ลูกกุญแจ 27 ดอก ไขพระคัมภีร์ใหม่ 2/2

Page 1

- วิวรณ์

1ทิโมธิ

กําชับเกี่ยวกับหลักคําสอนที่ไมถูกตอง (บทที่ 1) สอนใหอธิษฐานดวยจิตใจอันบริสุทธิ์

48 กุญแจไขพระธรรม 1 ทิโมธี 1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล เขียนขึ้นที่มณฑลมากะโดเนีย (ทางตอนเหนือของประเทศกรีก) เมื่อ คศ 65 พระธรรมฉบับนี้เขียนถึงทิโมธี ผูรวมงานที่อาจารยเปาโลรักใคร และสนิทสนมที่สุด และดํารง ตําแหนงศิษยาภิบาลของคริสตจักร เอเฟซัส อาจารยเปาโลพบทิโมธีที่เมืองลุศตรา (กจ. 16:1-3) และได เลือกชายหนุมคนนี้ไวเปนผูชวย อาจารยเปาโลยกยองทิโมธีดวยใจจริงวา “ขาพเจาไมมีผูใดที่มีน้ําใจ เหมือนทิโมธีนั้น ”(ฟป 2:20) ทั้งนี้ก็เพราะทิโมธีเปนคนสนิทที่ทานไวใจที่สุดนั่นเอง เหตุที่เขียน เปนที่แนชัดวาเมื่ออาจารยเปาโลพนจากการถูกจับกุมขังที่กรุงโรมในคราวแรกแลว ทานไดกลับมาเยี่ยมเมืองเอเฟซัส และเดินทางตอไปยังมากะโดเนีย ปลอยใหทิโมธีอยูที่เมืองเอเฟซัส ตามลําพัง ขณะเดินทางตอไปทานไดเขียนพระธรรมฉบับนี้ขึ้น ซึ่งวาดวย หนาที่ของศิษยาภิบาลอันเปน งานที่ทิโมธีพึงปฏิบัติ 2. สาระสําคัญ พระธรรม 1 ทิโมธีนี้เปนพระธรรมฉบับหนึ่งในสามฉบับ (รวมทั้งพระธรรม 2 ทิโมธีและพระ ธรรมทิตัส) ซึ่งจัดเปน “จดหมายฝากสําหรับศิษยาภิบาลโดยเฉพาะ” วาดวยระเบียบการจัดตั้ง การ ปฏิบัติในคริสตจักรแรกเริ่มนั้นกิจการทั้งปวงของคริสตจักรอยูในอํานาจหนาที่โดยตรงของอัครสาวก แตเมื่อกาลสมัยของอัครสาวกจวนจะสิ้นสุดลง ก็เปนการจําเปนที่พระวิญญาณบริสุทธิ์จะไดดลใจให เขียนขอแนะนําอันแจมแจงเพื่อเปนแนวทางแกบรรดาคริสตจักรในอนาคต 3. บทตอนที่สําคัญ
(บทที่ 2) คุณสมบัติของผูปกครองและมัคนายก (บทที่ 3) หนาที่ของศิษยาภิบาลที่ดี (บทที่ 4) การปฏิบัติ ของศิษยาภิบาลที่ดี (บทที่ 5,6)

การอธิษฐาน (บทที่ 2)

เจาหนาที่ของคริสตจักร (บทที่ 3)

ผูปกครองคริสตจักร

มัคนายก

การปกครองคริสตจักร (บทที่ 4-6)

สรุป (6: 20, 21)

49 4. ลักษณะพิเศษ ทิโมธีเปนคนหนุมแนนแตเปนผูที่มีความประพฤติที่ดีพรอม หาขอบกพรองมิได เปนตัวอยางที่ ดีงามของคริสเตียนทั่วๆ ไป ไดรับการแตงตั้งใหเปนผูประกาศพระกิตติคุณ (4: 14, 2 ทธ 1:6) เปนผูมี สุขภาพไมคอยสมบูรณ (5:23) เปนที่ไววางใจของอาจารยเปาโลมาก หลังจากมรณกรรมของอาจารย เปาโลแลวดูเหมือนวาทิโมธีไดถูกทรมานจนถึงแกความตายดวย หนาที่หลักของทิโมธี ไดแกการอบรมคริสเตียนใหรูจักหนาที่ของศิษยาภิบาล เนื่องดวยสมัย นั้นไมมีโรงเรียนพระคริสตธรรมที่จะอบรมสั่งสอนศิษยาภิบาล จึงจําเปนตองเพิ่มพูนความรูและ คัดเลือกจากคริสเตียนใหทําหนาที่ศิษยาภิบาล แตงานนี้ก็สําเร็จลุลวงไปดวยดี ทั้งๆ ที่ตองประสบกับ อุปสรรคนานาประการ เพราะสมัยนี้นคริสเตียนถูกขมเหงรังควานมาก พระธรรม 2 ทธ 1:5,3:14,15 เปนบทอธิบายถึงพื้นฐานของความเปนคริสเตียนที่ดีงามของทิโมธี แมวาบิดาของทิโมธีจะเปนชาวกรีก แตมารดาซึ่งเปนชาวยิวก็ไดอบรมสั่งสอนบุตรใหมีความเชื่อมั่นในพระคริสตอยางมั่นคง หมั่นอธิษฐาน และดํารงตนอยูในกรอบแหงคําสอนของพระองคอยางเครงครัดโดยมีคุณยายคอยชวยเหลืออีกแรงหนึ่ง คงจํากันไดวา ในสมัยนั้นไมมีอาคารที่ทําการของคริสตจักรเปนหลักแหลงเลย การประชุม ของคริสเตียนเมืองเอเฟซัสก็ตองจัดขึ้นในบานพักของคริสเตียน และอาจตองจัดประชุมกันหลายสิบ แหงดังนั้นทิโมธีจึงตองเปนหัวหนาศิษยาภิบาลมีหนาที่สั่งสอนบรรดาผูนําทองถิ่นเหลานั้นดวย 5. หัวขอโดยสังเขป
ผูสอนเท็จ
หลักการประพฤติที่ถูกตอง
คํานํา (1: 1, 2)
(1: 3-20)
ผูรับใช ผูรวมนมัสการ
50 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ปญหาที่ใหญที่สุดในพระธรรมทิโมธีฉบับตน ไดแกเรื่องผูสอนเท็จ (กจ. 20:29,30) เคาเงื่อน ของคําสอนผิดๆเหลานี้มาจากนิยายตางๆของชาวยิวและเรื่องวงศตระกูลอันไมรูจบ อาจารยเปาโลไดเขียนถึงฐานะของสตรี ในคริสตจักรไวอยางระมัดระวัง แมวาในสวรรคจะไม มีฐานะแตกตางกันก็ตาม แตในคริสตจักรยังคงมีขอแตกตางกันอยูบางเปนธรรมดา ซึ่งกรณีเชนนี้จะลบ ลางเสียมิได ในพระธรรมเลมนี้ไดมีการกําหนดคุณสมบัติเจาหนาที่ของคริสตจักรไวอยางชัดเจน แนนอนสําหรับคริสตจักรทุกกาลสมัย ตรงขามกับการแตงตั้งเจาหนาที่ โดยเห็นแกเกียรติหรือทรัพย สมบัติเปนสําคัญ คําสั่งสอนเกี่ยวกับทาส คือ ถาทําไดก็ จงเปนไทแกตัว แตถาทําไมไดก็ จงเปนทาสที่ดีที่สุด เทาที่จะทําได เพื่อเห็นแกพระคริสต ความมั่งมีเปนเหตุใหคนเหินหางจากพระเจาและตกลงไปในหลม แหงความชั่ว 7. กุญแจไขความเขาใจ ในพระธรรมฉบับนี้ ไดบัญญัติคําสั่งสอนของพระเจาวาดวยศิษยาภิบาล ผูนําคริสตจักร และ สมาชิกของคริสตจักรไวอยางครบถวน

โมธีฉบับแรกอยางใกลชิดเชื่อกันวาเมื่ออาจารยเปาโลออกจากเมืองเอเฟซัสโดยใหทิโมธีอยูที่นั่นตอไป

ตัวการในเรื่องนี้และทําใหเปนที่เพงเล็งของพวกเจาบานผานเมืองเสมอมา

51 กุญแจไขพระธรรม 2 ทิโมธี 1. ความเปนมา อัครสาวกเปาโลเขียนพระธรรมฉบับนี้ ถึงทิโมธีผูซึ่งไดชื่อวา เปนบุตรในความเชื่อของทาน โดยเขียนขึ้นที่กรุงโรมเมื่อประมาณค.ศ. 67 พระธรรมเลมนี้มีความสืบเนื่องและสัมพันธกับพระธรรมทิ
(1 ทธ 1:3) และใหทิตัสประจําที่เกาะเกรเต (ทต 1:5) แลวทานไดเดินทางไปยังมณฑล มากะโดเนีย ณ ที่มณฑลนี้ทานไดเขียนจดหมายฝากทิโมธีฉบับแรก และก็คงแวะเยี่ยมคริสตจักรตางๆ ตามที่ทานได สัญญาไวตอมาไมชาอาจารยเปาโลก็ถูกจับและถูกสงไปจําคุกที่กรุงโรมอีกในระหวางรอการพิจารณา คดี (5: 16-18) ทานไดสงจดหมายที่เขียนออกมาจากใจจริงฉบับนี้ ไปยังทิโมธีผูเปนมิตรที่รัก เพื่อเรง ใหทิโมธีไปหาทานโดยเร็ว (4:21) 2. สาระสําคัญ พระธรรมเลมนี้เปนฉบับสุดทายที่อาจารยเปาโลเขียนถึงบรรดา “ลูกแหงความเชื่อ” ของทาน ใจความของพระธรรมเลมนี้เปนไปในทํานองการดําเนินชีวิต และการรณรงคของทหารที่ดีแหงพระเยซู คริสต เปนคําพูดของขุนศึกผูชราที่จําเปนตองออกจากสนามรบ ซึ่งเขียนขึ้นเพื่อหนุนน้ําใจนักรบรุน หลังทั้งหลายและเปลงเสียงแสดงความมีชัยเปนครั้งสุดทาย 3. บทตอนที่สําคัญ คําปราศรัยของอาจารยเปาโล (บทที่ 1) ทางอันชอบธรรมในยุคที่มนุษยไมยอมรับพระเจา (บทที่ 2) การ ละทิ้งความเชื่อและพระวจนะของพระเจา (บทที่ 3) ผูรับใชที่ซื่อสัตยกับพระเจา และพระเจาผูซื่อสัตย ของเขา (บทที่ 4) 4. ลักษณะพิเศษ แมพระธรรมทิโมธี ฉบับที่สองนี้ จะมิไดบันทึกเหตุการณไว แตตามขอเท็จจริงใน ประวัติศาสตร ปรากฎวาในสมัยนั้นไดเกิดอัคคีภัยครั้งใหญ ขึ้นในกรุงโรม และเพื่อปดความรับผิดชอบ ตลอดจนขอสงสัยตางๆ ใหพนตัว จักรพรรดิผูครองอํานาจในสมัยนั้นจึงไดกลาวหาคริสเตียนวาเปน

(2:15-4:5)

พระธรรมเลมนี้เปนคํากลาวครั้งสุดทายของอาจารยเปาโลเปนการแสดงออกทางวาจาของคริส เตียนผูยิ่งใหญที่สุดเทาที่โลกเคยมีมาประดุจนักรบผูมีรอยแผลเปนที่รําลึกในการรณรงค

52 เมื่ออาจารยเปาโลถูกจับครั้งแรก ทานเพียงแตถูกกักบริเวณโดยไดรับอนุญาตใหอยูภายในบาน
ขังไวในเรือนจําชั้นเลวของกรุงโรม เขาใจวาอะเล็กซานโดร ชางทองแดง ชาวเอเฟซัส เปนตัวการสําคัญในการทําใหทานอาจารย เปาโลถูกจับกุมและสอบสวนครั้งนี้ (ดู 4: 14 และกิจการ 1:9:33) อาจารยเปาโลเรงใหทิโมธีรีบมาหาทาน ถึงสามครั้ง มิหนําซ้ําในคุกก็มีแตความชื้น เห็นไดจาก การที่ทานขอรองใหนําเอาเสื้อคลุม (4: 13) ที่ทานฝากไว ณ เมืองโตรอาพรอมกับหนังสือตางๆ และ หนังสือที่เขียนบนแผนหนังมาดวย นอกเหนือไปจากมิตรสหาย หรือเพื่อนรวมงานบางคนที่ทานสงไปปฏิบัติภารกิจในตางเมือง แลว คงมีแตนายแพทยลูกา “แพทยผูเปนที่รัก” ของทานคนเดียวเทานั้นที่คอยปฏิบัติทานในยามนั้น เพราะคนอื่น ๆ ตางหวาดหวั่นตอการคุกคามขมเหง จึงพากันทอดทิ้งทานไปเสียหมด ทานจึงได ขอรองทิโมธี ใหพามาระโกมาชวยทานอีกแรงหนึ่ง มาระโกผูนี้เคยชวยเหลือในการงานของอาจารยเปา โลมากอน แตครั้งนั้นเขาประสบความลมเหลว แตตอมาภายหลังเขาไดพิสูจนใหเปนที่ประจักษวา เขา ยังมีคุณคาตองานของทานอยู (4:11) 5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1:1-5) การประพฤติของคริสเตียน (1:6-2:14) ความกลาหาญความมั่นคงความอดทน คําเทศนาวาดวยคุณธรรมของคริสเตียน
การตระเตรียม สภาพของผูเชื่อในเวลานั้น การยึดมั่นในพระคัมภีร ภาระที่พระเจาทรงมอบหมายไวให ถอยคําสุดทายของอาจารยเปาโล
6. คําสั่งสอนที่สําคัญ
มองยอนหลัง ไปถึงชีวิตที่ตรากตรํามานานแลวเปลงวาจาวา “ขาพเจาไดรักษาความเชื่อนั้นไวแลว”
เชา (กจ. 28: 30) แตเพราะอัคคีภัยครั้งนี้ใหญหลวงนักฉะนั้นเมื่ออาจารยเปาโลถูกจับครั้งที่สองจึงถูกจํา
(4:6-22)
53 พระธรรม 1 ทิโมธีเนนหนักไปในทางสอนใหรูถึงหนาที่การงานของศิษยาภิบาล สวน 2 ทิโมธี กลาวย้ําถึงงานของนักเทศน วาจําเปนที่จะตองมีความกลาหาญ ความทรหดอดทน และความจงรักภักดี เปนพิเศษทั้งนี้เนื่องจากมีหลายคนไดเหินหางไปจากความเชื่อ อาจารยเปาโลมองถึงเหตุการณในอนาคต และหนุนน้ําใจทิโมธีวา “จงเขมแข็ง” ในการเปน พยานแกคนที่ซื่อสัตยทําตนใหอยูในกรอบคําสอนของพระเจา กลียุคจะบังเกิดขึ้น บรรดาผูที่ดํารงตนเปนคนที่ชอบธรรมในพระเยซูคริสตจะถูกกลาวโทษ และขมเหงเบียดเบียน 7. กุญแจไขความเขาใจ จงอานคําสั่งครั้งสุดทายนี้ควบกับชีวประวัติโดยยอของอาจารยเปาโลในพระธรรม 2 โครินธ 11: 16-33 ทานผูนี้เปนคนของพระเจาโดยแท เปนผูปองกันพระกิตติคุณที่ใหญยิ่งที่สุดในโลกเคยมีมา ศึกษาประวัติชีวิตของทานใหถี่ถวนและดําเนินชีวิตตามแบบอยางของทาน
54 กุญแจไขพระธรรมทิตัส 1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโลเขียนณมณฑลมากะโดเนียเมื่อประมาณค.ศ. 65 ทิตัสเปนผูชวยที่ไวใจไดคนหนึ่งของอาจารยเปาโล เขาเปนชาวกรีก และเปนกําลังอันสําคัญ ของทานในการประกาศพระกิตติคุณในเมืองโครินธ (2 คธ 2:13, 7: 6, 8:23) เปนที่แนชัดวา เมื่อคราวที่ อาจารยเปาโลไดรับการปลดปลอยจากการถูกจับกุมครั้งแรกนั้น ทิตัสรวมอยูกับทานดวย แตหลังจาก นั้นไมนานนักเมื่ออาจารยเปาโลเดินทางตอไปยังมากะโดเนีย ทานใหทิตัสประจําอยูที่เกาะเกรเต (ทต. 1:5) ในระหวางที่อาจารยเปาโลอยูในมณฑลมากะโดเนียทานไดเขียนพระธรรมเลมนี้ขึ้น ในแนว เดียวกับพระธรรมทิโมธีทั้งสองฉบับดังกลาวแลว เราทราบขาวเกี่ยวกับทิตัสเปนครั้งสุดทาย เมื่ออาจารยเปาโลสงเขาไปปฏิบัติหนาที่ตาม คริสตจักรตางๆในเมืองดัลมาเตีย (2 ทิโมธี 4: 10) อยูทางฝงทะเลตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกรีก 2. สาระสําคัญ พระธรรมฉบับนี้มีใจความเชนเดียวกันกับ 1 ทิโมธีเปนสวนมาก หัวขอสําคัญก็คือ “การงาน ของศิษยาภิบาล” ทิตัสไดรับมอบหมายใหสถาปนาผูปกครองคริสตจักรและใหการอบรมแกเจาหนาที่ ตางๆ ของคริสตจักร คาดวางานหลักที่ทิตัสตองรับผิดชอบมีสองประการคือ ประการแรก ปรับปรุง คริสตจักรที่ขาดกการปฏิบัติตามทางแหงความจริงของพระเจา ประการที่สองคือ ปรับปรุงระเบียบ ปฏิบัติและการบริหารงานของคริสตจักรใหเรียบรอยใหสมกับเปนพระวิหารของพระเจา พระธรรม ฉบับนี้เปนระเบียบการที่พระเจาไดวางไวสําหรับคริสตจักรทุกยุคทุกสมัย 3. บทตอนที่สําคัญ คุณสมบัติและหนาที่ของผูปกครอง (บทที่ 1) การงานในดานศิษยาภิบาลของผูปกครองที่แท (บทที่ 2,3) 4. ลักษณะพิเศษ อาจเปนไดวา ชาวเกรเตซึ่งไดกลับใจหันมาหาพระเจาในวันเพ็นเทคศเต (ดูกิจการ 2:11) เปนผู กอตั้งคริสตจักรบนเกาะเกรเตนี้ขึ้นอาจารยเปาโลไดไปเยี่ยมและประกาศพระกิตติคุณที่เกาะนั้นดวย

คํานํา (1: 1-4)

(1: 5-16)

(2: 1-3:11)

55 เขาใจวาชาวเกาะเกรเตเปนเชื้อสายของชาวฟะลิศติมพวกนี้เปนนักเดินเรือที่กลาหาญมีชื่อเสียง ในการยิงธนู แตมีความเสื่อมทรามในดานศีลธรรมมาก ในสมัยของอาจารยเปาโลมีชาวยิวอาศัยอยูบน เกาะนี้เปนจํานวนมาก เกาะเกรเตไมสูจะเจริญรุงเรืองนัก เพราะแมกวีชาวเกาะเกรเตเอง ก็ไดคําจํากัดความถึงลักษณะ ของชาวเกาะนี้วาเปน “คนมุสาสัตวรายพวกเกียจครานกินเติบ” แตอาจารยเปาโลรูสึกเชื่อมั่นตออํานาจ พระกิตติคุณวาสามารถเปลี่ยนแปลงชีวิตของชาวเกาะนี้ได อาจารยเปาโลมิไดมีความประสงคที่จะใหทิตัสอยูบนเกาะเกรเตเปนการถาวร แตอาจารยเปาโล จะจัดใหอะระเตมา หรือตุคิโกเปนผูไปแบงเบาภาระ เพราะวาอาจารยเปาโลไดสั่งใหทิตัสไปหาทานที่ เมืองนิโกโปลี (3: 12) ซึ่งทานจะพักอยูในที่นั่นในฤดูหนาว 5. หัวขอโดยสังเขป
เจาหนาที่ของคริสเตียน
ผูปกครอง คําสั่งสอนอบรมสําหรับคริสเตียน
การปฏิบัติตนภายในครอบครัวของผูสูงอายุหนุมสาวคนใช-คนทั่วไป การปฏิบัติตอสังคม สรุป (3: 12-15) 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ โดยเหตุที่ผูปกครอง เปนผูที่มีความสําคัญยิ่งในคริสตจักร จึงจําเปนตองกําหนดคุณสมบัติไว อยางเขมงวดกวดขัน ปญหาเกี่ยวกับผูสอนเท็จ เปนประเด็นสําคัญอีกเรื่องหนึ่ง ที่ทานตองกลาวย้ําในพระธรรมฉบับ นี้อีก (1:10-16) คําวา “ทั้งครัวเรือน” ในที่นี้หมายถึงคริสตจักรทุกแหง คริสเตียนจึงจําตองปดปากผู หลอกหลวงเหลานั้นโดยประกาศสัจธรรมของพระเจาใหผองชนประจักษแจง อาจารยเปาโลไดย้ําวาอยางหนักแนนวา “คุณงามความดี” มิใชมาตรการที่จะทําใหเราไดรับ ความรอดหากแตเปนผลของการไดรับความรอดตางหาก (ดู 2:7, 14, 3:1,8) ในบทที่ 2 ขอ 11-14 ไดกลาวถึง “ความหวังใจ อันใหมีสุข” คือคอยทาพระเยซูเสด็จกลับมารับ คริสตจักรแตการที่จะไดรับความสุขเชนนี้ก็จําตองขึ้นอยูกับการดําเนินชีวิตคริสเตียนที่ดีเปนมูลฐาน
56 สวนเรื่อง “การลําดับวงศตระกูล” ตามที่อางไวนั้นเปนเรื่องที่พวกผูสอนเท็จหาทางพิสูจนถึง เชื้อสายของกษัตริยดาวิดหรือเพื่อเรียกรองสิทธิในการเปนญาติวงศกับพระคริสต 7. กุญแจไขความเขาใจ จงทําตัวเสมือนหนึ่งทานรับตําแหนงของทิตัส ผูเปนศิษยาภิบาล ปฏิบัติหนาที่ภายใต สิ่งแวดลอมอันยุงยากนั้นและถือวาพระธรรมฉบับนี้เปนคําสอนจากอาจารยของทานโดยตรง

ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโลเขียนจากกรุงโรมเมื่อประมาณค.ศ. 64 ฟเลโมนเปนสุภาพบุรุษคริสเตียนและเปนสมาชิกของคริสตจักรเมืองโคโลสีเปนผูที่มีฐานะมั่ง มีคริสตจักรจัดประชุมที่บานของเขาและเขาเองก็เปนมิตรสนิทของอาจารยเปาโลดวย

โดยเฉพาะ ในบรรดาจดหมายที่อาจารยเปาโลไดเขียนสงไปเปนจํานวนมากนั้น

57 กุญแจไขพระธรรมฟเลโมน
เหตุที่เขียน ปรากฎวาโอเนซิโม ทาสของฟเลโมนไดขโมยเงินของเขาแลวหลบหนีไปยังกรุง โรม และไดพบกับอาจารยเปาโลเขา หลังจากที่โอเนซิโมไดรับพระคริสตเปนพระผูชวยใหรอดของตน แลวอาจารยเปาโลก็ไดสั่งใหเขากลับไปอยูกับฟเลโมนผูเปนนายอีก อาจารยเปาโลเขียนพระธรรมฉบับนี้ถึงฟเลโมนเพื่อรองขอใหเขาอภัยโทษใหแกโอเนซิโม และ มอบใหโอเนซิโมนําไปเองพระธรรมฉบับนี้เปน “จดหมายฝากจากสถานที่กักกัน” อีกฉบับหนึ่ง 2. สาระสําคัญ พระธรรมฉบับนี้จัดวาเปนจดหมายสวนตัวโดยแทเพราะวาดวยความเปนอยูภายในครอบครัว
จดหมายฉบับนี้เปน
ความสําคัญของพระ ธรรมเลมนี้มิไดอยูที่เปาหมายในการขอรองให ฟเลโมนรับโอเนซิโมไวอยางเดียวเทานั้น หากยังเปน ตัวอยางอันดีในการปลูกฝงใหเกิดความรักความสุภาพออนโยน ความซื่อสัตย อันเปนผลของพระคุณ ของพระเจาซึ่งเกิดขึ้นในจิตใจของคริสเตียนอีกดวย 3. บทตอนที่สําคัญ คําปราศรัย (ขอ 1-3) คุณลักษณะของฟเลโมน (ขอ 4-7) คําวิงวอนเพื่อโอเนซิโม (ขอ 8-21) กลาวคํานับ (ขอ 22-25) 4. ลักษณะพิเศษ เขาใจวา “อัปเฟย” (ในขอ 2) คงเปนภรรยาของฟเลโมน สวน “อะระคีโป” อาจเปนศิษยาภิบาล ประจําทองถิ่นนั้นก็ได ในขอ 11 มีการเลนสํานวนเล็กนอยเพราะชื่อโอเนซิโมหมายความวา “เปนประโยชน” ที่ใชคําวา “เปนนิตย” ในขอ 15 หมายถึงความถาวรแหงมิตรภาพทั้งในโลกนี้และตลอดไป
1.ความเปนมา
เพียงฉบับเดียวที่ประเทืองจิตใจและขัดเกลาศีลธรรมของเราใหดีงามโดยเฉพาะ

คําปราศรัย (ขอ 1-3) คําขอบพระคุณ (ขอ 4-7)

วัตถุประสงค (ขอ 8-21)

สรุป (ขอ22-25)

พระเจาไดจัดใหอาจารยเปาโลอยูในกรุงโรมก็เพื่อปรนนิบัติพระองคเปนกรณีพิเศษ (ฟลิปป 1:12)

ฟเลโมนนั้นไมเพียงแตจะเปนพี่นองคริสเตียนคนหนึ่งเทานั้น

“บุตร” ของทาน (ดูขอ 10 และขอ 12)

แมวาโอเนซิโมจะเปนอิสระอยางแทจริง

การที่อาจารยเปาโลใหคํามั่นวา ทานยอมชดใชสิ่งที่โอเนซิโมไดขโมยไปนั้นคืนใหแกฟเลโมน นับเปนการแสดงออกซึ่งน้ําใจอันนาชื่นชมยินดีอยางหนึ่งในพระคริสตธรรมใหม (ขอ 18)

58 พระธรรมฉบับนี้นับเปนจดหมายฝากที่มีคาอันสูงสงประดุจอัญมณีล้ําคา คือมีทั้งความ ละมุนละไม ความสุภาพออนหวานและความเอื้อเฟอเผื่อแผ
ใหยอมรับโอเนซิโมวา “จงรับเขาไวเหมือนรับตัวขาพเจาเอง” พระคัมภีรไมไดกลาววาฟเลโมนรับตัวโอเนซิโมไวหรือไม อยางไรก็ดี เปนเรื่องพูดตอๆ กันมา วา ฟเลโมนไมเพียงแตจะรับโอเนซิโมไวเทานั้น แตยังรับตามขอเสนอแนะของอาจารยเปาโล โดยยอม ใหโอเนซิโมมีอิสระเสรีอีกดวย เขาใจวากาลตอมาโอเนซิโมคงไดเปนผูปกครองคนหนึ่งในเมืองเบรอยะ ในประเทศกรีก ทั้งนี้ เพราะหลายปตอมามีนักเขียนคนหนึ่งกลาวถึงผูมีนามวาโอเนซิโมเปนผูปกครองคริสตจักรที่นั่น 5. หัวขอโดยสังเขป
ดังที่อาจารยเปาโลกลาววิงวอนตอฟเลโมน
คําสั่งสอนที่สําคัญ อาจารยเปาโลขนานนามตนเองวา “ผูถูกจองจําอยู
6.
เพราะเห็นแกพระเยซูคริสต” มิใชเปน นักโทษของรัฐบาลโรม หรือจักรพรรดิเนโรแตประการใดเลย
นี่เปนการยึดมั่นในความเชื่อวา การที่
หากแตยังเปนคนที่รัก ดีพรอม เอื้ออารี มีเมตตาจิตอีกดวย ทั้งยังเปนกําลังอันสําคัญในการเผยแพรพระกิตติคุณของพระเจา และอบรม ศีลธรรมในเมืองโคโลสีโดยแท
ดวยกัน โดยการไมรังเกียจเดียดฉันทโอเนซิโม นอกจากนั้นยังแสดงออกถึงน้ําใจอันสูงสงเปยมดวย ความเมตตาโดยเรียกโอเนซิโมวา
อาจารยเปาโลไดสอนใหเราเห็นถึงความสัมพันธอันแนบแนนของความเปนพี่นองคริสเตียน
เพราะเปนคริสเตียนแลวก็ตาม แตอาจารยเปาโลก็ยัง สงเขากลับไปอยูกับฟเลโมนอยางเดิมอีก ความอัศจรรยแหงความรอด มิใชเปนการเปลี่ยนแปลงแต ภายนอกหากแตเปนการปรับปรุงอันสมบูรณทางดานจิตใจตางหาก
59 คาดวาอาจารยเปาโลคงได
ไดรับการปลดปลอยจากการกักกันตัวในกรุงโรมครั้งแรก
และ กอใหเกิดผลดีเพียงใด
ไปเยี่ยมฟเลโมนตามคํามั่นสัญญาในขอ 22 แลว ระหวางที่ทาน
7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมอันออนหวานฉบับนี้แสดงใหเห็นวาพระกิตติคุณทํางานในจิตใจคริสเตียน

พระองคใหจงไดและพระมหาปุโรหิตของเราคือพระเยซูคริสตซึ่งขณะนี้ประทับณเบื้องขวาพระหัตถ ของพระเจาจะชวยทานอาวุธที่มีประสิทธิภาพเพียงพอแกความตองการของทานก็คือ “

60 กุญแจไขพระธรรมฮีบรู 1. ความเปนมา ไมเปนที่แนชัดวา ใครเปนผูเขียนพระธรรมเลมนี้ แตนักปราชญทางพระคริสตธรรมคัมภีร หลายทานเชื่อกันวาคงเปนอาจารยเปาโลและคงเขียนขึ้นที่กรุงโรม (ดู 13: 24) เมื่อประมาณค.ศ. 65 เหตุที่เขียน ผลของการประกาศพระกิตติคุณทําใหมีผูละทิ้งศาสนายิวเขามาเปนคริสเตียนเปน อันมาก อยางไรก็ตาม แมลุเขาสู คศ 70 ศาสนายิวก็ยังคงเปนที่เชื่อถือของชนชาติยิวสวนใหญอยู (ดู 10: 11) ไมผิดอะไรกับกอนสมัยที่พระเยซูถูกตรึงบนไมกางเขน ฉะนั้นคริสเตียนใหมในสมัยนั้นจึงถูก กดขี่ขมเหง และถูกตัดขาดจากสังคม จึงทําใหมีหลายคนทอแทคิดที่จะหวนกลับไปเชื่อถือตามศาสนา ยิวดั้งเดิม พระวิญญาณบริสุทธิ์จึงดลใจใหเขียนพระธรรมฉบับนี้ขึ้น เพื่อหนุนน้ําใจใหคริสเตียน เหลานั้นใหมั่นคงในความเชื่อมิใหหวั่นไหวหรือโนมเอียงไปตามอิทธิพลดังกลาว 2. สาระสําคัญ พระคริสตทรงมีความสําคัญอยางยิ่งยวดตอชีวิตของมนุษยและไมมีใครหลบลี้หนีพระองคพน เพราะพระองคทรงเปนสัพพัญู ทรงอยูในทุกหนทุกแหง และทรงมีฤทธานุภาพทั้งสิ้น พระองคทรง เปนผูเยี่ยมกวาประเสริฐกวาดีกวา (คําเหลานี้มีใชถึง 13 ครั้ง) สิ่งใดและบุคคลใดๆ ทั้งสิ้น พระองค ทรงเปนผูกระทําใหพระสัญญาตางๆ ในพระคัมภีรเดิมสัมฤทธิ์ผล หากปราศจากพระองคแลวบุคคล และสถาบันตางๆในพระคัมภีรยอมไมมีคาและไมมีจุดหมาย การหันหนีไปจากพระองคจึงเทากับละ ทิ้งชีวิต ดังนั้นอยางปลอยตัวใหยอทอตอการกดขี่ขมเหง ทานจะตองบากบั่นไปสูความบริบูรณของ
ความเชื่อ”
บทตอนที่สําคัญ พระธรรมฉบับนี้มีหกหมวดรวมทั้งขอความในวงเล็บซึ่งแนะนําไวเปนพิเศษหาครั้งดวยความ รอดอันใหญยิ่ง (บทที่ 1,2) ที่สงบสุขของพระเจา (บทที่ 3,4) มหาปุโรหิตของเรา (บทที่ 5,8) พระสัญญา ใหม (บทที่ 9,10) ทางแหงความเชื่อ (บทที่ 11) ปุโรหิตแบบคริสเตียน (บทที่ 12,13)
3.

ศาสนายิวดั้งเดิมทั้งนี้รวมตลอดไปถึงการถกเถียงในหลักศาสนาการคัดคานการรองขอวิงวอนโดยใช

พระเจาและกระตุนใหพัฒนาชีวิตคริสเตียนใหเจริญกาวหนาไปสูความครบบริบูรณ พระกิตติคุณทั้งสี่เลมและพระธรรมกิจการกลาวย้ําถึงพระราชกิจของพระคริสตไปสวนที่

61 4. ลักษณะพิเศษ ความกดดันที่มีตอคริสเตียนชาวฮีบรูสมัยเริ่มแรกนั้นรายแรงมาก บรรดาธรรมาจารยของ ชาติยิวผูอิจฉาริษยาไดกระทําทุกวิถีทาง เพื่อใหคริสเตียนผูกลับใจถวายตัวตอพระเจากลับไปนับถือ
อิทธิพลของศาสนายิวเปนเครื่องสนับสนุน ในพระคริสตธรรมใหม ไมมีพระธรรมเลมใดกําชับตักเตือนเทาเลมนี้ คําวา “มิฉะนั้น เพื่อวา เกรงวา” เพื่อใหสังวรถึงอันตราย มีใชถึงเจ็ดครั้ง (2:1, 3:12, 13, 4:11, 12:3, 13, 15, 16) การละทิ้งหรือ หันไปจากพระเจาถือวาเปนการกระทําบาปหนักที่สุด 5. หัวขอโดยสังเขป ความเปนใหญของพระคริสต (บทที่ 1-7) ทรงเปนใหญเหนือผูพยากรณทูตสวรรคโมเซปุโรหิต ความสูงสงของคริสตศาสนา
8-10) พระสัญญาการถวายสักการะบูชามิตรภาพ พยาน (บทที่ 11) วีรบุรุษแหงความเชื่อผูสมบูรณพรอมในความเชื่อ คําแนะนําตักเตือน (บทที่ 12, 13: 1-7) การปฏิบัติตอพระเจาและตอมนุษย สรุป (บทที่ 13: 8-25) 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ
ธรรมคัมภีร บางทานเห็นวาบทที่
พระธรรมฮีบรูจัดวาเปนพระธรรมที่สําคัญที่สุดในการหนุนน้ําใจบรรดาผูเลื่อมใสศรัทธาใน
พระองคไดทรงกระทําสําเร็จลุลวงไปแลว สวนพระธรรมเลมนี้ย้ําถึงพระราชกิจในสวนที่ “ยังไมสําเร็จ” และจะตองยังทรงกระทําตอไปทุกๆวันณเบื้องขวาพระหัตถของพระเจา (7:25)
(บทที่
สี่ขอแรกของพระธรรมเลมนี้นับวาเปนขอความที่มีความสําคัญยิ่งยวดตอนหนึ่งในพระคริสต
11 เปนบทที่สําคัญที่สุดในพระคริสตธรรมคัมภีร
62 7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมฮีบรูเปนพระธรรมที่เขียนถึงคริสเตียนผูอยูในระหวางการถูกบีบบังคับ ตกอยูใน ความยากลําบากและถูกชักนําใหกันไปสูความเชื่อเดิม พระธรรมเลมนี้เปนแรงดลใจซึ่งพระเจา พระราชทานใหเปนการหนุนน้ําใจใหเกิดความกลาหาญ
63 กุญแจไขพระธรรมยากอบ 1. ความเปนมา ผูเขียนพระธรรมเลมนี้คือยากอบนองชายฝายเนื้อหนังรวมมารดากับพระเยซู (มก. 6:3) ทานได กลับใจถวายตัวทํางานของพระเจาเมื่อครั้งที่พระเยซูทรงสําแดงพระองคแกทาน หลังจากที่พระองคได ฟนคืนพระชนมแลว (1 คธ 15:7) ยากอบเปนผูรวมประชุมอธิษฐานดวยผูหนึ่ง (กจ 1:14) ตอมาได เปนศิษยาภิบาลและศาสนจารยประจําคริสตจักร ณ กรุงเยรูซาเล็ม (กท 2:9) และเปนประธานของที่ ประชุม ณ กรุงเยรูซาเล็มนั่นเอง (กจ. 15:13) และในที่สุด ทานถูกฆาตายเพราะความเชื่อในพระคริสต เชนเดียวกับสาวกคนอื่นของพระคริสตในสมัยนั้น พระธรรมเลมนี้เขียนขึ้นที่กรุงเยรูซาเล็มเมื่อประมาณคศ 45 เหตุที่เขียน แมยากอบจะใชคําขึ้นตนพระธรรมฉบับนี้วา “ถึงคนสิบสองเผาที่กระจัดกระจายอยู นั้น” ก็ตาม แตทั้งนี้หาไดมีความหมายวาทานเขียนถึงชาวยิวทั้งสิบสองเผาดับกลาวนั้นเปนสวนรวมแต อยางใดไม หากหมายถึงคริสเตียนหรือคริสตจักรยิวที่กระจัดกระจายอยูในชนเผาตางๆ ทั้งสิบสองเผานี้ โดยเฉพาะเทานั้น เขาใจวาคริสเตียนเหลานั้นคงเขียนจดหมายสอบถามปญหาตางๆ มายังคริสตจักรอัน เปนภูมิลําเนาเดิมของตน พระธรรมฉบับนี้จึงเปนจดหมายตอบปญหาเหลานั้น ซึ่งทานไดเขียนดวย ภาษางายๆแตมีคุณคามาก 2. สาระสําคัญ ย้ําถึง “การประพฤติ” และใหดําเนินชีวิตอยูใน “วิถีทางอันบริสุทธิ์” หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ชีวิต อันบริสุทธิ์และความประพฤติที่ดีงามเปนผลแหงความเชื่อ 3. บทตอนที่สําคัญ แบงตามบทไดดังนี้ การทดลองเกี่ยวกับความเชื่อ (บทที่ 1,2) ตัวอยางแหงความเชื่ออันแทจริง (บทที่ 3) ขอหามมิใหประพฤติเยี่ยงชาวโลก (บทที่ 4) เตือนสติคนมั่งมี (บทที่ 5) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมฉบับนี้อุดมไปดวยมโนภาพอันแจมชัด มีชีวิตชีวา ดวยคําพูดงายๆ และสั้นๆ ยกยอง การรูจักรับผิดชอบในภาระหนาที่ติเตียนการกระทําที่ผิดและชมเชยการทําความดี
64 ขอเขียนของอาจารยเปาโลกับยากอบแตกตางกันมาก เพราะวิธีเขียนของยากอบมีแบบแผนแน ชัดและเปนระบบ มีลักษณะเปนตํารา มากกวาที่จะเปนจดหมายฝาก พระธรรมเลมนี้ไมกลาวถึงความ รอด หรือปญหาสวนบุคคลแตไดระบุถึงประเด็นอันเปนเปาหมายไวโดยตรง แลวสรุปจุดสําคัญให ทราบ พระธรรมฉบับนี้เขียนทํานองแยกหัวขอ และไมเชื่อมโยงตอกัน คือ การทดลอง ความอดทน สติปญญา การอธิษฐาน ความยากจน ความมั่งมี ราคะตัณหา บาป ความเชื่อ การประพฤติชอบ การนับ ถือบุคคลการใชวาจาความพอใจในสภาพของตน วิธีการเขียนและเนื้อความของพระธรรมฉบับนี้คลายกับจะมีความสัมพันธกับพระธรรม สุภาษิตในพระคัมภีรเดิม 5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1: 1) การทดลองความเชื่อ (1: 2-27) เหตุแหงการทดลองหลักปฏิบัติ ความตั้งใจการกระทําความซื่อสัตย การสําแดงออกของความเชื่อ (บทที่ 2) การใหความเคารพตอบุคคล ความเชื่อและการประพฤติ สติปญญาอันเนื่องมาจากความเชื่อ (บทที่ 3) ลิ้นเปนตนเหตุแหงความลําบาก สติปญญาอันแทจริง ลักษณะของความเชื่อ (บทที่ 4) ความบริสุทธิ์ความรักการถอมตัว ชัยชนะแหงความเชื่อ (5: 1-18) ความอยุติธรรมที่ถูกแกแคน ความอดทนที่ควรแกบําเหน็จรางวัล คําอธิษฐานที่พระเจาทรงตอบ สรุป (5: 19, 20)
65 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ในขอเขียนของอาจารยเปาโล เราจะพบคําสอนวาดวยหลักการแหงความรอดและความเชื่อ สวนขอเขียนของยากอบเนนในแงการประพฤติตามหลักการเหลานั้น “เรื่องลิ้น” ในบทที่ 3 เปนเรื่องที่เขาใจไดงาย จะเห็นไดวาในคริสตจักรสมัยเริ่มแรกนั้นมีคน อวดดี คนมีจิตใจฝกใฝการฝายโลก อยากเปนผูนํา บทที่ 2 ขอ 8 กลาวชมเชยผูที่สามารถประพฤติตาม พระบัญญัติที่วา “จงรักเพื่อนบานเหมือนรักตนเอง” แตขณะเดียวกันในขอ 9 ก็ไดตําหนิไวดวยวา แตถา กระทําการใดๆโดยเลือกที่รักมักที่ชังก็ยอมเปนการทําบาป ยากอบไดจัดแบงสติปญญาของมนุษยออกเปนสองพวกคือ สติปญญาอยางโลกหรือ “อยาง ปศาจ” (3:15) กับสติปญญา “จากเบื้องบน” (3:17) สวนบทที่ 5 ขอ 13 เปนการหนุนน้ําใจผูมีความชื่น ชมยินดีใหรองเพลงสรรเสริญพระเจา 7. กุญแจไขความเขาใจ ความรอดเปนสิ่งมหัศจรรยอันเที่ยงแทแนนอนของพระเจา ไดผลลัพธ ก็คือชีวิตใหม ในพระ ธรรมเลมนี้ไดกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงชีวิตใหมไวพอสมควร

ใหคริสเตียนดํารงอยูภายใตกรอบกฎหมายของบานเมืองตามนโยบายที่ฝายปกครองวางไว

ครหาและปองกันมิใหผูที่เปนศัตรูกลาวหาวาเปนกบฏตอบานเมืองทั้งยังไดเสนอแนะตอไปวา

(2 ปต. 3:15, 16)

66 กุญแจไขพระธรรม 1 เปโตร 1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปโตร (มธ. 10:2) พี่ชายของอันดรูว หัวหนาในอัครสาวกสิบสองคน และ ทําหนาที่เปนผูดําเนินงานในคริสตจักรสมัยเริ่มแรก ทานอัครสาวกเปโตรเขียนพระธรรมเลมนี้ขึ้นเมื่อประมาณ คศ 65 ที่บาบิโลนซึ่งเปนเมืองที่ ตั้งอยูริมฝงแมน้ํายูเฟรติส (5: 13) เหตุที่เขียน ทานเปโตรเขียนถึงคริสเตียนชาวยิวที่กระจัดกระจายกันอยู (1:1) รวมทั้งคริสตจักร ของชาวตางชาติดวย (2:10) คริสเตียนสมัยเริ่มแรกถูกคุกคามขมเหงอยางรายแรง อีกทั้งคริสเตียน ดังกลาวก็เปนผูที่ยากจนคนแคนเปนอันมากอีกดวย ดังนั้นอาจารยเปโตรจึงไดเขียนพระธรรมฉบับนี้ขึ้น เพื่อปลอบโยนและหนุนน้ําใจคนเหลานั้น 2. สาระสําคัญ ความสําคัญของพระธรรมฉบับนี้ก็คือ เนนใหมีความอดกลั้นเพื่อเอาชนะความทุกขยาก ทั้งหลายลําดับในชีวิตคริสเตียนคือ การสูทนกับความทุกขในขั้นตน และรับสงาราศีในบั้นปลาย (4: 13) ในพระธรรมเลมนี้มีคําวา “ทนทุกขทรมาน” 15 ครั้งวัตถุประสงคนอกเหนือจากนั้นก็คือเพื่อกําชับ
เพื่อขจัดขอ
คําสอน ของอาจารยเปาโล
เปนสัจธรรมแหงพระคริสตธรรมคัมภีรโดยแท ถอยคําที่สําคัญยิ่ง คือ “ความหวัง” 3. บทตอนที่สําคัญ ความสัมพันธระหวางความทุกขยากลําบากของคริสเตียนกับความรอด (1: 1-2:8) หลักเจ็ด ประการในการดํารงชีวิตคริสเตียน (2:9-4:19) การปฏิบัติรับใชของคริสเตียนในการคอยทาการเสด็จ กลับมาของพระคริสต (5:1-24) 4. ลักษณะพิเศษ ชื่อ “เปโตร” เปนชื่อที่สําคัญยิ่งชื่อหนึ่งในพระคัมภีร ชื่อของอาจารยเปาโลปรากฎ 162 ครั้ง ชื่อ ของอัครสาวกคนอื่นๆเทาที่ระบุไวรวมกันมี 142 ครั้งสวนชื่ออาจารยเปโตรปรากฎวามีถึง 210 ครั้ง

และซีลา (ซีละวาโน)

67 จดหมายของอัครสาวกเปโตรมีสวนคลายคลึงกับจดหมายของอัครสาวกเปาโลมาก เพราะเขียน คํานับในทํานองเดียวกันกลาวขอบคุณและสรุปดวยความเกี่ยวของในสวนบุคคลเชนเดียวกัน ขอเขียนของอัครสาวกเปโตรกลาวย้ํา ถึงหลักเกณฑใหญๆ ของศาสนาคริสตไวทั้งหมด เชน การทนทุกขทรมานและการสิ้นพระชนมของพระคริสต (2: 24) การเกิดใหม (1:23) การไถดวยพระ โลหิต (1:18,19) การฟนคืนพระชนมของพระคริสต (3:20,21) และการเสด็จกลับมาของพระคริสต (1:7, 13, 5:4) ในพระธรรมกิจการ หลังจากบทที่ 15 ไปแลวไมปรากฎวามีการกลาวถึงอัครสาวกเปโตรอี จึง เขาใจวาในชวงระยะเวลาดังกลาว ทานคงไปยังเมืองอันติโอเกียตามที่ปรากฎในพระธรรมกาลาเทีย 2: 11 (เกฟากับเปโตรคือคน ๆ เดียวกัน) และงานสวนใหญของทานคงไดแกการประกาศพระกิตติคุณแก ชนชาติยิว (ดูกท 2:8) บางคนคิดวา ในปสุดทายแหงชีวิตของทานเปโตรทานไดพํานักอยูในกรุงโรม อันเปนที่ซึ่ง กลาวกันวาทานถูกทรมานจนถึงแกความตายแตไมมีหลักฐานที่จะพิสูจนได กลาวกันวาอาจารยเปโตรไดเขียนจดหมายฉบับนี้ในทันทีที่อาจารยเปาโลถึงแกกรรม
ทนสูกับความยากลําบาก (5: 12) 5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา
การปฏิบัติตนเฉพาะพระพักตรพระเจา (1: 13-2:10) ดําเนินชีวิตในความบริสุทธิ์ กอปรดวยความรักสรางสรรคความเจริญฝายจิตวิญญาณ การยก ยองสรรเสริญ การปฏิบัติตอมนุษย (2: 11-4:19) ยอมเชื่อฟงเจาหนาที่ผูมีอํานาจ การยอมทนทุกขตอการกดขี่ขมเหง ความสัมพันธในครอบครัว ความสัมพันธในสังคม แบบอยางของคริสเตียน การปฏิบัติตอคริสตจักร (5: 1-10) หนาที่ของศิษยาภิบาลและสมาชิก สรุป (5: 12-14)
เปนผูนําไปสงแกคริสตจักรตางๆ ซึ่งอาจารยเปาโลเปนผูจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนการหนุนน้ําใจให
(1: 1-12)
68 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ พระธรรมเลมนี้เปนคําไขปญหาที่วา เหตุใด คริสเตียนจึงตองทนทุกขทรมาน อาจารยเปโต รเตือนสติพวกคริสเตียนวา พวกเขาจําตองเขาสวนรวมกับพระคริสตในการถูกหมูศัตรูปฏิเสธไมยอมรับ และถูกเกลียดชัง (4:12-16) การเสด็จกลับมาของพระองคคือความหวังของเขาเหลานั้น (4:7) ภรรยาตองออนนอมตอสามี ทั้งนี้เปนการยืนยันถึงพระกรุณาของพระเจา คนรับใชตองฟงคํา ของนายแมจะถูกขมเหงหรือไมไดรับความยุติธรรมก็ตาม (2: 18-20) บทที่ 1 ขอ 10-12 แสดงวา บรรดาผูพยากรณไดพยายามศึกษาคําพยากรณ ที่ตนบันทึกไวอยาง ระมัดระวังเพื่อใหทราบถึงความจริงของพระเจา จากบทที่ 5 ขอ 13 ทําใหทราบวา ภายหลังจากที่อัครสาวกเปโตรเขียนพระธรรมฉบับนี้เสร็จ แลวมาระโก(ผูเขียนพระกิตติคุณเลมที่ 2) ไดอยูกับทานดวย 7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมเลมนี้เผยใหเห็นถึงสัจธรรมอันนิรันดรบางประการของพระเจาเคาโครงวางไวอยาง กวางๆเนนถึงการยอมทุกขทรมานเปนเบื้องแรกเพื่อรับสงาราศีในบั้นปลาย
69 กุญแจไขพระธรรม 2 เปโตร 1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปโตร (1:1) บางทีเขียนจากกรุงโรมแตไมทราบแน หากวาทานเขียนพระ ธรรม 1 เปโตร ในระยะเวลาที่จักรพรรดิเนโรขมเหงพวกคริสเตียน (ค.ศ. 67) และหากวาทานถูก ฆาตกรรมเนื่องจากการเบียดเบียนดังกลาวแลวพระธรรมเลมนี้คงเขียนขึ้นในราวค ศ 67 เหตุที่เขียน พระธรรมฉบับนี้ไมไดระบุเจาะจงไววาเขียนถึงผูรับคนใด แตเนื่องจากเปน “จดหมายฝากฉบับที่สอง” (3:1) จึงเปนที่คาดหมายวาคงจะเขียนถึงผูรับพวกเดียวกันกับที่ระบุไวใน ฉบับแรก 2. สาระสําคัญ กอนหนานี้คริสตจักรตางๆในแถบอาเซียนนอยกําลังถูกศัตรูกดขี่ขมเหงอยางรุนแรง อันเปน ภัยจากภายนอกอาจารยเปโตรจึงไดเขียนพระธรรม 1 เปโตรขึ้นเพื่อหนุนน้ําใจคริสเตียนเหลานั้น ใหมี ความมั่งคงในความเชื่อ ครั้นตอมาไดมีการสอนเท็จ และการปฏิเสธพระเจาเกิดขึ้นภายในคริสตจักร เหตุฉะนั้นอาจารยเปโตรจึงไดเขียนจดหมายฉบับที่สอง คือ พระธรรมฉบับนี้ขึ้นเพื่อตักเตือนและ กําชับคริสเตียนเหลานั้น (3: 17, 18) ถอยคําสําคัญคือ “ความรู” และ “รูจัก” (1:2, 3,5,6,8, 2:20, 21, 3:18) 3. บทตอนที่สําคัญ คุณธรรมอันสูงสงของคริสเตียน (1: 1-14) การยกยองเทิดทูนพระคัมภีร (1:15-21) อันตรายจาก ผูสอนมิจฉาลัทธิ (2:1-22) การเสด็จกลับมาของพระคริสตและวันขององคพระผูเปนเจา (3:1-18) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรม 1 เปโตรกับ 2 ทิโมธี ลักษณะคลายคลึงกันมาก กลาวคือมีการคาดลวงหนาถึงมิจฉา ลัทธิซึ่งจะมีมาในอนาคต อาจารยเปาโลมองเห็นวาฆราวาสติดเชื้ออันรายแรงนี้ และอาจารยเปโตรก็ กําชับใหระวังผูสอนเท็จ นอกจากนั้นทานยูดาหก็มองเห็นอันตรายอยางเดียวกันนี้ ดังจะเห็นไดจาก ขอเขียนของทานซึ่งไดกลาวตักเตือนไวทุก ๆ ดานตั้งแตตนจนจบ อยางไรก็ตามพระธรรมทั้งสามฉบับ นี้ ก็หาไดมีขอความตอนหนึ่งตอนใดที่สอไปในลักษณะมองเหตุการณในแงราย หรือกอใหเกิดความ สลดหดหู และทําลายความหวังของคริสเตียนแตอยางใดไม พระสัญญาของพระเจายังคงมี ประสิทธิภาพในการเอื้ออํานวยความสมบูรณพูนสุขใหแกชีวิตคริสเตียนทุกๆดานเสมอ
70 ที่เปนปญหาก็คือ ทานอัครสาวกเปโตรพํานักอยูในกรุงโรม จนถึงวาระที่ทานอัครสาวกเปาโล สิ้นชีวิตหรือไม เพราะในจดหมายฝากตางๆ ที่อาจารยเปาโลเขียนขึ้นในกรุงโรมระหวางที่ถูกจับกุมคุม ขังอยูที่นั่น ไมไดกลาวถึงทานไวเลย อาจเปนไปไดวาอัครสาวกเปโตรคงไปถึงที่นั่น ภายหลังจากที่อัคร สาวกเปาโลสิ้นชีวิตเพียงเล็กนอยและตอมาจึงไดเขียนพระธรรมฉบับนี้ขึ้น พระธรรม 2 เปโตรนี้ มีบางตอนคลายคลึงกับพระธรรมยูดามาก แตเรื่องนี้มิใชของนาแปลกเลย เพระสมัยนั้นบรรดาอัครสาวกทั้งหลายมักเดินทางไปเผยแพรพระกิตติคุณของพระเจาดวยกัน และมี
อัครสาวกเปโตรสํานึกถึงวาระสุดทายของทานวาไดใกลเขามาแลว (ดู 1:15) และรําลึกถึงพระ ดํารัสของพระเยซูที่ทํานายถึงการตายของทานวาจะเปนอยางไร (ดูยอหน 21:18,19) อยูเสมอ ในพระธรรมเลมนี้ ทานอัครสาวกเปโตรไดประณามพวกผูสอนเท็จดวยถอยคําที่รุนแรงอยางยิ่ง (ดู 2: 12, 17, 18, 22) 5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1: 1,2) การปกปกรักษา (1: 3-21) พระสัญญา-ความกาวหนา พยาน-พระวจนะ ภัยจากผูสอนเท็จ (บทที่ 2) การแทรกซึมของผูสอนเท็จ
แนวความคิดเกี่ยวกับคนเหลานี้
(บทที่ 3) การเยาะเยย-ความเมตตาของพระเจา พระพิโรธ-การเฝาระวัง 6. คําสั่งสอนที่สําคัญ คุณสมบัติเจ็ดประการของผูที่อยูฝายพระเจา (1:5-11) อันเปนผลแหงความเชื่อ ซึ่งเปรียบ เหมือนบันไดที่จะนํามนุษยจากโลกขึ้นสูสวรรค บทที่ 1 ขอ 20,21 ไดใหหลักเกณฑขั้นมูลฐานที่สําคัญยิ่งประการหนึ่ง ในการศึกษาพระคริสต ธรรมคัมภีรคือจะตองรูวา พระคัมภีรนั้นมาจากพระเจา พระองคทรงดลใจใหเขียน ดังนั้นพระธรรมทุก เลมจึงมีความสัมพันธตอเนื่องและสอดคลองเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
โอกาสฟงคําเทศนาของกันและกันเสมอจึงอาจรับแนวความเห็นของกันและกันไวก็ได
-การลงโทษ
มุงมั่นบากบั่นตอไป
71
ตอนตนบทที่ 3 แจงใหทราบถึงทาทีของโลกที่มีตอหลักธรรมเกี่ยวกับการเสด็จกลับมาของพระ คริสต
ไดสอนใหเราทราบถึงเหตุผลที่วา ทําไมพระคริสตจึงยังไมเสด็จกลับมา (3:9) อาจายเปโตรกลาวยกยองอาจารยเปาโลอยางสูงวา “เปาโลนองรักของเรา” (3:15) ในตอนจบบทที่ 3 บรรยายใหทราบถึงความนาสะพรึงกลัว ในวาระสุดทายของโลกไวอยาง แจมแจง 7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมฉบับนี้ เปนคําเตือนใหระวังคําสอนของบรรดาผูสอนเท็จ ดวยความมั่นใจอยางแนว แนวาพระเจาจะตองกระทําทุกสิ่งทุกอยางใหลุลวงไปตามพระประสงคของพระองค
และการที่จะตีความหมายในพระคริสตธรรมคัมภีรนั้น จะนึกตีความเอาเองไมได ตองอธิษฐาน ของใหพระวิญญาณบริสุทธิ์ชวยตีความให
ในตอนเดียวกันนี้
72 กุญแจไขพระธรรม 1 ยอหน 1. ความเปนมา ผูเขียนพระธรรมเลมนี้คือ อัครสาวกยอหนผูเปนนองชายของอัครสาวกยากอบ และเปนบุตร ของเซเบดายชาวประมง ทานเปนอัครสาวกที่พระเยซูทรงรักมาก และมีโอกาสตามเสด็จพระองคอยาง ใกลชิดเสมอทานยอหนเขียนพระธรรมเลมนี้ขึ้นที่เมืองเอเฟซัส ยอหนคนเดียวกันนี้เองที่เปนผูเขียนกิตติคุณเลมที่สี่คือพระธรรมยอหน รวมทั้งเปนผูเขียนพระ ธรรมยอหนฉบับที่สอง-สามและพระธรรมวิวรณอันเปนเลมสุดทายของพระคริสตธรรมคัมภีรอีกดวย ทานอัครสาวกยอหนเขียนพระธรรมเลมนี้เมื่อประมาณ ค.ศ. 95 ประมาณ 60 ปภายหลังการฟน คืนพระชนมของพระคริสตอันเปนระยะบั้นปลายชีวิตของทาน พระธรรมฉบับนี้ รวมทั้งฉบับอื่น ๆ อันเปนงานของทานอัครสาวกยอหน ลวนแตเขียนขึ้น ภายหลังพระธรรมเลมอื่นๆในพระคริสตธรรมใหมถึง 30 ป เหตุที่เขียน พระธรรมกิตติคุณยอหนเขียนขึ้นเพื่อชี้แจงใหทราบวา พระเยซูคริสตเปนพระบุตร ของพระเจาหากใครเชื่อในพระองคเขาก็จะไดชีวิตนิรันดร (ยน. 20: 30, 31) สวนจดหมายฉบับนี้ เขียนขึ้นเพื่อเปนหลักฐานยืนยันแกคริสเตียนทั่วไป เปนการย้ําถึงความ มั่นใจใหรูวาผูที่เชื่อมีชีวิตนิรันดร (5:13) ถอยคําสําคัญคือ “รู” และ “รวมสามัคคีธรรม” 2. สาระสําคัญ พระธรรมเลมนี้เปนจดหมายที่พระบิดาเจาผูสถิตอยูในสวรรคมีมายังบุตรทั้งหลายของพระองค หรือ “ผูบังเกิด” แตพระองคโดยเฉพาะ กลาวอีกนัยหนึ่ง คือเปนจดหมายภายใน “ครอบครัว” ของพระ เจาโดยเฉพาะ ไมรวมถึงชาวโลกดวย เปนเรื่องที่วาดวยพระเจาทรงเอาพระทัยใสตอความประพฤติของ บุตรของพระองคเปนสําคัญ พระธรรมกิตติคุณยอหนนําทางใหเรากาวเขาสูปราสาทของพระบิดาและ จดหมายฝากของทานยอหนกระทําใหเราอยูในปราสาทนั้นอยางเปนสุข ขอเขียนของอาจารยเปาโล เนนหนักไปในดานความสัมพันธ และในฐานะบุตรของพระเจาที่พึงมีตอกัน สวนงานของทานยอหนวา ดวยความสัมพันธอยางใกลชิดระหวางบุตรกับพระบิดา ในบรรดาขอเขียนตางๆ ในพระคริสตธรรม คัมภีรจดหมายฉบับนี้มีสวนคลายคลึงกับบทเพลงไพเราะของกษัตริยซาโลมอนในพระคัมภีรเดิมที่สุด

มรณกรรมหลังจากกรุงเยรูซาเล็มถูกทําลายดูเหมือนวาทานยอหนไดตั้งบานเรือนอยูที่เมืองเอเฟซัส

(1: 1-4)

73 3. บทตอนที่สําคัญ ความสัมพันธในฐานะเปนบุตรของพระเจา (1:3-24) ครอบครัวและชาวโลก (4:1-5:21) 4. ลักษณะพิเศษ ผูเขียนเปนบุคคลที่มีความแนใจ ทานเขียนในฐานะที่เปนผูหนึ่งที่ไดยิน ไดเห็น และไดจับตอง รางกายพระบุตรของพระเจา พระธรรมเลมนี้ใชคําวา “รู” หรือ “รูจัก” ถึง 40 ครั้ง จดหมายฝากฉบับนี้มี ความจําเปนแกคริสตจักรอยางใหญหลวง การหลงผิดกําลังคืบคลานเขามาซึ่งเปนการปฏิเสธความ ศรัทธาในพระเจา พวก อีเบียน สอนวาพระคริสตเปนเพียงมนุษยเทานั้น พวก เซอรินเทียนสสอนวา พระคริสตเปนเพียงฤทธิ์อยางหนึ่งของพระเจาซึ่งลงมาสิ่งอยูในรางของมนุษยผูมีนามวาเยซู และจากไป กอนที่พระเยซูตรึงบนกางเขน พวกโตซีท อางวา พระคริสตไมมีรางกายที่แทจริง เหตุฉะนั้นจึงจะรับ ความทุกขทรมานและความตายไมได ตามปกติทานยอหนเขียนดวยความรักเสมอ แตในจดหมายฉบับนี้ทานเขียนอยางตรงไปตรงมา ที่สุด มุงชี้ใหเห็นคําสอนอันลอลวงและผูสอนเท็จ ทานประกาศใหทราบวา ผูสอนเหลานี้เปนผูที่ทรยศ ตอพระคริสต ตามที่กลาวสืบเนื่องกันมานั้น ทานยอหนใหความเลี้ยงดูมารดาของพระเยซูจนนางถึงแก
5. หัวขอโดยสังเขป
ความรัก
ชีวิตแหงความมีชัย
บทที่
6. คําสั่งสอนที่สําคัญ เขียนถึงบรรดาลูกคือลูกทั้งหลายของพระเจาหรือคริสเตียนเทานั้น ถอยคําที่เดนชัดคือ “ความสวาง” “ความรัก” “ชีวิต” ขอพระธรรมที่สําคัญมาก คือ 1:9 ซึ่งขอนี้ บอกใหคริสเตียนไดทราบวาเมื่อประพฤติผิดบาปจะตองทําอยางไร บทที่ 4 ใชคําวา “รัก” มากกวาบทอื่นใดในพระคริสตธรรมคัมภีร บทที่ 4 ขอ 8 ประกาศให ทราบวาพระเจาเปนความรักสวนการสําแดงออกซึ่งความรักอันแทจริงของพระองคกลาวไวใน 4:9
คํานํา
ความสวาง (1: 5-2:29)
(บทที่ 3,4)
(
5)
74 7. กุญแจไขความเขาใจ จําไววาจดหมายของทาน 1 ยอหนมาจากพระเจาถึงลูกทั้งหลายของพระองคเทานั้น
75 กุญแจไขพระธรรม 2 ยอหน 1. ความเปนมา ผูเขียนคือ ยอหน อัครสาวกสนิทของพระคริสตซึ่งตอมาเปนศิษยาภิบาลคริสตจักรแหงเมือง เอเฟซัสทานเปนผูที่มีชีวิตเปนคนสุดทายในบรรดาอัครสาวกสิบสองคน เขียนจากเมืองเอเฟซัสเมื่อประมาณคศ 97 พระธรรมเลมนี้เปนจดหมายสวนตัวของทานยอหนอีกฉบับหนึ่งทํานองเดียวกับพระธรรม ยอหนฉบับที่สาม 2. สาระสําคัญ จดหมายฉบับนี้เขียนถึง “สุภาพสตรีที่พระเจาทรงเลือกสรรไดและบุตรของนาง” ซึ่งอาจ หมายถึงหญิงคนหนึ่งที่มีความดีเดนและมีอิทธิพลมากแตเราไมทราบชื่อ ยอหนไดเตือนสุภาพสตรีผูนี้วา อยาตอนรับแขกที่เปนผูสอนเท็จ
เชื่อของนางเอง (คําวา
นี้ตําราบางเลมใหคําอธิบายวาหมายถึง คริสตจักร กับ
) 3. บทตอนที่สําคัญ วิถีทางแหงความจริงและชีวิต (ขอ 1-6) อันตรายที่เกิดจากวิถีทางอันไมชอบดวยพระคริสต ธรรมคัมภีร (ขอ 1-11) คําลงทาย(ขอ 12,13) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมฉบับนี้เปนพระธรรมสั้นที่สุดในพระคัมภีรแตมีขอความสําคัญมาก คําที่สําคัญคือ “ความจริง” ซึ่งหมายถึงความจริงของพระคัมภีร ทานยอหนใชสรรพนามแทนชื่อของทานในคําขึ้นตนของพระธรรมฉบับนี้วา “ผูปกครอง” ชาง เปนสรรพนามที่เหมาะสมเสียจริงๆ ทั้งนี้เพราะทานยอหนเปนอัครสาวกที่เหลืออยูเปนคนสุดทาย และ ขณะที่เขียนจดหมายดังกลาวก็มีอายุอยูในวัย 90 แลว
เพราะเปนอันตรายตอความ
สุภาพสตรี และบุตรของนาง
สมาชิกคริสตจักรมากกวาที่จะหมายถึงบุคคลใดหรือครอบครัวใดโดยเฉพาะ

5. หัวขอโดยสังเขป

คํานํา (ขอ 1-4)

คําคํานับ

คําขอบพระคุณ

พระบัญญัติ (ขอ 5-6)

ขอควรระมัดระวัง (ขอ 7-9)

คํากําชับ (ขอ 10,11)

สรุป (ขอ 12,13)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ

พระคริสตผูใดพยายามเขาไปหาพระเจาโดยทางอื่นยอมเปนขโมยหรือโจร (ยน

76
ตองระลึกอยูเสมอวา ความจริงที่ปรากฏในจดหมายสั้น ๆ ฉบับนี้มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว ซึ่ง แตกตางจากใจความในหนาอื่นๆแหงพระคริสตธรรมคัมภีร คําวา “บุตรของทาน” ในขอ 4 นั้น อาจหมายความถึงทั้งบุตรตามธรรมชาติ หรือหมายถึง บรรดาสมาชิกของคริสตจักรในเมืองนั้นดวยก็ได มีการย้ําใหระมัดระวังผูสอนเท็จและผูลอลวง เชนเดียวกับที่ไดกําชับไวในพระธรรมยอหน ฉบับที่ 1 คนเหลานั้นไมยอมรับวาพระเยซูคริสตไดเสด็จมารับชาติเปนมนุษย ขอ
สอนไววาผูใดประสงคจะเขาไปหาพระเจาแลว ก็มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองยอมรับ
10:7-9) ขอ 10,11 กําชับไวอยางเด็ดขาดวาหามตอนรับผูลอลวงเชนนั้นเปนอันขาด หาไมแลวจะเปน การสงเสริมความชั่วรายของเขาไป หลักคําสอนที่อางอิงไวเปนความจริง อันสมบูรณวาดวย การ ประสูติการดําเนินชีวิตการสิ้นพระชนมการฟนคืนพระชนมและการเสด็จกลับมาของพระคริสต การแสดงความชื่นชมยินดีสนิทสนมฉันมิตรมีเขียนเพิ่มไวในขอ 12 7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมฉบับนี้นับเปนจดหมาย “ที่แท” ซึ่งเขียนจากยอหนผูเปนศิษยาภิบาลที่รัก ถึงมารดาค ริสเตียนคนหนึ่ง
9
77 กุญแจไขพระธรรม 3 ยอหน 1. ความเปนมา ผูเขียนคือยอหน อัครสาวกของพระเยซู ขณะที่เขียนพระธรรมฉบับนี้ทานดํารงตําแหนงศิษยาภิ บาลคริสตจักรเมืองเอเฟซัส เขียนจากเมืองเอเฟซัส เมื่อประมาณ คศ 97 เปนจดหมายฉบับสุดทายกอนที่ทานจะถึงแก กรรม ตามขอพระคัมภีรเห็นไดวา จดหมายฉบับนี้เขียนถึงผูมั่งคั่งคนหนึ่งมีนามวา คาโย (1:1) เพื่อเรา ใจใหตอนรับทูตผูประกาศพระกิตติคุณอันแทจริง พระคริสตธรรมใหมกลาวถึงนามคาโยไวหลายครั้ง (ดูกจ 19:29, 20: 4, รม 16:23, 1 กธ 1:14) แตไมแนใจนักวาจะเปนบุคคลคนเดียวกันหรือไม 2. สาระสําคัญ มีปญหาเกิดขึ้นในคริสตจักรทองถิ่นแหงหนึ่ง ดูเหมือนวาชายคนหนึ่งชื่อดิโอเตรเฟ เปนผูใฝ อํานาจ ไมยอมรับรูในอํานาจหนาที่และไมเชื่อฟงจดหมายของอัครสาวกปรากฎชัดวา
สําหรับจดหมายฉบับนี้เขียนถึงคาโยดังระบุไวในตอนตนของ จดหมาย ซึ่งเปนสมาชิกในคริสตจักรแหงนั้น เพื่อซอมความเขาใจ ใหแกไขขอบกพรองตอระเบียบนั้น เสีย อาจเปนไดวาจดหมายฉบับนี้เปนฉบับหนึ่งในหลาย ๆ ฉบับ ที่อัครสาวกทั้งหลายเขียนไปถึง คริสตจักรแหงนี้ อยางไรก็ดีจดหมายฉบับนี้พระวิญญาณของพระเจาไดทรงสงวนไวเพื่อเปนคําสั่งสอน แกพวกเราในทุกวันนี้ดวย 3. บทตอนที่สําคัญ คําทักทานปราศรัยสวนตัว (ขอ 1-4) คําสั่งสอน (ขอ 5-8 )เปรียบเทียบผูนําสองคน(ขอ 9-14 ) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมฉบับนี้ กับพระธรรม 2 ยอหนเผยใหทราบถึงชีวิตและคุณลักษณะของบรรดาสมาชิก แหงคริสตจักรสมัยเริ่มแรก ซึ่งแมในปจจุบันนี้ ความบกพรองของบรรดาผูเชื่อก็ยังคงมีอยู การกําชับ ผูรับผิดชอบตอคริสตจักรเพื่อกําจัดขอยุงยากตางๆใหหมดไป
ทานยอหนเคยได เขียนไปถึงคริสตจักรนั้นบางแลว (ขอ 9)

ดิโอเตรเฟ ) (ขอ 9,10)

เดเมเตรียว) (ขอ 11,12)

78 บางทานคิดวาดิโอเตรเฟ เปนผูสอนเท็จคนหนึ่งดังไดกลาวไวแลวในจดหมายของทานยอหน ฉบับตน เขาไมอนุญาตใหผูสอนหรือผูแทนคนอื่นๆ ของทานยอหนเขาไปเทศนาในคริสตจักรของเขา เลย อาจารยเปาโลไดเคยประกาศพระกิตติคุณในแถบนี้มาราว 40 ปกอน หลังจากนั้นทานยอหนจึง ไดมาเปนผูปกครอง ทานไดรวบรวมบรรดานักเทศนและผูสอน และจัดสงไปยังทองถิ่นใกลเคียง ปรากฎวาในตําบลที่ดิโดเรเฟอาศัยอยูนั้นผูประกาศของทานยอหนไมไดรับการตอนรับ ดังนั้นเมื่อเขา กลับผูประกาศเหลานั้นจึงไดรายงานเรื่องราวใหทราบ ณ คริสตจักรของทานยอหน (ขอ 6) และได กลับไปเยี่ยมอีกคราวนี้ไดนําจดหมายฉบับนี้ไปมอบใหคาโยดวย 5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (ขอ 1-4) คําคํานับ และคําขอบพระคุณ ชมเชยในการตอนรับ (คาโย
ติเตียนความเห็นแกตัว (
พยานที่ดี (
สรุป
6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ตนเหตุของความยุงยากเกี่ยวกับดิโอเตรเฟก็คือ เขาเปนคนแสวงหาประโยชนสวนตัว และไม ยอมรับรูอํานาจหนาที่ของอัครสาวก ดวยอาการอยางนี้ เขากลายเปนผูเผด็จการในคริสตจักร ดังนั้นจึง เปนการทําลายมิตรภาพของคริสเตียนและความสัมพันธที่ดีตอพระเจา แมดิโอเตรเฟ จะเปนคนที่คริสเตียนแทจริงไมพึงปรารถนา แตในคริสตจักรแหงนั้นยังมีคนดี อยูดวย เชน คาโยผูดําเนินชีวิตตามความจริง (ขอ 3) และเดเมเตรียว ผูรักความจริง ผูที่รูจักคุนเคยกับ ทานตางก็เปนพยานยืนยันในคํากลาวนี้ (ขอ 12) ยอหนไดชักชวนคนเหลานี้ใหจัดระเบียบของ คริสตจักรใหถูกตอง
) (ขอ 5-8)
(ขอ 13,14)

ทานยอหนมุงหวังที่จะมาเยือนคริสตจักรแหงนี้ดวยตนเอง (ขอ 14) ทานหวังใจวา เมื่อมาถึง

ความยุงยากตางๆก็คงจะผานพนไป

7. กุญแจไขความเขาใจ

พระธรรมฉบับนี้กลาวถึงปญหาที่เกิดขึ้นในคริสตจักรแหงหนึ่งในสมัยแรกเริ่มและคําตอบของพระเจา ที่มีตอคริสตจักรแหงนั้น

79
80 กุญแจไขพระธรรมยูดา 1.ความเปนมา ผูเขียนคือยูดา นองชายรวมมารดาฝายเนื้อหนังของพระเยซู (มก. 6:3) และนองชายของยากอบ ซึ่งเปนผูเขียนพระธรรมยากอบและเปนผูนําคนหนึ่งในคริสตจักรสมัยแรกเริ่ม เขียนเมื่อประมาณ คศ 67 จดหมายของทานยูดามีใจความทํานองเดียวกันกับพระธรรม 2 ทิ โมธีและพระธรรม 2 เปโตร ซึ่งพระธรรมทั้งสองเลมนี้วาดวยเรื่องมีผูละทิ้งพระเจาเกิดขึ้นในคริสตจักร และกําลังระบาดมากขึ้นทุกขณะ เหตุที่เขียน ดูเหมือนวาทานยูดาไดวางแผนที่จะเขียนบทความวาดวย “ความรอดสําหรับคนทั้ง ปวง” (ขอ 3) แตไดเปลี่ยนความตั้งใจและไดเขียนเตือนสติใหพยายามรักษาความเชื่อใหมั่นคง จดหมายฉบับนี้เขียนถึงคริสตจักรทั่วไป 2. สาระสําคัญ เราตอง “พยายามรักษาความเชื่อใหมั่นคง” ในตอนปลายของยุคอัครสาวก มีผูสอนเท็จเกิดขึ้นมากมาย พวกนี้ไดแทรกซึมเขาไปใน คริสตจักรตางๆ และชักจูงสมาชิกของคริสตจักรใหหันเหไปในทางที่ผิดตามเขาไปดวย คําสอนของคน พวกนี้ซึ่งไดชื่อวา “ผูแอบแฝงเขามา” นั้น ยึดถือตามแนวทางแหงความคาดคะเน และปรัชญา กับ ยินยอมใหบรรดาศิษยของเขาดํารงชีวิตดวยการกระทําอันชั่วชาลามก คําสอนอันผิดๆ ของคนเหลานี้ขอ หนึ่งมีความวา พระเจาทรงกอปรไปดวยความเมตตาเกินกวาที่จะลงโทษคนบาปได ทานยูดาจึงเขียน จดหมายฉบับนี้ขึ้นเพื่อแจงใหเห็นถึงโทษของความผิดบาปทั้งหลาย 3. บทตอนที่สําคัญ คํานําและเหตุที่เขียน (ขอ 1-4) ชี้ถึงโทษของการกระทําผิดฐานะทิ้งพระเจา (ขอ 5-7) อธิบายถึง ลักษณะของผูสอนเท็จ (ขอ 8-19) การปลอบโยนและใหความมั่นใจ (ขอ 20-25) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมยูดาฉบับนี้คลายคลึงกับพระธรรมบทที่ 2 ในพระธรรม 2 เปโตรมาก แตก็มีขอ แตกตางกันอยูบางประการ คือ ทานเปโตรกลาววา จะมีผูสอนเท็จในอนาคต สวนทานยูดายืนยันวา ผูสอนเท็จไดเกิดขึ้นแลวในปจจุบัน

เขาใจวาคงไมมีบทใดในพระคริสตธรรมใหมที่กลาวถึงโทษของความผิดบาปไวหนักแนนเทากับเลมนี้

ยูดาอาจจะรูเรื่องราวของพระเยซูตั้งแตพระองคยังทรงอยูในวัยเยาวจนถึงวาระที่พระองคตั้งตน

คํานํา (ขอ 1-4)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ

คําที่นาสะพรึงกลัวตางๆที่ทานยูดาใชนั้นมุงหมายเฉพาะผูสอนเท็จในคริสตจักรเทานั้น ในจดหมายนี้มีคําพยากรณแรกเริ่มที่สุดซึ่งวาดวยการเสด็จกลับมาครั้งที่สองของพระคริสต และแจงวาเปนคําพยากรณของฮะโนค (14,15) ผูซึ่งมีชีวิตอยูเมื่อประมาณ

81 ผลประการแรกจากการอานจดหมายของทานยูดาก็คือ ทําใหรูวาบาปเปนสิ่งที่นาขยะแขยงมาก
การที่ทานยูดา อางถึงความสัมพันธระหวางทานเองกับทานยากอบดังที่อางไวในขอ 1 เห็นจะ เปนเพราะตองการใหจดหมายฝากฉบับนี้ มีน้ําหนักนาเชื่อถือมากขึ้นนั่นเอง เพราะในสมัยนั้นยากอบ เปนผูที่มีชื่อเสียงและมีผูเคารพยกยองมาก
ทําการสั่งสอน อันเปนเรื่องที่เราทุกคนอยากทราบก็ได แตพระวิญญาณของพระเจาคงหามมิใหกลาวถึง ระยะเวลานั้น แตใหกลาวเนนถึงพระเยซูคริสตในเวลาที่พระองคทําการสั่งสอน จนถึงเวลาสิ้นพระชนม และฟนคืนพระชนม 5.หัวขอโดยสังเขป
การละทิ้งพระเจาของสังคมสวนรวม
การละทิ้งพระเจาในสวนบุคคล
คํากําชับตักเตือน
24,25)
(ขอ 5-10)
(ขอ 11-16)
(ขอ 17-23) สรุป (ขอ
3,800 ปกอนคริสตกาล อีกเรื่องหนึ่งที่ไมมีในพระคัมภีรเดิม คือเรื่องที่อัครทูตาธิบดีมิคาเอล โตเถียงกับมารเรื่องศพ ของโมเซ 7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมฉบับนี้เปนจดหมายหนุนน้ําใจใหตอสูผูสอนเท็จ และชักชวนคริสเตียนรักษาความ เชื่อใหมั่นคง

ที่ แสดงใหเห็นวาพระคริสตทรงเปนศูนยกลางแหงคําพยากรณทั้งหมดทุกสิ่งที่จะมีภายหนาลวนแตเล็งถึง

82 กุญแจไขพระธรรมวิวรณ 1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกยอหน ศิษยาภิบาลแหงเมืองเอเฟซัส ขณะที่เขียนพระธรรมเลมนี้ทานตก เปนนักโทษของจักรพรรดิซีซารและถูกเนรเทศไปยังเกาะปตโมนอกมณฑลอาเซียนอย เขียนที่เกาะปตโมเมื่อประมาณคศ 96 เหตุที่เขียน พระเจาทรงยอมใหยอหนถูกเนรเทศไปยังเกาะปตโม เพื่อประทานวิวรณอันเปน พระวาทะที่ยอดเยี่ยมปดทายพระคัมภีรนี้ ตอมาภายหลังทานยอหนก็ไดรับการปลดปลอย และกลับสูที่ อาศัยณเมืองเอเฟซัสอันเปนสถานที่ซึ่งทานถึงแกมรณภาพ 2. สาระสําคัญ พระธรรมวิวรณเปดเผย ใหทราบถึงพระเยซูคริสตในทุกสภาวะอันนาชื่นชมแหงบุคลานุภาพ และพระราชกิจอันมหัศจรรยของพระองค พระธรรมเลมนี้เปนจุดรวมอันสุดยอด แหงความจริงอัน มหัศจรรยทั้งปวงของพระคัมภีร หากปราศจากพระธรรมวิวรณนี้แลว พระคัมภีรก็จะขาดความสมบูรณ จากพระธรรมเลมนี้เราสามารถรวบรวมความจริงไดทั้งหมด 3. บทตอนที่สําคัญ นิมิตเหตุการณซึ่งทานไดเห็น (1: 19ก.) เหตุการณที่เปนอยูในปจจุบัน (ยุคคริสตจักร) (1: 19 ข.) เหตุการณซึ่งจะมีมาภายหนา (1: 19ค.) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมวิวรณ มีขอความที่อางจากพระคัมภีรเดิมมากมาย เทียบกับพระธรรมมัทธิว ซึ่งยกมา เพียง 92 ครั้งและฮีบรู 201 สวนวิวรณยกมาอางถึง 285 ครั้ง พระธรรมเลมนี้เปนพระธรรมที่วาดวยคําพยากรณเพียงเลมเดียวในพระคริสตธรรมใหม
พระองค “วิวรณ” เปนการเปดเผยใหทราบถึงบุคลิกภาพอันแทจริงของพระบุตรของพระเจา เนื้อหาในพระธรรมเลมนี้เต็มไปดวยนิมิตหมายสัญลักษณ ขอลึกลับตางๆ โดยทั่วไปแลวเรา ตองตีความหมายตามตัวอักษรเวนแตถอยคําที่เปนภาพพจนแสดงความเปนนัยตางๆเทานั้น

(1: 3)

5. หัวขอโดยสังเขป

คํานํา (บทที่ 1)

จดหมายทั้งเจ็ดฉบับ (บทที่ 2,3)

พูดถึง “สิ่งทั้งเจ็ด” หกครั้ง (บทที่ 4-22)

ดวงตราทั้ง 7

ผูมีตําแหนงสูงทั้ง 7

วันวิบัติทั้ง 7

แตรทั้ง 7

ขันทองคําทั้ง 7

สิ่งใหมๆทั้ง 7

83 ขอความทั้งสิ้นในพระคัมภีรมีเพียงแหงเดียวเทานั้นที่พระเจาทรงสัญญาไวเปนพิเศษวา ผูอาน และผูที่ฟงที่ไดรักษาขอความที่เขียนนี้จะไดรับพระพรแหงความผาสุก
6. คําสั่งสอนที่สําคัญ จดหมาย 7 ฉบับดังกลาวไวบทที่ 2 และ 3 นั้น มีจุดประสงคใหใชบังคับสี่ประการคือ (1) เพื่อ แกไขขอบกพรองอันเลวราย ในเจ็ดคริสตจักร ที่มีนามดังกลาว (2) เล็งถึงคริสตจักรทุกยุค (3) ใชบังคับ แกคริสเตียนเปนสวนบุคคล (4) ใชเปนโครงรางประวัติศาสตรแหงคริสตจักรของพระเยซู ตั้งแต
สวนใหญในพระธรรมวิวรณ กลาวถึงยุคแหงความลําบากยากเข็ญซึ่งรวมอยูในบทที่ 4-19 ใน บทดังกลาวนี้แบงออกเปน 6 สวนๆละเจ็ดเรื่อง (โปรดดูหัวขอขางบน) พระธรรมวิวรณมีความสัมพันธปฐมกาลเปนพิเศษ พระธรรมปฐมกาลกลาวถึงกําเนิดของสรร สิ่งรวมทั้งมนุษย ชีวิต การสมรส ความผิดบาป ฯลฯ สวนพระธรรมวิวรณนี้กลาวถึงชีวิตบั้นปลายของ มนุษย ความจริงอันนาชื่นชมยินดีที่สุด ปรากฎอยูในบทสุดทาย ซึ่งบรรยายถึงสวรรคสถานและสงา ราศีไวอยางนาตื่นเตนขอสุดทายเปนคําเชื้อเชิญเพื่อใหเขาเฝาพระคริสต
พระองคเสด็จมาบังเกิดจนถึงการเสด็จมาครั้งที่สองของพระองค

แมพระธรรมเลมนี้จะยากแกการศึกษาแตพระวิญญาณบริสุทธิ์ซึ่งทรงดลใจใหเขียน พระธรรมเลมนี้จะทรงสอนทุกคนที่ใครรูใหเขาใจ

84
7. กุญแจไขความเขาใจ จงอานพระธรรมเลมนี้ดวยความตั้งใจ ดวยความกระตือรือรนและความแนวแนในอันที่จะ แสวงหาพระคริสต
85 ลูกกุญแจ 39 ดอก ไข พระคัมภีรเดิม เปนหนังสือที่กลาวถึงประวัติความเปนมา สาระสําคัญ ลักษณะพิเศษ หัวขอโดยสังเขป คําสั่ง สอนที่สําคัญ ซึ่งจะไขไปสูความเขาใจ ในพระธรรมแตละเลมใน พระคัมภีรเดิม ขอความกะทัดรัด เหมาะสําหรับใชเปนคูมือในการศึกษาพระคัมภีรเดิมเปนอยางยิ่ง สนใจโปรดสั่งซื้อไดที่ กองคริสเตียนบรรณาศาสตร 28/2 ซอยประชาอุทิศ ถนนปฏิพัทธ กรุงเทพมหานคร , 4

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.