Klipsch R-112SW

Page 1

VIDEOPHILE REVIEWS • ชานนท์ จุทัยรัศม์

“Loud and proud” VIDEOPHILE 32 AUDIOPHILE

ด้วยชื่อเสียงที่สั่งสมมานานจนจะครบ 70 ปี อยู่รอมร่อ (1) ในวงการ โอมเธียเตอร์คงไม่มใี ครทีไ่ ม่รจู้ กั Klipsch ซึง่ ส่วนหนึง่ มีทมี่ าจากเหตุผลทีว่ า่ ระบบเสียงโรงภาพยนตร์ในประเทศสหรัฐอเมริกาหลายแห่งไว้วางใจเลือก ใช้ลำ� โพงของ Klipsch… เพียงแค่เหตุผลข้างต้นเพียงอย่างเดียวก็นา่ สนใจแล้วใช่ไหมครับ ล่าสุด Klipsch ได้วางจ�ำหน่ายล�ำโพงซับวูฟเฟอร์รนุ่ ใหม่ในตระกูล Reference ที่ คาดหวังให้เป็นมาตรฐานส�ำหรับล�ำโพงที่ท�ำหน้าที่ถ่ายทอดเสียงความถี่ต�่ำ ในระบบโฮมเธียเตอร์โดยที่ยังคงระดับราคาไว้ให้สามารถซื้อหาใช้งานกัน แบบไม่หนักกระเป๋า ซึง่ ความส�ำคัญของซับวูฟเฟอร์ในการสร้างอรรถรสนัน้ มากเพียงใด คงไม่ต้องอธิบายกันแล้ว

(1)

ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งโดย Paul W. Klipsch ใน ปี 1946


KLIPSCH 12” Active Subwoofer Klipsch น�ำเสนอล�ำโพงแอ็กทีฟซับวูฟเฟอร์ใน ซีรี่ส์ “อ้างอิง” จ�ำนวน 3 รุ่น ได้แก่ R-110SW, R112SW และ R-115SW ทั้ ง หมดใช้ พื้ น ฐานการ ออกแบบลักษณะเดียวกัน ต่างทีข่ นาดตัวขับเสียง 10, 12 และ 15 นิ้ว ตามล�ำดับ สัมพันธ์กับภาคขยายและ ขนาดตัวตู้ เพือ่ ให้ครอบคลุมพืน้ ทีใ่ ช้งานตัง้ แต่หอ้ งหับ ขนาดไม่ใหญ่มาก ไปจนถึงห้องโฮมเธียเตอร์ขนาด ใหญ่ พื้นฐานส�ำคัญของ Reference Subwoofer ที่ เห็นเด่นชัดเพราะเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ Klipsch คือ ตัวขับเสียงสีทองแดงที่มีชื่อเรียกว่า Spun-copper Ceramatalic woofer เป็นการรังสรรค์วัสดุ ไดอะแฟรมด้วยการผสมผสานข้อดีของเซรามิกและ โลหะเข้าด้วยกันเพือ่ ผลลัพธ์ดา้ นความแกร่ง ทนก�ำลัง ขับได้สงู ป้องกันการเสียรูป (cone breakup) ในขณะ ที่น�้ำหนักเบา สามารถตอบสนองต่อสัญญาณเสียงได้ อย่างฉับไว

R-110SW

R-112SW

ล� ำ ดั บ ถั ด มาที่ มี ค วามส� ำ คั ญ อั น ส่ ง ผลถึ ง ประสิทธิภาพของล�ำโพงซับวูฟเฟอร์โดยตรงไม่แพ้ตวั ขับเสียงที่กล่าวไปแล้วนั้น คือ ภาคขยาย เนื่องด้วย ภาระหน้าที่ในการผลักดันตัวขับเสียงให้ถ่ายทอด สัญญาณเสียงความถี่ต�่ำออกมานั่นเอง ซึ่งภาคขยาย ของ Referecnce Subwoofer ใช้พื้นฐานวงจรแบบ Class-D ทั้งสิ้น ซึ่งในแง่ของก�ำลังขับเปรียบเทียบกับ ประสิทธิภาพ (Efficiency) นั้น ได้เปรียบภาคขยาย อะนาล็อกจากยุคก่อนอยู่หลายขุม ก�ำลังขับเพื่อใช้ ผลักดันตัวขับเสียงต�่ำโดยเฉพาะที่ต้องการพละก�ำลัง จากภาคขยายก�ำลังสูง ตัวเลขหลายร้อยวัตต์ย่อมจะ ได้เปรียบกว่า

R-115SW VIDEOPHILE 33 AUDIOPHILE


แบบไร้สายมายังลำ�โพงซับวูฟเฟอร์ของ Klipsch; ขวาล่าง – ท่อเปิดแบบช่องสี่เหลี่ยมที่เรียกว่า Slot port บริเวณส่วนล่างตัวตู้มีฐานไม้รองรับอีกชั้นโดยติดตั้งมาให้พร้อมจากโรงงาน

การติดตั้ง A. การเชือ่ มต่อใช้งานซับวูฟเฟอร์ Klipsch Reference Series กับซิสเต็มไฮไฟ

• การใช้งานร่วมกับปรีแอมป์หรืออินทิเกรตแอมป์ของซิสเต็มไฮไฟนัน้ ต้องการ ช่องสัญญาณ Pre Out ส�ำหรับเชื่อมต่อกับล�ำโพงซับวูฟเฟอร์ หากอินทิเกรตแอมป์ ใดไม่มีช่องสัญญาณ Pre Out จะไม่สามารถใช้งานร่วมกับ R-110SW ได้ • จากนั้นใช้สายสัญญาณ RCA 1 ชุด (2 เส้น) เชื่อมต่อมาที่ช่อง Line In ของ ซับวูฟเฟอร์ • ท�ำการปรับตั้ง Gain, Low-pass Crossover, และ Phase ของซับวูฟเฟอร์ ให้สมั พันธ์กบั ล�ำโพงหลัก ซึง่ ทัง้ 3 ปุม่ นี้ ไม่มตี วั เลขอ้างอิงตายตัว เป้าหมายการปรับ ตั้ง คือ เป็นตัวช่วยให้เสียงของซับวูฟเฟอร์ผสานกลมกลืนเข้ากับล�ำโพงหลัก ตามสภาพแวดล้อมนั้นๆ เพื่อเสียงที่มีความต่อเนื่องเป็นธรรมชาติ

Klipsch Reference Premiere Speakers & Reference Subwoofer

ในด้านการใช้งานนั้น Klipsch ตั้งใจออกแบบ Reference Subwoofer เพื่อ ให้ใช้งานร่วมกับซีรี่ส์ล�ำโพงใหม่ล่าสุด Reference Premiere ที่เพิ่งเปิดตัวสดๆ ร้อนๆ ในงาน CES 2015 ที่ผ่านมา ซึ่งเท่าที่ทราบข้อมูล นอกจากล�ำโพงตั้งพื้นและ วางขาตั้งที่เราๆ ท่านๆ คุ้นเคยกันดีแล้ว ยังจะมีรูปแบบ Dolby Atmos Enabled Speakers ทั้ง Built-in และ Add-on ต้อนรับการมาของมาตรฐานระบบเสียงรอบ ทิศทางยุคใหม่อย่าง Dolby Atmos ด้วยครับ เทคนิคหนึ่งที่ Klipsch น�ำมาใช้กับทั้งล�ำโพง Reference 2 ซีรี่ส์นี้ คือ จะไม่ เห็นหัวน็อตที่ยึดไดรเวอร์กับแผงหน้าเลย แผงหน้าล�ำโพงจึงดูเรียบร้อยสะอาดตา ประกอบกับผิวตัวตู้เป็นวีเนียร์ปัดเสี้ยน ดูสวยงามและให้ความทนทานกว่าไวนิล ลายไม้แบบที่เห็นในล�ำโพงซับวูฟเฟอร์ระดับเดียวกันทั่วไป

B. การเชื่อมต่อใช้งานซับวูฟเฟอร์ Klipsch Reference Series กับซิสเต็ม

ซ้ายบน - Spun-copper Ceramatalic woofer เทคโนโลยีตวั ขับเสียงเอกสิทธิเ์ ฉพาะของ Klipsch จากการผสมผสานวัสดุไดอะแฟรมด้วยเซรามิกและโลหะ; ขวาบน – จุดเชื่อมต่อสัญญาณ Line In และ WA-2 port และปุ่มควบคุมปรับแต่งติดตั้งใช้งานทางด้านหลังลำ�โพงซับวูฟเฟอร์; ซ้าย ล่าง – WA-2 Wireless Subwoofer Kit เป็นอ็อพชั่นเสริมเพื่อใช้ส่งสัญญาณเสียงความถี่ต�่ำ VIDEOPHILE 34 AUDIOPHILE

โฮมเธียเตอร์ • การใช้งานร่วมกับ AVR หรือ Pre Processor สามารถเชือ่ มต่อสัญญาณจาก ช่อง Subwoofer Out โดยใช้สายสัญญาณซับวูฟเฟอร์แบบ RCA 1 เส้น ไปยังช่อง Line In (L/LFE) ของซับวูฟเฟอร์ • ในเบื้องต้นสามารถปรับตั้ง Gain ไว้ที่ตำ� แหน่งราว 9 ~ 12 นาฬิกา ส่วน Low-pass Crossover ให้ปรับตั้งไปที่ตำ� แหน่ง “LFE” (หมุนตามเข็มนาฬิกาไปจน สุด) เพื่อเป็นการบายพาสวงจรครอสโอเวอร์ภายในล�ำโพงซับวูฟเฟอร์ และสุดท้าย คือ Phase ตั้งไว้ที่ 0 องศา ที่ให้ดำ� เนินการเช่นนี้เนื่องจากหน้าที่ตัดความถี่ครอส โอเวอร์และชดเชยเฟสนั้น ระบบ Bass Management ภายใน AVR/Pre Processor จะมีศักยภาพสูงกว่าทั้งในแง่ความยืดหยุ่น และความเที่ยงตรง • ส�ำหรับ AVR/Pre Processor รุ่นปัจจุบันที่มาพร้อมกับระบบ Speaker Auto Calibration (Audyssey, AccuEQ, ARC, MCACC, YPAO) สามารถด�ำเนิน การได้เลย ระบบฯ จะท�ำการปรับตั้ง Level, Low-pass Crossover, และ Phase ของซับวูฟเฟอร์ให้เอง หากขัน้ ตอนด�ำเนินการถูกต้อง และระบบฯ มีความเทีย่ งตรง พอ สามารถใช้อ้างอิงได้เลย กรณีที่พบว่ายังมีจุดที่ไม่ลงตัว สามารถไฟน์จูน พารามิเตอร์ Bass Management หรือที่ซับวูฟเฟอร์เพิ่มเติมตามความเหมาะสม หมายเหตุ: แนะนำ�ให้ทำ�การเบิร์นอินลำ�โพงซับวูฟเฟอร์จนคุณภาพเสียงนิ่งเสียก่อน เพราะ ในช่วงก่อนพ้นเบิร์นอิน เสียงของซับวูฟเฟอร์ที่ยังไม่นิ่งจะสร้างความรู้สึกแปลกแยก อันจะส่งผล กระทบต่อการอ้างอิงปรับตั้งเสียงของซับวูฟเฟอร์


คุณภาพการใช้งาน เนื่องจากผมได้รับ R-112SW กับ R-110SW มาช่วงเวลาใกล้เคียงกัน เพื่อให้ เห็นความแตกต่างง่ายๆ จะน�ำผลลัพธ์การใช้งานมาใช้อ้างอิงเปรียบเทียบกันว่า ซับวูฟเฟอร์เล็กกับใหญ่ มีอะไรที่แตกต่างกันบ้างครับ แน่นอนว่าสิ่งที่ส่งผลกับการติดตั้งใช้งานที่ชัดเจนเลย ประการแรก คือ ขนาด ปริมาตรตัวตู้ของ R-112SW ใหญ่กว่ารุ่นน้องราว 30 เปอร์เซ็นต์ กับน�ำ้ หนักที่มา กกว่า 4.3 กก. อย่างทีท่ ราบว่าต�ำแหน่งตัง้ วางซับวูฟเฟอร์ในห้องนัน้ ส�ำคัญมากเพราะ เกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับ Room Mode โดยตรง เสียงจะดีหรือไม่ดี ขั้นตอนการไฟน์จู นหาต�ำแหน่งจึงมีผลมาก ซึ่งความต้องการพื้นที่ตั้งวางรวมถึงการขยับเคลื่อนย้าย แน่นอนว่าจะด�ำเนินการกับ R-112SW ได้ล�ำบากกว่า R-110SW อยู่บ้าง แต่ก็ไม่ มากนัก ยังอยู่ในวิสัยที่คนคนเดียว ด�ำเนินการขยับยกย้ายได้เองครับ ที่ฐานของ Reference Subwofer ไม่มีสไปก์ปรับระดับ พื้นที่ติดตั้งจึงควรมั่นคงและได้ระดับ ไม่เป็นหลุมเป็นบ่อ เพื่อเสถียรภาพที่ดี ประการที่สอง หากก�ำหนดปุ่มวอลลุ่มไว้ที่ตำ� แหน่งเดียวกัน R-112SW จะมี ระดับเสียงที่ดังกว่า ซึ่งไม่ผิดจากที่คาดเพราะภาคขยายมีก�ำลังขับสูงกว่านั่นเอง แต่ผลการทดสอบพบว่าพลอยได้ที่ตามมา คือ ระดับไดนามิก การตอบสนองต่อ แรงปะทะช่วงเวลาสั้นๆ ของ R-112SW จะให้ได้เต็มที่กว่าบ้าง เช่นเดียวกับ มวลเสียงที่แผ่ครอบคลุมพื้นที่ในห้องขนาดใหญ่ได้ดีกว่าครับ การตอบสนองความถี่ ทั้งคู่มีดุลเสียงที่ใกล้เคียงกันมากซึ่งก็ไม่แปลกเพราะ เป็นซีรี่ส์เดียวกัน จุดนี้หากจะน�ำมาใช้ร่วมกันแบบ Dual Subwoofer แม้จะคนละ รุ่น คนละขนาด ก็ปรับตั้งให้กลมกลืนได้ไม่ยาก แต่แน่นอนว่าอานิสงส์ของขนาด ไดรเวอร์และตัวตู้ที่ใหญ่กว่า R-112SW จะได้เปรียบในด้านการถ่ายทอดเสียงย่าน ต�ำ่ ลึกอยู่บ้าง หากอ้างอิงความถี่ที่ 25Hz พบว่า R-112SW จะให้นำ�้ หนักเสียงได้ดี กว่าราว 3dB ถัดจากนั้นจะ roll-off ลงเร็วตามลักษณะล�ำโพงซับวูฟเฟอร์แบบตู้ เปิด ย่านการตอบสนองความถี่โดยเฉพาะช่วงต�ำ่ ลึกจึงไม่เกินความคาดหมาย โดย รวมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานส�ำหรับล�ำโพงไซส์ไดรเวอร์ขนาด 12 นิ้ว อย่างไรก็ดีศักยภาพของ R-112SW ในด้านการเติมเต็มเสียงย่านต�่ำลึกได้ มากกว่า R-110SW อาจสร้างผลกระทบจนเป็นปัญหาบ้างในบางกรณี ซึง่ เมือ่ น�ำไป ใช้งานในห้องที่มีขนาดเล็กเกินไป ขนาดไดเมนชั่นของห้องที่ไม่เพียงพอให้เสียง ความถี่ต�่ำลึกก่อตัวขึ้นได้ จะไปส่งเสริมให้ความถี่ต�่ำบางช่วงโด่งขึ้นมาแทน พูดให้

เข้าใจง่ายๆ คือ โอกาสทีเ่ บสจะบวมในห้องขนาดเล็กส�ำหรับ R-112SW จะมีสงู กว่า R-110SW นั่นเอง หากต้องการเสียงที่เที่ยงตรงจากล�ำโพงซับวูฟเฟอร์ จึงมิใช่เอะอะก็เลือก ไดรเวอร์+ตัวตูใ้ หญ่ๆ ไว้กอ่ นเพือ่ จะเอาเบสลึกๆ ทว่าควรพิจารณาจากความเหมาะ สมของปริมาตรห้องด้วย หากพื้นที่ห้องฟังอยู่ที่ราว 9 – 18 ตร.ม. บางกรณีอาจพบ ว่าเสียงของ R-110SW สะอาดกว่า เพราะโอกาสทีเ่ บสจะบวมน้อยกว่า เมือ่ บวกกับ ความฉับไวของตัวขับเสียงที่เล็กกว่าจึงถูกโฉลกกับการฟังเพลงที่ต้องการความ เที่ยงตรงของดุลเสียงมากกว่าย่านการตอบสนองความถี่ต�่ำลึก แต่ถ้าห้องใหญ่สัก 20 – 30 ตร.ม. เมื่อปัจจัยสมกันย่อมจะดึงศักยภาพจาก R-112SW ออกมาใช้ได้ อย่างเต็มที่มากกว่า การ Cut-off ช่วงเบสต้นของ Reference Subwoofer ตัง้ แต่ราว 125Hz ขึน้ ไป ส่งผลให้การแม็ตชิ่งใช้งานร่วมกับล�ำโพงที่มีขนาดเล็กมากๆ ซึ่งขาดแคลนย่าน เบสต้น อาทิ ล�ำโพงแซทเทลไลต์ขนาดเล็กจะท�ำได้ไม่เต็มที่นัก แต่หากเป็นการใช้ งานร่วมกับล�ำโพงแซทเทลไลต์ขนาดใหญ่สกั หน่อย หรือล�ำโพงวางหิง้ หรือตัง้ พืน้ ปกติ จะเหมาะสมกว่าในแง่การให้ความกลมกลืนต่อเนื่องของอัตราตอบสนองความถี่ การที่ Klipsch Reference Subwoofer มีอินพุตรับสัญญาณแบบเดียว คือ Line Level ไม่มี Speaker Level บวกกับปุ่มชดเชยเฟสแบบสวิตช์ปรับได้ 2 ต�ำแหน่ง (0/180 องศา) อาจจะไม่ยืดหยุ่นนักกับการใช้งานร่วมกับซิสเต็มไฮไฟ แต่ ส�ำหรับซิสเต็มโฮมเธียเตอร์ที่ใช้การชดเชยเฟสจากระบบ Bass Management ซึ่ง ยืดหยุ่นกว่า และอาศัยการเชื่อมต่อสัญญาณแบบ Line Level เป็นหลัก จุดนี้ไม่ใช่ ประเด็นที่ต้องกังวล ด้วยประสิทธิภาพของ Reference Series Subwoofer จาก Klipsch นี้ จะสร้างมาตรฐานอ้างอิงใหม่ให้กับวงการโฮมเธียเตอร์ด้วยงบประมาณที่คุ้มค่า สามารถเติมเต็มอรรถรสในระบบโฮมเธียเตอร์ได้อย่างน่าสนใจครับ . VDP

ราคาโปรโมชั่น 29,900 บาท ราคาปกติ 40,900 บาท จัดจำ�หน่ายโดย บริษัท โฮม ไฮไฟ จำ�กัด โทร. 0-2448-5489, 0-2448-5465 VIDEOPHILE 35 AUDIOPHILE


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.