ลูกกุญแจ 39 ดอก ไขพระคัมภีร์เดิม 2/3

Page 1

1
พงศาวดาร - โยนาห์
44
ฉบับหนึ่ง 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคงเปน เอสรา ผูซึ่งเปนทั้งอาลักษณและปุโรหิต (2 พศด 36: 22; อสร 1:1-2) เขียนเมื่อ 500 ป กอน คศ ขอคิดคือ ประวัติราชอาณาจักร โดยเนนถึงการกระทําของพระเจา ตอพลไพรของ พระองค ขอไขคือ 29: 26 เปนพระธรรมประวัติศาสตร และบันทึกการสืบวงศวาน พงศาวดาร แปลวา “คําแหงยุค” หรือ “บันทึกการณ” 2. สาระสําคัญ เปนประวัติโดยยอ เริ่มตั้งแตอาดาม จนกระทั่งถึงชนชาติอิสราเอลตกไปเปนเชลย (รวมทั้ง พงศาวดารฉบับสองดวย) เนนถึงการปกครองของดาวิดกษัตริยผูยิ่งใหญของอิสราเอล 3. ขอสังเขป บันทึกเกี่ยวกับการสืบวงศวาน (บทที่ 1-10) การปกครองของดาวิด (บทที่ 11-29) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมเลมนี้กลาว ถึงเรื่องราวที่ซ้ํากับพระธรรมซามูเอลฉบับสอง บางเรื่อง แตมีจุดมุงหมาย แตกตางกัน ผูเขียนมุงแตบันทึกสถิติที่แนนอน เหตุการณที่เกิดขึ้นในระหวางที่เขียน และเหตุการณ สําหรับอนาคต พระธรรมซามูเอลทั้งสองฉบับ และพงศกษัตริยทั้งสองฉบับ (รวมเปน 102 บท) ครอบ ระยะเวลาในประวัติศาสตร 585 ป ศาสดาพยากรณมีสวนสําคัญมากที่สุด บันทึกนามของกษัตริยที่ขึ้น ครองราชยทั้งสองอาณาจักร และเนนถึงกษัตริยที่ดีและสําคัญ สวนพระธรรมพงศาวดารทั้งสองฉบับ (มี 65 บท ) ครอบระยะเวลาในประวัติศาสตร ของแผนดินอิสราเอล ถึง 460 ป ปุโรหิตมีสวนสําคัญ กลาวถึงเฉพาะกษัตริยที่ดีเดนของอาณาจักรยูดาเทานั้น พระธรรมเลมนี้ เนนถึงการปฎิบัติเกี่ยวกับพระวิหาร ความบริสุทธิ์ของการนมัสการ ระเบียบ การปฏิบัติรับใชในพระวิหาร เนนถึงการรักษาและปฏิสังขรณพระวิหารดวย ความคิดเห็นของกษัตริย ตาง ๆ เกี่ยวกับกษัตริยเหนือกษัตริยทั้งปวง คือ พระเจา นั้น ก็สําแดงอยางชัดเจนวา เปนกุญแจไข ความสําเร็จของประเทศชาติ
กุญแจไขพระธรรมพงศาวดาร
45 การปฎิบัติพระเจาโดยการถวายดนตรี สําแดงไวอยางชัดเจน ระบุถึงหนาที่ของคนในตระกูลเล วีจัดแบงหนาที่ของปุโรหิตไว 24 พวกใหอยูเวรประจําหนาที่ของตนมีทั้งผูเฝาประตูและผูดูแลเกี่ยวกับ ของถวายเชนเดียวกับหนาที่ของขาราชบริพารของกษัตริยดาวิด การนมัสการพระเจาสวนรวมของประชาชนนั้น ก็ไดรับการเอาใจใสเปนพิเศษ พระธรรมเลมนี้ สําแดงใหเห็นวา พระเจาทรงพอพระทัยที่พลไพรของพระองครวมกันนมัสการอยางสม่ําเสมอ ดังนั้น จําเปนอยางยิ่งที่จะแนะนําใหประชาชนทราบวา เขาควรนมัสการอยางไร จึงจะเปนที่พอพระทัยพระเจา และเปนที่ถวายเกียรติยศแกพระเจา 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ ในพระธรรมซามูเอลและพงศกษัตริย ทั้งฉบับหนึ่งและฉบับสองนั้น บันทึกถึงการทําสงคราม การกราบไหวรูปเคารพการกระทําผิดตอพระเจา แตในพระธรรมเลมนี้ กลาวถึงการรอดพนการกลับใจ ใหม การปฏิสังขรณ ในพระธรรมซามูเอลและพงศกษัตริย ถือวาการกราบไหวรูปเคารพเปนขบถ กษัตริยแตในพระธรรมเลมนี้ถือวาการหลงจากความเชื่อเปนขบถตอพระเจาโดยตรง มีการรอดพนครั้งยิ่งใหญในพระธรรมพงศาวดาร (ฉบับ 1, 2)ถึง 4 ครั้ง และเปนการมีชัยโดยฝ พระหัตถของพระเจาทั้งสิ้น ดาวิดมีมิตรสหายที่มีความสามารถหลายคน (บทที่ 11,12) พระธรรมเลมนี้ บรรยายถึงลักษณะ มิตรสหายเหลานั้นไววา “ชํานาญใชเครื่องอาวุธทุกอยาง เคยออกไปรบแลว” “มีหนาเหี้ยมเหมือน สิงโต” เขาเหลานั้น “วิ่งเร็วดุจดังเนื้อภูเขา” และเขาทั้งหลาย “ชํานาญทั้งมือขวาและมือซาย” ดาวิดไดรับเกียรติใหเปนผูตระเตรียม วัสดุสําหรับกอสรางพระวิหารของพระเจา ซึ่งพระเจาได มอบหมายใหซาโลมอนเปนผูสราง (บทที่ 22 ) ดาวิดไดรวบรวมเงินทองและวัสดุอื่น ๆ อีกเปนจํานวน มาก ถาจะตีราคาก็ประมาณ 40,000-100,000 ลานบาท ดาวิดกลาววา วิหารนี้ “ตองทําใหงามอยางยิ่ง” (ขอ 5) พระสัญญาไมตรีระหวางดาวิดกับพระเจา (2 ซมอ. 7) ไดนํามากลาวย้ําใน 1 พศด. 17: 7-15 นี่ก็ คือคําสัญญาของพระเจาโดยไมมีขอแมใดๆตอชนชาติอิสราเอล (ดูสดด 89:20-37 ดวย) หีบพระสัญญาไมตรีของพระเจา อยูที่เมืองคีระยัธยะอารีม เปนเวลา 20 ป (1 ซมอ. 7:2) และอยู ในเรือนของโอเบ็ดอะโดม 3 เดือน ในพระธรรมเลมนี้จะเห็นวา กษัตริยดาวิดจัดขบวนแหงอันมโหฬาร อัญเชิญหีบพระสัญญาไมตรีมายังพลับพลาที่เตรียมไวเฉพาะในกรุงเยรูซาเล็ม (บทที่ 15) 6. เรื่องที่ควรสนใจ การตายของอุซาเปนผลแหงการกระทําสิ่งที่ถูกตองในทางที่ผิด (13: 9, 10)
46 กษัตริยดาวิดปฎิเสธไมยอมรับสิ่งของใด ๆ โดยไมไดเสียคาใด ๆ มาถวายแกพระเจา ( 21: 2226) ก็อยากจะขอโทษในความผิดพลาดที่ตัวฉันนั้นผิดพลาด น้ําตาเธอก็ไหลพราก 7. กุญแจไขความเขาใจ การกลาวย้ํานั้นหมายถึงการกําชับ สิ่งตาง ๆ ที่พระเจากลาวย้ําในพงศาวดารฉบับหนึ่งนั้น ควร สังเกตอยางละเอียดถี่ถวน
47 กุญแจไขพระธรรมพงศาวดาร ฉบับสอง 1. เบื้องหลังความเปนมา เอสรา ผูซึ่งเปนทั้งอาลักษณและปุโรหิต คงเปนผูเขียน เขียนขึ้นเมื่อประมาณ 500 ป กอน ค ศ ครอบระยะเวลาถึง 400 ป พระธรรมเลมนี้เปนพระธรรมประวัติศาสตรขอคิดคืออาณาจักรยูดา (เนนถึง กษัตริยที่ดี) ขอไขคือ 15: 2 บุคคลสําคัญคือซาโลมอน 2. สาระสําคัญ กษัตริยซาโลมอน พระวิหารที่ซาโลมอนสรางและสงาราศีของทาน และกษัตริยที่ขึ้น ครองราชยสืบตอมาจากซาโลมอน เนนถึงการอัศจรรยของพระเจา ที่กระทําโดยกษัตริยแหงอาณาจักรยู ดา 3. ขอสังเขป การครองราชยชื่อเสียงของซาโลมอนและพระวิหาร (บทที่ 1-9) กษัตริยของยูดาการสงครามและชัยชนะ (บทที่ 10-36) การถูกจับไปเปนเชลยที่กรุงบาบิโลนและการปฏิสังขรณพระวิหาร (บทที่ 36) 4. ลักษณะพิเศษ การสรางการอุทิศถวายตัวและความสงางามของพระวิหารนั้นสําคัญที่สุด พระธรรมเลมนี้กลาวถึงความผิดบาป และความลมเหลวไวเพียงเล็กนอย แตไดเนนถึงกษัตริยที่ ชอบธรรมเกี่ยวกับราชกิจของกษัตริยเหลานั้นและการปฏิบัติพระเจาไวโดยเฉพาะ เอสรา อยูในตระกูลเลวี จึงเขียนพระธรรมเลมนี้ขึ้นตามความคิดเห็นเยี่ยงชาวเลวีทั่วไป เมื่อมี การแบงแยกราชอาณาจักรในรัชสมัยของรฮับอาม พวกเลวีสวนมาก ไดอพยพไปอยูอาณาจักรทางใต และไดปฏิบัติพระเจาที่นั่น พระธรรมเลมนี้คงเขียนขึ้น หลังจากพระธรรมเลมอื่น ๆ เพราะวาไดอางถึงพระธรรมเลมอื่น ๆ หลายเลม (1 พศด 29: 29) ในดานประวัติศาสตรแลว พระธรรมเลมนี้ไมมีคุณคา เทากับพระธรรมซามูเอล และพงศ กษัตริยทั้งฉบับหนึ่งและฉบับสอง แตพระธรรมเลมนี้ มีคุณคามากที่สุด ในการตีความหมายแหง ประวัติศาสตร ในดานการปฎิบัติพระเจา ซึ่งผูเขียนเปนประจักษพยาน เพราะไดเห็นเหตุการณตาง ๆ เปนสวนมากดวยตนเอง
48 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ พระเจาไดประทานพระพรมหาศาลแกซะโลมอน แตทานไดนําไปใชในทางที่ผิด ซึ่งไดนําทาน ไปสูความหายนะ พระวิหารไดสรางขึ้นตามแบบพลับพลา ที่สรางในถิ่นทุรกันดาร บางสวนก็มีขนาดใหญเปน สองเทาของพลับพลา มีชาวยิว 30,000 คน และชาวคานาอัน 150,000 คน รวมกันสราง ใชเวลาสรางถึง 7 ปครึ่งในระหวางการกอสรางไมไดยินเสียงฆอนในบริเวณพระวิหารเลย สําหรับแทนถวายเครื่องบูชาเผา คงเปนที่เดียวกับอับราฮัมไดถวายยิศฮาดเปนเครื่องบูชา (ปฐก 22) ซึ่งปจจุบันนี้เปนที่ตั้งสุเหราของพระโมฮัมหมัดแหงศาสนาอิสลาม ยะโฮซาฟาดไดขึ้นครองราชย 25 ป ไดแสดงพระเจาทุกประการ ทานไดเริ่มสั่งสอนประชาชน ตามบานของเขา โดยใหพวกเลวีและปุโรหิตเปนผูสอน พระบัญญัติของพระเจา ศาลยุติธรรมมีอยูทั่ว ราชอาณาจักรและมีศาลชั้นสูงอยูที่กรุงเยรูซาเล็๋ม ดังนั้นประชาชนตางดํารงชีวิต โดยยึดมั่นในความ ยุติธรรมอยางเครงครัด( บทที่ 17-20) ฮีศคียาขึ้นครองราชย ในขณะที่ราชอาณาจักรปราศจากความเปนระเบียบเรียบรอย แตทานได เริ่มตนปรับปรุงอยางใหญหลวง ทานไดชําระและปฎิสังขรณพระวิหาร ไดถือศีลปศคา ได “วางใจใน พระเจา” และไดพึ่งศาสดาพยากรณเยเรมียดวย บรรดากษัตริยในตอนปลายราชวงศ ไดประพฤติชั่วชา และไดรับผลอันนาเศราสลด จนกระทั่ง หมดทางแกไข กษัตริยซิดคียา ไดถูกจับใสตรวน นําไปยังกรุงบาบิโลน และสิ้นพระชนมที่นั่น กรุง เยรูซาเล็มและพระวิหารอันสงางามนั้นก็ถูกทําลายอยางสิ้นเชิง 6. เรื่องที่ควรสนใจ พระเจาทรงเปนผูออกแบบแปลนพระวิหารเอง ( 1 พศด 28: 19) หีบพระศพของกษัตริยซีซัค ทําดวยทองคําบริสุทธิ์นักโบราณคดีไดคนพบแลว อาจเปนพระ วิหารของพระเจาที่ซาโลมอนสรางขึ้นก็ได (12: 9) โยซีอา ไดขึ้นครองราชยอยางนาประหลาดที่สุดในประวัติศาสตรยูดา เมื่อทานมีพระชนมายุ เพียง 8 พรรษาทานไดแสวงหาพระเจา ในขณะที่ขึ้นครองราชยได 18 ปแลวทานไดพบหนังสือสัญญา ไมตรีของพระเจาในพระวิหารซึ่งนําประชาชนไปสูการปฏิรูป จงสังเกตดูขอความที่คลายคลึงกันระหวาง 2 พศด 36: 22, 23 กับอสร 1:1-3
49 7. กุญแจไขความเขาใจ กุญแจที่นําความสําเร็จมาสูชาตินั้นคือ จะตองยอมนับถือพระเจาและรับวา พระองคเปนใหญ ในทุกสิ่งและออนนอมตอพระองคตลอดเวลา ประเทศใดจะเจริญกาวหนาอยางแทจริงได ก็ตอเมื่อ เคารพนับถือ นมัสการและทําตามพระบัญชาของพระเจาอยางสม่ําเสมอ เมื่อทานกําลัง “สังเกตดู” เหตุการณตางๆที่เกิดขึ้นใน พงศาวดารฉบับสอง ขอใหทานสมมุติวา ทานกําลังอยูกับพระเจาและกําลัง มองดูเหตุการณตางๆทีเกิดขึ้นขณะนั้น
50 กุญแจไขพระธรรมเอสรา 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือเอสรา ผูเปนเหลนของฮิลคียา ซึ่งเปนทั้งอาลักษณ และปุโรหิตในตระกูลของอาโรน (7: 1; 2 พงศ 22:8)เขียนขึ้นประมาณ 450 ป กอน คศ ครอบระยะเวลา 93 ป ขอคิดคือ การปฏิสังขรณ และการสรางขึ้นใหม ขอไขคือ 7:10 เปนพระธรรมประวัติศาสตรนักประวัติศาสตร โยเซฟส และเจโร เมและคนอื่นๆมีความเห็นวาพระธรรมเอสราและพระธรรมนะเฮมยาเปนเลมเดียวกัน 2. สาระสําคัญ ซะรุบาเบลไดนําชนชาติยิว ออกจาการเปนทาสที่กรุงบาบิโลนเปนครั้งแรก และตอมาทานเอส ราพรอมดวยนะเฮมยาเปนผูนํา ซึ่งเปนตอนจบของประวัติศาสตรพระคัมภีรเดิม กิจการในพระธรรมเลม นี้เกี่ยวกับการสรางพระวิหารขึ้นใหมและการปรับปรุงการดํารงชีพของประชาชน 3. ขอสังเขป คําสั่งของกษัตริยโฆเร็ศ (บทที่ 1) การเดินทางและงานของซะรุบาเบล (บทที่ 2-6) การเดินทางและงานของเอสรา (บทที่ 7-10) 4. ลักษณะพิเศษ รายการลําดับเชื้อวงศ เปนบันทึกที่ถูกตองตามบัญญัติเกา บันทึกเกี่ยวกับการกลับ (จากการเปน เชลย) ทั้งสองครั้งโดยการนําของซะรุบาเบลเมื่อป 536 กอนค.ศ. และโดยการนําของเอสราเมื่อป 457 กอนค.ศ. ยุคนี้เปนยุคแหงการกอสราง และการปฏิสังขรณพระวิหารขึ้นใหม อันเปนผลสะทอนมาจาก พระธรรมดานิเอล 9: 1-19 ในระหวางบทที่ 6 กับ บทที่ 7 เปนยุคที่ไมไดกลาวถึงเหตุการณอะไรเลย เปนเวลาถึง 60 ป เหตุการณตางๆในพระธรรมเอสเธอรอาจเกิดขึ้นในวาระนี้ก็ได กษัตริยโฆเร็ศ ไดทําใหคําพยากรณของอิสยาหซึ่งพยากรณไวลวงหนาเมื่อ 200 ปกอน สําเร็จ (ยชว. 44: 28; 45:1) คําพยากรณของฮาคีและซะคาระยาก็ไดกลาวไวในวาระนี้เชนเดียวกัน

คําอธิษฐานของเอสราเปนคําอธิษฐานที่สําคัญยิ่งประการหนึ่งของพระคริสตธรรมคัมภีร (9: 515) ทานไดสารภาพบาปของประชาชน

51 ในประวัติศาสตรโลกนั้น ยุคนี้เปนยุคแหงความเจริญรุงเรืองอยางเต็มที่ของชาวกรีก เปนสมัยที่ พระพุทธเจา (ระหวาง 563-483 กอนค.ศ. ) และขงจื้อ (551-479 กอนค.ศ) ยังมีชีวิตอยู 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ ชาวเปอรเซียมีนโยบายของชาติ ที่นะสงเชลยกลับคืนสูภูมิลําเนาเดิม นโยบายนี้แตกตางกับ นโยบายของกษัตริยอะซุเรีย และกษัตริยบาบิโลน ทั้งนี้อาจเปนโดยการทรงนําของพระเจา โดยเหตุนี้ แหละเปนทางที่ชนชาติอิสราเอลไดกลับไปยังแแผนดินของเขา ขั้นแรกในการฟนฟูประเทศชาตินั้น คือการสรางพระวิหารขึ้นมาใหม ฟนฟูการเลี้ยงฉลองใน พิธีทางศาสนาและพิธีประจําชาติ ซึ่งเปนการกระทําที่ฉลาดและพระเจาไดประทานความยินดีใหใน วาระนี้ (บทที่3) เมื่อเริ่มกิจการงานของพระเจา ก็ยอมมีการขัดขวางตอตานเสมอ (4: 1-22) แตเนื่องดวยการนํา ของผูรักชาติ และการสนับสนุนจากศาสดาพยากรณฮาฆี และซะคาระยา งานสรางพระวิหารนั้น จึง สําเร็จลุลวงไปดวยดี กษัตริยอะระธาสัศธา (7:1) เปนราชบุตรเลี้ยงของพระราชินีเอศเธระ หลังจากพิธีถวายพระ วิหารในกรุงเยรูซาเล็มแลว 59 ป เอสราผูซึ่งทั้งปุโรหิตและอาลักษณ ไดนําอิสราเอลที่ตกเปนเชลย กลับมายังดินแดนของอิสราเอล ตามราชโองการของกษัตริย (7:11-26) ดังนั้นพระนางเอศเธระ คงมี สวนในการกอสราง และการปรับปรุงครั้งนี้ดวย เอสรารวบรวมกําลังคนเดินทางมากับทานไดถึง 1,754 คน ในบทที่ 7-10 นั้นสําแดงถึงวาระแหงการปฏิสังขรณ เมื่อทานเอสราไปถึงกรุงเยรูซาเล็ม ทานก็ พบเหตุการณที่นาเศราสลด เพราะสิ่งที่ขัดตอคําสั่งของพระเจาไดเกิดขึ้น คือการแตงงานกับคนตางชาติ ที่อยูในแผนดินนั้นซึ่งทําใหเอสรางงงันมาก
และเขาเหลานั้นก็รูสึกสํานึกผิดบาป และสัญญากับพระเจาวาจะ หันกลับจากการลวงละเมิดตาง ๆ และกลับใจใหม โดยเฉพาะอยางยิ่งจะละทิ้งสามีหรือภรรยา ที่ได แตงงานกันโดยผิดพระบัญญัติ เอสราไดรับความสําเร็จครั้งยิ่งใหญ เมื่อพระเจาประทานมหาบุรุษอีกผูหนึ่ง มาชวยทาน มหา บุรุษนั้นคือ นะเฮมยา บุคคลทั้งสองที่มีพรสวรรคตางกัน ไดชวยเหลือซึ่งกันและกันจนประสบ ความสําเร็จ
52 กุญแจไขลักษณะของเอสรามีขอความวา “เพราะวาทานเอสราไดสํารวมตั้งใจ
บทบัญญัติของพระยะโฮวา
นั้นสอนใหพวกอิสราเอลแจมแจงขึ้น” (7:10) 6. เรื่องที่ควรสนใจ ระยะเวลาแหงการเปนเชลยนับได 70 ป (จากการถูกเนรเทศครั้งใหญ ในป 606 กอน ค ศ จนถึงพระราชโองการของกษัตริยโฆเร็ศเมื่อป 536 กอนคศ.) จากการทําลายพระวิหาร (ในป 586 กอน ค.ศ.) จนถึงการสรางพระวิหารขึ้นใหม (ในป 516 กอนค.ศ.) ก็นับได 70 ปดวย ศาสดาพยากรณเยเรมียไดกําหนดเวลาแหงการถูกเนรเทศไวเปนเวลา 70 ป ดังคําพยากรณที่ ปรากฏในเยเรมีย 25: 11; 29:10 7. กุญแจไขความเขาใจ พระผูเปนเจาทรงหนุนหลังในเหตุการณตาง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นแกชนชาติยิว ทรงเปดทาง ทรงหนุน น้ําใจ ประทานชัยชนะ แตกระนั้นการถูกจับไปเปนเชลยในครั้งนี้ เปนเพียงตัวอยาง ในการที่จะถูก กระจัดกระจาย ไปทั่วโลกในอนาคต ประชาชนชาวอิสราเอลสวนมาก ไมไดเรียนรูถึงบทเรียน ที่พระ เจาพยายามสอนใหเขารูนั้นเลย
แสวงหาใน
เพื่อจะไดประพฤติตาม และเพื่อจะไดเอาบทบัญญัติ และขอตัดสินทั้งปวง
53 กุญแจไขพระธรรมเนหะมีย 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือเนหะมีย พนักงานเชิญจอกเสวย (เปนที่ปรึกษา และผูที่ไดรับความไววางใจ) ของ กษัตริยอะระธาสัศธา (1: 11) แหงเปอรเซีย ทานเอสราคงเปนผูรวมมือในการเขียนครั้งนี้ เขียนขึ้นเมื่อ 450 ปกอน ค.ศ. ครอบระยะเวลา 40 ป ขอไขคือ 2:5 ขอคิดคือ การปฏิสังขรณกําแพงเมืองปอมปราการ ตางๆประตูเมืองกรุงเยรูซาเล็มและการปฎิรูปประชาชน 2. สาระสําคัญ เปนชีวะประวัติบางสวนของผูนํา ในการกอสรางและปฎิบัติสังขรณกําแพง ประตูเมือง ปอม ปราการตาง ๆ ไว เพื่อปองกันกรุงเยรูซาเล็ม หลังจากที่กลับจากการเปนเชลย เนหะมียซึ่งเปนผูเขียน เปนผูที่มีความเชื่อที่เขมแข็ง และมีความกลาหาญที่นาไววางใจ เนหะมียผูซึ่งเปนผูปกครองที่เที่ยงธรรม เพื่อพระเจามาเปนเวลาหลายปไดรวมงานกับเอสราซึ่งเปนมหาปุโรหิตอยางไดผลดียิ่ง 3. ขอสังเขป คําวิงวอน (บทที่ 1) การสรางกําแพงเมือง (บทที่ 2-6) งานเกี่ยวกับการแกปญหาภายใน (บทที่ 7-13) 4. ลักษณะพิเศษ การเดินทางนําเชลยกลับสูสภาพเดิม (ประมาณ 444 ป กอน ค.ศ.) นั้น เปนครั้งที่สาม ที่รัฐบาล เปอรเซียไดออกคาใชจายและใหทหารคุมกันดวย บางสวนในพระธรรมเลมนี้ เปนถอยคําของเนหะมียที่พูดเกี่ยวกับตนเองโดยตรง คงคัดมาจาก รายงานราชการซึ่งเนหะมียผูซึ่งเปนอัครมหาเสนาบดี ไดถวายตอกษัตริย เนหะมียเปนผูที่เครงครัดในการอธิษฐาน (1: 4; 4:9; 6:9, 14) จงสังเกตดูวา กอนที่เนหะมียจะ ทูลขอตอกษัตริยนั้นทานไดใชเวลาอธิษฐานตอพระเจาถึง 4 เดือน

หะมียไดใชสิทธิอํานาจของทานในการแกไขความผิดของชนชาติอิสราเอล

54 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ พระเจาทรงกระทํา ใหพระประสงคของพระองคสําเร็จเสมอ ในกรณีนี้ชาติที่พระองอเลือกสรร ไดกอรางสรางตนขึ้นมาใหม โดยความเห็นชอบของกษัตริยที่ไมเชื่อ และไมเคารพนับถือนมัสการพระ เจาเลยและโดยแบบอยางของบุรุษสองทานผูซึ่งมีความเชื่อและความกลาหาญ เมื่อมีการลงมือปฎิบัติพระราชกิจของพระเจาอยางจริงจัง การขัดขวางและตอตานยอมเกิดขึ้น เสมอบางครั้งจะมาในรูปของการขูเข็ญ จากผูที่มีอํานาจบาทใหญ บางครั้งมาในรูปของเลยเหลี่ยมดุจ สุนัขจิ้งจอกทานเนหะมียถูกทดลองทั้งในทางประนีประนอมเยาะเยยและขูเอาชีวิต บทที่ 3 วิจารณเกี่ยวกับสันดานของมนุษย จากบุคคลผูปฎิบัติงานสรางกําแพงนั้น บางคนทํา ดวยความขยันหมั่นเพียร (ขอ 20) บางคนไดทําเพิ่มเติมจากหนาที่ของตนเปนพิเศษ (ขอ 4 และ 21) บาง คนมิไดชวยทําอะไรเลย (ขอ 5) บางคนไดทํางานอยางดีเดน (ขอ 13) วันหนึ่งทุกคนจะเผชิญหนากับ เรื่องนี้อีกเมื่อพระเจาเปดสมุดบันทึกการของพระองค ไมใชเฉพาะแตการกอสรางเทานั้น ที่เปนปญหาการประพฤติชั่วก็เปนปญหาที่หนักใจยิ่ง เนหะ มียสามารถแกไขความผิดพลาดที่รายแรงนี้ไดดวยความไมเห็นแกตัวของทานเอง (บทที่ 5) เมื่อทานกอสรางกําแพง ไดเสร็จเรียบรอยลงแลวงานขั้นตอไปคือการปลูกฝงชีวิต ฝายวิญญาณ จิต ใหแกประชาชน ใหประชาชนไดใกลชิดพระเจามากขึ้น
ประชุมชน
และมีการแสดงการไววางใจและสรรเสริญพระเจา เน
มีการอานพระบัญญัติของพระเจาในที่
(8:8) แลวมีการสารภาพความผิดบาป
เกี่ยวกันการสมรสในทางที่ ผิดและการละเมิดวันสะบาโต (บทที่ 13) 6. เรื่องที่ควรสนใจ การเทศนาที่แทจริงนั้นไดอธิบายไวใน 8: 8 บุตรีที่มีรางกายแข็งแรงบางคน ไดชวยในการกอสรางกําแพง (3:1) แมแตมหาปุโรหิต ก็ยังมี สวนในการสรางกําแพงครั้งนี้ (3.1) โดยมิไดถือวางานเหลานั้นเปนงานที่ต่ําตอย 7. กุญแจไขความเขาใจ ทานจะเขาใจและชื่นชมกับพระธรรมเลมนี้มากขึ้น หากทานสมมติวาตัวทานเปนเนหะมีย ซึ่ง ไดเผชิญกับเหตุการณที่นาสยดสยอง เนหะมียไดพิสูจนวา ทานเปนบุคคลชั้นนํา และเปนผูรับใชพระ เจาอยางแทจริง
55 กุญแจไขพระธรรมเอสเธอร 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคงเปนมาระดะคาย เขียนขึ้นประมาณ 525 ป กอน ค ศ เหตุการณในพระธรรมเลมนี้ เกิดขึ้นกอนพระธรรมเนหะมีย อาจเกิดขึ้นระหวาง บทที่ 6-บทที่ 7 ของพระธรรมเอสราก็ไดขอคิดคือ พระเจาทรงปกปองคุมครองพลไพรของพระองค ขอไขคือ 4: 14 จุดมุงหมายของพระธรรมเลมนี้คือ อธิบายถึงการเลี้ยงฉลองฟูริมบุคคลสําคัญคือมะระดะคายและเอสเธอร 2. สาระสําคัญ ถึงแมวาชนชาติอิสราเอลตองตกเปนเชลยในตางแดน เนื่องจากความบาปของเขาและการ พิพากษาลงโทษของพระเจาแตกระนั้นพระหัตถของพระเจา ก็ยังปกปองรักษาอยูตลอดเวลา พระ ประสงคของพระเจาจะตองสําเร็จครบถวนทุกประการ มนุษยไมสามารถใชอุบายทําลายพลไพรของ พระเจาได 3. ขอสังเขป พระนางวัศธีถูกปลดออกจากตําแหนงมเหสีเอสเธอรไดครองมงกุฎแทน (บทที่ 1-2) อุบายของฮามานและการเสี่ยงภัยของเอสเธอร (บทที่3-8) ชนชาติยิวปองกันตัวเองและมีชัยชนะ (บทที่ 9-10) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมเลมนี้ มิไดเอยพระนามของพระเจาเลยแตวาฤทธานุภาพของพระเจาก็ยังปรากฎอยาง เดนชัด กษัตริยอะหัสวะโรศ คือ เซิกซิสมหาราชแหงเปอรเซีย ผูซึ่งไดกรีฑาทัพไปทําสงครามกับชน ชาติกรีกเมื่อ 480 ปกอน คศ และประสบความพายแพ ซึ่งปรากฎอยูในประวัติศาสตรสากล และเปนที่ รูจักของคนทั่วไปการเลี้ยงฉลองในบทที่ 1 นั้นก็เพื่อเปนการผนึกกําลังสําหรับทําศึก นครซูซัร อยูหางจากกรุงบาบิโลนไปทางทิศตะวันออก 340 กม และเปนที่ประทับของกษัตริย แหงเปอรเซียในฤดูหนาว การอภิเษกสมรสของเอสเธอร ทําใหคําวิงวอนวอนของเนหะมีย สําเร็จผลอยางแทจริง โดยเหตุ นี้เองการปฏิสังขรณกรุงเยรูซาเล็มจึงเกิดขึ้น (นหม. 2:6)
56 งานเลี้ยงฉลองฟูริม (หมายถึง “ฉลาด”) ปจจุบันเปนงานฉลองประจําของชนชาติยิว เพื่อเปน การระลึกถึงการรอดพนจากความตาย 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ ในพระธรรมเลมนี้ มีอุทาหรณจากประวัติศาสตรถึงความจริงที่พระเจาทรงคุมครอง รักษาไพร พลของพระองค พระองคทรงคุมครอง และชวยเหลือคนของพระองคเปนการลับ พระหัตถอันลึกลับ ของพระองค ทรงจัดเปลี่ยนเหตุการณตามความจําเปน ผูที่มีความเชื่อ ยอมจะมองเห็นพระหัตถของ พระองคในเหตุการณที่เกิดขึ้นทุกกรณี การตอสูระหวางความดีกับความชั่วนั้น ชี้ใหเห็นชัดเจนในพระธรรมเลมนี้ ดวยการพิพากษา คนชั่วและการชวยคนยุติธรรมใหรอดพนในวาระสุดทายของแตละกรณี พระคุณอันเปยมลนของพระเจา ไดปรากฏในพระธรรมเลมนี้ดวย โดยพระนางเอสเธอรยอม เสี่ยงภัยถึงแมวาจะตองสละชีวิตและตําแหนงของตนเพื่อประชาชนของพระนาง ความเกลียดชังของพญามาร ที่มีตอพระเจาและพลไพรของพระองคนั้น สําแดงอยางเดนชัด ใน การที่ฮามานกับมาระดะคายเปนปฎิปกษตอกัน 6. เรื่องที่ควรสนใจ พระธรรมเลมนี้มีขอความที่ยึดยาวที่สุดในพระคริสตธรรมคัมภีรคือใน 8: 9 ประเทศเปอรเซียในขณะนั้นมีระบบการสื่อสารที่ดีเลิศ (1: 22) มาระดะคายดํารงตําแหนง เชนเดียวกับชาวยิวผูฉลาดคนอื่น ๆ ซึ่งไดดํารงตําแหนงหนาที่ ใน คณะรัฐบาลของดินแดนตางชาติ (เชนเดียวกับ ดาเนียล และโยเซฟ ) ตามประวัติศาสตรเรารูวากษัตริย อะหัศวะโรศมีกองทัพที่มีกําลังพลกวา 1 ลานคน 7. กุญแจไขความเขาใจ ทานจะเขาใจเรื่องราว ของพระธรรมเอสเธอรนี้ไดในเมื่อทานเขาใจถึงเบี้องหลังความเปนมา เสียกอนจงอานบทสุดทายของพระธรรม 2 พงศกษัตริย และ 2 พงศาวดาร และพระธรรมเอสรากับพระ ธรรมเนหะมียดวยโปรดระลึกเสมอวา เหตุการณเหลานี้ สําแดงฝพระหัตถที่ซอนไวของพระเจาในขณะ ที่พระองคบัญชากษัตริยและประชาชาติเหลานั้นเพื่อกระทําใหพระประสงคของพระองคสําเร็จ

พระธรรมโยบเปนคําประพันธแบบบทละครมีทั้งอารัมภบทมีหลายฉากและมีบทสงทายแตก็

57
เบื้องหลังความเปนมา ไมทราบแนชัดวาใครเปนผูเขียน อาจเปน อะลีฮู โมเสสและโยบเอง โยบมีชีวิตอยูในสมัยการ ปกครองแบบเจาบานปกครองลูกบาน หรือสมัยพอหมู ครอบระยะเวลา 140 ป ขอคิดคือ มูลเหตุความ ทุกขทรมานของมนุษยขอไขคือ 1: 21 2. สาระสําคัญ พญามารซาตานกลาวหาพระองควา พระองคไมเที่ยงธรรม ในการปฏิบัติตอมนุษย ดังนั้นพระ เจาจึงอนุญาติใหพญามาร นําความเจ็บปวยและความทุกขทรมานมาสูโยบ บุรุษผูมั่งคั่งและนาเคารพ อยางยิ่งเพื่อเปนการพิสูจนคํากลาวหาของพญามาร 3. ขอสังเขป พญามารซาตานไดเยาะเยยความมั่นคงของโยบถึงสองครั้งเฉพาะพระพักตรพระเจา
(บทที่ 3-31) อะลีฮูอธิบายเพิ่มเติมตามความคิดเห็นของเขา (บทที่ 32-37) คําตรัสของพระเจา (บทที่ 38-41) การสารภาพของโยบและการไดรับความมั่งคั่งเปนสองเทากวาเดิม (บทที่
เปนความจริงทุกประการ สวนใหญของพระธรรมเลมนี้ เปนการโตตอบในที่สาธารณะ โดยไดบันทึกคําพูดไว (13: 26) โยบเปนที่รูจักของประชาชนทั่วไป และความทุกขโศกของทานเปนโอกาสใหประชาชนวิพากษวิจารณ ทานไปตางๆนานา ไมมีพระคัมภีรเลมใด ที่เปดเผยถึงกิจการและบุคลิกลักษณะของพญามารซาตาน ไดชัดเจนเทา พระธรรมเลมนี้เลย (เชนพญามารซาตานสามารถเขาเฝาพระที่นั่งของพระเจา)
กุญแจไขพระธรรมโยบ 1.
(บทที่1-2) “ผูเลาโลม” สามทานสนทนาโตตอบถึงความทุกขทรมานของโยบ
42) 4. ลักษณะพิเศษ

หลักศาสน

ศาสตรตามธรรมชาติและพระราชกิจของพระเจาเกี่ยวกับธรรมชาติไดละเอียดเทาพระธรรมเลมนี้

เราจําเปนตองทําเชนเดียวกับโยบ

ชีวิตและความไววางใจของเราไวในพระหัตถของพระเจาผูซึ่งเต็มไปดวยความรักความสัตยซื่อเพื่อเรา

58 เนื่องดวยมีขออางเกี่ยวกับน้ําทวมโลก (14: 11) แตไมไดอางถึงการที่เมืองโสโดม กับเมืองกะ โมรายถูกทําลาย หรือการประทานพระบัญญัติแกโมเสส ดังนั้นเหตุการณในพระธรรมโยบคงเกิดขึ้น กอนเหตุการณสองประการนี้จึงไมไดกลาวถึง เมื่อสํารวจพระธรรมตาง
5. คําสั่งสอนที่สําคัญ พระเจาทรงรูถึงบุคลิกภายใน ของบุรุษผูหนึ่งคือโยบ ไดอยางละเอียดถี่ถวน เทากับรูถึง บุคลิกลักษณะภายนอก ดังนั้นพระองคจึงพอพระทัย ในความซื่อสัตยอันมั่นคงของบุรุษผูนี้ (1:8) สวน โยบนั้นทานไดยึดมั่นในพระเจา ทานไดถวายเครื่องสักการะบูชา ใหแกพระเจาทั้งเพื่อตนเอง และทุก คนในครอบครัวของทานดวย (เทียบกับ 1 ยน 1:7-9) หากวาพระเจา “ซื้อ” การนมัสการของมนุษยดวยพระพรอันมั่นคงและสุขภาพอันสมบูรณแลว มนุษยจะมีสิทธิตามใจชอบไดอยางไร คําตอบอยูที่ชัยชนะของโยบซึ่งพิสูจนใหเห็นอยางชัดเจนวา การ กระทําของพระเจานั้น เที่ยงธรรมอยางแทจริง สมควรจะไดรับพระเกียรติ แมตกอยูในภาวะแหงความ ทนทุกขทรมานโยบก็ยังคงนมัสการพระเจา ปญหาที่ยิ่งใหญของมนุษยก็ดี มูลเหตุแหงความทนทุกขทรมานของมนุษยก็ดี เปนเรื่องที่หา คําตอบไดยากเพราะวาคําตอบนั้นไมสามารถทราบเสมอไป
คือมอบ
ๆในพระคริสตธรรมคัมภีร ไมมีพระธรรมเลมใดรวบรวม
6. เรื่องที่ควรสนใจ พระธรรมเอเสเคียลบทที่ 14 และพระธรรมยากอบบทที่ 5 ก็อางถึงทานโยบ ในบั้นปลายพระเจาไดประทานใหโยบมั่งคั่งเปนสองเทาที่เคยมีมาแตกอน (42: 10) หลังจากที่พระเจาไดอวยพร ครอบครัวของโยบและใหทานมีความมั่งคั่งเจริญรุงเรืองอีกแลว ทานมีชีวิตอยูตอไปถึง140 ปมีลูกหลานสืบเชื้อสายถึง 4 ชั่วอายุคน 7. กุญแจไขความเขาใจ จงอานพระธรรมเลมนี้อยางละเอียด จงระมัดระวังอยาหลงไปกับความคิดและคําโตตอบของ มนุษย ขอใหอานโดยเอาใจใสในแงความคิดที่วา ปญหาของโยบคืออะไร ใครเลาจะเสนอเรื่องของทาน ตอศาลของพระเจาคําตอบอยูที่ 31-41 ซึ่งเปนที่พอใจแกโยบและเปนที่พอใจแกเราดวย

กุญแจไขพระธรรมสดุดี

59
1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือดาวิด (73 บทเพลง) อาซาฟ (12 บทเพลง) บุตรของโคราห(12 บทเพลง) ซาโลมอน (2) เฮมาน (1) เอธาน (1) โมเสส (1) ผูไมปรากฎนาม (48 บทเพลง) ใชเวลาประพันธกวา 1,000 ป นับ จากสมัยโมเสส (1,500 ป กอน ค.ศ.) ถึงสมัยเอสรา (450 ป ค.ศ. กอน ค.ศ.) ชื่อของพระธรรมเลมนี้ หมายถึงคําประพันธที่เขียนขึ้นเพื่อขับรอง แตกอนเรียกวา “บทเพลงสรรเสริญ” คําไขคือ นมัสการ ขอคิดคือพระเจาทรงอยูใกลเสมอขอไขคือบทที่ 23 2. สาระสําคัญ พระธรรมเลมนี้เปนคํารอยกรอง ที่ใชขับประกอบดนตรี ซึ่งประพันธที่ขึ้นตามพระเจาทรงดล บันดาลแสดงถึงอารมณและประสบการณตางๆของมนุษย เปนหนังสือสดุดีของชนชาติอิสราเอล และเปนสวนสําคัญที่สุด ในการนมัสการ คือเปนเสมือน หัวใจของการนมัสการ เปนบทเพลงของผูไดรับการไถโทษแลวไมตองสงสัยเลยวา พระธรรมเลมนี้ ตองเปนที่รูจักแพรหลายและมีผูใชมากกวาหนังสือวรรณคดีใดๆของโลก 3. ขอสังเขป แบงออกเปน 5 ภาคคือ บทเพลงของดาวิด (บทที่ 1-41) บทเพลงถวายความจงรักภักดี (บทที่ 42-72) บทเพลงถวายการนมัสการในที่ประชุม (บทที่ 73-89) บทเพลงที่ไมปรากฏนามผูประพันธ (บทที่ 90-106) บทเพลงที่เขียนขึ้นภายหลัง (บทที่ 107-150) แตละภาคจบลงดวยการสรรเสริญรัศมีภาพของพระเจา 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมสดุดีสวนมากประพันธขึ้นเพื่อขับรองประกอบเครื่องดนตรีประเภทดีดสีตีเปาตางๆ เชนแตรพิณกองฉาบและฉิ่งเปนตน บางบทเปนโคลงปริศนา (คือคําขึ้นตนของแตละขอนั้น เรียงตามลําดับของภาษาฮีบรู) เชนบท ที่ 9, 10, 25, 34, 37, 111, 112, 119, 145
60 บทเพลงสดุดีบางบท ออนวอนขอใหพระเจาสําแดงพระพิโรธ ตอศัตรูของพระองค และพล ไพรของพระองคดังปรากฎในบทที่ 52, 58, 69, 109, 140 เปนตน หัวขอสําคัญที่สุด คือองคพระเยซูคริสตเจาและพระราชกิจของพระองค พระเยซูคริสตไดตรัส สอนเชนนี้ในพระธรรมลูกา 24: 44 ในพระคริสตธรรมใหมไดอาง ถึงพระธรรมสดุดี 90 ครั้ง เปนการสอนถึงหลักศีลธรรม ประวัติศาสตรและคุณคาของคําพยากรณ 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ ฤทธานุภาพอันยิ่งใหญของพระเจา (107: 25-29) พระองคทรงเปนสัญพัญู (147:4, 5) ความ บริสุทธิ์ของพระองค (99:9) ความชอบธรรมของพระองค (11:4-7) พระกรุณาธิคุณของพระองค (86:15) ความซื่อตรงของพระองค (119:90) ประเทศอิสราเอลและกรุงเยรูซาเล็ม เปนหัวขอของบทเพลงสดุดีหลายบท แสดงถึงความรักอัน ใหญหลวงของพระเจาตอนครอันยิ่งใหญของกษัตริยดาวิด ไมมีพระธรรมเลมใดในพระธรรมคัมภีร ที่อธิบายถึงความยิ่งใหญของพระวจนะของพระเจา ไดเทาพระธรรมเลมนี้ เพราะมีหลักฐานหลายอยาง แสดงถึงการที่พระเจาทรงดลใจใหเขียนพระคริสต ธรรมคัมภีรนี้ขึ้น บทเพลงสดุดีหลายเพลง
51 กษัตริยดาวิดไดเขียน ขึ้นเพื่อเปนการสารภาพความผิดอยางใหญหลวงของทานบทที่ 18 ไดเขียนถึงความรอดพนของดาวิด บทเพลงสดุดีบทที่ 22,23,24 นั้น ลวนเปนบทเพลงเกี่ยวกับพระผูเลี้ยง ซึ่งเล็งถึงไมกางเขน ไมทัณฑกรและมงกุฏ 6. เรื่องที่ควรสนใจ บทที่ 136 ซึ่งมีอยู 26 ขอนั้น ทุกขอจบลงดวยถอยคําอยางเดียวกันคือ“เพราะพระกรุณาคุณของ พระองคดํารงอยูเปนนิตย” บทเพลงสดุดีที่ทํานายลวงหนาเกี่ยวกับพระคริสตคือ บทที่ 2, 8, 9, 16, 22, 24, 31, 41, 45, 46, 67, 69, 72, 89, 93, 110, 118, 132 ในพระธรรมสดุดีมีบทเพลงบางบท ซึ่งประชาชนที่ไดเดินทางขึ้นไปยังกรุงเยรูซาเล็ม เพื่องาน เลี้ยงฉลองไดใชขับรอง หาบทสุดทายของพระธรรมเลมนี้ ขึ้นตนและจบลงดวยคําวา “ทานทั้งหลายจงสรรเสริญพระเย โฮวาหเถิด”
เขียนขึ้นภายใตวิกฤตกาลอันเลวราย ในบทที่
61 มีบทเพลงสดุดีจํานวน 21 บท ที่กลาวถึงประวัติศาสตรของอิสราเอล เริ่มตนตั้งแตอพยพออก จากประเทศอียิปตจนถึงวาระแหงการปฏิสังขรณกรุงเยรูซาเล็มและปฏิรูปประชาชน 7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมสดุดี เปนพระธรรมที่เกี่ยวของกับชีวิตมนุษย และชีวิตสวนตัวของทาน ทานจะหา สาเหตุ และวิธีแกไขปญหาตาง ๆ ในชีวิตของทานได จากพระธรรมประหลาดเลมนี้ ถึงแมวาทานจะ อานพระธรรมเลมอื่น ๆ ในพระคัมภีรกี่ครั้งก็ตาม จงอานพระธรรมสดุดีอยางสม่ําเสมอ ทานจะรูสึก ใกลชิดกับพระเจามากขึ้นเมื่อทานไดศึกษาทองจําและมีความรักชื่นชมในบทเพลงเหลานี้
62 กุญแจไขพระธรรมสุภาษิต 1. เบื้องหลังความเปนมา คําวา “สุภาษิต” หมายความถึงคําพูดสั้น ๆ แตเต็มไปดวยขอความที่นาคิด และสําคัญ เหมาะแก การสอนดวยปากเปลาโดยเฉพาะ ผูเขียนคือ ซาโลมอน (1:1) อาฆูร (30:1) สหายสนิทของซาโลมอน กษัตรยละมูเอล (31:1) ซึ่งบางคนคิดวาเปนชื่ออีกชื่อหนึ่งซาโลมอน ขอคิด คือคุณคาแหงสติปญญา ขอ ไขคือ 9:10 ครอบระยะเวลาถึง 300 ป (25.1) 2. สาระสําคัญ ซาโลมอนเปนบุรุษที่ฉลาดที่สุด ในทามกลางมนุษยทั่วโลก(1 พงศ 3:10) ในสมัยที่ผูอานออก เขียนไดไมมากนัก การสั่งสอนทั้งทางธรรมและทางโลก มักสอนโดยใชวิธี “กลาวคําสุภาษิต” เปน สวนมาก เชน “ตั้งกฏไอนั่น ตั้งกฎไอนี่ บังคับอยางนั้นบังคับอยางนี้ วาโนนนิด ตินี่หนอย” (อสย 28:10) สติปญญาของซาโลมอนนั้นแทจริงเปนสติปญญาของพระเจา ดังนั้น สุภาษิตเหลานี้เมื่อนําไปใช ก็ยอมเกิดผลแกชีวิตมนุษยไมวาในยุคใดๆทั้งสิ้น 3. ขอสังเขป สติปญญาเฉพาะหนุมสาว (บทที่ 1-9) บทความตางๆสําหรับทุกคน (บทที่ 10-24) สุภาษิตที่ฮีศคียาไดรวบรวมไว (บทที่ 25-29) สุภาษิตที่อาฆูรและละมูเอลไดนํามาเพิ่มเติม (บทที่ 30,31) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมสดุดี มีสวนชวยในการนมัสการพระเจาสวนบุคคลฉันใด พระธรรมสุภาษิตก็มีสวน ในการดําเนินชีวิตประจําวันฉันนั้นนี่คือจุดรวมของสามัญสํานึกที่จดจอและเขมขน วิธีสอนในพระธรรมสุภาษิตนี้สัมพันธอยางใกลชิดกับคําเทศนาบนภูเขาของพระเยซูและพระ ธรรมยากอบ สุภาษิตบางขอมีรากมาจากประสบการณของผูเขียนดังจะเห็นไดจาก 1: 7; 4:14
63 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ ตลอดพระธรรมเลมนี้ ก็เนนถึงสติปญญาที่แทจริง ที่เกิดขึ้นเนื่องดวยความเกรงกลัวองคพระผู เปนเจา บทบัญญัติขององคพระผูเปนเจา ที่ซึ่งอยูในพระธรรมชุด “เบญจบรรณ” ของโมเสสนั้น ไดรับ การสนับสนุนจากคําตักเตือนของพระธรรมสุภาษิตทางแหงสติปญญาคือทางของพระเจาเสมอไป พระธรรมเลมนี้ยังสอนถึงหัวขอตาง ๆ หลายหัวขอ เชน การรักษาความบริสุทธิ์ การใชทรัพย สมบัติในทางที่ถูกที่ควร การเห็นใจคนยากจน การรูจักบังคับลิ้นของตน ความสัตยซื่อ ความยุติธรรม มนุษยธรรมการปลอบโยนและสามัญสํานึก 6. เรื่องที่ควรสนใจ สุภาษิตที่สําคัญยิ่งในพระธรรมเลมนี้คือ 3:5, 6 เราจะนําไปใชเปนสุภาษิตประจําชีวิตของเราได อยางดีเลิศ ผูเขียนสําแดงถึงความรูเกี่ยวกับธรรมชาติไวอยางแทจริง เชนความรูเกี่ยวกับ มด แมลงมุม ตุน เปนตน ในพระธรรมเลมนี้มีหลายขอที่สอนใหเคารพนับถือยําเกรงบิดามารดาของตน 7. กุญแจไขความเขาใจ ในการดลใจใหเขียนพระธรรมเลมนี้ พระเจาทรงระลึกถึงความสามารถ และความนึกคิดใน ดวงจิตอันจํากัดของมนุษยเสมอ วามีมากนอยเพียงใด ดังนั้น พระธรรมสุภาษิตนี้ จึงเปนพระธรรมที่ บรรจุคติพจนที่สามารถนําไปใชในการดําเนินชีวิตที่สั้นๆและงายแกการจดจํา
64
1. เบื้องหลังความเปนมา ชื่อของพระธรรมเลมนี้ หมายถึง นักเทศน หรือ คําสั่งสอนของนักเทศน ผูเขียนคือ ซาโลมอน (1:1) เขียนขึ้นเมื่อประมาณ 975 ป กอน คศ ขอไขคือ 2:11 ขอคิดคือ ความเปนอนิจจังของทุกสิ่งใน โลกนี้คําไขคืออนิจจัง 2. สาระสําคัญ ถึงแมวาซาโลมอนจะเปนกษัตริยที่มีพรสวรรคอยางเหลือลน ซึ่งหาใครเปรียบมิได แตซา โลมอนยังยอมใหความบาปครอบงําในชีวิตของทาน การผูกพันกับคนตางชาติโดยการอภิเษกสมรสได ทําใหจิตใจของทาน หันเหไปจากการนมัสการพระเจาอยางแทจริง ในบั้นปลายชีวิตจึงประสบแตความ วางเปลา และดวงวิญญาณแหงเหี่ยวพระคัมภีรมิไดบันทึกถึงการกลับใจใหมของซาโลมอน บางทีพระ ธรรมเลมนี้อาจเปนคําสารภาพและการกลับใจใหมของทานก็ได 3. ขอสังเขป คํานําของผูเขียน (บทที่ 1) ความอนิจจังซึ่งเปนผลแหงการทดลอง (บทที่ 2,3) ความอนิจจังซึ่งเปนผลแหงการสังเกต (บทที่ 3-8) ความลึกลับและคําสรุป (บทที่ 9-12) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมเลมนี้เปนพระธรรมปรัชญาของมนุษยในหัวขอที่วา “ชีวิตมนุษยนี้มีคุณคาหรือไม”
5. คําสั่งสอนที่สําคัญ ถึงแมวาพระธรรมโยบและปญญาจารย เปนพระธรรมปรัชญาเกี่ยวกับปญหาชีวิตมนุษยก็ตาม แตพระธรรมโยบจบลงดวยความสุขความยินดี สวนพระธรรมปญญาจารย จบลงดวยความเศราสลดใจ ของผูเขียน ความแตกตางก็คือ ไมมีปรัชญาใด ๆ จะสมบูรณไดโดยปราศจากพระเจา การที่ไมยอมรับรู ความจริงเกี่ยวกับสวรรคและชีวิตนิรันดรนั้นก็เปนการสยดสยองอยางแทจริง
กุญแจไขพระธรรมปญญาจารย
พระธรรมเลมนี้ชี้ใหเห็นวิถีชีวิตของมนุษยที่มืดมิดไมไดอางถึงพระเยโฮวาหพระนามของพระ เจาซึ่งหมายถึงสัญญาไมตรีในการไถโทษความบาปของมนุษย
65 พระธรรมเลมนี้ แนะนําใหรูจักวิธีการแกปญหาตาง ๆ ในชีวิตไววา พระเจาทรงจัดเตรียมทาง ไวแลว หากทานจะแสวงหาทางนั้น เมื่อทานระลึกถึงพระเจา แลวยอมรับวาพระองคเปนพระเจา ความ อนิจจังนั้นก็จะกลับกลายเปนความเที่ยงแท ความวุนวายเดือดรอนก็จะกลายเปนความอิ่มหนํา “ภายใต ดวงอาทิตย” ไมมีผลกําไรใดๆทั้งสิ้นเหตุไฉนจึงไมมองขึ้นไปยังพระเจาซึ่งอยูเหนือดวงอาทิตยเลา 6. เรื่องที่ควรสนใจ บท “สรุป” (12:13,14) ก็ยังเปนคําสรุปที่อยู “ภายใตดวงอาทิตย” นั่นเอง พระธรรมเลมนี้ใชอานในพิธีเลี้ยงฉลองการตั้งทับอาศัยของชนชาติยิว ความคิดเห็นของพระเจาเกี่ยวกับปญหาซาโลมอนไมมีคําตอบปรากฎอยูในลก. 12:15 7. กุญแจไขความเขาใจ ทานสามารถใชขอความในพระธรรมเลมนี้ได ถาทานจะจําไววา สติปญญาในที่นี้ หมายถึง สติปญญาของมนุษย ซึ่งมีขอบเขตจํากัดอยู “ภายใตดวงอาทิตย” เทานั้นแทจริง ควรใชหลักความจริงใน พระธรรมเลมนี้ ประกอบกับหลักความจริงของพระเจา ในพระธรรมเลมอื่น ๆ แลว ทานจึงจะเขาใจได ถูกตอง

การผูกมัดโดยการสมรสเปนอุทาหรณซึ่งศาสดาพยากรณและอัครสาวกใชเปรียบเทียบในการ

66
1. เบื้องหลังความเปนมา นี่คือบทเพลงที่ดีที่สุดที่กษัตริยซาโลมอน เขียนขึ้นในจํานวน 1005 บท (1 พงศ 4:32) ผูเขียน คือซาโลมอนเขียนเมื่อประมาณ 1,000 ปกอนคศ เปนพระธรรมแบบกาพยกลอนบทละครขอคิดคือ ความยินดี (ฝายจิตวิญญาณ)ในการสมรสกับผูที่ตนรักวลีเปนขอไขคือ “ผูเปนที่รัก” ขอไขคือ 6:3 2. สาระสําคัญ เปนกาพยกลอนของชาวตะวันออก ซึ่งกลาวถึงความชื่นชม ในการพิทักษความรักอันลึกซึ้ง ผูมี บทบาทสําคัญคือซาโลมอน และเจาสาว ซึ่งเปรียบไดกับ การสําแดงความรักของพระเจา ตอชนชาติ อิสราเอลและระหวางพระคริสตกับคริสตจักร 3. ขอสังเขป แบงไดตามถอยคําดังนี้ ฉากที่ 1. 1:1-2: 6 ฉากที่ 4. 5:2-6: 10 ฉากที่ 2 2:7-3: 5 ฉากที่ 5 6:11-8: 4 ฉากที่ 3 3:6-5: 1 ฉากที่ 6 8:5-14
ลักษณะพิเศษ พระธรรมเลมนี้เหมือนกับบทกวีทั่วไปของชาวฮีบรู เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว จากตัวละครคน หนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง จากฉากนี้ไปฉากโนน แตเขาใจไดตามสรรพนามที่ใช ตัวแสดงที่สําคัญ คือ ซา โลมอน (ตัวเอกฝายชายเจาชายแหงสันติสุข) และชูลามิท
กุญแจไขพระธรรมเพลงซาโลมอน
4.
(ตัวเอกฝายหญิงผูซึ่งแสวงหาสันติสุข)
5. คําสั่งสอนที่สําคัญ บุตรสาวคนโตของครอบครัวที่ยากจน มักจะไดรับภาระหนัก และรับผิดชอบในงานอันหนัก หนาประการ เชนเธอตองเลี้ยงฝูงสัตว และทําสวนองุนของครอบครัว ซึ่งเปนกรรมสิทธิ์ของกษัตริยซา โลมอน วันหนึ่งขณะที่เธอกําลังเฝาฝูงสัตวนั้น ก็ไดมีชายแปลกหนาที่มีใบหนาสงางาม มาขอเปนมิตร กับเธอ และภายหลังไดมีความรักซึ่งกันและกัน ตอมาวันหนึ่งฝายชายไดจากไป แตไดสัญญากับฝาย
สอนถึงการเกี่ยวกับระหวางพระเจาและพลไพรของพระองค

ชายคนนั้นไดกลับมาพรอมกับขบวนแหอันสงางามและไดรับเธอไวเปนเจาสาว

ซูเนมเปนหมูบานที่ตั้งอยูบนเชิงเขาทางทิศตะวันตกเฉียงใตของภูเขาเฮระโมน

ความสัมพันธอยางใกลชิดกับพระองคเทานั้นจึงจะเขาใจความจริงของพระธรรมเลมนี้อยางแจมแจง

67 หญิงวาจะกลับมาอีก
และฝนถึงเขาเสมอ แลววันหนึ่ง
บางคนยังตีความหมายของเลมนี้วา ชูลามิทซึ่งเปนเจาสาวของซาโลมอน อาจเปนพระราชธิดา ของกษัตริยฟาโรห บางคนคิดวาเปนอะบิซัฆชาวซูเนม ซึ่งไดอภิเษกสมรสกับซาโลมอน เมื่อซาโลมอน ขึ้นครองราชยใหมๆ (1 พงศ 1: 3; 2:20-25) 6. เรื่องที่ควรสนใจ พระธรรมตลอดเลมนี้มิไดอางถึงพระนามของพระเจาเลย
พระธรรมเลมนี้ใชอานในงานเลี้ยงฉลองพิธีปศคาของชนชาติยิวเสมอๆ บางคนถือวาพระธรรมเลมนี้ไดรวบรวมบทเพลงที่จะใชขับรองในงานเลี้ยงฉลองการสมรส 7. กุญแจไขความเขาใจ การที่จะเขาใจคุณคาของบทเพลงนี้
และผูที่มี
ซึ่งฝายหญิงก็เชื่อ และไววางใจฝายชาย ไดเฝาคอยตามคําสัญญาของเขา คนอื่น ๆ ในหมูบาน ไมเชื่อวาชายคนนั้นจะกลับมา แตเธอไดคอยเปนเวลานาน
ทานตองถวายจิตใจแกพระคริสตอยางสิ้นเชิง
68 กุญแจไขพระธรรมอิสยาห 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ อิสยาห ศาสดาพยากรณ ผูซึ่งมีชีวิตอยูในรัชสมัยของอุซียา โยธาม อาฮาศ ฮิศคียา กษัตริยแหงอาณาจักรยูดา (758 - 693 ป กอน ค ศ ดู 1:1) เปนพระธรรมประวัติศาสตร คําพยากรณ และคําพิพากษา สาระสําคัญ คือ การทรงชวยใหรอดของพระเจา ขอคิดคือ การเสด็จมาของพระมาซีฮา ขอไขคือ 9:6,7 2. สาระสําคัญ ในจํานวนศาสดาพยากรณที่เขียนพระธรรมตาง ๆ นี้นับไดวาอิสยาหเปนศาสดาพยากรณผู ยิ่งใหญทีที่สุด ทานมีความสามารถเปนพิเศษและเปนที่ปรึกษา ถวายคําแนะนําตักเตือนแกกษัตริย ทาน ไดประณามความชั่ว ไดทํานายถึงการพิพากษา และเพิ่มความหวังอันมีคามหาศาลวาจะมีวันหนึ่งที่จะ ไดรับสันติสุข พระพร และความชอบธรรมระยะเวลา 60 ป ที่ทานอิสยาหปฎิบัติหนาที่การงานของพระ เจา เปนกาลเวลาทั้งดีและราย มีทั้งกษัตริยที่ดีเดนและเลวราย ทานไดจบชีวิตลงอยางนาสมเพช ในรัช สมัยของกษัตริยมะนาเซผูชั่วชา 3. ขอสังเขป ประกาศการพิพากษาลงโทษแกอาณาจักรยูดาอิสราเอลและชาติเพื่อนบาน (บทที่ 1-35) ประวัติศาสตรเกี่ยวกับการทรงชวยใหรอดของพระเจา (บทที่ 36-39) การมองเห็นอนาคตอันใกล (การเสด็จมาครั้งแรกของพระคริสต) และอนาคตอันไกล (บทที่ 44-66) แบงเปนภาคใหญได 2 ภาค คือ การพิพากษาลงโทษ (39 บท) การประเลาประโลม (27 บท) 4. ลักษณะพิเศษ ทานอิสยาหไดอุทิศชีวิตเพื่อรับใชพระเจา ตั้งแตพระเจาประทานใหเห็นนิมิต ขณะเมื่อทานยัง หนุมอยู (6:1) ขอนี้ไดเพิ่มเขาไปในทุกบท ของพระธรรมเลมนี้ลีลาการเขียนของอิสยาห เปนสํานวน โวหารที่สูงสงจับใจโดยใชถอยคําที่มองเห็นภาพพจนไดอยางชัดเจนพรอมกับคําถากถางและเยยหยัน
69 อิสยาหเปนทั้งนักกวี นักพูด รัฐบุรุษและศาสดาพยากรณ ทานเปนคนกลาหาญ และไมมีความ เกรงกลัวผูใด และดํารงชีวิตดวยความสัตยจริง ไมวาจะอยูเฉพาะตอหนาพระพักตรกษัตริยหรือตอหนา ชุมชน ทานมิไดยับยั้งลังเลใจในการประณามความบาป หรือกลาวถึงการพิพากษา ซึ่งจะมาในวัน ขางหนา ศาสดาพยากรณที่พยากรณในสมัยเดียวกับทานคือโฮเซอานาฮูมและมีคา 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ นิมิตและการตอบรับของเยเรมียนั้นชี้ใหเราเขาใจถึงผลลัพธอันสมบูรณของทาน (6:1-13) บุรุษผูอุทิศตนอยางทานอิสยาหจําเปนตองมีทุกยุคทุกสมัย ในวัยหนุมทานไดสังเกตดูความเปนมหาอํานาจอันยิ่งใหญ และความมั่งคั่งสมบูรณของ ประเทศเทียบเทากับในรัชสมัยของซาโลมอน ความเจริญมั่งคั่งนี้ ก็นําไปสูความละโมบ และโลกียวิสัย การนมัสการพระเจาอยางแทจริงนั้น เสื่อมลงจนกระทั่งเปนเพียงพิธีรีตองและเปนการหลอกลวงเทานั้น พระเจาจึงเรียกผูรับใชของพระองค ใหสําแดงการพิพากษาลงโทษ อยางหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งเปนผลของ การดําเนินชีวิตในความบาป คําพยากรณที่ยิ่งใหญในพระคัมภีรเดิมขอหนึ่ง คือ 7: 14 ซึ่งทํานายถึงการที่พระเยซูจะประสูติ จากสาวพรหมจารี ขอความที่นาสนใจปรากฎใน 14: 12-17 ซึ่งสําแดงถึงการกบฎของพญามาร และผลที่เกิดขึ้น จากการกบฎนั้น มีคําพยากรณหลายขอที่เกี่ยวกับปญหาตาง ๆ ในยุคของทานในสมัยของทาน ประเทศอะซูเรีย และอียีปตแกงแยชิงดีชิงเดนกัน ซึ่งอาณาจักรยูดาอยูทามกลางชาติเหลานั้น ชายแดนของอาณาจักรยูดา
อนาคต มีคําทํานายที่ดีเดนอยางยิ่งในพระคัมภีรคือ ทานสามารถบอกชื่อ กษัตริยโคเรศ วาจะเปนผูที่นํา ประชากรของพระเจา ใหรอดพนจากการเปนเชลย ซึ่งทานไดทํานายกอนโคเรศประสูติ 200 ป (41:25;44:28-45:4) จุดสุดยอดแหงการทํานายเกี่ยวกับขาวประเสริฐของพระเมซีฮาอยูที่บทที่ 53 6. เรื่องที่ควรสนใจ พระเยซูคริสตเจาของเราไดอางถึง ขอความใน 61: 1, 2 ของพระธรรมเลมนี้ ในธรรมศาลาเมือง นาซาเร็ธ (ลก. 4:20)
ติดตอกับซุเรียโมอาบฟะลิสตีมและอะโดมเยเรมียไดเขียนถึงเหตุการณที่เกิดขึ้นกับประเทศเหลานี้ใน
70 ใน 63: 7-19 คือคําอธิษฐานเกี่ยวกับประเทศชาติครั้งยิ่งใหญของเยเรมีย บางคนเรียกพระธรรมเยเรมียนี้วา พระกิตติคุณเลมที่ 5 เนื่องดวยเยเรมียสอนถึงความรอด ใน บทที่ 37
7. กุญแจไขความเขาใจ ทานจะมีใจชื่นชมยินดีในการอานพระธรรมเลมนี้จงอานโดยคํานึงถึง เบื้องหลังความเปนมา ของพระกิตติคุณทั้ง 4 จงชื่นชมยินดี ที่ทานเยเรมียไดพยากรณลวงหนาถึงพระพรอันสงาราศีที่พลไพร ของพระเจาจะไดรับทั้งในปจจุบันและอนาคตดวย
ของพระธรรมเลมนี้ไดบันทึกการรับคําตอบในการอธิษฐานที่ประหลาดยิ่งของฮิศคียา

ประวัติสวนตัวรวมอยูในคําพยากรณของทาน คําพยากรณในรัชสมัยของโยซียา (บทที่ 1-12) คําพยากรณในรัชสมัยยะโฮยาคิม (บทที่ 13-20, 25, 26, 35,36)

คําพยากรณในรัชสมัยซีศคียา

71 กุญแจไขพระธรรมเยเรมีย 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ เยเรมีย ผูซึ่งเปนทั้งปุโรหิตและผูพยากรณแหงราชอาณาจักรยูดา ระยะเวลาที่รับใช พระเจาคือระหวางป 626-584 กอน คศ กอนที่ชนชาติยิวจะตกไปเปนเชลยของบาบิโลน หัวขอสําคัญ คือการเตือนใหรูถึงการพิพากษาของพระเจาที่จะมีมาในไมชาขอไขคือ 1: 18 ขอคิดคือ “ไปและรอง” 2. สาระสําคัญ พระเจาทรงเรียกเยเรมีย ผูเปนปุโรหิตคนหนึ่งในตระกูลอาโรน ใหปฏิบัติภาระกิจอันยุงยากใน อาณาจักรยูดา เยเรมียไดเปนที่ปรึกษา และถวายคําตักเตือนกษัตริย (โยซียา ยะโฮอะฮาซ ยะโฮยาคิม ยโฮยาคิน และซีศคียา) และทานยังตักเตือนประชาชนถึงการพิพากษาลงโทษที่จะมาถึงในไมชา แต ประชาชนเรียกทานวา เปนบุคคลที่มองเหตุการณตาง ๆ ในแงรายเทานั้น เยเรมียเริ่มรับใชพระเจา หลังจากอิสยาหไดมรณภาพไปแลว 70 ป และมีชีวิตอยูจนกระทั่งกรุงเยรูซาเล็มถูกทําลาย ทานถูกจับ เปนเชลยและถูกนําไปยังประเทศอียีปต 3. ขอสังเขป
(บทที่ 21-24, 27-34, 37-39) คําพยากรณเมื่อชนชาติยิวตกเปนเชลยของบาบิโลน (บทที่ 40-44) คําพยากรณเกี่ยวของกับประชาชาติเพื่อนบาน (บทที่ 45-52) 4. ลักษณะพิเศษ เบื้องหลังของพระธรรมเลมนี้ก็คือ การตอสูเพื่อความเปนมหาอํานาจของอะซูเรีย อียีปต และ บาบิโลน คําพยากรณของเยเรมีย ไมไดเขียนตามลําดับวันเดือนป แตเขียนดวยความเห็นใจและสงสาร ประชาชนทานไดชื่อวา “ศาสดาพยากรณผูรองทุกข” ทั้งนี้เพราะทานเปนผูที่มีความเห็นอกเห็นใจ ประชาชนอยางยิ่ง กระนั้นก็ดี ในการปฏิบัติพระราชกิจที่พระเจาทรงมอบหมายใหทานกระทํานั้น ทาน ก็กลาหาญปราศจากความเกรงกลัว สัตยซื่อไมมีการประนีประนอม

พิพากษาของเยเรมียก็ไมใชของทานแตเปนของพระเจาโดยตรง

72 เยเรมียพยากรณในเวลาเดียวกันศาสดาพยากรณซะฟนยาฮะบาฆูคดาเนียลและเอเสเคียล 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ ในสมัยของเยเรมีย มีผูพยากรณเทียมเท็จเปนจํานวนมาก พวกเหลานั้นประกาศสันติสุข ในขณะที่เยเรมียประกาศถึงสงคราม พวกเขาประกาศถึงความมั่งคั่งสมบูรณ ในขณะที่เยเรมียประกาศ ถึงความทุกขความลําบาก ที่จะมีมาในไมชา ประชาชนเรียกพวกผูพยากรณเทียมเท็จเหลานี้วา เปนผูรัก ชาติสวนเยเรมียถูกกลาวหาวาเปนผูทรยศตอชาติ คําพยากรณเกี่ยวกับคัลนาหรือยะคันยา ใน 22:28-30 นั้น เปนขอพิสูจนที่ยืนยันถึงการบังเกิด ของพระเยซูคริสต จากสาวพรหมจารี เพราะโยเซฟผูซึ่งรับมาเรียมาเปนภรรยา ไดสืบเชื้อสายมาจาก กษัตริยองคนี้ (มธ 1:12,16) การเขียนของทานเยเรมียสวนใหญ กลาวถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นแกประเทศเพื่อนบาน ในอนาคต คือ โมอาบอาโมนและเอลาม (เปอรเซีย) 6. เรื่องที่ควรสนใจ พระธรรมเยเรมียเปนพระธรรมที่ยาวที่สุดของพระคัมภีรรองลงมาจากพระธรรมสดุดี ตามคําทํานายของเยเรมีย ในบทที่ 51,52 กรุงบาบิโลนไมไดรับการสรางขึ้นใหมอีกเลย เยเรมีย พยากรณถึงระยะเวลาที่ชนชาติยิวตองตกเปนเชลยนั้นไดอยางถูกตอง (เปนเวลา 70 ป,25. 9-11) 7. กุญแจไขความเขาใจ ความเศราโศกเสียใจของเยเรมีย ก็เปนความเศราโศกของพระเจาดวย คําพยากรณถึงการ
ทานจะเขาใจพระธรรมเลมนี้ไดดีที่สุด
หากวาทานมองดูความบาป และความอสัตยอธรรมใน สมัยของทานนั้นวารายแรงสักเทาใดในสายพระเนตรของพระเจา
73 กุญแจไขพระธรรมเพลงคร่ําครวญ
เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ เยเรมีย สันนิษฐานวา เขียนในระหวางระยะเวลา 3 เดือน ที่กรุงเยรูซาเล็มถูกทําลาย และประชาชนถูกจับไปเปนเชลย ณ ประเทศอียิปต (589 ป กอน ค ศ.) ขอคิดคือ การถูกทําลาย ความ พินาศยอยยับขอไขคือ 1: 1 2. สาระสําคัญ บทเพลงนี้เปนชุดบทเพลงไวทุกข ซึ่งเยเรมียศาสดาพยากรณผูรองทุกขนั้น ไดเขียนขึ้น หลังจากที่ทานไดเห็นการทําลายกรุงอยางราบคาบ ดวยตาของทานเองถึงแมวาทานไดทํานาย ถึงการ พิพากษาลงโทษครั้งนี้ลวงหนามาหลายปแลวก็ตามความทุกขก็ยังคงทวมทนจิตใจของทาน 3. ขอสังเขป มีบทเพลง 5 บท บทเพลง 3 บทแรก มี 22 ขอ แตละขอขึ้นตนตามลําดับอักษรในภาษาฮีบรู บท เพลงตอไปมี 66 ขอ ประกอบดวย 22 ตอน แตละตอนมีสามขอ ทุกสามขอเริ่มตนดวยอักษรตัวเดียวกัน บทสุดทายก็มี 22 ขอแตมิไดขึ้นตนตามลําดับอักษร 4. คําสั่งสอนที่สําคัญ จุดเดนในพระธรรมเลมนี้ คือการแสดงใหเห็นภาพอันนาเวทนา สงสารนานาประการ และการ ระบายออกมาใหเห็นความทุกขโศกเศรา ความเสียใจอยางสุดซึ้งอีกประการหนึ่งยังบรรยายถึงความ สํานึกอยางลึกซึ้งและการไววางใจในพระเจาผูที่ไดรับความทุกขนั้นไดทูลขอตอพระองค เยเรมียผูซึ่งเต็มไปดวยอาการงงงัน และเปรียบเหมือนคนอกหัก ไดเห็นการถูกทําลายอยางยอย ยับของกรุงเยรูซาเล็ม และทานก็รูแนชัดแลววา การพิพากษานี้เปนไปตามเหตุผลอันยุติธรรมของพระ เจาโดยแทจริง (3: 22) แตทานก็ยังทูลรองขอใหพระเจาแสดงความกรุณาอีกครั้งหนึ่ง (3:32, 33) 5. เรื่องที่ควรสนใจ บทเพลงรองทุกขนี้ใชอานในธรรมศาลาของชาวยิวในวันที่เกาของเดือนที่สี่ (กรกฎาคม) ซึ่ง เปนวันที่กรุงเยรูซาเล็มถูกทําลาย (ยรม 52: 6, 7)
1.
74 หลังจากประชาชนไดกลับมาจากการเปนเชลยแลวกรุงเยรูซาเล็มไดรับการสราง และ ปฏิสังขรณขึ้นใหมและไดกลับเปนมหานคร ที่มีอํานาจอีกครั้งหนึ่ง แตบทเรียนที่พระเจาทรงตีสอนนั้น ประชาชนและผูนําไมไดรับและแลวในปคศ 70 กรุงเยรูซาเล็มจึงถูกทําลายลงอีกครั้งหนึ่ง 6. กุญแจไขความเขาใจ เนื่องดวยถอยคําในพระธรรมเลมนี้ มิใชถอยคําของเยเรมียเทานั้น แตเปนพระคําของพระเจา ดังนั้นความทุกขโศกเศราจึงมิใชเปนของศาสดาพยากรณเยเรมียผูเดียวแตเปนของพระเจาดวย
75 กุญแจไขพระธรรมเอเศเคียล 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ เอเศเคียล (แปลวา “พระเจาทรงประทานกําลัง”) ผูเปนทั้งปุโรหิตและศาสดา พยากรณซึ่งถูกกษัตริยนะบูคัสเนซัรจับไปเปนเชลย และถูกนําตัวไปยังบาบิโลน (597 ป กอน ค ศ.) ทานไดปฎิบัติรับใชพระเจาเปนเวลา 26 ป (593-567 กอน ค.ศ.) ขอไขคือ 3:12-19 ขอคิดคือ การเห็น นิมิตและการทํานาย 2. สาระสําคัญ เอเศเคียลเปนคนหนึ่งในจํานวนเชลยที่กษัตริยนะบูคัสเนซัร จับสงไปยังกรุงบาบิโลน ในป 597 กอน ค ศ คือเมื่อประมาณสิบป กอนกรุงเยรูซาเล็มถูกทําลาย (1 พศด 36:6,7) ทานไดเขาอาศัยอยูใน นิคมชาวยิวบนฝงแมน้ําคะบาระ ณ ที่นั่นทานไดรับใชพระเจา ในการปฏิบัติชาวยิวซึ่งถูกจับเปนเชลย และเตรียมตัวพรอม ที่จะกลับไปยังบานเกิดเมืองนอนเสมอ คําทํานายครั้งแรกของทานคือ การที่กรุง เยรูซาเล็มจะถูกทําลาย หลังจากเหตุการณอันนาเศราสลดนี้ ทานไดหนุนน้ําใจบรรดาชนชาติยิวที่ตกเปน เชลยนั้น โดยการพยากรณถึงการปฏิสังขรณกรุงเยรูซาเล็มขึ้นใหม และพระพรที่จะไดรับในอนาคต พระธรรมเลมนี้บรรจุการเห็นนิมิตตาง ๆ แสดงสัญลักษณของสิ่งตาง ๆ พยากรณถึงชาติเพื่อนบานและ ทํานายถึงพระมาซีฮา
ขอสังเขป คําทํานายถึงกรุงเยรูซาเล็ม (บทที่ 1-24) คําทํานายถึงประเทศที่อยูลอมรอบ (บทที่ 25-32, 35) คําทํานายถึงการปฏิสังขรณสรางขึ้นใหม (บทที่ 33-48) 4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมเลมนี้ ไดประกาศแกชนชาติอิสราเอล “ทั้งหมดฎ คือชนชาติอิสราเอลทั้ง 12 ตระกูล วา จะไดกลับไปยังบานเกิดเมืองนอนของตน และจะไดรับปรับปรุงฟนฟูชาติของตนขึ้นใหม (12:6, 10;25:24, 27) ลีลาในการเขียนนั้น ก็แสดงถึงความแข็งแกรงกระฉับกระเฉงเปนแบบโลดโผน หลับตา มองเห็นภาพไดนิมิตที่ทานไดเห็น ตัวอยางที่ใชในคําสอน กิจกรรมอันเปนสัญลักษณ (สวนมาก) ถึงสิ่ง
3.

คําพยากรณของเอเศเคียลมีหลายอยางที่กําลังรอวันที่จะสําเร็จผล

76 ตาง ๆ ลวนนําความเจ็บปวด ความยากเข็ญแสนสาหัสมาสูทาน (เชนทําเปนใบ นอนทาเดียว 1 ป รับประทานอาหารที่นาเกลียด) วลีที่วา “เขาทั้งหลายจะรูวาเราคือพระเจา” นั้นมี 62 ครั้ง พระธรรมเลมนี้ไดอธิบายวายะเอศเคลเปน “บุตรมนุษย” ถึง 89 ครั้ง 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ ถึงแมวาเอเสเคียลมิไดอางถึงเยเรมีย หรือ กลาวถึงจดหมายของเยเรมีย ที่สงไปถึงคนที่ตกเปน เชลยนั้น (ยรม. 29) แตประการใดก็ตาม แตทานก็ไดทํานายถึงการที่กรุงเยรูซาเล็ม จะถูกทําลายลวงหนา 10 ป และทํานายถึงเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังเหตุการณอันนาเศราสลดนั้น ไดทํานายถึงอนาคต ของประเทศที่อยูลอมรอบและทํานายถึงการปฏิสังขรณกรุงเยรูซาเล็มซึ่งจะมีมาในอนาคต เอเศเคียลก็กระทําเชนเดียวกับอิสยาห คือไดกลาวถึงความลมเหลวของพญามารซาตาน ดังกลาวใน 28: 11-19 คําพยากรณเกี่ยวกับเมืองตุโร ไดทํานายไวอยางละเอียด และในการสูรบระหวางนะบูคัสเนซัร กับอเล็กศันเดอรมหาราชไดทําใหคําทํานายดังกลาวสําเร็จ ในฐานะปุโรหิต เอเศเคียลเปนพยานถึงการที่พระวิหารจะถูกทําลายอยางพินาศยอยยับ ทานได มองดวยสายตาแหงความเชื่อ ในการทํานายถึงวิหารที่เนหะมียจะไดปฏิสังขรณขึ้นใหม และพระวิหารที่
เฮโรดจะไดสรางขึ้นพรอมกับทํานายถึงพระวิหาร อันงดงามอยางนาอัศจรรยในยุคพันปที่ประเยซูคริสต จะประทับอยูนั้น 6. เรื่องที่ควรสนใจ
“แขนง” (34:29) คงอางถึง “กิ่ง”ซึ่งปรากฎในอิสยาห 11:1 เอเศเคียลไดเขียนถึงความบาปของยูดา (อิสราเอล) ไวอยางชัดเจน ไดประณามความบาปนั้น และแสดงใหประชาชนทราบวาเหตุไฉนพระเจาจึงตองใหเขาตกไปเปนเชลย 7. กุญแจไขความเขาใจ หากวาทานจะคํานึงถึงจุดสําคัญสามประการไวในใจเสมอ จะทําใหทานเขาใจพระธรรมเลมนี้ ไดดียิ่งขึ้นคือ หนึ่ง ความบาปยังมหันตของอิสราเอล สอง การพิพากษาลงโทษที่พระเจากําหนดไว สาม พระสัญญาอันมั่นคงของพระเจาที่วาจะทรงอวยพระพร
77 กุญแจไขพระธรรมดาเนียล 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ ดาเนียล (แปลวา “พระเจาเปนผูวินิจฉัย”) ซึ่งเปนเจาชายในเชื้อวงศของดาวิด และ เปนเชลยคนหนึ่งในพวกแรก จากอาณาจักรยูดา ที่ถูกกษัตริยนะบูคัสเนซัรนําไปยังกรุงบาบิโลน ในป 606 กอน ค.ศ. (2 พงศ. 24:14) ดาเนียลมีชีวิตอยูถึง 90 ป ทานไดรับตําแหนงขาราชการชั้นสูงถึง 72 ป ขอคิดคือ อาณาจักรของโลกนี้ ขอไขคือ 1:20 เปนพระธรรมประวัติสวนบุคคล และเปนคําพยากรณ เกี่ยวกับโลกนี้ครอบระยะเวลาถึง 72 ป (4 ราชวงศ) 2. สาระสําคัญ ดาเนียลได “ตั้งใจไว” พระเจาจึงไดยกทานใหอยูในระดับชั้นสูง และเนื่องจากทานไดดํารงชีวิต โดยความชอบธรรม ทานจึงไดรับตําแหนง เอกอัครมหาเสนาบดีแหงกรุงบาบิโลน ในระหวางเวลานี้ ทานไดเห็นนิมิตหลายครั้ง ซึ่งสําแดงถึงการแบงแยกประวัติศาสตรของโลกนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ยัง ผลกระทบกระเทือนตอชาวยิวเปนพิเศษ 3. ขอสังเขป ประวัติศาสตร (บทที่ 1-6) คําทํานาย (บทที่ 7-12) 4. ลักษณะพิเศษ เขียนขึ้นโดยใชสองภาษาคือตั้งแต 2:4-7:28 ใชภาษาอารามาอิค (คลายภาษาเซ็ธโบราณ) เขียน ขึ้นเพื่อคนตางชาติ เปนเนื้อเรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตรของโลก สวนที่เหลือเขียนเปนภาษาฮีบรู เพื่อชน ชาติของดาเนียลคือชาวยิวจะไดเขาใจถึงการทรงนําและการดูแลรักษาพลไพรของพระเจา ภาคแรก (บทที่ 1-6) ดาเนียลกลาวถึงตัวทานเอง ในฐานะเปนบุรุษที่ 3 และในภาคสุดทาย (บท ที่ 7-12) ทานไดกลาวในฐานะเปนผูบรรยาย ดาเนียลมีชีวิตอยูในระยะเวลาเดียวกัน กับผูนําชาวยิวคนอื่น ๆ ในขณะที่ตกไปเปนเชลย เชน เยเรมียเอเศเคียลโยชูวา (อสร 3:2) และซะรุบาเบล ดาเนียลคงจะทราบ ถึงการที่เยเรมีย ไดทํานายวา ชนชาติยิวตองตกเปนเชลย ถึง 70 ป (ยรม. 25:12;10:11,)
78 พระเจาเรียกดาเนียลวา “เปนคนที่โปรดปรานยิ่งนัก” ถึง 3 ครั้ง (9.23, 10.11,19) ดาเนียลเปน คนกลาหาญมีชีวิตดวยความซื่อสัตยขยันขันแข็งและเปนนักอธิษฐานผูยิ่งใหญ 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ การที่ดาเนียลสามารถตั้งจิตใจแนวแน โดยไมเปลี่ยนแปลงนั้น สําแดงไวในบทนํา (ในการ ปฏิเสธไมยอมรับประทานอาหารจากโตะเสวยของกษัตริยและไมยอมกราบไหวรูปเคารพ) การที่ดาเนียลตองตกอยูใน “ถ้ําสิงโต” นั้นเปนประสบการณบั้นปลายชีวิตของทาน (เมื่อทาน อายุได 70 ป) สําแดงถึงในความไววางใจในพระเจาอยางปราศจากขอแมใดๆเปนการทดสอบที่รุนแรง แตไดรับผลดียิ่ง (บทที่ 6) คําพยานของกษัตริยผูยิ่งใหญ ซึ่งมีพระชนมอยูในขณะนั้น (ตามคําตรัสของพระเจาใน 2: 37, 38) นั้น เปนขอความสําหรับผูปกครอง ทุกยุคทุกสมัย ทั้งผูมีอํานาจมากและอํานาจนอย ทุกทานควรจะ ไดอาน (บทที่ 4) ถึงแมวาคําพยากรณสวนใหญ จะเกี่ยวกับอาณาจักรของโลกนี้ หรือของคนตางชาติ แตดาเนียล ยังเขียนในแงที่วาคํานึงถึงชนชาติยิวตลอดเวลา คําพยากรณของดานิเอลเกี่ยวกับ 70 สัปดาหนั้น อางถึงการเสด็จมาของพระมาซีฮา ของชาติ อิสราเอลสองครั้งใน “เจ็ดสัปดาห” สุดทายนั้นเปนยุคแหงความทุกขเข็ญซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคต 6. เรื่องที่ควรสนใจ ถึงแมวาพระธรรมฮีบรูบทที่ 11 มิไดอางชื่อดาเนียล แตทานก็ยังปรากฏตัวอยูที่นั่นวา เปนผู “ปดปากสิงโต” (ขอ 33) ดาเนียลไดกลาวแนะนําถึงการปฎิบัติของทูตสวรรค (ทั้งดีและชั่ว) ดังปรากฎใน 8: 16; 10:13 นักศึกษาพระคริสตธรรมหลายทาน มีความเขาใจวาเบละซาซัร (5: 2, 18) เปนหลานของ นะบูคัสเนซัร ไดขึ้นครองราชยแทนนโบดิดัสพระราชบิดา (ซึ่งเปนเหตุใหนะบูคัสเนซัรสัญญาวาจะให ดาเนียลเปนอุปราชชั้นตรี) กษัตริย โคเร็ศแหงบาบิโลน ผูซึ่งมีชัยชนะเหนือแผนดินบาบิโลน และตอมาภายหลังไดปลอย ชนชาติยิวใหกลับไปยังบานเกิดเมืองนอนของตน คงจะไดรับการหนุนใจจากดาเนียล และดาเนียลคง อานคําพยากรณเหลานั้นใหทานฟงก็ได
79 7. กุญแจไขความเขาใจ ประการแรก เมื่อทานอานพระธรรมเลมนี้ตั้งแตบทที่ 1-6 ทานจะพึงพอใจวา ดาเนียลเปนบุคคล ที่นาไววางใจอยางยิ่ง จงใชเวลาไตรตรอง โดยศึกษาใหเพียงพอเกี่ยวกับขอความในบทที่ 7-12 นั้น แลว ทานจะไดรับประสบการณที่นาตื่นเตนในความเขาใจถึงความหมายของพระธรรมที่สําคัญเลมนี้
80 กุญแจไขพระธรรมโฮเซยา 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ โฮเซยา (แปลวา “ความรอด”) เปนศาสดาพยากรณของชนชาติอิสราเอล (10 ตระกูล) เปนเวลากวา 60 ป ระหวางป 790-722 กอน คศ ขอคิดคือ การสํานึกถึงการพิพากษา ที่จะ มาภายหลัง อไขคือ 1:2 เปนพระธรรมแบบอุธาหรณ เกี่ยวกับชีวิตสวนตัว ที่นํามาเปรียบเทียบ กับความ บาปของประเทศชาติ 2. สาระสําคัญ พระเจาไดประทานความเจริญมั่งคั่งอยางยิ่งแกราชอาณาจักรฝายเหนือ คือ อิสราเอลนั้น ภายใต การปกครองของยาราบะอามที่ 2 แตตอมาภายหลังประชาชนไดพากับหลงกราบไหวบูชารูปเคารพ และ ประพฤติผิดหลังศีลธรรมอยางรายแรง พระเจาทรงเรียกโฮเซยา ใหประณามความบาปของเขา และ ตักเตือนประชาชนชาวอิสราเอลวา พระเจาจะทรงพิพากษาลงโทษการประพฤติเชนนั้น ซึ่งไมมีใคร หลีกเลี่ยงได ประสบการณของทานเกี่ยวกับหญิงคนชั่วผูเปนภรรยาของทาน เปนบทเรียนที่สอนใหเห็น ความสัมพันธระหวางชนชาติอิสราเอลกับพระเจา
ขอสังเขป อุธาหรณเกี่ยวกับชีวิตสวนตัวของโฮเซยา (บทที่ 1-3) การตักเตือนเกี่ยวกับการลงโทษและการอภัยโทษที่จะมีมาในภายหลัง (บทที่ 4-14) 4. ลักษณะพิเศษ ลีลาการเขียนของโฮเซยา ก็ชัดเจนและกะทัดรัด ตลอดเลมมีการยกตัวอยางทําใหมองเห็นภาพ
อธิบายไววาโฮเซยาเปน “ศาสดาพยากรณแหงความรักของพระเจา” โฮเซยาไดพยากรณรุนเดียวกับอิสยาห (ในราชอาณาจักรยูดา) ทานไดพยากรณในระหวางรัช สมัยของอุซียาโยธามอาฮาศและฮิศคียากษัตริยแหงอาณาจักรยูดา 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ ถึงแมวาประเทศอิสราเอล จะมีความมั่งคั่งสมบูรณภายใตการปกครองของยาราบะอามที่ 2แต ยังเปนเหตุใหจิตวิญญาณของประชาชน เสื่อมลงจนกระทั่งไมเชื่อฟงพระเจาเลย พระราชโอรสทั้งหลาย
3.
ทั้งคละเคลากับคําอุปมามากมายแตตลอดทั้งเลมยังพบความเห็นใจของศาสดาพยากรณอยางชัดเจนมีผู
81 ของยาราบะอามเปนฆาตกร เปนคนเสเพล ปุโรหิตก็เปนคนหลอกลวงและประพฤติตนในทางที่ละอาย ประชาชนก็มีชีวิตจมอยูกับความหยาบชาเลวทรามไรศีลธรรม และกราบไหวรูปเคารพ ภายใต สถานการณเชนนี้พระเจาทรงเรียกโฮเซยามารับใชปฏิบัติพระราชกิจของพระองค แมวาทานผูพยากรณ จะมีการขมขื่นโศกเศราเกี่ยวกับการประพฤติของภรรยาของตนก็ตาม โฮ เซยาก็ยังเขาใจ ถึงการที่พระเจาทรงเศราพระทัย ตอการ “ลวงประเวณี” ทางดานฝายวิญญาณจิต ของพล ไพรของพระองค 6. เรื่องที่ควรสนใจ ชื่อบุตรของโฮเซยานั้นไดตั้งขึ้นเพื่อเปนบทเรียนในดานฝายวิญญาณจิต คําทํานายที่ประหลาดของโฮเซยานั้น คือ คําทํานายถึงการเสื่อมลงของสะมาเรีย การรอดพน ของอาณาจักรยูดา การลงโทษอาณาจักรยูดา และในที่สุด ไดทํานายถึงการปฎิสังขรณอาณาจักร อิสราเอลและอาณาจักรยูดาขึ้นใหม 7. กุญแจไขความเขาใจ ในทุกวันนี้พระเจาทรงเศราพระทัย เกี่ยวกับคริสเตียนที่ไมสัตยซื่อตอพระองค และเสื่อมลงใน ดานฝายวิญญาณจิต ขอความในพระธรรมเลมนี้ยังทันสมัยและเหมาะสมอยางยิ่ง สําหรับคนในสมัย ปจจุบัน

และทําลายกรุงเสีย อยางราบคาบเชนเดียวกับตั๊กแตนนั้น คําพยากรณที่ยิ่งใหญของโยเอลนั้นคือคําทํานายเกี่ยวกับการที่พระเจาจะประทานพระวิญญาณ

(ยอล 2:28,32; กจ 16:21)

82 กุญแจไขพระธรรมโยเอล 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือโยเอล (แปลวา “พระเยโฮวาหทรงเปนพระเจา) อาจเปนผูพยากรณแหงอาณาจักรยูดา ซึ่งพยากรณในรัชสมัยของโยอาศและอุซียา (2 พศด บทที่ 23-26) ขอคิดคือ การพิพากษาและการ ปฏิสังขรณสรางขึ้นใหม ขอไขคือ 2: 13 ระยะเวลาที่เขียนคือ ในป 810-795 กอน ค.ศ. หรืออาจชากวานี้ ก็ได 2. สาระสําคัญ โยเอลมิไดเปนปุโรหิต แตอาศัยอยูในกรุงเยรูซาเล็ม ขณะที่กรุงเยรูซาเล็มกําลังรุงเรืองมั่งคั่ง และพระเจาไดเลือกสรรทานไว เพื่อสําแดงความคลายคลึงของภัยพิบัติ ที่ตั๊กแตนนํามา และความแหง แลงที่เกิดขึ้นนั้น กับภัยพิบัติที่จะมาถึงประเทศชาติ เนื่องดวยความผิดบาปของพลเมือง โยเอลได พยากรณดวยสายตาอันยาวในการมองไปถึงอนาคตอันสดใส ซึ่งจะมีการปฏิสังขรณสรางกรุงขึ้นใหม และเหตุการณตางๆที่จะมีมาภายหลัง 3. ลักษณะพิเศษ
และโฮเซยา ซึ่งเปนผูทํานายแหงราชอาณาจักร
พืชพันธุของเขาหมด ก็นับวาภัยพิบัติครั้งยิ่งใหญ ตั๊กแตนเหลานั้นไดกินใบทุกใบของพืชพันธุ แมกระทั่งยอดออนจนไมมี เหลือเลย พระเจาไดใชเหตุการณเปนคําเตือนใหรูวาจะมีศัตรูบุกรุกเขามาในกรุง
บริบูรณในวาระสุดทายของ
โยเอลอาจเปนผูพยากรณรุนเดียวกับอาโมศ
อิสราเอล คําพยากรณนั้นก็ชัดเจนและวาดภาพใหเห็นอยางกระฉับกระเฉง 4.คําสั่งสอนที่สําคัญ สําหรับคนที่ประกอบอาชีพโดยทางกสิกรรมนั้นเมื่อฝูงตั๊กแตนลงมากิน
บริสุทธิ์ในวันเพนเทคศเต
และจะประทานพระวิญญาณครั้งยิ่งใหญ และเต็ม
“ยุคแหงคนตางชาติ”
83 ดูเหมือนวาโยเอลเนนถึงวาระในบั้นปลายของยุคนั้นวา เปนวาระแหงการสงคราม ซึ่งทานรอง เรียกใหตีผลาไถใหเปนดาบ และตีเคียวใหเปนหอก (ดู มีคา 4:3 จะเห็นวาตรงกันขามกับขอนี้ทุก ประการ) การที่มีการชุมนุมครั้งใหญ ที่หุบเขายะโฮซาฟาด (3:2) นั้น คงเกี่ยวพันกับการพิพากษา บรรดา ชนตางชาติในวาระสุดทายของยุคแหงความทุกขเข็ญนั้น (มธ . 25:32) 7. กุญแจไขความเขาใจ โยเอลเปนผูรับใชพระเจาที่มีคุณคามาก มีสวนรวมในเรื่องราว แหงความจริงตลอดกาลของ พระองคซึ่งจะขาดเสียมิได ในวันเพนเทคศเต คําเทศนาของอัครสาวกเปโตรก็มีรากฐานมาจากคํา พยากรณของศาสดาพยากรณโยเอลผูนี้
84 กุญแจไขพระธรรมอาโมส 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ อาโมส (แปลวา “ผูแบกภาระ”) เปนคนเลี้ยงสัตยและชาวสวนแหงหมูบานธะโคอา (ซึ่งเปนหมูบานที่อยูทางทิศใตของเบธเลเฮ็ม 1:1) เขียนขึ้นในระหวางป 785-750 กอน คศ เปนผู ทํานายของพระเจาแกชนชาติอิสราเอล (ซึ่งเปนอาณาจักรฝายเหนือ) ขอคิดคือ ความอสัตยอธรรม ยอม ไปสูการพิพากษาลงโทษคําไขคือ การเปนเชลย ขอไขคือ 4:12 อาโมสพยากรณในรุนเดียวกับโฮเซยา ไดพยากรณในระหวางรัชสมัยของยาราบะอามที่ 2 แหง อาณาจักรอิสราเอลตรงกับรัชสมัยของอุซียา (2 พศด 26 ) แหงอาณาจักรยูดา 2. สาระสําคัญ พระเจาใชอาโมส ซึ่งเปนชาวยูดาตักเตือนชนชาติอิสราเอล ใหทราบถึงอันตรายจากการ พิพากษาซึ่งจวนจะมาถึง หากวาประชาชาติไมกลับใจเสียใหมและละทิ้งความผิดบาปของตนเสีย ในรัช สมัยของยาราบะอามที่ 2 เปนระยะเวลาแหงความมั่งคั่งสมบูรณ ซึ่งไดนําอิสราเอลใหลมลงในความ บาป มีการทุจริตนานาประการ การการกราบไหวรูปเคารพ อาโมสไดพยากรณถึงการพิพากษาที่จะ มาถึง และไดจบคําพยากรณลง ดวยการทํานายถึงการปฏิสังขรณที่จะมีมาในอนาคตและสงาราศีที่ชาติ อิสราเอลจะไดรับในที่สุด 3. ขอสังเขป มีสามภาคคือ คําพยากรณเกี่ยวกับประเทศตางๆ (บทที่ 1-2) คําพยากรณเกี่ยวกับชนชาติอิสราเอล (บทที่ 3:1-9:10) คําพยากรณเกี่ยวกับพระพรที่จะไดรับในอนาคต (บทที่ 9:11-15) 4. ลักษณะพิเศษ ลีลาการเขียนของอาโมสนี้เปนแบบงาย ๆ และสําแดงถึงเบื้องหลังของทานในการเปนผูเลี้ยง สัตว มีถอยคําที่ชัดเจน ตรงไปตรงมา และมีการบอกกลาวรวมอยูดวย ซึ่งสามารถนําไปปฏิบัติตามได พระธรรมอาโมสมีความคลายคลึงกับพระธรรมพระบัญญัติมาก (เทียบ 2:10 กับ ฉบญ. 29:5;4:6-10 กับ ฉบญ. 28:22)
85 พระธรรมอาโมสเริ่มตนดวยคําถอยแถลง (1:2) และจบดวยคําเตือน เชนเดียวกับพระธรรมโย เอล 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ อาโมสเสนอแนะอยางแขงขันวา พระเจาผูซึ่งจะพิพากษาลงโทษ ประเทศชาติที่อยูลอมรอบ ประเทศอิสราเอล เนื่องดวยความผิดบาปของเขา จะลงโทษชนชาติอิสราเอล เชนเดียวกัน ซึ่งเปนการ สมเหตุสมผลที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได พระธรรมเลมนี้เปนพระธรรมพยากรณโดยตรง ที่ตักเตือนถึงการพิพากษา ที่จะมีมาพรอมดวย พระสัญญาเกี่ยวกับพระพรที่จะไดรับในอนาคต 6. เรื่องที่ควรสนใจ พระคริสตธรรมใหม อางถึงพระธรรมอาโมสไวดังนี้คือ โดยซะเตฟาโน กจ 7:42,43 และโดย ยากอบในกจ. 15:15-17) 7. กุญแจไขความเขาใจ ถึงแมวาชนชาติอิสราเอล จะชั่วชาเลวทรามสักเพียงใดก็ตาม พระเจายังทรงเมตตากรุณาและอด กลั้นพระทัยตอพวกเขาไวชานานและทรงปฏิบัติอยางไรในเวลานั้นก็ทรงกระทําเชนนั้นในทุกวันนี้
86 กุญแจไขพระธรรมโอบาดีห 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ โอบาดีห (แปลวา “ผูรับใชพระเยโฮวาห) เขียนขึ้นในป 586-583 กอน คศ ขอไขคือ ขอ 21 เปนผูพยากรณแหงราชอาณาจักรยูดาพยากรณรุนเดียวกับเยเรมีย 2. สาระสําคัญ ชาวอะโดมซึ่งสืบเชื้อสายมาจากเอซาว เปนศัตรูที่รายกาจของอิสราเอล เมื่อนะบูคัศเนซัรไดยึด ครองอาณาจักรยูดา และกรุงเยรูซาเล็มถูกทําลายในป 586 กอน ค ศ นั้น ชาวอะโดมไดเขาขางและให ความชวยเหลือนะบูคัศเนซัร เพื่อหวังจะไดรับสวนแบงของดินแดนที่ถูกยึดครองนั้น ดวยเหตุนี้เอง พระ เจาทรงดลใจใหโอบาดีหพยากรณใหชาวอะโดมทราบวา วาระที่พวกเขาจะถูกลงโทษนั้น ใกลจะมาถึง เชนเดียวกัน “ชาตินี้จะไมมีอะไรเหลืออยูเลย” 3. ลักษณะพิเศษ พระคริสตธรรมใหมไมไดอางถึงพระธรรมโอบาดีหเลย ในพระคัมภีรเดิม มีคําพยากรณถึงอาณาจักรอะโดมมากกวา 20 ครั้ง สวนมากก็ปรากฏอยูใน พระธรรมโอบาดีหอสย 34: 63; ยรม 49 และอสค 35 ดวย 4.คําสั่งสอนที่สําคัญ พระเจาทรงสงวนสิทธิ์ที่จะพิจารณาพิพากษาลงโทษชนชาติอิสราเอลไวเปนของพระองค โดยเฉพาะ สวนชาติอื่น ๆ (เชนอะโดม) นั้น พระองคจะพิพากษาลงโทษอยางเฉียบขาดและรุนแรง ดัง ปรากฎในพระธรรมมาลาคี 1:3-5 ซึ่งพระองคไดลงโทษอะโดมแลวเมื่อ 400 ปกอนค.ศ. ความหายนะของอะโดมนั้น ยังปรากฎใหเห็นมีซากเมืองตาง ๆ กวา 300 เมือง ยังคงอยูในทุก วันนี้ รวมทั้งนครซีลา (เปตรา) หลังจากป คศ 70 ประเทศอะโดมไมปรากฏในประวัติศาสตรของโลก เลย อาณาจักรอาโดมนั้น จะไมไดรับการปฏิสังขรณขึ้นใหม แตสําหรับอิสราเอลนั้น พระเจาสัญญา วาจะประทานความรุงเรืองใหในอนาคต 5. เรื่องที่นาสนใจ โอบาดีหเปนพระธรรมที่สั้นที่สุดในพระคัมภีรเดิม

6. กุญแจไขความเขาใจ

ในการที่ทานจะเขาใจคําพยากรณของโอบาดีหนี้ตองดูพระประสงคของพระเจานั้นวา

87
ชาติอะโดม
กษัตริยเฮโรดผูไดสั่งใหฆาทารก ในหมูบานเบธเลเฮ็ม ดังปรากฎใน มธ. 2:16-18นั้น ก็เปนชน
เปน อยางไร ประเทศอะโดมเปนตัวอยางใหเราทราบวา ประเทศใดที่ฝาฝนพระประสงคของพระเจา ที่มีตอ ชาติที่พระองคทรงเลือกสรรไวนั้นจะไดรับผลเชนใด

และพระเจาไดทรงอภัยโทษในความผิดบาปของพวกเขา

ลักษณะพิเศษ โยนาหเปนผูพยากรณพระคัมภีรคนเดียวที่พยายามปกปดคําพยากรณที่พระเจาไดพยากรณนั้น โยนาหคือผูพยากรณของอิสราเอลผูเดียว ที่พระเจาทรงเลือกใหชวยเหลือชนตางชาติที่ไม

88 กุญแขไขพระธรรรมโยนาห 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ โยนาห ( 2 พงศ 14:25) ซึ่งเปนผูพยากรณรุนแรกคนหนึ่ง เขียนในป 785-767 กอน คศ ระหวางรัชสมัยยาราบะอามที่ 2 โยนาหมีภูมิลําเนาอยูที่เมืองฆัธเอเฟธ ในอาณาจักรฝายเหนือคําไข คือ นีนะเว (ซึ่งเปนเมืองหลวงแหงประเทศอะซูเรีย) ขอไขคือ 3:2 ) เรื่องนี้เกิดขึ้นหลังจากสมัยเอลียาห ไมนานนัก 2. สาระสําคัญ อะซูเรีย เปนประเทศมหาอํานาจประเทศหนึ่งของโลก แตในสายพระเนตรของพระเจาแลว เปนประเทศที่เต็มไปดวยความผิดบาปอยางมหันต โยนาหเปนผูพยากรณแหงแผนดินอิสราเอล ผู ที่พระะเจาเลือกสรรไวใหไปยังนีนาเว เพื่อแจงถึงคําพยากรณของพระเจาวา จะมีอะไรเกิดขึ้นแก ชาวเมืองนั้น แตโยนาหมีความประสงคที่จะใหนีนาเวถูกทําลาย เพื่อจะไมใหเปนภัยตออิสราเอลอีก ตอไป ดังนั้น โยนาหจึงลงเรือเดินทางไปเสียอีกทางหนึ่งแตพระเจาทรงเปลี่ยนแปลงทิศทางเสียใหม ใน ที่สุด โยนาหไดไปถึงนีนาเว และคําประกาศของทานไดนําใหทั้งกษัตริยและประชาชนกลับใจเสียใหม
ปฏิบัติพระเจาใหพนจากความหายนะ บางคนคิดวา ถาปราศจากการอัศจรรยเกี่ยวกับปลานั้น ประชาชนชาวนีนาเว คงไมคอยสนใจ ตอคําพยากรณของโยนาห พระธรรมเลมนี้จบลงดวยบทเรียนที่มีคุณคา ถึงความดูแลเอาใจใสความเมตตากรุณาของพระ เจาซึ่งมีตอเด็กผูไรเดียงสา (4:11) 4. คําสั่งที่สําคัญ เมื่อทานเขาใจถึงการ “ตระเตรียม” ของพระเจา (1:17) แลว ทานก็จะไมมีปญหาเกี่ยวกับ “ปลา” ในเรื่องนี้พระเจาทรงจัดเตรียมสิ่งอื่นๆไวอีกดวย (4:6-8)
3.

พระองคมี

89 แกนหัวใจของเรื่องนี้เปดเผย ใหเราทราบวาความผิดบาปของนีนาเวและการพิพากษา ที่จะ มาถึงนั้นเปนบทเรียนที่ยิ่งใหญสําหรับชนชาติอิสราเอลที่กําลังทําบาปประเภทเดียวกัน บทเรียนอีกประการหนึ่ง คือ พระเจาประสงคที่จะสําแดงความเมตตากรุณา ตอชนชาติทุกภาษา เพื่ออิสราเอลจะไดเขาใจวาพระกิตติคุณของพระเจานั้นควรจะไดประกาศแกคนทุกชาติทุกภาษา เรื่องของโยนาหนั้นสําแดงถึงความโงเขลา
วิถีทางนานาประการที่จะจัดการใหเราสมัครใจเชื่อฟงพระองค 5. เรื่องที่ควรสนใจ นีนาเวเปนนครที่ใหญโตมาก ระยะทางรอบกรุง คงประมาณ 86-144 กิโลเมตร มีกําแพง ลอมรอบกรุงภายในสีสวนและทุงเลี้ยงสัตวดวย 6. กุญแจไขความเขาใจ หากวาทานสามารถเขาใจ ถึงความยิ่งใหญของพระเจาวา พระองคสามารถทําไดทุกสิ่งแลว ทานก็จะไมมีขอสงสัยใด ๆ วา เรื่องราวในพระธรรมเลมนี้ไมเปนความจริง พระเจาผูทรงสรางโลกนี้ ทรงสามารถ “เตรียม” ปลาตัวนั้นไวเพื่อทําใหพระประสงคของพระเจาสําเร็จ
ในการพยายามหลบหนีจากพระเจา

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.