ลูกกุญแจ 27 ดอก ไขพระคัมภีร์ใหม่ ตอนที่ 1/2

Page 1

มัทธิว - 2 เธสะโลนิกา
2 ลูกกุญแจ 27 ดอก ไขพระคริสตธรรมใหม โดย วิลเลียม ดับบลิว. ออร จัดพิมพ และจําหนวย โดย กองคริสตเตียนบรรณาศาสตร 28/2 ซอยประชาอุทิศ ถนนปฏิพัทธ กรุงเทพมหานคร, 4

By

3 แปลและเรียบเรียง จาก
27 Keys To the NEW TESTAMENT
พิมพที่โรงพิมพเจริญธรรม 93 – 95 ถนนมหรรณพกรุงเทพฯ นายการุณสกุลรัตนเจริญผูพิมพผูโฆษณา 16 โทร. 229242, 213320
SCRIPTURE PRESS

ยังทําใหเห็นถึงลักษณะเดนเปน พิเศษอันบงบอกถึงความเปนเอกภาพของพระคริสตธรรมคัมภีรไดดีและงายยิ่งขึ้นนั่นคือ

เหตุการณในพระคริสตธรรมใหมไดเกิดขึ้นสมจริงตามคําพยากรณในพระคัมภีรเดิม 4 พระคริสตธรรมคัมภีรเปนหนังสือแหงความจริงทั้งปวงที่พระเจาประทานแกมนุษย 5 พระคริสตธรรมคัมภีรแทบทุกตอน ลวนแตกลาวถึง

4 คํานํา เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา พระคริสตธรรมคัมภีรเปนหนังสือที่มีขอบเขตกวางขวาง และมี ความหมายลึกซึ้งยากแกการทําความเขาใจไดอยางถองแท ฉะนั้นนอกเหนือจากจะตองทูลขอใหพระ วิญญาณบริสุทธิ์ทรงชวยตีความหมายใหเรา อันเปนหลักที่ปฏิบัติกันอยูโดยทั่วไปแลว บรรดาผูทรง ความรูทั้งหลาย ยังไดคิดหาวิธีตาง ๆ เพื่อชวยใหคริสเตียนและผูสนใจศึกษาธรรมะทั้งหลายไดเขาใจ งายยิ่งขึ้นอีกโสดหนึ่งดวยดังจะเห็นไดจากตําราตางๆซึ่งมีอยูอยางมากมาย สําหรับการเขียนหนังสือ กุญแจไขพระคริสตธรรมคัมภีร ชุดนี้ ก็คงมีเปาหมายเดียวกันนี้ แต มิไดใหรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาไวมากนัก เพราะตองการใหเปนคูมือประกอบการศึกษาที่กระชับ แต ขณะเดียวกันก็ไดบรรจุสาระสําคัญไวอยางเพียงพอ ที่จะทําใหผูอานรูถึงประวัติความเปนมาของพระ ธรรมแตละเลม พรอมทั้งประวัติของผูเขียน เหตุผลในการเขียน และความมุงหมายซึ่งเพียงพอที่จะทํา ใหเกิดความเขาใจ และมีทัศนะอันถูกตองตอพระคริสตธรรมคัมภีร ซึ่งหลักเกณฑตาง ๆ เหลานี้ ออกจะ หายากในวงการตําราคริสเตียน เพราะไมคอยมีผูรวบรวมไวเปนสัดสวนโดยเฉพาะ หรือจะมีบางก็ตอง คนควาจากตําราเลมขนาดใหญตองเสียเวลามากและไมสะดวกเทาที่ควร ดวยเหตุผลดังกลาว เราจึงตองซื้อหนังสือชุดนี้วา”ลูกกุญแจไขพระคริสตธรรมคัมภีร” โดยแบง ออกเปนสองเลมคือ “ลูกกุญแจ 39 ดอก ไขพระคัมภีรเดิม” และ “ลูกกุญแจ 27 ดอก ไขพระคริสตธรรม ใหม” ตามความเหมาะสม หนังสือชุดนี้ นอกจากจะทําใหทานผูอาน เขาใจพระคริสตธรรมโดยถองแท รูเห็นถึงความทุกข ยาก และความเด็ดเดี่ยวในการปฏิบัติภาระหนาที่ของคริสเตียนที่ดีแลว
:1. แมวาพระคริสตธรรมคัมภีรจะประกอบดวยพระธรรมตาง ๆ ถึง 66 เลม แตทุกเลมก็ลวน กลาวถึงพระเจาองคเดียวกัน 2 นับตั้งแตเลมแรกถึงเลมสุดทายมีความตอเนื่องกันโดยไมขาดสาย 3.
การไถมนุษยใหพนจากโทษทัณฑ ความผิดบาป 6. ผูที่เปนศูนยกลางและเปนหลักชัยในพระคริสตธรรมคัมภีรคือพระคริสต

และฐานะในสังคมแตขอเขียนของทานทั้งหลายนั้นก็สอดคลองประสานกันเปนเรื่องเดียวกัน นอกเหนือจากความเขาใจในลักษณะเฉพาะตัวของพระธรรมแตละเลม

และนําเอาหลักธรรมของพระเจาไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันอยางแทจริง

5
7. แมวาผูที่บันทึกพระคริสตธรรมจะมีรวม 40 คน เขียนขึ้นตางกาลสมัย ตางการศึกษา วิชาชีพ
และความเปนเอกภาพ ของพระคริสตธรรมคัมภีรทั้งเลม เปนสวนรวมแลว หนังสือชุดนี้ยังไดใหบทตอน ขอคิดและรายงานไว
ๆ อยางถองแท
ละเอียดพอที่จะทําใหทานผูอานเขาใจปญหาตางๆไดอยางสมประโยชน จงศึกษาพระธรรมแตละเลมอยางจริงจัง พิจารณาประเด็นอันเปนปญหาตาง
แลวทานจะพบ ทางชีวิตอันสวางไสวสมเจตจํานงทุกประการ กองคริสเตียนบรรณศาสตร
6 สารบัญ กุญแจไขพระธรรมมัทธิว ........................................................................................................................ 7 กุญแจไขพระธรรมมาระโก................................................................................................................... 10 กุญแจไขพระธรรมลูกา ......................................................................................................................... 13 กุญแจไขพระธรรมยอหน...................................................................................................................... 16 กุญแจไขพระธรรมกิจการ ..................................................................................................................... 19 กุญแจไขพระธรรมโรม ......................................................................................................................... 22 กุญแจไขพระธรรม 1 โครินธ ................................................................................................................ 25 กุญแจไขพระธรรม 2 โครินธ ................................................................................................................ 28 กุญแจไขพระธรรมกาลาเทีย.................................................................................................................. 30 กุญแจไขพระธรรมเอเฟซัส ................................................................................................................... 33 กุญแจไขพระธรรมฟลิปป ..................................................................................................................... 36 กุญแจไขพระธรรมโคโลสี .................................................................................................................... 39 กุญแจไขพระธรรม 1 เธสะโลนิกา ........................................................................................................ 42 กุญแจไขพระธรรม 2 เธสะโลนิกา ........................................................................................................ 45 กุญแจไขพระธรรม 1 ทิโมธี .................................................................................................................. 48 กุญแจไขพระธรรม 2 ทิโมธี .................................................................................................................. 51 กุญแจไขพระธรรมทิตัส........................................................................................................................ 54 กุญแจไขพระธรรมฟเลโมน .................................................................................................................. 57 กุญแจไขพระธรรมฮีบรู......................................................................................................................... 60 กุญแจไขพระธรรมยากอบ..................................................................................................................... 63 กุญแจไขพระธรรม 1 เปโตร.................................................................................................................. 66 กุญแจไขพระธรรม 2 เปโตร.................................................................................................................. 69 กุญแจไขพระธรรม 1 ยอหน.................................................................................................................. 72 กุญแจไขพระธรรม 2 ยอหน.................................................................................................................. 75 กุญแจไขพระธรรม 3 ยอหน.................................................................................................................. 77 กุญแจไขพระธรรมยูดา.......................................................................................................................... 80 กุญแจไขพระธรรมวิวรณ...................................................................................................................... 82

หนังของดาวิดและเปนแบบของอับราฮามในดานความเสียสละ

7 กุญแจไขพระธรรมมัทธิว 1. ความเปนมา ผูเขียนคือมัทธิว (มีอีกชื่อหนึ่งวา เลวี) คนเก็บภาษี เปนคนเฉลียวฉลาด ชํานาญในการเขียน และเปนนักสังเกตอุปนิสัยของมนุษย มีบานอยูในเมืองกัปเรนาอุม มีความรูในวิชาประวัติศาสตร กาพย กลอนหลักธรรม และคําพยากรณของชาติยิวเปนอยางดี ในการเขียนพระธรรมเลมนี้ ทานไดใชภาษาที่ เขาใจงายตรงไปตรงมาและเปนระเบียบ พระธรรมเลมนี้คงเขียนขึ้นประมาณใน ค ศ 60 คือราว 30 ป ภายหลังการสิ้นพระชนมของพระ เยซูคริสต บรรยายถึงพระคริสตในฐานะเปนกษัตริยเรียบเรียงขึ้นเพื่อชาวยิวโดยเฉพาะ 2. สาระสําคัญ ขอพระธรรมที่สําคัญไดแก 1: 1 ซึ่งสําแดงใหเห็นถึงเคาโครงเรื่อง และจุดมุงหมายของพระ ธรรมเลมนี้วา พระเยซูนาซาเร็ธ ทรงเปนกษัตริยตามพระสัญญาของพระเจา ทรงเปนเชื้อสายฝายเนื้อ
พระธรรมเลมนี้
ผูที่ทําใหคําพยากรณใน พระคัมภีรเดิมสัมฤทธิ์ผลครบถวนบริบูรณ อยางไรก็ดี ชาวยิวกลับไมยอมตอนรับพระองค พระองค ทรงยอมถูกตรึงที่ไมกางเขนเพื่อใหคําพยากรณสัมฤทธิ์ผล (เชนเดียวกันที่อับราฮามถวายอิสอัค) 3. บทตอนที่สําคัญ พระเยซูคริสตกษัตริย ทรงอุทิศพระองคเอง แกชนชาติอิสราเอล (บทที่1-12) พระถูกปฏิเสธ ทรงสิ้นพระชนมไถมนุษยในฐานะพระบุตรทรงฟนคืนพระชนมและเสด็จขึ้นสูสวรรค (บทที่ 13 -28) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมมัทธิว เปนพระธรรมที่เชื่อมโยง ระหวางพระคัมภีรเดิมกับพระคริสตธรรมใหม มี ขออางถึงพระคัมภีรเดิมกวา 60 ขอ และคัดจากพระคัมภีรเดิมอีก 40 ขอ วลีที่ใชมากคือ “เพื่อใหคําของ ศาสดาพยากรณสัมฤทธิ์ผล” พระธรรมมัทธิวไดลําดับวงศจากพระเยซูผูทรงเปนพระมาซีฮายอนหลังไปถึงกษัตริยดาวิด
เนนถึงพระเยซู ในฐานะเปนพระมาซีฮา พระคริสตคือ
8 คําเทศนาที่สําคัญสองครั้งของพระเยซูคริสตคือ คําเทศนาบนภูเขาบทที่ 5,6,7 และที่ภูเขา มะกอกเทศบทที่ 42,25 ทานมัทธิวไดวาดภาพโดยใหเห็นถึงยุคปจจุบัน โดยพยากรณไวในบทที่ 13 ในบทนี้ไดกลาวคํา อุปมาไวถึง 7 เรื่องซึ่งลวนอธิบายถึงเรื่องเดียวกัน 5. หัวขอโดยสังเขป (ทุกขอลวนแตแสดงวาพระเยซูทรงเปนกษัตริย) การประสูติอยางมหัศจรรยของพระเยซูคริสตจอมกษัตริย พระผูเปนเจาทรงคุมครองพระองค ทรงรับบัพติศมาจากยอหน ทรงถูกพญามารทดลอง การปาวประกาศถึงพระองค การสําแดงความมหัศจรรยของพระองค การตระเตรียมเพื่อปฏิบัติพระราชกิจของพระองค ทรงยินยอมรับการปฏิเสธจากชนชาติยิว คําอุปมาเกี่ยวกับแผนดินของพระองค พระเมตตาและพระกรุณาธิคุณอันมั่นคงของพระองค พระสัญญาเกี่ยวกับคริสตจักรของพระองค ทรงจําแลงพระกาย พระดํารัสอันลึกซึ้งเฉียบแหลมของพระองค การเสด็จเขาสูกรุงเยรูซาเล็มอยางมีชัย การสําแดงพระสติปญญาของพระองค พระองคถูกประณามอยางรายแรง การเสด็จกลับมาครั้งที่สองในฐานะเปนพระมหากษัตริย การทํานายถึงการทรยศตอพระองค การสิ้นพระชนมของพระองคเพื่อไถมนุษย การฟนคืนพระชนมอยางมีชัยของพระองค 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ คําเทศนาบนภูเขากลาวถึง
9 1. สมัยที่พระเยซูประทับอยูในโลกนี้ 2. สมัยปจจุบัน 3 การตั้งแผนดินของพระเยซูคริสตในอนาคต ชี้ใหรูจักสังเกตดูพระลักษณะของพระองค การตระเตรียมพระองคเพื่อสั่งสอน การสําแดง ความมหัศจรรยฤทธิ์อํานาจการยอมทนทุกข หนึ่งในสี่สวนของพระธรรมมัทธิว เปนคําบรรยายถึงการสิ้นพระชนม และการฟนคืนพระชนม ของพระคริสต 7. กุญแจไขความเขาใจ พระคริสตทรงเปนพระมหากษัตริย พระองคทรงถูกชาวยิวปฏิเสธไมยอมตอนรับ ทรงถูกตรึง บนไมกางเขน ทรงฟนคืนพระชนมแตก็ยังเปนกษัตริยอยู สักวันหนึ่งพระองคจะพิสูจนใหเห็นถึงความ จริงขอนี้โดยการเสด็จกลับมายังโลก พระธรรมมัทธิว เปนหนังสือที่อานแลวเขาใจงายเนื้อเรื่องชัดเจนแจมแจง ขอใหสังเกตถอยคําที่ ระบุถึงกาลเวลาซึ่งมีอยูหลายครั้งและจงสังเกตดูเหตุการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคตดวย

พระกิตติคุณเลมนี้เขียนที่กรุงโรมและใชถอยคําที่ชาวโรมสามารถเขาใจได พระธรรมเลมนี้มิไดลําดับวงศไว ทั้งนี้เพราะชาวโรมันไมไดจดจอรอคอยพระมาซีฮา

10 กุญแจไขพระธรรมมาระโก 1. ความเปนมา ผูเขียนคือ ยอหน (มีอีกชื่อหนึ่งเปนภาษาโรมันวามาระโก) มารดาชื่อ มาเรีย (กจ.12: 12) เปน หลานชายของบาระนาบา (กจ 13: 5) เปนมิตรสนิทของอาจารยเปโตรเปโตรเรียกทานวา “บุตร” (1 ปต 5: 13) พระกิตติคุณเลมนี้ ทานมาระโกคงบันทึกตามคําบอกเลาของอาจารยเปโตร เมื่อ ครั้งที่ทานอาจารยเปาโล และมาระนาบา ออกไปประกาศพระกิตติคุณ เที่ยวแรกนั้น มาระโกก็ได ติดตามไปดวย แตไปไดเพียงครึ่งทางก็กลับ ดวยเหตุผลนี้อาจารยเปาโลจึงปฏิเสธไมยอมใหไปดวยใน เที่ยวที่สอง (กจ.15: 37-39) แตมาระโกมีประโยชนตอชีวิตบั้นปลายของอาจารยเปาโลมาก (2 ตธ. 4:11) พระธรรมเลมนี้ เขียนขึ้นราว ค ศ 60 เขียนขึ้นสําหรับชาวโรมันโดยเฉพาะ บรรยายถึงพระ คริสตในฐานะเปนผูใชของพระจา 2. สาระสําคัญ มาระโกระบุวาพระคริสตทรงปฏิบัติพระราชกิจของพระองคอยางจริงจัง และไดผลอยางนา มหัศจรรย ทรงเปนผูรับใชของพระเจา คําไขที่สําคัญ คือ “อํานาจ” ขอพระธรรมที่สําคัญ คือ10:45 พระ ธรรมเลมนี้กลาวถึงการสําแดงอิทธิฤทธิ์ไวเดนชัดมากกวาคําสั่งสอน คําที่ใชบอยที่สุดไดแก “ในทันใด นั้น” “ครั้น” “เวลานั้น” “คราวนั้น” พระธรรมเลมนี้มิไดบันทึกลําดับวงศของพระองคไวเพราะคงไมมี ใครสนใจในการลําดับวงศ ของผูที่มีฐานะเปนผูรับใช 3. บทตอนที่สําคัญ พระราชกิจอันมหัศจรรย (บทที่1-9) คําสั่งสอนที่ประเสริฐยิ่ง (บทที่10-14) การเสียสละอัน สูงสงการสิ้นพระชนมและการฟนคืนชนม (บทที่15,16)
ลักษณะพิเศษ
และ ไมไดกลาวถึงบทบัญญัติของชาติยิวหรือคําพยากรณของชาวยิวไวดวย
4.

พระบิดาเจา (ดูยน.15: 24) 7. กุญแจไขความเขาใจ

(1ฮ12, 13)

(14:1-15:47)

11 มาระโก อธิบายถึงการถือศีลอดอาหาร ของพวกฟาริสี (2: 18) และบรรยายวาภูเขามะกอกเทศ อยูตรงหนาโบสถ (13:3) และอื่นๆเพื่อใหผูที่ไมคุนเคยไดเขาใจ ในรพระธรรมมาระโก ไดบันทึกถึงการสําแดงอิทธิฤทธิ์ของพระเยซูไว 20 เรื่องแตกลาวถึงคํา อุปมาเพียง 4 เรื่องเทานั้น ทานยังไดหยิบยกถอยคําของนายรอยทหารชาวโรมซึ่งกลาวไว ณ ที่ซึ่งพระ เยซูถูกตรึงมาอางไวเปนหลักฐานวา “แทจริงทานผูนี้เปนพระราชบุตรของพระเจา” 5. หัวขอโดยสังเขป การสําแดงพระองคของพระองคในฐานะพระบุตรและผูรับใชของพระเจา (1: 1-11) ผูรับใช – พระบุตรถูกทดลองถึงความจงรักภักดีของพระองค
ผูรับใช – พระบุตรระหวางการปฏิบัติพระราชกิจ
ผูรับใช – พระบุตรยอมเชื่อฟงจนกระทั่งวายพระชนม
ผูรับใช – พระบุตรฟนคืนพระชนมและไดรับฤทธานุภาพทั้งสิ้น
6. คําสั่งสอนที่สําคัญ พระธรรมมาระโกเนนถึงเรื่องผีสิง (1: 24, 32-34; 3:11, 12) ปญหาที่อาจเกิดแกผูอานคือเรื่องผี สิงมีจริงหรือไม คนที่ถูกกลาวถึง? ในเรื่องนี้ถูกผีสิงหรือเปนโรคจิต? ความจริงพระคริสตธรรมคัมภีร สอนอยางตรงไปตรงมาวา คนเหลานั้นถูกผีสิงจริง ๆ ไมใชเพียง “คนบา” หรือ “เปนโรคจิต” การที่พระ เยซูทรงขับผีสิงออกนั้น
17 คน สําแดงฤทธิ์อํานาจเหนือธรรมชาติ 9 ครั้ง ขับผีออก 6 ครั้ง ชวยคนที่ตายแลวใหฟนคืนชีพ 3 คน ยิ่ง กวานั้นพระเยซูยังทรงกระทําการอัศจรรยอื่นๆอีกมากซึ่งเราไมรูจํานวน (1: 32-24; 6:54-56) การที่ไดทรงสําแดงฤทธานุภาพของพระเจา ใหปรากฎโดยการกระทําความมหัศจรรยตาง ๆ เหลานี้ เปนเครื่องชี้ใหเห็นถึงฤทธิ์เดชอันแทจริงและพระราชกิจซึ่งพระเยซูคริสตไดรับมอบหมายจาก
ในพระธรรมมาระโก พระองคเปนผูทรงฤทธานุภาพใหญยิ่ง พระองคพรอมเสมอที่จะเผชิญกับเหตุการณทุกอยาง ไมวากรณี
(1:14-13:37)
(16:1-20)
เปนการชี้ใหเห็นวาผีมีจริง และเปนการสําแดงถึงฤทธานุภาพของพระองคที่ ทรงมีเหนือกวาอํานาจของปศาจ การสําแดงอิทธิฤทธิ์เปนจุดเดนในพระธรรมมาระโกพระเยซูทรงรักษาโรคฝายรางกายใหหาย
ขอใหสังเกตดูความกระตือรือรนในการปฏิบัติพระราชกิจของพระองค
12 ใด ๆ พระองคทรงเปน “หลักชัย” ของผูที่ทํางานดวยความกระตือรือรนอยางจริงจัง ในทุกศตวรรษ โดยเฉพาะยิ่งคนหนุม นักอุตสาหกรรม นักธุรกิจ นักวิทยาศาสตร พระเยซูคริสตสมควรอยางยิ่ง ที่จะ ไดรับการเทิดทูนใหเปนแบบอยางอันประเสริฐของบุคคลเหลานี้
13 กุญแจไขพระธรรมลูกา 1. ความเปนมา ผูเขียน คือ นายแพทยลูกา อาจเปนชาวกรีก ทานผูนี้เปนมิตรสนิทและเคยรวมเดินทางไป ประกาศพระกิตติคุณกับอัครสาวกเปาโลหลายครั้ง ลูกาเองมิไดเปนหนึ่งในจํานวนอัครสาวกสิบสองคน แตก็เปนที่ประจักษชัดวา มีความสนิทสนมเปนสวนตัวกับทานเหลานั้นทุกคน และลูกาก็ไดรับความรู เกี่ยวกับพระคริสตมาจากพวกอัครสาวกโดยตรง (ลก 1: 1-3) พระกิตติคุณเลมนี้เขียนขึ้น เพื่ออุทิศใหขุนนางชาวกรีก ที่สําคัญคนหนึ่ง ชื่อเธโอฟโล (เชนเดียวกันกับพระธรรมกิจการ) พระธรรมลูกาไดเขียนขึ้นเมื่อราว คศ 60 อาจเปนเวลาเดียวกันที่อัครสาวกเปาโลถูกจําคุกที่ เมืองกายซาไรอา เนื้อหาของเลมนี้ บรรยายถึงพระคริสตในฐานะที่เปนบุตรมนุษย เรียบเรียงขึ้นเพื่อชาวกรีก โดยเฉพาะ 2. สาระสําคัญ ลูกาบรรยายถึงพระคริสตในฐานะมนุษยที่สมบูรณแบบ เพียบพรอมไปดวยความสงางาม ปราศจากความดางพรอยแมจะเปนมนุษย แตก็ทรงออนสุภาพ มีความรอบรูมีพระทัยเขมแข็ง ยุติธรรม ซื่อสัตย และดีรอบคอบ อุทิศพระองคใหกระทําตามน้ําพระทัยของพระบิดา โดยยินยอมแมกระทั่งความ มรณา ขอพระธรรมที่สําคัญยิ่ง คือ ลก. 19: 10 ขอควรคํานึงก็คือ พระองคทรงเรียกพระองคเองวาบุตร มนุษยในทามกลางมนุษยทั้งปวง ผูมีวัฒนธรรมและไดรับการศึกษาจะเขาใจ พระคริสตทรงประกอบไปดวยอุดมคติสูงสุดใน มนุษย 3. บทตอนที่สําคัญ คํานํา(1: 1-4) การประสูติและวัยเยาว (1:5-2:52) การรับบัพติศมาการลําดับวงศและการถูกทดลองของ พระเยซูคริสต (3:1-4:13) การเทศนาสั่งสอนในฐานะศาสดาพยากรณและกษัตริย และในมณฑลฆาลิ ลาย (4: 14-9:50) จากมณฑลฆาลิลายสูกรุงเยรูซาเล็ม (9:51-19:44) สัปดาหสุดทายในชีวิตของพระเยซู

3)

การถูกทดลอง (บทที่ 4)

การเทศนา

เลือกสาวก (บทที่ 5)

การสําแดงความมหัศจรรยในการรักษาโรค (บทที่5,7,8)

คําเทศนาบนภูเขา (บทที่ 6)

ประทานอํานาจหนาที่แกสาวก (บทที่ 9)

ทรงเลี้ยงคนหาพันคน (บทที่9)

14 ในโลก (19:45-24:53) การฟนคืนพระชนม การปฏิบัติพระราชกิจภายหลังจากที่ทรงฟนคืนพระชนม แลวและการเสด็จขึ้นสูสวรรค (24:1-5ต) 4. ลักษณะพิเศษ พระกิตติคุณเลมนี้ยาวที่สุด และมีความละเอียดที่สุด ในบรรดากิตติคุณทั้งสี่เลม บรรยายถึง เนื้อหาหลายอยางที่ไมไดบันทึกไวในพระธรรมมัทธิว และมาระโก นายแพทยลูกาพิถีพิถันเกี่ยวกับ รายละเอียดมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งเกี่ยวกับลําดับเหตุการณ วันเดือน ป ลูกาไดแสดงถึงความรูในทาง แพทยไวหลายแหง เชนไดระบุไดวา แมยายซีโมนเปนไขหนัก (4: 38) และคนที่มีมือลีบ ขางขวา คน หนึ่ง (4:6) และวาลูกสาวของญายโรมีอายุ 12 ป ในการลําดับวงศของพระคริสต ทานไดจัดทําไวอยางชัดเจน ยอนถอยหลังไปจนถึงอาดาม นับวาเปนบัญชีลําดับวงศของบุตรมนุษยผูซึ่งหาที่ติมิได ความเปนมนุษยของพระคริสตไดสําแดงออกใหเห็นชัด โดยเฉพาะเมื่อพระองคทรงกันแสง สงสารกรุงเยรูซาเล็ม (บทที่ 19 ) ทรงสัมผัสใบหูของมาละโค (บทที่ 22 ) และทรงปลอบประโลมผูราย ที่ถูกตรึงเคียงขางพระองค(บทที่ 23) รากฐานของเพลงของคริสตจักรหลายเพลงอยูในบทที่ 1 และ 2 แหงพระกิตติคุณเลมนี้ 5. หัวขอโดยสังเขป การตระเตรียม ยอหนบัพติศมา (บทที่1 ) การประสูติและวัยเด็ก (บทที่2) การรับศีลบัพติศมา (บทที่

ทรงปฏิบัติพระราชกิจในมณฑลสะมาเรีย (บทที่ 9-18)

บอกลวงหนาถึงการทรยศ (9: 22-44)

ทรงจําแลงพระวรกาย (บทที่ 9)

การเสด็จเขากรุงเยรูซาเล็มอยางมีชัย (บทที่19)

ทรงโตเถียงกับศัตรู (บทที่ 20)

บรรยายถึงการเสด็จกลับมาครั้งที่สอง (บทที่ 21)

คืนสุดทาย (บทที่ 22 )

การตรึงที่กางเขน (บทที่23)

การฟนคืนพระชนม (บทที่ 24)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ

ลูกาไดบรรยายถึงการกําเนิดจากผูหญิงพรหมจารีอยางชัดเจนและสุภาพแบบนายแพทย พระคริสตทรงเปนผูสอนที่ประกอบดวยความจริงฤทธานุภาพและอํานาจ

15
สัปดาหสุดทาย
7. กุญแจไขความเขาใจ พระกิตติคุณเลมนี้ กลาวถึงพระเยซู ในฐานะที่ทรงเปนบุตรที่ยิ่งใหญ เปนบรมครู และตัวอยาง ที่ยิ่งใหญที่สุดในเวลาเดียวกันก็ทรงเปนพระบุตรของพระเจาผูดํารงอยูเปนนิจ

และการฟนคืนพระชนมที่ไมมีใครเหมือนลวนแตเปนการสําแดงออกอยางเดนชัดวา พระคริสตทรงเปนพระเจา

16 กุญแจไขพระธรรมยอหน 1. ความเปนมา ผูเขียนคือยอหนเปนนองชายของยากอบบุตรของเซเบดายเคยเปนชาวประมงและเปนผูเขียน จดหมายฝากยอหนฉบับ 1,2,3, และวิวรณ เขียนขึ้นมาเมื่อประมาณ ค.ศ.95 ยอหนเองก็มีอายุประมาณ 95 ปเชนกัน เขาใจวา พระธรรมเลมนี้เปนพระธรรมที่แพรหลายมากที่สุดในโลก ทั้งนี้เพราะเปนพระธรรมที่ มีเนื้อหาเหมาะสมแกการพิมพและการเผยแพรอยูในตัวนั่นเอง 2. สาระสําคัญ พระเจาตรัสสั่งใหยอหนสําแดงภาพพจนใหมนุษยรูวา พระเยซูทรงเปนพระบุตรของพระเจา โดยแทจริง พระองคเสด็จลงมารับสภาพมนุษยฝายเนื้อหนังชั่วคราว แมกระนั้นก็ดี พระองคก็ยังทรง สภาพที่สองแหงตรีเอกานุภาพอยู ไมมีพระธรรมอื่นใดที่รับรองและพิสูจนวา พระเยซูทรงเปนพระบุตร ของพระเจาหนักแนนเทากับพระกิตติคุณเลมนี้ ขอพระธรรมที่สําคัญยิ่งคือ 20: 30, 31 ทุกตอนของพระธรรมเลมนี้
คําพยากรณ การสิ้นพระชนม
3. บทตอนที่สําคัญ พระคริสตทรงเปนพระเจา และดํารงอยูนิรันดร (1: 1-14) ยอหนเปนพยานถึงพระองค (1:1534) การสั่งสอนคนทั่วไป (1:35-12:50) การสั่งสอนอัครสาวก (13:2-17:46) การยอมสิ้นประชนม (18.119.42) การฟนคืนพระชนม (20:2-12) บทสงทายพระคริสตผูยอมรับใช (21:1-25) 4. ลักษณะพิเศษ เนื้อเรื่องในพระธรรมยอหน มีความดีเดนเปนเยี่ยมเปนบันทึกเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น รวมทั้ง คําสั่งสอนและการสําแดงความมหัศจรรยตาง ๆ ที่พระกิตติคุณทั้งสามเลมแรก มิไดบันทึกไว ดังนั้นจึง เปนพระกิตติคุณที่ดีเยี่ยมเปนการเพิ่มเติมที่เต็มไปดวยความถูกตองแนนอน
ไมวาจะเปนคํานํา การสําแดงฤทธานุภาพ คําสั่งสอน

(บทที่ 1)

งานสมรสที่บานนาคา (บทที่ 2)

นิโกเดโม (บทที่ 3)

หญิงที่บอน้ํา (บทที่ 4)

ชายพิการที่สระน้ํา (บทที่ 5)

เลี้ยงคน

5,000 คน (บทที่ 6)

ที่งานเลี้ยงเทศกาลตั้งทับอาศัย (บทที่ 7)

หญิงคนบาป (บทที่ 8)

คนตาบอด (บทที่ 9)

ผูเลี้ยงแกะที่ดี (บทที่ 10)

ลาซารัสฟนขึ้นมาจากความตาย (บทที่ 11)

ของถวายของมาเรีย (บทที่ 12)

ทรงลางเทาเหลาสาวก (บทที่ 13)

17 หลักใหญของพระกิตติคุณนี้ คือเราตองเชื่อวาพระเยซูทรงเปนพระเจา
เพราะพระบุตรผูทรงพระชนมอยูเทานั้นที่สามารถชวยใหเรารอดได และเพื่อใหเราทราบถึงจุดมุงหมายของพระกิตติคุณทาน ยอหนจึงไดกลาวถึงความมหัศจรรย เหลานี้ กับ “หมายสําคัญอื่น ๆ อีกมากมาย” เพื่อพิสูจนวาพระองคทรงเปนพระเจา เหตุการณเหลานั้น ลวนแตแสดงใหเห็นวาพระคริสตทรงมีฤทธานุภาพเหนือธรรมชาติ เชนทรงบันดาลใหน้ํากลายเปนน้ํา องุนโดยที่มีไดตรัสแมแตคําเดียว ทรงรักษาบุตรชายของขุนนางใหหายโรค ทั้ง ๆ ที่บุตรนั้นอยูหางไกล จากพระองค ทรงรักษาคนซึ่งเปนงอยมา 38 ป ใหหาย และบันดาลใหลาซารัสฟนคืนชีพหลังจากที่ตาย มาแลวถึงสี่วันทรงรักษาคนตาบอดมาแตกําเนิดใหสามารถมองเห็น ยอหนย้ําวาการไถมนุษย คือจุดประสงคอันสําคัญยิ่งแหงการเสด็จมาของพระคริสต เรื่องตาง ๆ ในพระธรรมเลมนี้โดยมากเกิดขึ้น ในเวลาที่พระเยซูเสด็จไปรวมในการเลี้ยงของพวกยิว โดยไดบันทึก งานเลี้ยงที่พระเยซูเสด็จไปหาครั้งดังปรากฎในบทตอไปนี้ 2: 3-4:3; 5:1-47; 7:2-10:21; 10:22-40; 12:1-20:31 บางที่พระดํารัส ณ หองชั้นบน ในบทที่ 13-17 อาจเปนจุดเดนที่สุดของพระกิตติคุณยอหนก็ได ตอนสําคัญที่สุดก็คือบทที่ 17 ซึ่งเปนการอธิษฐานแสดงถึงความสนิทสนมระหวางพระเจาพระบิดากับ พระเจาพระบุตร 4. หัวขอโดยสังเขป พระวาทะเปนเนื้อหนัง
เราจึงจะไดรับความรอด
18 คําสอนกอนอําลาเหลาสาวก (บทที่ 14-16) ทรงอธิษฐาน (บทที่ 17) ทรงถูกตรึงที่กางเขน (บทที่18,16) ทรงฟนขึ้นมาจากความตาย (บทที่20,21) 6. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมอันลึกซึ้งและล้ําคานี้ เปนคําสอนขั้นสุดยอดของพระคริสตธรรมคัมภีร เราจะพบ ทางที่นําไปสูน้ําพระทัยพระเจาในพระกิตติคุณเลมนี้คือ จงวางใจในพระบุตรของพระองค ไมมีพระ ธรรมอื่นใดที่จะชื่นชูจิตใจของผูอานเทากับพระธรรมทั้ง 21 บทแหงพระกิตติคุณเลมนี้เลย ซึ่งแสดงให เห็นจริงวา พระคริสตเปนพระเจาแหงสวรรคการที่ทรงรับสภาพเปนเนื้อหนัง ก็เพราะทรงประสงคที่จะ วายพระชนมเพื่อมนุษยทั้งปวงนั่นเอง
19 กุญแจไขพระธรรมกิจการ 1. ความเปนมา ผูเขียนคือนายแพทยลูกาแพทยผูรวมงานของอัครสาวกเปาโลคนเดียวกับที่เขียนพระธรรมลูกา (ดูคส. 4:14, ฟม.24; 2 ทธ.4:11) พระธรรมเลมนี้เขียนขึ้นเมื่อประมาณ ค.ศ.63 อาจเปนระยะเดียวกันกับที่อาจารยเปาโล ถูก จําคุกที่เมืองกายซาไรอา (กจ 24: 7, 27) เนื้อหาของพระธรรมเลมนี้เปนเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติของคริสตจักรสมัยเริ่มแรก 2. สาระสําคัญ กลาวไดวาพระธรรมลูกา เปนพระธรรมที่กลาวถึงการปฏิบัติพระราชกิจในระยะตน ๆ ของ พระเยซู สวนในพระธรรมกิจการนี้ เปนการกลาวถึงการปฏิบัติพระราชกิจขั้นตอไปของพระองค ภายใตการบัญชาของพระวิญญาณบริสุทธิ์โดยใชบรรดาชายหญิงผูถวายตัวแลวเปนเครื่องมือ หัวใจของพระธรรมเลมนี้ก็คงเปน
ทรงเรงเรา และหนุนน้ําใจผูที่วางใจในพระองค ใหประกาศเรื่องความรักของพระเจาอันหาที่เปรียบมิได “จนสุดปลายแผนดินโลก” 3. บทตอนที่สําคัญ (กจ 1:8) พระเจาพระราชทาน “ฤทธิ์เดช” (บทที่ 1 ) พยานในกรุงเยรูซาเล็ม (บทที่ 3-5) พยาน ในมณฑลยูดาย (บทที่ 6,7) พยานในมณฑลสะมาเรีย (บทที่ 8) พยานแกโลกทั้งมวล (บทที่ 9-28) 4. ลักษณะพิเศษ ในเลมนี้พระเจาทรงใหแบบอยางอันดีสําหรับคริสตจักรของพระองค หลักการอันเปนบรรทัด ฐานสําหรับความเปนอยูของคริสเตียน และกิจการรมของคริสตจักรทั้งมวลตลอดจนระเบียบวิธีการ ปฏิบัติของผูประกาศเผยแพรกระกิตติคุณของพระเจาเราจะเห็นวามีชื่อคริสตจักรหลายแหงในเลมนี้ พระธรรมเลมนี้ สอนถึงชีวิตใหมในพระคริสตโดยมีพระวิญญาณบริสุทธิ์ เปนผูบังคับบัญชา บอกําเนิดแหงพละกําลัง ผูเลาโลม และผูอบรมสั่งสอน บางคนจึงเรียกชื่อพระธรรมเลมนี้วา “กิจการ ของพระวิญญาณบริสุทธิ์”
“พระคริสตซึ่งบัดนี้ไดฟนขึ้นสูชีวิต รับฤทธานุภาพทุกอยาง

นอกจากนั้นก็ยังไดกลาวถึงหนวยงานและคริสตจักรที่กอตั้งขึ้นในสมัยนั้นและกลาวถึงประเทศและ

การอธิษฐานและเทศกาลเพนเทคศเต (บทที่ 1,2)

การสําแดงความอัศจรรยครั้งแรก (บทที่ 7)

ความเจริญการถูกกดขี่ขมเหง (บทที่ 4,5)

มัคนายก (บทที่ 6)

สะเตฟาน (บทที่ 7)

คริสตจักรในปาเลสไตน

ฟลิปในมณฑลสะมาเรีย (บทที่ 8)

เซาโลกกลับใจถวายตอตอพระเจา (บทที่ 9)

เปโตรกับคนตางชาติ (บทที่ 10,11)

20 พระธรรมเลมนี้เนนถึงพระเยซูเปนหลัก
เมืองตาง ๆ หลายเมือง ตลอดจนบุคคลตาง ๆ รวมทั้งหมดมีถึง 110 ชื่อ กลาวถึงการเปนพยานการ อธิษฐานการเทศนาสั่งสอนการถูกกดขี่ขมเหงและฤทธิ์เดชที่มาจากพระเจา 5. หัวขอโดยสังเขป
เฉพาะอยางยิ่งไดแกการฟนคืนพระชนมของพระองค
คริสตจักรณกรุงเยรูซาเล็ม
เปโตรพนจากคุก
การเดินทางเผยแพรพระกิตติคุณครั้งแรกของอัครสาวก (บทที่ 13,14) การประชุมณกรุงเยรูซาเล็ม (บทที่ 15) การเดินทางเผยแพรพระกิตติคุณครั้งที่สอง (15:
การเดินทางเผยแพรพระกิตติคุณครั้งที่สาม (18:
ชีวิตบั้นปลายของเปาโล (21: 16-28) 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ วันเพนเทคศเตเปนวันเกิดของคริสตจักร อาจารยเปาโลเปนแบบอยางอันดีแกเรา มติของที่ประชุมคริสตจักรที่สําคัญยิ่ง และถือปฏิบัติตามตลอดกาล ความรอดเปนโดยพระคุณ และดวยความเชื่อมิใชเพราะผลของการปฏิบัติ (ดูบทที่ 15)
(บทที่12) คริสตจักรของคนตางชาติ
36-18:17)
18-21:15)

7. กุญแจไขความเขาใจ

พระธรรมอันสําคัญยิ่งเลมนี้เปนพระบัญชาของพระเจาที่ชี้แนวทางใหถือเปนระเบียบปฏิบัติ

21
หนาที่ของคริสตจักรคือการประกาศพระกิตติคุณไปทั่วโลก คริสตจักรที่อันติโอเกียเปน แบบอยางที่ดี (ดู 13: 1-4; 14:26-28)
ตอไปภายหนา มวลคริสเตียน มวลคริสตจักร และองคการเผยแพรคริสตศาสนาทั้งมวลควรเดินตาม หลักนี้ พระธรรมเลมนี้เปนพระธรรมที่สําคัญยิ่งของบรรดาผูเผยแพรทั่วโลก ทั้งสําคัญยิ่งตอองคการ คริสตจักรและแผนการของคริสตจักรคริสตจักรจะอยูเพื่อตนเองไมไดจะตองเผยแพรออกไป

พระธรรมโรมเปนพระธรรมที่สําคัญยิ่งเลมหนึ่งที่เปนแกนกลางที่พระเจาทรงสําแดงพระองคตอมนุษย เนื้อแททั้งสิ้นของพระกิตติคุณเชนเรื่องความผิดบาปการชําระใหพนจากความผิดบาปและผลแหงการ

22 กุญแจไขพระธรรมโรม 1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล ซึ่งเปนผูเขียนพระธรรมเลมอื่น ๆ ในพระคริสตธรรมใหมอีกอยาง นอย 12 เลม ทานเขียนพระธรรมเลมนี้ที่เมืองโครินธ นําไปสงแกคริสเตียนกรุงโรมโดยนางฟอยเบ (16:1) เขียนเมื่อประมาณ ค ศ 57 กอนอาจารยเปาโลเดินทางไปมณฑลยูดาย เมื่อจบการเดินทางเที่ยวที่ สาม เหตุที่เขียน อาจารยเปาโลตั้งใจที่จะไปเยือนกรุงโรมในระยะเวลาอันกระชั้นชิด จึงเขียนพระ ธรรมโรมนี้ขึ้นเพื่อเปนการเตรียมสมาชิกคริสตจักรที่นั่น เปนการลวงหนาอีกนัยหนึ่งอาจารยเปาโลอาจ คาดหมายไววา แมมีเหตุทําใหทานไปไมได คริสตจักร ณ ที่นั่น ก็จะไดรูพระกิตติคุณอันเปนรากฐาน แหงความจริงนี้ 2. สาระสําคัญ
สิ้นพระชนมของพระเยซู
จุดมุงหมายของการเขียนพระ ธรรมเลมนี้ขึ้นก็เพื่อแสดงถึงความชอบธรรมของพระเจาขอพระธรรมที่สําคัญคือ 1: 16 อาจารยเปาโล เขียนถึงการปรับโทษ ถึงการรับสงาราศีอันชอบธรรมของพระเจาตามลําดับ 3. บทตอนที่สําคัญ พระธรรมโรม ขึ้นตนดวยการปรับโทษ แลวกลาวถึงความรอด ความชอบธรรม การชําระให บริสุทธิ์ และจบลงดวยสงาราศี (ในบทที่ 9-11 กลาวถึงพระสัญญาของพระเจาตอชนชาติอิสราเอล ซึ่ง สอดคลองกับพระสัญญาของพระเจาตอคริสตจักร) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมโรมเปนจดหมายฝากที่อัครสาวกเปาโลเขียนดวยความระมัดระวัง และอยางเปน ระเบียบที่สุด เสมือนยกเอาหองพิจารณาคดีในศาล อันมีมนุษยเปนจําเลยมาเปนฉาก ใหเห็นการ พิจารณาพิพากษาของพระเจาผูสูงสุด
ไดบรรยายไวในหนังสือนี้โดยละเอียดแลว

ครั้งแลวครั้งเลาที่อาจารยเปาโลไดชี้ใหเห็นถึงปญหาจําเปนยิ่งแกชีวิต และคลี่คลายปญหานั้น ๆ

ดวยคําตอบอันเปนความจริงของพระเจา

ความจริงนี้เริ่มตนดวยคนที่อยูในสภาพสิ้นหวังชวยตัวเองไมได และจบลงดวยการมีสภาพเปน บุตรของพระเจาผูทรงพระชนมอยูประกอบดวยความชอบธรรมและชีวิตนิรันดรอยางแทจริง

คํานํา

คํานํานับความสนใจและความมุงหมาย (บทที่ 1)

การปรับโทษแกคนบาป

คนตางชาติ (บทที่ 1) ชาติยิว (บทที่ 2)

ความรอดของพระคริสต

อับราฮาม (บทที่ 4) ความชอบธรรม (บทที่ 5)

(บทที่ 6,7)

23
คําตอบอันดูถูกตองที่แกปญหาอันสําคัญยิ่ง เกี่ยวกับเชื้อสายของชนชาติอิสราเอลและอนาคต ของเขามีอยูในบทที่ 9 จนถึงบทที่ 11 ซึ่งกลาวไวอยางครบถวนและมีเลิศ
หัวขอโดยสังเขป
5.
การชําระใหบริสุทธิ์
การเปนบุตรของพระเจา (บทที่ 8) แผนการของพระเจาเพื่อชนชาติอิสราเอล การเลือก (บทที่ 9) การถูกทอดทิ้ง (บทที่ 10) การคืนดีกับพระเจา (บทที่ 11) การถวายตอพระเจา ความบริสุทธิ์สวนบุคคล
บทที่
การทําตามขอบังคับของสังคม (บทที่ 13) ความรักฉันพี่นอง (บทที่ 14) สรุป แผนการสวนบุคคล คําปราศรัย (บทที่ 16) สรรเสริญพระเจา (บทที่ 16) 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ บทที่ 1: 18-32 กลาวถึงความชั่วที่เลวรายที่สุดของมนุษยตามที่อชอบประพฤติกัน แทนที่จะ ยอมฟงพระเจาเหตุฉะนั้นพระเจาจึงตองปลอยเขาใหประพฤติชั่วตอไป
(
12)
24 บทที่ 1 ถึงบท 3: 20 กลาวถึงการปรับโทษ โดย 3:21 เปนบทพิสูจนวา มีความชอบธรรม นอกเหนือจากการประพฤติตามพระบัญญัติ บทที่ 4-7 เปนการประกาศใหทราบถึงความจริงอันใหญยิ่งของพระจา เปนคําสอนที่ลึกซึ้ง หรือ “อาหารแข็ง” (ฮบ 5:14) สวนหนึ่งในพระคัมภีร โรมบทที่ 8 เปนบทที่สําคัญบทหนึ่งในพระคริสตธรรมคัมภีร เปนบทแนะนําวาพระวิญญาณ บริสุทธิ์ทรงเปนพระผูชวย ของบรรดาผูที่เชื่อและวางใจในพระเจาอยูเสมอ สวนบทที่ 7 ย้ําใหเห็นวา การพึ่งตนเองของคริสเตียนยอมจบลงดวยความลมเหลว ในตอนจบของบทที่ 8 ชี้ใหเห็นวา ผูที่เชื่อและ วางใจในพระเจาจะไดรับการยกขึ้นสูความมีชัย อันประกอบดวยสงาราศี โดยฤทธานุภาพของพระ วิญญาณบริสุทธิ์ บทที่ 9-11 ก็ไดใหคําตอบที่สมบูรณแกปญหาที่สําคัญเกี่ยวกับอนาคตของชนชาติอิสราเอล ซึ่ง เปนพลไพรของพระเจามาแตครั้งโบราณ หาบทสุดทาย บันทึกเกี่ยวกับการประพฤติและการปฏิบัติในชีวิตคริสเตียน ซึ่งแสดงใหเห็น ความจริงแหงพระกิตติคุณ 7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมโรมมีคําสอนสมบูรณตามหลักตรรกวิทยาทุกประการ ขอใหอานและไตรตรองจาก ตนจนจบสัก 25 เที่ยว ดวยใจออนนอม ยอมรับความจริงของพรเจา แลวสัจธรรมของพระองคในพระ ธรรมเลมนี้จะใหพลังฝายวิญญาณแกทานอยางอัศจรรย
25 กุญแจไขพระธรรม 1 โครินธ 1. ความเปนมา ผูเขียนพระธรรมเลมนี้คืออัครสาวกเปาโล (กจ.18: 1-18) เขียนที่เมืองเอเฟซัสเมื่อประมาณ ค.ศ. 59 ในตอนปลายของระยะเวลาที่ทานยังประกาศอยูที่นั่น (กจ.20:17-31) โครินธ เปนเมือง ทางภาคใตของประเทศกรีก เปนเมืองที่มั่นคั่ง มีพลเมืองอันมาก แตมีความเสื่อมทรามในดานศีลธรรม เปนอันมาก อาจารยเปาโลไดแวะเมืองนี้เปนเวลา 18 เดือนและไดตั้งคริสตจักรขนาดใหญขึ้นแหงหนึ่ง ภายหลังจากที่อาจารยเปาโลไดจากเมืองโครินธไปแลว ไดมีปญหาเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตคริส เตียนเกิดขึ้นเปนอันมาก อาจารยเปาโลไดทราบขาวนี้ (1 โครินธ 1: 11) และไดรับจดหมายถามปญหา ตาง ๆ (1 โครินธ 7:1) เหตุฉะนั้น จดหมายที่อาจารยเปาโลเขียนไปถึงคริสตจักรในเมืองโครินธฉบับนี้ จึงเปนจดหมายที่วาดวยการประพฤติปฏิบัติตามแนวทางของชีวิตคริสเตียน 2. สาระสําคัญ ประเด็นสําคัญของพระธรรมฉบับนี้คือ เรื่องการดําเนินชีวิตคริสเตียน
ของคริสเตียนคนหนึ่ง การเปนความกับคนอื่น การสมรส และการหยา เสรีภาพของคริสเตียนการ แยกตัวออกจากคนบาป การประกอบพิธีศีลมหาสนิทการรับและการปฏิบัติ เกี่ยวกับของประทานฝาย จิตวิญญาณปญหาเกี่ยวกับการพูดภาษาแปลก ๆ และความจริงแหงการฟนคืนพระชนม ผูอานจะรูสึก เศราใจรอนรนและชิงชังการประพฤติผิดทั้งหลายดังที่เชนอาจารยเปาโลรูสึก 3. บทตอนที่สําคัญ การที่จะวิจารณเกี่ยวกับเนื้อหาในพระธรรมโครินธ ฉบับตนนี้ใหแนชัดลงไปนั้นกระทําไมได
4. ลักษณะพิเศษ แมวาอัครสาวกเปาโล จะเขียนพระธรรมฉบับนี้ถึงคริสตจักรเมืองโครินธ แตคําสั่งสอนอบรม ตาง ๆ อันเปนเนื้อสําคัญ ใชวาจํากัดวงเพียงเพื่อคริสตจักรเทานั้น ๆ ก็หาไม ดังนั้นในบทที่ 1 ขอ 2 ทาน จึงระบุไววาผูที่รับจดหมายฝากฉบับนี้คือคนทั้งปวงในทุกตําบลที่อธิษฐานออกพระนามพระเยซูคริสต
ทานอัครสาวกเปาโลได เขียนดวยความสุจริตใจและตรงไปตรงมา กลาวถึงความขัดแยงในคริสตจักรการประพฤติผิดประเวณี
เนื่องจากทานอัครสาวกไดวางหัวเรื่องไวหลายเรื่องแลวขยายความตามเรื่องนั้นๆ

(1: 10-4:21)

กําชับในทางวินัย (บทที่ 5,6) ใหคําปรึกษาในปญหาที่ยุงยาก (บทที่ 7-11)

ของประทานฝายจิตวิญญาณ (บทที่ 12-14) บทสรุป (บทที่ 16) 6.

ขอที่นาเสียใจและนาอับอายอันเกิดจากการแตกแยกภายในคริสตจักร

ปญหาเกี่ยวกับอาหารเนื้อที่บูชารูปเคารพ เปนตัวอยางอธิบายถึงหลักการอันจําเปนอยางยิ่งแก

26 เปนความจริงวา อาจารยเปาโลพูดดวยความรักและความคิดถึงอันแทจริง แตทานก็ไมยอมผอน ผันใหกับความผิดๆทั้งสิ้นทานเปนผูที่เขมงวดกวดขันตอการกระทําผิดทุกอยางเปนอันมาก แมพระธรรม 1 โครินธ จะเปนพระธรรมที่เนนไปในทางตักเตือนเกี่ยวกับความผิดตาง ๆ เปน สวนมากแตก็ไดแทรกคําสอนตางๆของพระเยซูไวดวยเชน 1 เกี่ยวกับบําเหน็จของคริสเตียน (3: 11-15) 2. คําสอนเกี่ยวกับการที่พระวิญญาณบริสุทธิ์สถิตอยูในจิตใจของคริสเตียน (6: 19, 20) 3 ความลําลับเกี่ยวกับการที่พระคริสตรับคริสตจักรขึ้นไปอยูกับพระองค (15: 51, 52) 5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1:
แสดงความเสียใจในการที่สมาชิกคริสตจักรแตกแยกกัน
1-9)
คําสั่งสอนที่สําคัญ
ซึ่งอาจารยเปาโลได ระบายออกใน 1: 11-17 คือ “พระคริสตแบงออกเปนหลายองคหรือ?”
พระคริสตไดอยางแทจริงบทที่
2 ไดอธิบายเรื่องนี้ไวอยางชัดแจง
ชีวิตคริสเตียนวาเราจะตองไมกระทําการใด ๆ อันเปนเหตุใหพี่นองที่มีความเชื่อออนแอหลงผิด ไมวา การกระทํานั้นๆจะเปนไปโดยบริสุทธิ์ใจหรือไมกอใหเกิดผลเสียหายขึ้นก็ตาม ความสําคัญของพิธีศีลมหาสนิทเปนเรื่องหนึ่งพระผูเปนเจาไดทรงเปดเผยแกอาจารยเปาโลเปน พิเศษ ในบทที่ 11 ทานไดหามอยางกวดขันถึงความไมเปนระเบียบเรียบรอย และตกเตือนผูที่มีสวน กระทํานั้นดวย บทที่ 12-14 ไดกลาวถึงเรื่อง “ของประทานฝายจิตวิญญาณ” โดยเฉพาะอยางยิ่ง “การพูดภาษา แปลกๆ” ไวอยางละเอียดถี่ถวน บทที่ 13 เปนบทที่สอนถึงเรื่องความรัก (คริสเตียนหลายคนถือเปนบททองจํา)
เมืองโครินธเปนศูนยกลางแหงสติปญญาฝายโลกแตชาวเมืองกลับไมเขาใจเรื่องไมกางเขนของ
1 และ
27 บทที่
7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมโครินธฉบับตน เปนคําตอบของพระเจาเกี่ยวกับปญหาชีวิตคริสเตียน นอกจากนั้นยัง มีหลักอันเปนรากฐานอื่นๆอีก
15 เปนที่สําคัญยิ่งอีกบทหนึ่งกลาวถึงเรื่องการฟนคืนพระชนม

คําแนะนําเพิ่มเติมแกคริสตจักรเมืองโครินธ ประการตอมาก็เนื่องจากมีการวิพากษวิจารณแสดงความ

28 กุญแจไขพระธรรม 2 โครินธ 1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล ตามที่ไดระบุนามไวขางตนของจดหมายฝากฉบับนี้ (2 โครินธ 1:1) เขียนที่มณฑลมากะโดเนียเมื่อประมาณค.ศ. 60 เหตุที่เขียน หลังจากที่อาจารยเปาโลไดเขียนพระธรรมโครินธฉบับแรก สงไป ใหคริสตจักรใน เมืองนั้น แลวทานก็ไดออกจากเมืองเอเฟซัส ไปยังมณฑลมากะโดเนีย (ดูกิจการ บทที่ 20:1) ในระหวาง นั้น ทานไดใหทิตัสเดินทางไปยังเมืองโครินธ เพื่อชวยปรับปรุงกิจการของคริสตจักรใหเปนระเบียบ เรียบรอยขึ้น อาจารยเปาโลรอฟงขาวจากทิตัสดวยความกระวนกระวายใจ ครั้นทิตัสกลับมาหาทาน พรอมกับแจงขาวดี วาจดหมายฝากฉบับแรกของทานไดบังเกิดผลเปนอันมาก ทานจึงรีบเขียนจดหมาย ฝากโครินธฉบับที่สองนี้ขึ้นแลวมอบใหทิตัสนําไปสงแกคริสตจักรในเมืองนั้นอีกครั้งหนึ่ง 2. สาระสําคัญ เนื้อความของพระธรรมเลมนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับปญหาเฉพาะหนา ประการแรก ทานไดให
กังขาเกี่ยวกับตัวทานเปนอันมากวา ทานเปนอัครสาวกหรือเปลา ทานจึงไดเขียนแถลงใหทราบถึงฐานะ ของทาน ชี้แจงใหทราบวา ทานคือราชทูตของพระผูเปนเจาอยางแทจริง ยิ่งกวานั้นยังไดเปดเผยให ทราบถึงชีวิตแหงการเสียสละของทานเพื่อคริสตจักรทั้งหลาย และแสดงความชื่นชมยินดี ในการรับใช พระเจาแมวาการนี้จะเปนงานที่หนักและลําบากยากเย็นมากก็ตาม 3. บทตอนที่สําคัญ หลักการปฏิบัติที่อาจารยเปาโลสอน (บทที่ 1-7 ) หลักการถวายเรื่องการสงเคราะหธรรมิกชน (บทที่ 8, 9) อาจารยเปาโลแกคํากลาวหาเกี่ยวกับการรับใชพระเจาในฐานะอัครสาวก (บทที่ 10-13) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมเลมนี้มีลักษณะเปนการสวนตัวที่สุดในบรรดาจดหมายของอาจารยเปาโล เพราะให ทราบถึงความปวดราวและระเหี่ยใจ เนื่องจากการเผยแพรพระกิตติคุณซึ่งเปนงานหนักมาก ทั้งยังแบก ภาระของคริสตจักรทั้งหลายอีกดวย

กุญแจไขความเขาใจ การรูถึงความเปนมาของจดหมายฝากฉบับนี้รวมทั้งเบื้องหลังของเจาของจดหมายเสียกอน นับเปนกุญแจอันสําคัญที่จะทําใหเรามีความเขาใจในเนื้อหาไดเปนอยางดี ตอจากนั้นควรอานอยางพินิจ

พิเคราะหดวยความเห็นอกเห็นใจและยกยองชมเชยมหาบุรุษของพระเจาคนนี้

29 พระธรรมโครินธฉบับที่ 2 นี้บางสวนเปนชีวประวัติสวนตัวของเปาโล นอกจากนั้นยังใหทราบ ถึงสิ่งตาง ๆ ที่มิไดกลาวไวในที่อื่นเลย ดังเชนเสี้ยนหนามในเนื้อหนังของทานเอง พรอมทั้งเหตุผลที่ ตองเปนเชนนั้น (12: 7) นิมิตอันนาสังเกตของทาน (12:1-4) การกับเผชิญภัยอยางเกินขนาด (11:23-27) เปนตน เนื้อเรื่องในพระธรรมเลมนี้ดูเหมือนจะไมไดจัดเรียงลําดับไว สวนใหญเกิดจากความสะเทือน ในของอาจารยเปาโลไว สวนใหญเกิดจากความสะเทือนในของอาจารยเปาโลเอง เราจะพบการกลาวแก และปอนกันตัวเนื่องจากถูกกลาวหาอยางไมเปนธรรมบอยครั้ง มีคํากลาวซึ่งบอกใหเราทราบถึงคุณลักษณะของอาจารยเปาโลเหมือนกันคือใน 10: 9, 10; 11:5, 6 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ใน 1 โครินธบทที่ 5 เปาโลไดตักเตือนคนที่ลวงประเวณี ดูเหมือนวาคนนั้นไดกลับใจใหม และ ไดรับการอภัยโทษซึ่งเปนเรื่องที่นายินดีไมนอย (2: 1-13) ในบทที่ 5 ไดชี้แจงเพิ่มเติมวาเมื่อรางกายตายแลวอะไรจะเกิดกับเรา ความสําคัญของการแยกตัวออกจากฝายโลกสอนไวใน 6: 11-18 บทที่
เคล็ดลับแหงความยินดีอันสําคัญที่สุดก็คือการถวายตอองคพระผูเปนเจา
7.
8, 9 เขียนถึงความยินดีดวยใจศรัทธาในการถวาย
กลลวงของมารสอนไวใน 11: 33-15

1 คําคํานับ

2 สาระสําคัญ

3. พระเจาทรงสําแดงพระกิตติคุณของพระองคโดยทางเปาโล

4. การรับความชอบธรรมเปนโดยความเชื่อมิใชโดยพระบัญญัติ

5 กฎขอบังคับของผูที่เชื่อในพระเยซูคริสตคือ

30 กุญแจไขพระธรรมกาลาเทีย 1. ความเปนมา ผูเขียนพระธรรมเลมนี้คืออาจารยเปาโลเขียนขึ้นที่เมืองโครินธเมื่อประมาณค.ศ. 57 ชาวกาลา เทียเปนชนชาติหนึ่งที่อาศัยอยูในแถบเอเซียนอยใกลทะเลดํา (ดูกจ. บทที่ 13, 14) เหตุที่เขียน เมื่ออาจารยเปาโลไดประกาศพระกิตติคุณแกชาวกาลาเทีย ประชาชนเหลานี้ได ตอนรับพระวจนะของพระเจาดวยความยินดี แตเมื่ออาจารยเปาโลจากไปแลวพวกสอนลัทธิยิวไดเขามา แนะนําสั่งสอนวา ศาสนาคริสตเปนเพียงนิกายหนึ่งของศาสนายิว ที่ไดรับการปรับปรุงแกไขใหม เทานั้น คริสเตียนทุกคนจึงตองปฏิบัติตามพระบัญญัติดั้งเดิม จนชาวกาลาเทียหลงเชื่อคําสอนเหลานั้น และปฏิบัติตนเหินหางไปจากความจริงของพระเจา 2. สาระสําคัญ พระธรรมกาลาเทีย เปนดุจธรรมนูญ หรือคําประกาศอิสรภาพแหงพระกิตติคุณ คําสําคัญที่สุด คือ “เสรีภาพ” ขอพระธรรมที่สําคัญที่สุด คือ 5:11 พระธรรมเลมนี้มีความสัมพันธกับพระธรรมโรม อยางอยางใกลชิด แตก็มีจุดเนนแตกตางกัน พระธรรมกาลาเทีย ย้ําถึงความจริงที่วาคริสเตียนมีชีวิตอยู โดยความเชื่อเปนการประกาศความเปนไทแกทุกคนซึ่งตกเปนทาสแหงพระบัญญัติ 3. บทตอนที่สําคัญ แบงเปนหมวดใหญๆได 7 หมวดคือ
“พระคุณ” ไมใชพระบัญญัติ 6 การรับการชําระใหบริสุทธิ์เปนโดยพระวิญญาณบริสุทธิ์มิใชโดยพระบัญญัติ 7. การสั่งสอนตักเตือน

(บทที่ 2) ค อํานาจของพระกิตติคุณ ไดรับความชอบธรรมโดยความเชื่อ (บทที่ 3) ความมุงหมายของพระบัญญัติ (บทที่3)

คนรับใชกับผูรับมรดก (บทที่ 4) ง

31 4. ลักษณะพิเศษ จดหมายฉบับนี้มีคําพูดที่หนักแนนอยูในตัว สาระสําคัญที่สุดคือความเปนอิสระของคริสเตียน อาจารยเปาโลมิไดกลาวชมเชยชาวกาลาเทียแมเพียงคําเดียว ในทางตรงกันขาม ทานแสดงความไม พอใจตอชาวกาลาเทียเปนอยางมาก อาจารยเปาโลเห็นวา การนําเอาพระคุณกับพระบัญญัติมาปะปนกัน เปนการกระทําที่ผิดพลาด และเปนอันตรายอยางรายแรงยิ่ง ไมผิดอะไรกับโรคติดตอ ทั้งนี้อาจารยเปาโลคิดวา ที่พวกเขามีความ
ตามปกติ อาจารยเปาโลใชเลขานุการชวยเขียนจดหมาย ตามคําบอกของทาน แตจดหมายฉบับ นี้ ทานเขียนดวยมือของทานเอง (6: 11) ที่เปนเชนนี้ อาจเนื่องจากเรื่องที่เขียนนั้น เปนปญหาที่ เครงเครียดมากไมเหมาะที่จะใชผูอื่นเขียนแทน มูลเหตุสําคัญที่ทําใหคริสเตียนในแควนกาลาเทีย ประสบความยุงยากก็คือ ลัทธินิยมพระ บัญญัติ และความฝงใจในพระบัญญัติของประชาชน ผูสอนผิดพยายามนําศาสนายิว กับศาสนาคริสตมา รวมกัน ซึ่งเปนการกระทําที่ผิดพลาดอยางรายกาจ อาจารยเปาโลเรียกคําสอนผิดนี้วา “กิตติคุณอื่น” และ ทานไดกลาวคําแชงสาปไวอยางรุนแรง (1:7-9) อุปนิสัยของชาวกาลาเทีย คอนขางจะเปนคนเจาอารมณ หุนหันพลันแลน และรักงายหนายเร็ว
แตแลวก็กลับเปลี่ยนใจ โดยฉับพลัน ถึงกับเอากอนหินขวางทาน (ดูกจ 14: 13-19) 5. หัวขอโดยสังเขป ก คํานํา ข สิทธิและอํานาจในดานสวนตัว การเรียกรองของพระเจา (บทที่ 1) ไดรับการรับรอง (บทที่ 2) การขัดแยง
เชื่อที่ผิดเชนนี้มิใชเพราะความไมรูของพวกเขาแตเปนเพราะพวกเขาไมซื่อสัตยตอพระเจาตางหาก
ดังจะเห็นไดจากการที่พวกเขากราบไหวอาจารยเปาโลในตอนแรก
. คําสั่งสอนตักเตือน
32 พระบัญญัติกับเสรีภาพ (บทที่ 5) ความรับผิดชอบสวนตัว (บทที่ 6) จ สรุป (บทที่ 6) 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ความสําคัญยิ่งแหงคําสั่งสอนของอาจารยเปาโล เปนที่ปรากฎอยางชัดเจน และไดย้ําไวอยาง หนักแนนในบทที่ 1 ขอ 8,9 ซึ่งสอนวาถาผูใดจะมาประกาศกิตติคุณอื่นๆก็ใหพระเจาสาปแชงผูนั้น ไมมีพระธรรมเลมใด ในพระคริสตธรรมคัมภีรที่เนนถึงพระคุณอันลนเหลือของพระเจาอยาง หนักแนน เทาเทียมพระธรรมกาลาเทีย คําสอนในพระธรรมเลมนี้ เปนคําตอบของพระเจา ที่มีตอผูที่เชื่อ ในคําสอนที่ผิดๆในสมัยปจจุบันซึ่งมีความเชื่อแบบพระคริสตธรรมใหมและพระคัมภีรเดิมปนกัน สิ่งที่เราเห็นชัดเจนที่สุด จากพระธรรมเลมนี้ คือลักษณะและความมุงหมายของพระบัญญัติ อาจารยเปาโลไดบรรยายความมุงหมายที่แทจริงของพระบัญญัติโดยใชคําวา “ครูสอน” (3:24, 25) เราจะสามารถปองกัน ขอผิดพลาดอื่น ๆ ได หากเราจําไวเสมอวา การออกจากพระคุณ (5: 4) ก็ เทากับการเขาสูความเปนทาสของพระบัญญัติ 7. กุญแจไขความเขาใจ กอนศึกษาพระธรรมกาลาเทีย ทานควรทบทวนประวัติศาสตรเกี่ยวกับชาวกาลาเทีย ในพระ ธรรมกิจการ บทที่ 13,14 เสียกอน แลวอานพระธรรมโรมอีกครั้งหนึ่ง หลังจากนั้นทานจะสามารถเขาใจ พระธรรมกาลาเทียไดอยางแจมแจง

กลาววาการที่ตองจากโลกนี้ไปยอมเปนของธรรมดาแตการมีชีวิตอยูนั่นก็คือสวรรค

ค ไมมีอะไรวัดได (บทที่ 3)

33 กุญแจไขพระธรรมเอเฟซัส 1. ความเปนมา พระธรรมเอเฟซัสเปน “จดหมายฝากที่อัครสาวกเปาโลเขียนขึ้นเมื่อคราวที่ถูกควบคุมตัวอยูใน กรุงโรม” เมื่อประมาณค.ศ. 62 เอเฟซัส เปนเมืองสําคัญเมืองหนึ่งในเอเซียนอยในเมืองนี้มีโรงมหรสพโรงหนึ่ง บรรจุผูเขาชม ได 50,000 คน มีวิหารไออานา ซึ่งเปนสิ่งมหัศจรรยอยางหนึ่ง ในสิ่งมหัศจรรยทั้งเจ็ดของโลก อาจารย เปาโล ไดประกาศพระกิตติคุณที่เมืองนั้น และอาศัยอยูที่นั่นเปนเวลาประมาณ 3 ป (ดูกิจการ 19:10) ในขณะที่ ประกาศพระกิตติคุณอยูในเมืองเอเฟซัส อาจารยเปาโลถูกตอตานมาก จนทานถึงกับกลาววา ณ ที่นั้นทาน “ไดสูกับสัตวราย” ( 1 โครินธ 15:32) ที่เมืองนี้เองอาจารยเปาโลเกือบจะตองเสียชีวิต เพราะการวุนวายที่เกิดขึ้น (กิจการ 20:1) แตทานก็ยังคงรักชาวเมืองนี้เปนอันมาก 2.สาระสําคัญ คําสอนสําคัญในพระธรรมเลมนี้ คือ “คริสตจักรซึ่งมีพระคริสตเปนศีรษะ” คําสําคัญคือ “ความ เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน” “ในพระคริสต” “เตือนสติ” อาจารยเปาโลมิไดกลาวเจาะจงแกผูหนึ่งผูใด โดยเฉพาะ ดูเหมือนวาทานจะเปนหวงคริสตจักรของพระคริสตทั่วโลก ซึ่งเปนพระกายที่แทจริงของ
? 3. บทตอนที่สําคัญ ทานอาจแบงพระธรรมเอเฟซัสเปนสองตอนงายๆคือ ก. พระเจาทรงกระทําอะไรเพื่อเราบาง (บทที่ 1-3) ข เราควรกระทําอะไรเพื่อพระเจาบาง (บทที่
หรือจะแบงตอนตามลําดับบทก็ไดคือ ก.
พระคริสตมากกวาคริสตจักรทองถิ่นแหงใดแหงหนึ่งเทานั้น
สัจธรรมที่ลึกซึ้งที่สุด ในพระคริสตธรรมใหมบันทึกไว ในพระธรรมเลมนี้ พระธรรมเลมนี้
4-6)
ความบริบูรณซึ่งไมมีที่สิ้นสุด (บทที่ 1) ข ไมมีขอบเขตจํากัด (บทที่2)

1 การเลือกสรรการไถ (บทที่ 1)

2 สําแดงใหเห็นถึงพระคุณของพระเจาและการไรความสามารถของมนุษย(บทที่ 2)

3. การสรางสรรควิญญาณจิต (บทที่ 3)

ค. การรับพระพรรวมกันของชาวตางประเทศ (บทที่ 3)

ง หลักในการดําเนินชีวิต

1 ความรักความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน (บทที่ 4)

2. ความบริสุทธิ์ครอบครัว (4,5)

จ. หลักในการตอสู (บทที่ 6)

ฉ. สรุป (บทที่ 6)

34 ง. สุดที่จะหยั่งถึง (บทที่4) จ. ปราศจากมลทิน (บทที่5) ฉ ปราศจากความเกรงกลัว (บทที่ 6)
ลักษณะพิเศษ ตนฉบับเกาแกบางฉบับไมมีคําวา “ซึ่งมีไปถึงคริสตจักรในเมืองเอเฟซัส” ดวยเหตุนี้ บางทาน จึงคิดวาพระธรรมเลมนี้เปนจดหมายเวียนถึงคริสตจักรตางๆซึ่งอยูรอบๆเมืองเอเฟซัส สามบทแรกไมมีคําแนะนําตักเตือน แตกลาวถึงพระกรุณาธิคุณอันลนเหลือของพระเจา ซึ่ง พระองคประทานใหแกมนุษย เพื่อเห็นแกวิสุทธิชนทั้งปวง โปรดสังเกตดูถอยคําที่ใช ซึ่งบอกถึงอดีต กาลบอยครั้ง พระธรรมเอเฟซัสมีความสัมพันธอยางใกลชิด กับพระธรรมโยชูวา เรื่องราวในพระธรรมโยชู วา เปนตัวอยาง ซึ่งแสดงใหเห็นความจริงในพระธรรมเอเฟซัสวา ชีวิตคริสเตียนยอมมีการตอสูและ พลาดพลั้งบอยครั้งแตในบั้นปลายเราจะเปนผูมีชัยมีความสงบสุขและไดมรดกในแผนดินสวรรค ในพระธรรมเลมนี้ เราจะเห็นขอลึกลับบางอยางซึ่งไมมีในพระธรรมเลมอื่น ๆ คือแผนการอัน กวางใหญของพระเจาสําหรับมนุษยทุกยุคทุกสมัย (1: 10; 2:7) 5. หัวขอสังเขป ก
บทที่
ข. การเลือกสรรของพระเจาแตดั้งเดิม
4.
คํานํา (
1)

โปรดจําไววาพระคุณอันอุดมสมบูรณ ทุกอยางมีไวสําหรับทานแมทานเพิ่งจะเชื่อพระเจานี่เปนแผนการของพระเจา

35 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ พระเจาไดทรงมอบตําแหนงอันมีเกียรติแกผูเชื่อในพระเยซูคริสตเรียบรอยแลวตั้งแตอดีต ดังจะ เห็นไดจากการใชถอยคํา ซึ่งเปนอดีตกาล เชน “ไดทรงโปรดประทานพร” (1:3) “ไดทรงเลือก” (1:4) “ไดทรงแตงตั้งเราไวกอน” (1:5) คําอธิษฐานจากใจจริงของอัครสาวกเปาโล ทั้งสองตอนตามที่ปรากฎใน 1: 14-23; 3:14-21 นับเปนตัวอยางอันที่ดีคริสเตียนที่ไดรับการสั่งสอนโดยพระวิญญาณในปจจุบันนี้ ควรยึดถือ เปนแบบในการอธิษฐาน บทที่ 2 ขอ 8 และ 9 เปนคําสอนวาดวยการรอดโดยพระคุณเพราะความเชื่อ คําสอนใน 2: 14 กลาวถึงสันติสุขที่แทจริงวามิใชเปนสภาวะทางจิตใจ แตเปนบุคคล คือองค พระเยซูคริสต บทที่ 2: 11-13 กลาวถึงสภาพที่ไรความหวังของชาวตางประเทศกอนที่พวกเขาจะลงมายังพระ คริสต เคล็ดลับแหงความสําเร็จของคริสเตียนคือการเปยมลนโดยพระวิญญาณบริสุทธิ์ (5: 18) กลาวถึง ระเบียบการดําเนินชีวิตของคริสเตียน พระเจาไดทรงกระทําสิ่งอัศจรรยใหแกเรา โดย เห็นแกพระคริสตเราจึงควรปรนนิบัติพระองคดังที่สอนไวใน 4-6 7. กุญแจไขความเขาใจ คําสอนในพระธรรมเลมนี้ เปนคําสอนที่ “บริสุทธิ์ที่สุด” จงอานดวยใจอธิษฐาน อยาอดกลั้น น้ําตาแหงการสํานึกถึงในพระคุณของพระเจาที่อาจไหลออกมา
พระองคจะทรงกระทํา
ใหแผนการนี้สําเร็จในชีวิตของทานหากทานยอมตอพระองค
36 กุญแจไขพระธรรมฟลิปป 1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล เขียนในขณะถูกจับกุมคุมขังอยูในกรุงโรม เมื่อประมาณ ค.ศ. 63 ถึง คริสตจักรในเมืองฟลิปป ฟลิปปเปนเมืองสําคัญเมืองหนึ่งอยูใตบังคับของโรม อาจารยเปาโลไดจัดตั้ง คริสตจักรนี้ขึ้นเมื่อประมาณสิบปกอน (ดูกจ บทที่ 16) เหตุที่เขียน เมื่อทราบวาอาจารยเปาโลถูกจับกุมคริสตจักรแหงนี้ไดรวบรวมขาวของ สงไปชวย ทานโดยใหชายหนุมคนหนึ่งชื่อเอปาฟะโรตินําไปสงมอบใหทานถึงโรม พระธรรมฟลิปปเปนจดหมาย “ตอบขอบคุณ” ซึ่งอาจารยเปาโลเขียนขึ้นเพื่อแสดงความสํานึก ในบุญตอคริสตจักรดังกลาว 2. สาระสําคัญ พระธรรมฉบับนี้ใชถอยคําที่แสดงออกซึ่งความรักใครมากที่สุดในบรรดาจดหมายฝากทั้งหมด ขอบงอาจารยเปาโล เปนจดหมายแสดงความปรานี และความรักโดยปราศจากการตําหนิ เนื้อความ เปนไปในทํานองแสดงความชื่นชมยินดี ทั้งๆ ที่ทานตองถูกทดลองนานาประการ คําสําคัญคือ “ความ ชื่นชมยินดี” “อิ่มใจ” “สันติสุข” ขอพระธรรมที่สําคัญนาจะเปน 4:4 อาจารยเปาโลไดแทรกคําสอนที่วา
ไวในพระธรรมเลมนี้แทบทุก บทเชน 1:21 วา “การที่มีชีวิตอยูก็ไดพระคริสตและการที่ตายก็ไดกําไร” ฯลฯ 3. บทตอนที่สําคัญ พระคริสตทรงเปนบอกําเนิดแหงชีวิต (บทที่ 1) ทรงเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต (บทที่ 2) ธงชัยแหงชีวิต (บทที่ 3) ทรงเปนทุกสิ่งทุกอยางในชีวิต (บทที่ 4) หรืออาจแบงเปนหมวดหมูอีกนัยหนึ่งไดดังนี้ ยินดีในความเชื่อ(บทที่ 1) ยินดีในความรัก (บทที่ 2) ความยินดีในการรวมสมานฉันท (บทที่ 3) ยินดีในความหวัง (บทที่ 4)
พระเจาทรงจัดสรรทุกสิ่งทุกอยางที่จําเปนตอชีวิตไวใหเราอยางพรอมมูล

1)

(บทที่ 2) ความสุภาพออนนอม (บทที่ 2)

การหนุนน้ําใจ (บทที่ 2)

การรับใชพระเจาโดยเปนผูถือจดหมาย (บทที่ 2)

ขอเตือนใจ

การประพฤติตามกฎหมาย (บทที่ 3)

เสรีภาพในทางที่มิชอบ (บทที่ 3)

โสมนัสยินดี (บทที่ 4)

37 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมเลมนี้ไดกลาวคําตําหนิติเตียน หรือสอนใหคริสตจักรฟลิปปปรับปรุงแกไขตนเองแต อยางใด เพราะสมาชิกคริสตจักรนี้ดําเนินชีวิตในความสวางของพระเจาดีอยูแลว อาจารยเปาโลมิไดวิตก กังวลหรือหวงใยในคริสตจักรแหงนี้ คําวา “ยินดี” เปนคําที่เนนไวมากในจดหมายฝากฉบับนี้ ความยินดีเปนผลสวนหนึ่งของพระ วิญญาณ (กท 5:22, 23) อาจารยเปาโลสัญญาวาจะสงทิโมธีผูซึ่งทานรักมากไปยังคริสตจักรแหงนี้ (2: 19-23) ทั้งยังแจง ใหทราบดวยวาทานเองก็อาจจะเดินทางไปหาในไมชาเชนกัน (2:24) ผูที่นําจดหมายฝากฉบับนี้ไปสงใหแกคริสตจักรเมืองฟลิปปคือ เอปาฟะโรดิโต ผูซึ่งครั้งหนึ่ง ลมปวยหนักจนแทบจะเสียชีวิตอาจารยเปาโลยกยองความซื่อสัตยของเขามาก แมจดหมายฉบับนี้มิไดเนนหนักในดาน “หลักคําสอน” ไวโดยเฉพาะ แตก็ไดแทรกคําสอนที่ สําคัญๆ ไวพอเปนแนวทางดวย เชน การใหและการรับ (6:10-19) ตัวอยางอันดีงามในการถอมพระองค ของพระเยซูคริสตซึ่งไดรับการยกยองเทิดทูนในที่สุด (2:5-10) 5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (บทที่ 1) การขอบคุณ เมื่อระลึกถึง (บทที่ 1) เมื่อมีประสบการณ (บทที่
เมื่อมีความหวัง (บทที่
1)
คําแนะนําตักเตือน ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

สรุป (บทที่ 4) 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ คําขวัญอันสําคัญสําหรับอาจารยเปาโล ปรากฎอยางชัดเจนใน 1: 21 ชีวิตของอัครสาวกเปาโล เทาที่ทานมีอยูนั้นมิใชดํารงอยูไดดวยตัวทานเองหากแตเปนเพราะพระคริสตสถิตอยูภายในทาน

โปรดจําไววาอาจารยเปาโลเปนคนของพระผูเปนเจาที่มีความซื่อสัตยตอพระองคอยางเสมอตน เสมอปลายแมกระทั่งขณะอยูในคุกจงอานแตละบทสักสิบเที่ยวแลวทานจะเขาใจคําสอนเหลานี้

38
พิจารณาตามรูปถอยคําและความหมายแลว การที่อาจารยเปาโลถูกกักกัน ตลอดจนผลงาน ระหวางนั้น (1: 12, 13) ก็อยูในความหมายของคําวา “ทุกสิ่ง” ในพระธรรมโรม 8:28 นั่นเอง และ ระหวางที่อยูในกรุงโรมนับไดวาทานถูกจับกุมเพราะเห็นแกพระเจาโดยแท วิถีชีวิตของพระเยซูคริสตดังปรากฏใน 2:5-11 เปนแบบอยางที่ชัดแจงและแทจริงสําหรับเรา อันไดแกการถอมลงในเบื้องตนและไดรับการยกยองเทิดทูนในเบื้องปลาย “สิ่งใดๆ ที่เปนคุณประโยชนแกขาพเจา สิ่งเหลานั้นเปนที่ไรประโยชนแลวเพราะเห็นแกพระ คริสต” ใน 3:4-14 ขอพระธรรมนี้ชี้ชัดวา คุณคาหรือความสําเร็จในทางฝายโลก ไมมีความหมายเมื่อเทียบกับสิ่งที่ เราจะไดรับจากพระเยซูคริสต พระสัญญาอันทรงคุณคายิ่งก็คือ
4: 19 7. กุญแจไขความเขาใจ

กายของพระองคและไดย้ําไวอยางหนักแนนวาพระเยซูทรงเปนเอกเปนใหญเหนือสรรพสิ่งทั้งปวงอีก ทั้งไดสอนถึงการแกไขแนวความคิดเห็นที่ผิดไวดวย

สันโดษทรมานกายของผูที่มิไดนับถือพระเจาแทรกซึมเขามาในคริสตจักร

39 กุญแจไขพระธรรมโคโลสี 1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล เขียนจากกรุงโรมใน ค.ศ. 62 เปนจดหมายฝากอีกฉบับหนึ่งที่เขียน ขึ้นในระหวางถูกจับกุมคุมขัง เมืองโคโลสีอยูในแควนเอเซียนอย และอยูไมไกลจากเมืองเอเฟซัสเทาไรนัก ดูเหมือนวา อาจารยเปาโลไมไดจัดตั้งคริสตจักรแหงนี้ดวยตนเอง (คส 2:1) แตเปนที่แนใจวาคริสตจักรแหงนี้ เกิดขึ้นเพราะผลงานของทาน (กจ. 19:10) คงเปน เอปาฟรัส (คส. 1:7) หรือ อะระคีโป (คส. 4:17) เปนผู เริ่มงาน เหตุที่เขียน เชื่อกันวาเอปาฟรัศมาถึงกรุงโรมพรอมกับแจงขาววา มีความเชื่อนอกรีดนอกรอย อันเปนอันตรายแกคริสตจักรเกิดขึ้น และเอปาฟรัศเองก็ตองถูกจําคุกดวย (ฟม. 23) ดวยเหตุนี้อาจารย เปาโลจึงไดเขียนพระธรรมฉบับนี้ขึ้นแลวจัดใหตุคิโกและโอเนซิโมนําไปสง (4:7-9) 2. สาระสําคัญ สาระอันสําคัญยิ่งของพระธรรมเลมนี้คือ พระคริสตทรงเปนศีรษะของคริสตจักรซึ่งเปนพระ
พยายามนํามาปะปนเขากับ คําสอนของพระคริสตเปนตนวา มีการชักนําใหเชื่อเรื่องราวอันลึกลับมหัศจรรย สอนใหสักการะทูต สวรรค และใฝฝนในนิมิตทั้งหลาย อาจารยเปาโลจึงไดชี้แจงแกไขปญหาเหลานี้โดยย้ําไวอยางหนัก แนนใหยึดถือเอาพระคริสตเปนที่พึ่งและดําเนินชีวิตตามพระองคอยางใกลชิด 3. บทตอนที่สําคัญ คํานํา-คําอธิษฐาน-พระคริสตผูทรงสรางสรรพสิ่งองคพระมหาไถผูสถิตอยูภายในเรา-ผูเชื่อและ วางใจยอมไดความครบบริบูรณในพระคริสต-การเขามีสวนรวมกับพระคริสตในพระสงาราศีในชีวิตที่ ฟนขึ้นจากความตายความเปนอันหนึ่งอันเดียวของคริสเตียน-มิตรภาพของคริสเตียน
ทั้งนี้เพราะไดมีสิทธิคําสอน เกี่ยวกับการถือ

คํานํา (1: 1-8)

คําอธิษฐาน (1:9-12)

(1: 13-29)

เปนพระผูไถเปนผูทรงใหเราคืนดีกับพระเจา

40 4. ลักษณะพิเศษ จุดมุงหมายของพระธรรมฉบับนี้คือ เพื่อวางหลักปฏิบัติใหแกสมาชิกคริสตจักรเมืองโคโลสี เพื่อแกไขลัทธิคําสอนและแนวความคิดเห็นผิดที่กําลังแพรหลาย และทําใหคริสเตียนไขวเขวใน ขณะนั้น กิจการฝายโลกบางอยางซึ่งถือวาเปนของดีเดน เชน การคาดคะเนในทางปรัชญาก็ดี เรื่อง ประหลาดมหัศจรรยก็ดี การบําเพ็ญทุกขทรมานก็ดี การถือเครงตามบทบัญญัติก็ดี และการสักการะบูชา ทูตสวรรคก็ดี เหลานี้มิใชวิถีทางที่บุตรของพระเจาจะพึงยึดถือ เพราะสิ่งเหลานี้ยอมแสดงใหเห็นถึงเนื้อ แทในตัวเองอยูแลว พระเยซูคริสตและพระราชกิจของพระองคตางหาก ที่สนองความตองการของเรา ไดทุกกรณี พระธรรมเลมนี้ไดเทิดพระเกียรติของพระคริสตไวอยางสูงสงเกินกวาพระธรรมในเลมใดๆใน พระคริสตธรรมใหม ไดแสดงใหเห็นถึงสงาราศีทั้งปวงของพระคริสตในการสราง การไถมนุษยใหพน จากความผิดบาปและเอกสิทธิโดยสมบูรณทุกกรณีของพระเจา 5. หัวขอโดยสังเขป
แสดงใหทราบถึงพระคริสต
เปนผูที่ทรงไวซึ่งความบริบูรณในทุกๆดาน คําวากลาวตักเตือน (บทที่ 2) หลักคําสอนเท็จ การกราบไหวทูตสวรรค คําแนะนําสั่งสอน (3: 1-4:6) ความบริสุทธิ์ความรัก การยอมเชื่อฟงความจงรักภักดี การอธิษฐานอยางสม่ําเสมอหลักในการดําเนินชีวิต สรุป (4: 7-18)

จดหมายฝากฉบับนี้ไดประสานหลักคําสอนและการปฏิบัติเขาดวยกันใหเปนที่ทราบชัด

41 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ดูเหมือนวา ปญหาในพระธรรมเลมนี้ จะเปนเรื่องที่วาดวยการบรรลุถึงความครบบริบูรณ และ ความบริสุทธิ์ในองคพระเยซูคริสตเจา ดังที่ทานอาจารยเปาโลแสดงไวในบทที่ 2 ขอ 10 วาเราตางไดรับ ฐานะอันสูงสงนี้แลวเมื่อเราดําเนินชีวิตตามคําสอนของพระองคอยางใกลชิด (2: 6) บทที่ 2 ขอ 8 สอนใหรูถึงอันตรายของคําสั่งสอนวาดวยปรัชญา อันเกิดจากความนึกคิดของ มนุษยเอง ซึ่งมิไดมาจากพระเจา เพราะคําสอนเหลานั้นเปนเพียงธรรมเนียมปฏิบัติของมนุษย จึงเปนสิ่ง ที่ไรคา พระธรรมที่เนนถึงความสําคัญของความเปนผูสรางของพระคริสตมีบัญญัติไวหลายแหง สวน พระธรรมฉบับนี้มีใน 1: 15-19 และไดแสดงใหเห็นเหตุผลของการที่พระองคทรงสรางไววา ทรงสราง ไว “สําหรับพระองค” เพื่อ “พระองคจะไดเปนเอกในสรรพสิ่งทั้งปวง” พระธรรมเลมนี้ไดกลาวเจาะจงถึงสิ่งตางๆ ที่คริสเตียนจะตองสละทิ้ง (3: 8, 9) และสิ่งซึ่ง จะตองยึดมั่นไว (3:12-14) หลักสําคัญยิ่งอยางหนึ่งในการประพฤติของคริสเตียนซึ่งครอบงําเหนือพฤติกรรมทั้งหลาย ใน ชีวิตคริสเตียนตามที่บัญญัติไวในบทที่ 3 ขอ 17 คือ ไมวาจะกระทําการใดๆ ก็ดี จงกระทําในนามพระ เยซู และขอบพระคุณพระบิดาเจาในพระนามของพระองค นับวาเปนคําสอนที่สอดคลองตองกันกับ พระธรรม 1 โครินธ 10: 31 อยางใกลชิด
7. กุญแจไขความเขาใจ จงอานและขีดเสนใตคําวา “ครบบริบูรณในพระคริสต” ในพระธรรมโคโลสีทุกๆ ขอ แลวจะ ตระหนักวาทานไมตองการสิ่งใดอีกเลย จงดําเนินชีวิตประจําวันของทานใหสําแดงออกซึ่งความครบ บริบูรณนี้โดยยึดมั่นในพระวจนะของพระคริสต (3:16)

2. สาระสําคัญ

ใจความสําคัญคือการเสด็จกลับมาของพระคริสตโดยอาจารยเปาโลไดรับใชพระเจาในเมืองเธ สะโลกาในระยะเวลาอันสั้นจึงจําเปนตองกําชับยืนยันถึงความจริงที่ทานเคยสอนไว

ใหมใหมีความเชื่อมั่นคงยิ่งขึ้นคําแนะนําสั่งสอนนี้กอใหบังเกิดผลดีอีกสองประการ

ความบริสุทธิ์ของชีวิตหนุนน้ําใจใหเกิดความกลาหาญแมยามถูกกดขี่ขมเหง

42 กุญแจไขพระธรรม 1 เธสะโลนิกา 1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล เขียนขึ้นเมื่อประมาณ ค.ศ. 52 ที่เมืองโครินธ ในระหวางเวลาที่ อาจารยเปาโลไปเยือนที่นั่นครั้งแรก (ดูกจ. บทที่ 18) เมืองเธสะโลนิกา (ปจจุบัน เรียกวาซาโลนิเก) เปนเมืองใหญเมืองหนึ่ง และเปนเมืองสําคัญของ มณฑลมากะโนเนียและมีชาวยิวหลายคนอาศัยอยูในเมืองนี้ อาจารยเปาโล ไดจัดตั้งคริสตจักรในเมืองนี้ขึ้นแหงหนึ่ง เมื่อคราวเดินทางมาจากเมืองฟลิปป (กจ. 17: 1-9) เมื่อจัดตั้งคริสตจักรเสร็จแลวไมนาน อาจารยเปาโลก็จากไป แตเนื่องดวยหวงใยถึงความ เปนไปของคริสตจักร จึงตกลงในใหทิโมธีไปดูแลวา กิจการจะเปนไปอยางไร (1 ธส 4:3-5) เมื่อทิโมธี ไปดูและกลับมารายงานสภาพความเปนไปของคริสตจักรแลว อาจารยเปาโลจึงไดเขียนจดหมายฉบับนี้ ขึ้น (กจ 18:5)
เพื่อชูชวย ผูที่เชื่อ
คือ เปนการเชิดชู
(3: 2-4) และปลอบโยนผู ที่เศราโศกถึงญาติพี่นองที่ถึงแกความตาย (4:1-13) 3. บทตอนที่สําคัญ ชีวิตคริสเตียนทั้งในอดีตปจจุบันและอนาคต (บทที่ 1) รางวัลแกผูที่เปนแบบอยางของผูรับใช (บทที่ 2 ) ความบริสุทธิ์ของผูเชื่อ (บทที่ 3) ความหวังของผูเชื่อ (บทที่ 4) การเสด็จกลับมาของพระผูเปน เจา (บทที่ 5) 4. ลักษณะพิเศษ ตอนจบของทุกบทไดกลาวถึงการเสด็จกลับมาของพระเยซู จดหมายฝากฉบับนี้เปนจดหมายฝากฉบับแรกที่อาจารยเปาโลเขียนขึ้น
43
ในบรรดาผูที่กลับใจมาหา พระเจา อันเปนผลงานของทานมี เดมา (2 ตธ. 4:10) คาโย (กจ. 19: 29) เซกุนโด (กจ. 20:4) อาริศตาโค (กจ 27:2; คส 4:10) เราไมแนใจนักวาอาจารยเปาโลทําการประกาศอยูในเมืองเธสะโลนิกาเพียงหนึ่งเดือนเทานั้น (กจ. 17:2) หรืออาจจะปฏิบัติงานอยูที่บานของยาโซน นานกวานั้นก็เปนได (กจ. 17:5) แตไมวาจะเปน เวลานานเทาใดก็ตาม คําสั่งสอนของทานในระยะเวลาดังกลาว พอจะแยกเปนหัวขอยอ ๆ ไดดังตอไปนี้ คือการเลือกสรร พระวิญญาณบริสุทธิ์ ความมั่นใจในความรอด ตรีเอกานุภาพของพระเจา การกลับใจ และถวายตัวตอพระเจา การเสด็จกลับมาครั้งที่สองของพระคริสต การดําเนินชีวิตของผูที่เชื่อ การชําระ ใหเปนผูบริสุทธิ์วันของพระผูเปนเจาการฟนคืนพระชนมธรรมชาติสามประการของมนุษย บทที่ 3: 6-10 เปนที่ยืนยันไดวา คริสเตียนเมืองเธสะโลนิกา มีความรักและความผูกพันตอ อาจารยเปาโลเปนอันมาก ผลงานของอาจารยเปาโลที่เมืองเธสะโลนิกานับวาดีเดนมา ทั้งนี้เพราะศัตรูไดกลาวหาอาจารย เปาโลวาเปนผู “คว่ําแผนดิน .” (กจ 17:6) ผลงานดังกลาวนี้ไดเลื่องลือไปทั่วประเทศกรีก (1 ธส 1:8, 9) 5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (บทที่ 1) การระลึกถึงเวลาที่เคยอยูดวยกัน การเทศนาการถูกขมเหง การสงทิโมธีการปลอบประโลม คําวิงวอนและเตือนสติ (4: 1-10) เกี่ยวกับ ความบริสุทธิ์ความรัก การเปดเผยใหทราบถึง (4:13-5:3) การเสด็จมาของพระคริสต ไมรูกําหนดเวลา การปฏิบัติ (5: 4-22) บทหนุนน้ําใจคํากําชับเกี่ยวกับความประพฤติ สรุป (5: 23-24)
ความสําเร็จของอาจารยเปาโลที่เมืองเธสะโลนิกานี้นับวาดีเดนมาก

4: 13-18 ซึ่งเปนตอนที่อาจารยเปาโลเปดเผยใหทราบถึงสงาราศีแหงการเสด็จกลับมาของพระ

จะเสด็จกลับมาแลวเราตองดํารงชีวิตใหอยูในสภาพเตรียมพรอมอยูเสมอเปนการตระหนักแน

แลววาพระองคไดทรงฟนคืนพระชนมขึ้นมาเมื่อเชานี้และดวยความหวังอันมั่นคงวาพระองคจะเสด็จ

44 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ความเปลี่ยนแปลงที่สําคัญที่สุดของคริสเตียน คือ การละทิ้งรูปเคารพ แลวหันมาหาพระเจา (1: 9) บทที่ 1 ขอ 8 แสดงใหเห็นถึงอิทธิพลอันยิ่งใหญแหงความเชื่อ ของคริสตจักรเธสะโลนิกาวามี มากสักเพียงใดเพราะแมคริสตจักรนี้เพียงแหงเดียวก็สามารถสรางชื่อเสียงแผไปทั่วโลกได บทที่ 4 ขอ 1-5 เปนคําเตือนวาดวยการรักษาตนใหเปนผูบริสุทธิ์ มิใหหมองมัวในเรื่องตางๆ โดยเฉพาะทางเพศ ขอพระธรรมอันเปนศูนยรวมแหงความหวัง และความยินดีของคริสเตียน ในพระธรรมเลมนี้ ไดแก
คริสตขอพระธรรมเหลานี้เปนบทหนุนใจผูเชื่อพระเจาไดเปนอยางดี พระธรรม 5: 12, 13 เปนการตักเตือนใหทุกคนนับถือศิษยาภิบาล ขอกําชับเจ็ดประการสําหรับการดํารงชีวิตคริสเตียนมีบัญญัติไวใน 5: 16-22 7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรม 1 เธสะโลนิกานี้สอนใหเขาใจถึงการดํารงชีวิตคริสเตียน เพราะพระเยซูคริสตใกล
ถึงการ
และประจักษแกตา
สิ้นพระชนมของพระเยซูบนไมกางเขนประหนึ่งวาเหตุการณเพิ่งผานมาเมื่อวานนี้
มาในวันพรุงนี้

ขอความในจดหมายปลอมที่อางวาเปนจดหมายของอาจารยเปาโลอางวาวันของพระผูเปนเจามาถึงแลว เพราะมีการขมเหงเบียดเบียนและความยากและความยากลําบากเกิดขึ้นซึ่งเปนการขัดแยงกับคําสอนที่ อาจารยเปาโลไดใหไวคราวกอนซึ่งวาจะนําพวกเขาใหพนจากการทดลองดังนั้นพระธรรม 2 เธสะโลนิ กาจึงเปนจดหมายที่ทานเขียนเพื่อย้ําความเขาใจในหลักธรรมดังกลาวใหเขาใจโดยแจมแจง

45 กุญแจไขพระธรรม 2 เธสะโลนิกา 1. ความเปนมา อาจารยเปาโลเขียนพระธรรมนี้ขึ้น ที่เมืองโครินธเมื่อประมาณ ค.ศ. 52 ปเดียวกับที่เขียนพระ ธรรม 1 เธสะโลนิกา เราไดทราบจากพระธรรม 1 เธสะโลนิกาแลววา อาจารยเปาโลเปนผูกอตั้งคริสตจักรเมืองนี้ขึ้น ในระหวางการเดินทางไปประกาศพระกิตติคุณในตางแดนเปนครั้งที่สองแตเพราะสถานการณในเมือง นั้น ไมราบรื่นพอที่ทานจะอยูไดนานนัก ดังนั้นภายหลังจากที่ไดกอตั้งคริสตจักรขึ้นแลว ทานจึงตอง หลบหนีไปยังเมืองอื่น อยางไรก็ตามอาจารยเปาโลก็มีความหวงใยคริสตจักรนี้มาก เพราะเปรียบเสมือน ลูกออน อาจไมแข็งแรงพอที่จะสูกับความบีบคั้นของบานเมืองได ทานจึงไดสั่งทิโมธีใหไปเยี่ยมเยียน และสืบขาวความเปนไปของพี่นองคริสเตียนเมืองเธสะโลนิกา ฉะนั้น เมื่อทิโมธีกลับมาแจงขาวแกทานวาคริสตจักรที่เมืองนี้กําลังเจริญขึ้น อาจารยเปาโลมี ความปลาบปลื้มมากจึงไดเขียนจดหมายฝากคือพระธรรม 1 เธสะโลนิกาใหทิโมธีถือไป หลังจากนั้นไมนานนักทานก็ไดเขียนจดหมายฝากอีกฉบับหนึ่งคือพระธรรม 2 เธสะโลนิกานี้
2. สาระสําคัญ
ยังคงกลาวถึงการเสด็จกลับมาของพระเยซูคริสต เชนเดียวกับฉบับแรก แตเนื่องดวยคริสเตียนชาวเธสะโลนิกา เกิดการหวั่นไหววิตกเปนทุกข เพราะ
แบงไดดังนี้หนุนน้ําใจ
ใหทิโมธีถือไปอีกครั้งหนึ่ง
ขอใหญใจความของพระธรรมฉบับนี้
3. บทตอนที่สําคัญ
(บทที่ 1) คําสั่งสอน (บทที่ 2) คํากําชับตักเตือน (บทที่ 3)

(2: 13-3:15)

สรุป (3: 16-18) 6.

พระธรรมเลมนี้ไดกลาวถึงเรื่องการเสด็จกลับมาของพระเยซูคริสตอยางผูทรงฤทธานุภาพ

“ใหเขาทําการดวยใจสงบ และกินอาหารของตนเอง” นอกจากนี้ยังไดสั่งไวอยางเขมงวดวา

46 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรม 1 เธสะโลนิกา เขียนเพื่อ “หนุนน้ําใจ” เปนสวนใหญ สวนฉบับที่สองเขียนเพื่อ “ขจัดความไขวเขวหรือความเขาใจผิด” พระธรรมทั้งสองฉบับนี้ เขียนดวยสํานวนเรียบ ๆ อานเขาใจงาย แสดงออกซึ่งความพอใจ และ ความรักอยางมากมายซึ่งไมคอยมีใจในฉบับอื่นๆ ที่นาสังเกตก็คือ พระธรรมเลมนี้ไมมีการอางอิงขอพระธรรมในพระคัมภีรเดิมโดยตรง ทั้งนี้ เปนเพราะอาจารยเปาโลเขียนถึงชาวตางประเทศผูซึ่งไมมีความรูในพระคัมภีรเดิมมากอน 5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1:
คําสั่งสอน
วันแหงการพิพากษามาร หลักปฏิบัติเกี่ยวกับ
การปลอบประโลมการอธิษฐาน การประกอบการงานความเชื่อฟง
1-5)
(1: 6-2:12)
อันเปนคําสอนที่สําคัญ ซึ่งทานเนนไวเพื่อเสริมน้ําหนักใหแกคํา สอนเรื่องนี้ในพระธรรมเธสะโลนิกาฉบับตน ในบทที่ 2 ขอ 3-12 สอนใหระมัดระวังตัวมิใหตกเปนเหยื่อแหงการทดลองของมาร ผูไดเชื่อวา “สัตวราย” “ลูกแหงความพินาศ” และ “ผูทรยศพระคริสต” ซึ่งอาจมาในรูปใดๆก็ได ดูเหมือนวามีชาวเธสะโลนิกาบางคนเขาใจวา หากพระเยซูคริสตจะเสด็จกลับมาโดยเร็วแลว ไซร ก็ไมมีความจําเปนอันใดที่เขาจะตองทําการงานใหเหนื่อยยาก สูอยูเฉยๆ รอจนถึงเวลานั้นจะดีกวา ดวยเหตุนี้อาจารยเปาโลคงกําชับอยางหนักแนนวา
ถาแมคนหนึ่งคนใดไมเชื่อฟงถอยคําของทาน ก็ใหตัดเขาออกเสีย จากสังคมของคริสเตียน
คําสั่งสอนที่สําคัญ
และ ทรงสงาราศียิ่งใหญ ไวอยางชัดเจน
47 แมวาการเสด็จกลับมาครั้งที่สองของพระคริสตเปน “ความหวังใจอันใหมีสุข” (ทต. 2:13) แก อาจารยเปาโลก็ตาม แตทานก็ไมยอมปลอยใหความหวังนั้นทําใหทานขาดความรอนรนในการรับใช พระคริสตเลย 7. กุญแจไขความเขาใจ ควรศึกษา และพิเคราะหพระธรรมเธสะโลนิกาทั้งสองฉบับนี้ใหตอเนื่อง เปนอันหนึ่งอัน เดียวกันเพราะสวนใหญแลวตางก็เนนในเรื่องการเสด็จกลับมาของพระคริสตเปนประเด็นสําคัญ

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.