TEST
REPORT
เรือ่ ง : ธวัชชัย อุไรรัตน์ • ภาพ : ฐานทอง กาญจน์ภด ู สิ
KEF : All New Q 500 Speaker
• คุ้นหูกันไปบ้างแล้วสำหรับลำโพง Q series ของ KEF อย่าเพิง่ สงสัยว่าจะเอาของเก่ามาทดสอบ หรืออย่างไร อันทีจ่ ริง Q 500 คูท่ นี่ ำมาทดสอบใน ครัง้ นี้ เป็นลำโพงในซีรสี ใ์ หม่รหัสเดิม แต่หากสังเกต รหัสกันจริงๆ จะพบความแตกต่างอย่างในซีรสี ก์ อ่ น มีชอื่ จริงว่า Classic iQ Series ส่วนคูท่ นี่ ำมาทดสอบ มีชอื่ ว่า All New Q Series โฉมใหม่ไฉไลกว่าเดิม แถมยังจัดมาเต็มชุดโฮมเธียเตอร์ ไม่วา่ จะเป็นลำโพง ตัง้ พืน้ 3 รุน่ Q 900, Q 700 และ Q 500 ลำโพงวาง ขาตัง้ ทีส่ ามารถนำไปใช้เป็นลำโพงเซอร์ราวนด์ 2 รุน่ Q300 กับ Q100 ลำโพงเซ็นเตอร์ 2 รุน่ Q600c และ Q200c แอคทีฟซับวูฟเฟอร์รุ่น Q400b และ เสริมทัพด้วยลำโพง Dipole รุน่ Q800ds ครบไลน์ โฮมเธียเตอร์กนั เลยทีเดียว
• All new Design
การออกแบบเปลีย่ นไปจากเดิมมากเลยครับสำหรับ ลำโพงในซีรสี ใ์ หม่ทนี่ ำมาทดสอบในครัง้ นี้ จากก่อน ลักษณะลำโพงจะโค้งๆ ผนังข้างตูท้ งั้ 2 ด้านจะค่อยๆ โค้งเข้าหากันทางด้านหลังตูค้ ล้ายหยดน้ำ บริเวณติด ตัง้ ไดรเวอร์ Uni-Q จะค่อนไปทางด้านบนตูล้ ำโพงมี ส่วนโค้งเลยออกจากผนังตู้ด้านบน ในส่วนของวูฟ เฟอร์ทตี่ ดิ ตัง้ ไว้ไม่วา่ จะหนึง่ หรือสองตัวขึน้ อยูก่ บั รุน่ ของลำโพงนัน้ จะติดตัง้ รูระบายเบสรองรับทางด้าน ล่างวูฟเฟอร์แบบแนบชิดไม่หา่ งจากกัน ส่วนฐานล่าง ในรุน่ เก่ามีลกั ษณะเป็นแผงติดยึดกับฐานลำโพง แต่สำหรับ New Q Series เปลี่ยนแปลงรูป ลักษณ์จากเดิมไปมาก ดีไซน์ใหม่หวนกลับไปสร้าง ความแปลกใจด้วยรูปลักษณ์ยุคดั้งเดิม กลับไปสู่ ความเคยชินด้วยลำโพงตูส้ เี่ หลีย่ ม ไม่มสี ว่ นเว้าส่วน โค้ง ซึง่ ทาง KEF ระบุไว้วา่ ตูแ้ บบเหลีย่ มๆ ให้ปริมาตร ภายในตูไ้ ด้มากกว่าตูแ้ บบโค้งถึง 30% ไม่เพียงตัวตู้ ออกแบบไว้อย่างเรียบง่ายการติดตัง้ ไดรเวอร์เป็นแบบ เรียงแถวตรงธรรมดาไม่มีลูกเล่นใดๆ สำหรับขาตั้ง ลำโพงเป็นแบบแขนยึดติดแยกซ้ายขวา และเหนือสิง่ อืน่ ใด ไดรเวอร์ Uni-Q ออกแบบด้วยเทคโนโลยีใหม่ ดูดขี นึ้ จากรุน่ ก่อนหลายช่วงตัว
GM2000 082
ก่อนจะไปพบกับสุดยอดเทคโนโลยี Uni-Q มา สำรวจหน้าตา Q 500 กันให้ชดั ๆ ว่าจะเหมือนหรือ ต่างจากลำโพงทรงสีเ่ หลีย่ มทัว่ ไปขนาดไหน ตัง้ แต่เห็น ภาพประกอบบนกล่องบรรจุลำโพงคูน่ คี้ วามรูส้ กึ จะถูก ดึงดูดสายตาให้จบั จ้องไปยังไดรเวอร์ Uni-Q กับโลโก้ KEF ใต้ไดรเวอร์ Uni-Q จนลืมความเป็นเหลีย่ มมุม ไปได้ แกะกล่องออกมายังไม่ทนั ได้เห็นหน้าค่าตา จำ ต้องจับก้มหัวโดยไม่ได้ถอดแผ่นโฟมบางที่ห่อหุ้มตัว ออก เพือ่ ทำการติดตัง้ ขาลำโพงทีแ่ ถมมาให้ ติดยึดใช้ ร่วมกับลำโพง จากคำแนะนำด้วยภาพในคูม่ อื แสดง ขัน้ ตอนการติดตัง้ ทำไว้ชดั เจน ทำตามได้ไม่ยาก ประกอบขาเสร็จจับยกหัวกลับถอดแผ่นโฟมบาง ยังครับยังไม่ได้เห็นหน้า ต้องถอดเอาหน้ากากลำโพง ออกก่อน โครงของหน้ากากลำโพงทำจากพลาสติก หล่อขึน้ รูป ขอบซ้ายขวาตัดมุม 45 องศาเหลีย่ มมุม โค้งเล็กน้อย ห่อหุม้ ทางด้านหน้าด้วยผ้าโปร่งสีดำเนือ้ ละเอียด มีแถบโลหะรมดำปัดเสีย้ นขนาดพอดีตวั โลโก้ KEF ปัดเสี้ยนสีเงินวาว ติดอยู่ทางด้านซ้ายของหน้า กาก ช่วยให้หน้ากากลำโพงดูดขี นึ้ ทีเดียวครับสำหรับ ดีไซน์ทไี่ ด้เห็น ช่วยตัดความเรียบของหน้ากากลำโพง ลงได้เยอะ ได้เวลาเห็นหน้าตาจริงๆ กันแล้ว ดูดกี ว่าทีเ่ ห็นจากรูปครับ ด้วยดีไซน์ของแผงหน้า ตลอดจนไดรเวอร์ทกุ ตัว แถบโลโก้ผสานกลมกลืนกัน อย่างลงตัวจนทำให้ลมื ความเป็นเหลีย่ มมุมทางด้าน หลังลำโพงไปได้ แผงหน้าลำโพงสีดำเทาผลิตจาก พลาสติกลบขอบมุมเล็กน้อย การเจาะช่องยึดติด
ไดรเวอร์ลงบนแผงหน้ามีลกั ษณะโค้งลงหาตัวไดรเวอร์ สำหรับแถบโลหะรมดำปัดเสี้ยนติด โลโก้ KEF มี ลักษณะเช่นเดียวกับที่ติดไว้ที่หน้ากากลำโพง แต่มี ความยาวมากกว่าถูกติดตั้งแซะร่องเข้ากับแผงหน้า ลำโพงตัง้ แต่ขอบข้างแผงหน้าลำโพงทางด้านซ้ายจน เกือบสุดขอบขวาทางด้านหน้าลำโพง ทิง้ ช่องว่างของ พลาสติกแผงหน้าไว้เล็กน้อยดูเก๋ไก๋ เหมือนเป็นเส้น แบ่งอาณาเขตให้กบั ไดรเวอร์ Uni-Q แยกการทำงาน กับวูฟเฟอร์ทางด้านล่างแบบไม่ตดั ขาดซึง่ กันและกัน ส่วนประกอบอืน่ ของลำโพงอย่างขาตัง้ ทีถ่ กู ติดตัง้ ในครั้งแรกหลังจากแกะออกจากกล่อง ผลิตจาก พลาสติกเนือ้ แข็งฉีดขึน้ รูป มีลกั ษณะคล้ายๆ บูมเมอร์ แรงปลายสองข้ า งหั กโค้ ง ออกจากส่ ว นยึ ด ลำโพง บริ เ วณปลายทั้ ง สองด้ า นเจาะรู ขั น ปรั บ ความสู ง ของสไปร์ไว้ เมือ่ ติดขาตัง้ ลำโพงเข้ากับตัวลำโพงและ
ใส่ สไปร์ เ ข้ า กั บ ขาเป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ย อย่ า ลื ม ขั น ตั ว ล็อคสไปร์ทั้ง 4 ตัวทางด้านบนขาตั้งให้แน่นหนา พร้อมอุดรูขันสไปร์ด้วยจุกยางที่แถมมาให้ ช่วยเพิ่ม ความสวยงามให้กบั ฐานลำโพง อีกทัง้ ยังเสริมความ มัน่ คงแข็งแรงให้กบั ตัวลำโพงได้เป็นอย่างดี ผิวลำโพง Q 500 เป็นวีเนียร์ลาย ไม้สี English Cherry งานปะ ผิวเรียบร้อยดี โครงสร้างตัวตู้แน่นหนาแข็งแรงผลิต จาก MDF ภายในตั ว ตู้ เ สริ ม คาดโครงเพิ่ ม ความ แข็งแกร่งให้กับตู้อีกทั้งยังเป็นการแบ่งห้องอากาศให้ เหมาะกับการทำงานของไดรเวอร์แต่ละตัว ทางด้านหลังลำโพงเรียบง่ายมีเพียงแผงขั้วต่อ สายลำโพง Binding post ชุบทองโกลด์เพลทอย่างดี แบบ Bi-wire ออกแบบมาเป็นพิเศษ ด้วยปุม่ หมุน ปรับเลือกการใช้งานแบบ Single wire หรือ Bi-wire ติดตัง้ อยูร่ ะหว่างขัว้ ต่อลำโพงชุด HF กับ LF จำนวน 2 ปุ่ม (ขั้วบวก / ขั้วลบ) ในตอนแรกที่เห็นนึกไปถึง กระบอกใส่ฟิวส์ แต่พอดูใกล้ๆ มีลูกศรชี้ตามเข็ม นาฬิกาและเขียนกำกับไว้วา่ LINK ถึงได้รวู้ า่ หากหมุน ปุ่มตามเข็มนาฬิกาจนสุดจะเป็นการ Link ขั้วต่อ ลำโพง HF กับ LF เข้าด้วยกันหรือการใช้งานแบบ Single wire นัน่ เอง การออกแบบปุม่ Link ขัว้ ลำโพง ดังกล่าวทำได้ดงี า่ ยต่อการเลือกใช้งาน ไม่ตอ้ งยุง่ ยาก ขันขั้วต่อลำโพงเพื่อเอาตัวจั๊มเปอร์เข้าออกให้มาก ความ อีกทั้งไม่ต้องกลัวว่าจั๊มเปอร์ขั้วลำโพงจะหาย แต่เหนืออื่นใดน่าจะเป็นดีไซน์เพื่อรองรับมาตรฐาน ความปลอดภัยของฝัง่ ยุโรปทีไ่ ม่ยอมให้จดุ เชือ่ มต่อมี โอกาสแตะต้องช็อตกันได้ อย่างในรุน่ ก่อนจัม๊ เปอร์ขวั้ ต่อลำโพงยังถูกหุม้ ด้วยฉนวนไฟฟ้าอย่างแน่นหนา
• All New Uni-Q Driver Array
มาถึงพระเอกของลำโพงซีรสี น์ กี้ นั บ้าง ขอเกริน่ นำถึง ทีม่ าทีไ่ ปของ Uni-Q สักเล็กน้อย เทคโนโลยี Uni-Q ของทาง KEF ทีไ่ ด้จดสิทธิบตั รไว้ถกู คิดค้นและพัฒนา ขึน้ มาตัง้ แต่ปี 1988 หรือเมือ่ 23 ปีทผี่ า่ นมานำไปใช้ กับลำโพง C Series เป็นซีรสี แ์ รก จนมาถึง All New Q Series ซึง่ นำมาทดสอบเป็น Generation ที่ ‘11’ เรียกได้วา่ พัฒนาอย่างต่อเนือ่ งและยาวนาน โดยใน เจนเนอร์เรชั่นนี้ได้พัฒนาต่อยอดตามแนวคิดของ ลำโพงรุน่ Concept Blade project
สิ่งที่โดดเด่นที่สุดสำหรับ Q 500 คูน่ คี้ อื รายละเอียด ของเสียงที่สะอาดชัดเจน โทนเสียงออกไปทาง กลางเปิดโปร่งแสดงราย ละเอียดเสียงได้ชัดเจน Specifications
• Design Two and a half-way bass reflex • Drive units 130mm (5.25in.) aluminium Uni-Q 25mm (1in.) vented aluminium dome HF 130mm (5.25in.) aluminium LF 2 x 130mm (5.25in.) aluminium ABR • Frequency response (±+-3dB) 40Hz-40kHz • Crossover frequency 2.5kHz • Amplifier requirements 15-130W • Sensitivity (2.83V/1m) 87dB • Maximum output (SPL) 110dB • Impedance 8 โอห์ม • Weight 22.1kg 15kg (33.1lbs) • Dimensions (H x W x D) 870 x 180 x 272 mm (34.3 x 7.1 x 10.7 in.) • Dimensions with plinth (H x W x D) 917 x 295 x 312 mm (36.1 x 11.6 x 12.3 in.)
083
GM2000
TEST
REPORT ลักษณะดังกล่าวถูกเรียกว่า Passive Radiator แต่กข็ นึ้ อยูก่ บั ผูผ้ ลิตว่าจะ นำเทคนิคนีไ้ ปพัฒนาและตัง้ ชือ่ เรียกกันอย่างไร สำหรับทาง KEF ได้นำเทคนิค Passive Radiator มาพัฒนาใช้กบั ลำโพง Q Series และเรียกชือ่ ใหม่วา่ ABR (Auxiliary bass radiator) โดยในรุน่ Q 500 ทีน่ ำมาทำการทดสอบมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 130 มิลลิเมตรติดตั้งมาให้ถึง 2 ตัว ซึ่งมีหน้าตาไม่ต่างจากวูฟเฟอร์กรวย อะลูมิเนียมที่ติดตั้งอยู่ จากการค้นข้อมูลไม่พบการระบุตำแหน่งติดตั้ง ระหว่าง ABR กับวูฟเฟอร์ ว่าตำแหน่งใดใน 3 ตำแหน่งทางด้านล่าง Uni-Q driver ตัวไหนคือวูฟเฟอร์และอีก 2 ตัวไหนคือ ABR
• All burn in & Setup
All New Uni-Q design
• Tangerine Waveguide โลหะรูปกลีบดอกไม้ 9 แฉก ปิด กั้นป้องกันโดมทวีตเตอร์ ไม่ ได้ ออกแบบมาเพือ่ ให้สวยงามกว่ารุน่ Classic iQ Series ทีเ่ ป็นเพียงครีบ 7 ชิน้ ยืน่ ออกมาจากขอบข้างทวีต เตอร์ แต่มันยังมีหน้าที่ลดการสั่นค้างทางอะคูสติก ของโดมทวีตเตอร์กับอากาศที่เกิดขึ้นทางด้านหน้า
ตัวโดม • Optimal Dome Shape การออกแบบให้ทวีตเตอร์อยู่ ใจกลางแอ่งโค้ง ลด ปัญหาความไม่ smooth ของสัญญาณ เสียงที่ไป กระทบกับพืน้ ทีร่ าบเรียบรอบๆ ทวีตเตอร์ การทำให้ พื้นที่รอบๆ ทวีตเตอร์เป็นแอ่งคล้ายกับปากฮอร์น
กลมๆ ช่วยลดปัญหาดังกล่าวได้ดี • Stiffened Dome การออกแบบโดมทวีตเตอร์ใหม่ จากเดิ ม เป็ น ทรงโค้ ง กลม ถู ก ออกแบบให้โค้งรียงิ่ ขึน้ คล้ายกับ ส่วนโค้งของไข่ไก่ ซึง่ เป็นทีท่ ราบ กันว่ารูปทรงดังกล่าวให้ความแข็งแรงเป็นอย่างดี โดย ทาง KEF ได้ยนื ยันว่ารูปทรง ellipse ทีน่ ำมาใช้กบั ลำโพงซีรสี ์ใหม่นี้ให้การตอบสนองทางด้านแบนด์วธิ สูงขึน้ กว่ารูปทรงโค้งถึง 75% ไม่เพียงการออกแบบ โดมทวีตเตอร์ใหม่ทาง KEF ยังออกแบบให้ตัวโดม แยกออกจากตัว voice coil ทีม่ สี ว่ นโค้งขึน้ มาเล็กน้อย รองรับขอบของตัวโดมเป็นการเพิม่ ความแข็งแรงให้ กับโดมทวีตเตอร์ • Z-Flex Surround การออกแบบขอบเซอร์ราวนด์ ของวูฟเฟอร์ในส่วนของ Uni-Q Driver ให้นนู เด่นเป็นช่วงๆ รอบ ตัวขอบเซอร์ราวนด์ เป็นการเพิม่ ความแข็ ง แรงของรอบเซอร์ ราวนด์และรักษาการทำงานของ กรวยลำโพงให้ ท ำงานตาม สัญญาณเสียงอย่างถูกต้องไม่เกิดการสัน่ ค้างหรือเกิด การสัน่ ผิดไปจากสัญญาณทีป่ อ้ นเข้ามา
GM2000 084
แนวความคิดในการผลิตไดรเวอร์แบบ Uni-Q ขึน้ มาก็เพือ่ ลดปัญหาเรือ่ งการโฟกัสของเสียงทีไ่ ม่คม ชัดมีความเหลือ่ มล้ำกันเนือ่ งจากการซ้อนทับกันของ คลืน่ สัญญาณเสียง ซึง่ เกิดจากระยะห่างในการติดตัง้ ทวีตเตอร์กบั วูฟเฟอร์ เมือ่ นำทวีตเตอร์และวูฟเฟอร์มา รวมไว้อยู่ในแกนเดียวกัน หรือที่เรียกว่า Coaxial Driver จะทำให้ปัญหาเรื่องการเหลื่อมล้ำของเสียง หมดไป นอกจากทำให้ปญ ั หาการเหลือ่ มล้ำของเสียง หมดไปแล้วการนำทวีตเตอร์กับวูฟเฟอร์ไว้ในแกน เดียวกันยังลดปัญหา Time Alignment หรือการ เลื่อนเฟสของสัญญาณเสียงอันเนื่องจากจุดกำเนิด สัญญาณเสียง (voice coil) ของทวีตเตอร์จะล้ำหน้า วูฟเฟอร์อยู่ ทำให้เสียงในย่านสูงมาถึงหูกอ่ นเสียงใน ย่านต่ำ แต่การนำทวีตเตอร์มาร่วมแกนเดียวกับวูฟเฟอร์ ใน Coaxial diver นัน้ ในช่วงแรกของเทคโนโลยีแก้ ปัญหาเรือ่ งการซ้อนทับของเสียงได้เพียงอย่างเดียว ไม่ สามารถแก้ไขปัญหาเรื่อง Time Alignment ได้ เนื่องจากไดรเวอร์แบบ Coaxial ยังต้องใช้แกนแม่ เหล็กร่วมกันอยู่ ทำให้ระยะ voice coil ของทวีตเตอร์ กั บ วู ฟ เฟอร์ ยั ง เหลื่ อ มล้ ำ กั น อั น เป็ น ผลมาจาก เทคโนโลยีการผลิตแม่เหล็กไม่สามารถทำให้ชุดแม่ เหล็กของทวีตเตอร์มีขนาดเล็กจนสามารถบรรจุตรง ใจกลาง voice coil ของวูฟเฟอร์ได้ จนกระทัง่ ทาง NASA ได้พฒ ั นาแม่เหล็กชนิดใหม่ ผสมขึน้ จาก ‘Neodymium/Iron/Boron’ ให้ความ เข้มเส้นแรงแม่เหล็กสูงกว่าแม่เหล็กทัว่ ไปถึง 10 เท่า ทำให้ขนาดของแม่เหล็กลำโพงเล็กลง KEF จึงนำมาใช้ ผลิตเป็นแม่เหล็กสำหรับทวีตเตอร์ฝงั ลงตรงใจกลาง ช่องว่างกระบอก voice coil ของวูฟเฟอร์ ทำให้ สามารถขยับตำแหน่ง voice coil ของทวีตเตอร์ให้ ตรงกับวูฟเฟอร์ได้เป็นผลสำเร็จ ทาง KEF จึงเรียก
ไดรเวอร์แบบนีว้ า่ Co-incident drive unit ซึง่ แก้ไข ปัญหาเรือ่ ง Time Alignment ลงได้ ข้างต้นเป็นเพียงหลักการและแนวคิดของ Uni-Q คราวนีม้ าถึงของจริงกันบ้าง All New Uni-Q Driver Array ในลำโพง New Q series ถูกพัฒนาต่อยอด ความคิดมาจาก Concept Blade project ในส่วน
ประกอบหลั ก 4 ส่ ว นสำคั ญ อย่ า ง Tangerine Waveguide, Optimal Dome Shape, Stiffened Dome และ Z-Flex Surround ซึง่ จะขอพูดสรุปแยก เป็นหัวข้อพร้อมภาพประกอบในกรอบแยก All New Uni-Q design สำหรับลำโพงรุน่ Q 500 ใช้ไดรเวอร์ Uni-Q ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 130 มิลลิเมตร ทวีต เตอร์ภายในขนาด 25 มิลลิเมตร ไม่ได้พัฒนาเพียงแค่ Uni-Q Driver เท่านั้น ลำโพงในซีรสี ใ์ หม่ยงั มีเทคนิคทีน่ า่ สนใจอีกหลายอย่าง ไม่วา่ จะเป็น Vented Tweeter การเพิม่ ความยาวท่อ ช่องอากาศแบบปิดหลังโดมทวีตเตอร์ให้ยาวมากขึน้ เป็นการลดการสะท้อนกลับของความถี่สูงที่เกิดขึ้น ทางด้านหลังโดมทวีตเตอร์กลับมากระทบตัวโดมทวีต เตอร์เอง ซึง่ มีผลต่อคุณภาพเสียงโดยตรง การเลือก อุปกรณ์ในการทำ Crossover network คัดเลือก อุปกรณ์เกรดคุณภาพ สำหรับลำโพงรุน่ Q 500 ถูก ออกแบบวงจร Crossover network เป็นแบบ 2.5 way ผสานการทำงานของ Uni-Q driver เข้ากับวูฟ เฟอร์กรวยและ voice coil ผลิตจาก aluminium ขนาด 130 มิลลิเมตร จำนวน 1 ตัว ฟังไม่ผดิ ครับ สำหรับวัสดุที่ใช้ทำ voice coil สำหรับวูฟเฟอร์
Q 500 และทุกรุ่นในซีรีส์ทำมาจาก aluminium เหตุผลที่ใช้อะลูมิเนียมเป็นวัสดุในการผลิต voice coil มาจากเหตุผลเดียวกับทีใ่ ช้ทำกรวยลำโพง คือ เรือ่ งความทนทานและน้ำหนักเบา มาถึงตรงนีห้ ลายคนเริม่ สงสัยแล้วไดรเวอร์อกี 2 ตัวทีเ่ หลือของ Q 500 มันคืออะไร มี Uni-Q มีวฟู เฟอร์แล้ว แต่ยงั มีไดรเวอร์อกี 2 ตัวทีไ่ ม่ได้แจ้งข้อมูล ใจเย็นครับของดีตอ้ งไว้ทหี ลัง เจ้าไดรเวอร์อกี 2 ตัวที่ เหลือของ Q 500 อันที่จริงไม่ได้มีหน้าที่ผลิตเสียง โดยตรง เป็นลักษณะการออกแบบระบบตูล้ ำโพงอีก ชนิดหนึง่ ซึง่ นำข้อดีของระบบตูเ้ ปิดและตูป้ ดิ มารวมไว้ ด้วยกัน ด้วยการเจาะช่องติดตัง้ ไดรเวอร์ทไี่ ม่มี voice coil เข้าไปกับตูร้ ะบบปิด ช่วยรักษาปริมาตรอากาศไว้ ภายในตู้ แต่จะดีกว่าตูป้ ดิ ตรงทีอ่ ากาศภายในตูจ้ ะไม่ โดนบีบอัดในจังหวะความถี่ย่านต่ำทำงานหนักๆ อากาศภายในตู้จะขยับตัวผลักกรวยลำโพงที่ไม่มี voice coil เข้าออกตามจังหวะการอัดอากาศ ระบบตู้
เป็นธรรมดาสำหรับลำโพงใหม่ๆ ทีต่ อ้ งทำการ burn in ลำโพงกันก่อนใช้ งานเพือ่ ให้ชนิ้ ส่วนต่างๆ ได้คอ่ ยๆ ขยับจังหวะเคลือ่ นไหว ก่อนการใช้งานจริง Q 500 คูน่ กี้ เ็ ช่นกัน ยิง่ เป็นครัง้ แรกทีถ่ กู แกะออกจากกล่องใช้งาน การเบิรน์ ลำโพงจำเป็นอย่างยิง่ ครัง้ แรกทีไ่ ด้ยนิ เสียงจาก Q 500 คูน่ ี้ มีแววความน่า สนใจในน้ำเสียงในหลายจุด สิง่ หนึง่ ทีเ่ ด่นชัดคือความชัดเจนของเสียงกลางที่ แฝงไว้ด้วยรายละเอียดเสียง ซึ่งสามารถได้ยินได้ในเกือบทุกพื้นที่รอบๆ บริเวณจุดนัง่ ฟัง อยากได้ยนิ เสียงจริงเร็วๆ ซะแล้วสิครับ เพื่อความรวดเร็วในการเบิร์นจึงนำแผ่นช่วยเบิร์นที่บันทึกสัญญาณ ความถี่เสียงไล่เรียงความถี่ทุ้มกลางแหลม ตลอดรวมความถี่รวมมาเป็น
กลุม่ ฟังแล้วเหมือนยุงตีกนั มาช่วยให้ไดรเวอร์ของ Q 500 ขยับตัวทำงานได้ ครบทุกย่านความถี่ เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาเปล่า ในระหว่างปล่อย ความถีไ่ ล่ตงั้ แต่ 20Hz ขึน้ ไปเป็นสเต็ป Octave จนสุด 20kHz ผมได้ลอง ฟังหาการตอบสนองทางความถีข่ องลำโพงคูน่ ดี้ ว้ ยหู เพือ่ ดูพฒ ั นาการของ ลำโพง เพราะจริงๆ แล้วยังไงการใช้หใู นการฟังเสียงความถีเ่ พียวๆ มีความผิด พลาดมากกว่าการใช้เครือ่ งมือวัดอยูแ่ ล้ว แต่แค่ฟงั แนวโน้มจากช่วงต้นๆ การ ใช้งานว่าลำโพงสามารถสนองตอบทางความถีไ่ ด้จากไหนถึงไหน จนเลยช่วง การเบิรน์ สัก 80 ชัว่ โมงขึน้ ไปแล้ว กลับมาฟังดูใหม่วา่ มีความแตกต่างกัน อย่างไร ทัง้ ด้วยการฟังจากการไล่ความถีแ่ ละจากเพลงทัว่ ๆ ไป ผลจากการฟังด้วยการปล่อยความถี่ไล่เรียงในชั่วโมงแรกๆ ของการ เบิรน์ ความถีท่ ไี่ ด้ยนิ จาก Q 500 ณ ตำแหน่งนัง่ ฟังห่างลำโพงประมาณ 2 เมตร ได้ยนิ ความถีเ่ ริม่ ที่ 63Hz แบบแผ่วเบา ชัดขึน้ อีกระดับที่ 80Hz และ ความดังอยูใ่ นระดับเดียวกันตัง้ แต่ 100Hz ขึน้ ไป ส่วนในย่านความถีส่ งู จะ ค่อยๆ เบาลงทีค่ วามถี่ 16kHz สำหรับการฟังเพลงทัว่ ๆ ไปในช่วงแรกลำโพง คู่นี้ให้โทนเสียงเด่นในย่านกลางส่วนในย่านทุ้มดูหนาติดช้าไม่ค่อยมีฐาน ย่านแหลมมีหางเสียงบ้าง ระหว่างรอให้ลำโพงเข้าทีเ่ ข้าทาง ความสงสัยในเรือ่ งไดรเวอร์ ABR ยัง ไม่หมด ผมเลยลองสังเกตการขยับตัวของกรวยลำโพงทั้งหมด พบว่า
ไดรเวอร์ทงั้ 4 จะมีลกั ษณะการขยับตัวแบบเป็นคูก่ นั โดยไดรเวอร์ Uni-Q กับ ไดรเวอร์ตวั ทีส่ ามนับจากบน จะมีจงั หวะขยับพร้อมกัน ส่วนไดรเวอร์ตวั ทีส่ อง กับสีม่ จี งั หวะขยับพร้อมกัน เมือ่ ลองเอาหูแนบฟังหน้าไดรเวอร์ตวั ที่ 2-3-4 พบว่าไดรเวอร์ตวั ที่ 2 เท่านัน้ ทีม่ เี สียงพุง่ ออกมาจากไดรเวอร์ จึงอาจสรุปได้ ว่าไดรเวอร์ตวั ที่ 3 และ 4 น่าจะเป็น ABR ยังไม่หมดความสงสัยครับสำหรับการออกแบบวงจร Crossover networkของ Q 500 ทีเ่ ป็นแบบ 2 ทางครึง่ กับการทำงานของ Uni-Q drive ทีม่ ที วีตเตอร์และวูฟเฟอร์อยูใ่ นตัวเดียวกัน ทำงานร่วมกับวูฟเฟอร์อกี หนึง่ ตัวนัน้ มีลกั ษณะการต่อวงจรอย่างไร การทดสอบง่ายๆ ทำได้โดยหมุน่ ปุม่ เชือ่ มต่อขัว้ ลำโพงทวนเข็มนาฬิกาจนสุดจะพบกับแถบสีเหลืองเป็นการใช้ งานแบบ Bi-wire จากนั้นใช้สายลำโพง single wire ต่อขั้วลำโพง LF ทดลองปล่อยความถีฟ่ งั เสียงจาก Uni-Q กับวูฟเฟอร์ตวั ล่าง ผลปรากฏว่า
วูฟเฟอร์ตวั ล่างทำงานในย่านความถีต่ ำ่ ๆ ประมาณ 60–100Hz เท่านัน้ ส่วน วูฟเฟอร์ของ Uni-Q ทำงานตัง้ แต่ 60Hz ถึงประมาณ 8kHz เมือ่ ลองสลับ สายลำโพงมาต่อเข้ากับขัว้ HF ปล่อยความถีใ่ ห้ทวีตเตอร์ จะเริม่ ได้ยนิ ความ ตัง้ แต่ 1kHz แบบเบาๆ ค่อยๆ ดังขึน้ จนอยูใ่ นระดับปกติทปี่ ระมาณ 2.5kHz สรุปได้วา่ การออกแบบวงจร Crossover network ของ Q 500 คูน่ จี้ ะเน้น
085
GM2000
TEST
REPORT หนักการทำงานไปในส่วนของ Uni-Q driver เพือ่ ให้ เสียงออกมาจากจุดกำเนิดเดียวกัน ส่วนวูฟเฟอร์ใต้ Uni-Q เป็นส่วนช่วยเติมเต็มการทำงานด้านความถี่ ต่ำของ Uni-Q ไม่ได้แบ่งแยกการทำงานจึงเป็นทีม่ า ของวงจร crossover network แบบ 2.5 way กลับมาที่การจัดวางตำแหน่งลำโพง Q 500 ภายในห้องทดสอบขนาดกว้าง 3.6 เมตร ยาว 5.6 เมตร ในช่วงแรกจัดวางลำโพงในระยะห่างจากผนังข้าง 80 เซนติเมตร ห่างผนังหน้าห้อง 180 เซนติเมตร น้ำ เสียงในย่านกลางแหลมคมชัดเสียงในย่านต่ำเบาบาง เวทีเสียงกระจุกตัวอยู่ระหว่างลำโพงไม่แผ่ออกทาง ด้านข้างเท่าทีค่ วร เมือ่ ทำการดึงลำโพงออกห่างจาก กันอาการกระจุกตัวของเวทีเสียงดีขึ้นเป็นลำดับ แต่ เสียงในย่านต่ำยังเบาบางไม่คมเข้มเท่าทีค่ วร เมือ่ ขยับ ลำโพงเข้าใกล้ผนังอยูท่ รี่ ะยะ 170 เซนติเมตร ความ คมเข้มของเสียงในย่านต่ำปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจน หัวเสียงชัดหางเสียงไม่ค่อยทอดตัว ฐานเสียงที่แผ่ กระจายลงพืน้ ไม่คอ่ ยมี เลยลองขยับลำโพงมาหาจุด นัง่ ฟังการแผ่ตวั ของฐานเสียงเริม่ ดีขนึ้ จนสุดท้ายตำแหน่งการวางลำโพง Q 500 ใน ห้องทดสอบขนาดกว้าง 3.6 เมตร ยาว 5.6 เมตร มา หยุดอยูท่ ตี่ ำแหน่งขอบลำโพงด้านนอกห่างผนังข้าง72 เซนติเมตร และขอบหน้าลำโพงห่างผนังหน้าห้อง 177 เซนติเมตร จากการทดลองหาตำแหน่งของลำโพง Q 500 คู่นี้พบว่าเป็นลำโพงที่แสดงความต่างของเสียง เมือ่ ขยับตำแหน่งลำโพงได้อย่างชัดเจน อย่างบางช่วง ของการขยับลำโพง เพียงแค่ขยับลำโพงห่างกันอีกข้าง ละครึง่ เซนติเมตรจากเวทีเสียงอยูเ่ ต็มความกว้างห้อง กลับขยายตัวออกมาทางด้านข้างห้องอย่างกับลำโพงที่ ให้เสียงเซอร์ราวนด์ ซึ่ง ณ จุดนี้เวทีเสียงตรงกลาง ระหว่างลำโพงจะเบาบางลงด้วย ระยะห่างลำโพงกับ ผนังหน้าห้องมีอาการเช่นเดียวกันหากดึงลำโพงให้เข้า ใกล้จดุ นัง่ ฟังมากขึน้ (ห่างผนังหน้าห้องมากขึน้ ) เวที เสียงทางด้านลึกจะเบาบางลดความลึกถอยเลยหลัง ผนังห้องเข้ามาอยูเ่ พียงแค่หลังลำโพง อีกทัง้ หัวเสียงจะ ลดความคม ฐานเสียงไม่แผ่กว้างฟังแล้วไม่เป็นตัว นอกจากเรื่ อ งระยะตำแหน่ ง จะมี ค วามสำคั ญ ต่ อ คุณภาพเสียงแล้วเรือ่ งการปรับเซ็ตระดับน้ำให้ลำโพง ตัง้ ตรงไม่เอียงซ้ายขวาหน้าหลังมีสว่ นช่วยเรือ่ งมิตเิ วที เสียงให้นิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยเพิ่มความมั่นคงให้กับ ลำโพงไม่สนั่ เวลาโดนเบสกระแทก บางช่วงของการทดสอบได้ใช้คอมพิวเตอร์เล่น เพลงทีบ่ นั ทึกแบบ Flac file ที่ resolution ต่างๆ กัน ผ่านเครือ่ ง DAC (M2TECH : Young DAC) ต่อใช้ งานเป็นต้นเสียงของซิสเต็ม ลำโพง Q 500 สามารถ ถ่ า ยทอดความแตกต่ า งของต้ น ฉบั บไม่ ว่ า จะเป็ น ฟอร์แมต 16 bit 44.1kHz, 24bit 44.1kHz จนไปถึง 24bit 176.4kHz (โดยไม่ใช้การ Up sampling ของ DAC) ลำโพงคู่นี้แสดงรายละเอียดเสียงออกมาได้ อย่างชัดเจน แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการ สนองตอบสัญญาณเสียงระดับ High Resolution ของลำโพง Q 500 ได้เป็นอย่างดี
GM2000 086
All music
เมือ่ ทุกอย่างลงตัวความมันจึงบังเกิดกับ Q 500 คูน่ ี้ จริงๆ เพราะไม่วา่ จะใส่แผ่นเพลงแนวไหน ไทย เทศ หรือใต้ดิน ลำโพงคู่นี้แสดงตัวตนของเสียงจากแผ่น ออกมาได้ชัดเจน ไม่ว่าจะบันทึกมาดีสุดขีดระดับ High Resolution หรือแบบพืน้ ๆ ทัว่ ไป จนถึงระดับ โหดเสียงนัวๆ อึดอัดๆ แบบแนว Metal ลำโพงคูน่ ไี้ ม่ หวัน่ แจกแจงแนวดนตรีเหล่านัน้ ออกมาได้ชดั เจนทัง้ เรือ่ งรายละเอียดเสียงและแนวเสียงในการบันทึก สิ่งที่โดดเด่นที่สุดสำหรับ Q 500 คู่นี้คือราย ละเอียดของเสียงทีส่ ะอาดชัดเจน โทนเสียงออกไปทาง กลางเปิดโปร่งแสดงรายละเอียดเสียงได้ชดั เจนดังเห็น ได้จากเสียงร้องของนักร้องหลายๆ คนในแผ่น Best audiophile voice ลำโพง Q 500 สามารถแสดง
สำเนียงเสียงที่แท้จริงของ Jheena Lodwick ผ่าน เพลง Perhaps love ออกมาได้หวานน่าฟังชวนฝัน ต่างจากเสียงของ Salena Jones ในเพลง You light up my life จากอัลบัม้ ชุดเดียวกัน ความเปิดโปรงของ Q 500 ทีแ่ สดงออกมานัน้ ยัง มาพร้อมกับรายละเอียดของเสียงทัง้ ในย่านกลางและ แหลมผ่านความกังวานของเสียง triangle จากเพลง somewhere, somebody ของ Jennifer Warnes ทีไ่ ด้ยนิ ใสจนสามารถจับการสัน่ ไปมาของ triangle บริเวณกลางเวทีเสียงได้ ในแผ่น Top 12 in Gold เพลง Carmen fantasy ก็เช่นกัน เสียงเครือ่ งเคาะ ต่ า งๆ กั ง วาลใสทอดหางเสี ย งอย่ า งน่ า ฟั ง แสดง ตำแหน่งชิน้ ดนตรีได้ชดั เจน ยิง่ ในเพลง Limehouse blues อัลบัม้ Jazz at the pawnshop ลำโพง Q 500 ถ่ายทอดเสียง glockenspiel ออกมาได้สมจริง เห็นถึงความเป็นโลหะของตัว glockenspiel ได้ ชัดเจน แม้ตวั ทวีตเตอร์ของลำโพงจะเป็นโลหะแต่เสียง ที่ได้ยินไม่แสดงอาการกัดหูแต่อย่างไร ยิ่งช่วงล้อไป กับคาริเน็ทลำโพงสามารถแยกตัวเสียงของเครื่อง ดนตรีทงั้ สองชิน้ ออกจากกันได้เด็ดขาดโดยยังคงรักษา บรรยากาศไว้ครบถ้วน เรือ่ งความลืน่ ไหลของเสียงจาก Q 500 อยูใ่ น ระดับดีเลยทีเดียว ให้ได้ทงั้ รายละเอียดของหัวเสียงที่ คมและไหลต่อเนื่องไปตามการชักคันสีของศิลปิน อย่างในแผ่น Top 12 in Gold เพลง Butterfly Lover ถ่ายทอดสำเนียงเสียงจีนออกมาชัดเจนตาม
ติดเสียงการชักไปจนจบเพลงแบบไม่รตู้ วั โดยเฉพาะ เพลง Carmen-fantasy ในหลายๆ เวอร์ชนั่ ลำโพงคู่ นีแ้ สดงอารมณ์ของผูเ้ ล่นแต่ละคนออกมาได้ชดั เจนไม่ ว่าจะเศร้าแบบโหยหา หรือหดหู่แบบดุดัน Q 500 แยกแยะความรูส้ กึ ออกมาได้ชดั เจน ไม่ได้หวานเป็นอย่างเดียว Q 500 ถ่ายทอด ความสนุกสนานและมิติเสียงออกมาได้พร้อมๆ กัน ผ่านเพลง Bohemian Rhapsody ของ Queen ไม่ ว่าจะเป็นเรื่องการแยกตำแหน่งเสียงประสานในต้น เพลงที่ชัดเจน เสียงเปียโนที่สดใสผสานไปกับเสียง กลองและกีตาร์ได้กลมกลืน จนไปถึงท่อนฮุคทีม่ กี าร โยนเสียงไปมา ลำโพงสามารถเคลื่อนย้ายเสียงได้ รวดเร็ว ถึงช่วงโหมเสียงจากเครือ่ งดนตรีหลายๆ ชิน้ ลำโพงยังคงรักษาโทนเสียงได้ดไี ม่มอี าการจัดจ้านโดย เฉพาะเสียงกีตาร์ แม้ลำโพง Q 500 จะตัวไม่ใหญ่แถมระบบตูย้ งั เป็นแบบ Passive Radiator ลำโพงยังสามารถให้ พลังเสียงในย่านต่ำได้ชดั เจนไม่คลุมเครือ หัวเสียงคม ชัดมีฐานเสียงแผ่กระจายให้รู้สึกอาจจะติดนุ่มไปนิด แต่ยงั คงแรงปะทะและรายละเอียดของเสียงไว้ครบทุก ย่านความถีไ่ ม่เกิดอาการเบสรบกวนเสียงกลาง เห็น ได้จากเพลง Jazz variants แผ่น Manger test CD ทีท่ งั้ เพลงมีแต่เสียงของเครือ่ งเคาะครบทุกย่านความถี่ ตั้งแต่กลองใหญ่ ที่อยู่กลางเวทีลึกไปทางด้านหลัง ลอยเลยผนังห้องเข้าไป หัวเสียงกลองยิง่ ใหญ่ฐานเสียง แผ่กว้างจนรูส้ กึ มาถึงจุดนัง่ ฟัง กลองทิมปานีทางด้าน ขวา หัวเสียงคมเข้มปลายเสียงสั่นตามการรูดหนัง กลองในบางช่วง กลองชุดทางด้านมุมซ้ายให้เสียงกระ เดือ่ งแน่นๆ ลำโพงสามารถแยกจังหวะการตีได้ชดั เจน แม้เสียงทีม่ คี วามใกล้เคียงกันอย่าง Xylophone ที่ ตัวรางทำจากไม้กบั glockenspiel ทีต่ วั รางทำจาก โลหะ Q 500 สามารถแยกโทนเสียงและตำแหน่ง ออกมาได้ชดั เจน แม้เพลงนีจ้ ะยาวกว่า 8 นาที แต่ดว้ ย ประสิทธิภาพของลำโพงสามารถรองรับสัญญาณ transient ได้ถกู ต้องรวดเร็วไม่เกิดการสัน่ ค้างแม้ใน ความถีต่ ำ่ ๆ อีกทัง้ การแยกแยะตำแหน่งตัวเสียงชัดเจน เหมือนนัง่ ชมวงเล่นอยูข่ า้ งหน้า KEF Q 500 คูน่ เี้ ป็นลำโพงทีใ่ ห้ประสบการณ์กบั นักเล่นได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเรื่องมิติเสียงชัดเจน แยกแยะเลเยอร์ของเสียงได้ดี โทนเสียงกลางแหลมที่ เปิดกว้างจนสามารถถ่ายทอดเสียงที่มีรายละเอียด สูงๆ ได้แบบสะอาดๆ ปลายเสียงแหลมพลิว้ ๆ แบบไม่ กัดหู ความลืน่ ไหลของน้ำเสียงหวานๆ หรือแม้แต่เสียง ทีม่ ี transient สูงๆ ลำโพงคูน่ ยี้ งั สามารถถ่ายทอดตัว เสียงออกมาได้คมชัดแม้จะอ่อนด้อยในเรือ่ งฐานเสียง ที่ไม่ใหญ่มากนัก แต่ก็แลกมากับความสะอาดของ เนือ้ เสียงในย่านต่ำ คุม้ ค่าครับสำหรับผูท้ กี่ ำลังจะขยับ ขึน้ มาเล่นลำโพงระดับกลางด้วยน้ำเสียงทีส่ ะอาดและ มิตเิ สียงคมชัด สามารถเพิม่ ประสบการณ์ในการเล่น เครือ่ งเสียงขึน้ ไปอีกระดับ ตัวแทนจำหน่าย : บริษทั โฮม ไฮ-ไฟ จำกัด โทร.0-2864-1317, 0-2864-3141 ราคา : 43,900 บาท (โปรโมชัน ่ )