ลูกกุญแจ 39 ดอก ไขพระคัมภีร์เดิม 3/3

Page 1

มีคาห์
- มาลาคี

เนื้อหาของพระธรรมเลมนี้เกี่ยวกับนครหลวง คือ กรุงเยรูซาเล็ม

90 กุญแจไขพระธรรมมีคาห 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ มีคาห ซึ่งแปลวา “ผูใดบางเปรียบประดุจพระเยโฮวาห” เปนผูพยากรณคนหนึ่งจาก เมืองโมเรเซ็ธกาธ (ซึ่งตั้งอยูตะวันตกเฉียงใต ของกรุงเยรูซาเล็มประมาณ 50 กม.) เปนผูรับใชพระเจา ทั้งในราชอาณาจักรยูดาและอิสราเอล พยากรณในป 751-693 กอน ค.ศ. ในรัชสมัยของโยธาม อาฮาซ และฮีศคียา และกอนที่ประเทศสะมาเรียจะถูกทําลาย (722 ป กอน ค.ศ. ) ทานไดพยากรณในวาระ เดียวกันกับอิสยาหและโฮเซยาขอคิดคือ “คําแถลงคดี” ขอไขคือ 6:2 2. สาระสําคัญ พระธรรมเลมนี้ กลาวถึงประวัติสวนตัวของมีคาหไวเพียงเล็กนอยเทานั้น แตเปนคําตักเตือน อาณาจักรทั้งสองคือ ยูดาและอิสราเอล บางคนเรียกมีคาหวา “ผูพยากรณปฏิรูปสังคม” เนื่องจากทานได เนนถึงความผิดบาปของผูปกครอง และผูนําเทียมเท็จมิใหประชาชนปฏิบัติตาม ไดกลาวย้ําถึงความ บกพรองของประเทศชาติพรอมทั้งการพิพากษาที่จะมีมาตามพระดํารัสของพระเจา แตอยางไรก็ดี จะมี วันหนึ่งที่พระเจาจะอวยพระพรแกพลไพรของพระองค 3. ลักษณะพิเศษ ถึงแมวาประเทศอะซูเรียจะเปนประเทศมหาอํานาจประเทศหนึ่งของโลก คําพยากรณของมี คาหเกี่ยวกับการที่บาบิโลนจะยึดครองกรุงเยรูซาเล็มนั้น (4:10) ไมไดเกิดขึ้นจนกระทั่งอีกศตวรรษหนึ่ง ผานไป ลีลาการเขียนของมีคาหนั้น เปนแบบคํากลอนไพเราะสละสลวยและกะทัดรัด คําพยากรณของ ทานเกี่ยวกับการพิพากษาลงโทษที่จะมาถึงในไมชานั้นก็ชัดเจนแตมีบางขอที่เขาใจไดยาก
และกรุงสะมาเรียซึ่งมีคาหได ทํานายไววาสะมาเรียจะเปนดุจ “เนื้อนาที่ไถแลว” (1:6) และกรุงเยรูซาเล็มก็จะกลายเปน “เนื้อนาที่ไถ แลว” (3:12) 4. คําสั่งสอนที่สําคัญ พวกอาลักษณไดอางคําพยากรณของมีคาห เพื่อทูลตอกษัตริยเฮโรดผูชั่วชาวา กษัตริยองคใหม ที่ประสูตินั้นจะประสูติณที่ใด (มธ. 2:2-6;มีคาห 5:2)
91 ขอความที่ไปดวยสงาราศี (ซึ่งคลาย ๆ กับ อสย. 2:2-6) ทานจะพบใน 4:1-5 ซึ่งผูพยากรณได กลาวถึงยุคที่ปราศจากสงคราม ซึ่งจะมีความมั่งคั่งสมบูรณและความเจริญรุงเรือง โดยพระเจาจะเปน ผูปกครองและผูที่พระเจาทรงเลือกสรรนั้นจะมีสวนรวมดวยเปนพิเศษ ขออื่น ๆที่พยากรณถึงเหตุการณตาง ๆ รวมทั้งการรุกรานของกษัตริยซับมัลเอเซ็ร (1:6-8) การ รุกรานของกษัตริยซันแฮริบ (1:9-16) การกระจัดกระจายของชนชาติอิสราเอล (5:7,8) วาระแหงการ พยากรณนั้นจะสิ้นสุดลง (3:6,7) การที่กรุงเยรูซาเล็มจะถูกทําลายอยางสิ้นเชิง (3:12) 5. เรื่องที่ควรสนใจ เยเรมียไดกลาวถึงมีคาหในคําพยากรณของทาน (ยรม. 26:18,19) บางคนคิดวาขอพระธรรม 6:8 เปนขอที่สําคัญที่สุดในพระคัมภีรเดิม คําทํานายในพระคัมภีรเดิมเกี่ยวกับการเสด็จมาของพระมาซียาปรากฎในมีคาห 5:2 6. กุญแจไขความเขาใจ พระเจาทรงใชมนุษยใหประกาศเผยแพรเรื่องราวของพระองค และในพระธรรมเลมนี้จะเห็นวา พระองคทรงเลือกสรรบุรุษผูหนึ่ง และทรงใชใหเขากลาวถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งพระองคจะให ทุกคนที่ยอมฟงพระองคนั้นเขาใจไดจงสังเกตดูวาพระเจาทรงเตือนกอนที่จะพิพากษาลงโทษเสมอ
92
เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือนาฮูมผูพยากรณแหงเมืองเอลโคซีในมณฑลหาลิลาย ชื่อของทานมีความหมายวา “ผู ประเลาประโลม” เขียนขึ้นเมื่อ 100 ป หลังจากโยนาหไดเขียนคําพยากรณของทาน (663-633 ป กอน ค.ศ.) คําไขคือความพินาศขอไขคือ 1:8, 9 2. สาระสําคัญ พระธรรมนาฮูมเปนพระธรรม ที่ติดตอกับพระธรรมโยนาห ในการกลาวถึงการกลับใจเสียใหม ของชาวกรุงนีนะเว และพระธรรมนาฮูม พยากรณถึงความพินาศและความหายนะ ตามความคิดเห็น ของมนุษยแลว คําพยากรณของนาฮูม ดูเหมือนวาจะเปนความจริงไมไดเพราะวากรุงนีนะเวเปนเมือง หลวงของอาณาจักรมหาอํานาจที่ครองโลกในสมัยนั้น และมีการปองกันที่เข็มแข็งซึ่งไมมีใครสามารถที่ เขาไปยึดได แตภายหลังที่นาฮูมไดทํานาย 100 ป ประเทศอะซูเรียก็ประสบความหายนะอยางสิ้นเชิง พระธรรมนาฮูมตลอดทั้งเลมมีสาระสําคัญก็เฉพาะแตเรื่องนี้เทานั้น 3. ลักษณะพิเศษ นโยบายของอะซูเรียที่จะปฏิบัติตอเชลยนั้น เปนไปดวยความโหดรายทารุณ จนเหลือที่จะกลาว ได อะซูเรียเปนประเทศที่มั่งคั่งสมบูรณยิ่งซึ่งความมั่งคั่งนี้ ไดมาจากการโจมตีประเทศเพื่อนบาน นาฮูม ไดเปรียบประเทศนี้วาเปนประดุจถ้ําสิงโต (2:1-13) ซึ่งออกไปหาเหยื่อที่มีชีวิต ผูที่ถูกจับเปนเชลยนั้น ก็ ถูกทํารายรางกายโดยควักลูกตาออกบางและตัดลิ้นบางเปนตน คําทํานายของนาฮูม ไดเลาโลมจิตใจของชาวกรุงเยรูซาเล็ม ทั้งนี้เพราะประเทศอะซูเรียเปน ประเทศที่นาเกลียดนาชังและเปนศัตรูที่นาหวาดหวั่นของชนชาติอิสราเอลเกือบสองศตวรรษมาแลว 4. คําสั่งสอนที่สําคัญ เมื่อพลไพรของพระเจาไดทําบาป พระเจาผูทรงไวซึ่งความเที่ยงธรรม ก็ไดลงโทษแกเขา แต กระนั้นชนชาติตาง ๆ ที่พระองคทรงใชในการลงโทษพลไพรของพระองค ก็ยังตองประสบพระพิโรธ ของพระองคดวยและเปนเชนนั้นแกจักรวรรดิ์อะซูเรีย ความพินาศของกรุงนีนะเว และจักรวรรดิ์อะซูเรียเกิดขึ้นอยางฉับพลัน ชาวมิโดและชาวบาบิ โลนไดลอมกรุงนีนะเวไวเปนเวลา 2 ป กระแสน้ําจากแมน้ําไทกริสไดทวมและพัดกําแพงเมืองสวน
กุญแจไขพระธรรมนาฮูม 1.
93 หนึ่งทะลายลง เปดชองทางใหขาศึกเขาโจมตี กรุงนีนะเว ซึ่งนาฮูมไดเขียนถึงเรื่องนี้ไวลวงหนาแลวกวา 100 ป ในพระธรรมนาฮูม 1: 10-13 นาฮูมคงอางถึงการที่กษัตริยซันแฮริบ ไดรับความพายแพเมื่อยกก องทัพมาลอมกรุงเยรูซาเล็ม (2 พงศ 19:35) และยังไดกลาวถึงบั้นปลายชีวิตของกษัตริยองคนี้ ในขอ ตอไปดวย 5. เรื่องที่นาสนใจ เอเสเคียล (31:3-14) และเศฟนยาห (2:13-15) และโยนาหไดทํานายเกี่ยวกับความพินาศของนี นะเว กําแพงนีนะเวสูง 100 ฟุต บนกําแพงกวางพอที่จะขับรถมาซิ่งเทียมมาสี่ตัวได มีคอหอยไว ปองกัน 1,500 แหงดังนั้นคําทํานายของนาฮูมจึงดูเหมือนวาจะเปนเรื่องที่เปนไปไมไดอยางเด็ดขาด 6. กุญแจไขความเขาใจ มีแตพระเจาผูใหญยิ่ง ผูทรงพระชนมอยูองคเดียวเทานั้น ที่สามารถพยากรณลวงหนา อยาง ละเอียดละออถึงเหตุการณที่จะเกิดขึ้นอีกหลายรอยปขางหนา นี่แหละคือการเลาโลมใจ ของผูที่ศึกษาคํา พยากรณในพระคัมภีรเกี่ยวกับอนาคตเรายอมทราบวาพระเจาทรงสัตยซื่อและเที่ยงธรรม

คําพยากรณเกี่ยวกับความหายนะของบาบิโลนไดเกิดขึ้นภายหลังจากที่ไดทํานายแลว 70 ป

94 กุญแจไขพระธรรมฮาบากุก 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ ฮาบากุก เปนผูพยากรณแหงอาณาจักรยูดา ที่ไมคอยมีใครรูจักมากนัก ไดรับใชพระ เจาในรัชสมัยของโยซีอา และยาโฮยาคิม คงจะเปนในระหวางป 612-598 กอน ค ศ ขอไขคือ 2:4 ขอคิด คือการเชื่อและวางใจในพระเจาฮาบากุกไดทํานายในคราวเดียวกับเยเรมีย 2. สาระสําคัญ พระเจาทรงประทานใหศาสดาพยากรณผูนี้ เห็นนิมิตเกี่ยวกับพลไพรของพระเจา จะตกไปเปน เชลยของชนชาติบาบิโลน ซึ่งนะบูคัสเนซัร ไดจับเชื้อพระวงศของกษัตริยไปบางแลว (รวมทั้งดาเนียล ในป 606 กอน ค ศ. ) และการที่พลไพรของพระเจา จะตกเปนเชลยอีกสองครั้ง (ในป 597 และในป 596 กอน ค ศ.) เหตุการณเหลานี้ทําใหฮาบากุกสะเทือนใจมากเพราะเห็นแผนดินที่ทานอาศัยอยูนั้นวางเปลา พระเจาทรงตอบคํารองทุกขของทาน โดยประทานใหเห็นนิมิต เกี่ยวกับความหายนะของบาบิโลนที่จะ มาถึง พระธรรมเลมนี้จบลงดวยคําอธิษฐานของทานผูพยากรณผูนี้แสดงใหเห็นวา ทานมีความ จงรักภักดีและไววางใจในพระเจาอยางแทจริง 3. ลักษณะพิเศษ สวนมากในพระธรรมเลมนี้ ก็เปนบทเจรจาอาจเรียกวาเปนเจรจาระหวางพระเจากับฮาบากุกก็ ได ซึ่งฮาบากุกไดทูลตอพระเจา ดวยความปวดราวใจเกี่ยวกับปญหาเรื่องความดี และความชั่ว และพระ เจาไดทรงตอบดวยความอดกลั้นพระทัยดังปรากฎในบทที่ 2
ในพระคริสตธรรมใหม ไดอางถึงขอความในพระธรรมฮาบากุก ไวหลายขอ โดยเฉพาะจาก 2:4;14,20;3:2,17,18, พระธรรมเลมนี้เปนพระธรรมแบบกาพยกลอนที่ไพเราะมาก บทที่ 3 ของพระธรรมเลมนี้ เปนพระธรรมแบบบทเพลงสรรเสริญ ที่ใชขับรองในพิธีนมัสการ ของประชาชน 4. คําสั่งสอนที่สําคัญ ศาสดาพยากรณ มีความเปนหวงตอความชั่วที่เกิดขึ้นในประเทศของตนมาก ดังนั้นพระเจาจึง เปดเผยใหเขาทราบ ถึงการรุกรานของชาวบาบิโลนซึ่งเปนศัตรูของเขา เปนการลงโทษพลไพรของ
95 พระองคเพราะความผิดบาปของเขา ฮาบากุกไดกราบทูลขอรองตอพระเจาวา เหตุไฉนชนชาติอิสราเอล จึงตองถูกลงโทษโดยชาติที่มีความบาปมหันต ยิ่งกวาพวกเขาหลายเทาอยางนี้ คําตอบของพระเจาก็คือ “คนชอบธรรม” จะมีชีวิตจําเริญอยูโดยความเชื่อเทานั้น และพระองคจะทรงลงโทษบาบิโลน เมื่อถึง เวลาเชนเดียวกัน ซึ่งทําใหศาสดาพยากรณผูนี้ รูสึกพอใจในคําตอบของพระเจา และไดอธิษฐานให พลเมืองของตนไดรับความรอดพนโดยเร็ว 5. กุญแจไขความเขาใจ มาตรฐาน ที่พระเจาใชในการพิพากษาลงโทษชนชาติอื่น ๆ ในโลกนี้คือ ความบริสุทธิ์ และ ความชอบธรรมของพระองค
96 กุญแจไขพระธรรมเศฟนยาห 1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ เศฟนยาห ซึ่งเปนผูพยากรณแหงราขอาณาจักรยูดา เปนเชื้อสาย ฮิศคียา พระคัมภีร มิไดบอกเรื่องราวของทานไวมากนัก มีนอยคนที่รูวานามของทานมีความหมายวา “พระเยโฮวาทรง พิทักษรักษาไว” ทานไดรับใชพระเจา ในรัชสมัยของกษัตริยโยซียา (ป638-608 กอน ค.ศ.) ทานจึงเปนผู พยากรณคนแรกที่พยากรณเกี่ยวกับการพิพากษาลงโทษ ของชาวเคเซ็ธ ขอคิดคือ วันแหงพระพิโรธของ พระเจากําลังจะมาถึงขอไขคือ 1:14-16 2. สาระสําคัญ อาณาจักรยูดา คงจะไดรับบทเรียนที่ชนชาติอิสราเอล ตกไปเปนชลย พระเจามิไดสงผูพยากรณ ของพระองคมา ใหทํานายแกพวกเขา ในระหวางรัชสมัยของกษัตริยมะนาเซผูชั่วชา จนกระทั่งถึงกาล สมัยของเศฟนยาห การฟนฟูภายใตการนําของโยซีอาไดคอยเสื่อมลง จนพลเมืองคิดวา เขาจะเลือกนับ ถือและปฏิบัติศาสนาใด ๆ ก็ได ตามใจชอบ พระเจาไมทรงยินยอม ดังนั้นพระองคทรงใชเศฟนยาห ออกไปเรียกรองใหประชาชน เอาใจใสตอการพิพากษาลงโทษที่จะมีมา หากวาพวกเขามิไดกลับใจใหม อยางสิ้นเชิง 3. ขอสังเขป วันแหงพระพิโรธของอาณาจักรยูดา (บทที่ 1) วันแหงพระพิโรธของประชาชาติ (บทที่ 2) วันแหงพระพิโรธของกรุงเยรูซาเล็มและพระพรที่จะมีมาภายหลัง (บทที่ 3) 4. ลักษณะพิเศษ คําพยากรณของเศฟนยาหนั้น เปนคําพยากรณที่กลาวอยางกวางขวาง มากกวาคําพยากรณของผู พยากรณอื่นใดประหนึ่งวาทานกลาวแกชนทุกประเทศทั่วโลกใตฟา วลีวา “วันแหงพระเยโฮวาห” หรือถอยคําที่คลาย ๆ กันนี้ ไดกลาวย้ําใน 1:7 และกลาวซ้ําในบท ที่ 1-3 ถึงเกาครั้ง 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ เศฟนยาหมองดูโลกเหมือนเปนเวทีละครซึ่งอยูภายใตการควบคุมของพระเจาจากทุกๆมุม

คําพยากรณเกี่ยวกับเมืองทั้งสี่ของฟะลิสตีม

97
โลก พระเจาทรงเลือกประชาชาติที่จะเปนตัวอยาง ในการพิพากษาของพระองค (2:4-15) แตอาณาจักรยู ดาพลาดในการเรียนรูบทเรียนนี้
(ฟะเลเซ็ธ) แสดงใหเห็นวาคําพยากรณและการ คุมครองรักษามาจากที่เดียวกันคือจากพระหัตถของพระเจา 6. กุญแจไขความเขาใจ เปนความจริงที่วา พระเจาทรงเปนความรัก แตการที่จะกลาวเชนนี้ มิใชเปนการอธิบายถึงพระ ลักษณะทั้งมวลของพระเจา พระองคทรงพิโรธตอความอสัตยอธรรมทุกอยาง ไมวาจะเปนชนชาติใด ภาษาใดก็ตาม

ทํานาทําไรประกอบอาชีพเปนล่ําสันแตคํา พยากรณและคําเรียกรองของฮักกัยไดกระตุนเตือนใหพวกเขาเริ่มสรางพระวิหารขึ้นอีก

98
เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ ฮักกัย เปนผูพยากรณคนหนึ่งในจํานวนสามคน ในสมัยหลังจากชนชาติอิสราเอล เปนเชลยแลว ไดพยากรณในระหวาง 70 ป ที่ชนชาติอิสราเอลเปนเชลยในบาบิโลน ขอไขคือ 2:6-9 คํา ไขคือการสรางเมื่อสมัย 520-518 กอนค.ศ. 2. สาระสําคัญ ฮักกัยไดกลับสูประเทศของตน พรอมกับขบวนอพยพกลับจากการเปนเชลยพวกแรก ภายใต การนําของซารุบาเบล เอสราผูเปนอาลักษณก็ไดกลับมาพรอมดวย(อสร 3:8;ฮักกัย 1:1) ไดเริ่มปฎิสังข รณพระวิหาร และไดรับการตอตานจากผูที่อยูในแผนดินนั้น พระเจาทรงหนุนน้ําใจศาสดาพยากรณ ให ชักชวนพลไพรของพระองคใหเข็มแข็งในการงานเพื่อจะใหงานรุดหนาตอไป 3. ลักษณะพิเศษ ฮักกัยไดกลาวถึงคําพยากรณถึง 4 ครั้งในระยะเวลา 4 เดือนเทานั้น อาจเปนไดวา ฮักกัยไดเคยเห็นความสงางามของพระวิหาร แหงซาโลมอนมากอนแลว (2:3) ดังนั้นเมื่อทานพยากรณรับใชพระเจานั้นทานคงเปนชายชราแลว ขอความของพระธรรมฮักกัยนี้เขมขน และยอ ๆ หรืออาจเปนบทสรุปของคําพยากรณของ ฮักกัยเทานั้น ทุกครั้งที่กลาวถึงฮักกัย มักมีคํา “ศาสดาพยากรณ”ดวย ซึ่งเนนถึงการปฏิบัติรับใชพระเจาที่ สําคัญของทาน 4. คําสั่งสอนที่สําคัญ การที่ศัตรูตอตานการปฏิสังขรณพระวิหารนั้น ไดทําใหพลไพรของพระเจาละทิ้งงาน ไป ประกอบอาชีพสวนตัวซึ่งไดผลมากกวา พวกเขาคิดวา ยังไมถึงเวลาอันสมควรที่จะสรางพระวิหารขึ้น ใหมดังนั้นเขาจึงพากันสรางบานใหเรียบรอยไดเลี้ยงสัตว
คําพยากรณของทานฮักกัยครั้งแรกนั้นมีเนื้อความเหมือนกับมัทธิว 6:33 ครั้งที่สอง ทานไดเนน ถึงพระวิหารใหมวาจะใหญโต และสงางามยิ่งกวาครั้งกอนมาก และทานไดกลาวถึงภัยพิบัติตาง ๆ ที่จะ เกิดขึ้น เนื่องจากพวกเขาไดละทิ้งหนาที่สําคัญนี้ และคําพยากรณครั้งสุดทายนั้น ไดกลาวแกซารุบาเบล
กุญแจไขพระธรรมฮักกัย 1.
99 เปนพิเศษวา พระเจาทรงสัญญาไววา พระองคจะทรงทําลายศัตรูและจะทําใหประชากรของพระองคมี ความเจริญกาวหนา 5. กุญแจไขความเขาใจ พระเจาไมทรงยับยั้งหรือเปลี่ยนแปลง พระประสงคของพระองคแตอยางใด แตกระนั้น พระองคยังใชมนุษยกระทําใหแผนการของพระเจาสําเร็จ

ชีวิตของประเทศชาติและทางการเมืองมากกวา ทานไดพยากรณเปนเวลานานสองปและพระเจาทรงใช

100 กุญแจไขพระธรรมเศคาริยาห 1.เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ เศคาริยาห (บทที่ 1) ชื่อของทานหมายถึง “พระเจาผูทรงเกียรติอันสูงสง” เกิดใน ตระกูลเลวี ซึ่งเปนตระกูลของปุโรหิต เชื่อวาทานคงเกิดที่กรุงบาบิโลน และทานไดกลับมายังภูมิลําเนา เดิม พรอมกับการอพยพกลับการจากการเปนเชลยครั้งแรก พระเจาทรงเรียกทานใหหนุนน้ําใจ ประชาชน ผูปฏิสังขรณพระวิหาร และกําแพงกรุงเยรูซาเล็ม โดยเนนถึงสงาราศีที่จะไดรับในอนาคต พยากรณในระหวางป 520-518 กอน ค ศ ขอคิดคือ พระเจาทรงประทับอยู กับการงานของพระองคทุก ชิ้นขอไขคือ 14:9 2. สาระสําคัญ ประชาชนที่อพยพจากการเปนเชลยครั้งแรกนั้น มีจํานวน 50,000 คน แตศัตรูก็ขัดขวางยับยั้ง การปฏิสังขรณกรุงเยรูซาเล็ม ดวยวิธีนานาประการจนในที่สุดประชาชนไดยุติการกอสราง พระเจาทรง ตรัสแกพลไพรของพระองคโดยทางเศคาริยาห เพื่อหนุนน้ําใจและกระตุนเตือน ใหเขากลับไปปฏิบัติ หนาที่อีกตอไป
เนนถึง
ทาน จนการปฏิสังขรณพระวิหารขึ้นใหมนั้นสําเร็จ งานสวนใหญของทานเปนงานที่ทําใหมองเห็น อนาคตอันไกล ทานไดเห็นนิมิตของการเสด็จมาครั้งแรก ของพระมาซียา และการเสด็จมาครั้งที่สอง พรอมดวยสงาราศีอันรุงโรจน 3. ลักษณะพิเศษ พระธรรมเลมนี้แบงออกไดดังนี้ คือมีนิมิตแปดประการ
ๆ หลายขอ (บทที่ 1-6 ) นิมิตสี่ประการ เกี่ยวกับผูที่มาสืบถาม จากบาบิโลน (7:2, 3) คําตอบปญหาที่ผูสืบถามตั้งขึ้นนั้น และภาระหนักสองประการ (บทที่ 7 และ 8) เกี่ยวกับการกด ขี่ขมเหงที่จะไดรับใจอนาคตและในที่สุดจะไดรับชัยชนะ (9-14) พระธรรมเศคาริยาหไดบรรจุพันธสัญญา เกี่ยวกับการถูกตรึงที่กางเขน ของพระเยซู มากกวา เลมใดๆในพระคัมภีรเดิมนอกจากพระธรรมสดุดี (9: 9; 11:12, 13; 13:6, 7)
ภาระหนาที่ของทานฮักกัย มุงไปในชีวิตการนมัสการแตภาระของเศคาริยาห
(ที่พระเจาไดดลบันดาลใหเห็นในคืน เดียวกัน) เกี่ยวกับหัวขอตาง

เรารูวาพระเจาผูยิ่งใหญทรงมีพระทัยเปนหวงบุตรมนุษยทุกคนไมวาชาติใดภาษาใด

101 4.
แมวาพลไพรที่พระเจาทรงเลือกสรร
ขอความที่ควรจดจําคือ คําสอนของพระเจา ถึงการที่พระเยซูจะเสด็จมาเปนครั้งแรก ในสภาพ ของผูทนทุกขและครั้งที่สองในสภาพของราชา ที่ไมมีใครตอตานได ทั้งสองประการนี้อยูปะปนกันใน พระธรรมนี้ พระเจาทรงสนพระทัยตอ ประเทศชาติอื่น ๆ ดวย ดังจะเห็นไดชัดจากการที่พระองคปฏิบัติ เกี่ยวกับความผิดบาปและการกราบไหวรูปเคารพของเขา และพระองคยังเปนหวงการประพฤติของเขา ตอชนชาติอิสราเอลดวย เศคาริยาหไดเห็นนิมิตอันนาชื่นชมยินดี เกี่ยวกับอนาคตที่จะมาถึง ไดเห็นความสุข ความรื่นเริง ของเมืองซีโอน (กรุงเยรูซาเล็ม) วา ถนนหนทางเต็มไปดวยเด็ก ๆ (8:3-5) และประเทศชาติในโลกจะมา หาชนชาติยิวเพื่อจะเรียนรูถึงเรื่องพระเจาของเขา (8:22,23) 5. กุญแจไขความเขาใจ ชีวิตของมนุษยนั้นไมเฉพาะเจาะจง เพียงขณะที่มีชีวิตอยูในโลกนี้เทานั้น พระเจาผูมีอํานาจที่ ทํางานในจิตใจของมนุษย ในเวลานี้
เปนตัวอยางให
คําสั่งสอนที่สําคัญ
จะมีชีวิตอยูอยางทุกขยาก และไดรับการตอตานจากศัตรู แตพระเจาจะไดชัยชนะในที่สุดและพลไพรของพระองคจะไดรับชัยชนะดวย
เพื่อเตรียมเขาไวเพื่อชีวิตนิรันดร ชนชาติอิสราเอล

(2: 1-9)

17; 3:13-15)

102
1. เบื้องหลังความเปนมา ผูเขียนคือ มาลาคี (นามของทานมีความหมายวา “ผูสื่อสารของพระเจา”) รับใชพระเจาในวาระ เดียวกับเนหะมีห ทานไดพยากรณตอตานการประพฤติผิดเชนเดียวกับที่เนหะมีหไดบรรยายไว พยากรณในป 435-425 กอน ค.ศ. คําไขคือ การแชงสาป ขอคิดคือ พระเจาทรงมีความรักตอพลไพรของ พระองค ถึงแมวาเขาจะเปนคนบาป ขอไขคือ 3:16, 17 ถึงแมวาทานจะมีความเกี่ยวโยงกับฮักกัยและเศ คาริยาห ในฐานะที่เปนผูพยากรณ สมัยหลังจากการอพยพหลังจากการเปนเชลยก็ตาม ทานก็ไดรับใช พระเจาหลังจากนั้นประมาณ 100 ป 2. สาระสําคัญ คําพยากรณของมาลาคีนั้น ก็เกี่ยวของกันอยางใกลชิดกับประวัติศาสตร ของพระธรรมเนหะมีย ทั้งสองทานนี้ไดออกแรง เพื่อปฏิรูปชีวิตฝายวิญญาณจิตของประชาชนใหดีขึ้น เชนเดียวกับที่ไดสราง กําแพงกรุงเยรูซาเล็มขึ้นใหม เมื่อทานเนหะมียไดกลับไปยังบาบิโลนระยะหนึ่งนั้น
กษัตริยไว มาลาคีไดปฏิบัติหนาที่แทน โดยเนนถึงความผิดบาป และการประพฤติผิดฝายศีลธรรม ทาน ยังมองไกลถึงวาระแหงการเสด็จมาขององคพระผูเปนเจาดวย 3. ขอสังเขป การละเลยตอสิ่งตางๆของพระเจา (1: 1-14) ชีวิตที่เต็มไปดวยความผิดบาปของปุโรหิต
การที่ประชาชนไมสัตยซื่อตอพระเจาและคนอื่น (2:
การคร่ําครวญบนตอการจัดการของพระเจา (2:
4. ลักษณะพิเศษ คําพยากรณที่ยิ่งใหญ เกี่ยวกับยอหนเกี่ยวกับบัพติศมาปรากฎใน 3:1-30 มาลาคีเปนผูพยากรณผู เดียวที่พยากรณถึงยอหนบัพติศมา ความผิดบาปอันเนื่องจากการถวาย “สัตวพิการและเปนโรค” ตอพระเจานั้น จะตองถูกลงโทษ อยางรุนแรงดังปรากฎใน 1:8-10 เพราะวาเปนการดูหมิ่นพระเจา ถอยคําสุดทายของพระคัมภีรเดิมนั้น คือ คํา “แชงสาป” สวนในพระคริสตธรรมใหม คือการ นํามาซึ่งพระพร
กุญแจไขพระธรรมมาลาคี
ตามที่ไดสัญญาตอ
10-16)

พระคัมภีรเดิมแตเรามีพระคริสตธรรมใหมดวย

103 5. คําสั่งสอนที่สําคัญ มาลาคีไดทํานายถึงการการมาของเอลียาห (4:5) คําทํานายนี้ไดสําเร็จแลวบางสวน เมื่อยอหน บัพติศมาไดปฏิบัติรับใชพระเจา (มธ 11:14) แตเนื่องดวยในสมัยที่ยอหนบัพติศมา ปฏิบัติรับใชพระเจา นั้น มิไดเปนวาระแหง “วันใหญยิ่งอันนากลัวของพระเยโฮวาห” แตคําทํานายนี้จะสําเร็จอยางสมบูรณ ในอนาคต อาจเปนไดวา เอลียาหจะเปนคนหนึ่งในพยานสองคน ที่ปรากฎในพระธรรมวิวรณบทที่ 11 ก็ได การที่มิไดถวายสิบลดและเครื่องบูชานั้น ถือวาเปนการฉอโกงพระเจา (3:8-15) บทบัญญัติของ โมเสสกําหนดไววา สิบลดนั้นเปน “ของ” ของพระเจา แตในพระธรรมบทนี้ จะเห็นวา ประชาชนเห็น แกตัวนําสวนนั้นไปใชเพื่อตนเองเสีย ขอความสําคัญของพระธรรมมาลาคี ก็เปนบทสรุปของพระคัมภีรเดิมทั้งเลม พระเจาทรงหาม ทําความเสื่อมทราม และการฉอโกงพระเจา และทรงสัญญาวาจะประทานความรอดพน และพระพรแก ผูเชื่อฟงพระเจาองค มาลาคีพยากรณในแงที่วา พระบัญญัติมีอํานาจในวาระนั้น แตยังเนนถึงพระ กรุณาธิคุณอันอุดมซึ่งพระเจาจะทรงสําแดงในยุคแหงพระคุณ 6. กุญแจแหงความเขาใจ เมื่ออานพระธรรมมาลาคี ขอใหมองดูกวางขวางวา เปนเรื่องราวแหงความผิดบาป และความ อสัตยอธรรมของมนุษย มนุษยไมไดเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หลายศตวรรษมาแลว แตจงหันไปดูอีก ทางหนึ่งจะมีวันหนึ่ง ซึ่งสุริยันแหงความชอบธรรมจะขึ้นสองแสงขอบพระคุณพระเจา ที่เรามิใชมีเพียง

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.