“ความพอเพียง” คือ ทางรอดของมนุษย์และสังคม
จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
"ความพอเพียง" คือทางรอดของมนุษย์และสังคม เรียบเรียง : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ พิมพ์ครัง้ ที่ 1 จำนวน 2,000 เล่ม : มิถนุ ายน พ.ศ. 2550 ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ สุรพล ไกรสราวุฒิ "ความพอเพียง" คือทางรอดของมนุษย์และสังคม ... กรุงเทพฯ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2550. 48 หน้า 1. เศรษฐกิจพอเพียง..แง่สงั คม 2. เศรษฐกิจพอเพียง..แง่สง่ิ แวดล้อม I. ชือ่ เรือ่ ง. 330.9593
ISBN 978-974-03-1921-4 บรรณาธิการอำนวยการ : ศาสตราจารย์ ระวี ภาวิไล บรรณาธิการ : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ออกแบบปก : นายมาโนช กลิน่ ทรัพย์ พิสจู น์อกั ษร : นางปาลิดา จิรภาธงชัย ประสานงาน : นางสาวปทุมรัตน์ กิจจานนท์ , นางนิตพิ ร ใบเตย พิมพ์ท่ี : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถ.พญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร.0-2215-1991-2 ลิขสิทธิ์ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สารบัญ คำประกาศราชสดุดเี ฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในพิธที ลู เกล้า ฯ ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุด ด้านการพัฒนามนุษย์ (Special Lifetime Achievement Award) โดย นายโคฟี อันนัน เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ z "เศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร ?" z หลักทีเ่ ป็นรากฐานของ "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ตามแนวพระราชดำรัส z "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" คือ หลักสัปปุรส ิ ธรรม 7 ในพระพุทธศาสนา z ทำไมจึงต้อง "พอเพียง" z "ความพอเพียง" ของธรรมชาติ เป็นจุดกำเนิดของชีวต ิ z วงจรการกำเนิดและดำรงอยูข่ องสิง่ มีชวี ต ิ ในธรรมชาติ ขึน้ อยูก่ บั "ความพอเพียง" z วิถก ี ารดำรงอยูข่ องสิง่ มีชวี ติ ก็ขน้ึ อยูก่ บั "ความพอเพียง" z "ภาวะความพอเพียง" ในระบบธรรมชาติ z แม้แต่เรือ ่ งของความรูส้ กึ นึกคิด ซึง่ เป็นเรือ่ งของจิตใจ และเป็นนามธรรม ก็ขน้ึ อยูก่ บั "ความพอเพียง" z "ความพอเพียง" คือ ทางรอดของมนุษย์และสังคม z แนวทางการประยุกต์ "ความพอเพียง" z วิธป ี ระยุกต์ "ความพอเพียง" กับสิง่ แวดล้อมในธรรมชาติ z วิธป ี ระยุกต์ "ความพอเพียง" กับสิง่ แวดล้อมในธรรมชาติ กรณีของ ป่าไม้ ภูเขา และแม่นำ้ -ลำคลอง z วิธป ี ระยุกต์ "ความพอเพียง" กับการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ z วิธป ี ระยุกต์ "ความพอเพียง" กับการบริหารและพัฒนากาย z วิธป ี ระยุกต์ "ความพอเพียง" กับการบริหารและพัฒนาจิต z
z บทสรุป
หน้า 1
5 7 10 13 14 16 17 20 23 25 26 27 32 35 37 39
43
“ความพอเพียง” คือ ทางรอดของมนุษย์และสังคม
ข
อเริม่ ต้นด้วยคำประกาศราชสดุดเี ฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุ ล ยเดช ในพิ ธ ี ท ู ล เกล้ า ฯ ถวายรางวั ล ความสำเร็ จ สู ง สุ ด ด้านการพัฒนามนุษย์(Special Lifetime Achievement Award) โดย เลขาธิการสหประชาชาติ (นายโคฟี อันนัน) เมือ่ วันที่ 26 พฤษภาคม 2549 เวลา 17.00 น. ณ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน .... ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม สหประชาชาติมคี วามปลาบปลืม้ ยินดีในเกียรติยศ อันยิง่ ใหญ่ ทีไ่ ด้พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล "ความสำเร็จสูงสุดด้านการพั ฒ นามนุษย์" ซึ ่ ง เป็ น รางวั ล ชิ ้ น แรกของโครงการพั ฒ นาแห่ ง สหประชาชาติ (UNDP) จัดทำขึน้ เพือ่ ร่วมเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสแห่งการเฉลิมฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบหกสิบปี “ความพอเพียง ฯ”
1
ใต้ฝา่ ละอองธุลพี ระบาทได้ทรงมุง่ มัน่ บำเพ็ญพระราช กรณียกิจนานัปการ เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องปวงชน ชาวไทยอยูเ่ ป็นนิจศีล เป็นทีป่ ระจักษ์แก่สายตาชาวโลก จึง ต่างกล่าวขานพระนามพระองค์วา่ ทรงเป็น"พระมหากษัตริย์ นักพัฒนา" ใต้ฝา่ ละอองธุลพี ระบาทมีพระราชหฤทัยเปีย่ มล้น ด้วยพระเมตตาต่อพสกนิกรผูย้ ากไร้ และผูด้ อ้ ยโอกาสโดยไม่ ทรงแบ่งแยกสถานะ ศาสนา ชาติพนั ธุ์ หรือหมูเ่ หล่า ทรงสดับ รับฟังปัญหาความทุกข์ยากของราษฎร และพระราชทาน แนวทางการดำรงชีวติ เพือ่ ให้ประชาชนของพระองค์สามารถ พึง่ พาตนเองได้อย่างเข้มแข็งและยัง่ ยืน โครงการในพระราชดำริตา่ งๆ เพือ่ พัฒนาชนบทมี จำนวนมากมายและมิอาจนับ ได้สง่ ผลต่อการสร้างสรรค์ ความรูแ้ ละนวัตกรรม ทีเ่ อือ้ ต่อความก้าวหน้าในการพัฒนา ยังประโยชน์ให้แก่พสกนิกรทัว่ หล้า อาทิ โครงการทีม่ งุ่ เน้น การเกษตรขนาดเล็กด้วยเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม โครงการที่ มีการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้ำอย่างยัง่ ยืน รวมทัง้ โครงการป้องกันและบรรเทาความเดือดร้อนจากน้ำท่วม และภัยแล้ง ด้วยพระปรีชาสามารถในการเป็นนักคิดของใต้ฝา่ ละออง ธุลพี ระบาท และคุณปู การต่อการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืนทำให้นานา ประเทศ ตืน่ ตัวในการปรับรูปการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนภายใต้ “ความพอเพียง ฯ”
2
แนวคิดใหม่ ด้วยพระมหากรุณาธิคณ ุ ของใต้ฝา่ ละอองธุลี พระบาทที่มีต่อประชาราษฎร์ ที่ได้พระราชทานปรัชญา "เศรษฐกิจพอเพียง" ซึง่ ชีถ้ งึ แนวทางการพัฒนาทีเ่ น้น ความสมดุล ความพอประมาณ ความมีเหตุผล สำนึก ในคุณธรรม และการมีภูมิคุ้มกันในตั ว ที ่ ด ี พอที ่ จ ะ ต้านทานและลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงต่างๆ จากกระแสโลกาภิวตั น์ ด้วยปรัชญาดังกล่าวนี้ สหประชาชาติ จึงมุง่ เน้นเพียรพยายามและส่งเสริมการพัฒนาคน ให้ความ สำคัญต่อความอยูด่ มี สี ขุ ของประชาชน เป็นเป้าหมายศูนย์กลาง ในการพัฒนา รางวั ล ความสำเร็ จ สู ง สุ ด ด้ า นการพั ฒ นามนุ ษ ย์ น ี ้ ข้าพระพุทธเจ้าทัง้ หลายมีปณิธานทีจ่ ะส่งเสริมประสบการณ์ และนำแนวทางการปฏิบตั ใิ นการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันทรงคุณค่าอย่างหาทีส่ ดุ มิได้ของพระองค์ทา่ น มาช่วย จุดประกายแนวความคิดในปรัชญาดังกล่าวสูน่ านาประเทศต่อไป ในโอกาสนี้ ข้าพระพุทธเจ้ามีความปลื้มปีติและภาคภูมิใจ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการ พัฒนามนุษย์ แด่ใต้ฝา่ ละอองธุลพี ระบาท ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
“ความพอเพียง ฯ”
3
นั บ เป็ น นิ ม ิ ต หมายอั น น่ า ยิ น ดี ย ิ ่ ง ที่ในปัจจุบันองค์กร ระหว่างประเทศสูงสุดอย่างองค์การสหประชาชาติ ได้เล็งเห็น ความสำคัญและคุณค่าใน "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" และมีปณิธาน ทีจ่ ะเผยแพร่ไปสูน่ านาประเทศ ซึ่งเท่ากับเป็นการยอมรับและ ส่งสัญญาณไปทัว่ โลก ให้ตระหนักและเล็งเห็นโทษภัยทีเ่ กิดขึน้ จากแนวทางการพัฒนาของมนุษย์ในปัจจุบนั ที่ส่วนใหญ่มุ่ง พัฒนาไปเพือ่ ความอยูด่ กี นิ ดีทางด้านวัตถุ โดยการกระตุน้ ให้ เกิดความโลภ ให้บคุ คลมีความต้องการ และแสวงการตอบสนอง ต่อการบริโภคอย่างไม่จำกัดและอย่างไม่รู้จักพอ ผลพวงที่เกิดขึ้นจากการพั ฒ นาที ่ เ ป็ น อยู ่ น ี ้ ไ ด้ ก ่ อ ปั ญ หา ให้กบั โลกอย่างมากมาย ทัง้ ในด้านการทำลายสิง่ แวดล้อมในธรรมชาติ จนทำให้เกิดภัยพิบตั จิ ากการเสียความสมดุลของธรรมชาติอย่างรุนแรง นอกจากนัน้ ยังก่อให้เกิดความเสือ่ มโทรมในสังคมมนุษย์อย่างน่าเป็นห่วง ทำให้ความเป็นไปในสังคมมนุษย์มีแต่เรื่องของผลประโยชน์ ที่จะ ต้องแข่งขันและแย่งชิงกันตลอดเวลา เต็มไปด้วยความเครียดและ ความขัดแย้งในทุกระดับ ..........ความสุขใจ ความรูส้ กึ ไว้วางใจทีม่ ตี อ่ กัน รวมไปถึง สิง่ ทีเ่ ป็นคุณค่าและความดีงามทางด้านจิตใจของมนุษย์ในเรือ่ งของ คุณธรรม-จริยธรรม ดูเหมือนกำลังลดน้อยถอยลงไปจากสังคมมนุษย์ ทุกที ๆ จนเกิดความวิตกกังวลไปทัว่ ว่า อนาคตของโลกและมนุษยชาติ จะเป็นอย่างไรต่อไป จะสามารถดำรงอยูอ่ ย่างเป็นปกติสขุ ได้ตอ่ ไป อีกนานเท่าใด
“ความพอเพียง ฯ”
4
ปรัชญา "เศรษฐกิจพอเพียง" จึงเปรียบเสมือนแสงสว่าง ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงเวลาที่เหมาะสม ในช่วงที่แนวทางการพัฒนา ทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจุบนั กำลังจะถึงทางตัน ซึง่ เป็นทีน่ า่ ยินดียง่ิ ว่า สหประชาชาติกไ็ ด้รบั รูแ้ ละมองเห็นว่า แนวทางการพัฒนาทีจ่ ะต้อง เปลีย่ นแปลงต่อไปในอนาคตอันใกล้น้ี แนวทางของ "เศรษฐกิจพอเพียง" ที ่ เ น้ น ความสมดุ ล ความพอประมาณ ความมี เ หตุ ผ ล สำนึ ก ใน คุ ณ ธรรม และการมี ภ ู ม ิ ค ุ ้ ม กั น ในตั ว ที ่ ด ี พอที ่ จ ะต้ า นทานและ ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ จากกระแสโลกาภิวัตน์ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ริเริ่มและพระราชทานแก่พสกนิกร ชาวไทยมาโดยตลอด จะเป็นแนวทางที่เป็นตัวอย่างสำคัญในการ พัฒนาของโลกต่อไปในอนาคต เพือ่ ประโยชน์และความผาสุกของ ชาวโลกอย่างยั่งยืน
" เศรษฐกิจพอเพียง " คือ อะไร ? ขอนำบทความ "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" ทีท่ รง พระกรุณาปรับปรุงแก้ไข และพระราชทานเผยแพร่เพือ่ เป็นแนวทาง ปฏิบัติงานของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิ จ และ สังคมแห่งชาติ และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนทั่วไป เมือ่ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 มาลงเป็นบทตัง้ เพือ่ เป็นแนวในการ พิจารณาให้ลุ่มลึกต่อไป
“ความพอเพียง ฯ”
5
"เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นปรัชญาชีถ้ งึ แนวทาง การดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการ พัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพือ่ ให้กา้ วทันต่อยุค โลกาภิวัตน์ "ความพอเพียง" หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นทีจ่ ะต้องมีภมู คิ มุ้ กัน ในตัวทีด่ พ ี อสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆอันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกภายใน ทัง้ นีต้ อ้ งอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและ ความระมัดระวังอย่างยิง่ ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ ในการวางแผนและดำเนินการทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มจี ติ สำนึกในคุณธรรม ความซือ่ สัตย์สจุ ริต และให้มี ความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนิ น ชี ว ิ ต ด้ ว ยความอดทน ความเพียร มีสติปญ ั ญาและความรอบคอบ เพือ่ ให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับความเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
“ความพอเพียง ฯ”
6
หลักทีเ่ ป็นรากฐานของ "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ตามแนวพระราชดำรัส หลักทีเ่ ป็นรากฐานของ "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ตาม ทีท่ รงพระราชทาน กล่าวโดยสรุปมี 3 หัวข้อใหญ่ คือ 1. ความพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล 3. การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี พอทีจ่ ะต้านทานและลดผล กระทบจากการเปลีย่ นแปลงต่างๆ จากกระแสโลกาภิวตั น์ หมายความว่า การจะกระทำกิจกรรมใด ๆ ก็ตาม จะต้อง คำนึงถึงเรือ่ ง "ความพอประมาณ" ก่อน เป็นประการแรก กล่าวคือ ให้คำนึงถึงศักยภาพหรือสิง่ ต่าง ๆทีบ่ คุ คล องค์กร หรือประเทศชาติ มีอยูจ่ ริงเสียก่อน ซึง่ ส่วนนีจ้ ะเป็นต้นทุนสำคัญในการดำเนินการ ต่างๆ ต่อไป เช่น ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนในเรือ่ งความรูค้ วามสามารถ และประสบการณ์ ต้นทุนในด้านทรัพยากรธรรมชาติ ต้นทุนในลักษณะ ภูมิประเทศและภูมิอากาศ หรือแม้แต่ต้นทุนที่เป็นนามธรรม เช่น ความเชือ่ ขนบประเพณี วิถกี ารดำเนินชีวติ ทางวัฒนธรรม เป็นต้น "ความพอประมาณ" ในทีน่ ้ี หมายถึง ไม่ทำอะไรทีเ่ กินตัว หรือเกินเลยต้นทุนทีม่ อี ยู่ ไม่ทำด้วยความโลภหรือเล็งผลเลิศ จนเกินไป ไม่กอ่ หนีส้ นิ โดยไม่จำเป็น แต่จะต้องพิจารณาจากต้นทุน ทีม่ อี ยู่ แล้วดำเนินการไปให้เหมาะสมและสอดคล้องกับต้นทุน ที่มีอยู่จริง ซึ ่ ง จะทำให้ ส ิ ่ ง ที ่ ท ำสามารถดำรงอยู ่ ใ นลั ก ษณะที ่ พึง่ ตนเองได้ อย่างทีเ่ รียกว่า "ไม่ตอ้ งยืมจมูกคนอืน่ หายใจ" “ความพอเพียง ฯ”
7
"ความมีเหตุผล" หมายถึง ไม่ทำด้วยอารมณ์หรือ ความรูส้ กึ ไม่ทำตามกันด้วยความเห่อหรือตามแฟชัน่ แต่ตอ้ งแสวง หาความรู้ และทำด้วยความรูเ้ ท่าทันและรูจ้ ริงในสิง่ ทีท่ ำ และมี จุดมุง่ หมายในการกระทำทีช่ ดั เจน ตลอดจน รูจ้ กั เลือกเฟ้นระบบ กระบวนวิธี เครือ่ งมืออุปกรณ์ และเทคโนโลยี เป็นต้น ให้เหมาะสม กับความพอประมาณทีเ่ ป็นอยู่ "การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี ฯ” หมายถึง ความมัน่ คงและ ยัง่ ยืนในกิจกรรมหรือสิง่ ทีท่ ำ ซึง่ อันทีจ่ ริง "ความพอประมาณ" และ "ความมีเหตุผล" เป็นปัจจัยหลักหรือฐานรากอันแข็งแกร่ง ทีจ่ ะทำให้ เกิดภูมคิ มุ้ กันทีด่ ใี นตัวอยูแ่ ล้ว แต่อย่างไรก็ตามเนือ่ งจากสิง่ ต่าง ๆ รวมถึงสังคมมีความเคลือ่ นไหวและเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา จึง จำเป็นต้องติดตามความเคลือ่ นไหวและความเปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ และอาจจำเป็นต้องปรับปรุงระบบ กระบวนวิธี พัฒนาบุคลากร ฯลฯ อยูเ่ ป็นระยะๆ เพือ่ ให้กจิ กรรมหรือสิง่ ทีก่ ระทำสามารถดำรงอยูไ่ ด้ และก้าวทันในความเปลีย่ นแปลง ไม่ถูกผลกระทบจากความ เปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ รากฐานของ "เศรษฐกิจพอเพียง" ทัง้ 3 หัวข้อดังทีก่ ล่าวแล้ว ยังได้ตรัสแนะนำอีกว่า แม้รหู้ ลักดังทีว่ า่ นีแ้ ล้ว ก็ใช่วา่ จะนิง่ นอนใจได้ แต่ยังจะต้องกระทำไปด้วยความไม่ประมาท ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวังอยูเ่ สมอ ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต ความเพียร ความอดทน ด้วยสติและปัญญาและจิตสำนึกในคุณธรรม เพือ่ ทีจ่ ะให้ประสบผล สำเร็จด้วยดี
“ความพอเพียง ฯ”
8
ดังนั้น "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” จึงไม่ใช่เรื่อง การหันกลับไปใช้ชีวิตที่กินน้อย - ใช้น้อย ดำรงชีพอยู่กับ ธรรมชาติแบบดัง้ เดิม โดยปฏิเสธความเจริญหรือเทคโนโลยี สมัยใหม่ แต่เป็นเรือ่ งของการรูเ้ ท่าทัน รูจ้ กั เลือกเฟ้น และรูจ้ กั ปรับตัวให้เหมาะสมกับยุคสมัยอยู่เสมอ ให้สามารถดำรงอยู่ ได้อย่างปกติสขุ ด้วยความสามารถทีพ ่ ง่ึ ตนเองได้ และยืนหยัด อย่างมั่นคงและยั่งยืน นอกจากนัน้ ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กบั ทุกกิจกรรม ของชีวิต ทั้งในด้านการใช้ชีวิตครอบครัว การประกอบอาชีพ หรือ การทำธุรกิจในระดับต่าง ๆ แม้แต่ในเรือ่ งของการจัดระบบการศึกษา การบริ ห ารและพั ฒ นาประเทศ ไม่ ไ ด้ จ ำกั ด อยู ่ แ ต่ ใ นเรื ่ อ งของ "เศรษฐกิจ" เพียงอย่างเดียว
“ความพอเพียง ฯ”
9
" ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง " คือ หลักสัปปุรสิ ธรรม 7 ในพระพุทธศาสนา เมือ่ พิจารณา"ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" โดยละเอียดแล้ว จะเห็นได้ว่า มีความสอดคล้ อ งและเป็ น อั น หนึ ่ ง อั น เดี ย วกันกับ หลักธรรม คือ "สัปปุรสิ ธรรม 7" ทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้เป็นอย่างมาก หรืออาจกล่าวได้วา่ "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" เป็นการอธิบาย "สัปปุรสิ ธรรม 7" ในลักษณะประยุกต์นน่ั เอง "สัปปุรสิ ธรรม7" มีความหมายว่า "ธรรมของสัตบุรษุ , ธรรมทีท่ ำให้เป็นสัตบุรษุ , คุณสมบัตขิ องคนดี , ธรรมของคนดี" กล่าวโดยสรุป หมายถึงธรรม 7 ประการที่ทำให้เรียกบุคคล ได้ว่าเป็น "คนดี" หรือ บุคคลที่จะได้รับการยกย่องว่าเป็นคนดีที่ แท้จริงตามหลักพุทธศาสนาแล้ว จะต้องเป็นผูท้ ป่ี ระกอบด้วยคุณสมบัติ 7 ประการ ดังนี้ คือ 1. ธัมมัญญุตา = ความรูจ้ กั เหตุ คือ รูถ้ งึ หลักความจริง หรือ เหตุปจั จัยทีเ่ ป็นกฎเกณฑ์หรือเงือ่ นไขของสิง่ ต่าง ๆ 2. อัตถัญญุตา = ความรูจ้ กั ผล คือ รูถ้ งึ ความมุง่ หมาย หรือ อรรถประโยชน์ หรือคุณค่าทีแ่ ท้จริงของสิง่ ต่าง ๆ 3. อัตตัญญุตา=ความรูจ้ กั ตน คือ รูถ้ งึ ฐานะหรือกำลังในด้าน ต่าง ๆ ของตนทีม่ อี ยู่ เช่น วัย เพศ นิสยั สถานภาพทางสังคม กำลังทรัพย์ ความรู้ ความสามารถ ความถนัด เป็นต้น 4. มัตตัญญุตา=ความรูจ้ กั ประมาณ คือรูถ้ งึ ความพอเหมาะ พอดีในการกระทำสิง่ ต่างๆ ไม่มากเกินไปหรือไม่นอ้ ยเกินไป “ความพอเพียง ฯ”
10
5. กาลัญญุตา = ความรูจ้ กั กาล คือ รู้จักใช้เวลาให้ถูกต้อง ให้ตรงเวลา ให้เป็นเวลา ให้ทนั เวลา ให้พอเวลา ให้เหมาะเวลา เป็นต้น 6. ปริสญ ั ญุตา = ความรูจ้ กั ชุมชน คือ รูจ้ กั ในเรือ่ งความเชือ่ ขนบประเพณี วัฒนธรรมของชุมชนหรือรูเ้ ท่าทันความเป็นไป ของสังคม 7. ปุคคลัญญุตา = ความรูจ้ กั บุคคล คือ รูจ้ กั ความแตกต่าง ของบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องด้วย เช่น โดยอัธยาศัย ความสามารถ ความถนัด เป็นต้น "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ตามแนวพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั นัน้ ได้ทรงประยุกต์หลักธรรมในหมวด "สัปปุริสธรรม 7" นี้ ให้ย่นย่อมาเหลือเป็น 3 หัวข้อ คล้ายกับที่ พระพุทธองค์ได้ตรัสประยุกต์และย่นย่ออริยมรรคมีองค์ 8 ให้เหลือ เพียง 3 หัวข้อ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ซึง่ สามารถนำมาเปรียบ เทียบกันได้ดงั นี้ 1. ความพอประมาณ = ความรูจ้ กั ตน + ความรูจ้ กั ประมาณ 2. ความมีเหตุผล = ความรูจ้ กั เหตุ + ความรูจ้ กั ผล 3. การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ฯี = ความรูจ้ กั กาล + ความรูจ้ กั ชุมชน + ความรูจ้ กั บุคคล โดยได้ทรงแนะนำให้พจิ ารณาเรือ่ งความพอประมาณก่อน เป็นอันดับแรก “ความพอเพียง ฯ”
11
กล่าวคือ ให้เริม่ ต้นจากการพิจารณาต้นทุนหรือสิง่ ต่าง ๆ ที่ตนเองมีอยู่จริง (=รู้จักตน + รู้จักประมาณ) จากนัน้ จึงเลือกเฟ้น วิธกี ารหรือกระบวนการดำเนินการต่างๆ (=รู้จักเหตุ) และกำหนด เป้าหมายให้เหมาะสมกับต้นทุนทีม่ อี ยู่ (=รูจ้ กั ผล) ก็จะทำให้สามารถ ดำเนินการในเรื่องนั้น ๆ ได้ด้วยตนเอง คือ สามารถพึ ่ ง ตนเองได้ ไม่ตอ้ งตกอยูใ่ นลักษณะยืมจมูกคนอืน่ หายใจ และในที่สุดก็ยังต้อง มีความระมัดระวังติดตามความเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆอยู่เสมอ ซึ่งสาระสำคัญที่จะต้องเฝ้าติดตาม ก็คอื เรือ่ งของเวลาหรือยุคสมัย (=รู้จักกาล) ตลอดจนเรื่องของบุคคล (=รู้จักบุคคล) และสังคม (=รู้จักชุมชน) ทีม่ คี วามเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา อีกประการหนึง่ ในความหมายของ "สัปปุรสิ ธรรม 7" ซึง่ ให้ไว้ว่า คือ "คุณสมบัติของคนดี" เราจึงสามารถนำไปใช้เป็น หลักเกณฑ์ในการพิจารณาตรวจสอบ "คนดี" และสามารถเลือกเฟ้น "คนดี" ให้มาเป็น "ผู้นำ" ของสังคมสนองพระบรมราโชวาทที่ได้ พระราชทานไว้ ให้สมั ฤทธิผลเป็นจริงขึน้ มาได้….... “ ในบ้านเมืองนั้นมีทั้งคนดีและคนไม่ดี ไม่ ม ี ใครจะทำให้ ท ุ ก คนเป็ น คนดี ได้ท ั ้ ง หมด การทำให้บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย จึงมิใช่การทำให้ทกุ คนเป็นคนดี หากแต่อยู่ที่ การส่งเสริมคนดี ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอำนาจ ไม่ให้ก่อ ความเดือดร้อนวุน่ วายได้ ” “ความพอเพียง ฯ”
12
ทำไมจึงต้อง "พอเพียง " คำว่า "พอเพียง" ในทีน่ ้ี มีความหมายอย่างทีต่ รัสอธิบาย สัน้ ๆไว้วา่ คือ "การดำเนินไปในทางสายกลาง" ซึง่ อาจให้ความหมาย อย่างง่าย ๆ ว่า "ไม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกินไป" แต่ทง้ั นีต้ อ้ ง เป็นไปตามกฎเกณฑ์ ข องธรรมชาติในเรื่องนั้น ๆ ไม่ใช่คิด เอาเองหรือว่าเอาเองตามอารมณ์หรือความรู้สึก หากจะเข้าใจเรื่องนี้ให้ชัดยิ่งขึ้น ขอแนะนำให้พิจารณา เรื่อง "ทางสายกลาง" หรือ "มัชฌิมาปฏิปทา" ที่พระพุทธเจ้า ตรัสไว้ ซึง่ ได้แสดงไว้ชดั ว่า คือ "อริยมรรค มีองค์ 8" เป็นทางสายกลาง ทีจ่ ะนำไปสูค่ วามดับสิน้ แห่งทุกข์หรือปัญหาอย่างสิน้ เชิง โดยทาง สายนี้ประกอบไปด้วยความถูกต้อง 8 ประการ อาทิ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นถูกต้อง) เป็นต้น ซึง่ จะเห็นว่าทัง้ 8 องค์ มีคำว่า "สัมมา" ซึง่ แปลว่า "ถูกต้อง" นำอยูเ่ สมอ ดังนัน้ ในเรือ่ งทางสายกลางนี้ จึงเป็นเรือ่ งทีต่ ง้ั อยูบ่ น พืน้ ฐานของ "ความถูกต้อง" หรือ "กฎเกณฑ์" ของธรรมชาติ ในเรือ่ งนัน้ ๆ เป็นสำคัญ หากไม่รถู้ งึ เรือ่ งเหล่านีแ้ ล้ว ก็เป็นอันว่าไม่สามารถ ดำเนินไปในทางสายกลางได้เลย ในปัจจุบนั เราสามารถเข้าใจเรือ่ ง "ความพอเพียง" หรือทีว่ า่ "ไม่ น ้ อ ยเกิ น ไป และไม่มากเกินไป" ได้ ง ่ า ยขึ ้ น โดยเฉพาะผลการ ศึกษาและวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ ซึง่ ทำให้รมู้ ากขึน้ ๆ ว่า ความเป็นไป ของธรรมชาติลว้ นเป็นไปตามกฎของธรรมชาติ โดยเฉพาะธรรมชาติ “ความพอเพียง ฯ”
13
ของสิง่ ทีม่ ชี วี ติ ทัง้ หลาย จะดำรงอยูร่ อดหรือดำรงอยูเ่ ป็นปกติสขุ ได้ ต้องอาศัยหรือขึน้ อยูก่ บั "ความพอเพียง - ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มาก เกินไป" เป็นสำคัญ ซึง่ จะได้กล่าวให้ละเอียดในหัวข้อถัดไป กล่าวอีกนัยหนึง่ หากไม่มี “ความพอเพียง-ไม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกินไป" ตามประเภทของธรรมชาติของสิง่ มีชวี ติ นัน้ ๆ ต้องการแล้ว สิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ก็ไม่สามารถอุบัติและ ดำรงอยูไ่ ด้ แต่สำหรับสิง่ ทีไ่ ม่มชี วี ติ แล้วไม่มคี วามจำเป็นใด ๆ ทีจ่ ะ ต้องเกีย่ วข้องในเรือ่ งของ "ความพอเพียง" เลย
"ความพอเพียง" ของธรรมชาติ เป็นจุดกำเนิดของชีวติ การกำเนิดของสิง่ มีชวี ติ บนผืนพิภพนัน้ จะเริม่ ต้น ขึน้ ได้กด็ ว้ ยจากการจัดให้เกิด "ความพอเพียง-ไม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกินไป" ของสิง่ ต่าง ๆ ในธรรมชาติเสียก่อน โดยเริม่ จากการมีความพอเพียงหรือความสมดุลในเรือ่ งของ ธาตุพน้ื ฐานทัง้ 4 (กล่าวตามหลักพุทธศาสนา) คือ ธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุลม ธาตุไฟ ซึง่ ในหลักธรรมได้แสดงไว้ชดั ว่า ธาตุไฟ เป็นธาตุท่ี สำคัญทีส่ ดุ ทีเ่ ป็นตัวควบคุมความเปลีย่ นแปลงของธาตุอน่ื ๆ ดังนัน้ จึงต้องเริม่ ต้นทีก่ ารมีธาตุไฟทีพ ่ อเพียง ทีไ่ ม่นอ้ ย เกินไป และไม่มากเกินไป คือ ไม่เย็นเกินไป หรือไม่รอ้ นเกินไป ธาตุไฟทีพ่ อเพียงตามธรรมชาตินน้ั พิจารณาจากอะไร ? ขอเสนอให้พจิ ารณาจาก ธาตุนำ้ “ความพอเพียง ฯ”
14
กล่าวคือ ธาตุไฟ พอเพียง ในขนาดที่ทำให้ธาตุน้ำ สามารถดำรงอยู่ได้ 3 สถานะ ในบรรยากาศของธรรมชาติ คือ ของแข็ง (น้ำแข็งหรือหิมะ) , ของเหลว และก๊าซ (ไอน้ำ) ดังนัน้ อาจกล่าวได้วา่ ในแง่ของดาวเคราะห์ หากมีการ วิวฒ ั นาการจนกระทั่งสามารถมีน้ำทั้ง 3 สถานะอยู่ในบรรยากาศ ตามธรรมชาติแล้ว ก็เป็นสิง่ บอกได้วา่ ดาวเคราะห์ดวงนั้นมีความ พอเพียงเหมาะสมทีจ่ ะรองรับการเกิดขึน้ ของสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หลายได้แล้ว ทำไม ธาตุนำ้ จึงต้องมี 3 สถานะในบรรยากาศของ ธรรมชาติ ก็เพือ่ ทีธ่ รรมชาติจะสามารถกระจายน้ำไปได้อย่างทัว่ ถึง บนผืนพิภพ (โปรดอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจากหนังสือ "ความหมาย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการพัฒนามนุษย์ทส่ี มบูรณ์แบบ" หน้า 10 - 17 จัดพิมพ์โดยธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) โดยธาตุนำ้
จะทำหน้าทีเ่ ป็นตัวทำละลายทีส่ ำคัญ ทีท่ ำให้สารต่างๆ ละลาย ผสมผสานและคลุกเคล้ากัน จนสามารถรวมตัวกันและก่อตัว เป็นสิง่ ต่าง ๆ ขึน้ มาได้ เมือ่ ธาตุไฟและธาตุนำ้ อยูใ่ นภาวะพอเพียงอย่างที่กล่าวแล้ว ธาตุลมทีใ่ นหลักธรรมแสดงว่า เป็นเรื่องของพลังในการขับเคลื่อน หรือเคลือ่ นไหวของสิง่ ต่างๆ ก็อยูใ่ นภาวะทีพ่ อเพียงไปด้วย กล่าวคือ เกิดสิ่งที่เรียกว่า “ปราณ” หรือ “พลังแห่งชีวิต” ขึ้นในธาตุลม จึงพร้อมทีจ่ ะขับเคลือ่ นขบวนการต่าง ๆ ของชีวิตให้ดำเนินต่อไปได้ และทำให้ธาตุดนิ พอเพียง กล่าวคือมีคุณสมบัติที่จะรวมตัวกันและ ก่อกำเนิดเป็น “สารอินทรีย”์ ซึง่ เป็นโครงสร้างของสิง่ มีชวี ติ “ความพอเพียง ฯ”
15
วงจรการกำเนิดและดำรงอยูข่ องสิง่ มีชวี ติ ในธรรมชาติ ขึน้ อยูก่ บั "ความพอเพียง" เมือ่ ธาตุดนิ น้ำ ลม ไฟ อยูใ่ นภาวะพอเพียงหรืออีกนัยหนึง่ มีความสมดุล จึงสามารถรองรับการอุบตั ิและดำรงอยูข่ องสิง่ มีชวี ติ ได้ วงจรการเกิดขึน้ ของสิง่ มีชวี ติ เริม่ ต้นด้วยการกำเนิด ของ "พืช" ก่อน เพือ่ อะไร ? เพือ่ แปรสารวัตถุ (ดิน-น้ำ-ลม-ไฟ ทีอ่ ยูใ่ นภาวะพอเพียง) ทีเ่ ป็นสารอนินทรีย์ ให้อยูใ่ นสภาพของสารอินทรีย์ ซึง่ เป็นสารทีเ่ ป็น โครงสร้างของสิง่ มีชวี ติ , เพือ่ เป็น “ป่าต้นน้ำ” บนภูเขาสูง ซึง่ เป็นแหล่ง กักเก็บน้ำจืดและปล่ อ ยน้ ำ ไปตามแม่ น ้ ำ ลำคลอง ไหลหล่อเลี้ยง สิง่ มีชวี ติ ทัง้ หลายทีอ่ ยูบ่ นผืนแผ่นดิน , เพือ่ เป็น “ป่าไม้” ทีเ่ ป็นแหล่ง ให้ความชุม่ ชืน้ และความเย็นซึง่ ทำหน้าทีเ่ ป็นตัวปรับอุณหภูมขิ องโลก ตลอดจนยึดหน้าดินของภูเขาไม่ให้ทลายลงมา และเพือ่ สร้าง สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม คือให้มปี จั จัย 4 ในธรรมชาติซง่ึ เป็น สิ่งจำเป็นพื ้ น ฐานต่ อ การดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค อย่างพอเพียง เมือ่ มีพชื พอเพียงแล้วในระดับหนึง่ ต่อจากนัน้ สัตว์ตา่ ง ๆ (รวมถึงมนุษย์) จึงก่อกำเนิดต่อขึน้ มาได้ เพราะสัตว์ไม่สามารถ สร้างสารอินทรียด์ ว้ ยตนเองได้ ต้องอาศัยจากพืช และทีส่ ดุ กลไกของธรรมชาติ ได้สร้างสิง่ ทีเ่ รียกว่า "จุลนิ ทรีย"์ ขึน้ มา เพือ่ แปรสภาพซากพืชซากสัตว์ทต่ี ายแล้ว ให้กลับคืนเป็นดินน้ำ-ลม-ไฟ เพือ่ รักษาความสมดุลของธรรมชาติตอ่ ไป “ความพอเพียง ฯ”
16
จะเห็นได้วา่ โครงสร้างหรือระบบของธรรมชาติของ สิง่ มีชวี ติ ทัง้ หมด ตั้งอยู่บนฐานของ "ความพอเพียง" รองรับ กันมาเป็นชัน้ ๆ ตามลำดับ และจะเห็นได้วา่ ในระบบการจัดการ ของธรรมชาติ ไม่มสี ง่ิ ทีเ่ รียกว่า "ของเสีย" ในธรรมชาติ เกิดขึน้ เป็น ของตกค้าง และกลายเป็นมลพิษที ่ จ ะมาทำลายสิ ่ ง แวดล้ อ มใน ธรรมชาติเลย ซึง่ เป็นสิง่ ทีน่ า่ สนใจมาก ! นัยที่ ระบบและกระบวนวิธกี ารจัดการของธรรมชาติ ไม่ได้สร้างสิ่งที่เป็น "ของเสีย" หรือ "มลพิษ" ให้เกิดขึ้นนี้ กล่าวได้วา่ เป็นผลทีส่ ะท้อนให้เห็นถึงสัมฤทธิผลและความยิง่ ใหญ่ ของการจัดการด้วย "ความพอเพียง" ของธรรมชาติ ซึง่ ควรจะ นำมาเป็นอุทาหรณ์และบทเรียนสำหรับมนุษย์ทจ่ี ะทำหรือสร้าง กิจกรรมอะไรต่างๆ ก็ตามต่อไป
วิถกี ารดำรงอยูข่ องสิง่ มีชวี ติ ก็ขน้ ึ อยูก่ บั "ความพอเพียง" เมือ่ พิจารณาสิง่ มีชวี ติ เป็นรายประเภท หรือลงรายละเอียด ไปถึงชีวติ ในระดับจุลภาคทีเ่ ป็นสารชีวเคมี ก็จะเห็นว่าวิถกี ารดำรงอยู่ ของสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หมด ล้วนตัง้ อยูบ่ นฐานของ "ความพอเพียง" เช่นกัน พืชบางอย่างต้องการน้ำ , แสงแดด เป็นต้น มาก - น้อย ไม่เท่ากัน ,ต้องการแร่ธาตุหรือคุณภาพของดินที่จืด ทีเ่ ค็ม ทีเ่ ปรีย้ ว ไม่เท่ากัน เหล่านี้ก็คือเรื่องของ "ความพอเพี ย ง" ที่พืชแต่ละชนิด มีความต้องการตามธรรมชาติทแ่ี ตกต่างกัน หากมีมากเกินไปหรือน้อย เกินไป พืชชนิดนัน้ ๆ ก็จะไม่แข็งแรง ไม่งอกงาม หรืออาจตายได้ “ความพอเพียง ฯ”
17
ในสัตว์กเ็ ช่นเดียวกัน หากกิน - นอน ฯลฯ หรืออยูใ่ นอิริยาบถใด มากเกินไป-น้อยเกินไป ก็ลว้ นมีผลต่อสุขภาพและการดำรงอยูท่ ง้ั นัน้ หรืออย่างร่างกายของมนุษย์ ซึ่งปัจจุบนั วิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ ค้นพบอย่างกว้างขวางถึงค่าสูงและต่ำของปริมาณสารชีวเคมีซึ่งเป็น ค่าปกติของร่างกายมนุษย์ เช่น ระดับน้ำตาลในเลือด ปกติจะมีค่า ระหว่าง 70 -110 mg/dL หรือระดับของ Cholesterol ในเลือดซึง่ ปกติ จะมีคา่ ระหว่าง 120 - 220 mg/dL หากตรวจพบว่ามีคา่ ทีต่ ำ่ กว่าหรือ สูงกว่าค่าปกติน้ี ก็เป็นสัญญาณเตือนว่าระบบของร่างกายเริม่ ไม่ปกติแล้ว กำลังมีอันตรายที่จะบั่นทอนความแข็งแรงและสุขภาพเกิดขึ้นแล้ว จำเป็นต้องหาสาเหตุเพือ่ ป้องกันและรักษาสุขภาพต่อไป ค่ า สู ง และต่ ำ ที่ค้นพบนี ้ อั น ที ่ จ ริ ง ก็ ค ื อ เรื ่ อ งของ "ความพอเพียง - ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไป" นี้เอง ซึง่ ธรรมชาติมกี ฎเกณฑ์ให้สิ่งมีชีวิตต้องดำรงชีพอยู่ในหลักของ "ความพอเพียง" จึงจะอยูไ่ ด้อย่างปกติสขุ และยัง่ ยืน ในปั จ จุ บ ั น มนุ ษ ย์ได้เรียนรู้ในเรื่องภาวะความพอเพียง ที่เกี่ยวข้องกับระบบในร่างกายของมนุษย์อย่างกว้างขวางและลึกซึ้ง ทั้งในเรื่องของอวัยวะตลอดจนสารชีวเคมี ว่าจะต้องมีรูปร่างและ ลักษณะอย่างไร มีจงั หวะการทำงานอย่างไร มีจำนวนหรือปริมาณ เท่าใดเป็นต้น จึงจะอยูใ่ นภาวะพอเพียงทีจ่ ะทำให้ดำรงอยูไ่ ด้โดยปกติสขุ เช่น ตับ มีหน้าที่สำคัญในการกำจัดของเสียในร่างกาย เป็นแหล่งสำรองเลือดและพลังงานที่สำคัญ เป็นแหล่งสร้างน้ำดี เพื่อช่วยในการย่อยอาหาร เป็นต้น ตับที่เป็นปกติจะมีขนาดและ ลักษณะเป็นอย่างหนึง่ หากมีขนาดโตเกินปกติหรือมีรปู ร่างลักษณะ “ความพอเพียง ฯ”
18
ผิดไปจากปกติ หรือมีปริมาณความเข้มข้นของสารชีวเคมีบางอย่าง ทีม่ ากเกินไปหรือน้อยเกินไป ก็เป็นสิ่งบอกเหตุถึงพยาธิสภาพหรือ ความผิดปกติของร่างกายที่จะต้องตรวจเพื่อป้องกันและรักษาต่อไป เคยได้ยนิ มาว่า ในบุคคลทีเ่ ป็น "ตับแข็ง" ที่เกิดจากการดืม่ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์จำนวนมากและเป็นเวลานาน ทำให้เซล ของตับถูกทำลายไปเรือ่ ย ๆ ส่วนของตับทีแ่ ข็งก็คอื ส่วนของเซลตับ ทีถ่ กู ทำลายหรือตายไปนัน่ เอง เซลของตับแม้ถกู ทำลายไปถึง 2 ใน 3 ส่วน เหลืออยูเ่ พียง 1 ใน 3 ส่วนเท่านัน้ ก็ยังสามารถทำหน้าที่ให้ ร่างกายดำรงชีพต่อไปได้ ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตทั้งหลายมีภาวะของความทนทาน และความสามารถในการยืนหยัดหรือต่อสู้ เพือ่ การดำรงอยูอ่ ย่างน่า อัศจรรย์ ซึง่ ส่วนนีม้ ที ง้ั ข้อดีและข้อเสีย ในส่วนของ “ข้อดี” คือ ทำให้สามารถประคองชีวติ ให้ดำรง อยู่ต่อไปได้นานยิ่งขึ้น ในส่วนของ “ข้อเสีย” คือ ทำให้เกิดความประมาท ไม่เกิด ความกระตือรือล้นและขวนขวายในการปรับปรุงหรือแก้ไข ตัง้ แต่เริม่ ต้นที่มีปัญหาหรือพยาธิสภาพเกิดขึ้น เราจึงเห็นได้โดยทั่วไป เช่น จะไปโรงพยาบาลก็ตอ่ เมือ่ มีอาการหนักแล้ว หรือแม้แต่ในเรื่องของ ธรรมชาติแวดล้อมก็เช่นเดียวกัน ต้องรอให้เกิดภัยพิบตั มิ าก ๆ และให้ ถึงตัวเสียก่อน จึงจะเกิดความรูส้ กึ และสำนึกขึน้ มาว่า จะต้องทำอะไร เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม
“ความพอเพียง ฯ”
19
"ภาวะความพอเพียง" ในระบบของธรรมชาติ ในระบบของสิง่ แวดล้อมธรรมชาติ เมื่อพิจารณาแล้ว จะเห็นว่ามีลกั ษณะเป็นอย่างเดียวกันกับระบบในร่างกายของมนุษย์ ซึง่ น่าเสียดายเป็นอย่างมากว่า มนุษย์โดยทัว่ ไปยังศึกษาและให้ความสำคัญ กับเรือ่ ง "ภาวะความพอเพียง" ในระบบของธรรมชาตินอ้ ยเกินไป ในธรรมชาติอย่างที่เห็น ๆ เท่าที่สังเกตได้ มีดวงอาทิตย์ มีโลก มีดวงจันทร์ มีแสงสว่าง มีความร้อน มีความมืด-สว่าง มีแผ่นดิน มีแผ่นน้ำ มีเมฆ มีฝน มีลม มีหมิ ะ มีนำ้ แข็ง มีภเู ขา มีปา่ ไม้ทง้ั บน ภูเขา -บนพืน้ ราบและชายเลน มีแม่นำ้ -ลำคลอง เป็นต้น สิง่ ต่าง ๆ ทีก่ ล่าวถึงข้างต้น อาจมองได้วา่ อันทีจ่ ริงก็คอื "ระบบอวัยวะของธรรมชาติ" ที่มีหน้าที่และกำลังทำหน้าที่เพื่อ รักษาสิง่ ต่าง ๆ ทีม่ อี ยูใ่ นธรรมชาติ ให้สามารถดำรงอยูไ่ ด้อย่าง เป็นปกติสขุ เช่นเดียวกับ "ระบบอวัยวะในร่างกายมนุษย์" ทีม่ หี น้าที่ และกำลังทำหน้าทีเ่ พือ่ รักษาชีวติ ของมนุษย์ ให้สามารถอยูไ่ ด้อย่าง เป็นปกติสขุ น่าเสียดาย ! ทีม่ นุษย์ไม่ได้มองหรือตระหนักรูใ้ นเรือ่ งนี้ เท่าใดว่า ธรรมชาติใด ? มีหน้าทีอ่ ะไร ? จะต้องมีมาก - น้อย เพียงใด ? จึงจะทำให้ธรรมชาติสามารถทำหน้าทีไ่ ด้เป็นปกติ และหากธรรมชาติใด ? ถูกทำลายไป จะเกิดผลกับธรรมชาติ โดยรวมอย่างไร ? เป็นต้น
“ความพอเพียง ฯ”
20
เมือ่ มนุษย์ไม่ตระหนักรู้ จึงกระทำกับสิง่ ต่าง ๆในธรรมชาติ ตามอำเภอใจอย่างไม่ปรานีปราศรัย โดยมีตัวกระตุ้นที่สำคัญ คือ ความโลภที่ต้องการการตอบสนองในการบริโภค เพื่อความอยู่ดีกินดีของตน อย่างไม่จำกัดและไม่รู้จักพอ โดยไม่ได้รู้สึกเลยว่า สิง่ ทีก่ ระทำนี้ เป็นการทำลายระบบอวัยวะของธรรมชาติ ซึง่ จะ ส่งผลร้ายต่อการดำรงอยูข่ องสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หมด เปรียบได้กบั อวัยวะ ในร่างกายของมนุษย์ทก่ี ำลังถูกทำลาย ซึง่ จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ และความปกติสขุ ของร่างกายในทีส่ ดุ ตลอดเวลาทีผ่ า่ นมา มนุษย์เป็นสิง่ มีชวี ติ ประเภทเดียวที่ สามารถทำลายสิง่ ต่าง ๆ ในธรรมชาติได้ สัตว์อน่ื ๆ เนือ่ งจากมี ความสามารถจำกัดเพียงเท่าทีส่ ญ ั ชาตญาณให้มา จึงมีความเป็น เป็นอยูท่ ต่ี อ้ งเป็นไปตามธรรมชาติเท่านัน้ ไม่สามารถทำอะไรใหม่ หรือมากเกินไปกว่าธรรมชาติ การดำรงชีวติ ของสัตว์อน่ื ๆ จึงจะไม่มี การทำลายธรรมชาติ การทำลายธรรมชาติทผ่ี า่ นมา ทีย่ งั ไม่สง่ ผลให้เห็นชัดเจนนัก ก็เพราะยังเหลือสิง่ ต่าง ๆ ในธรรมชาติมากพอทีจ่ ะรักษา "ภาวะความ พอเพียง" หรือ ความสมดุลของธรรมชาติไว้ได้ แต่ปจั จุบนั สิง่ แวดล้อมในธรรมชาติถกู ทำลายมากเกินไป จนถึงระดับทีไ่ ม่สามารถ รักษา "ภาวะความพอเพียง" หรือ ความสมดุลของธรรมชาติ ได้อกี ต่อไป ภัยธรรมชาติตา่ ง ๆ จึงเกิดให้เห็นมากขึน้ ๆ เช่น ภัยที่เกิดจากภาวะโลกร้อน ที่เป็นเรื่องใหญ่มาก ซึ่งทำให้ดิน ฟ้า อากาศ ฤดูกาล เปลีย่ นแปลงไป , ภัยอันเกิดจากลมและพายุทก่ี อ่ ตัว ถีข่ น้ึ และรุนแรงยิง่ ขึน้ ตามลำดับ , ภัยแล้งและภัยน้ำท่วม และทีน่ า่ เป็น “ความพอเพียง ฯ”
21
ห่วงมากในอนาคตอันใกล้น้ี คือ ภัยอันเกิดจากธารน้ำแข็งของขัว้ โลก กำลังละลายอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะส่งผลให้เกาะและแผ่นดินที่อยู่ต่ำ ตามชายฝัง่ ทะเล ถูกน้ำท่วมและหายไปจากแผนที่ ตลอดจนภัยทีเ่ กิด จากการขาดแคลนน้ำจืด เพราะแหล่งต้นน้ำลำธารถูกทำลาย แม่นำ้ ลำคลองแห้ง และถูกทำให้กลายเป็นเสมือนท่อระบายน้ำทิง้ นอกจากนั้น ยังมีภัยอันเกิดจากมลพิษ ซึ่งเกิดขึ้น จากกระบวนการผลิตหรือแม้แต่ผลผลิตต่างๆ ทีม่ นุษย์สร้างขึน้ ส่งผลให้เกิดมลพิ ษ อย่ า งมหาศาลทั้งบนผืนดิน ในแหล่งน้ำ ในอากาศ ในอาหารหรือ สิง่ ของอุปโภคบริโภคต่างๆ
“ความพอเพียง ฯ”
22
แม้แต่เรือ่ งของความรูส้ กึ นึกคิด ซึง่ เป็นเรือ่ งของจิตใจ ทีเ่ ป็นนามธรรม ก็ขน้ึ อยูก่ บั "ความพอเพียง" เรื่อง "ความพอเพียง" นี้ มีความสำคัญและเข้าไป เกีย่ วข้องด้วยแม้ในเรือ่ งของนามธรรม คือ ความรูส้ กึ นึกคิด ซึ่งเป็นเรื่องของจิตใจ ตัวอย่างทีเ่ ห็นง่าย ๆ ในชีวติ ประจำวัน เช่น - ดีใจมากเกินไป อาจทำให้ชอ็ คได้ - เสียใจมากเกินไป อาจตรอมใจและถึงกับเสียชีวติ ได้ - คิดมากเกินไป อาจทำให้เป็นโรคจิตและโรคประสาทได้ - โกรธมากเกินไป อาจทำให้เส้นเลือดในสมองแตกได้ เป็นต้น ดังนั้น ในเรื่องของความรู้สึกนึกคิด ก็ยังต้องเรียนรู้และ พยายามรักษาให้อยูใ่ นภาวะทีพ่ อเพียงเช่นกัน เพือ่ ให้ความเป็นไป ในส่วนของจิตหรือเรือ่ งภายในจิต เป็นไปด้วยดีไม่เกิดปัญหา นอกจาก "ความพอเพียง" ในเรื่องของ "ปริมาณ" แล้ว ยังต้องรูจ้ กั ความพอเพียงในเรือ่ ง "คุณภาพ" ด้วย เช่น การจะทำ อะไรให้ประสบความสำเร็จ จะต้องมีองค์ประกอบที่เป็นคุณภาพ ภายในทีส่ ำคัญ 4 อย่างด้วยกัน คือ 1 ความพอใจ (ฉันทะ) 2 ความเพียร (วิรยิ ะ) 3 ความมุง่ มัน่ แน่วแน่ (จิตตะ) 4 การไตร่ตรอง (วิมงั สา) “ความพอเพียง ฯ”
23
จะขาดสิง่ หนึง่ สิง่ ใดไปไม่ได้ และยังจะต้องมีอย่างพอเพียง ต่อเรือ่ งทีท่ ำนัน้ ๆ ด้วย ในหลักของพระพุทธศาสนา มีคำทีใ่ ช้วา่ ”ภาวิตา พหุลกี ตา" ซึง่ มีความหมายว่า "อบรมให้มากๆ ทำให้มากๆ" การปฏิบตั ธิ รรม ในพระพุทธศาสนา นอกจากจะปฏิบตั ติ ามข้อธรรมแล้ว ยังจะต้อง ปฏิบัติให้มาก ๆ ให้บ่อย ๆ ให้ต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความชำนาญ จนเกิดเป็นอย่างทีเ่ รียกว่า "อินทรีย"์ (=เป็นใหญ่) หรือ"พละ"(=พลัง) จึงจะพอเพียงทีจ่ ะทำให้การปฏิบตั ธิ รรมนัน้ ๆ ประสบความสำเร็จ ขึ้นมาได้ แม้แต่เรือ่ งของการพัฒนาจิตทีล่ กึ ซึง้ เพือ่ มุง่ สูค่ วาม เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา ก็อยู่บนรากฐานของ "ความพอเพียง" เช่นกัน ซึง่ จะได้กล่าวให้ละเอียดขึน้ ในบทต่อๆ ไป เรือ่ ง "ความพอเพียง" ในทางจิตใจนี้ นับเป็นเรือ่ งที่ สำคัญทีส่ ดุ อาจกล่าวได้วา่ "ความพอเพียง" ในทางจิตใจของมนุษย์ เป็นต้นเหตุสำคัญทีท่ ำให้เกิดผลกระทบต่อ "ความพอเพียง" ต่าง ๆ ตามทีไ่ ด้กล่าวมาทัง้ หมดเป็นอย่างมาก สมดังคำสอนในพระพุทธศาสนาทีว่ า่ "ธรรมทัง้ หลายมีใจเป็นใหญ่ เป็นประธาน มีใจถึง ก่อน มีใจเป็นตัวนำ" ดังนัน้ หากมนุษย์ไม่มี "ความพอเพียง" ในทาง จิตใจแล้ว ก็ยากทีจ่ ะทำให้เกิด "ความพอเพียง" ในด้านอืน่ ๆ ได้ และเพราะมนุษย์ไม่มี "ความพอเพียง" ในทางจิตใจ นีเ้ อง จึงเป็นต้นเหตุสำคัญที่ไปทำลาย "ความพอเพียง" ในด้าน ต่างๆ จนทำให้เกิดวิกฤตการณ์และภัยพิบัติมากมายอย่างที่ กำลังประสบกันอยู่ “ความพอเพียง ฯ”
24
ความพอเพียง คือ ทางรอดของมนุษย์และสังคม ดังทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว จะเห็นได้วา่ ทุกสิง่ ในธรรมชาติ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งของสิง่ แวดล้อมในธรรมชาติ วิถกี ารดำรงอยูข่ องสิง่ มีชวี ติ ในธรรมชาติ หรือใกล้เข้ามาทีเ่ ป็นเรือ่ งของชีวติ ในทางกาย หรือแม้แต่ เรือ่ งของจิตใจ หากจะให้เป็นไปโดยปกติสขุ และยัง่ ยืนแล้ว ล้วนต้อง มีรากฐานอยูบ่ นเรือ่ ง "ความพอเพียง" ทัง้ สิน้ ทัง้ นีเ้ พราะระบบของธรรมชาติ คือ ระบบความพอเพียง หากมนุษย์ไม่ดำเนินชีวิตให้ถูกต้อง ตามหลักแห่งความ พอเพียงแล้ว มนุษย์ก็จะประสบปัญหา ความทุกข์ และภัยพิบัติ นานัปการ และนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ๆ จนถึงที่สุด คือความหายนะชนิดทีอ่ าจจะต้องมีการล้างโลกกันใหม่ เพือ่ ปรับตัว ให้กลับคืนสู่ "ความพอเพียง" ความพอเพียง จึงเป็นเรื่องสำคัญที่สุด ที่มนุษย์จะต้อง เรียนรู้และดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลัก ความพอเพียง ในเรือ่ งนัน้ ๆ มนุษย์จงึ จะสามารถดำเนินชีวติ และดำรง อยู่ได้เป็นปกติสุขและยั่งยืน หรืออาจกล่าวได้ว่า ความพอเพียง นีแ้ หละทีจ่ ะเป็นทางรอดของมนุษย์และสังคม โดยเฉพาะกับ โลกปัจจุบนั และโลกอนาคต ทีก่ ำลังสูญเสียในเรือ่ งความพอเพียง ในทุก ๆ ด้าน และต้องการความพอเพียงมาเยียวยารักษา อย่างรีบด่วน “ความพอเพียง ฯ”
25
แนวทางการประยุกต์ "ความพอเพียง" เมือ่ ได้เห็นความสำคัญในเรือ่ ง "ความพอเพียง" ว่าเป็นหัวใจ หรือรากฐานในการดำเนินและดำรงอยูข่ องชีวติ ทีเ่ ป็นปกติสขุ และยัง่ ยืน แล้ว ต่อไปจะได้เสนอแนะวิธกี ารปฏิบตั หิ รือประยุกต์ที่เกี่ยวข้องกับ เรือ่ งความพอเพียงในปริบทต่าง ๆ เพือ่ ให้เป็นตัวอย่างที่จะสามารถ นำไปปฏิบตั ไิ ด้จริงและให้บงั เกิดผลจริง ในเรือ่ งของการปฏิบตั ิ จริง ๆ แล้ว ไม่จำเป็นทีจ่ ะต้อง ไปรูแ้ ละทำเรือ่ ง "ความพอเพียง" ในทุกเรือ่ ง แต่ให้รู้จักเลือก ปฏิบตั ใิ นส่วนทีเ่ ป็นหัวใจหรือประเด็นสำคัญเท่านั้น เมื่อปฏิบัติ ในเรือ่ งเหล่านีถ้ กู ต้องแล้ว ก็จะมีผลไปถึงเรือ่ งอืน่ ๆ เองโดยอัตโนมัติ อาจจำแนกได้เป็น 4 เรือ่ งทีส่ ำคัญ คือ 1. เรือ่ งสิง่ แวดล้อมในธรรมชาติ 2. เรือ่ งทีเ่ กีย่ วเนือ่ งด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ 3. เรือ่ งการบริหารและพัฒนากาย 4. เรือ่ งการบริหารและพัฒนาจิต
“ความพอเพียง ฯ”
26
วิธกี ารประยุกต์ "ความพอเพียง" กับ สิง่ แวดล้อมในธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมในธรรมชาติ อย่างทีไ่ ด้เสนอไปแล้วว่า ขอให้ มองด้วยความเข้าใจในลักษณะทีว่ า่ เป็น “อวัยวะของธรรมชาติ” เหมือนอย่างอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ซึง่ อวัยวะต่าง ๆ นั้นล้วนเป็น สิง่ สำคัญและมีหน้าทีแ่ ตกต่างกันไป อวัยวะของร่างกายนัน้ มีทง้ั ส่วนทีเ่ ราไม่สามารถควบคุมได้ เช่น การทำงานของหัวใจ และอวัยวะภายในทัง้ หลาย และมีสว่ นที่ เราสามารถควบคุมได้ เช่น ระบบกล้ามเนือ้ ลายทีท่ ำให้อวัยวะต่างๆ สามารถเคลือ่ นไหวได้ เช่น การเดิน การหยิบ การกระพริบตา เป็นต้น จะเห็นได้ว่าการทำงานของอวัยวะที่สำคัญจริง ๆ ของร่างกายนั้น เราไม่สามารถเข้าไปควบคุมและสัง่ การได้ ซึง่ อาจนับว่าเป็นข้อดีกไ็ ด้ เพราะหากเราสามารถเข้าไปควบคุมและสั่งการได้ ร่างกายคงจะ วุน่ วายมาก และอาจจะไม่สามารถทนอยูใ่ ห้เราเข้าไปจัดการได้นาน เท่าใด สิง่ แวดล้อมในธรรมชาติก็เช่นเดียวกัน มีทง้ั ในส่วนทีเ่ รา ไม่สามารถเข้าไปบริหารและจัดการได้ ซึง่ เป็นส่วนหรืออวัยวะ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ของธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์ ลม ฝน หิมะ เป็นต้น กับส่วนที่เราสามารถเข้าไปบริหารและจัดการได้ เช่น ภูเขา ป่าไม้ แม่นำ้ -ลำคลอง เป็นต้น ดั ง ที ่ ไ ด้ ก ล่ า วไปแล้ ว ว่ า ในเรื ่ อ งของ "ความพอเพี ย ง" ในระบบของธรรมชาติ จะต้องมีความพอเพียงในเรือ่ งของ "ธาตุไฟ" ก่อน “ความพอเพียง ฯ”
27
ดังนัน้ การกระทำอะไรก็ตามที่กระทบต่อ “ธาตุไฟ” และทำให้ “ธาตุไฟ” ในธรรมชาติเกิดการเปลีย่ นแปลง คือทำให้ อุณหภูมขิ องโลกเปลีย่ นแปลงไป ดังการปรากฏของ “ภาวะโลกร้อน” ในปัจจุบนั จึงเป็นเรือ่ งใหญ่ทร่ี า้ ยแรงและสามารถส่งผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อมรวมถึงสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หมดเป็นอย่างมาก เพราะไปกระทบ ส่วนทีเ่ ป็นฐานรากทีร่ องรับความสมดุลของธรรมชาติฝา่ ยรูปธรรม ทัง้ หมด เรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งทีจ่ ะต้องตระหนักอย่างทีส่ ดุ และต้อง ช่วยกันแก้ไขอย่างรีบด่วน ก่อนทีห่ ายนะอันใหญ่หลวงจะตามมา ปัจจุบนั เป็นทีท่ ราบดีวา่ การเผาผลาญเชื้อเพลิงของ มนุษย์เพือ่ ใช้เป็นพลังงานในด้านต่างๆ เพิม่ ขึน้ อย่างมหาศาล ประกอบกับคาร์บอนไดออกไซด์ ที่เป็นผลเกิดขึน้ จากการเผา ผลาญเชือ้ เพลิงนัน้ ก่อให้เกิดปฏิกริ ยิ าเรือนกระจก กักความร้อน เอาไว้ในโลกไม่ให้ระบายออกไปในชัน้ ของบรรยากาศได้ ทำให้ความ ร้อนหรืออุณหภูมเิ ฉลีย่ ของโลกสูงขึน้ เกิดปัญหา “ภาวะโลกร้อน" ซึง่ ส่งผลทำให้ลมฟ้าอากาศ ฤดูกาล ทิศทางการพัด-ความแรงของลม ตลอดจนการไหลเวียนของแม่นำ้ ในมหาสมุทรเปลีย่ นแปลง และทีเ่ ห็น ชัดเจนคือการละลายอย่างรวดเร็วของธารน้ำแข็งบนขัว้ โลก ฯลฯ ซึง่ เป็นมหันตภัยทีน่ า่ กลัวมาก ดังนัน้ เพือ่ แก้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ นี้ มนุษย์จงึ ควรจะตระหนัก และหันมาหามาตรการต่าง ๆ ทีจ่ ะช่วยกันลดการใช้พลังงานต่าง ๆ หรือรู้จักใช้อย่างพอเพียง หัวใจสำคัญในการลดการใช้พลังงาน ในทีน่ ข้ี อเสนอ ตามทีม่ นี กั ปราชญ์บางท่านได้เคยเสนอไว้แล้ว คือ "การรูจ้ กั กิน -อยู่ แต่พอดี" “ความพอเพียง ฯ”
28
“การรูจ้ กั กิน-อยูแ่ ต่พอดี” นัน้ มีรากฐานมาจากความรู้ ความเข้าใจถึงเรือ่ งของชีวติ และคุณค่าของสิง่ ต่าง ๆ ทีม่ ตี อ่ ชีวติ อย่างถูกต้อง รูว้ า่ ชีวติ คืออะไร? ต้องการอะไร? เพือ่ อะไร? ก็จะทำให้รจู้ กั แสวงหา รูจ้ กั บริโภค ใช้สอยสิง่ ต่างๆในธรรมชาติ ให้ พ อเหมาะพอดี ก ั บ ความจำเป็ น ที ่ แ ท้ จ ริ ง ของธรรมชาติ (โปรดอ่านรายละเอียดเพิม่ เติมจากหนังสือ " ความหมาย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการพัฒนามนุษย์ทส่ี มบูรณ์แบบ" หน้า18 - 22 จัดพิมพ์โดย ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ซึง่ การบริโภคใช้สอยตามความ
จำเป็นของธรรมชาติน้ี มีไม่มากเลย ปัญหาเกิดขึ้นจากมนุษย์ บริโภคใช้สอยสิ่งต่าง ๆ ตามที ่ ต นอยากและพอใจมากกว่ า และเป็นความอยากทีไ่ ม่รจู้ กั พออีกด้วย สิง่ เหล่านีเ้ องทีเ่ ป็นต้นเหตุ สำคัญในการเผาผลาญเชือ้ เพลิง ก็เพือ่ นำไปเป็นพลังงานในการสร้าง สิ่งตอบสนองความอยากอันไม่รู้จักพอนี้เอง จนทำให้เกิดปัญหา "ภาวะโลกร้อน" ดังทีท่ กุ ชีวติ กำลังเผชิญชะตากรรมอยู่ นอกจากนัน้ "การกินอยูต่ ามความอยาก" ยังได้กอ่ ปัญหาอีก นานัปการ ทัง้ ในด้านการผลาญทรัพยากรธรรมชาติทม่ี อี ยูใ่ ห้หมดสิน้ จาก โลกไปอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดขยะหรือของเสียตกค้างทีเ่ ป็นมลพิษต่อสิง่ แวดล้อมอย่างมหาศาล และยังเป็นปัจจัยกระตุน้ ให้เกิดการแข่งขันแย่งชิง กันในสังคม ทำให้เกิดการคอรัปชัน่ และทุจริตในรูปแบบต่าง ๆ จนเกิด ความตกต่ำและเสือ่ มโทรมทางด้านจิตใจในมนุษยชาติมากขึน้ ๆ มีผรู้ บู้ างท่านถึงกับตัง้ ปณิธานในชีวติ ข้อหนึง่ ว่า "จะเพียร นำมนุษย์ให้ออกจากอำนาจของวัตถุนิยม" เพราะได้เล็งเห็นว่า ความหลงใหลในเรื่อง "การกินอยู่ตามความอยาก" นีเ้ อง ที่เป็น ปัญหาพื้นฐานของมนุษยชาติ “ความพอเพียง ฯ”
29
มีเรื่องที่ได้แสดงไว้ในพระไตรปิฎก ใน "อัคคัญญสูตร" ตอนหนึง่ ทีน่ า่ พิจารณามากและเป็นอุทาหรณ์สำคัญ กล่าวคือ .....มนุษย์ในช่วงแรก ๆ ทีก่ ำเนิดขึน้ มาบนโลก ในตอนเย็นเขาไปเก็บข้าวสาลีมาบริโภค ในตอนเช้า ข้าวสาลีชนิดนัน้ ทีม่ เี มล็ดสุกก็งอกขึน้ แทนที่ ตอนเช้า เขาพากันไปนำเอาข้าวสาลีใดมาเพือ่ บริโภคในเวลาเช้า ตอนเย็นข้าวสาลีชนิดนั้นที่มีเมล็ดสุกแล้วก็งอกขึน้ แทนที่ ไม่ปรากฏว่าบกพร่องไปเลย ต่อมามนุษย์เกิดมีความโลภขึน้ มีความคิดขึน้ มาว่า ทำไมไม่เก็บมาให้มากพอทีจ่ ะกินได้ทง้ั เช้าและ เย็นเลยทีเดียว ต่ อ มาก็เกิดมีความคิดขึ้นมาอีกว่า ทำไมไม่เก็บมาให้ ม ากพอที่จะกินได้ครั้งละ 2 วัน, ครัง้ ละ 4 วัน....ครัง้ ละ 8 วัน เมื่อเป็นดังนี ้ ข้าวสาลีทง่ี อกขึน้ มาตามธรรมชาติ ก็มไี ม่พอเพียง มนุษย์จงึ ต้องเริม่ มีการปักปันเขตแดน และต้องมีการไถเพือ่ เพาะปลูก ต่อมาก็มมี นุษย์ทห่ี วั เฉโกเกิดความคิดขึน้ มาอีกว่า ทำไมเราจะต้องไปเหน็ดเหนื่อยกับการไถเพาะปลูก ก็ขา้ วสาลีในยุง้ ฉางของข้างบ้านมีอยูแ่ ล้ว เราไปขโมย เอาเลยดีกว่า .....ความเสือ่ มโทรมทัง้ ในส่วนของธรรมชาติและ สังคมมนุษย์ ก็เกิดมากขึน้ ๆ ตามลำดับ “ความพอเพียง ฯ”
30
จากพระสูตรข้างต้นได้สะท้อนให้เห็นว่า หากมนุษย์ "กินอยูแ่ ต่พอดี" ธรรมชาติอนั กว้างใหญ่ไพศาล จะมีสง่ิ ต่างๆ อย่างเหลือเฟือ ที่จะรองรับความเป็นอยู่ของมนุษย์ได้อย่าง ชัว่ นาตาปี ชนิดทีไ่ ม่ตอ้ งไปทำการเพาะปลูกเลยก็ยงั ได้ แต่หากมนุษย์มคี วามโลภ และหวังฉกฉวยจากธรรมชาติ อย่างไม่รจู้ กั พอ ธรรมชาติอนั กว้างใหญ่ไพศาลก็ไม่สามารถรองรับได้ และจะส่งผลย้อนกลับมาสร้างความทุกข์ความเดือดร้อนแก่มนุษย์เอง มากยิง่ ขึน้ ๆ ตามลำดับ อาจจะเหมือนกับเรือ่ ง "ห่านทองคำ" ทีไ่ ข่เป็นทองออกมา ให้วนั ละ 1 ฟอง แต่มนุษย์ใจหยาบ โลภมากเกินไป หวังอยากจะได้ ไข่ทองคำจำนวนมาก ๆ เลยทีเดียว คิดเอาเองว่าในท้องของห่าน คงจะมีไข่ทองคำอยูจ่ ำนวนมาก จึงฆ่าห่านเสียแล้วกรีดท้องเพือ่ จะ เอาไข่ แต่ปรากฏว่าไม่มไี ข่ทองคำในท้องนัน้ เลย
“ความพอเพียง ฯ”
31
วิธกี ารประยุกต์ "ความพอเพียง" กับ สิง่ แวดล้อมใน ธรรมชาติ กรณีของ ป่าไม้ ภูเขา และแม่นำ้ -ลำคลอง ในกรณีของสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ นอกจากเรื่องของ "ธาตุไฟ" ที่มีความสำคัญยิ่งตามที่ได้กล่าวไปในหัวข้อที่แล้ว ยังมี เรือ่ งของ"ป่าไม้ ภูเขา และแม่นำ้ -ลำคลอง" ทีม่ คี วามสำคัญมาก อย่างทีเ่ คยกล่าวไว้วา่ เป็นเสมือน "ระบบอวัยวะของธรรมชาติ" และยังเป็นอวัยวะทีม่ นุษย์สามารถเข้าไปบริหารและจัดการได้ ซึง่ ในทีน่ อ้ี าจเปรียบได้วา่ เป็น "อวัยวะ คือ หัวใจและระบบไหล เวียนโลหิตของร่างกายมนุษย์" เลยทีเดียว - ป่าไม้ โดยธรรมชาติทำหน้าที่ เป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ทีค่ อยกักเก็บน้ำจืด และค่อย ๆ ปล่อยน้ำให้ไหลออกมา จนกลายเป็นแม่นำ้ -ลำคลอง จนสูท่ ะเล ; แม่นำ้ -ลำคลอง ในเขตร้อนทุกสาย ล้วนมีตน้ กำเนิดมาจากป่าต้นน้ำทัง้ สิน้ นอกจากนัน้ ป่าไม้ยงั ทำหน้าทีย่ ดึ หน้าดินของภูเขา เพือ่ ป้องกันการพังทลายของหน้าดิน หรือป้องกัน ไม่ให้ภเู ขาถล่ม และยังทำหน้าที่เป็นแหล่งกักเก็บ ความเย็นและความชุม่ ชืน้ ของโลกทีส่ ำคัญ ซึง่ เปรียบ เสมือนเป็นแอร์คอนดิชั่นของโลก ที ่ จ ะช่ ว ยทำให้ เ กิ ด ความสมดุลของความร้อนของโลก ช่วยแก้ไขและบรรเทา ปัญหาอันเกิดจาก "ภาวะโลกร้อน" ได้เป็นอย่างดี ซึง่ จะช่วย ทำให้ดินฟ้าอากาศอยู่ในสภาวะสมดุล และที ส ำคั ญ อีกประการหนึง่ คือ ทำหน้าทีเ่ ป็นแหล่งปัจจัย 4 สำคัญของโลก โดยเฉพาะในเรือ่ งความหลากหลายทางพันธุกรรมและยาสมุนไพร “ความพอเพียง ฯ”
32
- ภูเขา ทำหน้าทีเ่ สมือนกับนัง่ ร้านทีเ่ ป็นทีต่ ง้ั ของ แท็งค์นำ้ คือ ป่าต้นน้ำ เพือ่ ให้สามารถปล่อยน้ำ ลงมาโดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก และกระจายน้ำ ไปตามแม่นำ้ -ลำคลอง - แม่นำ้ -ลำคลอง ทำหน้าที่เป็นเสมือนเส้นเลือด หรือท่อประปา ทีจ่ ะนำน้ำจากป่าต้นน้ำให้ไหลไปยัง ส่ ว นต่ า ง ๆ ของแผ่ น ดิ น เพื ่ อ หล่ อ เลี ้ ย งสิ่งมีชีวิต ทัง้ หลาย ดังนัน้ ในระบบของธรรมชาติทเ่ี กือ้ อกูลต่อการดำรง อยู่ของสิ่งมีชีวิต จะต้องมีป่าไม้ ภูเขา และแม่ น ้ ำ -ลำคลอง อย่างพอเพียง ทัง้ นีเ้ พือ่ การกักเก็บและกระจาย “น้ำ” ไปหล่อเลีย้ ง สิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูบ่ นผืนแผ่นดินนัน่ เอง การตัดไม้ทำลายป่า จึงเป็นเป็นเรื่องร้ายแรงที่สุด อีกเรือ่ งหนึง่ ทีจ่ ะต้องตระหนักอย่างทีส่ ดุ เช่นกัน เพราะไปกระทบ กับ “ธาตุนำ้ ” ซึง่ เป็นธาตุพน้ื ฐานสำคัญอีกธาตุหนึง่ ทีท่ ำหน้าที่ เป็นฐานรากรองรับความสมดุลของธรรมชาติฝา่ ยรูปธรรมทัง้ หมด ปัจจุบนั มีการทำลายป่ากันมาก ทัง้ ในส่วนของป่าต้นน้ำ และป่าอื่น ๆ บนภูเขา จึงทำให้แม่น้ำ-ลำคลองแห้งและตื้นเขิน ในฤดูแล้ง เพราะไม่มีป่าต้นน้ำคอยกักเก็บน้ำและปล่อยน้ำลงมา จึงทำให้เกิดน้ำท่วมมากในฤดูฝน เพราะไม่มีป่าคอยกักเก็บน้ำฝน ฝนตกลงมาเท่าใด ก็ไหลลงมาพืน้ ราบเท่านัน้ และเมือ่ ไม่มปี า่ คอยยึดหน้าดินของภูเขา หากฝนตกหนัก ก็จะกวาดเอาหน้าดินและสิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นเส้นทางการไหลของน้ำ “ความพอเพียง ฯ”
33
ให้ลงมาพืน้ ราบ ยิง่ ภูเขาสูงและชันมากเท่าใด ความเร็วและแรง ของน้ำที่ไหลลงมา ก็ยิ่งรุนแรงมากตามไปด้วย เราจึงได้ยินเรื่อง โคลนถล่มพร้อมท่อนซุงที่ลอยมาตามน้ำ ตามพื้นที่ที่อยู่ใกล้ภูเขา บ่อยยิ่งขึ้น นอกจากนัน้ แม่นำ้ -ลำคลอง ซึง่ โดยธรรมชาติมหี น้าทีเ่ ป็น เสมือนสายเลือดทีน่ ำน้ำจืดไปหล่อเลีย้ งสิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ก็ยงั ถูกกระทำ ให้กลายเป็นท่อระบายน้ำหรือท่อน้ำทิ้ง ซึ่งนับเป็นความเสียหาย อย่างยิ่ง ในแง่ของการปฏิบัติหรือประยุกต์ในเรื่องนี้จึงต้องมี การป้องกันไม่ให้มกี ารทำลาย และจะต้องปกป้องและรักษา ให้มี ป่า ภูเขา แม่นำ้ -ลำคลอง ดำรงอยูอ่ ย่างพอเพียง โดยเฉพาะ ต้องดูแลรักษาแม่น้ำ-ลำคลอง ให้กลับมาทำหน้าที่เช่นเดิม คือเป็นสายเลือดที่ไหลหล่อเลี้ยงชีวิตของผืนแผ่นดิน ไม่ใช่ เป็นท่อระบายของเสีย เพื่อให้ธรรมชาติเหล่านี้ได้ทำหน้าที่ รักษาสภาพของธรรมชาติให้อยูใ่ นภาวะทีเ่ หมาะสม และเกือ้ กูล ต่อการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นปกติสุขและยั่งยืน
“ความพอเพียง ฯ”
34
วิธกี ารประยุกต์ "ความพอเพียง" กับ การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ในที่นี้ขอเสนอให้พิจารณากระบวนการจั ด การของ ธรรมชาติ จะไม่มสี ง่ิ ทีเ่ ป็น "ของเสีย" เกิดขึน้ และตกค้าง ก่อให้ เกิดมลพิษในธรรมชาติเลย ซึง่ กล่าวได้วา่ นีค่ อื ระบบการจัดการ ที่พอเพียงของธรรมชาติ มนุ ษ ย์ ม ีศ ั ก ยภาพสูงที ่ ส ามารถคิ ด ค้ น และสร้ า งสรรค์ สิ่งใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นนอกเหนือไปจากที่ธรรมชาติมีอยู่ สิ่งใหม่ ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เป็นผลพวงจากการพัฒนา ทางวิทยาศาสตร์ ย่อมสามารถส่งผลกระทบต่อธรรมชาติในด้านต่างๆ ไม่มากก็นอ้ ย ซึง่ ในปัจจุบนั ได้พบว่าสิง่ ต่าง ๆ ทีม่ นุษย์สร้างขึน้ มานัน้ ได้กลายเป็นของเสียหรือมลพิษที่บั่นทอนและทำลายการดำรงอยู่ อย่างปกติสุขและยั่งยืน ทั ้ ง ต่ อ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ทั ่ ว ไป รวมถึ ง ต่ อ ระบบ ความสมดุลของธรรมชาติโดยรวมเป็นอย่างมาก จนอดทีจ่ ะประเมิน ไม่ได้วา่ ความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์อย่างทีก่ ำลังเป็นอยู่ ในปัจจุบนั กำลังเป็นไปในทิศทางของความเจริญ-สร้างสรรค์ หรือความเสือ่ ม-ทำลาย กันแน่ มลพิษทีพ ่ บในปัจจุบนั มีทง้ั เรือ่ งน้ำเสีย ทั้งในแม่น้ำลำคลอง และตามชายฝัง่ ทะเล เรือ่ งอากาศเสีย เรือ่ งดินเสีย และขยะในรูปแบบต่างๆ หรือแม้แต่ทส่ี งู ขึน้ ไปในชัน้ บรรยากาศ ก็ ย ั ง ทำให้ เ กิ ด ชั ้ น บรรยากาศเสีย เช่น การเกิดปรากฏการณ์ เรือนกระจก หรื อ แม้ แ ต่ เ รื ่ อ งของโอโซนที ่ ม ี อ ยู ่ ใ นชั้นบรรยากาศ “ความพอเพียง ฯ”
35
ซึง่ ทำหน้าที่กั้นและกรองรังสีอุลตร้าไวโอเล็ตจากแสงของดวงอาทิตย์ ก็ถูกทำลายจากสาร CFC (Chlorofluorocarbon) จนเป็นช่องโหว่ ปัจจุบันมีขนาดประมาณเท่ากับทวีปยุโรปแล้ว มลพิษทีเ่ กิดขึน้ เหล่านี้ ส่วนใหญ่เกิดขึน้ จากการเผาผลาญ เชือ้ เพลิงเพือ่ ใช้เป็นพลังงานในด้านต่าง ๆ , จากการปล่อยของเสีย ในขัน้ ตอนของการผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือแม้กระทัง่ จาก ตัวผลผลิตทีส่ ร้างขึน้ มานัน้ เอง ก็กลายมาเป็นขยะตกค้างในสิง่ แวดล้อม การปฏิ บ ั ต ิ ห รื อ ประยุ ก ต์ ใ นเรื ่ อ งนี ้ อั น ที ่ จ ริ ง ด้ ว ยวิ ธ ี "การกิ น - อยู ่ แ ต่ พ อดี " ก็ ส ามารถช่ ว ยได้มากแล้วในระดับหนึ่ง แต่ ท ี ่ ค วรเพิ ่ ม เติ ม เข้ า มาอี ก คื อ ควรจัดให้มรี ะบบการควบคุม ในการคิดค้นและผลิตสิง่ ต่างๆ ของมนุษย์ ให้เข้มงวดมากขึน้ โดยควบคุมระบบการจัดการทั้งหมด จะต้ อ งไม่ ท ำให้ เ กิ ด "ของเสีย" หรือ "มลพิษ" เกิดขึ้นเป็นสิ่งตกค้างในธรรมชาติ เช่นเดียวกันกับระบบการจั ด การที่พ อเพี ย งของธรรมชาติ ทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิด "ของเสีย" ขึน้ ในธรรมชาติ การอนุ ญ าตให้ผลิตสิ่งต่างๆ หรื อ การตั ้ ง โรงงาน อุตสาหกรรม จะต้องตัง้ อยูบ่ นเงื่อนไขทีว่ า่ ระบบการจัดการ ทัง้ หมดนัน้ สามารถพิสจู น์ได้วา่ ไม่มกี าร ทำให้เกิด "ของเสี ย " หรื อ "มลพิ ษ " เกิ ด ขึ ้ น เป็ น สิ ่ ง ตกค้ า งในธรรมชาติ ทีจ่ ะมีผลทำลายการดำรงชี ว ิ ต ที ่ เ ป็ น ปกติสขุ และยั่งยืนของสิ่งมีชีวิต และ ของธรรมชาติโดยรวม “ความพอเพียง ฯ”
36
วิธกี ารประยุกต์ "ความพอเพียง" กับ การบริหารและพัฒนากาย แม้แต่ในเรือ่ งการดูแลและบริหารร่างกายให้เป็นปกติ และแข็งแรง ก็ยงั ต้องดำเนินไปตามหลัก "ความพอเพียง" เช่นกัน ซึ่งในที่นี้ขอเสนอแนะตามอย่างที่มีผู้รู้หลายท่ า นได้ เ สนอไว้ คื อ ให้ ด ู แ ลและปฏิ บ ั ต ิ ต นให้ พ อเพี ย งใน 5 เรื่อง หรื อ มี ช ื ่ อ เรี ย กว่ า หลัก 5 อ. ดังนี้ 1. อาหาร รู้จักกินอาหารให้พอเพียงทั้งในด้านปริมาณ และคุณภาพ ควรระวังไม่กนิ อาหารทีม่ รี สเค็ม หวาน มัน มากจนเกินไป ควรกินอาหารมื้อเช้าซึ่งเป็นมื้อที่สำคัญที่สุดให้พอเพียง หรือทาง การแพทย์ได้แนะนำให้กินผักและผลไม้ วันละประมาณ 5 ทัพพี เป็นต้น 2. อากาศ ให้อยู่ในที่ที่มีอากาศดี โดยเฉพาะในคัมภีร์ ทางศาสนา ถือว่า ในอากาศทีห่ ายใจมี "ปราณ" ซึง่ เป็นพลังของชีวติ การได้อยูใ่ นทีม่ อี ากาศดี จะทำให้ได้พลังทีด่ สี ำหรับชีวติ 3. ออกกำลังกาย จะต้องมีการออกกำลังหรือบริหารร่างกาย ให้พอเพียงด้วย ร่างกายจึงจะมีความแข็งแรง มีหลักทางการแพทย์ ทีน่ า่ สนใจได้แนะนำให้ออกกำลังกายอะไรก็ตาม ขอให้มคี วามต่อเนือ่ ง ประมาณ 20 - 30 นาที ซึ่งจะมีผลทำให้ ม ี ก ารหลั ่ ง ของฮอร์ โ มน Endrophine เอิบอาบเซลของร่างกายให้สดชื่นแข็งแรง ทำให้รู้สึก โปร่งเบาและมีความสุข นอกจากนั ้ น ยั ง ช่ ว ยกระตุ้นให้ไขกระดูก สร้างเซลเม็ดเลือดขาวให้มากขึน้ ทำให้มภี มู ติ า้ นทานโรคทีด่ ขี น้ึ “ความพอเพียง ฯ”
37
4. อุจจาระ การขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย ควรจะ ฝึกฝนให้เป็นปกติทกุ วันและควรให้เป็นเวลา โดยเฉพาะช่วงทีเ่ หมาะสม คือ หลังอาหารเช้า 5. อารมณ์ การรักษาอารมณ์ให้เป็นปกติ ให้สงบหรือให้มี อารมณ์ทด่ี ี ไม่ขน้ึ ๆ ลง ๆ มากจนเกินไป เพราะอารมณ์ตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ สามารถส่ ง ผลกระทบต่ อ ระบบต่ า ง ๆ ของร่ า งกายทั ้ ง สิ ้ น เช่ น อารมณ์โกรธ จะทำให้หวั ใจเต้นเร็วและแรงขึน้ ทำให้ความดันของเลือด สูงขึ้น ทำให้กล้ามเนื้อต่าง ๆ ของร่างกายหดตัวและเกร็งมากขึ ้ น หรืออารมณ์เครียด เป็นสาเหตุสำคัญทีท่ ำให้เกิดโรคต่าง ๆ มากมาย เช่น โรคจิต โรคประสาท โรคความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะ รวมถึง โรคมะเร็ง ฯลฯ
“ความพอเพียง ฯ”
38
วิธกี ารประยุกต์ "ความพอเพียง" กับ การบริหารและพัฒนาจิต ในเรือ่ งของ "จิต" ก็ตอ้ งมีพน้ื ฐานหรือมีความต้องการ ในเรือ่ ง "ความพอเพียง" เช่นกัน เช่น จิตจะต้องมี สติ สมาธิ และ ปัญญา พอเพียงในขนาดหนึ่ง จึงจะทำให้จิตอยู่ในภาวะปกติและ พร้อมที่จะทำหน้าที่อะไรต่อไปได้..... คนทีไ่ ม่มี "สติ" ย่อมทำอะไรขาด ๆ เกิน ๆ ตก ๆ หล่น ๆ คนที่ "เสียสติ" ก็คอื คนทีข่ าดความยัง้ คิดควบคุมตนเองไม่ได้ คนที่ "สิน้ สติ" คือ คนทีอ่ ยูใ่ นภาวะไม่รสู้ กึ ตัว คนทีไ่ ม่มี "สมาธิ" ย่อมขาดความตัง้ ใจและทำอะไรจับจด คนทีไ่ ม่ม"ี ปัญญา" ย่อมทำอะไรผิดพลาดและทำให้เกิดปัญหา ดังนัน้ โดยทัว่ ไป "จิต" จะต้องมี สติ สมาธิ และปัญญา เป็นพืน้ ฐานและพอเพียงในระดับหนึง่ ซึง่ โดยทัว่ ไปสามารถฝึกฝน ได้ดว้ ยการฝึกหัดให้รสู้ กึ ตัวอยูเ่ สมอว่า ขณะนีก้ ำลังทำอะไร ? (=สติ) ต้องทำอย่างไรและเพื่ออะไร? (=ปัญญา) และให้มีใจ จดจ่อและตัง้ ใจทำในสิง่ นัน้ ๆ (=สมาธิ) หรือหากประสงค์จะฝึกฝนให้เป็นเลิศและพิเศษ ก็สามารถ ศึกษาและปฏิบตั ไิ ด้ตามคำสอนในพระพุทธศาสนาในเรือ่ งสติปฏั ฐาน 4 กรรมฐาน 40 หรือสมถและวิปสั สนา เป็นต้น
“ความพอเพียง ฯ”
39
แม้แต่ในการฝึกฝนจิตในระดับของพระอริยบุคคล ก็ยัง ต้องมี "ความพอเพียง" ที่สอดคล้องในแต่ละระดับจึงจะสามารถ บรรลุความเป็นพระอริยบุคคลได้ อย่างทีก่ ล่าวไว้ในพระไตรปิฎกว่า พระโสดาบัน เป็นผูท้ ม่ี ศี ลี สมบูรณ์ สมาธิพอประมาณ ปัญญาพอประมาณ พระสกิทาคามี เป็นผูท้ ม่ี ศี ลี สมบูรณ์ สมาธิพอประมาณ ปัญญาพอประมาณ แต่ราคะ โทสะ โมหะ เบาบางลงกว่า พระอนาคามี เป็นผูท้ ม่ี ศี ลี สมบูรณ์ สมาธิสมบูรณ์ ปัญญาพอประมาณ พระอรหันต์ เป็นผูท้ ม่ี ศี ลี สมบูรณ์ สมาธิสมบูรณ์ ปัญญาสมบูรณ์ ความพอประมาณ และความสมบูรณ์ ในแต่ละระดับ ของพระอริยบุคคลนี ้ ที่แท้ก็คือ ความพอเพี ย งของธรรมะ ที่จำเป็นต้องมีนั่นเอง ดั ง ที ่ ไ ด้ ก ล่ า วมาแล้วว่า "ความพอเพียง" ในจิตใจของ มนุษย์ เป็นสิง่ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ และยังเป็น "ความพอเพียง"ในระดับ ฐานรากทีส่ ามารถส่งผลกระทบอย่างมหาศาลต่อ"ความพอเพียง" ในด้านอืน่ ๆ ทัง้ หมด หลักธรรมในพระพุทธศาสนาได้ชช้ี ดั ถึงตัวการสำคัญที่ เป็นสาเหตุของการทำลาย "ความพอเพียง" ในจิตใจของมนุษย์ สิ่งนั้นก็คือ "ตัณหา" หรือ "ความโลภ" นัน่ เอง “ความพอเพียง ฯ”
40
การจะเข้าใจเรือ่ ง "ตัณหา" หรือ "ความโลภ" ซึง่ หมายถึง "ความต้องการ" หรือภาษาธรรมะให้ความหมายว่า “ความทะยานอยาก" ได้อย่างถ่องแท้นน้ั จะต้องเข้าใจถึงความจริงของธรรมชาติชวี ติ ให้ถกู ต้องเสียก่อนว่า ชีวติ คืออะไร ? ต้องการอะไร ? เพือ่ อะไร ? เพราะในตัวธรรมชาติของชีวติ เอง ก็มคี วามต้องการตามธรรมชาติ อยูเ่ หมือนกัน (โปรดอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจากหนังสือ " ความหมาย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการพัฒนามนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ" หน้า18 - 22 จัดพิมพ์โดยธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ความต้องการของชีวิตตามธรรมชาตินี้ เป็ น สิ ่ ง ที ่ บ ั ง คั บ ชีวติ ให้ตอ้ งทำหน้าทีแ่ สวงหาสิง่ ทีเ่ ป็นความต้องการ ตามที่ธรรมชาติ แท้ ๆ ของชีวติ ต้องการ ซึง่ ไม่ทำไม่ได้ เพราะจะทำให้ธรรมชาติของชีวติ ไม่สามารถดำเนิ น และดำรงอยู ่ ต ่ อ ไปได้อย่างปกติสุขและยั่งยืน ความต้องการของธรรมชาติอย่างที่กล่าวนี้ ไม่ใช่ "ตัณหา" หรือ "ความโลภ" เมือ่ เข้าใจความต้องการของชีวติ ตามธรรมชาติทเ่ี ป็นจริงแล้ว จึงจะรูจ้ กั หรือมองออกว่า "ตัณหา" หรือ "ความโลภ" คืออะไร กล่าวโดยสรุป "ตัณหา" หรือ "ความโลภ" ก็คอื ความ ต้องการที่เกินเลยไปจากความต้องการของชีวิตตามที่เป็นจริง หรือความต้องการทีธ่ รรมชาติทแ่ี ท้จริงของชีวติ ไม่ได้มคี วาม ต้องการ จะเห็นได้ว่า "ตัณหา" หรือ "ความโลภ" ของมนุษย์ นีเ้ อง ที่ทำให้มนุษย์ กินและอยู่ อย่างไม่จำกัดและไม่รจู้ กั พอ ทำให้ ม นุ ษ ย์เร่งการผลิ ต สิ ่ ง ต่าง ๆ (ที ่ ไ ม่ จ ำเป็ น และไม่ ใ ช่ “ความพอเพียง ฯ”
41
ความต้องการที ่ แ ท้ จ ริ ง ของชี ว ิ ต ) อย่างมากมาย ซึ่งทำให้มี การเผาผลาญและใช้พลังงานอย่างมหาศาล จนเกิดปัญหา “ภาวะโลกร้อน” ในปัจจุบนั จากการเร่ ง การผลิ ต เพื่อตอบสนอง "ตัณหา" หรือ "ความโลภ" นี้ ทำให้มนุษย์ไปทำลายสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ อย่างมโหฬาร เพือ่ นำมาใช้เป็นวัตถุดบิ และยังก้าวล่วงไปทำลาย แม้กระทั่ง ป่าต้นน้ำ ป่าบนภูเขา ตลอดจนแม่น้ำ-ลำคลอง ซึ ่ ง เป็ น เสมื อ นหั ว ใจและเส้ น เลื อ ดของธรรมชาติ ท ี ่ ส ำคั ญ จนทำให้เกิดการขาดความสมดุลของธรรมชาติอย่างรุนแรง นอกจากนัน้ ในกระบวนการผลิตของมนุษย์ หรือแม้แต่ สิ่งที่มนุษย์ผลิตขึ้นมา ส่วนใหญ่ทำให้เกิดสิ่งที่เป็น"ของเสีย" และกลายเป็นมลพิษตกค้างในธรรมชาติ ทำให้เกิดมลพิษขึน้ เต็มไปหมด ทัง้ บนผืนดิน ในแม่นำ้ -ลำคลอง ในทะเล-มหาสมุทร ในอากาศทีห่ ายใจ แม้กระทัง่ ในชัน้ ของบรรยากาศทีส่ งู ขึน้ ไป ซึ ่ ง ซ้ ำ เติ ม ต่ อ การดำรงอยู ่ อ ย่ า งเป็ น ปกติ ส ุ ข ทั ้ ง ต่ อ มนุ ษ ย์ และสิง่ มีชวี ติ อืน่ ๆ อย่างทีส่ ดุ จะพรรณนา และทีส่ ดุ "ตัณหา" หรือ "ความโลภ" ของมนุษย์นเ้ี อง ทีท่ ำลายแม้กระทัง่ ระบบความเป็นอยูร่ ว่ มกัน และความสัมพันธ์ ที ่ ด ี ใ นสั ง คม ทำให้ เ กิ ด การแข่ ง ขั น แย่ ง ชิ ง กั น ตลอดเวลา สังคมเต็มไปด้วยความเครียดและความขัดแย้งในทุ ก ระดั บ เกิดความเสือ่ มโทรมในด้านคุณธรรม-จริยธรรม อย่างน่าเป็นห่วง จนเกิดความวิตกกังวลไปทัว่ ว่า อนาคตของโลกและมนุษยชาติ จะเป็นอย่างไรต่อไป จะสามารถดำรงอยู่อย่างเป็นปกติสุข ได้ต่อไปอีกนานเท่าใด “ความพอเพียง ฯ”
42
การปฏิบตั หิ รือประยุกต์ค วามพอเพียงในด้านจิตใจนี้ สาระสำคัญอยู่ที่การอบรมให้มีความรู้ค วามเข้ า ใจที ่ ถ ู ก ต้ อ ง อย่างทีเ่ รียกว่า "สัมมาทิฏฐิ" ในเรือ่ งธรรมชาติของชีวติ ให้รวู้ า่ ชีวติ คืออะไร ต้องการอะไร เพือ่ อะไร ; ธรรมชาติของชีวติ กับ ธรรมชาติที่เป็นสิ่งแวดล้อมมีความสั ม พั น ธ์ ต ่ อ กั น อย่ า งไร ตลอดจนคุณค่าความหมายทีถ่ กู ต้องของสิง่ ต่างๆ ที่มีต่อชีวิต ก็จะทำให้รจู้ กั ทำหน้าทีแ่ ละเกีย่ วข้องกับสิง่ ต่างๆ อย่างถูกต้อง ตามความจำเป็นหรือความต้ อ งการที่แท้จริงของธรรมชาติ ซึง่ ในทีน่ ก้ี ค็ อื “ระบบการดำเนินชีวติ ทีพ ่ อเพียงของธรรมชาติ” นัน่ เอง ซึ่งเป็นระบบทีจ่ ะนำมนุษยชาติให้รอดพ้นจากหายนะ ทัง้ ปวงอันเกิดจากการกระทำที่มาจากมนุษย์เอง และนำไปสู่ ทางรอดคือความปกติสุขที่ยั่งยืนและแท้จริงต่อไป
บทสรุป ดั ง ที ่ ไ ด้ กล่าวมาทั ้ ง หมด จะเห็นได้ว่าความอยู่รอด และความเป็นปกติของมนุษย์ แ ละสั ง คม รวมถึ ง ระบบของ ธรรมชาติทั้งหมด ขึน้ อยูก่ บั "มนุ ษ ย์ " เพียงสิ่งเดียวเท่านั้น ว่าจะสามารถเรียนรูแ้ ละดำรงชีพตามหลักแห่ง "ความพอเพียง" ได้มากน้อยเพียงใด และหวังเป็นทีย่ ง่ิ ว่า มนุษยชาติจะสามารถ เรียนรูแ้ ละรูจ้ กั ดำรงชีพอยูใ่ นหลักแห่ง"ความพอเพียง" ได้
.......ก่อนทีท่ กุ อย่างจะสายเกินไป. “ความพอเพียง ฯ”
43
.......ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว จะเห็นได้ว่าทุกสิ่งในธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ วิถีการดำรงอยู่ของ สิง่ มีชวี ติ ในธรรมชาติ หรือใกล้เข้ามาทีเ่ ป็นเรือ่ งของชีวติ ในทางกาย หรือแม้แต่เรือ่ งของจิตใจ หากจะให้เป็นไปโดยปกติสขุ และยัง่ ยืนแล้ว ล้วนต้องมีรากฐานอยูบ่ นเรือ่ ง "ความพอเพียง" ทัง้ สิน้
ทัง้ นี้ เพราะระบบของธรรมชาติคอื ระบบความพอเพียง หากมนุษย์ไม่ดำเนินชีวิตอย่างถูกต้อง ตามหลัก แห่ ง ความพอเพี ย งแล้ ว มนุ ษ ย์ ก ็ จ ะประสบปั ญ หา ความทุ ก ข์ และภัยพิบัตินานัปการ และนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ๆ จนถึงที่สุดคือความหายนะชนิดที่อาจจะต้องมีการล้างโลกกันใหม่ เพือ่ ปรับตัวให้กลับคืนสู่ "ความพอเพียง" "ความพอเพียง" นีแ้ หละทีจ่ ะเป็นทางรอดของมนุษย์ และสังคม โดยเฉพาะกับโลกปัจจุบันและโลกอนาคต ที่กำลัง สู ญ เสี ย ในเรื ่ อ งความพอเพี ย งในทุ ก ๆ ด้ า น และต้ อ งการ ความพอเพียงมาเยียวยารักษาอย่างรีบด่วน.......