีนั้นเร็วหรือช้าเกินไป ที่ กล่าวมาทั้งหมดผมคิดว่าการที่ล�าโพงคู่นี้ใช้ Digital Crossover รวมถถึงการปรับแต่ง EQ ให้เหมาะกับ ห้องบวกรวมกับ Uni-Q Driver ท�าให้ผลลัพธ์ที่ได้ ออกมานัน้ ยอดเยีย่ มมากๆ เรือ่ งก�าลังขับก็เป็นอีกจุด
ทีล่ า� โพงคูน่ ที้ า� ได้ดี การใช้ระบบ Bi-Amp ช่วยให้เวลา ฟังเพลงที่มีเครื่องดนตรีเยอะๆ โฟกัสของชิ้นดนตรีก็ ยังคงแยกแยะได้ดอี ยู่ ไม่เจออาการหมดแรงแล้วเสียง เบลอๆ จับทางไม่ได้ นีถ่ อื เป็นข้อดีของการที่ใช้แอมป์ ขับไดร์เวอร์แยกกันอิสระ อีกประเด็นทีน่ า่ สนใจก็คอื การเชือ่ มต่อผ่านระบบ ไร้สายทั้ง Bluetooth และ WiFi ในส่วนBluetooth ของ KEF LS50 Wireless นั้นมี aptX codec ด้วย ผมทดสอบด้วยการฟังเพลงผ่านสมาร์ทโฟนด้วย โปรแกรม USB Audio Player PRO ผลที่ได้ต้อง บอกว่าไม่ใช่แค่รบั ได้ แต่ให้เสียงทีดที เี ดียวครับ แม้วา่ หากเปรียบเทียบกับการเชือ่ มต่อกับคอมพิวเตอร์ดว้ ย USB นัน้ จะยังด้อยกว่าอยูพ่ อสมควร แต่ในความรูส้ กึ ผมส�าหรับการเชือ่ มต่อบลูทธู ก็ให้เสียงในระดับทีร่ บั ได้ แต่สงิ่ ทีผ่ มชอบทีส่ ดุ ในการทดสอบล�าโพงคูน่ กี้ ค็ อื ตอนทีผ่ มทดสอบด้วยการฟังเพลงผ่านระบบเน็ตเวิรค์ ทีเ่ ชือ่ มต่อแบบ WiFi ครับ ด้วยเหตุผลทีว่ า่ มันเป็นวิธี ที่ง่ายและสะดวกมากๆ และยังใช้สายสัญญาณเข้า มาอยู่ในระบบน้อยที่สุดด้วย คือนอกจากสาย CAT6 1 เส้นที่เชื่อมต่อล�าโพงทั้งสองแชนแนลกับสายไฟ AC 2 เส้น ผมก็ไม่ต้องต่ออะไรเพิ่มอีกเลย ที่ส�าคัญ ด้วยการเล่นแบบนี้ผมก็ยังสามารถฟังเพลงด้วยไฟล์ เพลงระดับไฮเรสที่ 24/192kHz ได้ไม่ต่างจากการ ต่อแบบ USB ถือเป็นการเล่นที่ง่ายมากๆ มีล�าโพง คู่เดียวกับเพลงที่อยู่ในเซิฟเวอร์เป็นอันจบ ถ้าคุณ ไม่มี NAS คุณก็สามารถใช้คอมพิวเตอร์ของคุณเป็น เซิฟเวอร์ ได้ด้วย และเสียงที่ได้ผมขอบอกเลยว่าถ้า จะเทียบกับการต่อสาย USB นั้นต้องนั่งฟังกันแบบ จับผิดจริงๆ จังๆ ถึงจะรู้สึกได้ถึงความแตกต่างที่ผม ว่ามันค่อนข้างเล็กน้อยมากๆ และที่น่าสนใจคือเมื่อ ผมทดสอบเล่นไฟล์เพลงระดับ 24/192kHz นั้นไม่ พบอาการกระตุกหรือหน่วงช้าของสัญญาณเลย ถือ เป็นการเล่นที่ง่ายแต่ให้เสียงระดับซีเรียสฟังจริงๆ จังๆ ได้ให้อารมณ์ใก้ลเคียงกับการเล่นล�าโพงไฮเอน ด์แยกชิ้นมากๆ เลยละครับ สรุป การเล่นเครือ่ งเสียงแยกชิน้ ส่วนตัวผมเองก็มอง ว่าเป็นเรื่องสนุกและได้อะไรหลายๆ อย่างที่ล�าโพง แอคทีฟให้ไม่ได้ แต่ไม่ใช่ทุกคนแน่ๆ ที่จะสามารถมี พืน้ ทีพ่ อจะเล่นได้ชดุ แยกชิน้ ได้ KEF LS50 Wireless จึงเป็นเหมือนตัวเลือกส�าหรับคนที่ต้องการเครื่อง เสียงที่เสียงดี แต่เซ็ทอัพง่ายใช้พื้นที่น้อย มีฟังก์ชั่น ให้เลือกเล่นหลากหลาย รองรับ In-Put ครอบคลุม เกือบทุกรูปแบบ และยังมีตัวช่วยอย่าง Customized EQ ทีจ่ ะปรับจูนเสียงให้เข้ากับห้องของคุณได้อกี ด้วย เรียกว่าKEF LS50 Wireless คู่เดียวมีทุกอย่างครบ จบในตัวถ้าใครก�าลังมองหาชุดเครื่องเสียงแบบนี้อยู่ ละก็ไม่ควรมองข้ามล�าโพงคู่นี้เป็นอันขาดครับ! น�ำเข้ำและจัดจ�ำหน่ำยโดย บริษทั ซาวด์ รีพบั ลิค จ�ากัด โทร 0-2448-5489 รำคำ 89,900 บาท 041