equipment reviews
142
ผูท้ ดสอบ : ภมรเดช หัสเนตร (aompamondej@gmail.com, aompamondej.wordpress.com)
KEF R100 “ยินดีด้วยคนครับ” เป็ น เรื่ อ งน่ า ยิ น ดี อ ย่ า งยิ่ ง ที่ ล ำโพงอมตะนิ รั น ดร์ ก าล หนึ่ ง ในลำโพงสุ ด ใฝ่ ฝั น ของนั ก ฟั ง เพลง และเล่นเครื่องเสียงทั่วโลกในนามของ KEF คว้ารางวัลอันทรงเกียรติล่าสุดที่ชื่อว่า “Product of The Year 2012” จากนิตยสาร WHAT HI-FI ประเทศอังกฤษมาชื่นชม แม้ว่าเวลาแห่งความยินดีนั้นล่วงเลยมา เป็ น ปี แ ล้ ว ก็ ต าม แต่ ผ มเชื่ อ ว่ า ที ม งานทุ ก คนในฐานะผู้ ผ ลิ ต ลำโพงชั้ น นำของโลกรายนี้ ค งยั ง ดี ใจและ ไม่คลายความตื่นเต้นกัน ผมนึกเลยเถิดไปถึงหัวจิตหัวใจของทีมออกแบบในนามของ “เคฟ” ทันทีที่ ไปรับ ลำโพงวางขาตั้งคู่หนึ่งจากสำนักออดิโอไฟล์ตามคำเรียกร้องส่วนตัว (เอ่ยปากบอกท่านบก. ปฤษณว่า อยากทดสอบ KEF ซีรี่ส์นี้) หลังจากเห็นหน้าตาลำโพงแบบลายเส้นสีดำและชื่อซีรี่ส์ R บนกล่องบรรจุ อ่านแล้วพยายามระลึกถึงสิ่งที่พวกเขาเหล่านั้น (ทีมออกแบบ) อยากให้คนฟังทั่วทุกคนได้ยิน.... แม้ว่าลำโพงซีรี่ส์ R คู่ที่ผมไปรับมาทดสอบจะไม่ใช่ซีรี่ส์ที่ได้รับรางวัลใหญ่แห่งปีก็ตาม แต่มันก็ ทำให้ผมหายคิดถึง KEF ได้ เคยมีใครคิดเหมือนผมบ้างว่า “คนออกแบบลำโพงรุ่นนั้นรุ่นนี้ เขาคิดอะไรตอนประกอบไดรเวอร์ ทำตู้ และคั ด จุ ด ตั ด ความถี่ ” และยิ่ ง หากลำโพงรุ่ น หนึ่ ง ได้ รั บ รางวั ล อั น แสดงถึ ง ความพิ เ ศษเหนื อ จาก ผู้ผลิตรายอื่นในพิกัดลำโพงเดียวกันอีกล่ะ คนออกแบบเขาอยากสื่อสารอะไรกับคนฟังอย่างเรา (คงไม่ใช่ สักแต่ว่าหาไดรเวอร์มาใส่ตู้เป็นแน่) สิ่งสำคัญไม่ได้อยู่ตรงเราล่วงรู้เท่าทันความคิดของพวกเขาเหล่านั้นหรอก ครับ หากแต่เมื่อเราฟังลำโพงคู่หนึ่งคู่ใดแล้ว เราค้นเจออะไรในเสียงตรงหน้า เราเก็บเกี่ยวสาระอะไรจากเพลง ต่างๆ ที่ลำโพงเปลี่ยนกระแสไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงให้เราฟังต่างหากล่ะ และสุดท้ายเรารู้สึกอย่างไรกับ ลำโพงคู่นั้นเมื่อเราได้ยินสรรพเสียงต่างๆ จากมันอย่างคุ้นเคย ผู้ผลิตและคนออกแบบเขาไม่ทราบหรอกว่า คนฟังอย่างเราๆ คิดยังไงกับลำโพงเขา เรียกว่าทั้งคนทำและคนฟังไม่รู้จักกันเลย ดนตรีต่างหากที่เป็น “ตั ว ประสาน” และพาให้ ทั้ ง สองฝั่ ง (คนทำกั บ คนฟั ง ) มาเชื่ อ มโยงกั น จนเกิ ด การชื่ น ชมและนำไป สู่รางวัลสนับสนุนการชื่นชมที่คนฟังมอบให้กับคนทำนั่นเอง การที่ แ บรนด์ ร ะดั บ โลกขึ้ น ทำเนี ย บอมตะอย่ า งเช่ น KEF ได้ รั บ รางวั ล ครั้ ง แล้ ว ครั้ ง เล่ า ถือเป็นบทพิสูจน์ความเชี่ยวชาญในการผลิตลำโพงท้ากาลเวลา เรียกว่าทำลำโพงมานานนม จนรับทั้งเงินทั้งกล่องครับ ล่าสุดเมื่อเดือนเมษายน ปี 2012 KEF ได้รับรางวัลสำคัญ “ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ห่ ง ปี ” พร้ อ มกั บ “5 ดาวกรุ๊ ป เทสวิ น เนอร์ ” (สำหรั บ ลำโพง สเตอริโอที่ดีที่สุดในระดับราคา 700-900 ปอนด์ที่ทีมงาน WHAT HI-FI (UK) คั ด เลื อ กมา) รางวั ล ข้ า งต้ น นี้ เขามอบให้ กั บ ลำโพงรุ่ น พิ เ ศษ “LS50” ที่ KEF ผลิตขึ้นเพื่อสืบสานตำนานมอนิเตอร์ชื่อก้อง LS3/5A ในอดีต และเพื่ อ ฉลองครบรอบ 50 ปี ข องการก่ อ ตั้ ง แบรนด์ พ ร้ อ มกั น ไป ใจความสำคัญของรางวัลมุ่งไปยังประสิทธิภาพการรายงานเสียงดนตรี ที่มีรายละเอียดครบถ้วนขั้นเปิดเผยต้นฉบับ จนเกิดเวทีเสียงหลาย มิ ติ ใ นแต่ ล ะอั ล บั้ ม เมื่ อ ย้ อ นกลั บ ไปอ่ า นรางวั ล ดั ง กล่ า วและ ชมคลิ ป สั ม ภาษณ์ ที ม ออกแบบลำโพงรุ่ น นี้ ใ นเว็ ป ไซต์ ข อง KEF ทำเอาผมอยากฟั ง เสี ย งจริ ง +เจอตั ว เป็ น ๆ ของมั น (น้ า มงคล อ่วมเรืองศรี เคยทดสอบ LS50 ไปแล้วในฉบับเก่า) เอาเป็นว่าเรา มาลองทำความรู้จักกับ R100 ที่ติดตั้งเทคนิค Uni-Q เหมือนใน LS50 กันก่อนดีกว่า ในช่วงรันอิน ผมพบว่ามันให้สุ้มเสียงน่าตื่นเต้น อยู่ไม่น้อย สนามเสียงตรงหน้าแม้ยังไม่เซ็ตตำแหน่งลำโพงลงตัวในห้อง แต่กลับสัมผัสชิ้นดนตรีพริ้วไหลท่ามกลางสนามเสียงที่โอ่โถง ต่างจาก สุ้มเสียงของ Uni-Q ในเวอร์ชั่นเก่าก่อนที่ผมเคยฟังมาซะด้วยซ้ำไป นี่คือการทดสอบลำโพงวางขาตั้งขนาดเล็กที่ใช้ไดรเวอร์แกนร่วมเดียวกัน หรื อ Uni-Q หนล่ า สุ ด ของผม หลั ง จากไม่ ไ ด้ ข้ อ งแวะกั บ KEF นานพอดู
โลโก้ Uni-Q ที่ออกแบบเรียบง่าย แต่สื่อความการ กระจายเสียง ได้เข้าเป้า
(ทว่ า ไม่ ลื ม เลื อ นแนวเสี ย งโดดเด่ น เฉพาะตั ว ของ Uni-Q) กลับมาวันนี้มีทีเด็ดก็ไม่บอกกันก่อนนะ (ขอขอบคุ ณ โฮมไฮไฟ ตั ว แทนจำหน่ า ย KEF ที่ส่งลำโพงมาให้ทดสอบ)
ไม่ ใช่มอนิเตอร์ ทว่าเหมือน
การแจ้ ง เกิ ด ของลำโพงเสี ย งดี มี คุ ณ ภาพ จริ ง ๆ ในยุ ค นี้ ต่ า งจากยุ ค ก่ อ นครั บ มี ล ำโพง เสี ย งดี + หุ่ น งามมากมายในยุ โรป สแกนดิ เ นเวี ย เยอรมนี ที่นักเล่นฯ บ้านเราไม่เคยรู้จัก โดยเฉพาะ ลำโพงเล็กวางขาตั้งที่ให้รายละเอียดเสียงกระจ่าง และเที่ ย งตรงเป็ น ธรรมชาติ ที่ นิ ย มเรี ย กกั น ว่ า “มอนิเตอร์” นั้น นับวันยิ่งหาฟังยากเย็น ใครก็ อยากทำลำโพงใหญ่ ให้ เ สี ย งอลั ง การกั น ทั้ ง นั้ น ตัวเล็กๆ ที่ให้เสียงใหญ่นั้นทำยากและราคาขาย ไม่ สู ง จึ ง ไม่ คุ้ น ทุ น นั ก จะมี ท ำก็ เ ฉพาะผู้ ผ ลิ ต ที่มีประวัติยาวนาน สร้างชื่อตนและลำโพงพร้อม กั น มานานเนิ่ น นั่ น เองที่ ยั ง คงคิ ด ค้ น และอั พ - เกรดลำโพงเล็กให้มีฟอร์มสดอยู่เสมอ หากผู้ผลิต หน้าใหม่รายใดสามารถคิดวิธีลดความเพี้ยนจาก การรายงานเสี ย งด้ ว ยไดรเวอร์ ตู้ เ น็ ต เ วิ ร์ ก แ ล ะ สามารถ ออก
143 143
equipment reviews แบบสวนประกอบดังกลาวใหทำงานกลมกลืนกัน จนไดเสียงเปนธรรมชาติและตีแผละก็ ผมถือวาทาน ทำลำโพงมอนิเตอรกับเคาไดครับ แม R100 คูนี้จะ ไม ไ ด รั บ การยกย อ งให เ ป น มอนิ เ ตอร เ ล็ ก ระดั บ สุดยอดของวงการเหมือน LS50 แตสวนตัวผมขอ ยกใหมันเปน “มอนิ เ ตอร ว างขาตั้ ง ที่ น า ฟ ง และ นาเลนที่สุดในขณะนี้” โดยเฉพาะผูชอบฟงดนตรี แบบตีแผและมีพื้นที่หองไมมาก แตอยากฟงเสียง คุณภาพเนื้อๆ ดวยสนนราคาแบบกระเปาไมแฟบ หากเอามาตรฐานของมอนิเตอรมาชี้วัด R100 จัดวาเปนลำโพงประเภท “หุนให ใจรัก” ที่เหมาะ ขึ้นทำเนียบมอนิเตอรรองจาก LS50 ไดสบายๆ แค สัดสวนตูและการวางไดรเวอรตรงกึ่งกลางแผงหนา ก็ทำใหมันหลอเทเตะตาคนชอบความเรียบงายที่ ทั น สมั ย อยู ใ นที มองเผิ น ๆ อาจนึ ก ว า เป น รุ น X300A ที่ KEF ทำเป น ลำโพงแอคที ฟ มี แ อมป ในตัวสำหรับตอคอมฯ (R100 ตัวใหญกวา) ผิวเนื้อ ของ R100 เงาวับดวย “วิเนียรสีดำเลื่อมแกรนด เปยโน” ผมจึงทะนุถนอมมันดวยการใสถุงมือผา กอนนำไปวางบนขาตั้งเพราะเกรงวาเหงื่อและรอย นิ้ ว มื อ จะทำให วิ เ นี ย ร เ ป น รอย (เสี ย ราคาลำโพง เขาหมด) ตูลำโพงเขาเหลี่ยมฉากเหมือนลำโพงปกติ ไม เ น น โค ง โป ง และไม เ น น ประกบไดรเวอร กั บ แผงหนาพลาสติกกอนอัดติดตูอีกทีเหมือนลำโพง สมัยใหมที่หลอพลาสติกขึ้นรูปเพื่อทำเปนแผงหนา นับวา KEF ยังคงสไตลทำตูลำโพงแบบเดิมๆ ครับ เพียงแตทำใหมันสวย นาทะนุถนอม และดูดีมีราคา ขึ้ น มา R100 มี แ ผงหน า หรื อ ส ว นกว า งสั้ น กว า สวนลึก (ก. 18 ซม. ล. 28.9 ซม.) เมื่อวางบนขาตั้ง เพลทเล็กจึงอาจลนไปบาง ควรจัดระนาบตูใหสมดุล กอนวางบนเพลท น้ำหนักราว 6.6 กก. ของมัน ถายเทลงกลางตูพอดี (ไมเอียงไปดานใด) จึงหมด ปญหาสำหรับคนมีขาตั้งโลหะเพลทเล็ก (เจานี่ยังลน เลยขาตั้งไมเพลทใหญหนาของผมนิดนึง) จะวาไป ผมชอบหุนแบบนี้ซะจริงเชียว มันบงบอกถึงปริมาณ อัดอากาศภายในตูวามีพอเพียงที่จะกอเสียงต่ำแบบ ไมบอบบางออกมา “R100 มีโหวงเฮงอีกหลายจุด ที่สนับสนุนความคิดผม” ไดแก 1. ผนังรอบดาน ใชไมเอ็มดีเอฟหนา เพื่อลดเสียงกองภายใน ทำให การอั ด อากาศภายในสู ภ ายนอกผ า นท อ เป ด ทรง กลม 6.5 ซม. ตรงดานหลังตูในตำแหนงเยื้องกน แมเหล็กขึ้นไปเล็กนอยนั้นสะดวกโยธิน (ทอพอรท ใชพลาสติกหนาสีดำอมเทา ออกแบบเปนแผนเฟรม เดียวกับขั้วตอสายลำโพง ปลายทอพอรทใหญและ ผายออกเพื่ อ บั ง คั บ ลมให แ พร เร็ ว และได ป ริ ม าณ มาก) 2. ขั้วตอสายลำโพงไบไวรแบบใหมไมเหมือน ใคร เพราะไม ใช ขั้ ว ขั น พลาสติ ก สี ด ำแดง+แผ น จั๊มเปอรชุบทองเหมือนทั่วไป แต KEF ใชขั้วโลหะ หนาแบบไบดิ้งโพสตควบคูกับลูกบิดเชื่อมตอไบไวร จากภาพประกอบมีลูกบิดทั้งหมด 6 ลูกคือ 2 ลูก บนและล า งเป น ขั้ ว ต อ ไบดิ้ ง โพสต (ขั้ ว ด า นบน
144
ลำโพงรุนสรางชื่อทั้งสิ้น
Coda 7
สำหรับขับโดมและดานลางสำหรับขับกรวย) สวน 2 ลู ก ตรงกลางใช หมุ นเลื อ กใช ไ บไวร แ ละซิ ง เกิ้ ล ไวร คูมือระบุวิธีใชงานไบไวรและซิงเกิ้ลไวรวา “ใหหมุน ลู ก บิ ด ตามหรื อ ทวนศร” หากหมุ น ตามหั ว ศรไป จนสุ ด คื อ การต อ ซิ ง เกิ้ ล ไวร และถ า หมุ น ไปทาง ปลายศรจนสุ ด นั่ น คื อ เลื อ กใช ร ะบบไบไวร เ พื่ อ แยกจุดเชื่อมตอของกรวยและโดม R100 จึงไมใชลำโพงเปราะบางที่อาศัยผนังตู สร า งเสี ย งก อ งสะท อ นเหมื อ นลำโพงแบบอื่ น หากโครงสรางตูตามที่ผมกลาวไปตางหากที่ทำให ไดรเวอร ทุ ก ตั ว ของมั น สำแดงประสิ ท ธิ ภ าพอย า ง เต็มที่ โครงสรางตูที่แข็งแกรง ซึมซับเสียงสะทอน ภายในและปลอยบางสวนสูภายนอกอยางรวดเร็ว คือองคประกอบสำคัญที่ทำใหลำโพงธรรมดากลาย เปนมอนิเตอรกับเขาได นั่นคือสิ่งที่ R100 มีพรอมมูล
หัวใจของ Uni-Q
Cresta 1
LS3/5A
LS50 รุนฉลอง 50 ปที่ ได ไอเดียจาก 3/5A
X300A (ลำโพงแอคทีฟสำหรับตอคอมฯ หนาตาคลาย R100)
ส ว นประกอบสำคั ญ ของ R100 ที่ ผ มต อ ง กล า วชมเชยพร อ มกั บ แจกแจงที เ ด็ ด ไปด ว ยคื อ “ไดรเวอร” ครับ ไดรเวอรคือตัวขับหรือเปลงเสียง เปนอุปกรณชิ้นสำคัญของลำโพงทุกคู ตามปกติแลว ลำโพง 2 ทางอาศั ย การสร า งเสี ย งของไดรเวอร 2 ตัวคือ 1. ไดรเวอรเปลงเสียงกลางและต่ำ (ในชวง อัพเพอร) เรียกวา “มิดเรนจ” หรือกรวย และ 2. ไดรเวอรเ ปล งเสีย งแหลม เรี ยกวา “ทวี ต เตอร ” หรือโดม มีลำโพงรุนตั้งพื้นบางกรณีมีไดรเวอรเปลง เสียงต่ำอยางเดียว เรียกวา “ซับเบส” เพิ่มเขามาก ลายเปนลำโพง 3 ทาง ไดรเวอรที่ KEF เลือกเฟน จากการการวิ จั ย ยาวนานคื อ วั ต ถุ ดิ บ สมั ย ใหม ที่ ใ ห ก ารคอบสนองความถี่ อ อดิ โ อกว า งไกลและ ฉั บ ไว ทั้ ง ยั ง แข็ ง แกร ง ทนทานและไม ก อ ป ญ หา การเปลี่ยนแปลงรูปทรงเมื่อใชงานระยะยาว นั่นคือ “อะลูมิเนียมและแมกนีเซียม” นั่นเอง R100 เป น สมาชิ ก รุ น เล็ ก ที่ สุ ด ของซี รี่ ส R โดยซี รี่ ส R จั ด อยู ใ นลำดั บ สองรองจากซี รี่ ส Reference มีซีรี่ส Q และ C อยูลำดับสามและ สี่ เรี ย งกั น ไป ทั้ ง หมดจั ด อยู ใ นสายการผลิ ต HiFi Speakers ของ KEF (LS50 อยูในซีรี่ส Flagship ร ว มกั บ รุ น ใหญ Muon และ Blade) ซี รี่ ส R มีสมาชิกทั้งหมด 8 รุน ทุกรุนติดตั้งไดรเวอรแกน รวมหรือ Uni-Q ทั้งสิ้น แบงเปนรุนวางขาตั้ง 2 รุน คือ R100 กับ R300 (3 ทาง มีเบสยูนิต 6.5 นิ้ว+ ตัดความถี่ 2 จุด), รุนตั้งพื้น 3 รุนคือ R500, R700, R900 (หน า ตาและตำแหน ง ไดรเวอร เ หมื อ นกั น ตางกันแคขนาดไดรเวอรและตู), ลำโพงเซ็นเตอร สำหรับโฮมเธียเตอร 2 รุนคือ R200C กับ R600C และปดทายดวยลำโพงเซอรราวดรุนเดียวคือ R800DS ในการทดสอบครั้งนี้ ผมมุงจับประเด็นเสียง โดยเทียบเคียง R100 กับ R200 (R200 ตัวใหญกวา และมี ก รวยขั บ เสี ย งต่ ำ แยกออกมาจากแกนร ว ม Uni-Q ซึ่ง KEF เรียกวา Bass Units ไมไดเรียกวา
KEF R100
Woofers แม ผ มไม ไ ด ท ดสอบ R200 พร อ มกั น ไปก็ ต าม) เมื่ อ ดู จ ากสเปคฯ ที่ระบุวา R200 ทำความถี่ต่ำได 50Hz (ต่ำกวา R100 ราว 6Hz) และมีจุดตัด แบงความถี่สำหรับปอน Uni-Q ซึ่งมีมิดเรนจและทวีตเตอรรวมแกนเดียวกัน ที่ 2.8kHz สวนเบสยูนิตตัดความถี่ที่ 500Hz แลว คาดวาผูลังเลซื้อระหวาง R200 กับ R100 คงเลือกตัวใหญกวาเปนแน แทจริงแลว R100 มีบางอยาง น า สนใจไม แ พ R200 ครั บ มั น ไม ใช รุ น เล็ ก สุ ด ในซี รี่ ส ที่ ใ ห เ สี ย งเล็ ก ตามรุ น ซะเมื่อไหรละ เคยไดยินวาเล็กจี๊ดยิ่งวาพริกขี้หนูมั้ยละ จุ ด เด น ของ R100 ที่ ผ มขอตั้ ง เป น “จุ ด ขาย” ทำให ค นฟ ง อึ้ ง ปนทึ่ ง สำหรับ Uni-Q เวอรชั่นลาสุดของ KEF คือ “มิติที่ละเอียด ราบเรียบ เปดเผย + ซาวดสเตจกวางขวางและเคลียร” แมวามันเปน Uni-Q ที่มีมิดเรนจเพียง 5.25 นิ้ ว ก็ ต าม เมื่ อ นำจุ ด ขายมารวมกั น จึ ง เกิ ด เป น น้ ำ เสี ย งที่ ไร ตู แ ละกลายเป น “ลำโพงลองหน” ในพริบตา โดยมีมิติเสียงและความกวางขวางของซาวดสเตจ เปนจุดสัมผัสจับตอง เหมือนวาการปรับปรุง Uni-Q ในเวอรชั่นแรกๆ จนถึงรุนนี้ (เวอรชั่นลาสุดที่ติดตั้งใน R100) เดินทางมาถึงจุดสำเร็จตามวิถีพัฒนาผลิตภัณฑ ที่เวอรชั่นในลำดับตอมาไดแกขอดอยบางอยางทีละนิดจนหมดไป ตอนทดสอบ Uni-Q เวอรชั่นเกาเมื่อหลายปมาแลว บอกตามตรงวาผมไมประทับใจนัก ทั้งที่ ตามเทคนิคแลวการติดตั้งไดรเวอรรวมแกนเดียวกันเปนวิธีรวมการกระจายเสียง ของไดรเวอรแตละตัวใหออกมาจากจุดกำเนิดเสียงเดียวกัน เพื่อ “เลี่ยงปญหา การซอนทับของคลื่นเสียงทั้งในและนอกแกนกระจายเสียง” ซึ่งเปนสิ่งที่เรา หลีกเลี่ยงไมไดเมื่อนำลำโพง (ติดตั้งไดรเวอรตามปกติคือโดมอยูเหนือกรวย) ไปใชงานในหองตางๆ การแกปญหาดังกลาวและไดรเวอรแบบ Uni-Q จึงเปน หนทางหนึ่ ง ซึ่ ง สอดคล อ งกั น ทำให ล ำโพงเปล ง เสี ย งหมดจด เป น ธรรมชาติ และตีแผรายละเอียดตามความตองการของผูผลิตและคนฟง จากภาพประกอบ Uni-Q ใน R100 (ภาพหนาแรก) พบวามีสวนประกอบยิบยอยจากตำแหนง เล็กไปหาใหญ เริ่มจาก “โดมอะลูมิเนียมขนาด 1 นิ้ว” พรอมชองระบายอากาศ ที่มีรูปทรงตางจากโดมทั่วไป ติดตั้งกนแมเหล็กเสนแรงสูงนีโอไดเมียมขนาดใหญ ช ว ยเสริ ม สมรรถนะการกระจายเสี ย งให กั ง วานและรวดเร็ ว ร ว มกั บ เวฟไกด ทรงดอกไมซึ่ง KEF เรียกวา “Tangerine” ลักษณะเปนครีบหยักลอมเปนวงอยู ดานหนาโดม คอยกระพือและสะทอนเสียงใหแตกตัวเปนวงกวางอีกแรงหนึ่ง โดมติดตั้งกึ่งกลางกรวยที่ “ผสมอะลูมิเนียมกับแมกนีเซียมจนไดไดอะแฟรม ผิวเรียบ+แวววาวขนาด 5.25 นิ้ว” พรอมเสนริ้วรีดลมโดยรอบ (ขนาดยอดฮิต ที่ขยับตัวเร็วและสรางเนื้อเสียงไมตางจาก 6 นิ้ว) กรวยรุนนี้มีสวนประกอบ สะดุดตาหลายอยางไดแก “ขอบเซอรราวดยางหยุน” มีลอนตั้งโดยรอบ ทำให พื้นผิวไมเรียบทวาใหความราบเรียบของเสียงที่ดียิ่งขึ้นกวาขอบเรียบปกติเรียกวา “Z-Flex Surround” ตามดวยแชสซียอะลูมิเนียมที่ไมกอเสียงสะทอนมาพรอม วงแหวนอะลูมิเนียมรอบแกนแมเหล็ก และที่จี๊ดสุดๆ คือ “แมเหล็กเฟอรไรซ ไซสใหญหนา” สเปคฯ สวยๆ ตามคูมือระบุ R100 มีความไว 86 ดีบี ความตานทานปกติ 8 โอหม (ลดต่ำสุด 3.2 โอหม) ตอบสนองความถี่ต่ำสุด 56Hz และสูงสุด 28Hz กำลังขับที่แนะนำ 25-100 วัตต ซึ่งรองรับทั้งแอมปเล็กแอมปใหญแบบไมตอง กังวล ทำงานแบบตูเปด (พอรตหลัง) มีโฟมอุดเปนตูปดแถมมาให เมื่อใสโฟม จะชวยลดทุมลึกๆ ลงไปและใหเสียงเนียนแบบไมเนนโฟกัสจึงเหมาะตอการฟง แบบวางชิดผนังในพื้นที่จำกัด อีกคาหนึ่งที่ผูซื้อลำโพงควรอานและเขาใจคือ คาจุดตัดเน็ตเวิรก “R100 กำหนดที่ 2.5kHz” ถือวาคอนขางสูงกวาคาทั่วไป ซึ่ ง นิ ย มใช แ ค 2.2kHz สำหรั บ ลำโพงเล็ ก สองไดรเวอร มั ก ถู ก ตั้ ง จุ ด ตั ด ราว 2.2-2.5kHz ลำโพงไหนยกสู ง ถึ ง 2.5kHz แปลว า ปล อ ยให ก รวยเปล ง เสี ย ง เพื่อเชื่อมรอยตอยานกลางกับยานสูงของโดมจนแนบสนิท เสียงกลางไปจนถึง กลางสูงบนจุดตัดดังกลาวจึงเนียนไรที่ติเสมือนดังออกมาจากไดรเวอรฟูลเรนจ เทคนิคนี้เองเมื่อผสานเขากับ Uni-Q จึงทำใหการกระจายเสียงของกรวยและ โดมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันดุจเปลงจากจุดกำเนิดเดียว การซอนทับของความถี่ ในยานเสียงตางกันที่เปนปญหาหนักอึ้งมานานจึงถูกแกอยางตรงจุด
145
equipment reviews
What is hi fi sound?
เมื่อรันอิน R100 พนไป 5-6 ชม. เสียงรองของ Holly Cole และวงทรีโอในเพลง The Tennessee Waltz, Je Ne’T’Aime Pas และ Don’t Smole in Bed จาก ชุด Don’t Smole in Bed ซึ่งผมเลือกมาฟงดวยระดับวอลลุมไมมาก โดยใชอินทิเกรต เสียงแฟลต Onix #OA30 ตัวเกงขับ เสียงรองสรางโฟกัสเขมเปนวงใหญ+หนาตรงกลาง หองเหนือลำโพงราวหนึ่งเมตร ลอยเดนเปนสงาเหนือเสียงเปยโน เบส? หรือเพอรคัสชั่น ทำใหชั่วโมงรันอินไมสูญเปลา R100 เปนมิตรกับคนฟงตั้งแตแรกที่ไดยินครับ (ตางกับ ลำโพงบางคูที่ยึดสาระตอนรันอินไมไดเลย) งานชุดนี้มีแค 3 เสียงใหจับตอง จึงฟงงาย ประกอบกับบันทึกเสียงแบบระบุตัวตนชัดเจน บรรยากาศถอยรนและกลมใหญเปนสาม มิติ เมื่อฟงกับลำโพงเล็กเนนโชวมิติเสียงมากกวาขนาดและรูปทรง จะไดยินทั้งเสียงรอง เปยโน และเบสแยกตัวชัดเจน โดยมีเสียงรองลอยเดนอยูกลาง ทวาเมื่อฟงกับลำโพงที่เนน ขนาดชิ้นดนตรี+มิติเสียงกลมกลืนกัน (มอนิเตอร) จะเกิดเวทีเสียงสมมาตร จัดวางชิ้น ดนตรีชัด+สมจริงกวาลำโพงแบบแรก ทั้งสามเสียงเดนเทาเทียมกัน บางเพลงเสียงเบสเดน กวาก็มี จุดตางตรงนี้ทำใหหลายคนเขาใจผิดวาเสียงลำโพงแบบแรกถูกตองกวาแบบสอง ซึ่งความจริงแลวเสียงแบบสองถูกตองตามการวางตำแหนงและบันทึกเสียงของอัลบั้มตางๆ อยางควรจะเปน ซึ่งลำโพงมอนิเตอรมักใหเสียงในแบบสองออกมาแทบทั้งนั้น (Yamaha #NS-10M ของผมก็เชนกัน) “เสียงมอนิเตอรจึงแปรผันตามการบันทึกเสียงมากกวา เลือกโชวเฉพาะเสียงยานใดเปนพิเศษ” เพื่อเอาใจคนฟงที่ชอบเสียงยานนั้นๆ ผมวัดการตอบสนองเสียงดนตรีของ R100 ไปเรื่อยๆ จนผานพนรันอิน (ราว 48 ชม.) โดยเปลี่ยนอุปกรณรวมทีละชิ้นแลวสังเกตวา R100 รายงานเสียงอุปกรณนั้นๆ ออกมา อยางไร ผมตอสายลำโพงสตูดิโอเกรดจากอังกฤษ VanDamm #Blue Series เขาขั้วลาง (ซิงเกิ้ลไวร) หมุนตั้งลูกบิดหลังตูตามหัวศรจนสุด (ลูกบิดคอนขางตึงมือ ตองออกแรง หนอย) จากนั้นสลับใชสายเสียงกระจางของเยอรมนี Black Cable #Rhein เปรียบเทียบ เสียงกับสายมะกันเสนกลมใหญ Increcable #Soprano MK II ❶ และสลับใชสายเอซีอีกหลายเสน ของ VanDamm และ Increcable แม แ ต ตั ว จั ด การสนามแม เ หล็ ก ในอากาศ Twister Stop 3D ของ Creaktiv System ก็ไมรอดพนถูก R100 รายงานความแตกตางระหวางวางมันตรงมุมหองกับไมวาง 1
2
3
146
1. ชัดๆ กับ Uni-Q มิดเรนจ อะลูมิเนียม+แมกนีเซียม 5 นิ้วเศษ พรอม Waveguide 9 แฉก ทรงดอกไมที่แข็ง แต ไมคม เพื่อการกระจาย เสียงสูงที่คมชัดและรวดเร็ว
2. โลโก KEF บนแผนพลาสติกสีดำแปะไวบนสุดของตู เดนเปนสงา 3. พอรทใหญปากผายพลาสติกแกรงเนื้อเดียวกับ ขั้วตอไบดิ้งโพสตชุบนิเกิล และลูกบิดเชื่อมตอไบไวรกับ ซิงเกิ้ลไวร (ออกแบบแทนจั๊มเปอร)
“Uni-Q รุ น นี้ แ จ ว จริ ง ” ผมหลุ ด อุ ท านออกมาหลั ง จาก โทนบาลานซของ R100 เริ่มขยาย ตั ว จนเกิ ด บรรยากาศกลมเกลี้ ย ง ป น ชิ้ น ดนตรี ต า งๆ ให ล อยเด น เ ป น ส า ม มิ ติ แ ล ะ ก ร ะ จ า ย ตั ว ตามตำแหนงแหงที่เต็มปริมณฑล เมื่อผมลองดึง Twister Stop 3D ออกจากมุ ม ห อ งทั้ ง สอง อรรถาธิ บ ายของผมจากเสี ย งอุ ท าน ยั ง คงมี ตั ว ตนและคงอยู ต ามนั้ น ผมสังเกตวา Uni-Q ของ R100 ชวยใหแอมเบี้ยนสที่กระจายรอบ ชิ้ น ดนตรี ต รงหน า มี ค วามคมชั ด (เหมือนวงกลมที่เนนเสนรอบวงให เขมพอดีๆ) ในออดิ โ อไฟล เ ล ม เก า (จำ ฉบั บ ไม ไ ด แ ล ว ) ผมเคยทดสอบ KEF #C1 (โดมอะลู มิ เ นี ย ม+ เวฟไกด แ ฉก ราคาไม ถึ ง หมื่ น , #Q1 วางขาตั้ ง -หมื่ น เศษและ #XQ30 รุนตั้งพื้น-แสนกวา รุนที่ ผมลืมไมลงคือ Cresta 2 ทวาชอบ ที่ สุ ด คื อ Cresta 1 หลายคนในช ว งนั้ น ชื่ น ชอบ Cresta 1 เหมือนผม สงผลใหยอดขายพุงแซงหนา ลำโพงในพิ กั ด เดี ย วกั น อี ก หลายแบรนด คงไม ใช เพราะผมเขี ย นถึ ง จุ ด ดี ข องมั น ไปเยอะหรอกครั บ แต เ พราะ KEF จู น เสี ย งให สั ม พั น ธ กั บ ไดรเวอร และเน็ ต เวิ ร ก ต า งหาก หลั ง จากนั้ น แบรนด นี้ ก็ แผ ว ในช ว งวงการเครื่ อ งเสี ย งสุ ก งอมทำไดรเวอร อะลูมิเนียมกันทั่ว ดีวีดีเพลเยอรทยอยออกในราคา ถูกลงๆ ผูคนหันไปซื้อฟรอนดจนทำใหลำโพงเล็ก เงี ย บไปชั่ ว ขณะ KEF เกิ ด ไอเดี ย สานต อ เทคนิ ค ที่คนความายาวนาน นั่นคือ “การสรางเสียงต่ำ ปริ ม าณมากในพื้ น ที่ น อ ย” หรื อ Acoustic Compliance Enhancement เทคนิคนี้ไมเปรี้ยง นั ก ผู ค นวงในเท า นั้ น ที่ รู ว า เจ ง ในที่ สุ ด KEF จึ ง คลอดเทคนิคอมตะนิรันดกาล Uni-Q และนั่นคือ การกลับมาผงาดอยางสมศักดิ์ศรีดวยลำโพงเนื้องาน วินเทจ+อินเทรนด โดยเผยความพิเศษของ Uni-Q ชัดๆ เพราะพี่แกจดลิขสิทธิ์เรียบรอยแตเพียงผูเดียว ผมเคยชมเชย Uni-Q วามีเอกลักษณ ไมวา เวอรชั่นเกาหรือใหมฟงเมื่อใดเปนรู นั่นคือ “ความ เที่ ย งตรงปราศจากการฝ น ต อ ธรรมชาติ ท าง อะคูสติก” มันใหเสียงสะอาดแตไมแหงผาก และ ไมจืดชืดจนกลายเปนความวางเปลาจนจับชิ้นดนตรี ไมได จึงไมไรอารมณ ทวาผูจะเขาใจซาวนที่ KEF มี ใ ห ต ลอดช ว งเวลา 50 กว า ป แ ละในแบบอย า ง Uni-Q นั้ น ต อ งเป น “ผู ชื่ น ชอบการฟ ง เพลง” ซะหนอย (ไมไดฟงแตเครื่องและจับผิดเสียงอยาง เดียว) การฟงแบบเขาถึงดนตรีควรจดจอกวานั้น
KEF R100
ตองสังเกตอารมณจากเสียงดนตรีโดยเติมเต็มดวยความรูสึกของคนฟงเขาไป แลวคอยแจกแจงวาชัดหรือเนียน ครบหรือขาดไปตามความรูสึกสวนตัวอีกที ตรง นี้แหละที่คนฟงตองมีทักษะเลนเครื่อง-เสียง+ประสบการณฟงดนตรี ผูผลิต ลำโพงชั้นนำตางนำสองอยางนี้ไปออกแบบลำโพงเชนกัน โดยเฉพาะลำโพงที่รวม ไดรเวอรใหกระจายเสียงจากจุดเดียวกันอยางกรณี Uni-Q
ยิ่งฟง-ยิ่งเขาเนื้อ
จากการฟงแบบชิลล+ซีเรียสดวยเพลงหลายแนว ผมเกิดความรูสึกสอง อยางจนตั้งเปนขอสรุปให R100 ขอแรก: “R100 เหมาะกับทุกเพลงเทาที่คุณ จะหาแผนมาฟง” โดยมันไมเกี่ยงแนวเพลงซะดวย ไมวาผมนำแผนเพลงบันทึก เสียงอยางไร ไทยหรือเทศ ลูกทุง เพื่อชีวิต กระทั่งคลาสสิกในฮอลลที่บางคน บอกตองปน (กระได) ฟง ลำโพงคูนี้พยายามควบคุมอากัปกิริยาในแตละเพลง ผ า นน้ ำ เสี ย งที่ เ ปล ง ออกมา โดยรั ก ษาไว ซึ่ ง คาแร ค เตอร แ ต ล ะอั ล บั้ ม อย า ง ตรงไปตรงมา เมื่อฟงนาน+หลายแนวแลวความรูสึกเหลานี้ชัดเขมขึ้น จนอาจบง ชี้วามันเปนลำโพงที่ไรสีสัน ไรลักษณะเฉพาะ ทวาไมไรอารมณดนตรี ขอสอง: “รูปวงจากเทคนิค Uni-Q ลึกและกวาง” (ตำแหนงลงตัวที่สุดในหองฟงผม คือ R100 หางผนังหลัง 110 ซม. และหางกัน 210 ซม.) สวนสูงของนักรองและ นักดนตรีอื่นๆ ลดหลั่นตามความเปนจริงของเครื่องดนตรีและการบันทึกเสียง และมันยังแสดงอาณาเขตของเสียงตางๆ ตามคาแรคเตอรเสียงของคายเพลง ประจำแผนที่นำมาเลน เมื่ อ ฟ ง เพลงออดิ โ อไฟล ค า ย LINN Records โดยแยกเป น 2 วิ ธี คื อ 1.) ฟ ง จากไฟล 24/96 ที่ ด าวน โ หลดมาด ว ย iTune+Amarra ใน MacBookPro 2.16GHz. โดยตอสายยูเอสบี Supra 2.0 สูเอกเทอนอลแดค PopPulse #WM8741+ปรี Viola #TL1-SE (หลอด Philips 7DJ8 เกรด ทหาร)+ซิงเกิ้ลเอนด SE-3 ดวยสาย VanDamm 2.) ริปไฟล 24/96 เปนซีดี ออดิ โ อ 16/48 (สกุ ล AIFF) ด ว ย iTUNE และ XLD ในแมคอิ น ทอช เวิรคสเตชั่น นำทั้งสองฟอรแม็ทมาฟงเปรียบเทียบกันดวยซิสเต็มทดสอบ (กรอบ แยก) โดยมีลำโพงวินเทจสองทางแกนรวม 12 นิ้ว Coral #12TX-50 เปนคู เทียบเคียง “R100 ชอบใหเรงวอลลุมแอมปเยอะๆ” เมื่อเรงมาก เนื้อเสียงจะอิ่ม เนียนและผลักชิ้นดนตรีใหกระจายตัวเต็มแรงในอากาศ ในชวงหนึ่งของการฟง ไฟลสลับกับแผนออริจินัลชุด White Winds ของ Andreas Vollenweider (CBS 1984), Mountains and the Sea ของ Jose Neto (Water Lily Acoustics), Silk Road ของ Kitaro (Pony Canyon) ฯลฯ พบวา R100 ถูกโฉลกกับนิวเอจไมแพแจส พ็อพ คันทรี หรือแมแตทรีโอ “นิวเอจ” เปนอีกหนึ่งสไตลที่ผมชอบหยิบมาฟงเมื่ออยากพักผอนสมอง และเบื่อเสียงรองเสียงเครื่องดนตรี ทุกครั้งเมื่อทดสอบลำโพง ผมมักเลือกงาน นิวเอจที่บันทึกเสียงดี+มีสาระใหจินตนาการ+ผอนคลายมากกวาเรงเรา มาเช็ค ฟงลำโพงวาใหเสียงเชนไร บางคูสอบผานเพลงที่มีแนวเสียงจะแจง แตเมื่อนำมา ฟงนิวเอจกลับสอบไมผาน สิ่งหนึ่งที่เลี่ยงไมไดคือ “เกนความดังในแตละอัลบั้ม ที่ไมเทากัน” นี่คือปญหาปลายเหตุของลำโพงทุกคู สวนใหญมักคิดวาลำโพง เปลงเสียงไมเสถียร (ดังไมเทากัน) การฟงเพลงตอเนื่องนานๆ ยังผลใหไดยินเกน เสียงแรงและเบา ผมถือวาเปนเรื่องปกติครับ การขยับวอลุมที่ปรีหรืออินทิเกรต จึงเปนวิธีเพิ่มและลดเกนที่จำยอมทำ แมแตการฟงเพลงแนวเดียวยาวๆ ก็ไมพน ตองขยับวอลลุมเชนกัน เมื่อฟงบางแผนบางไฟลจนจำได (จำเกนความดังได) เราก็ขยับวอลลุมรอทากอนฟงไดเลย
❶ ผมกำลังทดสอบสายลำโพงเสียงดี #Soprano MK II และ สายเอซีเสนเขื่อง #Stream จาก ผูผลิตอเมริกันนาม Increcable (เจาเดียวกับแอมปหลอดไตรโอด TIA-260) ใครชอบน้ำเสียง ฉ่ำพริ้ว มีรายละเอียดเรียบเนียนแบบไมลนเกินไปของเจานี้ รออานเบื้องลึกกันไดครับ
147
equipment reviews
วิธีหนึ่งที่ช่วยให้เราฟังเพลงโดยเลิกพะวงกับวอลลุ่มและ เกนที่ต่างกันคือ “เซ็ตลำโพงในตำแหน่งให้เสียงและบรรยากาศ ดีที่สุดในห้อง” ลำโพงหลายไดรเวอร์ทั่วไปเซ็ตยากกว่าไดรเวอร์ เดียว หากรวมไดรเวอร์ให้เปล่งเสียงจากแกนเดียวกันเหมือน R100 ล่ะ อย่างนี้เข้าข่ายฟูลเรนจ์คือเซ็ทง่าย ฟังง่าย และไม่ก่อ เอฟเฟ็กต์กับห้องครับ
4
สรุปว่าเข้าขั้นมอนิเตอร์
จาก 2 ต.ค. ปี 1961 ซึ่ ง เป็ น วั น ปฐมฤกษ์ เปิ ดตั ว KEF Electronics Limited อย่างเป็นทางการ จวบจนวันนี้นับได้ 52 ปีแล้ว ถือเป็นช่วงเวลายาวนานที่สร้างสรรค์ลำโพงเสียงดี มากมายต่อคนฟังทั่วโลก ผมเชื่อแน่ว่า KEF จะยังคงคุณภาพ ในการออกแบบและผลิ ต ลำโพงของเขาเช่ น นี้ เรื่ อ ยไปอี ก นาน เท่ า นาน ณ วั น ที่ ผ มปิ ด ต้ น ฉบั บ นี้ เป็ น วั น เดี ย วกั บ R100 ถูกยกลงจากขาตั้งเพื่อบรรจุแพ็คเกจ เตรียมส่งกลับโฮมไฮไฟตัวแทนจำหน่าย แม้ไม่นานแต่ก็เป็นช่วงเวลาที่ผมแฮปปี้กับมัน ภาพสุดท้ายก่อนเราทั้งสองจะอำลากันคือ R100 วางห่างกัน ค่ อ นข้ า งมากหลั ง จากผมขยั บ ระยะระหว่ า งลำโพงด้ า นขวา และซ้ า ยออกจากกั น ที ล ะ 1 ซม. เพื่ อ เปลี่ ย นการเซ็ ต อั พ จาก Nearfield สู่ Farfield ลำโพงเทคนิ ค เฉพาะ Uni-Q คู่นี้ไม่ปฏิเสธตำแหน่ง เซ็ ต แบบ Farfield ซึ่ ง จั บ แยกลำโพงห่ า งกั น ถึ ง 210 ซม. (2 ม. กว่ า ) โดยไม่ ก่ อ อาการเสี ย งตรงกลางโหว่ นั่ น เ พ ร า ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ กระจายเสี ย งที่ ก ว้ า งขวาง ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ห้ อ งฟั ง ของ Uni-Q นั่ น เอง หากคุ ณ ทึ่ ง เทคนิ ค สร้ า งเสี ย งดนตรี ที่ KEF คิ ด ค้ น พั ฒ นาต่ อ เนื่ อ ง และอยากหาลำโพงสวยๆ ซักคู่ให้ “คู่ควรกับห้องฟังทั้งใหญ่หรือเล็ก” ล่ะก็ R100 คือ คำตอบต้นๆ ที่ต้องนึกถึงครับ นี่คือลำโพงที่ไม่เกี่ยงขนาดห้อง และท้าทายความกล้าเซ็ตอัพของคุณ “คุณผู้มีความชื่นชอบฟัง ดนตรีแบบตรงไปตรงมาและตีแผ่เป็นชีวิตจิตใจ” ถ้าใครใช่ล่ะก็ Say Yes with KEF #R100 ได้เลย. ADP
4. หน้ากากฝังแม่เหล็ก แค่แปะใกล้ๆ ก็ดูดติดแผงหน้า ใช้เกลี่ยสนามเสียง ให้เนียนและกันฝุ่นให้ Uni-Q 5. เซ็ทห่างผนังหลัง 130 ซม. ห่างกัน 200 ซม. บนขาตั้งไม้สูง 27 นิ้ว รวมสไปซ์และถ้วยทองเหลือง (ในภาพ ขณะเปรียบมวยกับลำโพงวินเทจ Coral #12TX-50 ในตู้ ไม้กรอบผ้าไหม Made in Japan ในฐานะเป็นลำโพง แกนร่วมของกรวยและโดมเหมือนกัน ทว่าต่างกันตรงขนาดกรวย) ผลออก มาว่า R100 จำลองสนามเสียงและ ชิ้นดนตรี ได้น่าทึ่ง เหมือนดังออกมา จากตู้ ใหญ่ทีเดียว
5
SPECIFICATIONS
บางส่วนของอัลบั้มที่นำมาทดสอบเสียง
Type: 2-way Bass Reflex Drive Units: Uni-Q (HF: 25mm Vented Aluminium Dome, MF:5.25In. Aluminium Cone) Sensitivity: 86dB Frequency Response: 56Hz.-28kHz Crossover: 2.5kHz Recommended Amp: 25-100W
“เความเป็นที่สุดไม่ ได้วัดที่อายุ หากแต่วัดที่ประสบการณ์” ภมรเดช อุปกรณ์ร่วมทดสอบในห้อง 4x9 ม.
Maximum Output: 107dB Impedance: 8Ohm (Normal) 3.2Ohm (Min.) Dimensions: DxWxH: 28.9x18x28 cm Weight: 6.6kg/pcs
แล็ปท็อป Apple #MacBook Pro (2.16 GHz. Intel Core Duo) ปรีหลอด Viola #TL1SE เพาเวอร์แอมป์หลอด Viola #SA15 ซิงเกิ้ลเอนด์ Viola #SE-3 อินทิเกรต Onix #OA30, Pop Pulse #2024, YBA #WA202 ซีดีเพล Audio Analogue #Crescendo, YBA #WM202 เอกเทอนอล-แดค PopPulse #WM8741 ลำโพง Yamaha #NSCoral #TX12-50 สายสัญญาณ AudioPlus #SNR700T/Cantus06, Vandamm #Shotgun สายสัญญาณ 75 AudioPlus #Parabola 1010, Apogee #WydeEye สายลำโพง Increcable #Soprano, Vandamm, Black #Rhein, Nordost Flatline สายยูเอสบี Supra USB2.0, Audioquest #Forest สายเอซี Vandamm, Increcable #Stream, Supra #Lorad+Hubbell Plug, Oyaide l L/i50 Exs อุปกรณ์ไฟฟ้า Viola #Enhanced Noise Filter & Isolation, MRZ SurgeGuard #MZอุปกรณ์ปรับอะคูสติก Creaktiv System #Twister Stop 3D, Roomtune, Diffusor, Wall Diffuse, Sandbase, Quartz Crystal
148
ราคา 54,200 บาท / คู่ นำเข้าและจัดจำหน่ายโดย บริษัท โฮม ไฮ-ไฟ จำกัด โทร. 02-864-3141, 02-864-1317 02-412-7912