หลักธรรมพื้นฐานที่ชาวพุทธพึงรู้

Page 1


“ËÅÑ¡¸ÃÃÁ¾×¹é °Ò¹ ·Õªè ÒǾط¸¾Ö§ÃÙ”é

จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


"หลักธรรมพืน้ ฐานทีช่ าวพุทธพึงรู”้ เรียบเรียง : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ พิมพ์ครัง้ ที่ 1 จำนวน 3,000 เล่ม : พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ สุรพล ไกรสราวุฒ.ิ หลักธรรมพืน้ ฐานทีช่ าวพุทธพึงรู.้ -- กรุงเทพฯ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. 48 หน้า. 1.ธรรมะ. 2.พุทธศาสนา--หลักคำสอน. I.ชือ่ เรือ่ ง. 294.315

ISBN 978-974-03-2139-2 บรรณาธิการอำนวยการ : ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ดร.ระวี ภาวิไล บรรณาธิการ : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ออกแบบปก : นายมาโนช กลิน่ ทรัพย์ พิสจู น์อกั ษร : นางปาลิดา จิรภาธงชัย ประสานงาน : นางสาวปทุมรัตน์ กิจจานนท์ , นางนิตพิ ร ใบเตย พิมพ์ท่ี : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถ.พญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร.0-2215-1991-2 ลิขสิทธิ์ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ค


สารบัญ

หน้า

พุทธธรรม คือ ธรรมทีเ่ ป็นคำสอนอันเกิดจากการตรัสรูข้ องพระพุทธเจ้า ♦ความหมายของ พุทธะ พุทธธรรมจำแนกเป็น “ธรรม” และ “วินยั ” ซึง่ มีฐานะเป็นประดุจพระศาสดา ดังนัน้ พระศาสดาของพุทธบริษทั จึงยังคงดำรงอยูต่ ลอดเวลา ตราบเท่าทีค่ ำสอนทีเ่ ป็น “ธรรม” และ “วินยั ” ยังปรากฏอยู่ ♦ ความหมายของ “ธรรม” และ “วินยั ” ♦ ความสัมพันธ์ระหว่าง “ธรรม” และ “วินยั ” ♦ ลักษณะของ “ธรรม” และ “วินยั ” พระไตรปิฎกเป็นแหล่งรวบรวม “ธรรม” และ “วินยั ” เป็นคัมภีรส์ ำคัญสูงสุด อาจกล่าวได้วา่ เป็นทีส่ ถิตหรือประดิษฐานของพระศาสดา “มหาปเทส 4” และ “ลักษณะตัดสินธรรมวินยั 7 และ 8” คือ หลักในการ ตรวจสอบคำสอน และหลักตัดสินความถูกต้อง ของ“ธรรม” และ “วินยั ” “ธรรม” เป็นสิง่ ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว พระพุทธเจ้าเป็นผูค้ น้ พบและนำมาเปิดเผย จึงทรงเป็นศาสดาทีด่ ำรงอยูใ่ นฐานะกัลยาณมิตรผูช้ ท้ี าง ในธรรมชาติมเี หตุปจั จัย (=กฎธรรมชาติ) ควบคุมความเป็นไปของ สิง่ ต่างๆ ดังนัน้ การจะกระทำอะไร จึงต้องแสวงหาความรูเ้ กีย่ วกับ เหตุปจั จัยหรือกฎธรรมชาติทค่ี วบคุมความเป็นไปในเรือ่ งนัน้ ๆ ก่อน แล้วจึงกระทำไปตามกฎหรือเหตุปจั จัยนัน้ ๆ จึงจะประสบความสำเร็จ ธรรมทีต่ รัสรูเ้ ปรียบเหมือนใบไม้ในป่า แต่ทน่ี ำมาสอนเปรียบใบไม้ในกำมือ คือ เรือ่ ง “ทุกข์และความดับทุกข์” หรืออริยสัจ 4 ทำไมจึงนำเรือ่ ง “ทุกข์และความดับทุกข์” หรืออริยสัจ 4 มาตรัสสอน จะเป็นการมองโลกในแง่รา้ ยหรือไม่ ? ทุกข์ ในอริยสัจ 4 คือ ทุกข์ทเ่ี กิดจากความยึดมัน่ ถือมัน่ สรุปความหมายและสาระสำคัญของ “อริยสัจ 4” คือ ทรงแสดง เส้นทางชีวติ ทัง้ หมดว่ามีอยู่ 2 เส้นทาง คือ เส้นทางชีวติ ทุกข์ ซึง่ เอา “ตัณหา” เป็นตัวนำในการดำเนินชีวติ ; และเส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ ทีเ่ อา “สัมมา” หรือ “ความถูกต้อง” เป็นตัวนำในการดำเนินชีวติ

1 1

2 4 6 8 9 10 11

12 12 14 15


สารบัญ

หน้า

“สัมมา” หรือ “ความถูกต้อง” ในอริยมรรคมีองค์ 8 คืออะไร ? และ ความต้องการอย่างทีเ่ รียกว่า “ตัณหา” คืออะไร ? เรือ่ งราวต่าง ๆ ในเส้นทางชีวติ ทุกข์ ♦กิเลส มีรากฐานหรือต้นตอมาจากอวิชชาและตัณหา จำแนกได้ เป็น 3 กลุม่ คือ โลภะหรือราคะ(=ดึงเข้า) , โทสะ(=ผลักออก) , โมหะ(=วน ๆ) ในบุคคลทัว่ ไปมักจะไม่รเู้ ท่าทันการเกิดของอวิชชาและ ตัณหา จะรูก้ ต็ อ่ เมือ่ เกิดอาการทีเ่ ป็นโลภะหรือราคะ ,โทสะ , โมหะ แล้ว ♦การเกิดขึน้ ของกิเลส มีเวทนา หรือความรูส้ กึ เป็นปัจจัยสำคัญ และเพราะเข้าใจผิดว่า “สุขเวทนา” เป็นเป้าหมายของชีวติ จึงทำให้เกิด ชีวติ ทุกข์ ทีจ่ ติ ของบุคคลตกอยูใ่ ต้อทิ ธิพลของเวทนา มีอาการดึงเข้า ผลักออก - วนๆ ตลอดเวลา อย่างทีเ่ รียกว่าจมอยูใ่ น “วัฏฏะสงสาร” ♦การจำแนกชีวติ ทุกข์ ตามระดับของเวทนา หรือ ภพ-ภูมิ ♦การใช้ประโยชน์จาก ”ทุกขเวทนา” เป็นเครือ่ งมือตรวจสอบ ความผิดปกติของกายและจิต เรือ่ งราวต่าง ๆ ในเส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ ♦ ความดับทุกข์ 3 ระดับ ทีจ่ ะต้องดับไปตามลำดับก่อน-หลัง ♦ ความหมายทีแ่ ท้จริงของ คำว่า “อริยบุคคล” ♦ อริยมรรคมีองค์ 8 กับ ไตรสิกขา เป็นเรือ่ งเดียวกัน ♦ อริยมรรคมีองค์ 8 กับการดับทุกข์ของพระอริยบุคคลในระดับต่าง ๆ นอกจากเรือ่ ง “ทุกข์ และความดับทุกข์” ทีเ่ ป็นแก่นของคำสอนแล้ว พระพุทธเจ้ายังตรัสสอนธรรมอีกระดับหนึง่ ทีไ่ ม่ใช่การดับทุกข์โดยตรง เพือ่ อนุเคราะห์แก่บคุ คลทีย่ งั หวังและต้องการจะได้รบั สิง่ ทีด่ ที น่ี า่ ปรารถนาตามทีต่ นต้องการ ซึง่ ก็คอื โลกธรรม จึงตรัสสอน ธรรมในระดับโลกียะด้วย ทีเ่ รียกว่า โลกียสัมมาทิฏฐิ โลกียสัมมาทิฏฐิ เป็นพืน้ ฐานของโลกุตตรสัมมาทิฏฐิ ; ผูท้ ม่ี โี ลกุตตรสัมมาทิฏฐิจริง จึงไม่มคี วามขัดแย้งกับใคร ๆ ในโลก การจำแนกธรรมทัง้ หมดทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอน โดยนัยของ โลกียสัมมาทิฏฐิ และ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิ

16 22 22

23

24 24 25 25 27 27 28 30

32 32


สารบัญ

หน้า

การจำแนกธรรมทัง้ หมด โดยนัยของ “อัตตา” และ “อนัตตา” 33 ประมวลหลักสำคัญในการปฏิบตั ิ 33 ♦ความหมายของคำว่า “ปฏิบตั ”ิ หากจะปฏิบตั ไิ ด้ตอ้ งสรุปหรือ 33 ควบรวมลงมาให้นอ้ ยลง จนเหลือแต่สว่ นทีเ่ ป็นหัวใจหรือสาระสำคัญ จึงจะสามารถนำไปปฏิบตั ไิ ด้ เพราะหากแตกออกไปมาก ก็ยง่ิ ทำให้ ไม่สามารถนำไปปฏิบตั ไิ ด้ ; ต่างกับ “ปริยตั ”ิ ซึง่ ต้องแจกแจงหรือแตก รายละเอียดออกไปให้กว้างขวาง จึงจะเกิดความรอบรูแ้ ละแตกฉาน ♦สรุปการปฏิบตั ใิ ห้เหลือเพียงเรือ่ งเดียว คือ “สติ” ; หลักของการมี 35 “สติ” ทีถ่ กู ต้อง คือ การระลึกรูท้ ไ่ี ม่มคี วามยินดี-ยินร้าย สิง่ ทีร่ ะลึกรูก้ ใ็ ห้สกั แต่วา่ เป็นเครือ่ งระลึกรู้ และไม่ยดึ มัน่ ใด ๆ ♦ปฏิบตั ิ “สติ” อย่างไร จึงทำให้เกิด “ศีล” 36 ♦ปฏิบตั ิ “สติ” อย่างไร จึงทำให้เกิด “สมาธิ” 37 ♦ปฏิบตั ิ “สติ” อย่างไร จึงทำให้เกิด “ปัญญา” 38 ♦หลักปฏิบตั เิ มือ่ เกิดความทุกข์ขน้ึ ในจิตใจ ให้ใช้ ปัญญา สมาธิ ศีล 39 กล่าวคือ ให้ใช้ปญ ั ญาพิจารณารูเ้ ท่าทันความจริงในเรือ่ งทีท่ ำให้ทกุ ข์ ความทุกข์กจ็ ะหายไป ; แต่หากยังไม่มปี ญ ั ญา ให้ใช้สมาธิ คืออาศัย กำลังของจิต พรากจิตออกจากอารมณ์ทก่ี ลุม้ รุมหรือทำให้ทกุ ข์ ให้ไปอยู่ กับอารมณ์ของสมาธิทก่ี ำหนด จิตก็จะสงบและเป็นปกติ; แต่หากยังไม่มี สมาธิ ให้ใช้ศลี สำรวมระวังไม่ให้ความทุกข์นน้ั พลุง่ พล่านและทะลัก ออกไปเป็นคำพูดและการกระทำทางกาย ก็ทำให้ความทุกข์นน้ั ถูกจำกัดวงอยูแ่ ต่ภายในจิตใจ ไม่ลกุ ลามออกไปก่อปัญหากับ ภายนอก หากศีลยังยับยัง้ ไว้ไม่ได้ “อบาย” หรือความเสือ่ มก็จะเกิดขึน้ ♦หลักปฏิบตั ทิ ต่ี อ้ งระลึกไว้เสมอซึง่ มีความสำคัญมาก คือ การปฏิบตั ิ 40 มุง่ เพือ่ ไม่ให้กเิ ลสเกิดขึน้ ในจิต ไม่ใช่ปฏิบตั เิ พือ่ ชำระจิตให้บริสทุ ธิ์ ♦การปฏิบตั ทิ ป่ี ระสบความสำเร็จจริง ไม่ใช่เพียงการละกิเลสทีก่ ำลังเกิดขึน้ 41 แต่ตอ้ งละไปถึงความเคยชินหรือโอกาสที่ กิเลสนัน้ ๆ จะเกิดไม่ได้อกี ต่อไป บทสรุป 42


“ËÅÑ¡¸ÃÃÁ¾×é¹°Ò¹·ÕèªÒǾط¸¾Ö§ÃÙé”

1) รูว้ า่ : พุทธธรรม คือ ธรรมทีเ่ ป็นคำสอนอันเกิดจากการตรัสรู้ ของพระพุทธเจ้า ซึง่ เป็นการรูแ้ บบประจักษ์ “พุทธะ” แปลว่า “ผูร้ ู้ ผูต้ น่ื ผูเ้ บิกบาน” คือ รู้ เท่าทันความจริงของสิง่ ทัง้ หลาย ตืน่ จากความหลับใหลด้วยความงมงาย เบิกบาน เพราะหมดสิน้ ความเศร้าหมองหรือสิง่ รบกวนในจิตใจ ดังนัน้ “พุทธธรรม” จึงมีความหมายอีกนัยหนึง่ ว่า คือ “ธรรมทีท่ ำให้บคุ คลเป็น ผูร้ ู้ ผูต้ น่ื ผูเ้ บิกบาน” นัน่ เอง 2) รูว้ า่ : พุทธธรรม จำแนกเป็น "ธรรม" และ"วินยั " ซึง่ มีฐานะ เป็นประดุจพระศาสดา ดังนั้นพระศาสดาของพุทธบริษัทจึงยังคง ดำรงอยู่ตลอดเวลา ตราบเท่าที่คำสอนที่เป็น “ธรรม” และ “วินัย” ยังปรากฏอยู่ มีพุทธวจนะสำคัญที่ได้ตรัสไว้ก่อนจะเสด็จดับขันธ ปรินพิ พานว่า “ธรรมที่แสดง และวินัยที่บัญญัติแล้ว แก่เธอ ทัง้ หลาย จักเป็นศาสดาของพวกเธอ เมือ่ เราล่วงลับไป” “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

1


ความหมายของ “ธรรม” และวินยั ” "ธรรม" คือ คำสอนทีแ่ สดงถึงหลักความจริง ของธรรมชาติ ซึง่ ดำเนินไปตามกฎธรรมชาติ เป็นกฎ อันเฉียบขาด ไม่ขน้ึ กับใคร ไม่สามารถต่อรองได้ ไม่เปลีย่ น แปลงไปตามยุ ค สมั ย เป็นสิ่งที่มีอยู่ แ ล้ ว ในธรรมชาติ พระพุทธเจ้าเป็นเพียงผูค้ น้ พบแล้วนำมาเปิดเผย ในเรือ่ ง ของ "ธรรม" จึงใช้คำว่า "แสดง" กล่าวคือ แสดงไปตาม ทีม่ อี ยูจ่ ริงและเป็นอยูจ่ ริง "วินยั " คือ ข้ อ บั ญ ญั ต ิ ท ี ่ ก ำหนดขึ ้ น โดยมี จุดประสงค์ เ พื ่ อ เป็ น หลั ก กำกับความประพฤติหรือ พฤติกรรมทีแ่ สดงออกมา มุง่ หมายให้เกิดความสงบสุข เรียบร้อยและความสัมพันธ์อันดีของบุคคล หมูค่ ณะ หรือสังคมเป็นสำคัญ และเนื่องจากเป็น “ข้อบัญญัติ” หรือ “ข้อตกลง” ที่กำหนดกันขึ้นเอง “วินยั ” จึงเป็นสิ่งที่ สามารถบัญญัตเิ พิม่ เติมหรือยกเลิกได้ตามความเหมาะสม ของยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป ดังเช่นที่มีพทุ ธานุญาตให้ คณะสงฆ์สามารถเพิกถอนสิกขาบทเล็กน้อยได้ตามที่เห็น สมควร (แต่พทุ ธศาสนานิกายเถรวาท เช่น ในประเทศไทย ได้ยดึ ถือตามมติของคณะพระเถระผูท้ ำสังคายนาครัง้ แรก ว่าจะไม่มกี ารเพิม่ หรือเพิกถอนวินยั ทีพ่ ระพุทธเจ้าได้บญ ั ญัติ ไว้แล้ว) ดังนัน้ ในเรือ่ งของ “วินยั ” จึงใช้คำว่า “บัญญัต”ิ “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

2


หลักพุทธธรรม มี 2 หลักใหญ่ทว่ี า่ นี้ จึงต้องมีความเข้าใจว่า คำสอนนั้น ๆ ตรัสอยู่ในหลักอันใด ไม่ เ ช่ น นั ้ น จะทำให้ ไ ม่ เ ข้ า ใจ และเกิดความสับสนได้มาก เช่น - พระอรหันต์ทพ ่ี รรษาน้อยกว่า ต้องกราบพระภิกษุ ปุถชุ นทีพ ่ รรษามากกว่า นีเ้ ป็นการกราบโดย "วินยั " - พระอรหันต์แม้จะดำเนินชีวิตถูกต้องสมบูรณ์ตาม "ธรรม" แล้ว ก็ยงั สามารถทำผิด "วินยั " เล็กน้อยได้ และถูกปรับ อาบัติได้ - โดยธรรม : พระอริยบุคคลในระดับพระโสดาบัน และพระสกิ ท าคามี ที ่ เ ป็ น คฤหั ส ถ์ สามารถมีครอบครัวได้ ไม่มขี อ้ ขัดข้องใด ๆ ในทางธรรม ; แต่โดยวินยั : พระภิกษุแม้ ยังเป็นปุถชุ นอยู่ ก็ไม่สามารถมีครอบครัวได้ หากไปมีครอบครัว ก็จะต้องได้รบั โทษทางวินยั คือ อาบัตใิ นระดับ “ปาราชิก” - โทษทีเ่ กิดขึน้ จากการกระทำผิดในทาง “ธรรม” เรียกว่า “กรรม” และ“วิบากกรรม” ซึ ่ ง ให้ ผ ลเป็ น ไปตามกฎธรรมชาติ ส่วนโทษที่เกิดขึ้นในเรือ่ งของ “วินยั ” เรียกว่า “อาบัต”ิ ให้ผล เป็นไปตามข้อบัญญัติที่ได้กำหนดหรือตกลงกันไว้ เช่น ในกรณีของพระภิกษุ หากฆ่ามนุษย์ จะเกิดโทษ ทางธรรม คือ เป็นกรรมทีเ่ รียกว่า “ปาณาติบาต” และให้ผลหรือ วิ บ ากกรรม คื อ ทำให้ อ ายุ ส ั ้ นและมีโรคภัยเบียดเบียนมาก ส่ ว นโทษทาง “วิ น ั ย ” จะถู ก ปรั บ อาบั ต ิ ใ นระดั บ ที ่ เ รี ย กว่ า “ปาราชิก” คือ ขาดจากความเป็นพระภิกษุ ต้องถูกบังคับให้ ลาสิกขาไป เป็นต้น “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

3


ความสัมพันธ์ระหว่าง "ธรรม" และ "วินยั " เมือ่ พิจารณาในแง่ของ “ธรรม” และ “วินยั ” ทีม่ าสัมพันธ์กบั บุคคล จะเห็นได้ว่า "ธรรม" เป็นเรือ่ งความสมัครใจของบุคคล ทีจ่ ะต้องศึกษา และปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง ไม่สามารถบังคับให้ทำหรือทำแทนกัน ไม่ได้ ความเป็นไปในเรือ่ งของ “ธรรม” นี้ เป็นไปตามเงื่อนไขในกฎ ธรรมชาติ หรือในภาษาทางศาสนาเรียกว่า “เป็นไปตามเหตุปจั จัย” หรือเป็นไปตามกฎแห่งเหตุและผล มีเหตุเช่นไร ย่อมนำไปสูผ่ ลเช่นนัน้ ดังคำทีว่ า่ “หว่านพืชเช่นไร ย่อมได้ผลเช่นนัน้ ” ความสำเร็จในเรื่อง ใด ๆ ทีจ่ ะเกิดขึ้น ก็ดว้ ยการปฏิบัติให้ถูกต้องและเพียงพอต่อธรรม หรือกฎธรรมชาติในเรือ่ งนัน้ ๆ ส่วน "วิ น ั ย " เป็ น เรื ่ อ งของการบั ง คั บ พฤติ ก รรมการ แสดงออกของบุคคลในสังคม ให้เป็นไปตามข้อบัญญัติหรือ ข้อตกลงทีส่ งั คมนัน้ ๆ ได้กำหนดขึ้น หากไม่ปฏิบัติตามก็จะ มีบทลงโทษโดยสังคม ตามบัญญัติที่ได้ตกลงกันไว้แล้วนั้น ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเรียบร้อยและเกิดความสัมพันธ์ที่ดีในสังคม และให้เป็นปัจจัยเกือ้ กูลแก่ผู้ที่ประสงค์จะปฏิบตั เิ พือ่ ให้เข้าถึง“ธรรม“ ได้สะดวกยิง่ ขึน้ ในส่วนของความสัมพันธ์ระหว่าง “ธรรม” กับ “วินยั ” นัน้ กล่าวได้วา่ ในสังคมทีบ่ คุ คลเข้าถึง “ธรรม” แล้ว เรือ่ งของ “วินยั ” เป็นสิง่ ทีไ่ ม่จำเป็นต้องมี ; “วินยั ” จะเกิดขึน้ ก็เมือ่ บุคคลในสังคม ไม่ตง้ั อยูใ่ นธรรม ทัง้ นีเ้ พือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือในการจัดการบุคคล

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

4


ทีป่ ระพฤติตนออกนอกแนวของธรรมและสร้างความเดือดร้อน ให้เกิดขึ้นกับสังคม ในช่วงแรก ๆ หลังจากที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ และยังมี พระภิกษุสาวกไม่มากนัก จะเห็นได้วา่ ในช่วงนีม้ แี ต่ "ธรรม" เพียงอย่างเดียว ยังไม่ได้ทรงบัญญัติ "วินยั " เลย แม้วา่ ท่านพระสารีบตุ รมาทูลอาราธนา ขอให้ทรงบัญญัตเิ พือ่ ความตั้งมั่นแห่งพระศาสนา พระพุทธเจ้าก็ยงั ไม่ทรงบัญญัตใิ นทันที แต่มพี ระดำรัสว่าพระภิกษุสงฆ์ทม่ี อี ยูใ่ นขณะนี้ ขัน้ ต่ำทีส่ ดุ เป็นพระโสดาบัน ซึง่ เป็นผูเ้ ข้าถึงธรรมและได้ดวงตาเห็นธรรม บุคคลในระดับนี้ จะไม่มีพฤติกรรมและการแสดงออกใด ๆ ทีส่ ร้าง ความเดือดร้อนให้เกิดขึน้ กับสังคมได้เลย จึงยังไม่มคี วามจำเป็นทีจ่ ะ บัญญัตวิ นิ ยั ใดๆ ในขณะนัน้ และได้ตรัสว่าต่อไปในภายหน้าเมือ่ หมู่ สงฆ์สาวกมีจำนวนมากขึ้น มีลาภสักการะมากขึน้ และธรรมอันเป็น อาสวะเริม่ ปรากฏ ตถาคตย่อมรูก้ าลอันสมควรทีจ่ ะบัญญัติ “วินยั ” ขึน้ เพือ่ แก้ไขและป้องกันอาสวะทั้งหลายที่เกิดขึ้นแล้วนั้น และทีจ่ ะเกิด ต่อไปในอนาคต เพือ่ ให้หมูส่ งฆ์สามารถยังคงดำรงอยูไ่ ด้ดว้ ยดี และมี บรรยากาศทีเ่ กือ้ กูลแก่การศึกษาและปฏิบตั เิ พือ่ เข้าถึงธรรม ในแง่ของ “วินยั ” หากมีการปฏิบตั ติ อ่ เนือ่ งกันเป็นระยะเวลา ยาวนาน ก็จะกลายมาเป็นวัฒนธรรมและประเพณี ซึง่ เป็นเครือ่ ง ช่วยเสริมและแวดล้อมให้บุคคลในสังคมเข้าถึง “ธรรม” ได้งา่ ยยิง่ ขึน้ ดังเช่นในสังคมไทยเมือ่ เห็นพระสงฆ์กพ็ ร้อมทีจ่ ะกราบไหว้และฟังธรรม ด้วยความนอบน้อม หรือรูจ้ กั ท่านัง่ สมาธิเป็นตัง้ แต่ยงั เยาว์ นอกจากนัน้ โดยธรรมชาติ “ธรรม” ย่อมเสือ่ มไปจากสังคมเร็วกว่า “วินยั ” ; ดังนัน้ ตราบใดทีย่ งั มี “วินยั ” ดำรงอยู่ ก็ยงั มีชอ่ งทางทีจ่ ะสามารถนำ “ธรรม” ทีเ่ สือ่ มหรือสูญหายไปนัน้ กลับคืนมาได้ “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

5


ลักษณะของ "ธรรม" และ "วินยั " ลักษณะหรือคุณสมบัตขิ อง “ธรรม” ตามทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอน มีคุณสมบั ต ิ ตามที ่ ไ ด้ ต รั ส ไว้ ใ นองค์คุณของพระธรรม 6 ประการ หรือที่เรียกว่า “ธรรมคุณ 6” ซึง่ ปรากฏอยู่ในบทสรรเสริญคุณของ พระธรรมในบทสวดมนต์ทำวัตรเช้าและวัตรเย็น กล่าวคือ 1. สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม เป็ น ธรรมที ่ ต รั ส ไว้ ด ี แ ล้ ว หมายความว่า ตรัสไว้เช่นไร ก็เป็นเช่นนั้น ไม่มกี ารเปลีย่ นกลับไปกลับมา ไม่มใี ครทีจ่ ะกล่าวแย้งหรือหักล้างคำสอนได้ 2. สนฺทฏิ ฐฺ โิ ก เป็นสิง่ ทีผ่ ศู้ กึ ษาและปฏิบตั สิ ามารถประจักษ์ แจ้งได้ดว้ ยตนเอง ไม่ใช่สอนให้เพียงเชือ่ ตามอย่างเดียว 3. อกาลิโก เป็นสิ่งที่ไม่ขึ้นกับยุคสมัย ไม่เปลีย่ นแปลงไป ตามกาลเวลา ไม่มกี ารล้าสมัย เพราะเป็นเรือ่ งความจริงของธรรมชาติ ที่เปลี่ยนแปลงไปตามกฎของธรรมชาติ 4. เอหิปสฺสโิ ก เป็นสิ่งที่ท้าทายให้ใคร ๆ สามารถเข้ามา พิสจู น์ได้ 5. โอปนยิโก เป็นสิ่งที่สามารถน้อมนำเข้ามาสู่การปฏิบตั ิ ในชีวิตจริงได้ 6. ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญญ ฺ หู ิ เป็นสิง่ ทีถ่ งึ ทีส่ ดุ แล้วต้อง รูเ้ ฉพาะตน หรือรูจ้ ากประสบการณ์ของตนเอง และเมือ่ รูแ้ ล้วจะทำให้ บุคคลนั้นไม่ต้องฝากความเชื่อไว้กับใครอีก แม้แต่กับพระศาสดา ดังเช่นมีคำกล่าวถึงพระอรหันต์ว่า เป็น “ อสัทธา” คือ เป็นบุคคลที่ ไม่ตอ้ งเชือ่ ใครอีก (ในเรือ่ งของการปฏิบตั เิ พือ่ ความดับทุกข์) “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

6


ลักษณะหรือคุณสมบัตขิ อง “วินยั ” ตามทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอน เป็นวินัยที่มี “ธรรม” เป็นพื้นฐานหรือคล้อยตามธรรม ไม่สามารถ ขัดแย้งกับ “ธรรม” วินยั ทีเ่ ป็นแม่บทสำคัญของพุทธบริษทั โดยทัว่ ไป คือ “สิกขาบท 5” หรือทีร่ จู้ กั กันดีในชือ่ “ศีล 5” ซึง่ เป็นวินยั พืน้ ฐาน และ “ศีล 8” หรือที่ เรียกว่า “อุโบสถศีล” ซึง่ เป็นข้อปฏิบตั ทิ ส่ี ำคัญสำหรับการฝึกปฏิบตั ิ ธรรมในขัน้ สูง นอกจากนัน้ ในฝ่ายบรรพชิต มีวนิ ยั ทีส่ ำคัญ คือ "ปาฏิโมกข์" หรือ "ศีล 227" ของพระภิกษุ และ "ศีล 10" ของสามเณร ส่ ว นวิ น ั ย อื ่ น ๆ ในฝ่ า ยคฤหั ส ถ์ อาจนับเนื่องในส่วนของ "คิหปิ ฏิบตั "ิ (คิหิ = คฤหัสถ์ หรือผูค้ รองเรือน) ซึง่ พระพุทธเจ้าได้ตรัส สอนใน "สิงคาลกสูตร" โดยมีเนือ้ หาครอบคลุมเรือ่ งเว้น กรรม 4 (=ศีล 4 ข้อแรกในศีล 5) , เว้นอคติ 4, เว้นอบายมุข 6, มิตรแท้ 4 -มิตรเทียม 4, การรูจ้ กั จัดสรรทรัพย์ 4 ส่วน และ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ใน ทิศ 6 เป็นต้น มีขอ้ ทีพ ่ งึ ระมัดระวังให้มากในเรื่องของ “ศีล” ซึง่ มีนยั ะ เป็นได้ทง้ั เรือ่ งของ “ธรรม” และ “วินยั ” และมีวธิ กี ารปฏิบตั ทิ ่ี แตกต่างกัน การปฏิบติในเรือ่ งของ “ศีล” ทีเ่ ป็นเรือ่ งของธรรม จะได้กล่าว ละเอียดต่อไปในหัวข้อข้างหน้า ส่วนการปฏิบตั ใิ นเรือ่ งของ“ศีล”ทีเ่ ป็น เรือ่ งของวินยั นัน้ ค่อนข้างตรงไปตรงมา คือนำข้อบัญญัตทิ ไ่ี ด้บญ ั ญัติ ไว้แล้วมาดู แล้วระมัดระวังปฏิบตั ติ นให้เป็นไปตามข้อบัญญัตเิ หล่านัน้

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

7


3) รูว้ า่ : พระไตรปิฎก เป็นแหล่งรวบรวมธรรม-วินยั ทีพ่ ระพุทธเจ้า ตรัสสอน จึงนับเป็นคัมภีรท์ ส่ี ำคัญทีส่ ดุ ในแง่หนึง่ อาจกล่าวได้วา่ เป็น ทีส่ ถิตหรือเป็นทีป่ ระดิษฐานของพระศาสดา นอกจากพระไตรปิฎกแล้ว ยังมีคมั ภีรท์ างพุทธศาสนาทีส่ ำคัญ ทีค่ วรกล่าวถึง คือ - อรรถกถา = คัมภีรท์ อ่ี ธิบายพระไตรปิฎก - ฎีกา = คัมภีรท์ อ่ี ธิบายอรรถกถา - อนุฎกี า = คัมภีรท์ อ่ี ธิบายฎีกา - ปกรณ์พเิ ศษ = คัมภีรพ์ เิ ศษทีเ่ รียบเรียงขึน้ ใหม่ เช่น มิลนิ ทปัญหา , วิสทุ ธิมรรค - นอกจากนัน้ ก็มคี ำสอนอย่างทีเ่ รียกว่า อาจาริยวาท ซึง่ เป็น คำสอนจากอาจารย์ตา่ ง ๆ

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

8


4) รูว้ า่ : พระพุทธเจ้าทรงแสดง "มหาปเทส 4 " ทัง้ ในฝ่ายธรรม และในฝ่ายวินยั เพื่อให้เป็น เครื ่ อ งมื อ ในการตรวจสอบ ในกรณีที่ มีการอ้างว่าเป็นคำสอนของพระองค์หรือของพระเถระอืน่ ๆ และแสดง "ลักษณะตัดสินธรรมวินยั 7 และ 8" เพือ่ เป็น เครือ่ งมือตรวจสอบความถูกต้องของ "ธรรม" และ "วินยั " "มหาปเทส 4 ในฝ่ายธรรม" มีหลักในการตรวจสอบโดย การสอบเทียบเคียงกับสูตรและวินยั ว่าสามารถเข้ากันได้โดยทัว่ ไปหรือไม่ เพราะคำสอนของพระพุทธเจ้า แม้ตรัสไว้มากมายและหลากหลาย แต่ทง้ั หมดจะสอดคล้องกันเป็นอย่างดี ไม่มที ข่ี ดั กันเองเลย "มหาปเทส 4 ในฝ่ายวินยั " มี ห ลั ก ในการตรวจสอบโดย การสอบเทียบว่าข้อบัญญัตนิ น้ั ๆ เข้ากันได้กบั ข้อทีท่ รงบัญญัตไิ ว้แล้ว ว่าควรหรือไม่ควร ก็สามารถจัดข้อบัญญัตนิ น้ั ๆ ว่าเป็นสิง่ ทีค่ วรหรือ ไม่ควรได้ "ลักษณะตัดสินธรรมวินยั 7" มี ห ลั ก ในการตรวจสอบว่ า ธรรมและวินัยที่พระพุทธเจ้ า ตรั ส สอนนั ้ น จะมีลักษณะเป็นไป เพือ่ เอกันตนิพพิทา (ความหน่ายอย่างสิน้ เชิง), เพือ่ วิราคะ(คลายยึดติด), เพื ่ อ นิ โ รธะ (ความดั บ ทุ ก ข์ ) , เพื ่ อ อุ ป สมะ (ความสงบระงั บ ), เพือ่ อภิญญา (ความรูย้ ง่ิ ) , เพือ่ สัมโพธะ (ความตรัสรู)้ และ เพือ่ นิพพาน "ลักษณะตัดสินธรรมวินยั 8" มี ห ลั ก ในการตรวจสอบว่ า ธรรมและวินัยที่พระพุทธเจ้ า ตรั ส สอนนั ้ น จะมี ล ั ก ษณะเป็นไป เพือ่ คลายกำหนัด , เพือ่ ความคลายทุกข์ , เพือ่ ความไม่พอกพูนกิเลส , เพือ่ ความมักน้อย , เพือ่ ความสันโดษ , เพือ่ ความสงัด , เพือ่ การระดม ความเพียร และเพือ่ ความเป็นผูเ้ ลีย้ งง่าย “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

9


5) รูว้ า่ : ทัศนะทางพุทธศาสนา "ธรรม" เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว ในธรรมชาติ จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) ธรรมทีม่ ปี จั จัยปรุงแต่ง ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปตามเหตุปจั จัย เรียกว่า สังขตธรรม (=ทุกสิง่ ยกเว้นนิพพาน) 2) ธรรมทีไ่ ม่มปี จั จัยปรุงแต่ง เรียกว่า อสังขตธรรม(=นิพพาน) ธรรมทัง้ 2 ประเภทนี้ มีอยูเ่ ป็นเช่นนัน้ ของมันเอง (=ตถตา) พระพุทธเจ้าเป็นผูค้ น้ พบแล้วนำมาเปิดเผย ดังนัน้ พระพุทธเจ้าจึงทรงเป็น ศาสดาทีด่ ำรงอยูใ่ นฐานะเป็นกัลยาณมิตรผูช้ ท้ี าง ไม่มพี ระเจ้าผูส้ ร้าง ไม่มีเรื่องการบังเอิญในพุทธศาสนา การจำแนกธรรมนี้ พุทธธรรมได้จำแนกโดยอาศัยสิง่ ทีเ่ รียกว่า "อายตนะ" (=ช่องทางการรับรู้ หรือ เครือ่ งเชือ่ มต่อในการรับรู้) ซึง่ จำแนกเป็น "อายตนะภายใน 6" และ "อายตนะภายนอก 6" "อายตนะภายใน 6" คือ ตา , หู , จมูก , ลิน้ , กาย , ใจ "อายตนะภายนอก 6" คือ รูป , เสียง , กลิ่น , รส , สัมผัส ทางกาย และ ธรรมารมณ์ (สิง่ ทีร่ ดู้ ว้ ยใจ) โดยการรับรูจ้ ะเกิดขึน้ ได้ ต่อเมือ่ ช่องทางการรับรูท้ ต่ี รงกันมากระทบ หรือเชื่อมต่อถึงกัน หากไม่ตรงคู่ของช่องทางการรับรู้ ก็ไม่สามารถ เกิดการรับรูไ้ ด้เลย เช่น ตา กระทบกับ รูป จะเกิด “เห็น“ หู กระทบกับ เสียง จะเกิด “ได้ยนิ ” เป็นต้น ตา ไม่สามารถไปรับรูเ้ สียง ; หรือ หู ไม่สามารถไปรับรูร้ ปู ธรรมารมณ์ คือ สิ่งที่รู้ได้ดว้ ยใจมีกว้างขวางมาก โดยทัว่ ไปที่ บุคคลสามารถรับรูไ้ ด้ คือ ความรูส้ กึ นึก คิด นิพพานทีเ่ ป็นอสังขตธรรม จัดเป็น ธรรมารมณ์ “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

10


6) รูว้ า่ : คำสอนในพุทธศาสนาทีว่ า่ ในธรรมชาติมเี หตุปจั จัย (=กฎธรรมชาติ) ควบคุมความเป็นไปของสิง่ ต่าง ๆ นัน้ วิทยาศาสตร์ เพิง่ จะค้นพบและเกิดการศึกษาค้นคว้าตามแนวทางอันนีเ้ มือ่ ไม่กร่ี อ้ ยปี มานีเ้ อง แต่กม็ งุ่ ไปในเรื่องของวัตถุหรือธรรมชาติฝา่ ยรูปธรรมเพียง อย่างเดียว ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนเรื่องนี้ตั้งแต่เมื่อประมาณ สองพันหกร้อยปีทแ่ี ล้ว ความรูท้ ว่ี า่ ในธรรมชาติมีเหตุปัจจัย หรือกฎธรรมชาติ ควบคุมความเป็นไปของสิง่ ต่างๆ ซึง่ ตรงกับคำสอนหรือคาถาของ ท่านพระอัสสชิซง่ึ เป็นทีร่ จู้ กั กันแพร่หลายมากในหมูช่ าวพุทธทัว่ โลกว่า “เยธัมมา เหตุปปั ภะวา , เตสัง เหตุง ตะถาคะโต , เตสัญจะโย นิโรโธจะ , เอวังวาที มะหาสะมะโณ ฯ ซึง่ แปลว่า ธรรมทัง้ หลาย มีเหตุเป็นแดนเกิด พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านัน้ พระมหาสมณะมีวาทะอย่างนี้ ฯ เป็นสิง่ สำคัญมาก เพราะเป็นสิง่ ทีก่ ำหนดท่าที หรือวิถกี ารดำเนินชีวติ ทีเ่ ป็นแบบฉบับของชาวพุทธทัง้ หมดเลยทีเดียว ความเข้าใจที่ว่านี้ นำไปสู่อะไร ? คำตอบคือ นำไปสูก่ ารกระทำ กล่าวคือ เมือ่ จะกระทำอะไร ก็ตาม ก่อนอืน่ จะต้องแสวงหาความรูเ้ กีย่ วกับกฎธรรมชาติหรือเหตุปจั จัย ทีค่ วบคุมความเป็นไปในเรือ่ งนัน้ ๆ เสียก่อน แล้วจึงกระทำไปตาม กฎหรือเหตุปจั จัยนัน้ ๆ ก็จะทำให้ประสบความสำเร็จในการกระทำ ในเรือ่ งนัน้ ๆ ดังนัน้ จึงมีคำเรียกพุทธศาสนาว่าเป็น “กรรมวาที” หรือ “วิรยิ วาที” กล่าวคือ เป็นศาสนาที่สอนให้ลงมือกระทำไปตามเหตุ ป ั จ จั ยของ ธรรมชาติ ไม่ใช่ศาสนาแห่งการอ้อนวอนหรือรอคอยการหวังผลดลบันดาล “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

11


7) รูว้ า่ : "ธรรม" ทีต่ รัสรูม้ มี ากมายมหาศาลเปรียบเหมือนใบไม้ ในป่า ส่วนทีท่ รงตัง้ ใจนำมาสอนเปรียบเหมือนใบไม้ในกำมือ ซึง่ ตรัส ไว้ชัดว่า คือ เรื ่ อ ง "ทุกข์และความดับแห่งทุกข์" ซึ ่ ง ก็ ค ื อ เรื่อง "อริยสัจ 4" นัน่ เอง

8) รูว้ า่ : ทำไมธรรมที่พระพุทธเจ้า ตัง้ ใจนำมาสอน คือ เรือ่ ง "ทุกข์และความดับแห่งทุกข์” ก็เพราะ "ทุกข์" เป็นปัญหาสำคัญที่สุด ที่ทำให้มนุษย์ ไม่สามารถดำรงอยูใ่ ห้เป็นปกติสขุ ได้ ให้มอี นั ถูกบีบคัน้ ให้ตอ้ งดิน้ รน กระเสือกกระสนตราบเท่าทีค่ วามทุกข์ยงั ปรากฏอยู่ จนกว่าทุกข์นั้น จะบรรเทาหรือดับลง หากในธรรมชาติของชีวติ ไม่มี "ทุกข์" เกิดขึน้ เลย “ธรรม” ก็เป็นสิง่ ทีไ่ ม่จำเป็น และบุคคลก็ไม่ตอ้ งมาสนใจ แต่ในความเป็ น จริง ทั้งความรู ้ ส ึ ก นึ ก คิด คำพู ด และ การกระทำทุกอย่างของบุคคล ย่อมมีผลทีท่ ำให้เกิดทุกข์ได้ทง้ั สิน้ "ธรรม" จึงเป็นสิง่ ทีส่ ำคัญและจำเป็นอย่างยิง่ ก็เพือ่ ไม่ให้เกิดผล คือ "ทุกข์" นัน่ เอง หรือมองอีกแง่หนึง่ ก็เพราะ "ภาวะความดับทุกข์ หรือไม่มที กุ ข์" เป็นสิง่ ทีด่ ที ส่ ี ดุ และสูงสุดทีบ่ คุ คลควรเข้าถึงหรือได้รบั จากการทีไ่ ด้เกิดมา ลองพิจารณาดูวา่ จะมีอะไรทีด่ หี รือประเสริฐยิง่ ไปกว่าชีวติ ทีไ่ ม่มที กุ ข์ ดังนัน้ พุทธศาสนา จึงไม่ได้มองโลกในแง่รา้ ยอย่างทีอ่ าจมีผกู้ ล่าวหา แต่เป็นการมองโลกตามความเป็นจริง ซึง่ ทัง้ เรือ่ ง "ทุกข์ และความดับทุกข์" “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

12


เป็นเรือ่ งหรือสภาวะทีเ่ ป็นจริงและมีอยูแ่ ล้วในธรรมชาติ พระพุทธเจ้า เพียงแต่หยิบมาเป็นประเด็นและเห็นว่าเป็นเรือ่ งทีส่ ำคัญทีส่ ดุ เท่านัน้ ในเรื ่ อ งนี ้ อ าจเปรี ย บได้ ก ั บ การศึ ก ษาทางการแพทย์ ท ี ่ ม ี จุ ด ประสงค์ เ พื ่ อ ต้ อ งการรั ก ษาให้ ร ่ า งกายมี ส ุ ข ภาพที ่ แ ข็ ง แรง แต่จะเห็นว่านักศึกษาแพทย์ถกู สอนให้เรียนรูเ้ กีย่ วกับเรือ่ งโรคภัยไข้เจ็บ ต่าง ๆ มากมายมหาศาล การเรียนรูเ้ รือ่ ง “โรค” นี้ ไม่ใช่เป็นการมองโลก ในแง่รา้ ยแต่ประการใด เพราะหากไม่เรียนรูเ้ รือ่ ง “โรค” แล้ว ก็เป็นอันว่า จะไม่สามารถรักษาสุขภาพให้ดีและแข็งแรงได้อย่างแท้จริง ในเรือ่ ง “ทุกข์” กับ “ความดับแห่งทุกข์” ก็ในทำนอง เดียวกัน หากไม่ เ รี ย นรู ้ เ รื ่ อ ง “ทุกข์” แล้ว จะรั ก ษาชี วิตให้ “ไม่มที กุ ข์” ได้อย่างไร

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

13


9) รูว้ า่ : ทุกข์ในอริยสัจ 4 คือ ทุกข์ทเ่ี กิดจากความยึดมัน่ ถือมัน่ (ว่าเป็นเรา ว่าเป็นของเรา ว่าเป็นตัวตนของเรา) จัดเป็น ทุ ก ข์ ท างใจ และทุ ก ข์ ท ี ่ บ ุ ค คลสามารถดั บ ได้ อ ย่างเด็ดขาด คือ ทุกข์ทางใจเท่านัน้ ไม่สามารถดับทุกข์ทางกายลงให้เด็ดขาดได้ ดังพุทธพจน์ทแ่ี สดงความแตกต่างระหว่างพระอรหันต์กบั ปุถชุ น โดยเปรียบเทียบว่าพระอรหั น ต์ ถ ู ก ยิงด้วยธนูเพี ย งดอกเดียว คือ มีแต่ทุกข์ทางกายเพียงอย่างเดียว ไม่เหมือนปุถุชนซึ่งถูกยิงด้วยธนู 2 ดอก คือมีทง้ั ทุกข์ทางกายและทุกข์ทางใจ ดังนัน้ จึงมีคำสอนทีต่ รัสสรุปไว้เองเป็นเพียงประโยคเดียวว่า "สัพเพธัมมา นาลัง อภินเิ วสายะ" ซึง่ แปลว่า “ธรรมทัง้ หลายทัง้ ปวง ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นเรา ว่าเป็นของเรา ว่าเป็นตัวตน ของเรา)" พุทธพจน์ที่ตรัสนีม้ คี วามสำคัญมาก ถึงกับได้ตรัสสำทับว่า - หากได้ฟงั ประโยคนีป้ ระโยคเดียว เท่ากับได้ฟงั คำสอน ทีส่ อนทัง้ หมด - หากปฏิบตั ใิ นเรือ่ งนีเ้ รือ่ งเดียว เท่ากับได้ปฏิบตั ติ าม ทีส่ อนไว้ทง้ั หมด - หากได้รบั ผลจากการปฏิบตั ใิ นเรือ่ งนีเ้ รือ่ งเดียว เท่ากับ ได้รบั ผลตามทีส่ อนทัง้ หมด โดยมีหลักการสำคัญคือ การพิจารณา "ขันธ์ 5" หรือ "ชีวติ " โดยความเป็น "ไตรลักษณ์" (=อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) เพือ่ ถอน ความยึดมั่นถือมั่น เมือ่ สิน้ ความยึดมัน่ ถือมัน่ ก็สน้ิ ทุกข์ “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

14


10) รูว้ า่ : "อริยสัจ 4" คืออะไร? และมีความหมายอย่างไร? กล่าวโดยสรุป ทุกข์ = อุปาทานขันธ์ คือ ทุกข์ทเ่ี กิดจากความยึดมัน่ ถือมัน่ สมุทยั = ตัณหา คือ ความทะยานอยาก นิโรธ = ภาวะทีไ่ ม่มที กุ ข์ มรรค = วิธปี ฏิบตั ใิ ห้บรรลุภาวะทีไ่ ม่มที กุ ข์ โดยแสดงว่า ทุกข์เป็นผล มาจากเหตุ คือ สมุทยั นิโรธเป็นผล มาจากเหตุ คือ มรรค ซึ่งสรุปสาระสำคัญของอริยสัจ 4 ได้วา่ เป็นการประมวลวิถี การดำเนินชีวติ ทัง้ หมด ว่ามีอยู่ 2 เส้นทางใหญ่ คือ :1. เส้นทางชีวติ ทุกข์ 2. เส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ โดยสามารถอธิบายให้เข้าใจง่าย ๆ ได้วา่ * เส้ น ทางชี ว ิ ต ทุ ก ข์ คือ เส้นทางการดำเนินชีวติ ทีเ่ อา ความต้องการของตัวเองหรือของตัวตน(=ตัณหา)เป็นหลักหรือ ตัวนำในการดำเนินชีวิต ย่อมประสบผลคือ ความทุกข์ (=ทุกข์) ซึง่ จะมากหรือน้อย จะหยาบหรือละเอียด ขึน้ กับระดับหรือคุณภาพ ของความต้องการนั้น ๆ เป็นสำคัญ ซึ่งกลไกโดยละเอียดได้แสดง อยูใ่ นเรือ่ ง "ปฏิจจสมุปบาท" * เส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ คือ เส้นทางการดำเนินชีวติ ทีเ่ อา ความถูกต้อง ( = อริยมรรค มีองค์ 8 ทุกองค์ขึ้นต้นด้วยสัมมา = ความถูกต้อง) เป็นหลักหรือตัวนำในการดำเนินชีวติ ย่อมประสบผลคือ ความไม่มที กุ ข์ (=นิโรธ) โดยตรัสสอนให้ละการดำเนินชีวติ ในเส้นทาง ทุกข์เสีย แล้วฝึกหัดหรือเพียรดำเนินชีวติ ในเส้นทางทีไ่ ม่มที กุ ข์ “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

15


11) รูว้ า่ : "สัมมา"หรือ"ความถูกต้อง" ในอริยมรรคมีองค์ 8 คืออะไร ? และความต้องการอย่างทีเ่ รียกว่าตัณหาคืออะไร ? ในทีน่ ข้ี อเสนอให้มาเรียนรูแ้ ละค้นหาเข้ามาทีต่ วั ชีวติ โดยตรง คำตอบทัง้ หมดอยูต่ รงนี้ ! ตัวชีวิตในทัศนะทางพุทธศาสนา คือ "ขันธ์ 5" ซึ่งจำแนก องค์ประกอบได้เป็น 5 ส่วนทีส่ ำคัญ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ โดยมีคำอธิบายง่ายๆ ว่า รูป = กาย หรือส่วนทีเ่ ป็นรูปธรรม เวทนา = ความรูส้ กึ (สุข , ทุกข์ หรือ เฉย ๆ) สัญญา = ความจำ และการหมายรู้ สังขาร = ความคิดปรุงแต่ง วิญญาณ = ความรูแ้ จ้งในอารมณ์ทเ่ี กิดขึน้ ทางอายตนะต่างๆ เช่น การเห็น , การได้ยนิ เป็นต้น เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ เป็นส่วนทีเ่ ป็นนามธรรม อาจเรียกรวมอย่างภาษาชาวบ้านว่า คือ จิต (=ภาษาบาลี) หรือใจ (=ภาษาไทย) ในทีน่ จ้ี งึ ขอเสนอให้เรียนรูแ้ ละพิจารณาตัวชีวติ ในแง่มมุ ทีเ่ ข้าใจ กันดีอยูแ่ ล้วโดยทัว่ ไปทีว่ า่ ชีวติ คือ กาย กับ จิต โดยเสนอให้พจิ ารณา ต่อไปอีกดังนี้ ว่า กาย คืออะไร?….ต้องการอะไร?…...เพือ่ อะไร? จิต คืออะไร?….ต้องการอะไร?…...เพือ่ อะไร? “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

16


คำตอบในประเด็นข้างต้นนี้ ขอเสนอว่า ไม่สามารถหาคำตอบ ด้วยการใช้ความคิด หรือใช้กรอบของทฤษฎีตา่ งๆมาอธิบาย แต่คำตอบ นัน้ มีอยูแ่ ล้วพร้อมมูลในตัวธรรมชาติเอง กล่าวคือ ตัวธรรมชาติทง้ั กายและจิตนัน้ เอง กำลังป่าวประกาศคำตอบนั้นอยู่ทุกขณะ เพียงแต่มนุษย์เราอาจจะไม่สงั เกตเพียงพอ หรือมัวแต่ไปสังเกตทีอ่ น่ื จึงไม่พบคำตอบทีม่ าจากตัวธรรมชาติแท้ๆ มาลองสังเกตและเฝ้าดูชวี ติ ในส่วนกายและชีวติ ในส่วนจิต กันสักหน่อย เริม่ จากชีวติ ในส่วนกายก่อน เมื่อสังเกตและเฝ้าดูจะพบว่า ธรรมชาติของกาย มีสว่ นทีแ่ ข็ง ส่วนที่เหลว ส่วนที่เคลื่อนไหวลอยไปมาได้ และส่ ว นที ่ ร ้ อ น-เย็ น ซึ่งในภาษาธรรมะเรี ย กว่ า ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม และธาตุ ไ ฟ ธรรมชาติของชีวติ ฝ่ายกาย ก็คอื การประกอบกันเข้าของ ธาตุทง้ั 4 นีเ้ อง ชีวติ ฝ่ายกายมีความต้องการไหม? เราย่อมสามารถสังเกตได้ด้วยตนเองว่า ชีวิตฝ่ายกายมีความ ต้องการตามธรรมชาติแน่นอน กล่าวโดยสรุปคือ ต้องการธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุลม และธาตุไฟ จากธรรมชาติภายนอกซึง่ อยูใ่ นรูป ของปัจจัย 4 (อาหาร , เครือ่ งนุง่ ห่ม , ทีอ่ ยูอ่ าศัย และยารักษาโรค) เพือ่ อะไร? เพือ่ หล่อเลีย้ งและค้ำจุนชีวติ ฝ่ายกาย ให้สามารถดำรงอยู่ และทำหน้าทีไ่ ด้เป็นปกติ เพราะหากชีวติ ฝ่ายกายไม่ได้รบั ปัจจัย 4 จากธรรมชาติภายนอกแล้ว ก็ไม่สามารถดำรงอยูไ่ ด้ “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

17


เมือ่ เข้าใจชีวติ ฝ่ายกายว่า คืออะไร? - ต้องการอะไร? - เพือ่ อะไร ? ตามที่เป็นอยู่จริงของธรรมชาติแล้ว ประเด็นสำคัญก็มาอยู่ที่ตัว “ความต้องการ” นีเ้ อง และเนื่องจากชีวิตฝ่ายกายมีความต้องการดังที่กล่าวซึ่งเป็น ความต้ อ งการแท้ๆ ของธรรมชาติ จึ ง บั ง คับให้เกิดสิ่งที ่ เ รี ย กว่ า "หน้าที"่ ขึน้ กล่าวคือ มีหน้าที่ที่จะต้องรู้จัก แสวงหา บริโภค ใช้สอย และเกีย่ วข้องกับปัจจัย 4 ให้ถกู ต้อง คำว่า “ถูกต้อง” ในทีน่ ก้ี ค็ อื ให้ผลกับชีวติ ฝ่ายกายให้สามารถ ดำรงอยู่และทำหน้าที่ได้เป็นปกติ ดังนั้น คุ ณ ค่ า ของชี ว ิ ต ฝ่ า ย “กาย” ก็อยู่ที่ตรงนี้เอง คือ มีกายที่สมบูรณ์แข็งแรงและสามารถทำหน้าที่ได้เป็นปกติ

ในส่วนของชีวติ ฝ่ายจิตบ้าง เมื ่ อ สั ง เกตและเฝ้ า ดู จ ะพบว่ า ในตัวชีวิตยังมีธรรมชาติอีก ประเภทหนึ่ง เป็นธรรมชาติรู้ ที่สามารถรู้สิ่งต่างๆ ได้ ธรรมชาติรนู้ ้ี ก็คอื “จิต” นัน่ เอง จิต เป็น ธรรมชาติรู้ ; ธรรมชาติรนู้ ้ี มีความต้องการแท้ๆ ตามธรรมชาติ เช่นเดียวกัน กับชีวิตฝ่ายกายที่กล่าวไปแล้วข้างต้นไหม? คำตอบในทีน่ ก้ี ค็ อื มี ; แต่จะคืออะไรนัน้ อาจสังเกตได้ยากกว่าชีวติ ในฝ่ายกาย

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

18


ในทีน่ ้จี ะขอกล่าวโดยสรุปเลยว่า เนือ่ งจากจิตเป็นธรรมชาติรู้ ดังนัน้ สิง่ ทีจ่ ติ ต้องการ ก็คอื ความรูท้ ถ่ี กู ต้อง เพือ่ อะไร? ก็เพือ่ หยุดความสงสัย หยุดความดิ้นรนกระวนกระวาย หรือหยุดปัญหาที่เกิดขึ้นจากความไม่รู้ของตัวจิตเอง เพราะ ตราบใดทีจ่ ติ ยังไม่รู้ถูกต้องหรือไม่รู้แจ้งในเรือ่ งใด เรือ่ งนัน้ ก็ยงั มีอนั พันพัวจิตให้ดน้ิ รนด้วยความงุนงงสงสัย ไม่สามารถสงบ นิง่ เป็นปกติได้ ตัวอย่างในชีวติ จริงทีท่ กุ คนคงเคยประสบมาแล้ว คือในยามที่ มีปญ ั หาทำให้เกิดความกังวลหรือหนักใจในเรื่องใดก็ตาม ตราบใด ทีจ่ ติ ยังไม่รวู้ า่ อะไรเป็นอะไร ยังมองไม่เห็นทางออก หรือไม่รคู้ ำตอบ ในการแก้ปญ ั หานัน้ จิตก็จะยังทุกข์และกังวลอยูต่ ราบนัน้ แต่ในขณะใด ที่เห็นทางออกและรู ้ ค ำตอบในการแก้ ไ ขปั ญ หานั้น ๆ จิตจะเกิด ภาวะโล่งใจ อย่างทีม่ คี ำกล่าวว่า เหมือนยกภูเขาออกจากอก นีย่ อ่ ม เป็นเครือ่ งแสดงว่า สิง่ ทีจ่ ติ ต้องการจริงๆ ก็คอื ความรูท้ ถ่ี กู ต้อง นัน่ เอง หรือหากจะพิจารณาจากพุทธประวัติ ซึ่งมีเรื่องกล่าวไว้ว่า พระพุ ท ธเจ้ า ทรงบำเพ็ ญ บารมี น านถึ ง 4 อสงไขยกั บ แสนกัปป์ หลังจากทีไ่ ด้รบั พุทธพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าทีปงั กร ทีท่ รงบำเพ็ญ มาทัง้ หมดต้องการอะไร ? คำตอบ คือ ต้องการโพธิญาณหรือการตรัสรู้ รูแ้ จ้งเห็นจริงในสรรพสิง่ นีย่ อ่ มเป็นสิง่ ยืนยันให้เห็นชัดเจนว่า สิง่ ทีจ่ ติ ต้องการตามธรรมชาติแท้ๆ คือ ความรูแ้ จ้ง หรือ ความรูท้ ถ่ี กู ต้อง ความต้องการของชีวติ ในฝ่ายจิตนี้ เช่นเดียวกับที่กล่าวไว้ใน ฝ่ายกาย คือ ทำให้เกิด "หน้าที"่ ขึน้ กล่าวคือ มีหน้าที่ต้องศึกษา แสวงหาความรูท้ ถ่ี กู ต้อง ซึง่ หากนำหลักธรรมในพระพุทธศาสนา “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

19


เป็นเกณฑ์ ก็ทรงแนะนำให้ศึกษาแสวงหาความรู้อย่างที่ทรงแสดง ไว้วา่ เป็นใบไม้ในกำมือ ซึง่ ก็คอื เรือ่ งของความทุกข์และความสิน้ ไป แห่งทุกข์ในชีวติ ไม่จำเป็นต้องไปศึกษาแสวงหาความรูอ้ ย่างทีท่ รง แสดงว่าเป็นใบไม้ทั้งป่า ดังนัน้ คุณค่าของชีวติ ฝ่าย “จิต” ก็คอื จิตมีความรูท้ ถ่ี กู ต้อง จนความทุกข์ในจิตหมดสิ้นไป หรือเกิดขึ้นรบกวนจิตไม่ได้ อีกต่อไป มาถึงตรงนี้ ก็คงจะมาถึงคำตอบของคำถามว่า "เกิดมาทำไม ?" คำตอบก็ ค ื อ "เกิ ด มาเพื ่ อ ดู แ ลหล่ อ เลี ้ ย งค้ ำ จุ น ให้ ก ายมี ความสมบูรณ์ ให้เป็นฐานรองรับการแสวงหาความรูท้ ถ่ี กู ต้อง ของจิต จนกว่าจิตจะรูถ้ กู ต้องอย่างสมบูรณ์ มีผลทำให้จติ มีภาวะ ปลอดโปร่งจากความดิ้นรนทั้งปวง" มีขอ้ สังเกตสำคัญ คือ เรือ่ ง "ความต้องการ" ความต้องการชนิดทีก่ ล่าวนีเ้ ป็นความต้องการแท้ๆของธรรมชาติ ทีจ่ ะต้องรูจ้ กั และต้องปฏิบตั เิ พือ่ ตอบสนอง เป็นความต้องการทีเ่ ป็น ตัวบังคับให้ชวี ติ ต้องมีหน้าทีท่ จ่ี ะต้องกระทำ ไม่กระทำไม่ได้ หรือหาก ไม่กระทำแล้ว ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาและความเดือดร้อนต่างๆแก่ชวี ติ ผูร้ บู้ างท่านจึงได้ให้ความหมายของ "ธรรมะ" ว่า คือ "หน้าที"่ ก็มาจากความเข้าใจตรงนี้เอง ความต้องการชนิดนีแ้ ตกต่างจากความต้องการอย่างทีเ่ รียกว่า "ตัณหา" ซึง่ เป็นความต้องการที่มาจากความหลงผิดหรือความไม่รู้ (อวิชชา) เป็นความอยากของตนหรือของตัวตนที่คิดและเข้าใจผิด ไปเอง ทัง้ ๆ ทีธ่ รรมชาติแท้ๆ ไม่ได้มคี วามต้องการชนิดนีอ้ ยูเ่ ลย “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

20


ดังนัน้ ในเรื่องของ "ความอยาก" จะต้องพิจารณาให้ดี ไม่ใช่ขน้ึ ชือ่ ว่า "ความอยาก" แล้ว จะต้องเป็น "ตัณหา" เสมอไป อย่างที่อาจจะมีชาวพุทธไม่น้อยที่เข้าใจผิดอยู่ การพิจารณาให้รู้จักชี ว ิ ต ฝ่ า ยกายและฝ่ า ยจิ ต ดั งที่กล่าวมา จึงเป็นการชีใ้ ห้เห็นชัดถึงตัว อวิชชา และ ตัณหา ทีพ่ ระพุทธองค์ทรง แสดงด้วย กล่าวคือ ความรูท้ เ่ี ข้าใจชีวติ ฝ่ายกายและฝ่ายจิตผิดไปจาก ธรรมชาติทเ่ี ป็นอยูจ่ ริง นัน่ คือ อวิชชา และ ความต้องการทีไ่ ม่ใช่ความต้องการแท้ ๆ ของตัวชีวติ ความต้องการนัน้ คือ ตัณหา เมือ่ รูเ้ ข้าใจ ธรรมชาติของชีวิตถูกต้อง ก็จะเข้าใจคุณค่าและ ความหมายของสิง่ ต่างๆทีม่ าเกีย่ วข้องกับชีวติ ถูกต้อง ก็จะทำให้รจู้ ัก และเข้าไปทำหน้า ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ สิ่งต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง ทำให้ การดำเนิ น ชี ว ิ ต ทุ ก อย่างเป็นไปอย่างถู ก ต้ อ ง ทำให้ เ กิ ด ผล คื อ ความไม่มีทุกข์

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

21


12) รูว้ า่ : เรือ่ งราวต่าง ๆ ในเส้นทางชีวติ ทุกข์เป็นอย่างไร 12.1) รูว้ า่ : ชีวติ ทุกข์ มีอาการปรากฏ หรือการแสดงตัว ออกมาเป็น “กิเลส” ในรูปแบบต่าง ๆ “กิเลส” แปลว่า “เครือ่ งเศร้าหมอง” มีรากเง่าหรือต้นตอมา จากอวิชชาและตัณหา ในบุคคลทัว่ ไปมักจะไม่รทู้ นั ว่าอวิชชาและตัณหา ได้เกิดขึน้ แล้ว จนกว่าจะเกิดอาการที่แสดงออกที่ชัดเจนจึงค่อยรูไ้ ด้ ซึง่ จำแนกได้เป็น 3 กลุม่ อาการใหญ่ ๆ คือ 1. กิเลสกลุม่ "โลภะ" หรือ "ราคะ" กิเลสกลุม่ นีม้ ลี กั ษณะพอใจต่ออารมณ์ทร่ี บั รู้ ต้องการดึงหรือ เหนีย่ วรั้งอารมณ์เข้าหาตัว ต้องการครอบครองและเป็นเจ้าของใน อารมณ์นน้ั ๆ กิเลสในกลุม่ นี้ เช่น นันทิ , ความกำหนัด , กามฉันทะ 2. กิเลสกลุม่ "โทสะ" กิเลสกลุม่ นีม้ ลี กั ษณะไม่พอใจต่ออารมณ์ทร่ี บั รู้ ต้องการผลัก ไสอารมณ์ให้ออกไปไกลห่าง ต้องการกำจัดอารมณ์นน้ั ๆ กิเลสใน กลุม่ นี้ เช่น ความโกรธ , ความอิจฉา , ความตระหนี่ , ความอึดอัด , ความรำคาญใจ เป็นต้น 3. กิเลสกลุม่ "โมหะ" กิเลสกลุม่ นีม้ ลี กั ษณะตัดสินไม่ได้ว่าพอใจหรือไม่พอใจต่อ อารมณ์ทร่ี บั รู้ จึงมีอาการวนเวียนอยูก่ บั อารมณ์ กิเลสในกลุม่ นี้ เช่น ความลังเลสงสัย , ความฟุง้ ซ่าน เป็นต้น

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

22


12.2) รูว้ า่ : การเกิดขึน้ ของ “กิเลส” มี “เวทนา” หรือ “ความรูส้ กึ ” ทีเ่ กิดขึน้ ในขณะรับรู้ เป็นปัจจัยสำคัญ กล่าวคือ 1. เมือ่ รับอารมณ์ทท่ี ำให้เกิด "สุขเวทนา" เพราะมีอวิชชาจะทำให้ เกิดตัณหาหรือความอยากทีจ่ ะดึงอารมณ์ทร่ี บั รูเ้ ข้าหาตัว ทำให้เกิด กิเลสในกลุม่ "โลภะ" (ดึงเข้า) 2. เมือ่ รับอารมณ์ทท่ี ำให้เกิด "ทุกขเวทนา" เพราะมีอวิชชาจะทำให้ เกิดตัณหาหรือความอยากที่จะผลักไสอารมณ์ ท ี ่ ร ั บ รู ้ ออกจากตัว ทำให้เกิดกิเลสในกลุม่ "โทสะ" (ผลักออก) 3. เมือ่ รับอารมณ์ทท่ี ำให้เกิด "อทุกขมสุขเวทนา" (=เวทนาที่ ตัดสินไม่ได้วา่ เป็นสุขหรือทุกข์) เพราะมีอวิชชาจะทำให้เกิดตัณหาหรือ ความอยากที่วนเวียนอยู่ในอารมณ์ที่รับรู้ ทำให้เกิดกิเลสในกลุ่ม "โมหะ" (วนๆ) เรือ่ ง “เวทนา” นีเ้ ป็นสิง่ สำคัญมาก เพราะเป็นสิง่ ทีท่ ำให้มนุษย์ หลงใหลได้มากที่สุด และยังทำให้หลงเข้าใจผิดว่าสิ่งนี้โดยเฉพาะ “สุขเวทนา” คือ เป้าหมายทีแ่ ท้จริงของชีวติ ซึ่งตามธรรมชาติทเ่ี ป็น จริงแล้วชีวติ ในฝ่าย “จิต” ต้องการ“ความรูท้ ถ่ี กู ต้อง” ต่างหาก ตามที่ ได้กล่าวไปแล้วในตอนต้น และเพราะความเข้าใจผิดว่า “สุขเวทนา” เป็นเป้าหมาย ของชีวติ จึงทำให้เกิดชีวติ ทุกข์ กล่าวคือ จิตของบุคคลตกอยู่ ภายใต้อทิ ธิพลของเวทนาทัง้ หลาย มีอาการดึงเข้า-ผลักออก-วนๆ ไปตามเวทนาที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา หาความสงบและความ เป็นปกติสขุ ทีแ่ ท้จริงไม่ได้ อย่างทีเ่ รียกว่าจมอยูใ่ น “วัฏฏะสงสาร”

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

23


12.3) รูว้ า่ : "ชี ว ิ ต ทุกข์" มีระดับความหยาบและละเอียด ซึง่ จำแนกตามระดับของ “เวทนา” หรือ “ภพ-ภูม”ิ ได้ดงั นี้ 1. ระดับ "นรก" (=จิตทีส่ ะสม"โทสะ") มีทกุ ข์มากกว่าสุข 2. ระดับ "เปรต" (=จิตทีส่ ะสม"โลภะ") มีทกุ ข์มากกว่าสุข 3. ระดับ "เดรัจฉาน" (=จิตทีส่ ะสม"โมหะ") มีทกุ ข์มากกว่าสุข 4. ระดับ "อสุรกาย" (=จิตทีส่ ะสม"ความกลัว") มีทกุ ข์มากกว่าสุข 5. ระดับ "มนุษย์" (=จิตทีส่ ะสม"ศีล 5") มีทกุ ข์และสุขพอๆ กัน 6. ระดับ "เทวดา" (=จิตทีส่ ะสม"หิร-ิ โอตตัปปะ") มีสขุ มากกว่าทุกข์ 7. ระดับ "พรหม" (=จิตทีส่ ะสม"สมาธิ" ในระดับรูปฌานและ อรูปฌาน) มีแต่สขุ เวทนา ไม่มที กุ ขเวทนาเลย สำหรับความหมายของ “ภพ” และ “ภูม”ิ หากใช้อย่างเคร่งครัด คำว่า "ภพ" ในกรณีทห่ี มายถึงสถานที่ หรือทีอ่ ยูข่ องสัตว์ ส่วนคำว่า "ภูม"ิ หมายถึงภาวะของจิต อย่างทีม่ คี ำเรียก “สวรรค์ในอก - นรกในใจ” 12.4) รูว้ า่ : สามารถใช้ประโยชน์ของ “เวทนา” ในแง่ทเ่ี ป็น เครือ่ งมือตรวจสอบความผิดปกติของธรรมชาติทง้ั ฝ่ายกายและ ฝ่ายจิตได้ โดยเฉพาะ “ทุกขเวทนา” กล่าวคือ หากเกิด “ทุกขเวทนาทางกาย” ก็เป็นเครื่องบอกว่ามีความ ผิดปกติหรือความเจ็บป่วยเกิดขึ้นที่ร่างกาย หากเกิด “ทุกขเวทนาทางใจ” ก็เป็นเครื่องบอกว่ามีความผิด ปกติหรือความรู้สึกนึกคิดที่ผิดเกิดขึ้นที่จิตใจ แต่หากเป็น “สุขเวทนา” ยังไม่สามารถใช้เป็นเครื่องบอกอะไร ทีช่ ดั เจนนัก “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

24


13) รูว้ า่ : เรือ่ งราวต่าง ๆ ในเส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์เป็นอย่างไร 13.1) รูว้ า่ : "นิโรธ" หรือ "ความดับทุกข์" ก็มคี วามหยาบ และละเอียดทีจ่ ะต้องดับไปตามลำดับก่อน-หลัง หรือตามลำดับ ของ “สังโยชน์ 10” ดังนี้ 1. ดับทุกข์ทม่ี าจากความยึดมัน่ ในความเห็นผิดหรือความรู้ ความเข้าใจทีผ่ ดิ ในเรือ่ งรูปธรรมและนามธรรม หรือทุกข์ทม่ี าจาก สังโยชน์ 3 ข้อแรก คือ สักกายทิฏฐิ, วิจกิ จิ ฉา, สีลพ ั พตปรามาส ความทุกข์ในระดับนี้มีสาเหตุสำคัญมาจาก “สักกายทิฏฐิ” คือ ความเห็นผิดในเรือ่ งของชีวติ และการให้คณ ุ ค่าความหมายของ สิง่ ต่างๆทีม่ ตี อ่ ชีวติ ผิดไปจากความเป็นจริงโดยเฉพาะความเห็นผิด ในเรือ่ งตัวตน หรือเอาตัวตนเป็นทีต่ ง้ั ของความเห็นทีม่ ตี อ่ สิง่ ต่างๆ โดยไม่รู้ไม่เข้าใจว่าธรรมชาติของชีวิตคืออะไร ? - ต้องการอะไร ? - เพือ่ อะไร ? เป้าหมายทีแ่ ท้จริงของชีวติ คืออะไร ? แล้วมีความยึดมัน่ ใน ความเห็นผิดเหล่านัน้ ชีวติ ทีต่ ง้ั อยูบ่ นความเห็นผิดนี้(=สักกายทิฏฐิ) ย่อมเป็นอยูเ่ องที่ ไม่สามารถทำให้ชวี ติ ดำเนินไปได้ดว้ ยความมัน่ ใจ(=วิจกิ จิ ฉา) ความ ไม่มน่ั ใจนีเ้ องทีท่ ำให้จติ มีความกังวลและหวัน่ ไหวอยูต่ ลอด และเพือ่ ให้ จิตคลายจากความกังวลและหวัน่ ไหวทีร่ บกวนอยูน่ ้ี จึงทำให้ตอ้ งไป พึง่ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ม่ี อี ำนาจหรือฤทธานุภาพ (=สีลพ ั พตปรามาส) ทัง้ นี้ ก็เพือ่ ช่วยปลอบประโลม ให้จติ พอมีความเป็นปกติสขุ อยูไ่ ด้นน่ั เอง เปรียบได้กบั บุคคลทีห่ ลงทางในป่าใหญ่ ไม่รทู้ ศิ ทางว่าขณะนี้ อยูท่ ไ่ี หน ? ทางข้างหน้านำไปสูท่ ใ่ี ด (=สักกายทิฏฐิ) ย่อมทำให้ขาดความมัน่ ใจ และเต็มไปด้วยความหวาดระแวงในการเดินทาง(=วิจกิ จิ ฉา) และเพือ่ “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

25


ไม่ให้ความหวาดระแวงนั้นรบกวนจิตใจมากเกินไป และทำให้เกิด ความอุ่นใจที่จะเดินทางต่อไป จึงต้องหาที่พึ่งและทีย่ ดึ เหนีย่ วทาง จิตใจ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นของขลังหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีอำนาจหรือ ฤทธานุภาพ (=สีลพั พตปรามาส) 2. ดั บ ทุ ก ข์ อ ั น เนื ่ อ งมาจากความยึดมั่นในรู ป ธรรม (= กามราคะ,ปฏิฆะ) สิง่ ทีเ่ ป็นหัวใจสำคัญทีเ่ ป็นทีต่ ง้ั ของความยึดมัน่ ในที ่ น ี ้ คื อ รสชาติของรูปธรรมทัง้ หลาย โดยเฉพาะรสชาติที่เป็น ความสุขที่เกิ ด ขึ ้ น จากการสั ม ผั สทางประสาททั้ง 5 (=รูป , เสียง, กลิน่ , รส, สัมผัสทางกาย) ความทุกข์ในระดับนี้ เกิดจากความยึดมัน่ ในความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากการรับรูห้ รือสัมผัสกับรูปธรรม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ความสุขที่ เกิดขึน้ จากรูปธรรมนี้ สามารถมีอิทธิพลครอบงำ ร้อยรัด ทำให้เกิด ความหวัน่ ไหวและเกิดทุกข์แก่จติ ทีม่ คี วามยึดมัน่ ได้ 3. ดั บ ทุ ก ข์อันเนื่องมาจากความยึดมั่นในนามธรรม (= รูปราคะ , อรูปราคะ , มานะ , อุทธัจจะ , อวิชชา) สิ่งที่เป็นหัวใจ สำคัญทีเ่ ป็นทีต่ ง้ั ของความยึดมัน่ ในทีน่ ้ี คือ รสชาติของนามธรรม โดยเฉพาะรสชาติที่เป็นความสุขที่มาจากสมาธิหรือฌาน ความทุกข์ในระดับนี้ เกิดจากความยึดมัน่ ในความสุขทีเ่ กิดขึน้ โดยเฉพาะจากสมาธิ ซึง่ เป็นความสุขทีพ่ น้ ไปจากประสาทสัมผัสทัง้ 5 หรือกล่าวอีกนัยหนึง่ ความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากสมาธิน้ี สามารถมีอทิ ธิพลครอบงำ ร้อยรัด ทำให้เกิดความหวัน่ ไหวและเกิดทุกข์แก่จติ ทีม่ คี วามยึดมัน่ ได้ จะเห็นได้วา่ สิง่ ต่าง ๆ ทัง้ หมดทีส่ ามารถยึดมัน่ ถือมัน่ แล้วทำให้ เกิดทุกข์ได้ ก็มอี ยู่ 3 เรือ่ งดังทีก่ ล่าวไปแล้วนีเ้ อง “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

26


13.2) รูว้ า่ : คำว่า “พระอริยบุคคล” ไม่ใช่เรือ่ งของตัวบุคคล ไม่ใช่การสร้างหรือปฏิบตั ิ เพือ่ ทีจ่ ะไปเป็นอะไรอย่างหนึง่ ทีด่ หี รือวิเศษ แท้จริงเป็นเพียงชื่อเรียกเพื่อให้ทราบว่า จิตของบุคคล ระดับนัน้ ๆ มีปญ ั หาหรือความทุกข์อะไร ทีห่ มดสิน้ ไปจากจิตแล้ว เท่านั้น เช่น พระโสดาบัน เป็นชือ่ เรียกเพือ่ ให้ทราบว่า บุคคลท่านนี้ หมดปัญหาหรือทุกข์ อันเนือ่ งมาจากความเห็นผิดหรือความรูค้ วามเข้าใจ ที่ผิดในเรื่องรูปธรรมและนามธรรม พระสกิทาคามี เป็นชือ่ เรียกเพือ่ ให้ทราบว่า บุคคลท่านนี้ หมดปัญหาหรือทุกข์ อันเนือ่ งมาจากความเห็นผิดหรือความรูค้ วามเข้าใจ ทีผ่ ดิ เช่นเดียวกันกับพระโสดาบัน แต่กเิ ลสเบาบางกว่า พระอนาคามี เป็นชื่อเรียกเพื่อให้ทราบว่า บุคคลท่านนี้ หมดปัญหาหรือทุกข์ อันเนือ่ งมาจากธรรมชาติฝา่ ยรูปธรรมทัง้ หมด พระอรหันต์ เป็นชื่อเรียกเพื่อให้ทราบว่า บุคคลท่านนี้ หมดปัญหาหรือทุกข์ อันเนือ่ งมาจากธรรมชาติฝา่ ยนามธรรมทัง้ หมด

13.3) รูว้ า่ : อริยมรรคมีองค์ 8 กับเรือ่ งไตรสิกขา หรือ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเรือ่ งเดียวกัน และสามารถสงเคราะห์ลง ในไตรสิกขาได้ กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ, สัมมาสังกัปปะ = ปัญญา สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ = ศีล สัมมาวิรยิ ะ, สัมมาสติ, สัมมาสมาธิ = สมาธิ “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

27


ศีล คือ พฤติกรรมการแสดงออกทางกายและวาจาที่ถูกต้อง ในการไปเกี่ยวข้องและสั ม พั น ธ์ ก ั บ บุ ค คลและสิ่งต่างๆ ภายนอก แล้วไม่ทำให้เกิดปัญหา ความกระทบกระทัง่ หรือความเดือดร้อน สมาธิ คือ คุณภาพหรือภาวะของจิตทีเ่ หมาะสมมีคณ ุ สมบัตทิ ส่ี ำคัญ คือ บริสทุ ธิ์ ตัง้ มัน่ ว่องไว ควรแก่การงาน ไม่มนี วิ รณ์รบกวน ปัญญา คือ ความรอบรู้ รูเ้ ท่าทันความจริง รูเ้ งือ่ นไข รูเ้ หตุปจั จัย

13.4) รูว้ า่ : เมื่อพิจารณาอริยมรรค มีองค์ 8 ในแง่ของ ไตรสิกขา อริยมรรคในระดับโสดาบัน = ศีลสมบูรณ์, สมาธิพอประมาณ, ปัญญาพอประมาณ อริยมรรคในระดับสกิทาคามี = ศีลสมบูรณ์, สมาธิพอประมาณ, ปัญญาพอประมาณ อริยมรรคในระดับอนาคามี = ศีลสมบูรณ์, สมาธิสมบูรณ์, ปัญญาพอประมาณ อริยมรรคในระดับอรหันต์ = ศีลสมบูรณ์, สมาธิสมบูรณ์, ปัญญาสมบูรณ์ ดังนัน้ ในการปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นไปตามขัน้ ตอนทีถ่ กู ต้อง จะต้องปฏิบตั ิ ไปพร้อม ๆ กันทัง้ ในเรือ่ ง ศีล สมาธิ และปัญญา แต่ในขัน้ ต้นต้องเน้น ไปในส่วนของศีลก่อน จากนั้นจึงเน้นไปในส่วนของสมาธิ และเน้น ไปในส่วนของปัญญาเป็นขัน้ ตอนสุดท้าย

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

28


สรุปเชือ่ มโยงเพือ่ ให้เห็นรอบด้านยิง่ ขึน้ พระโสดาบัน เป็นผูไ้ ม่มที กุ ข์หรือปัญหาทีม่ าจากความเห็นผิด หรือความรูค้ วามเข้าใจผิด (=สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา สีลพั พตปรามาส) เป็นผู้รู้เข้าใจถูกต้องในเรื่องชีวิตและสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวติ เมือ่ รูเ้ ข้าใจถูกต้อง(=ละ“สักกายทิฏฐิ”) ก็ทำให้มคี วามมัน่ ใจในการดำเนินชีวติ (=ละ “วิจกิ จิ ฉา”) และไม่ตอ้ งพึง่ พิงอยูก่ บั สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิห์ รือของขลังใด ๆ (=ละ “สีลพั พตปรามาส”) เพราะอาศัยความรูท้ ถ่ี กู ต้องนัน้ เอง เป็นหลัก ในการดำเนินชีวติ จึงเป็นผูม้ พี ฤติกรรมทางกายและวาจาทีไ่ ปเกีย่ วข้อง กับบุคคลและสิง่ ต่างๆ ภายนอกถูกต้อง จึงชือ่ ว่า มีศลี สมบูรณ์ พระสกิทาคามี มีคุณสมบัติเหมือนพระโสดาบัน เพียงแต่ มีกิเลสเบาบางกว่า พระอนาคามี เป็นผู ้ ไ ม่ ม ี ท ุ ก ข์ ห รื อ ปั ญ หาอั น เนื ่ อ งมาจาก ธรรมชาติฝ่ายรูปธรรม ที่สำคัญคือ รสชาติทเ่ี กิดขึน้ จากการสัมผัส รูปธรรม หรือ รูป เสียง กลิน่ รส สัมผัส หรืออย่างทีเ่ รียกว่า "กามราคะ และปฏิฆะ" จึงเป็นผู้ที่ไม่มีสง่ิ ใด ๆ จากภายนอกเข้ามารบกวนจิต ให้หวัน่ ไหวขึน้ ๆลงๆ หรือฟูๆแฟบๆได้ จึงชือ่ ว่า มีสมาธิสมบูรณ์ พระอรหันต์ เป็นผูไ้ ม่มที กุ ข์หรือปัญหาอันเนือ่ งมาจากธรรมชาติ ฝ่ายนามธรรมล้วนๆ ซึง่ เป็นทุกข์หรือปัญหาอย่างละเอียดทีอ่ ยูใ่ นระดับลึก ของจิตอย่างทีเ่ รียกว่า "รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา" จึงต้องอาศัยปัญญาทีล่ ะเอียดและลึกซึ้งที่สุดในการจัดการกับทุกข์ หรือปัญหาประเภทนี้ จึงชือ่ ว่า มีปญ ั ญาสมบูรณ์ กล่าวเฉพาะในแง่ "ศีลสมบูรณ์" ของพระโสดาบัน จึงทำให้ พระโสดาบันเป็นผู้ "ปิดอบาย (=ความเสือ่ ม)" หมายความว่า พระโสดาบัน จะไม่มพี ฤติกรรมใดๆ ทางกายและวาจาทีจ่ ะสร้างปัญหาหรือความ เดือดร้อน (=อบายหรือความเสือ่ มทีแ่ ท้จริง) ให้เกิดขึน้ อย่างเด็ดขาด “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

29


14) รูว้ า่ : นอกจากเรือ่ ง "ทุกข์และความดับแห่งทุกข์" ซึง่ เป็นแก่น ของหลั ก ธรรมคำสอนแล้ ว ยั ง ตรั ส สอนธรรมในอี ก ระดั บ หนึ ่ ง ซึ่งไม่เ กี ่ ย วกั บ การดั บ ทุ ก ข์ โ ดยตรง เพื่ออนุ เ คราะห์แก่บุคคลที่มี ประสบการณ์ แ ละสติ ป ั ญ ญาไม่ ม ากพอที ่ จ ะมุ ่ ง แสวงหาในเรื ่ อ ง "ความดับทุกข์" ซึ่งเป็นสาระสำคัญที่แท้จริงของชี ว ิ ต แต่มุ่งสนใจ ต้องการทีจ่ ะได้รบั สิง่ ทีด่ ที น่ี า่ พอใจน่าปรารถนาในชีวติ ซึง่ ส่วนใหญ่ ก็คอื สิง่ ทีเ่ รียกว่า “โลกธรรม” นัน่ เอง โดยเฉพาะโลกธรรมในฝ่ายเจริญ คือ ลาภ ยศ สุข สรรเสริญ (ฝ่ายเสื่อม คือ เสื่อมลาภ เสื่อมยศ ทุกข์ นินทา) ในกรณีนี้ จึงได้ ม ี ก ารตรั ส จำแนกธรรม เป็น 2 ระดับ คือ ธรรมในระดับโลกียสัมมาทิฏฐิ และธรรมในระดับโลกุตตรสัมมาทิฏฐิ ซึ่งสรุปสาระได้ว่า 1. ธรรมในระดับโลกียสัมมาทิฏฐิ คือ ธรรมหรือคำสอน ทีม่ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ ผล คือ การได้รบั อารมณ์ทด่ี ี ๆ ได้รบั สิง่ ดี ๆทีน่ า่ ปรารถนาทีน่ า่ พึงใจ ซึง่ โดยสรุปก็คอื “โลกธรรม” ตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว คำสอนในระดับนีม้ ฐี านอยูบ่ นความเห็นทีเ่ ป็นโลกียสัมมาทิฏฐิ ทีว่ า่ ทานทีใ่ ห้แล้ว มีผล, ยัญทีบ่ ชู าแล้ว มีผล, สังเวยทีบ่ วงสรวงแล้ว มีผล, ผลวิบากของกรรมทีท่ ำดี ทำชัว่ แล้วมีอยู,่ โลกนีม้ ี โลกหน้ามี, มารดามี บิดามี, สัตว์ทเ่ี ป็นอุปปาติกะมี, สมณพราหมณ์ทง้ั หลาย ผู ้ ด ำเนิ น ชอบปฏิบัติช อบ ซึ ่ ง ประกาศโลกนี้โลกหน้ า ให้แจ่มแจ้ ง เพราะรูย้ ง่ิ ด้วยตนเองในโลกมี . กล่าวโดยสรุปลักษณะของคำสอนในระดับนี้ - ไม่ได้มจี ดุ มุง่ หมายในการดับทุกข์ (=ทุกข์ทเ่ี กิดจากความยึดมัน่ ถือมัน่ ) - มี จ ุ ด มุ ่ ง หมายที ่ ต ้ อ งการจะได้ ร ั บสิ่งดีๆ ผลที่ดีๆ ที ่ เ ป็ น โลกธรรมฝ่ายเจริญ คือลาภ ยศ สุข สรรเสริญ “หลักธรรมพื้นฐานฯ” 30


- ต้องการให้มกี ารเวียนว่ายตายเกิดทีด่ ี ๆ ทีน่ า่ ปรารถนา - เป็นคำสอนทีเ่ กีย่ วเนือ่ งได้กบั เรือ่ งอดีตหรือภพชาติในอดีต จนถึงอนาคตหรือภพชาติในอนาคต - เป็นคำสอนทีต่ ง้ั อยูบ่ นความรูส้ กึ ทีเ่ ป็นตัวตน(=อัตตา) - มุง่ สอนเพียงให้เชือ่ แล้วปฏิบัติตามสิ่งที่เชื่อนัน้ ก็นบั ว่า เพียงพอแล้ว ไม่จำเป็นจะต้องพิสจู น์หรือประจักษ์ในเรือ่ งทีส่ อน - บางเรือ่ งทรงแสดงว่าเป็นอจินไตย ไม่ควรคิดให้มาก เพราะ อาจทำให้เกิดเป็นบ้าได้ 2. ธรรมในระดับโลกุตตรสัมมาทิฏฐิ คือ ธรรมหรือคำสอน ทีม่ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ ผล คือ “ความดับทุกข์” อย่างทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว คำสอนในระดับนี้ ได้ตรัสไว้ชดั ว่า ตัง้ อยูบ่ นฐานของความเห็น ทีถ่ ูกต้องในเรือ่ งทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค หรืออริยสัจ 4 นัน่ เอง กล่าวโดยสรุปลักษณะของคำสอนในระดับนี้ - มีจดุ มุง่ หมายในการดับทุกข์ - เป็นคำสอนที่เน้นปัจจุบันขณะแห่งการรับรู้ ไม่ใส่ใจต่อ อดีตและอนาคต รวมไปถึงอดีตชาติและอนาคตชาติ - เป็นคำสอนทีต่ ง้ั อยูบ่ นความรูส้ กึ ทีไ่ ม่ใช่ตวั ตน (อนัตตา) - เป็นคำสอนทีเ่ น้นในเรือ่ งการวางจิตรับรูต้ อ่ อารมณ์ ว่าการวางจิต ไว้ผดิ เป็นอย่างไร แล้วทำให้เกิดความทุกข์ขน้ึ และการวางจิตที่ ถูกต้องเป็นอย่างไร แล้วไม่ทำให้ความทุกข์เกิดขึน้ - ไม่ได้เป็นคำสอนทีเ่ พียงให้เชือ่ แต่จะต้องปฏิบตั แิ ละประจักษ์ ด้วยตนเองทัง้ หมด จนถึงทีส่ ดุ กลายเป็นอสัทธา คือพระอรหันต์ ผูไ้ ม่ตอ้ งเชือ่ ใครอีกในเรือ่ งของการดับทุกข์ จึงนับเป็นผูท้ ่ี เข้าถึงคำสอนในระดับนีจ้ ริง - ไม่มคี ำสอนในระดับนีท้ ต่ี รัสว่าเป็นอจินไตย “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

31


15) รูว้ า่ : โลกียสัมมาทิฏฐิ เป็นพืน้ ฐานของโลกุตตรสัมมาทิฏฐิ ผู้ที่จะมีโลกุตตรสัมมาทิฏฐิได้ จะต้องรูแ้ ละเข้าใจในโลกียสัมมาทิฏฐิมาก่อน คำสอนในศาสนาต่าง ๆ อย่างน้อยต้องมีโลกียสัมมาทิฏฐิเป็นพืน้ ฐาน ผู้ที่มีโลกุตตรสัมมาทิฏฐิจริง จึงไม่มีความขัดแย้งกับ ใครๆ ในโลก 16) รูว้ า่ : ทีแ่ ท้ธรรมทัง้ หมดทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอน ในแง่ทเ่ี กีย่ ว กับการปฏิบัติของมนุษย์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ระดับ คือ ระดับ โลกียสัมมาทิฏฐิ และระดับโลกุตตรสัมมาทิฏฐิ จึงสามารถนำมาเป็น หลักในการประมวลและจัดหมวดธรรมต่าง ๆ ทีท่ รงตรัสสอนทัง้ หมดได้ เช่น โอวาทปาฏิโมกข์ ทีส่ อนว่า 1) การไม่ทำบาปทัง้ ปวง 2) การทำกุศลให้ถงึ พร้อม และ 3) การทำจิตให้บริสทุ ธิ์ การไม่ทำบาปทัง้ ปวง และการทำกุศลให้ถงึ พร้อม = ระดับโลกียสัมมาทิฏฐิ การทำจิตให้บริสทุ ธิ์ = ระดับโลกุตตรสัมมาทิฏฐิ เช่น กรรม 3 คือ กรรมดำ , กรรมขาว , กรรมไม่ดำไม่ขาว กรรมดำ , กรรมขาว = ระดับโลกียสัมมาทิฏฐิ กรรมไม่ดำไม่ขาว = ระดับโลกุตตรสัมมาทิฏฐิ เช่น โพธิปกั ขิยธรรม 37 (ธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งการตรัสรู)้ เช่น สติปัฏฐาน 4 , อิทธิบาท 4 , สัมมัปปธาน 4 , อินทรีย์ 5 เป็นต้น = ระดับโลกุตตรสัมมาทิฏฐิทง้ั หมด เช่น พรหมวิหาร 4, สังคหวัตถุ 4 ฯลฯ = ระดับโลกียสัมมาทิฏฐิ “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

32


17) รูว้ า่ : อย่างง่าย ๆ สามารถใช้ความรูส้ กึ ทีเ่ ป็น "อัตตา" และ "อนัตตา" ในการจำแนกระหว่าง ธรรมระดับโลกียสัมมาทิฏฐิ กับ ธรรมระดับโลกุตตรสัมมาทิฏฐิ กล่าวคือ ธรรมทีป่ ระกอบไปด้วยความรูส้ กึ ทีเ่ ป็น "อัตตา" = ธรรมระดับโลกียสัมมาทิฏฐิ ธรรมทีป่ ระกอบไปด้วยความรูส้ กึ ทีเ่ ป็น "อนัตตา" = ธรรมระดับโลกุตตรสัมมาทิฏฐิ "อนัตตา" มีความหมายว่า "ไม่ใช่ตวั ตน" ไม่ได้หมายความว่า "ไม่มอี ะไร" ซึง่ เป็นความหมายของ "นิรตั ตา" (=ไม่มตี วั ตน) ซึง่ เป็นมิจฉาทิฏฐิทต่ี รงข้ามกับ "อัตตา" (= มีตวั ตน) "อนัตตา" ทีแ่ ท้จริง เป็นเพียงการปฏิเสธความเห็นหรือ ความรูส้ กึ ทีผ่ ดิ ๆ ของจิต ว่าเป็นตัวตนเท่านัน้ ไม่ได้มงุ่ แสดงเพือ่ ยืนยันหรือปฏิเสธว่า “มี” หรือ “ไม่ม”ี ตัวตนทีแ่ ท้จริงในธรรมชาติ

18) รูว้ า่ : สามารถนำธรรมมาปฏิบตั ใิ นชีวติ จริงได้อย่างไร 18.1) รูว้ า่ : ในด้านทีเ่ ป็นการปฏิบตั ิ คำว่า "ปฏิ" แปลว่า เจาะจง หรือ จำเพาะลงไป “บัต”ิ มาจากคำว่า “ปตฺต”ิ แปลว่า ดำเนินไป ดังนัน้ ในแง่ของการปฏิบตั ิ หากจะให้ปฏิบตั ไิ ด้กจ็ ะต้องสรุป เข้ามาหรือควบรวมเข้ามาให้นอ้ ยลง จนเหลือแต่สว่ นทีเ่ ป็นหัวใจ หรือสาระสำคัญจริงๆ จึงจะสามารถนำไปปฏิบตั ไิ ด้ “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

33


ไม่เหมือนกับเรือ่ งของปริยตั ิ คำว่า “ปริ” แปลว่า รอบ หรือ ทัว่ “ยัต”ิ แปลว่า ศึกษา-เรียนรู้ ในแง่ของปริยตั ิ จะต้องมีการแจกแจงหรือแตกรายละเอียด ออกไปให้มาก ให้กว้างขวางและรอบด้าน จึงจะเกิดความรอบรู้ แตกฉานในเรือ่ งของปริยตั ิ ดังนัน้ ในเรือ่ งของการปฏิบตั ิ จึงมีขอ้ เสนอแนะอย่างนีว้ า่ : การปฏิ บ ั ต ิ ท ี ่ ส ำคั ญ ในพระพุ ท ธศาสนา อย่างที่ตรัสไว้ว่า คือ อริยมรรค มีองค์ 8 (=วิธกี ารปฏิบตั เิ พือ่ ความดับทุกข์) มีเรือ่ งทีจ่ ะ ต้องปฏิบตั ิ 8 เรือ่ ง เมือ่ ย่ออริยมรรค มีองค์ 8 ลงมาเป็น ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ก็กลายเป็นมีเรือ่ งปฏิบตั เิ หลือ 3 เรือ่ ง เมื่อย่อไตรสิกขา ซึง่ มี 3 เรือ่ ง ให้เหลือเพียงเรื่องเดียวที่จะนำ ไปปฏิบตั ิ ก็คอื เรือ่ ง "สติ" (=การระลึกรู)้ เมือ่ เหลือเพียง 1 เรือ่ ง ก็สามารถทำให้นำไปปฏิบัติได้ง่ายขึ้น ซึง่ หากจะอธิบายให้ละเอียด ก็คือ เรื่องหรือระบบปฏิบัติที่เรียกว่า "สติปฏั ฐาน" นั่นเอง แต่ในที่นี้จะเสนอแนะวิธีปฏิบัติในเรื่อง "สติ" อย่างย่นย่อเพือ่ ให้สามารถนำไปปฏิบตั ไิ ด้งา่ ย ๆ ในชีวิตประจำวัน ในหัวข้อถัดไป

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

34


18.2) รูว้ า่ : การปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง "สติ" สามารถปฏิบตั ไิ ด้ 3 ลักษณะดังนี้ 1. ให้มี "สติ" ระลึกรูใ้ น "สัมมาทิฏฐิ" (= ความรูค้ วามเข้าใจ ในเรือ่ งของชีวติ ตลอดจนคุณค่าความหมายของสิง่ ต่างๆทีถ่ กู ต้อง) แล้วไปเกีย่ วข้องกับสิง่ ต่างๆ เหล่านัน้ ด้วยกายและวาจาตามนัย ของ “สัมมาทิฏฐิ” นัน้ จะทำให้เกิดสิง่ ทีเ่ รียกว่า “ศีล”หรืออาจแตก ออกไปได้วา่ เป็น สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ 2. ให้ มี "สติ" ระลึกรูต้ ง้ั มัน่ แน่วแน่อยูใ่ นสิง่ หรืออารมณ์ ทีก่ ำหนด จะทำให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า ”สมาธิ” หรืออาจแตกออกไป ได้วา่ เป็น สัมมาวิรยิ ะ, สัมมาสติ, สัมมาสมาธิ 3. ให้ มี "สติ" ระลึกรูพ ้ จิ ารณาอารมณ์เพือ่ รูเ้ ท่าทันความ จริงของอารมณ์ จะทำให้เกิดสิง่ ทีเ่ รียกว่า “ปัญญา” หรืออาจแตกออก ไปได้วา่ เป็น สัมมาทิฏฐิ, สัมมาสังกัปปะ หรือสัมมาญาณะ นอกจากมีสติในเรือ่ งต่างๆ อย่างทีไ่ ด้กล่าวข้างต้นแล้ว ยังจะต้องเรียนรูจ้ กั ทีจ่ ะ มี“สติ” ให้ถกู ต้องด้วย พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้แล้วอย่างชัดเจนในคำสอนเรือ่ ง“สติปฏั ฐาน” โดยเฉพาะพุทธพจน์ทว่ี า่ ให้ละอภิชฌาและโทมนัส (=ความยินดี และยินร้าย)....ให้สกั แต่วา่ เป็นเครือ่ งระลึกรู.้ ...ไม่ยดึ มัน่ ใดๆในโลก ดังนัน้ คุณภาพของ “สติ” ทีถ่ กู ต้องในขณะทีก่ ำลังระลึกรู้ อยูน่ น้ั จะต้องมีการระลึกรูอ้ ย่างเป็นกลาง ไม่มอี คติทง้ั ในทาง บวก(=ยินดี)หรือในทางลบ(=ยินร้าย) ให้เป็นสักแต่วา่ การระลึกรู้ ทีบ่ ริสทุ ธิต์ ามทีเ่ ป็นจริงของสิง่ ทีร่ ะลึกรู้ และไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ ใดๆ ต่อสิง่ ทีร่ ะลึกรูน้ น้ั

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

35


18.3) รูว้ า่ : "สติ" ทำให้เกิด "ศีล" ได้อย่างไร ? เมือ่ สติระลึกรู้อยู่ในสัมมาทิฏฐิ (ความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้อง ในเรื่องของชีวิต และคุณค่าความหมายของสิง่ ต่าง ๆ ที่มีต่อชีวิต) “สติ” ก็จะควบคุมกายและวาจาของบุคคล ให้ทำหน้าที่ต่อบุคคล, สังคม และสิง่ ต่าง ๆ ภายนอก ตรงตามคุณค่าความหมายทีถ่ กู ต้องนัน้ ทำให้เกิดผล คือ ไม่มปี ญ ั หาหรือความเดือดร้อนเกิดขึน้ นีค้ อื “ศีล” ซึง่ เป็นตัวศีลแท้ตามธรรมชาติ มีความหมายว่า "ปกติ" มุง่ ผลคือ ความไม่เดือดร้อน ความไม่กระทบกระทัง่ และสันติระหว่างบุคคลกับ สิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ หมด ส่วน ศีล 5 , ศีล 8 , ศีล 10 , ศีล 227 เป็นต้น เป็นศีล ตามบทบัญญัตหิ รือเป็นวินยั ทีม่ ไี ว้เพือ่ บอกให้เห็นแนวหรือขอบเขต ของการกระทำทางกายและวาจาที่ไม่ถูกต้อง ดังนัน้ การปฏิบัติในเรื่อง “ศีล” ที ่ เ ป็ น เรื ่ อ งของ ธรรม จึงไม่ใช่การนำศีลที่เป็นข้อ ๆ มาอ่านแล้วจดจำไว้ และพยายาม ทำตามข้อบัญญัตเิ หล่านัน้ ให้ได้ ซึง่ นัน่ เป็นการปฏิบตั แิ บบวินยั การปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง “ศีล” ทีเ่ ป็นเรือ่ งของธรรม ต้องเริม่ ต้น ด้วยการแสวงหาความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้อง ในเรือ่ งของชีวติ และคุณค่าความหมายของสิง่ ต่างๆ ทีม่ ตี อ่ ชีวติ ทีเ่ รียกว่า“สัมมาทิฏฐิ” เสียก่อน เมือ่ “สติ” ระลึกรูอ้ ยูใ่ น “สัมมาทิฏฐิ” ก็จะควบคุมการใช้ กายและวาจา ให้ไปทำหน้าทีเ่ กีย่ วข้องกับสิง่ ต่างๆ เหล่านัน้ ได้ ถูกต้องตามคุณค่าความหมายทีถ่ กู ต้องนัน้ นีค้ อื “ศีล” ทีเ่ ป็นสภาวะ ตามธรรมชาติทแ่ี ท้จริง ทีจ่ ะให้ผลคือความปกติสขุ ตามความหมาย ทีแ่ ท้จริงของคำว่า “ศีล” “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

36


18.4) รูว้ า่ : "สติ" ทำให้เกิด "สมาธิ" ได้อย่างไร ? เมือ่ สติระลึกรูต้ อ่ เนือ่ งและแน่วแน่อยูใ่ นอารมณ์เดียวทีเ่ หมาะสม (หลักธรรมในพุทธศาสนาได้รวบรวมไว้เป็นตัวอย่าง มี 40 ประเภท หรือทีเ่ รียกว่า กรรมฐาน 40) ก็ จ ะทำให้ จ ิ ต เกิ ด สภาวะที ่ เ รี ย กว่ า “สมาธิ” ขึน้ ซึ ่ ง มี คุณสมบัติคือ ผ่องใส (ปาริ ส ุ ท ฺ โ ธ) , ตั ้ ง มั ่ น (สมาหิ โ ต) , ควรแก่การงาน (กมฺ ม นิ โ ย) ไม่มีนิวรณ์รบกวน เป็นจิตทีม่ คี ณ ุ ภาพและคุณสมบัตทิ เ่ี หมาะสม พร้อมทีจ่ ะนำไป ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ทุกอย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพ เปรียบได้กบั น้ำในแก้วทีเ่ ต็มไปด้วยตะกอน เมื่อจับแก้วนิง่ ไว้ ให้นานพอ ตะกอนจะค่อย ๆ ตกลงก้นแก้ว ได้น้ำใสที่อยู่ส่วนบน ทำให้สามารถเห็นสิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นแก้วน้ำได้ชดั เจน และน้ำที่ใสจึงมี ความเหมาะสมและคุณค่าทีจ่ ะนำไปใช้ในกรณีตา่ ง ๆ ได้เป็นอย่างดี จิตก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีส ติ แ น่ ว แน่ร ะลึ ก รู ้ น ิ ่ ง อยู ่ ใ นอารมณ์เดียว ตะกอนต่าง ๆ ของจิตที่ทำให้จิตมีคุณภาพที่ไม่ดี จะตกตะกอนลง กลายเป็นจิตทีม่ คี ณ ุ ภาพดีทเ่ี หมาะสมในทีส่ ดุ หรืออาจเปรียบได้กบั การใช้เลนส์นนู รับแสงแดด ซึง่ สามารถ รวมแสงที่กระจายให้เป็นจุดเดียว ทำให้ความร้อนและความสว่าง ของแสงเพิม่ ขึน้ อีกมาก จนสามารถเกิดการเผาไหม้ได้ ในการฝึกสมาธิ ก็เช่นเดียวกัน เป็นการรวมจิตที่กระจัดกระจายไปตามช่องทางการ รับรูต้ า่ ง ๆ ให้มารวมอยูท่ จ่ี ดุ เดียวทีก่ ำหนดไว้ เมือ่ จิตสามารถรวมอยู่ ทีจ่ ดุ เดียวได้ จะทำให้จติ มีพลังที่เข้มข้นขึ้น และมีความสามารถใน การกระทำสิง่ ต่าง ๆ ได้ดขี น้ึ มีประสิทธิภาพมากขึน้ มีชอ่ื เรียกการปฏิบตั เิ พือ่ ให้เกิด "สมาธิ ทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั กันดี อีกชือ่ หนึง่ ว่า "สมถกรรมฐาน" “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

37


18.5) รูว้ า่ : "สติ" ทำให้เกิด "ปัญญา" ได้อย่างไร ? เมือ่ สติตามระลึกรูแ้ ละพิจารณาไตร่ตรองในสิ่งหรือเรื่องที่จิต รับรู้ ด้วยจิตที่เป็นสมาธิ มีความเป็นกลาง ไม่ประกอบด้วยอคติ คอยติดตามสอดส่อง จนรูถ้ งึ เรือ่ งราวความเป็นมา-เป็นไป ตลอดจนรู้ ถึงเหตุปจั จัยทีเ่ ป็นเงือ่ นไข ก็จะทำให้เกิด “ปัญญา” รูเ้ ท่าทันความ เป็นจริงของสิง่ นัน้ หรือเรือ่ งนัน้ ๆ เปรียบได้กบั การที่ประสงค์จะให้เกิด “ปัญญา” รอบรูใ้ นเรือ่ ง นกชนิดหนึง่ เราไม่สามารถอยูด่ ี ๆ ก็เกิดความรูข้ น้ึ มาได้เลย วิธีการ ทีท่ ำก็คอื ต้องไปคอยเฝ้าดูนกชนิดนัน้ และต้องคอยพิจารณา-สังเกตไตร่ตรอง เกีย่ วกับความเคลือ่ นไหวของนกอยูต่ ลอดเวลา ทัง้ กลางวัน กลางคื น และอาจต้ อ งใช้ เ วลาคอยติ ด ตามอยู ่ เ ป็ น เดื อ นเป็ น ปี จึงจะเกิดปัญญาหรือความรูเ้ กีย่ วกับนก ตลอดจนวงจรชีวติ ของนก ชนิดนั้นอย่างแจ่มแจ้ง มีชื่อเรียกการปฏิบัติเพื่อให้เกิด "ปัญญา" ที่เป็นที่รู้จัก กันดี อีกชือ่ หนึง่ ว่า "วิปสั สนากรรมฐาน" สำหรับการใช้ปัญญาเพื่อสร้างสรรค์ ต ลอดจนแก้ ไ ขปัญหา และอุปสรรคต่างๆ หลักพุทธธรรมได้เสนอแนะไว้ในหลายหมวดธรรม แต่ ใ นที ่ นี้ประสงค์จะเสนอหลั ก ธรรม คื อ "สัปปุรสิ ธรรม 7" คือ รูเ้ หตุ รูผ้ ล รูต้ น รูป้ ระมาณ รูก้ าล รูบ้ คุ คล รูช้ มุ ชน หมายความว่า การจะกระทำอะไรในกรณีหนึง่ ๆ การกระทำ นัน้ ๆ ไม่ใช่มาจากความอยากตามความรูส้ กึ ของตน แต่มาจาก ผลลัพธ์ของการประมวลความรู้ทั้ง 7 ประการดังกล่าว นีค้ อื การใช้ปัญญาในทางพระพุ ท ธศาสนา ย่อมให้ ป ระโยชน์ ที่ เหมาะสมและตรงต่อสถานการณ์. “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

38


18.6) รูว้ า่ : ในประเด็น "ศีล สมาธิ ปัญญา" อาจนำไปปฏิบตั ิ ในอีกลักษณะ เมือ่ ทุกข์หรือปัญหาก่อตัวและรบกวนจิตใจ กล่าวคือ :ขัน้ ตอนที่ 1 เมือ่ ทุกข์หรือปัญหา ได้กอ่ ตัวเกิดขึน้ ในใจแล้ว ให้ใช้ "ปัญญา" พิจารณา สอดส่อง ไตร่ตรองเพือ่ ให้รเู้ ท่าทัน ในปัญหาทีเ่ กิดขึน้ นัน้ หากมี "ปัญญา" รูเ้ ท่าทัน ทุกข์หรือปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในใจก็จะสงบ ไม่รบกวนจิตอีกต่อไป ขัน้ ตอนที่ 2 หากไม่มี "ปัญญา" รูเ้ ท่าทัน ทุกข์และปัญหา นัน้ ๆ ก็จะยังคงรบกวนจิตต่อไป ในขัน้ ตอนนี้ ให้ใช้ "สมาธิ" หรือ "กำลังของจิต" ดึงหรือ พรากจิตออกจากความรับรูท้ ท่ี ำให้ทกุ ข์หรือเกิดปัญหานัน้ เสีย แล้วมา รับรูเ้ ฉพาะแต่ในอารมณ์ของกรรมฐานหรือสมาธิทก่ี ำหนด เมือ่ จิตไม่ ไปรับรู้ ทุกข์หรือเรือ่ งราวของปัญหานัน้ ก็ไม่สามารถส่งผลอะไรต่อจิตได้ จิตจึงมีภาวะที่เป็นสมาธิและสงบเป็นปกติอยู่ได้ ขัน้ ตอนที่ 3 หากไม่สามารถทำจิตให้เป็นสมาธิได้ จะด้วย อะไรก็ตาม ทุกข์และปัญหานัน้ ๆ ก็ยงั คงรบกวนจิตต่อไป ในขัน้ ตอนนี้ ให้ใช้ "ศีล" กล่าวคือ ควบคุมทุกข์และปัญหา ทีเ่ กิดขึน้ ให้อยูแ่ ต่ภายในจิต อย่าให้ทกุ ข์และปัญหาทะลักหรือล่วงเลย ออกมาเป็นการกระทำทางกายหรือคำพูด ทุกข์และปัญหานัน้ ก็จะถูก จำกัดขอบเขต ไม่ให้บานปลายออกไปภายนอก ก็ทำให้ยังชำระ สะสางได้งา่ ย แต่หากไม่มี "ศีล" เป็นตัวยับยัง้ ไว้ ก็จะทะลักออกไปเป็นคำพูด และการกระทำ ที่ไปกระทบกับบุคคลหรือสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ภายนอก ทำให้ปญ ั หาขยายตัวออกไป และแก้ไขได้ยากยิง่ ขึน้ “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

39


"ศีล" จึงเป็นปราการด่านสุดท้ายที่เป็นตัวสะกัดกัน้ ทุกข์ หรือปัญหาทีเ่ กิดขึ้นของจิต ให้จำกัดขอบเขตอยู่แต่ภายในจิต หากไม่มี "ศีล" แล้ว สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ต่อไปเรียกว่า "อบาย" อบายหรือความเสื่อมทุกชนิดที่เกิดขึ้น ก็เพราะปราการด่าน สุดท้าย คือ "ศีล" นี้ ไม่สามารถป้องกันและสะกัดกั้นไว้ได้ เราจึงสามารถ รูจ้ กั และเห็น "อบาย" ได้ดว้ ยตนเอง ก็ตรงทีไ่ ม่ม”ี ศีล” เป็นเครือ่ ง ป้องกันและทัดทาน นัน่ เอง จึงทำให้เราเข้าใจได้อย่างซาบซึง้ เมือ่ พรรณนาคุณของ "ศีล" ว่า "สีเลนะ สุคติงยันติ , สีเลนะ โภคะสัมปะทา , สีเลนะ นิพพุตงิ ยันติ ….."

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

40


18.7) รูว้ า่ : ทัศนะในทางพุทธศาสนา มองว่า ธรรมชาติของจิต บริสุทธิ์อยู่แล้ว แต่บริสุทธิ์ในลักษณะที่ยังเกิดความเศร้าหมองได้ เพราะกิเลสยังสามารถเกิดขึน้ ได้ จึงต้องมีการศึกษาและปฏิบตั ธิ รรม เพื่อไม่ให้กิเลสเกิดขึ้นในจิตต่อไปได้อีก จนกลายเป็นจิตที่บริสุทธิ์ อย่างถาวร ซึง่ มีพระเถระบางรูปได้สอนในเรือ่ งนีไ้ ว้วา่ ปภัสสรจิต คือ จิตว่างทีย่ งั วุน่ ได้ สังขารคตจิต คือ จิตวุน่ ทีไ่ ม่วา่ ง วิสทุ ธิจติ คือ จิตว่างทีไ่ ม่วนุ่ อีกต่อไป ซึง่ สอดคล้องกับพุทธพจน์บทหนึง่ ทีว่ า่ " จิตนีป้ ระภัสสร เศร้า หมองเพราะอุปกิเลส อันเป็นอาคันตุกะจรมา" ดังนัน้ ท่าทีในการปฏิบัติ จึงมุ่งทำอย่างไรที่จะไม่ให้ กิเลสเกิดขึน้ และจะไม่เกิดอีกต่อไป เมือ่ ไม่มกี เิ ลส จิตก็จะมี สภาวะทีบ่ ริสทุ ธิอ์ ยูเ่ องตามธรรมชาติ การปฏิบตั จิ งึ ไม่ใช่การชำระล้างจิตให้สะอาดบริสทุ ธิ์ เพราะโดยธรรมชาติ จิตทีไ่ ม่มกี เิ ลส จะบริสทุ ธิอ์ ยูแ่ ล้ว ชนิดที่ ไม่มใี ครสามารถทำให้จติ มีความบริสทุ ธิย์ ง่ิ กว่าทีเ่ ป็นอยูแ่ ล้วใน ธรรมชาติได้ 18.8) รูว้ า่ : การปฏิบัติที่จะประสบความสำเร็จจริง ไม่ใช่ละ กิเลสทีก่ ำลังเกิดขึน้ เท่านัน้ แต่ตอ้ งลึกลงไปถึงละความเคยชิน หรือโอกาสที่จะเกิดกิเลสนั้นๆ อีกต่อไป ซึ่งในภาษาธรรมะ เรียกว่า "อนุสยั " “หลักธรรมพื้นฐานฯ”

41


19) โดยสรุป รูว้ า่ : - จิต เป็น ธรรมชาติรู้ เป็นธรรมชาติทส่ี ำคัญทีส่ ดุ และเป็น ตัวนำในการดำเนินการทุกด้านของชีวติ - เนือ่ งจากจิตเป็นธรรมชาติรู้ ดังนัน้ สิง่ สำคัญทีเ่ ป็นต้นตอที่ ทำให้จติ เกิดทุกข์หรือปัญหาได้ ก็คอื ความไม่รู้ หรือทีเ่ รียกว่า อวิชชา โดยอวิชชา จะทำให้เกิดตัณหา (ความอยากผิดๆ) แล้วเกิดอุปาทาน (ความยึดมัน่ ถือมัน่ )ในสิง่ ต่างๆ เมือ่ ยึดมัน่ ในสิง่ ใด ก็เกิดความทุกข์ เพราะสิง่ นัน้ - ดังนัน้ จิต จึงต้องแสวงหาความรู้ที่ถูกต้อง คือ วิชชา หรือ ปัญญา เพือ่ ทีจ่ ะไม่ให้จติ เกิด อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ; เมือ่ จิตไม่มี อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ก็ไม่มคี วามยึดมัน่ ถือมัน่ ในสิง่ ใด ๆ ทัง้ ปวง - เมื่อไม่ ม ี ค วามยึ ด มั ่ นถือมั่น ความทุ ก ข์ทางใจใด ๆ ก็ไม่ สามารถเกิดขึน้ ได้อกี ต่อไป เรียกภาวะนีว้ า่ ความดับทุกข์ หรือความ พ้นทุกข์ หรือความหลุดพ้นนัน่ เอง - ชีวิตต่อไป ก็ ด ำเนิ น ไปด้ ว ยปั ญ ญาเป็ น เครื ่ อ งนำ เป็นพุทธะ ผูร้ ู้ ผูต้ น่ื ผูเ้ บิกบาน ดำรงชีวิตอยู่ด้วยความอิสระ อยูเ่ หนือความครอบงำ ร้อยรัด เสียดแทงจากสิง่ ทัง้ ปวง เข้าถึง ภาวะสูงสุด ทีไ่ ม่มอี ะไรจะทำให้ชวี ติ นีเ้ กิดปัญหาหรือความทุกข์ ได้อกี ต่อไป.

“หลักธรรมพื้นฐานฯ”

42



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.