แผนการสอน โพร 007

Page 1

การเขีย นแผนการจัด การเรีย นรู้ แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๑ เรื่อ ง การเคลื่อ นที่แ บบโพรเจกไทล์ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๔ ชื่อ หน่ว ย แรง และการเคลื่อ นที่ เวลา ๐๐.๒๐ ชั่ว โมง กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ ระดับ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๔ ภาค เรีย นที่ ๑ ปีก ารศึก ษา ๒๕๕๗ ชื่อ – นามสกุล นัก ศึก ษานางสาวชุด าพร มะลาศรี ๑. มาตรฐานการเรีย นรู้ มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆของวัตถุใน ธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว.๔.๒/๒ สังเกตและอธิบายการเคลือ ่ นทีแ ่ บบโพรเจกไทล์ แบบวงกลม และ แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ว.๔.๒/๓ อภิปรายผลการสืบค้นและประโยชน์เกีย ่ วกับการเคลือ ่ นทีแ ่ บบ โพรเจกไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ใน การสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอ ้ มูล และเครื่องมือที่มอ ี ยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ว.๘.๑/๑ ตัง้ คำาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทาง วิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถ ทำาการสำารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว.๘/๑๐ ตระหนักถึงความสำาคัญในการทีจ ่ ะต้องมีสว่ นร่วมรับผิดชอบการ อภิปราย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรูว้ ท ิ ยาศาสตร์ทจ ี่ ะนำาเสนอ สาธารณชนด้วยความถูกต้อง ว.๘.๑/๑๑ บันทึกและอธิบายผลการสำารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้ พยานหลักฐานอ้างอิงหรือค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีขอ ้ มูลและประจักษ์


พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบอย่าง ระมัดระวัง อันจะนำามาสู่การยอมรับเป็นความรู้ใหม่ ๒. ตัว ชี้ว ัด ๑. นักเรียนสามารถสังเกต และอธิบายการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ๒.นักเรียนอภิปรายผลการสืบค้นและประโยชน์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล์ แบบวงกลม และ แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ๓.นักเรียนเกิดเจตคติที่ดีตอ ่ วิทยาศาสตร์ (ความมีเหตุมีผล) ๓.สาระสำา คัญ ๔.๑ ด้า นความรู้ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี เกี่ยวกับการ เคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ ๔.๒ ด้า นเจตคติ – ค่า นิย ม นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และมีเจตคติที่ดีตอ ่ วิชาวิทยาศาสตร์ ๔.๓ ด้า นทัก ษะ / กระบวนการ นักเรียนสามารถทำาการทดลองการการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ และ สรุปผลการทดลองได้และสามารถนำาความรู้ไปใช้วิเคราะห์และคำานวณเกี่ยว กับการการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ได้ ๔. จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้ห รือ ผลการเรีย นรู้ เมื่อเรียนจบเรื่องนี้แล้วนักเรียนสามารถ ๑.นักเรียนอธิบายการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และตอบคำาถามได้ ๒. นักเรียนทดลองลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบโพรเจก ไทล์ว่าประกอบด้วยการเคลื่อนที่ทั้งใน แนวดิ่งและแนวระดับได้ ๓.นักเรียนอภิปรายผลการทดลองการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ได้ ๔. นักเรียนมีทักษะกระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร์และสามารถ คำานวณได้


๕.นักเรียนประเมินปัญหาการทำางานเป็นกลุ่ม และสามารถนำาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวันได้ ๕. สาระการเรีย นรู้(ระบุหัวข้อของสาระการเรียนรู้ที่จะจัดกิจกรรมการเรียน รู้ตามแผน) สาระที่ ๔ แรงและกฎการเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็นการเคลื่อนที่ทั้งในแนวดิ่ง และแนว ระดับ สาระที่ ๘ ธรรมชาติ ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖. กระบวนการจัด กิจ กรรมการเรีย นรู้ (ระบุข ั้น ตอนการจัด กิจ กรรม การเรีย นรู้ต ามวิธ ีส อนหรือ รูป แบบการสอนที่ใ ช้ ) รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ขั้น นำา เข้า สู่บ ทเรีย น ๑. ขั้น สร้า งความสนใจ ๑.ครูเปิดวีดีโอ ประเพณีสงกรานต์ให้นักเรียนดู ๒.ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยการถามคำาถามเกี่ยวกับการ เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ว่าเกี่ยวข้องกับประเพณีสงกรานต์อย่างไร ขั้น สอน ๒. ขั้น สำา รวจและค้น หา ๑.ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่าการเคลื่อนที่ในแนวโค้งเป็นลักษณะเดียว กับการเคลื่อนที่ของนำ้า ที่ถูกยิงออกจากปืนฉีด นำ้า เรียกว่ า การเคลื่อนที่ แบบ โพรเจกไทล์ และเปิดวีดีโอการทดลองยิงปืนฉีดนำ้า และเทนำ้าลงพื้นให้นักเรียน ดู ๒. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ๖ คน ศึกษา ความสัมพันธ์ของการ เคลื่อนที่ใน แนวระดับกับแนวดิ่งของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ โดยให้แต่ละกลุ่ม ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ เทนำ้าจากขอบโต๊ะให้ตกบนพื้นห้องในแนวดิ่ง  นำาปืนฉีดนำ้ามาวางบนขอบโต๊ะทำามุม ๔๕ องศาแล้วยิงออกไป  สังเกตลักษณะการเคลื่อนที่ของทั้งสองกรณี พร้อมดูเวลาที่นำ้าทั้งสอง กรณีตกกระทบพื้น แล้วบันทึกผลการทดลองที่เกิดขึ้นลงสมุดทุกคน


๓.ขั้น อธิบ ายและลงข้อ สรุป ๑.แต่ละกลุ่มเขียนสรุปผลการทดลองลงในกระดาษรายงาน ๒. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทดลอง ๔.ขั้น ขยายความรู้ ๑.ครู ให้ความรู้เกี่ย วกับการความเร็ ว และการกระจั ด ของการเคลื่ อ นที่ แบบโพรเจกไทล์พร้อมตัวอย่างการคำานวณ ๒.นักเรียนฝึกคำานวณหาความเร็วและการกระจัดของการเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ ขั้น สรุป ๕.ขั้น ประเมิน ๑.ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมา มีจุดใดบ้างที่ ยังไม่เข้าใจ ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติม ๒.นั ก เรี ย นร่ ว มกั น ประเมิ น การปฏิ บั ติ กิ จ กรรมกลุ่ ม ว่ า มี ปั ญ หาหรื อ อุปสรรคใดและได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง ๓.ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคำาถาม ๔.ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์โดย การเขียนเป็นผังมโนทัศน์ ๗. สื่อ การเรีย นรู้แ ละแหล่ง เรีย นรู้ ๗.๑ สือ ่ การเรียนรู้ - ชุดการทดลอง เรื่องการเลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ อุปการณ์การทดลองมีดังนี้ ๑.ปืนฉีดนำ้า ๒. แก้วนำ้า ๗.๒แหล่งการเรียนรู้ - ห้องเรียนหรือห้องปฏิบัติการฟิสิกส์


๘. การวัด ผลและประเมิน ผล จุด ประสง วิธ ีว ัด ผล การเรีย นรู้

เครื่อ งมือ วัด ผล

เกณฑ์ก าร ประเมิน ผล

๑. เพื่อให้

๑.ครูอธิบายการเคลื่อนที่ ๑.การตอบ

๒.นักเรียน

นักเรียน

แบบโพรเจกไทล์และตั้ง

คำาถามของ

สามารถตอบ

สามารถ

คำาถามว่าประเพณี

นักเรียน

คำาถามถูกต้อง

อธิบายการ

สงกรานต์เกี่ยวกับการ

เคลื่อนที่แบบ

เคลื่อนที่แบบโพรเจก

โพรเจกไทล์

ไทล์อย่างไร

และตอบ คำาถามได้ ๒. เพื่อให้

๒.ให้นักเรียนศึกษา

๒.การเขียน

๒.นักเรียนทุก

นักเรียน

ความสัมพันธ์ของการ

รายงานผล

คนในกลุ่มร่วมกัน

สามารถ

เคลื่อนที่ในแนวระดับกับ

การทดลอง

วิเคราะห์เขียน

ทดลอง

แนวดิ่งของการเคลื่อนที่

วิจารณ์ปัญหาและ

ลักษณะการ

แบบโพรเจกไทล์ โดยให้

วิธีแก้ไขได้อย่าง

เคลื่อนที่ของ

แต่ละกลุ่มทดลองการ

ถูกต้อง

วัตถุที่เคลื่อนที่ เคลื่อนที่แบบโพรเจก แบบโพรเจก ไทล์ว่า ประกอบด้วย การเคลื่อนที่ ทั้งใน แนวดิ่ง และแนวระดับ ได้

ไทล์


๓.เพื่อให้

๓.ให้ นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม ๓.การ

๓.นักเรียนเขียน

นักเรียน

เขียนสรุปผลการทดลอง อภิปรายร่วม อภิปรายความรู้ได้

สามารถ

ลงในกระดาษรายงาน กันของครู

อภิปรายผล

และครู กั บ นั ก เรี ย นร่ ว ม กับนักเรียน

การทดลอง

กั น อ ภิ ป ร า ย ผ ล ก า ร

การเคลื่อนที่

ทดลอง

ถูกต้อง

แบบโพรเจก ไทล์ได้ ๔. เพื่อให้

๔.ครู ใ ห้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ ๔.ตัวอย่าง

๔.นักเรียนทำาแบบ

นักเรียนมี

การเคลื่อนที่แบบโพรเจก แบบคำานวณ คำานวณการ

ทักษะ

ไทล์ พ ร้ อ มตั ว อย่ า งการ การเคลื่อนที่ เคลื่อนที่แบบโพร

กระบวนการ

คำา นวณและให้ นั ก เรี ย น แบบโพรเจก เจกกไทล์ได้ถูก

ทดลองทาง

ฝึ ก คำา น ว ณ ห า ก า ร ไทล์ ๓ข้อ

วิทยาศาสตร์

เ ค ลื่ อ น ที่ แ บ บ โ พ ร เ จ ก

และสามารถ

ไทล์

ต้อง ๓ข้อ

คำานวณได้ ๕.เพื่อให้

๕ .ใ ห้ นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น ๕.การถาม-

๕.นักเรียนตอบ

นักเรียน

ป ร ะ เ มิ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ตอบ เรื่อง

คำาถามเรื่องการ

สามารถ

กิ จ กรรมกลุ่ ม ว่ า มี ปั ญ หา การเคลื่อนที่ เคลื่อนที่แบบโพร

ประเมินปัญหา อย่า งไรพร้อ มทางแก้ ไ ข แบบโพรเจก เจกไทล์ได้ถูกต้อง การทำางาน

โดยการให้นักเรีย นตอบ ไทล์ และ

เป็นกลุ่ม และ

คำา ถามและให้ นั ก เรี ย น การเขียนผัง สามารถเขียนผัง

สามารถนำาไป

ร่ ว มกั น สรุ ป เกี่ ย วกั บ การ มโนทัศน์

ประยุกต์ใช้ใน เ ค ลื่ อ น ที่ แ บ บ โ พ ร เ จ ก ชีวิตประจำาวัน

ไ ท ล์ โ ด ย ก า ร เ ขี ย น ผั ง

ตามหลักการ และ มโนทัศน์ได้ถูก ต้อง


ได้

มโนทัศน์

๙. ความคิด เห็น ของอาจารย์พ ี่เ ลี้ย ง ......................................................................................................................... ................................. ......................................................................................................................... ................................. ......................................................................................................................... ................................. ......................................................................................................................... .................................

ลงชื่อ...................................................อาจารย์พี่เลี้ยง (...................................................) วัน ที่…......เดือน........................พ.ศ........... ๑๐. บัน ทึก หลัง การสอน ๑๐.๑ ผลการสอน ............................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................. ............................................. ๑๐.๒ ปัญหา / อุปสรรค ............................................................................................................. .............................................


............................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................. ............................................. ๑๐.๓ แนวทางแก้ไข ............................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................. .............................................

ลงชื่อ...................................................นักศึกษา (................................................) วัน ที่…......เดือน.......................พ.ศ............


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.