บทที่ 1 การเสนอโครงการศิลปนิพนธ์ 1. ลักษณะของโครงการศิลปนิพนธ์ 1.1 การออกแบบขึ้นใหม่ (Innovative Project) คือ ผลงานที่ผู้เสนอได้ค้นคว้าและออกแบบขึ้นใหม่โดย สามารถที่จะวิเคราะห์ให้เห็นถึงลักษณะสร้างสรรค์ให้แก่คณะกรรมการศิลปนิพนธ์ได้ 1.2 การออกแบบเพื่อพัฒนา (Developing Project) คือ ผลงานที่มีอยู่แล้วในสังคม ซึ่งผู้เสนอประสงค์จะ พัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิม โดยสามารถที่จะวิเคราะห์ให้เห็นถึงข้อที่ดีกว่าให้กับคณะกรรมการศิลปนิพนธ์ได้ 2. การเลือกโครงการศิลปนิพนธ์ นักศึกษาจะต้องเลือกปฏิบัติโครงการศิลปนิพนธ์ในขอบเขตดังต่อไปนี้ 2.1 การออกแบบเอกลักษณ์องค์กร (Corporate Identity Design) 2.2 การออกแบบโฆษณา (Advertising Design) 2.3 การออกแบบเลขนศิลป์สิ่งพิมพ์ (Printing Graphics Design) o การออกแบบเครื่องหมายและสัญลักษณ์ (Sign, Symbol) o การออกแบบตัวอักษร (Lettering Design) o การออกแบบหนังสือต่างๆ (Book Design) 2.4 การออกแบบเลขนศิลป์สิ่งแวดล้อม (Environmental Graphics Design) o ภาพบนผนังและกาแพง (Graphic Wall) o ระบบป้ายสัญลักษณ์ (Signage System) o การออกแบบจัดที่แสดงและนิทรรศการ (Display and Exhibition Design) 2.5 การออกแบบเลขนศิลป์เคลื่อนไหว (Motion Graphic Design) o อนิเมชั่นสองมิติ หรือ สามมิติ (2-D or 3-D Animation) o ภาพยนตร์ หรือ วิดีโอ (Film or Video) 2.6 การออกแบบภาพประกอบ (Illustration Design) o ภาพวาด (Hand Draw, Painting) o ภาพถ่าย (Photography) o ภาพดิจิตอล (Digital Image) 2.7 การออกแบบสื่ออินเตอร์แอคทีพ (Interactive Media Design) o เว็ปไซต์ (Web site) o เกมส์ (Game) 2.8 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Packaging Design) 2.9 การค้นคว้าและทดลองทางด้านเทคนิควิทยา (Technology) ต่างๆ ที่จะช่วยให้มีพัฒนาการทาง เลขนศิลป์ เพื่อให้เป็นนวกรรมหรือนวัตกรรม (Innovation) ใหม่ทางการออกแบบ เช่น การค้นคว้าเรื่องของสี เรื่องการ ถ่ายภาพและสิ่งที่เกี่ยวข้อง และเทคนิคการสื่อความหมาย ฯลฯ
3. รูปแบบโครงการศิลปนิพนธ์ ในการเสนอโครงการศิลปนิพนธ์ต่อคณะกรรมการศิลปนิพนธ์จะต้องเป็นไปตามแบบมาตรฐานที่กาหนดซึ่ง ประกอบด้วย 3.1 ชื่อผู้นาเสนอโครงการ 3.2 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ 3.3 หัวข้อโครงการ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 3.4 ที่มาและความสาคัญของโครงการ 3.5 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3.6 ขอบเขตของการศึกษา ได้แก่ ประเภทของงาน จานวนของผลงาน และเทคนิคการสร้างงาน 3.7 วิธีการศึกษาและขั้นตอนการดาเนินงาน 3.8 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 4. การเสนอโครงการศิลปนิพนธ์ โครงการศิลปนิพนธ์ที่จะเสนอต่อคณะกรรมการฯ ต้องจัดพิมพ์ไห้ชัดเจนตามรูปแบบที่กาหนด และส่งโครงการ ทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการตรวจและตัดสินศิลปนิพนธ์ ภายในเวลาที่คณะฯ กาหนด หากพ้นกาหนดดังกล่าวจะถือว่า สละสิทธิ์ในการทาศิลปนิพนธ์ในปีการศึกษานั้น เอกสารเสนอโครงการศิลปนิพนธ์ประกอบด้วย 4.1 หนังสือขออนุมัติโครงการศิลปนิพนธ์ (ศอท.1) จานวน 1 ชุด 4.2 หนังสือรับรองสิทธิการทาศิลปนิพนธ์ (ศอท. 2) จานวน 1 ชุด 4.3 เอกสารโครงการศิลปนิพนธ์ (ศอท. 3) จานวน เท่ากับกรรมการ 4.4 รวมผลงานออกแบบ (Port Folio) จานวน 1 ชุด นาเสนอเป็นเล่ม ซีดีรอม หรือวิดีโอ ก็ได้ 5. การอนุมัติโครงการศิลปนิพนธ์ คณะกรรมการศิลปนิพนธ์จะเป็นผู้พิจารณาอนุมัติโครงการ ในระหว่างการพิจารณาอาจให้นักศึกษาชี้แจงและ ตอบข้อซักถามของคณะกรรมการ หลังจากนั้นจะประกาศรายชื่อศิลปนิพนธ์ได้ อนึ่ง การพิจารณาและวินิจฉัยของคณะกรรมการศิลปนิพนธ์ถือเป็นที่สิ้นสุดของการอนุมัติโครงการ นักศึกษา จะต้องแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงใดๆ มิได้
บทที่ 2 ศิลปนิพนธ์ 1. ลักษณะงานศิลปนิพนธ์ 1.1 ผลงาน ออกแบบร่าง (Sketch Design) 1.2 ผลงานออกแบบจริง 1.3 หุ่นจาลอง (ขนาดมาตราส่วนที่ เหมาะสม) 1.4 เอกสารประกอบ ศิลปนิพนธ์และซีดีรอม CD-Rom 2. การส่งงานและนาเสนอศิลปนิพนธ์ 2.1 การส่งผลงานออกแบบ เอกสารประกอบศิลปนิพนธ์ และการนาเสนอผลงาน จะต้องกระทาภายใน วัน และเวลาที่ ภาควิชาฯ กาหนด หากพ้นกาหนดจะถูกหักคะแนน หรือหมดสิทธิ์ ในกรณีดังต่อไปนี้ - ส่งผลงานออกแบบ หรือ เอกสารประกอบศิลปนิพนธ์ ล่าช้า (ไม่นามาส่งภายในวัน-เวลาที่กาหนด ภายในเวลาราชการ ตั้งแต่ 8.30-16.30 น.) นักศึกษาจะหมดสิทธิ์ในการนาเสนอผลงาน และให้ถอนรายวิชา (w) - นาเสนอผลงานล่าช้า (ไม่มาภายในวัน-เวลาและลาดับที่ ในการนาเสนอผลงานตามที่ภาควิชาฯกาหนด) หักคะแนน 15% ของคะแนนเต็มในการตรวจครั้งนั้น และ/หรือ คณะกรรมการฯ อาจพิจารณาตัดสินให้นักศึกษาถอนรายวิชา (w) 2.2 การนาเสนอผลงานเพื่อการตรวจและตัดสินทุกครั้ง นักศึกษาต้องแต่งกายชุดนักศึกษาที่ถูกต้องตาม ข้อกาหนดของ มหาวิทยาลัย 3. การตรวจและตัดสินศิลปนิพนธ์ 3.1 การตรวจ ต.1 นักศึกษาต้องเสนอแนวความคิดในการออกแบบร่างเบื้องต้น (Preliminary Sketch Design) พร้อมเอกสารประกอบศิลปนิพนธ์บทที่ 1 และ 2 ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์ ทุกสัปดาห์ โดยอาจารย์ที่ ปรึกษาศิลปนิพนธ์จะเป็นผู้ตรวจและตัดสินศิลปนิพนธ์ เกณฑ์ในการตรวจ ต.1 ประกอบด้วย การค้นคว้า การวิเคราะห์และนาข้อมูลมาใช้พัฒนาแนวความคิด แนวความคิดและและการถ่ายทอดแนวความคิด (Design Concept & Execution) ปริมาณและคุณภาพของแบบร่าง พัฒนาการของแบบร่าง 3.2 การตรวจ ต.2 นักศึกษาต้องเสนอผลงานแบบร่างที่สมบูรณ์ (Comprehensive Sketch Design) หรือ หุ่นจาลอง (Model) หรือผลงานแบบร่างในลักษณะอื่นๆ ของผลงานทั้งหมดในโครงการ ต่อคณะกรรมการตรวจและ ตัดสินศิลปนิพนธ์ในวันและเวลาที่ภาควิชาฯ กาหนด พร้อมแบบร่างที่นาเสนอ ในการตรวจขั้น ต.1 เพื่อแสดงพัฒนาการ ของงานออกแบบ และเอกสารประกอบศิลปนิพนธ์บทที่ 1 และ 2 ที่เสร็จสมบูรณ์ ในกรณีที่นักศึกษาไม่ผ่านในการตรวจ ครั้งนี้ คณะกรรมการฯ จะพิจารณาตัดสินให้นักศึกษาถอนรายวิชา
เกณฑ์ในการตรวจ ต.2 ประกอบด้วย การค้นคว้า การวิเคราะห์และนาข้อมูลมาใช้พัฒนาแนวความคิด แนวความคิดและและการถ่ายทอดแนวความคิด (Design Concept & Execution) ปริมาณและคุณภาพของแบบร่าง พัฒนาการของแบบร่าง 3.3 การตรวจ ต.3 นักศึกษาต้องเสนอผลงานออกแบบที่เสร็จสมบูรณ์ จานวนไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่ง ของงาน ทั้งหมดในโครงการ เปรียบเทียบกับแบบร่างที่นาเสนอในการตรวจขั้น ต.2 พร้อมเอกสาร แนวทางการปรับปรุงแก้ไขงาน จากการตรวจขั้น ต.2 โดยก่อนวันตรวจขั้น ต.3 นักศึกษาจะต้องส่งผลงาน ให้ภาควิชาฯ ภายในระยะเวลาที่กาหนด ใน กรณีที่นักศึกษาไม่ผ่านในการตรวจครั้งนี้ คณะกรรมการฯ จะพิจารณาตัดสินให้นักศึกษาถอนรายวิชา เกณฑ์ในการตรวจ ต.3 ประกอบด้วย พัฒนาการของงานออกแบบ (Design Development) คุณภาพของผลงานออกแบบ (Quality of Design Works) ปริมาณผลงานออกแบบครบตามที่กาหนด 3.4 การตรวจ ต.4 นักศึกษาต้องเสนอผลงานออกแบบที่เสร็จสมบูรณ์ทั้งหมดในโครงการ ต่อคณะกรรมการ ตรวจและ ตัดสินศิลปนิพนธ์ เกณฑ์ในการตรวจ ต.4 ประกอบด้วย ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Idea) ความงามและทักษะการออกแบบ (Artistic and Design Skill) การใช้งานและการสื่อสาร (Function and Communication) การนาเสนอผลงาน (Presentation) ผลการตัดสินให้คิดเป็นค่าเฉลี่ยจากการตรวจของอาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์ รวมกับคณะกรรมการตรวจ และตัดสิน ศิลปนิพนธ์ โดยกาหนดให้ การตรวจ ต.1 คิดเป็น 15 % ของคะแนนรวมตลอดโครงการ การตรวจ ต.2 พิจารณา ผลการตรวจเป็น ผ่าน / ไม่ผ่าน การตรวจ ต.3 คิดเป็น 25 % ของคะแนนรวมตลอดโครงการ การตรวจ ต.4 คิดเป็น 60 % ของคะแนนรวมตลอดโครงการ 4. การขอถอนรายวิชาศิลปนิพนธ์ การขอถอนรายวิชาศิลปนิพนธ์ โดยมีผลการศึกษาเป็น W (Withdrawn) จะกระทาได้หลังจากประกาศผลการ ตรวจ ครั้งที่ 2 จนถึงวันสุดท้าย ที่มหาวิทยาลัยกาหนดให้ถอนรายวิชาในแต่ละภาคการศึกษา หากพ้นกาหนดดังกล่าว จะถือว่า ตก โดยมีผลการศึกษาเป็น F (Fail)
5. ศิลปนิพนธ์ที่สมบูรณ์ ศิลปนิพนธ์ที่สมบูรณ์จะต้องประกอบไปด้วย 5.1 ผลงานออกแบบ 1 ชุด 5.2 เอกสารประกอบศิลปนิพนธ์ 2 ชุด 5.3 ซีดีรอม 2 ชุด (ใส่ซองติดไว้ด้านในของปกหลังเอกสารประกอบศิลปนิพนธ์) บรรจุข้อมูลดังนี้ - ไฟล์ภาพผลงานออกแบบในโครงการทั้งหมด (.JPEG) - ไฟล์ภาพยนตร์ (.MOV, .AVI) - ไฟล์เอกสารประกอบศิลปนิพนธ์ทั้งเล่ม (PDF, .Doc)
บทที่ 3 ข้อกาหนดในการจัดพิมพ์เอกสารประกอบศิลปนิพนธ์ ในการจัดพิมพ์เอกสาร
ประกอบศิลปนิพนธ์ จะต้องเป็นไปตามข้อกาหนดอย่างเคร่งครัดดังต่อไปนี้
1. กระดาษที่ใช้พิมพ์ ให้ใช้การดาษขาวไม่มีบรรทัด ขนาดมาตรฐาน
A4 และมีความหนาไม่ต่ากว่า 80 แกรม
2. การพิมพ์ 2.1 ให้พิมพ์เพียงหน้าเดียวของกระดาษที่กาหนดมาตรฐานไว้ 2.2 ให้พิมพ์โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word เท่านั้น 2.3 ตัวอักษรภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ให้ตัวอักษร ( Font) ชื่อ Cordia New ขนาด 16 Points ทั้ง ตัวอักษรธรรมดา (Normal) และตัวอักษรหนา (Bold) 2.4 ตัวอักษรที่พิมพ์ต้องเป็นสีดา และใช้ตัวพิมพ์ขนาดเดียวกันตลอดทั้งเล่ม 2.5 การพิมพ์ให้ใช้ เครื่องพิมพ์เลเซอร์ ( Laser Printer) หรือเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท (Inkjet Printer) ที่มีความ ละเอียดไม่น้อยกว่า 300 dpi 3. การกาหนดกรอบข้อความ การกาหนดกรอบข้อความในการพิมพ์มีรายละเอียดดังนี้ 3.1 ขอบบน สาหรับหน้าปกติ ให้เว้นระยะจากขอบบน 1.5 นิ้ว (3.81 ซ.ม.) และสาหรับหน้าที่ขึ้นบทใหม่ เว้น ห่างจากขอบบน 2 นิ้ว โดยวัดจากขอบบนสุดถึงยอดตัวอักษรบรรทัดแรก 3.2 ขอบล่าง ให้เว้นระยะห่างจากขอบล่าง 1 นิ้ว (2.54 ซ.ม.) โดยวัดจากฐานตัวอักษรบรรทัดสุดท้าย 3.3 ขอบซ้าย ให้เว้นยะยะห่างจากขอบซ้าย 1.5 นิ้ว (3.81 ซ.ม.) 3.4 ขอบขวา ให้เว้นระยะห่างจากขอบขวา 1 นิ้ว (2.54 ซ.ม.) 4. การเว้นระยะพิมพ์ การย่อหน้าให้ย่อหน้าจากกรอบข้อความ 0.5 นิ้ว และหากพิมพ์คาสุดท้ายไม่จบในบรรทัดนั้น ๆ ให้ยกคานั้น ไปพิมพ์ใหม่ในบรรทัดต่อไป เช่น คาว่า นิเทศศิลป์ ไม่ให้แยกคา นิเทศ-ศิลป์ หรือการออกแบบ ไม่ให้แยกเป็น การออกแบบ เป็นต้น 5. การเว้นระยะระหว่างบรรทัด ความเรียงของวิทยานิพนธ์ให้เว้นระยะ 1 ช่วงบรรทัดพิมพ์เดี่ยว ส่วนการเว้นบรรทัดเมื่อมีการขึ้นหัวข้อใหม่ให้ เว้นระยะ 2 ช่วงบรรทัดพิมพ์เดี่ยว
ช่วงบรรทัดพิมพ์ ช่วงบรรทัดพิมพ์เดี่ยว ช่วงบรรทัดพิมพ์เดี่ยว
เว้นระยะ 1 ช่วงบรรทัดพิมพ์เดี่ยว เว้นระยะ 2 ช่วงบรรทัดพิมพ์เดี่ยว
ช่วงบรรทัดพิมพ์เดี่ยว
6. การลาดับหน้าและพิมพ์เลขกากับหน้า ในการลาดับหน้าและพิมพ์เลขกากับหน้า 6.1 ลาดับหน้าส่วนนา หน้าเรียงตามลาดับ
พยัญชนะกากับหน้า
ปกใน ใบอนุติหรือใบรับรองศิลปนิพนธ์ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ หน้าแรกของสารบัญ หน้าถัดไปของสารบัญ (ถ้ามี) สารบัญตาราง (ถ้ามี) สารบัญภาพประกอบ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ
หมายถึง ให้พิมพ์พยัญชนะกากับที่มุมบนขวาของกระดาษ ด้านบนลงมา 1 นิ้วและห่างจากขอบกระดาษด้านขวาเข้ามา 1 นิ้ว หมายถึง ไม่ต้องต้องพิมพ์พยัญชนะกากับหน้า แต่ให้นับหน้ารวมไปด้วย
การพิมพ์พยัญชนะกากับหน้า พิมพ์ ไม่พิมพ์
A4 โดยให้พิมพ์ห่างจากขอบกระดาษ
6.2 ลาดับหน้าส่วนประกอบเนื้อหา และส่วนประกอบตอนท้าย ลาดับหน้า
ตัวเลขกากับหน้า
หน้าแรกของบทที่ 1 หน้าถัดไปของบทที่ 1 หน้าแรกของบทที่ 2 หน้าถัดไปของบทที่ 2 หน้าแรกของบทที่ 3 หน้าถัดไปของบทที่ 3
1 2 3 4... 8 9 10 11... 18 19 20 21...
การพิมพ์พยัญชนะกากับหน้า พิมพ์ ไม่พิมพ์
หน้าแรกของบทที่ 4 หน้าถัดไปของบทที่ 4 หน้าแรกของบทที่ 5 หน้าถัดไปของบทที่ 5 หน้าบอกตอนบรรณานุกรม หน้าแรกของบรรณานุกรม หน้าถัดไปของบรรณานุกรม หน้าบอกตอนภาคผนวก หน้าบอกตอนภาคผนวก ก หน้าแรกของภาคผนวก ก
45 46 47 48... 52 53 54 55... 60 61 62 63 64... 68 69 70 71 72...
หมายถึง ให้พิมพ์พยัญชนะกากับที่มุมบนขวาของกระดาษ ด้านบนลงมา 1 นิ้วและห่างจากขอบกระดาษด้านขวาเข้ามา 1 นิ้ว หมายถึง ไม่ต้องต้องพิมพ์พยัญชนะกากับหน้า แต่ให้นับหน้ารวมไปด้วย
A4 โดยให้พิมพ์ห่างจากขอบกระดาษ
บทที่ 4 ส่วนประกอบของศิลปนิพนธ์ภาคเอกสาร ศิลปนิพนธ์ภาคเอกสาร ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ตามลาดับ 5 ส่วน คือ 1. ส่วนนา 2. ส่วนเนื้อความ 3. บรรณานุกรม 4. ภาคผนวก 5. ประวัติผู้เขียน 1. ส่วนนา 1.1 ปกนอก ( cover) เป็นปกแข็งสีดา มีรายละเอียดของชื่อศิลปนิพนธ์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ชื่อชื่อสกุลของนักศึกษา และรายละเอียดหลัก (ดูตัวอย่างท้ายเล่ม) 1.2 แผ่นรองปก เป็นกระดาษขาวคั่น 1 แผ่น ถัดจากปกนอกด้านหน้าและก่อนถึงปกหลัง 1.3 ปกใน (title page) แสดงรายละเอียดของชื่อศิลปนิพนธ์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ,ชื่อ-ชื่อสกุลของ นักศึกษา และรายละเอียดหลัก เหมือนปกนอก 1.4 ใบอนุมัติ หรือในรับรองศิลปนิพนธ์ (approval sheet) มีข้อความระบุถึงการอนุมัติโดยคณบดี และ คณะกรรมการตรวจและตัดสินศิลปนิพนธ์ (ดูตัวอย่างท้ายเล่ม) 1.5 บทคัดย่อ(abstract) เป็นความเรียงโดยย่อภายใน 1 หน้ากระดาษ แสดงรายละเอียดของชื่อศิลปนิพนธ์ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) อาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์ ชื่อนักศึกษา หลักสูตร ปีการศึกษาที่ส่งศิลปนิพนธ์ ความ เป็นมาของโครงการ แนวความคิด การดาเนินงาน ปัญหาและแนวทางการแก้ไข และสรุปผลและข้อคิดเห็นเสนอแนะ 1.6 กิตติกรรมประกาศ (acknowledgments) เป็นความเรียงภายใน 1 หน้ากระดาษ กล่าวขอบคุณที่มีส่วน สาเร็จ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะกล่าวขอบคุณอาจารย์ที่ปรึกษา คณะกรรมการตรวจและตัดสินศิลปนิพนธ์ ผู้ร่วมมือในการให้ ข้อมูล ผู้ที่ให้ความช่วยเหลือจนโครงการสาเร็จลุล่วง ทั้งนี้จะต้องระบุชื่อและนามสกุลจริงของบุคคลดังกล่าว หรือชื่อของ หน่วยงานที่ให้ความอนุเคราะห์ 1.7 สารบัญ ( table contents) เป็นรายการที่แสดงถึงส่วนประกอบสาคัญทั้งหมดของศิลปนิพนธ์ภาคเอกสาร โดยเรียงตามลาดับเลขหน้า ซึ่งแบ่งออกเป็น 1.7.1 สารบัญเรื่องเป็นรายการในส่วนของเนื้อความทั้งหมด 1.7.2 สารบัญตาราง เป็นรายการในส่วนของต ารางทั้งหมด 1.7.3 สารบัญภาพประกอบ เป็นรายการในส่วนของรูปภาพทั้งหมด
2. ส่วนเนื้อความ แบ่งออกเป็นบทรวมทั้งสิ้น 5 บท ดังนี้ 2.1 บทที่ 1 บทนา เป็นการเขียนความเรียงโดยกล่าวถึงหัวข้อต่าง ๆ เรียงลาดับดังต่อไปนี้ 2.1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงการ 2.1.2 วัตถุประสงค์ของ การศึกษา 2.1.3 ขอบเขตของการศึกษา 2.1.4 วิธีการศึกษาและขั้นตอนการดาเนินงาน 2.1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2.2 บทที่ 2 เอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้อง แบ่งเป็นส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ 2.2.1 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงการ อันได้แก่ ข้อมูลทั้งภาคเอกสารหรือภาพถ่ายจากหนังสือ งานวิจัย การสัมภาษณ์ เป็นต้น ที่ช่วยสนับสนุนวัตถุประสงค์และความเป็นไปได้ของโครงการ 2.2.2 หลักการและทฤษฎีที่สนับสนุนการสร้างผลงานด้านการออกแบบของงานในโครงการ 2.2.3 ข้อสรุปแนวความคิดที่ได้จากการศึกษาข้อมูล (Design Brief) ประกอบด้วย ปัญหาการออกแบบ (Problem) วัตถุประสงค์ของการออกแบบ (Objective) กลุ่มเป้าหมาย (Target Group): ลักษณะทางกายภาพ (Demographic) และลักษณะทาง จิตภาพ (Psychographic) แนวความคิด (Concept) ส่วนสนับสนุนแนวความคิด (Concept Support) อารมณ์และความรู้สึก (Mood and Tone) การตอบสนองที่คาดหวังจากกลุ่มเป้าหมาย (Desired Response) 2.3 บทที่ 3 การดาเนินงาน เป็นการรวบรวมขั้นตอนของการทางานตลอดทั้งโครงการ เพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบ ถึงพัฒนาการของการทางานทุกขั้นตอนจนสาเร็จเป็นผลงานขั้นสุดท้าย อันประกอบด้วย 2.3. 1 ภาพผลงานออกแบบร่างทั้งหมดที่ส่งในการตรวจครั้งที่ 1 พร้อมคาอธิบายข้อเสนอแนะของคณะ กรรรมการการตรวจศิลปนิพนธ์ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยอาจนาคาแนะนาของคณะกรรมการตรวจฯ มา ใช้หรือไม่นามาใช้พร้อมเหตุผลโดยละเอียด 2.3. 2 ภาพผลงานออกแบบร่างทั้งหมดที่ส่งในการตรวจครั้งที่ 2 พร้อมคาอธิบายข้อเสนอแนะของคณะ กรรรมการการตรวจศิลปนิพนธ์ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยอาจนาคาแนะนาของคณะกรรมการตรวจฯ มา ใช้หรือไม่นามาใช้พร้อมเหตุผลโดยละเอียด 2.3. 3 ภาพผลงานออกแบบร่างทั้งหมดที่ส่งในการตรวจครั้งที่ 3 พร้อมคาอธิบายข้อเสนอแนะของคณะ กรรรมการการตรวจศิลปนิพนธ์ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยอาจนาคาแนะนาของคณะกรรมการตรวจฯ มา ใช้หรือไม่นามาใช้พร้อมเหตุผลโดยละเอียด 2.4 บทที่ 4 ผลงานภาคออกแบบ เป็นการรวบรวมภาพผลงานการออกแบบที่เสร็จสมบูรณ์ทุกชิ้นใน โครงการจากการตรวจครั้งที่ 4 (ต.4) พร้อมด้วยคาอธิบายโดยละเอียด
2.5 บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ เป็นการสรุปขั้นตอนของการทาโครงการที่ผ่านมาว่าบรรลุตาม วัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้หรือไม่เพียงใด ปัญหา และแนวทางการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินงานตามโครงการ พร้อมข้อเสนอขอแนะที่เป็นประโยชน์สาหรับผู้ที่สนใจจะศึกษาโครงการในลักษณะคล้ายคลึงกันหรือโครงการที่ต้อง อาศัยข้อมูลจากโครงการนี้เป็นพื้นฐานต่อไป 3. บรรณานุกรม เป็นการรวบรวมรายชื่อแหล่งข้อมูลที่ใช้ประกอบการศึกษาและอ้างอิง อันได้แก่ รายชื่อหนังสือวารสารสิ่งพิมพ์ ต่างๆ โสตทัศนวัสดุ การสัมภาษณ์ ฯลฯ โดยส่วนอ้างอิงจะอยู่ต่อจากส่วนเนื้อความ และก่อนถึงบรรณานุกรมจะต้องมี หน้าบอกตอนภาพบรรณานุกรมพิมพ์กึ่งกลางหน้ากระดาษขึ้นต้นทุกครั้ง ซึ่งใช้เกณฑ์การเขียนบรรณานุกรมดังนี้ 3.1 การเขียนบรรณานุกรม แบ่งตามประเภทของแหล่งข้อมูลดังนี้ หนังสือ ข้อมูลที่จาเป็นต้องมีคือ ชื่อหนังสือ สานักพิมพ์ สถานที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ และข้อมูลอื่นๆ ที่อาจระบุเพิ่มเติมเพื่อ ความชัดเจนของรายการอ้างอิง ได้แก่ ครั้งที่พิมพ์ ชื่อชุดหนังสือและลาดับที่ จานวนเล่ม จานวนหน้าทั้งหมด แบบแผน: ผู้แต่ง, ชื่อหนังสือ.จานวนเล่ม (ถ้ามี).ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี).ชื่อชุดหนังสือและลาดับที่ (ถ้ามี).สถานที่ พิมพ์: สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์. ผู้แต่งหรือบรรณาธิการ - ถ้าผู้แต่งเป็นชาวต่างประเทศให้ลงชื่อสกุล ตามด้วยอักษรย่อของชื่อต้น และชื่อกลาง (ถ้ามี) - ใช้เครื่องหมาย, แบ่งชื่อสกุลและอักษรย่อของชื่อต้น และชื่อกลาง เช่น Reynolds, F.E. - ถ้าผู้แต่งชาวไทย ให้ลงชื่อก่อนแล้วตามด้วยนามสกุล ถึงแม้เขียนเอกสารเป็นภาษาต่างประเทศก็ ตาม - ผู้แต่งชาวไทยมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ ให้พิมพ์ชื่อตามด้วยเครื่องหมาย, และฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ เช่น บริเทพธานี, พระ วิจิตรวาทการ, หลวง - ถ้าผู้แต่ง 2 คน หรือมากกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 6 คน ลงชื่อผู้แต่งทุกคน ใช้คาว่าและหรือ , and ก่อน ชื่อผู้แต่งคนสุดท้าย แต่ถามีผู้แต่ง 6 คน หรือมากกว่านั้นขึ้นไปให้ใช้และคนอื่นๆ et al. หรือ and others เช่น Fukutake, T., and Morioka, K. Hanson, H. Borlaug, N.E., and Andersin, R.G. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และสุชาติ สวัสดิศรี. วิญญู อังคณารักษ์ และคนอื่น ๆ - ถ้าผู้แต่งเป็นสถาบัน ให้ลงชื่อเต็มของสถาบัน ชื่อสถาบันที่มีคานาหน้าซ้า เช่น กรม กระทรวง ฯลฯ ให้กลับคาเหล่านี้ เช่น ประชาสัมพันธ์, กรม. - ถ้ามีผู้แต่ง ให้เขียนชื่อเรื่องในตาแหน่งของผู้แต่ง - ถ้าเป็นหนังสือที่มีบรรณาธิการ ให้เขียนชื่อบรรณาธิการแทนผู้แต่ง และใส่คาว่าบรรณาธิการต่อท้าย - ปิดท้ายชื่อผู้แต่งและบรรณาธิการด้วยเครื่องหมาย .
ชื่อหนังสือ - พิมพ์ตัวใหญ่เฉพาะอักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องรอง (ถ้ามี)และชื่อเฉพาะ (กรณีเอกสาร ภาษาต่างประเทศ) - ชื่อหนังสือตัวหนา หรือ ขีดเส้นใต้ - ลงข้อมูลที่จาเป็นสาหรับการสืบค้น เช่น ครั้งที่พิมพ์ (3 rd. ed.) / เล่มที่ ( vol.2) ไว้ในวงเล็บตามหลัง ชื่อเรื่องโดย ไม่มีเครื่องหมาย . ระหว่างชื่อเรื่องและข้อความในวงเล็บ - จบข้อความส่วนนี้ด้วยเครื่องหมาย . สถานที่พิมพ์และสานักพิมพ์ - ให้ระบุชื่อเมือง หรือชื่อรัฐหรือประเทศที่สานักพิมพ์นั้นตั้งอยู่กากับ - ถ้าในเอกสาร สานักพิมพ์ตั้งอยู่ในเมืองมากกว่า 1 แห่ง ให้เลือกเมืองแรก - ชื่อสานักพิมพ์เขียนให้สั้น แต่รู้เรื่อง สานักพิมพ์ที่เป็นสมาคม มหาวิทยาลัย ให้ระบุชื่อเต็ม เช่น สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, สานักพิมพ์แพร่พิทยา - ถ้าไม่ปรากฏสานักพิมพ์หรือสถานที่พิมพ์ให้ลง ม.ป.ท. หรือ n.p. แล้วแต่กรณี - จบข้อความส่วนนี้แล้วด้วยเครื่องหมาย . ปีที่พิมพ์ - ระบุปีที่พิมพ์งานนั้น (สาหรับงานที่ไม่ตีพิมพ์ ปีที่พิมพ์ หมายถึงปีที่ผลิตงานนั้น) - ถ้าไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ให้ระบุ ม.ป.ป. หรือ n.d. แล้วแต่กรณี - จบด้วยเครื่องหมาย . จานวนหน้า - เป็นรายละเอียดที่อาจระบุเพิ่มเติมเป็นข้อความท้ายสุด - ถ้าต้องการระบุจานวนหน้าทั้งหมดของเอกสารนั้น ให้ระบุจานวน และคา pp. เช่น 365 pp. หรือ 365 หน้า ตัวอย่าง คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สานักงาน. รวมบทความวิชาการด้านเศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพมหานคร : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,2519. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ สุชาติ สวัสดิศรี, บรรณาธิการ. ประวัติศาสตร์และนักประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ประพันธ์สาส์น, 2519. เติม วิภาคย์พจนกิจ. ประวัติศาสตร์อีสาน. 2 เล่ม. พิมพ์ครั้งที่ 2. พระนคร : สานักพิมพ์สมาคมสังคมศาสตร์ แห่งประเทศไทย, 2515. แน้ช, จอร์ช; วอลดอร์ฟ, แดน; และ ไรซ์, โรเบริร์ต อี.มหาวิทยาลัยกับชุมชนเมือง. แปลโดย อัปสร ทรัยอัน และ คนอื่น ๆ. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แพร่พิทยา, 2518 บริหารเทพธานี, พระ. พงศาวดารชาติไทย ความเป็นมาของชาติแต่ยุคดึกดาบรรพ์. เล่ม 3. พระนคร : โรงพิมพ์ ส. ธรรมภักดี, 2496.
สมบูรณ์ ไพรินทร์. บันทึกเหตุการณ์ทางการเมืองตั้งแต่ 24 มิถุนายน 2475 - 25 ธันวาคม 2515. 2 เล่ม. (ม.ป.ท., ม.ป.ป.) Elliott, H. Public personnel administration : A value perspective. Reston, Va :Reston Publishing Co., 1985. ……………………………………………………………………………………………………………………………... หนังสือพิมพ์ในโอกาสพิเศษ หนังสือพิมพ์ในโอกาสพิเศษ เช่น หนังสืองานศพ งานวันสถาปนา หรืออื่นๆ ที่ถือเป็นเอกสารอ้างอิงที่ สาคัญ ให้ลงรายการเหมือนหนังสือ โดยเพิ่มเติม โดยเพิ่มเติมรายละเอียดของหนังสือดังกล่าวไว้ในวงเล็บท้าย รายการ ตัวอย่าง เช่น ขจร สุขพานิช. เมื่อเซอร์ยอนเบาริงเข้ามาเจริญทางพระราชไมตรี. พระนคร : โรงพิมพ์มหากุฎราชวิทยาลัย. 2547. (มหาราชกุฎราชวิทยาลัย พิมพ์ถวาย ม.จ.ชัชวลิต เกษมสันต์ ในมงคลสมัยมีพระชนม์ 5 รอบ 12 มิถุนายน 2547). ครูไทย. เมื่อคอมมิวนิสต์ครองเมือง. ใน อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า วิภาวดีรังสิต. หน้า 96-148. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี, 2520 (คณะรัฐมนตรีจัดพิมพ์ถวายพระเกียรติและสดุดีวีรกรรม). ……………………………………………………………………………………………………………………………... หนังสือแปล หนังสือแปล มีแบบแผนและหลักเกณฑ์ในการบันทึกรายการตามลาดับดังนี้ แบบแผน: ผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง. แปลโดย ผู้แปล. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์. ตัวอย่าง ไพรซ์, โรเบิร์ด อี. มหาวิทยาลัยกับชุมชนเมือง. แปลโดย อัปสร ทรัยอัน และคนอื่นๆ. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แพร่วิทยา, 2518. ……………………………………………………………………………………………………………………………... บทความในหนังสือ บทความในหนังสือ มีแบบแผนและหลักเกณฑ์ในการบันทึกรายการดังนี้ แบบแผน: ผู้เขียนบทความ. ชื่อบทความ. ใน ชื่อบรรณาธิการ, ชื่อเรื่อง, เลขหน้า. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์. ผู้เขียนบทความ - ใช้หลักเดียวกับชื่อผู้แต่งหนังสือ ชื่อบทความ - ใช้หลักเดียวกับชื่อหนังสือ และหลังชื่อบทความใช้เครื่องหมาย. เลขหน้า - หมายถึงเลขที่ปรากฏในเล่ม ให้ระบุคาว่า หน้า หรือ pp. และตามด้วยเลขหน้า เช่น pp. 467468/ หน้า 13-26 - หลังเลขหน้าใช้เครื่องหมาย .
ตัวอย่าง ชัยพร วิชชาวุธ. การสอนในระดับอุดมศึกษา. ใน การสอนและการวัดผลการศึกษา. หน้า 1-30. พระนคร : ฝ่ายวิชาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518. สุมิตร คุณานุกร. การวางแผนการสอน. ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (บรรณาธิการ), คู่มืออาจารย์ด้านการเรียนการสอน. หน้า 58-69. กรุงเทพมหานคร : หน่วยพัฒนาคณาจารย์ ฝ่ายวิชาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520 ……………………………………………………………………………………………………………………………... บทความในวารสาร บทความในวารสาร มีแบบแผนในการบันทึกรายการ ดังนี้ แบบแผน: ผู้เขียนบทความ. ชื่อบทความ, ชื่อวารสาร. ปีท(ี่ เดือน ปี) : เลขหน้า. ผู้เขียนบทความ ชื่อบทความ ชื่อวารสาร -
ใช้หลักการเดียวกับชื่อผู้แต่งหนังสือ ใช้หลักการเดียวกับชื่อหนังสือ หลังชื่อบทความใส่เครื่องหมาย .
ใช้ตามที่ปรากฏในหน้าปกในของวารสาร เขียนชื่อเต็ม โดยใช้ตัวใหญ่ตัวแรกทุกตัว หรือในกรณีใช้ชื่อย่อต้องเป็นชื่อย่อที่นักวิชาการใน ศาสตร์สาขานั้นยอมรับ (กรณีเอกสารภาษาต่างประเทศ) - ชื่อวารสารใช้ตัวหนักหรือขีดเส้นใต้ - หลังชื่อวารสารไม่มีเครื่องหมายใดๆ ปีที่ หรือเล่มที่ (Volume) - วารสารที่มีทั้งปีที่หรือเล่มที่ (volume) และฉบับที(่ number) ระบุเฉพาะปีที่หรือเล่มที่เป็นตัวเลข - วารสารที่ไม่มีปีที่หรือเล่มที่ มีแต่ฉบับที่ หรือ No.เช่น ฉบับที่ 2 หรือ No.2 เดือน ปี - ให้ใช้ตามที่ปรากฏในวารสาร - ชื่อเดือนให้สะกดเต็ม ตามด้วยปี โดยใส่วงเล็บ - หลังเดือนปีให้ใช้เครื่องหมาย . ตัวอย่าง ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. ข้อสังเกตเกี่ยวกับการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของไทย. วารสารมนุษยศาสตร์. 16 (เมษายน 2518) : 35-40. Alexander, C.A city is not a tree. Architectural Forum. 122 (April 1968) : (May 1965) : 58-91. ……………………………………………………………………………………………………………………………...
บทความในหนังสือพิมพ์ รายการอ้างอิงของบทความในหนังสือพิมพ์คล้ายกับของบทความในวารสาร ต่างกันตรงที่ไม่มีการระบุ ปีที่หรือเล่มที่ แต่ระบุวันที่ของหนังสือพิมพ์เพิ่มเติม แบบแผน : ผู้เขียนบทความ. ชื่อบทความ. ชื่อหนังสือพิมพ์. (วัน เดือน ปี) : เลขหน้า. วัน เดือน ปี - ให้ลงวัน เดือน ปี ตามลาดับ ตัวอย่าง คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. ข้าวไกลนา. สยามรัฐ. (12 มกราคม 2579) : 3. Behind that noble prize. Nation Review. (12 December 1976) : 6. Savareid, E. What’s right with sight and sound journalism. Saturday Review. (2 October 1976)” 18-21. ……………………………………………………………………………………………………………………………... บทความในสารานุกรม รายการอ้างอิงบทความในสารานุกรมคล้ายกับรายการอ้างอิงบทความในวารสาร แบบแผน: ผู้เขียนบทความ. ชื่อบทความ. ชื่อสารานุกรม. (ปีที่พิมพ์) : เลขหน้า. ตัวอย่าง เจริญ อินทรเกษตร. ฐานันดร. สารรานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน 11 (2515-2516) :6912-6930. Kaplan, L. Library cooperation in the United Stater. Encyclopedia of Libray and Information Science 15 (1975) : 241-244. ……………………………………………………………………………………………………………………………... บทวิจารณ์หนังสือในวารสาร บทวิจารณ์หนังสือในวารสาร มีแบบแผนดังนี้ ตัวอย่าง เกศนี หงสนันท์. วิจารณ์เรื่อง การวัดในการจัดงานบุคคล, โดย สวัสดิ์ สุคนธรังสี. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ 14 (กรกฎาคม 2517) : 379-381. Millar, T.B. Review of Three and a half powers : The new balance in Asia, by H.C. Hintom. Pacific Affairs 48 ( Spring 1976) : 114-115. ……………………………………………………………………………………………………………………………... วิทยานิพนธ์ รายการอ้างอิงวิทยานิพนธ์จะระบุ ชื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์ ชื่อวิทยานิพนธ์ ระดับวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัย ปีที่พิมพ์ แบบแผน: ผู้เขียนวิทยานิพนธ์. ชื่อวิทยานิพนธ์. ระดับวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัย, ปีที่พิมพ์.
ผู้เขียนวิทยานิพนธ์ - ใช้หลักการเดียวกับผู้แต่งหนังสือ ชื่อวิทยานิพนธ์ - ใช้หลักเดียวกับชื่อบทความในวารสาร - ใช้ตัวหนา และตามหลังชื่อวิทยานิพนธ์ด้วยเครื่องหมาย .. ระดับ - โดยพิจารณาจากเอกสารซึ่งระบุบนปกหน้า และปกในว่าเป็นเอกสารในระดับใด ดังเช่น ศิลปนิพนธ์ ปริญญาศิลปะบัณฑิต, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต - ตามด้วยชื่อมหาวิทยาลัย และใส่เครื่องหมาย ปีที่พิมพ์ - ใช้ตามที่ปรากฏในหน้าปกในของวิทยานิพนธ์ - หลังปีที่พิมพ์ใส่เครื่องหมาย . ตัวอย่าง วรวิทย์ วงศ์ศิริอารักษ์. กรณีศึกษาการถ่ายทอกกระบวนการผ้าปักของชาวเขาเผ่าเย้า. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518 ……………………………………………………………………………………………………………………………... จุลสาร เอกสารอัดสาเนา และเอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์อื่นๆ ใช้แบบแผนเดียวกับหนังสือ และให้วงเล็บคาว่า อัดสาเนา (หรือ Mimeographed) พิมพ์ดีด (หรือ Typewritten) ตัวอย่าง แรงงาน,กรม. แนะแนวอาชีพการขาย. กรุงเทพมหานคร : กรมแรงงาน. 2517. (อัดสาเนา) Economic and Social Commission for Asia and the Pacific. ESCAP trade promotion centre : What it is, what it does, 1976-1677. Bangkok : ESCAP, 1976.(Mimeographed) ……………………………………………………………………………………………………………………………... โสตทัศนวัสดุ ให้ระบุชื่อผู้จัดทา และวงเล็บหน้าที่ที่รับผิดชอบ นอกจากนี้ให้ระบุลักษณะของโสตทัศนวัสดุ เช่น สไลด์ ฟิล์ม เทปบันทึกภาพ เทปบันทึกเสียง ฟิล์มสตริป ไว้ในวงเล็บท้ายชื่อเรื่อง ตามด้วยชื่อสถานที่และหน่วยงานที่ เผยแพร่ (ถ้ามี) ตัวอย่าง พจน์ สารสิน (ผู้พูด). ความอยู่รอดของเศรษฐกิจไทย (แถบบันทึกเสียง). 13 เมษายน 2520 ……………………………………………………………………………………………………………………………...
แหล่งฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ 1). ฐานข้อมูลซีดีรอม ( CD-ROM) เป็นการสืบข้นข้อมูลประเภทภาพหรือตัวอักษรจากแผ่นดิสก์ที่ บรรจุข้อมูลสาเร็จรูปไว้แล้ว ซึ่งสามารสืบค้นได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งเครื่องอ่านแผ่นซีดีรอมได้เลย 2). ฐานข้อมูลระบบออนไลน์ ( Online) เป็นการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกลออกไป ภายใต้เครือข่ายอินเตอร์เน็ต แบบแผน: ชื่อผู้แต่งหรือสร้างฐานข้อมูล. (ประเภทของฐานข้อมูล). (ปีที่ผลิตหรือปีที่สิบค้น). ชื่อเรื่อง. เมืองที่ผลิต : ผู้ผลิต (ถ้ามี). เข้าถึงได้จาก : แหล่งเก็บรักษาข้อมูลหลัก/แหล่งเก็บรักษาข้อมูลย่อย. ชื่อผู้แต่งหรือสร้างฐานข้อมูล - ถ้าไม่มีชื่อผู้แต่งให้ใช้ชื่อเรื่องขึ้นต้นแทน ประเภทของฐานข้อมูล - หมายถึง ซีดีรอม และออนไลน์ ตัวอย่าง ไอศกรีม. (ออนไลน์). (1988). เข้าถึงได้จาก : http:/www.car.chula.ac.th/mis/mkdata98/ice-html. Danials, H. and Anghileri, J. (CD-ROM).(1995). Secondary Mathematics and Special Education Needs. NewYork : Available : ERIC (1992-March 1996). ……………………………………………………………………………………………………………………………... โปรมแกรมคอมพิวเตอร์ ผู้รับผิดชอบหลักในการผลิตโปรมแกรม อาจเป็นในนามบุคคลหรือบริษัท ถ้าไม่มีชื่อผู้รับผิดชอบให้ระบุ ชื่อโปรมแกรม แบบแผน: ชื่อรับผิดชอบหลักในการผลิตโปรแกรม. (ปีที่ผลิต). ชื่อโปรแกรม. สถานที่ผลิต : ชื่อผู้ผลิต หรือเผยแพร่. ตัวอย่าง Miller, M.E. (1933). The Interactive Tester (Version 4.0). Westminster (CA) : Psytek Service. ……………………………………………………………………………………………………………………………... 3.2 การเรียงลาดับเอกสาร 3.1 ให้เรียงรายชื่อเอกสารภาษาไทยก่อนเอกสารภาษาต่างประเทศ 3.2 แยกตามประเภทของเอกสาร และโสตทัศนวัสดุ 3.3 การลาดับรายชื่อเอกสารภาษาไทย ให้เรียงตามลาดับตัวอักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่งตามหลัก ราชบัณฑิตยสถาน เอกสารภาษาต่างประเทศให้เรียงตามอักษรตัวแรกของนามสกุล
3.3 การเว้นระยะการพิมพ์หลังเครื่องหมายวรรคตอน ดังนี้ หลังเครื่องหมาย มหัพภาค ( . period ) เว้น 2 ช่วงอักษร หลังเครื่องหมาย จุลดภาค ( , comma ) เว้น 1 ช่วงอักษร หลังเครื่องหมาย อัฒภาค ( ; semi-colon ) เว้น 1 ช่วงอักษร หลังเครื่องหมาย มหัพภาคคู่ ( : colon ) เว้น 1 ช่วงอักษร ก่อนและหลังเครื่องหมาย อัญประกาศ ( “ ” ) เว้น 1 ช่วงอักษร 4. ภาคผนวก (appendix) เป็นเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับศิลปนิพนธ์ แต่ไม่ใช้เนื้อหาที่แท้จริงของศิลปนิพนธ์ เนื้อหาใน ภาคผนวกมีไว้เพื่อขยายความให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาอย่างถ่องแท้มากขึ้น เช่น ตัวอย่าง แบบสอบถาม แผนที่ แผนภูมิ ตารางสถิติ ผลการวิเคราะห์ รวมทั้งหนังสือหรือจดหมายรับรองต่างๆ ฯลฯ หมายเหตุ ก่อนถึงภาคผนวก จะต้องมีหน้าบอกตอนภาคผนวกพิมพ์กึ่งกลางหน้ากระดาษขึ้นต้นทุกครั้ง 5. ประวัติผู้เขียน ให้เขียนโดยจาแนกเป็นหัวข้อตามที่กาหนดตามลาดับ ภายใน 1 หน้ากระดาษ มีรายละเอียดของชื่อสกุล ผู้เขียน, รหัสประจาตัวนักศึกษา, วัน เดือน ปีเกิด, สถานที่เกิด, ประวัติการศึกษาก่อนเข้าศึกษาในสถานศึกษาปัจจุบัน, ปีการศึกษาที่เข้าศึกษา, ปีการศึกษาที่สาเร็จการศึกษา และที่อยู่ปัจจุบัน พร้อมติดรูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว