สติปฏั ฐาน 4 ฉบับวิเคราะห์-สังเคราะห์
จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ ดร.มงคล เดชนครินทร์ ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน ที่ได้กรุณาตรวจแก้สำนวนและวรรคตอนให้ถูกต้องและเหมาะสม
"สติปฏั ฐาน 4 ฉบับวิเคราะห์-สังเคราะห์” เรียบเรียง : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ พิมพ์ครัง้ ที่ 1 : พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 4,000 เล่ม หลวงพ่อปฏิจจะ สัมมัตตะ10 (พระวินยั สิรธิ โร) จำนวน 500 เล่ม พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน จำนวน 1,000 เล่ม ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ สุรพล ไกรสราวุฒ.ิ สติปฏั ฐาน 4 ฉบับวิเคราะห์-สังเคราะห์.- - กรุงเทพฯ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554. 64 หน้า. 1. สติปฏั ฐาน 4. 2. วิปสั สนา. I. ชือ่ เรือ่ ง 294.3122 ISBN : 978-616-551-395-1 บรรณาธิการอำนวยการ : ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ดร.ระวี ภาวิไล บรรณาธิการ : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ออกแบบปก : นายมาโนช กลิน่ ทรัพย์ พิสจู น์อกั ษร : นางปาลิดา จิรภาธงชัย ประสานงาน : นางสาวปทุมรัตน์ กิจจานนท์, นางนิตพิ ร ใบเตย พิมพ์ท่ี : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร.0-2215-1991-2 ลิขสิทธิ์ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3018 Website : http://www.dharma-centre.chula.ac.th Email : dharma-centre@chula.ac.th
คำนำ โดย ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ดร.ระวี ภาวิไล ****************************************************
13 กันยายน 2554
สารบัญ
หน้า
สติ คืออะไร ? 1 สติ จัดอยูใ่ นฝ่ายดีงามหรือฝ่ายทีเ่ ป็นกุศล 4 สติ มีประเด็นทัง้ ในด้านปริมาณและคุณภาพ 6 เรือ่ งทีค่ วรทราบก่อน : 9 ♦ สติ แตกต่างจาก สมาธิ อย่างไร ? 9 ♦ สติปฏั ฐาน 4 แตกต่างจาก อริยมรรค มีองค์ 8 และ ไตรสิกขา อย่างไร ? 11 ♦ สติปฏั ฐาน 4 เป็นสมถภาวนา หรือ วิปสั สนาภาวนา ? 14 ♦ สติปฏั ฐาน 4 แตกต่างจาก สัมมาสติ และ สติทว่ั ไป อย่างไร ? 14 ♦ สติปฏั ฐาน 4 ในมหาสติปฏั ฐานสูตร แตกต่างจากใน 16 อานาปานสติสตู ร อย่างไร ? z วิเคราะห์ – สังเคราะห์ สติปฏ ั ฐาน 4 ในมหาสติปฏั ฐานสูตร 17 ♦ สติปฏั ฐาน 4 ไม่ใช่ธรรมสำหรับผูเ้ ริม่ ต้น 18 ♦ ทำไมสติปฏั ฐาน 4 จึงตัง้ อยูบ่ นฐานของ กาย เวทนา จิต ธรรม 18 ♦ วิเคราะห์ – สังเคราะห์ กายานุปสั สนาสติปฏั ฐาน 20 ¾ อานาปานบรรพ (บทว่าด้วยลมหายใจ) 21 ¾ อิรยิ าปถบรรพ (บทว่าด้วยอิรยิ าบถ) 25 ¾ สัมปชัญญบรรพ (บทว่าด้วยการเคลือ่ นไหวในอิรยิ าบถย่อย) 26 ¾ ปฏิกลู มนสิการบรรพ (บทว่าด้วยความเป็นของไม่สะอาด) 28 ¾ ธาตุมนสิการบรรพ (บทว่าด้วยความเป็นธาตุ) 29 ¾ นวสีวถิกาบรรพ (บทว่าด้วยสภาพทีเ่ ป็นศพ 9 ลักษณะ) 31 ♦ วิเคราะห์ – สังเคราะห์ เวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน 32 ♦ วิเคราะห์ – สังเคราะห์ จิตตานุปสั สนาสติปฏั ฐาน 41 ♦ วิเคราะห์ – สังเคราะห์ ธัมมานุปสั สนาสติปฏั ฐาน 44 ¾ นีวรณบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งนิวรณ์) 44 ¾ ขันธบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งขันธ์) 46 ¾ อายตนบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งอายตนะ) 49 ¾ โพชฌงคบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งโพชฌงค์) 51 ¾ สัจจบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งอริยสัจ) 53 ♦ ข้อพิจารณาสำคัญในท้ายของทุกบรรพ 54 ♦ อานิสงส์ของการเจริญสติปฏั ฐาน 4 56 ♦ การจำแนกความแตกต่างระหว่างพระเสขะกับพระอเสขะด้วยสติปฏั ฐาน 4 57 z บทสรุป / ดรรชนีคน ้ คำ 59 / 60 z z z z
สติปฏั ฐาน 4 ฉบับวิเคราะห์-สังเคราะห์ *********************************** สติ คืออะไร ? มีคำที่กล่าวถึง สติ ในกระบวนการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ในบริบทต่าง ๆ ไว้อย่างน่าสนใจ อาทิ : สิน้ สติ, หมดสติ (สลบ, ภาวะหลับ, หมดความรูส้ กึ ตัว) : คืนสติ, ฟืน้ คืนสติ (ฟืน้ , รูส้ กึ ตัว, กำหนดสิง่ ต่าง ๆ ได้) : เสียสติ (เพีย้ น, บ้า, กำหนดอะไรไม่ได้) : ไม่มสี ติ (ใจลอย, ไม่เอาใจใส่) : เผลอสติ (สติทข่ี าดช่วง หรือขาดตอนไปในขณะทำหน้าที)่ : ขาดสติ ไร้สติ สติแตก (วูว่ าม, ประมาท, ขาดความยัง้ คิด) : หลงสติ หรือ หลงลืมสติ (ถลำตัวเข้าไปทำอะไรทีผ่ ดิ โดยไม่รส้ ู กึ ตัว) : สติดี (ระลึกสิง่ ทีท่ ำ-คำทีพ่ ดู ได้แม้นานแล้ว) : มีสติ (ทำอะไรด้วยความรูส้ กึ ผิดชอบ, ระมัดระวัง, ไม่ประมาท) : ได้สติ (คิดได้-นึกได้, ยัง้ คิด) : เรียกสติ (ปลุกเร้าให้มสี ติเกิดขึน้ ) : ตัง้ สติ (รวบรวมจิตใจและความรูส้ กึ นึกคิด) : คุมสติ (ระมัดระวังในการเผชิญสถานการณ์) : กำหนดสติ (ระลึกอยูก่ บั เรือ่ งหรือสิง่ ใดสิง่ หนึง่ อย่างต่อเนือ่ ง) 1
สติ ตามทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วนี้ เป็นสติทป่ี รากฏอยูใ่ นการดำเนิน ชีวติ ของบุคคลทัว่ ไป เป็นคำในภาษาบาลี ส่วนในภาษาสันสกฤตใช้คำว่า สมปฤดี ซึง่ หากนำทัง้ หมดมาประมวล ก็อาจจะทำให้เห็นและเข้าใจถึง ระบบการทำงานของสติในชีวติ ประจำวันได้ดยี ง่ิ ขึน้ สติในระดับพืน้ ฐานทีส่ ดุ คือความรู้สึกตัว หมายความว่า ธรรมชาติของสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หลาย ซึง่ รวมทัง้ มนุษย์ หากไม่ได้หลับหรือ ไม่ได้อยู่ในภาวะที่สลบ (สิ้นสติ, หมดสติ) เมื่อตื่นขึ้นหรือฟื้นขึ้น (คืนสติ, ฟืน้ คืนสติ) จะต้องมีสติเกิดขึน้ และดำรงอยูเ่ ป็นปกติของชีวติ ในระดับหนึง่ เพือ่ หล่อเลีย้ งให้สามารถดำเนินชีวติ ต่อไปได้ กล่าวคือ รูส้ กึ ถึงความดำรงอยูข่ องตัวชีวติ หรือ รูส้ กึ ถึงความเป็นตัวของตัวเอง เช่น รูว้ า่ ตนเองเป็นใคร เป็นต้น เพราะหากไม่มสี ติหรือความรูส้ กึ ตัวนีเ้ กิดขึน้ แล้ว ก็จะทำให้กำหนดอะไรไม่ได้ อย่างทีเ่ รียกว่าเพีย้ นหรือบ้า (เสียสติ) สติในระดับถัดไป คือสติทใ่ี ช้ในการดำเนินชีวติ ทัว่ ไป ในการ เข้าไปทำหน้าทีแ่ ละเกีย่ วข้องกับสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทีผ่ า่ นเข้ามา ซึง่ จำแนก ตามลักษณะทีส่ ติเข้าไปเกีย่ วข้องได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. สติในกรณีที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ใจลอย หรือขาดการ เอาใจใส่ (ไม่มสี ติ), ขาดความต่อเนือ่ งในการเอาใจใส่ หรือมีสติทข่ี าด ช่วงไป (เผลอสติ), วูว่ าม ประมาท ขาดความยัง้ คิด (ขาดสติ, ไร้สติ, สติแตก) หรือถลำตัวเข้าไปทำอะไรทีผ่ ดิ โดยไม่รสู้ กึ ตัว (หลงลืมสติ) 2. สติในกรณีทพ ่ี งึ ประสงค์ เช่น เป็นผูม้ ปี กติสามารถจำการ กระทำ หรือคำพูดทีเ่ กิดขึน้ ได้ แม้นานมาแล้ว (สติด)ี , มีความระมัดระวัง ไม่ประมาท ทำด้วยความรูส้ กึ ผิดชอบ กำหนดและระลึกต่อสิง่ ต่าง ๆ ได้ถกู ต้อง (มีสติ), มีความยัง้ คิด คิดได้-นึกได้ ไม่ถลำลึกเข้าไปทำใน สิง่ ทีไ่ ม่ถกู ต้อง (ได้สติ), รูจ้ กั ปลุกเร้าตัวเอง ให้มคี วามระมัดระวังเพิม่ 2
มากขึ้น (เรียกสติ), รู้จักรวบรวมจิตใจและความรู้สึกนึกคิดให้เป็น หนึง่ เดียวในการเข้าไปเผชิญกับสถานการณ์ (ตัง้ สติ), คอยระมัดระวัง อยูต่ ลอดเวลาในระหว่างทีก่ ำลังเผชิญสถานการณ์นน้ั ๆ (คุมสติ) และ สามารถระลึกรูห้ รือควบคุมใจให้อยูก่ บั เรือ่ งหรือสิง่ ใดสิง่ หนึง่ เพือ่ การ ทำกิจต่าง ๆ ให้เป็นไปตามทีป่ ระสงค์ (กำหนดสติ) ความหมายของ สติ ตามหลักพระพุทธศาสนาทีใ่ ช้มากทีส่ ดุ คือ ความระลึกได้ มีความหมายว่า ความสามารถในการระลึกรู้ต่อ อารมณ์หรือสิง่ ทีร่ บั รู้ ได้อย่างถูกต้อง โดยเฉพาะการรูเ้ ท่าทันว่า อะไรเป็นอะไร ประเด็นที่ว่า รู้เท่าทันอารมณ์ว่าอะไรเป็นอะไร นี้ เป็น ความหมายหลักและสำคัญทีส่ ดุ ของสติ กล่าวคือ สามารถระลึกได้ ว่าอารมณ์ทร่ี ะลึกอยูน่ น้ั คืออะไร? เป็นคุณและประโยชน์ หรือ เป็นโทษและ ก่อให้เกิดปัญหาความเดือดร้อน เพือ่ จะได้ทำหน้าทีแ่ ละจัดการแก่อารมณ์ นัน้ ๆ ได้อย่างถูกต้อง สมดังพระพุทธพจน์ทต่ี รัสเปรียบ สติ ไว้วา่ เป็น เสมือนนายประตูเมืองผูฉ้ ลาด เฉียบแหลม มีปญ ั ญา คอยห้ามคนที่ ตนไม่รจู้ กั อนุญาตให้คนทีต่ นรูจ้ กั เข้าไปในเมืองนัน้ (สํ.สฬ.18/342) ดังนัน้ สติ จึงเป็นสิง่ จำเป็นในทุกกระบวนการ หรือสถานการณ์ ของชีวติ เพือ่ ให้การดำเนินชีวติ เป็นไปด้วยดี และมีความราบรืน่ สมดัง พระพุทธพจน์ทต่ี รัสว่า “สติมปี ระโยชน์ในทีท่ ง้ั ปวง” (สํ.มหา.19/572) “สติเป็นธรรมเครือ่ งตืน่ อยูใ่ นโลก” (สํ.ส.15/61) “สติเป็นเครือ่ งกัน้ กระแสในโลก” (ขุ.สุ. 25/425) “ผูม้ สี ติ ย่อมเจริญทุกเมือ่ ” (สํ.ส.15/306) และคำของผูร้ บู้ างท่านทีว่ า่ “สติจำปรารถนาในทีท่ ง้ั ปวง” 3
เรือ่ งราวของสติตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว ทำให้เข้าใจเรือ่ งของ สติ ได้งา่ ยขึน้ และชัดเจนขึน้ เมือ่ ไปอ่านการให้ความหมายของ สติ ทีป่ รากฏ ในทีต่ า่ ง ๆ เช่น ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ทีไ่ ด้ให้ความหมายไว้วา่ สติ [อ่านว่า สะติ] น.(=คำนาม) ความรูส้ กึ ความรูส้ กึ ตัว, เช่น ได้สติ ฟืน้ คืนสติ สิน้ สติ, ความรูส้ กึ ผิดชอบ เช่น มีสติ ไร้สติ, ความระลึกได้ เช่น ตั้งสติ กำหนดสติ. [ป.(บาลี) ; ส.(สันสกฤต) สฺมฤฺ ติ] หรือในพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ทีไ่ ด้ให้ความหมายว่า สติ คือ ความระลึก ได้ นึกได้ ความไม่เผลอ การคุมใจไว้กบั กิจ หรือกุมจิตไว้กบั สิง่ ที่ เกีย่ วข้อง จำการทีท่ ำและคำทีพ ่ ดู แล้ว แม้นานได้ สติ จัดอยูใ่ นฝ่ายดีงามหรือฝ่ายทีเ่ ป็นกุศล หลักธรรมในพระพุทธศาสนา จัด สติ ให้เป็นองค์ธรรมใน ฝ่ายดี หรือฝ่ายทีเ่ ป็นกุศลเท่านัน้ ไม่มสี ติทเ่ี ป็นฝ่ายไม่ดหี รือฝ่ายทีเ่ ป็น อกุศลเลย ซึง่ อาจเป็นทีส่ งสัยว่า ทำไมจึงจัดเช่นนัน้ เพราะในเวลาทีค่ น ทำไม่ดี ก็เห็นว่ามีสติคอยจดจ้องหรือระมัดระวังในการกระทำอย่างยิง่ ในพระไตรปิฎกก็ยังมีคำว่า มิจฉาสติ ซึ่งเป็นคำตรงข้ามกับคำว่า สัมมาสติ อยู่ ในเรือ่ งนี้ หากพิจารณาในบททีผ่ า่ นมา จะเห็นได้วา่ ทีจ่ ำแนก เป็นสติในกรณีทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ และสติในกรณีทพ่ี งึ ประสงค์ นัน้ อันที่ จริงไม่ใช่เป็นการจำแนกจากตัวแกนคือสติโดยตรง ว่ามีสติทเ่ี ป็นฝ่ายดี และมีสติทเ่ี ป็นฝ่ายไม่ดี แต่เป็นการจำแนกโดยพิจารณาว่า ไม่มีสติ เกิดขึน้ หรือ มีสติเกิดขึน้ ต่างหาก 4
จะเห็นได้วา่ เป็นเพราะไม่มสี ติเกิดขึน้ นีเ้ อง เช่น ไม่มสี ติ หรือเผลอสติ จึงทำให้มีปัญหาและสิ่งเลวร้ายต่าง ๆ เกิดขึ้น ตามมามากมาย ในทางตรงข้าม เป็นเพราะมีสติเกิดขึน้ เช่น ได้สติ หรือมีสติ จึงทำให้เกิดความเรียบร้อยและประสบผลในการ ดำเนินการต่าง ๆ ทีน่ า่ ปรารถนา และเมื่อยิ่งได้พิจารณาความหมายของ สติ ตามหลักพระพุทธศาสนาทีเ่ ปรียบ สติ เป็นเสมือนนายประตูเมืองผูฉ้ ลาด ทีจ่ ะคอย ระมัดระวังคัดเลือกคนดี และคอยสกัดกัน้ คนไม่ดี ให้ผา่ นหรือไม่ให้ผา่ น เข้าประตูเมืองด้วยแล้ว ก็เห็นได้ชดั เจนว่า สติ จัดอยูใ่ นฝ่ายดีงาม หรือฝ่ายทีเ่ ป็นกุศลโดยส่วนเดียว ดังนัน้ การจดจ้องหรือระมัดระวังในขณะกระทำในสิง่ ทีไ่ ม่ดี จึงไม่ใช่ สติ แต่เป็นองค์ธรรมทีเ่ รียกว่า วิตก คือการยกจิตขึน้ สู่ การรับรู้ หรือ มนสิการ คือการกำหนดไว้ในใจ หรือการใส่ใจต่อ สิง่ ต่าง ๆ ซึง่ เป็นองค์ธรรมทีส่ ามารถเกิดร่วมได้กบั จิตทัง้ ทีเ่ ป็น กุศลและอกุศล เพราะหากเป็น สติ แล้ว จะต้องระลึกได้วา่ สิง่ ทีท่ ำอยูน่ ไ้ี ม่ดี เป็นโทษ และยังจะคอยทำหน้าทีเ่ ตือนและสกัดกัน้ ไม่ให้กระทำในสิง่ ที่ ไม่ดนี น้ั อีกด้วย สำหรับ มิจฉาสติ ก็ไม่ใช่สติ และไม่ได้มคี วามหมายว่าเป็น สติทผ่ี ดิ แต่อนั ทีจ่ ริงมีความหมายตรงกับคำว่า หลงสติ หรือ หลงลืมสติ ซึง่ มีความหมายว่า หลงไปว่าเป็นสติ (หลงไปว่าเป็นสิง่ ทีด่ ี ทีเ่ ป็นประโยชน์) หรือ ถลำตัวเข้าไปทำอะไรทีผ่ ดิ โดยไม่รสู้ กึ ตัว (ว่าเป็นสิง่ ทีไ่ ม่ดแี ละเป็นโทษ) ต่างหาก 5
สติ มีประเด็นทัง้ ในด้านปริมาณและคุณภาพ สติกเ็ ป็นเช่นเดียวกับสิง่ อืน่ ๆ กล่าวคือ มีเรือ่ งของปริมาณและ คุณภาพมาเกี่ยวข้องด้วย เพื่อที่จะให้การทำหน้าที่ของ สติ เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จ ปริมาณ ในทีน่ ้ี หมายถึง การมีสติอย่างต่อเนือ่ งไม่ขาดสาย คุณภาพ หมายถึง ความละเอียดและประณีตของสติ ในส่วนของปริมาณ คงจะเข้าใจได้ไม่ยาก โดยพิจารณาจาก ความต่อเนือ่ งของการมีสติเป็นสำคัญ การกระทำบางอย่างอาจยอม ให้มสี ติขาดตอนได้มากหรือน้อยแตกต่างกันไป ก็สามารถทำให้ประสบ ความสำเร็จได้ แต่การกระทำบางอย่าง เช่น การทำสมาธิเพือ่ ให้ถงึ ระดับ ทีเ่ ป็นฌาน หรือในขณะทีเ่ ป็นมรรคจิต สติจะขาดตอนไม่ได้เลย ส่วนคุณภาพ นั้น ขึ้นอยู่กับเรื่องหรือสิ่งหรือสถานการณ์ ทีต่ อ้ งการให้สติเข้าไปทำหน้าทีเ่ ป็นสำคัญ หากเป็นเรือ่ งทีห่ ยาบ ๆ เพียง ใช้สติพน้ื ๆ ทัว่ ไป มาทำหน้าที่ ก็เพียงพอแล้ว แต่หากเป็นเรือ่ งทีล่ ะเอียด หรือประณีต ก็ตอ้ งอาศัยสติทม่ี คี ณ ุ ภาพละเอียดและประณีตในระดับที่ พอเหมาะแก่กนั จึงจะทำให้การทำหน้าทีน่ น้ั ๆ ประสบความสำเร็จได้ ยกตัวอย่างเช่น การเดิน หากเดินบนทางเรียบ เพียงอาศัยคุณภาพของสติ ในระดับพืน้ ๆ ก็สามารถเดินเป็นไปสูจ่ ดุ หมายได้ดว้ ยความเรียบร้อย แต่หาก เดินอยูบ่ นทางทีข่ รุขระเป็นหลุมเป็นบ่อ ก็จะต้องใช้สติทล่ี ะเอียดประณีต ยิง่ ขึน้ และหากเดินอยูบ่ นทางแคบทีน่ า่ กลัว หรือเดินบนเส้นเชือก ก็ตอ้ งใช้ สติทม่ี คี ณ ุ ภาพละเอียดประณีตยิง่ ขึน้ ไปอีก และอาจต้องฝึกฝนให้มขี น้ึ เป็น การเฉพาะ ในทางจิตก็เช่นเดียวกัน สติทจ่ ี ะใช้สำหรับการพัฒนาจิตในระดับ ต่าง ๆ เช่น ระดับศีล ระดับสมาธิ และระดับปัญญา ก็ตอ้ งใช้สติทม่ี คี ณ ุ ภาพ แตกต่างกัน ในกรณีของพระอรหันต์จะต้องมีคณ ุ ภาพของสติถงึ ขัน้ สมบูรณ์ 6
ในบุคคลทัว่ ไป จะมีการพัฒนา สติ โดยอาศัยเหตุการณ์หรือ สิง่ ทีเ่ ผชิญเป็นบทเรียนหรือบทฝึกหัด เช่น จากการเรียนในสถานศึกษา จากการทำงาน หรือจากประสบการณ์ชวี ติ ดังคำกล่าวทีว่ า่ “ไม้สอน ช่างไม้” ไม่มีระบบการสอนและปฏิบัติเพื่ออบรมและพัฒนาสติเป็น การเฉพาะ อาจกล่าวได้วา่ มีเพียงคำสอนในพระพุทธศาสนาเท่านัน้ ทีใ่ ห้ความสำคัญแก่ สติ อย่างยิง่ และมีคำสอนเพือ่ อบรมและ พัฒนา สติ เป็นการเฉพาะ เช่น สติปฏั ฐาน, สตินทรีย,์ สติพละ, สติสัมโพชฌงค์, สัมมาสติ เป็นต้น จึงมีคำที่ใช้เกี่ยวกับ สติ ใน แวดวงศาสนา เพิม่ เติมขึน้ อีก เช่น คำว่า : ทำสติ หรือเจริญสติ (ฝึกฝน, พัฒนาให้เกิดสติ) : ดำรงสติ (ทำสติให้อยูต่ อ่ เนือ่ งกับสิง่ หรือเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ ) : สติสมบูรณ์ (มีสติตลอดเวลา จนทำให้ไม่มีความผิดพลาดใน ในการรับรูส้ ง่ิ ต่าง ๆ แล้วทำให้กเิ ลสเกิดขึน้ )
การมีระบบปฏิบตั เิ พือ่ อบรมและพัฒนา สติ เป็นการเฉพาะ ก็เพราะว่าสติในกรณีของบุคคลทั่วไปตามที่กล่าวไปแล้วทั้งหมดนั้น มีปริมาณและคุณภาพเพียงพอแก่การปฏิบตั หิ น้าทีต่ า่ ง ๆ ทัว่ ไป ให้เกิด ความเรียบร้อยและประสบความสำเร็จด้วยดีเท่านัน้ แต่ไม่เพียงพอ ทีจ่ ะนำไปใช้ในการกระทำเพือ่ ให้กเิ ลสหมดไป หรือทำให้บคุ คล หลุดพ้นจากทุกข์ได้ ดังนัน้ จึงต้องมีการปฏิบตั แิ ละพัฒนาสติให้ยง่ิ ๆ ขึน้ ไป หนังสือนีจ้ ะเน้นเรือ่ งการปฏิบตั ติ ามระบบ สติปฏั ฐาน 4 ทีพ่ ระพุทธเจ้า ได้ตรัสไว้ในมหาสติปฏั ฐานสูตร ซึง่ อยูใ่ นพระไตรปิฎก เล่มที่ 10 ข้อ 273 ถึง 300 เป็นสำคัญ เพราะเห็นว่าเป็นระบบปฏิบตั ทิ ไ่ี ด้รบั 7
ความนิยมอย่างแพร่หลาย ในแวดวงพุทธบริษทั นิกายเถรวาท ในประเทศ ต่าง ๆ ทัว่ โลก นอกจากนั้น พระสูตรดังกล่าวยังมีพระพุทธพจน์ที่ได้ตรัส ให้เห็นถึงความสำคัญยิ่งของ สติปัฏฐาน 4 ตลอดจนอานิสงส์ของ การปฏิบัติ ซึ่งอยู่ในตอนท้ายของพระสูตร เป็นเครื่องยืนยันให้เป็น หลักประกันอันแน่นอนและมั่นคงสำหรับผู้ปฏิบัติตามแนวทางนี้ ไว้อย่างน่าสนใจว่า “....หนทางนีเ้ ป็นทีไ่ ปอันเอก เพือ่ ความบริสทุ ธิข์ อง เหล่าสัตว์ เพือ่ ล่วงความโศกและปริเทวะ เพือ่ ความ ดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ ถูกต้อง เพือ่ ทำให้แจ้งซึง่ พระนิพพาน หนทางนี้ คือ สติปฏั ฐาน 4.... ....ผูใ้ ดผูห้ นึง่ พึงเจริญสติปฏั ฐานทัง้ 4 นี้ อย่างนี้ ตลอด 7 ปี (ได้ทรงแสดงลดหลัน่ ลงมาเป็น 6 ปี, 5 ปี.... ตลอด 7 เดือน, 6 เดือน....จนถึงท้ายที่สุดทรง แสดงว่าตลอด 7 วัน) เขาพึงหวังผล 2 ประการ อย่างใดอย่างหนึง่ คือ พระอรหัตผลในปัจจุบนั 1 หรือเมือ่ ยังมีอปุ าทิเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี 1....” ผูเ้ รียบเรียงจะได้อธิบายในเชิงวิเคราะห์-สังเคราะห์ ใน ลักษณะให้เห็นภาพรวม (bird’s-eye view) โดยสังเขป เพือ่ ให้มี ความเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้น และสามารถนำไปปฏิบัติให้ได้รับ ประโยชน์อย่างกว้างขวางในชีวติ ประจำวันต่อไป 8
เรือ่ งทีค่ วรทราบก่อน : ก่อนทีจ่ ะอธิบายและวิเคราะห์-สังเคราะห์ถงึ เนือ้ หาสาระของ สติปฏั ฐาน 4 ตามทีพ่ ระพุทธองค์ได้ทรงแสดงไว้ในมหาสติปฏั ฐานสูตร ผูเ้ รียบเรียงเห็นว่าควรจะได้มกี ารทำความเข้าใจในเรือ่ งอืน่ ๆ ทีอ่ ยูร่ อบข้าง ที่ใกล้กัน หรือที่คาบเกี่ยวกัน ตามสมควร เพราะเห็นว่าจะเป็น ประโยชน์ และจะทำให้เข้าใจในสติปฏั ฐาน 4 แจ่มแจ้งยิง่ ขึน้ เมือ่ ถึงบท ทีอ่ ธิบายเนือ้ หาสาระโดยตรง สติ แตกต่างจาก สมาธิ อย่างไร? มีพุทธบริษัทจำนวนไม่น้อย ที่แยกไม่ออกระหว่าง สติ กับ สมาธิ ว่าแตกต่างกันอย่างไร ? สติ คือ ความระลึกได้ หมายถึง ความสามารถในการระลึก อยูก่ บั อารมณ์ทร่ี บั รู้ และรูเ้ ท่าทันว่าอะไรเป็นอะไร สมาธิ คือ ความตัง้ ใจมัน่ หมายถึง ความตัง้ มัน่ ความแน่วแน่ ในการรับรูอ้ ารมณ์ ทัง้ นีเ้ พือ่ รวมใจให้เป็นหนึง่ เดียวในการรับรู้ และทำให้ เกิดใจทีม่ คี ณ ุ ภาพทีเ่ หมาะสม กล่าวคือ มีความผ่องใส (ปริสทุ โฺ ธ) ตัง้ มัน่ (สมาหิโต) และควรแก่การงาน (กมฺมนีโย) โดยธรรมชาติ จะต้องมีทง้ั สติ และ สมาธิ ทำหน้าทีร่ ว่ มกัน อย่างใกล้ชิด จึงจะทำให้การทำกิจหรือหน้าที่ต่าง ๆ ประสบความ สำเร็จด้วยดี กล่าวคือ มีทง้ั สติทร่ี ะลึกรูอ้ ยูก่ บั อารมณ์ รูเ้ ท่าทันว่าอะไร เป็นอะไร และมีสมาธิทต่ี ง้ั มัน่ หรือแน่วแน่อยูก่ บั อารมณ์นน้ั ด้วย การ ทำหน้าทีร่ ว่ มกันนี้ จำเป็นต้องนำไปใช้ในการปฏิบตั ภิ ารกิจทัง้ ปวง รวมถึง กิจสำคัญในพระพุทธศาสนาซึง่ มีอยู่ 2 กิจใหญ่ คือ สมถภาวนา และ วิปสั สนาภาวนา 9
ในการปฏิบตั สิ มถภาวนา ซึง่ เป็นการปฏิบตั ทิ ม่ี จี ดุ มุง่ หมาย เพือ่ ให้เกิดความสงบของจิต เพือ่ ปรับปรุงจิตให้มคี ณ ุ ภาพทีเ่ หมาะสม ไม่ให้มนี วิ รณ์ซง่ึ เป็นเครือ่ งบัน่ ทอนจิตเกิดขึน้ รบกวน สติจะทำหน้าทีเ่ ลือกระลึกรูอ้ ยูก่ บั สิง่ หรืออารมณ์อนั เป็นทีต่ ง้ั ที่ จะนำไปสูค่ วามสงบและละเอียดประณีตของจิต (ตัวอย่างคือ อารมณ์ ใน กรรมฐาน 40) และสมาธิจะทำให้เกิดความตัง้ มัน่ แน่วแน่อยูก่ บั อารมณ์ที่สติระลึกอยู่ ไม่ให้คลาดเคลื่อน หรือหลุดไปจากอารมณ์ที่ รับรูน้ น้ั ความสงบและความละเอียดประณีตของจิต ก็จะค่อย ๆ ปรากฏ ขึน้ ตามปริมาณและคุณภาพของสติและสมาธิทม่ี อี ยูใ่ นขณะนัน้ และ เมือ่ ปฏิบตั ไิ ปจนถึงทีส่ ดุ จะนำไปสูส่ มาธิในระดับลึกทีเ่ รียกว่า ฌาน กรณีนี้อาจเปรียบได้กับการจับแก้วน้ำที่ภายในบรรจุน้ำที่มี ตะกอนให้นง่ิ ไว้ ไม่ให้ซดั ส่ายไปมา ตะกอนทีฟ่ งุ้ อยู่ จะค่อย ๆ ตกลงสู่ ก้นแก้ว ทำให้ได้นำ้ ใสในทีส่ ดุ ในทีน่ เ้ี ปรียบการจับแก้วได้กบั สติ การจับ แก้วให้นง่ิ ไม่ให้ซดั ส่าย คือสมาธิ น้ำทีใ่ ส คือความสงบและละเอียด ประณีตของจิตทีเ่ กิดขึน้ ส่วนการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา ซึ่งเป็นการปฏิบัติที่มี จุดมุง่ หมายเพือ่ ให้เกิดปัญญา สติจะทำหน้าทีร่ ะลึกรูอ้ ยูก่ บั อารมณ์หรือเรือ่ งทีป่ ระสงค์จะให้ เกิดปัญญาหรือความรูแ้ จ้ง แล้วคอยติดตามพิจารณาความเป็นไปต่าง ๆ จนพบเหตุปจั จัยหรือความสัมพันธ์ทเ่ี ป็นเหตุ-ผลของเรือ่ งนัน้ ๆ ซึง่ ใน ระหว่างทีก่ ำลังติดตามพิจารณาอยูน่ น้ั ต้องอาศัยสมาธิ คือความตัง้ มัน่ และแน่วแน่ ควบคุมไม่ให้คลาดเคลื่อน หรือหลุดไปจากขอบวงของ เรือ่ งทีป่ ระสงค์จะให้เกิดความรูแ้ จ้ง ก็จะทำให้เกิดปัญญาหรือความรู้ แจ้งเรือ่ งนัน้ ๆ ในทีส่ ดุ 10
กรณีนี้อาจเปรียบได้กับการติดตามและเฝ้าดูนกชนิดหนึ่ง โดยมุง่ หวังจะให้มปี ญ ั ญาหรือความรูแ้ จ้งในเรือ่ งนกชนิดนัน้ หลักปฏิบตั ิ ในทีน่ ้ี คือ จะต้องคอยติดตามและเฝ้าดูทง้ั ในด้านพฤติกรรมและความ เปลีย่ นแปลงต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ อยูต่ ลอดเวลา (=สติ) และยังจะต้องเฝ้าดู อย่างต่อเนื่อง ไม่ลดละและไม่เปลี่ยนเป้าหมายไปเรื่องอื่น (=สมาธิ) จนในทีส่ ดุ ก็จะพบความจริงต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับนกชนิดนัน้ (=ปัญญา) สติปฏั ฐาน 4 แตกต่างจาก อริยมรรค มีองค์ 8 และ ไตรสิกขา อย่างไร ? ระบบปฏิบัติที่สำคัญในพระพุทธศาสนาเพื่อความดับทุกข์ (ทุกขอริยสัจ) หรือเพื่อให้จิตของบุคคลอยู่เหนืออิทธิพลการบีบคั้น เสียดแทงจากสิ่งต่าง ๆ ทั้งปวงอย่างสิ้นเชิงนั้น เมื่อประมวลแล้ว อาจจำแนกได้วา่ มี 3 ระบบ คือ 1. อริยมรรค มีองค์ 8 2. ไตรสิกขา 3. สติปฏั ฐาน 4 อันทีจ่ ริงระบบปฏิบตั ทิ ง้ั 3 นี้ เป็นสิง่ เดียวกัน มีจดุ มุง่ หมาย อันเดียวกัน คือมุง่ หมายให้เกิด ญาณ หรือวิชชา และนำไปสู่ วิมตุ ติ หรือ ความหลุดพ้นจากทุกข์ ทัง้ นี้ อริยมรรคมีองค์ 8 เมือ่ ปฏิบตั จิ นสมบูรณ์ จะทำให้เกิด สัมมาญาณะ และสัมมาวิมตุ ติ (ดูสมั มัตตะ 10 ใน องฺ.เอกาทสก. 24/104) ส่วนสติปฏั ฐาน 4 เมือ่ ปฏิบตั จิ นสมบูรณ์ จะทำให้เกิดโพชฌงค์ วิชชา และวิมตุ ติ ซึง่ จะได้แสดงรายละเอียดให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ต่อไป 11
อริยมรรค มีองค์ 8 เน้นไปในเรือ่ งของกิจทีบ่ คุ คลมีการกระทำ ซึ่งทั้งหมดจะต้องได้รับการอบรมและพัฒนาให้เป็นไปโดยถูกต้อง กล่าวโดยสรุป คือ ความเห็น (สัมมาทิฏฐิ), ความคิด-ต้องการ (สัมมาสังกัปปะ), การพูด (สัมมาวาจา), การกระทำทางกาย (สัมมากัมมันตะ), การเลีย้ งชีพ (สัมมาอาชีวะ), ความเพียร (สัมมาวายามะ), การระลึกรู้ (สัมมาสติ) และความตัง้ มัน่ ของจิต (สัมมาสมาธิ) ไตรสิกขา เน้นไปในแง่การประยุกต์อริยมรรรค มีองค์ 8 เพือ่ ให้เห็นเป้าหมาย (impact) และลำดับของการปฏิบตั ใิ ห้ชดั ขึน้ กล่าวคือ การปฏิบตั ใิ นลำดับแรก คือ ศีล นัน้ มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ปรับปรุงพฤติกรรม การแสดงออกของบุคคลทีม่ ตี อ่ บุคคล และสิง่ ต่าง ๆ ภายนอกให้ถกู ต้อง ไม่ให้เกิดปัญหา หรือเกิดความเดือดร้อน (=การพูด การกระทำทางกาย การเลีย้ งชีพ) ; การปฏิบตั ใิ นลำดับถัดไป คือ สมาธิ มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ปรับปรุงคุณภาพของจิตให้มคี วามเหมาะสม กล่าวคือ ทำให้จติ มีความ ผ่องใส ตัง้ มัน่ คล่องแคล่ว ควรแก่การงาน และอยูใ่ นอำนาจการควบคุม ของสติ (=ความเพียร การระลึกรู้ ความตัง้ มัน่ ของจิต) และการปฏิบตั ิ ในลำดับสุดท้าย คือ ปัญญา มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำจิตที่มีคุณภาพที่ พร้อมและเหมาะสมนัน้ ไปศึกษาเรียนรู้ ให้รเู้ ท่าทันความจริงของสิง่ ต่าง ๆ (=ความเห็น ความคิด-ต้องการ รวมไปถึงวิชชา หรือ ญาณ) จนถอน ความยึดติดถือมัน่ ในสิง่ ต่าง ๆ ได้ในทีส่ ดุ เมือ่ ไม่มคี วามยึดติดถือมัน่ ก็ยอ่ มดับทุกข์ (ทุกขอริยสัจ) ให้หมดสิน้ ไปด้วย ส่วน สติปฏั ฐาน 4 เป็นระบบปฏิบตั ทิ เ่ี น้นการอบรมและพัฒนา สติให้มคี ณ ุ ภาพในแบบทีก่ ำหนด แล้วใช้สติตามดูเรือ่ งราวของชีวติ ในทุก แง่มมุ ทีเ่ กีย่ วข้องกับทุกข์และความดับทุกข์ ซึง่ นอกจากจะทำให้เกิดปัญญา ดับทุกข์ได้แล้ว ยังทำให้รอบรูธ้ รรมชาติชวี ติ อย่างลึกซึง้ และกว้างขวาง 12
นอกจากนั้น หากนำเอาหัวใจคำสอนของพระพุทธศาสนา ซึง่ ได้แก่ อริยสัจ 4 และปฏิจจสมุปบาท มาเป็นตัวตัง้ ก็สามารถจำแนก ความแตกต่างของระบบปฏิบตั ทิ ง้ั 3 ได้ในอีกลักษณะหนึง่ ดังนี้ อริยมรรค มีองค์ 8 หรือทีส่ รุปรวมลงเป็น ไตรสิกขา เป็น ระบบปฏิบตั ทิ จ่ี ดั อยูใ่ นชุดหัวใจคำสอนเรือ่ ง อริยสัจ 4 ซึง่ เป็นที่ ชัดเจนว่าอยูใ่ นข้อสุดท้ายของอริยสัจ 4 ส่วน สติปัฏฐาน 4 แม้ว่าจะไม่มีพระพุทธพจน์ตรัสไว้ อย่างชัดเจน แต่เมือ่ พิจารณาแล้วเห็นว่า ควรจัดเป็นระบบปฏิบตั ิ ทีเ่ นือ่ งอยูใ่ นชุดหัวใจคำสอนเรือ่ ง ปฏิจจสมุปบาท มูลเหตุที่กล่าวเช่นนี้ เพราะได้พิจารณาจากกระบวนธรรมที่ พระพุทธเจ้าตรัสแสดงลำดับของการปฏิบตั ิ ทีว่ า่ ... คบสัตบุรษุ --> ได้ฟงั ธรรม --> เกิดศรัทธา --> โยนิโสมนสิการ -> สติสมั ปชัญญะ --> อินทรียสังวร --> สุจริต 3 --> สติปฏั ฐาน 4 -> โพชฌงค์ 7 --> วิชชา --> วิมตุ ติ (องฺ.เอกาทสก. 24/61) ในกระแสปฏิจจสมุปบาทนัน้ เป็นทีช่ ดั เจนว่า ช่วงสำคัญทีส่ ดุ ช่วงหนึง่ ทีท่ ำให้เกิดทุกข์ (ทุกขอริยสัจ)ขึน้ คือ เมือ่ มีผสั สะแล้ว และด้วยการรับรู้ แบบ อโยนิโสมนสิการ จึงทำให้เกิดความหลงใหลในเวทนา นำไปสู่ ตัณหา -> อุปาทาน --> ภพ --> ชาติ --> ชรามรณะ จนเกิดเป็นกองทุกข์ ครบกระแส ของปฏิจจสมุปบาท (โปรดอ่านรายละเอียดเพิม่ เติมในหนังสือ “ปฏิจจสมุปบาท ฉบับวิเคราะห์สังเคราะห์ จัดพิมพ์โดยธรรมสถานจุฬาฯ เมือ่ ปี 2553) แต่หากมีผส ั สะแล้ว เปลีย่ นการ รับรูเ้ ป็นแบบ โยนิโสมนสิการ ก็จะนำไปสูร่ ะบบปฏิบตั ิ คือสติปฏั ฐาน 4 ทำให้ เกิดผลคือ โพชฌงค์ วิชชา ซึง่ วิชชาทีเ่ กิดขึน้ นี้ จะไปทำลายอวิชชาให้หมดไป ทำให้บรรลุวมิ ตุ ติ คือความหลุดพ้นจากทุกข์ ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ สติปฏั ฐาน 4 เป็นระบบปฏิบตั เิ พือ่ ความพ้นทุกข์ สำหรับชุดคำสอนเรือ่ งปฏิจจสมุปบาท 13
สติปฏั ฐาน 4 เป็นสมถภาวนา หรือวิปสั สนาภาวนา ? หากพิจารณาวัตถุประสงค์ของการเจริญสติปฏั ฐาน 4 ทีป่ ฏิบตั ิ เพือ่ โพชฌงค์ 7 วิชชา และวิมตุ ติ แล้ว ก็เป็นทีช่ ดั เจนว่าสติปฏั ฐาน 4 จัดเป็นวิปสั สนาภาวนา เพราะมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ปัญญาเป็นสำคัญ แต่หากพิจารณารายละเอียดของสติปัฏฐานในแต่ละหมวด ซึง่ จะได้กล่าวต่อไป เช่น อานาปานบรรพในหมวดกาย โดยเฉพาะใน ขัน้ ตอนสุดท้ายทีว่ า่ “ทำกายสังขารให้ระงับ” คือการทำลมหายใจให้ สงบลง ซึง่ เป็นภาวะทีจ่ ติ อยูใ่ นระดับฌาน หรือคำว่า “เวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส” ในหมวดเวทนา และคำว่า “จิตทีเ่ ป็นมหรคต” ซึง่ ล้วนหมายถึงจิตในภาวะ ทีเ่ ป็นฌาน ก็กล่าวได้วา่ สติปฏั ฐาน 4 มีนยั ทีเ่ ป็นสมถภาวนาด้วย ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ สติปฏั ฐาน 4 เป็นทัง้ สมถภาวนาและ วิปสั สนาภาวนา สติปฏั ฐาน 4 (ในมหาสติปฏั ฐานสูตร) แตกต่างจาก สัมมาสติ (ในอริยมรรคมีองค์ 8) และ สติทว่ั ไป อย่างไร? * สัมมาสติ มีคณ ุ ลักษณะอย่างทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสไว้วา่ “สัมมาสติ เป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินยั นี้ พิจารณาเห็นกาย ในกายอยู่ (เวทนา, จิต และธรรม) มีความเพียร มีสมั ปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้ อันนี้เรียกว่า สัมมาสติ ฯ” (ที. ม. 10/299)
กล่าวโดยสรุป สัมมาสติ จะเน้นเฉพาะเรือ่ งการมีคณ ุ ภาพของ สติ ดังรายละเอียดข้างต้นเท่านัน้ กล่าวคือ เป็นสติทต่ี ามพิจารณากาย เวทนา จิต และธรรม ซึง่ ประกอบพร้อมอยูด่ ว้ ยความเพียรและสัมปชัญญะ 14
(คือปัญญา) และด้วยความรูส้ กึ หรือท่าทีทเ่ี ป็นกลาง ไม่มอี คติทง้ั ใน ทางชอบ (อภิชฌา) และชัง (โทมนัส) โดยไม่ตอ้ งแสดงรายละเอียดทีจ่ ะ ให้สติระลึก เพราะรายละเอียดต่าง ๆ มีอยูใ่ นมรรคข้ออืน่ ๆ ครบถ้วนแล้ว นอกจากนัน้ สัมมาสติ ยังถูกจัดให้อยูใ่ นสมาธิขนั ธ์ (ม.มู 12/ 508) กล่าวคือ เป็นองค์ประกอบหนึง่ ทีท่ ำให้จติ มีคณ ุ ภาพทีเ่ หมาะสม เท่านัน้ * ส่วน สติ ในสติปฏั ฐาน 4 มีคณ ุ ลักษณะเป็นอย่างเดียวกับ สติ ในสัมมาสติ แต่ทต่ี า่ งออกไป คือ มีรายละเอียดของกาย เวทนา จิต และธรรม ทีใ่ ห้ตง้ั สติเพือ่ ตามเห็นความจริงเพิม่ ขึน้ อีกมาก นอกจากนัน้ ยังมีพระพุทธพจน์ทต่ี รัสไว้ในตอนท้ายของมหาสติปฏั ฐานสูตร (ที. ม. 10/273) เพิม่ เติมไว้อกี ดังนี้ “อีกอย่างหนึง่ สติของเธอทีต่ ง้ั มัน่ อยูว่ า่ กายมีอยู่ (เวทนา มีอยู,่ จิตมีอยู่ และธรรมมีอยู)่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่า อาศัยระลึกเท่านัน้ เธอเป็นผูอ้ นั ตัณหาและทิฐไิ ม่อาศัย อยูแ่ ล้ว และไม่ถอื มัน่ อะไรๆ ในโลก” ซึง่ เป็นการเน้นย้ำให้เห็นหน้าทีข่ องสติในสติปฏั ฐาน 4 ชัดเจน ยิง่ ขึน้ ว่า สตินจ้ี ะทำหน้าทีร่ ะลึกต่อสิง่ ต่าง ๆ ในฐานะเป็นเพียงเรือ่ งของ ความรู้ เพียงอาศัยเป็นทีต่ ง้ั ของการระลึก ไม่เป็นไปตามอำนาจของกิเลส ทัง้ ในส่วนทีเ่ ป็นความทะยานอยากและความเห็นผิด และไม่ยดึ ติดถือมัน่ ต่อสิง่ ทีร่ บั รูห้ รือพิจารณาอยูน่ น้ั (=พ้นไปจากความรูส้ กึ ทีเ่ ป็นตัวตน) นอกจากนัน้ ยังเป็นสติทจ่ี ะไปทำหน้าทีใ่ ห้เกิดโพชฌงค์ วิชชา และวิมตุ ติ คือกลายเป็นสติสมั โพชฌงค์ ซึง่ เป็นองค์แรกของโพชฌงค์ 7 ซึง่ เป็นองค์แห่งการตรสรู้ ดังนัน้ สติปฏั ฐานจึงไม่ได้ทำหน้าทีเ่ พียงใน ฝ่ายสมาธิขนั ธ์เท่านัน้ แต่ทำหน้าทีอ่ ยูใ่ นฝ่ายปัญญาขันธ์ดว้ ย 15
ส่วน สติทว่ั ไป ของบุคคลทัว่ ไป คือ สติทท่ี ำหน้าทีด่ งั ทีก่ ล่าว ไปแล้วในหน้า 1 - 3 ของหนังสือนี้ เป็นสติทเ่ี นือ่ งกับตัวตน หรือความรูส้ กึ ทีเ่ ป็นตัวตน แต่เป็นไปในฝ่ายดีหรือทีเ่ ป็นกุศลเท่านัน้ สติในแบบของ บุคคลทัว่ ไปจึงสามารถนำไปใช้ให้บงั เกิดผลได้เฉพาะในระดับทีเ่ รียกว่า ละชัว่ และทำดี หรือทีเ่ รียกว่าในระดับโลกียะ ไม่สามารถนำมาใช้ปฏิบตั ิ ในระดับโลกุตตระเพือ่ ความหลุดพ้นหรือการดับทุกข์ได้ สติปฏั ฐาน 4 ในมหาสติปฏั ฐานสูตร แตกต่างจากใน อานาปานสติสตู ร อย่างไร? การปฏิบตั ใิ นระบบ สติปฏั ฐาน 4 นี้ พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ใน พระสูตรสำคัญ 2 แห่ง คือ มหาสติปฏั ฐานสูตร (ที.ม. 10/273) และอานาปานสติสูตร (ม.อุป. 14/288) หรือทีเ่ รียกกันเป็นทีเ่ ข้าใจโดยทัว่ ไปว่า อานาปานสติ 16 ขัน้ ทัง้ 2 พระสูตร ได้รบั ความนิยมอย่างแพร่หลาย กล่าวโดยสรุป ทั้ง 2 ระบบ ล้วนให้ตั้งสติเพื่อตามเห็น ความเป็นจริงของ กาย เวทนา จิต และธรรม เช่นเดียวกัน มหาสติปฏั ฐานสูตร ให้ตามเห็นความเป็นจริงของเรือ่ งราว ในแต่ละฐานอย่างละเอียดลออ และมีการจำแนกย่อยเป็นบรรพต่าง ๆ อย่างพิสดาร ซึง่ จะได้อธิบายโดยละเอียดต่อไป ส่วน อานาปานสติสตู ร มุง่ ให้ตามเห็นความเป็นจริงของแต่ละ ฐานเฉพาะในประเด็นที่เป็นสาระสำคัญ เพียงพอสำหรับการปฏิบัติ ทีจ่ ะสามารถส่งผลให้เลือ่ นระดับไปสูฐ่ านต่อไปเท่านัน้ กล่าวคือ จะเน้น การปฏิบตั ใิ นส่วนของอานาปานบรรพ ซึง่ เป็นการปฏิบตั ใิ นบรรพแรก ของมหาสติปฏั ฐานสูตรเป็นสำคัญ ซึง่ เมือ่ ประสบความสำเร็จ จะทำให้ จิตเข้าถึงภาวะทีเ่ ป็นฌาน ต่อจากนัน้ ก็อาศัยภาวะต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในฌาน 16
เช่น ปีต,ิ สุข (=เวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส) และจิตทีป่ ราศจากนิวรณ์รบกวน ไปพิจารณาให้เห็นธรรม คือไตรลักษณ์ เพื่อถอนความยึดติดถือมั่น ต่อไป ในทีน่ ้ี อาจเปรียบได้กบั การเดินทางทีม่ งุ่ ไปสูจ่ ดุ หมายอย่างใด อย่างหนึง่ แม้วา่ จะเดินทางไปในเส้นทางเดียวกันนัน้ เอง บางคนอาจจะ แวะและสนใจดูรายละเอียดตามรายทางค่อนข้างมาก (เปรียบได้กบั การปฏิบตั ใิ นมหาสติปฏั ฐานสูตร) แต่บางคนอาจจะเดินทางมุง่ ตรง ไปยังจุดหมายปลายทางเลยทีเดียว โดยไม่สนใจรายละเอียดข้างทาง มากนัก (เปรียบได้กบั การปฏิบตั ใิ นอานาปานสติสตู ร) วิเคราะห์-สังเคราะห์ สติปฏั ฐาน 4 ในมหาสติปฏั ฐานสูตร ต่อจากนีไ้ ป ผูเ้ รียบเรียงจะได้อธิบายพร้อมกับการวิเคราะห์ สังเคราะห์ สติปฏั ฐาน 4 ตามทีพ่ ระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ในมหาสติปฏั ฐานสูตร ซึง่ อยูใ่ นพระไตรปิฎก เล่มที่ 10 ข้อ 273 ถึง 300 โดยจะอธิบาย แบบสังเขป มุง่ ให้เข้าใจสาระของการปฏิบตั ิ และประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั เป็นสำคัญ เนือ่ งจากพระสูตรนีม้ เี นือ้ หาทีย่ าวมาก และเพือ่ ให้หนังสือนี้ ไม่หนาจนเกินไป จึงขอไม่นำพระพุทธพจน์ทง้ั หมดทีต่ รัสมาลงในหนังสือนี้ แต่จะเลือกลงเฉพาะที่เห็นว่าควรแก่การวิเคราะห์-สังเคราะห์เท่านั้น หากท่านผูอ้ า่ นท่านใดประสงค์จะทราบเนือ้ หาทีเ่ ป็นพระพุทธพจน์ทง้ั พระสูตร ก็ขอให้นำหนังสือพระไตรปิฎกเล่มข้างต้นมาเปิดและเทียบเคียง ไปด้วย ก็จะทำให้เห็นได้ชดั เจนมากยิง่ ขึน้ 17
สติปฏั ฐาน 4 ไม่ใช่ธรรมสำหรับผูเ้ ริม่ ต้น ดังทีไ่ ด้ยกมาแสดงให้เห็นถึงลำดับการปฏิบตั ใิ นหน้า 13 ของ หนังสือนี้ จะเห็นได้วา่ สติปฏั ฐาน 4 ไม่ใช่ธรรมสำหรับผูเ้ ริม่ ต้น ผูท้ เ่ี หมาะสมจะปฏิบตั ิ สติปฏั ฐาน 4 จะต้องมีความรู้ใน ธรรมมากพอสมควร (=ฟังธรรม) จนเกิดความเข้าใจและมัน่ ใจในธรรม (=ศรัทธา) เริม่ รูจ้ กั วิธรี บั รูอ้ ารมณ์อย่างถูกต้อง (=โยนิโสมนสิการ) เป็นผูม้ สี ติสมั ปชัญญะ รูจ้ กั การสำรวมรับรูท้ างอายตนะต่าง ๆ (อินทรียสังวร) และสามารถดำเนินชีวติ ประจำวันทัว่ ไปอย่างถูกต้อง(สุจริต 3) จึงจะมีคณ ุ สมบัตพิ ร้อมหรือพอเพียงทีจ่ ะปฏิบตั ิ และเกิดความก้าวหน้า จนบรรลุผลในการปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ต่อไปได้ ทำไมสติปฏั ฐาน 4 จึงตัง้ อยูบ่ นฐานของ กาย เวทนา จิต ธรรม ในคัมภร์อรรถกถา ได้มคี ำอธิบายไว้หลายนัยว่า เพราะเหตุใด พระพุทธเจ้าจึงตรัสสติปฏั ฐานว่ามี 4 ; คำตอบโดยสรุปก็คอื เพือ่ ให้ เหมาะสมกับอัธยาศัยหรือจริตของบุคคล และให้บงั เกิดประโยชน์เกือ้ กูล แก่ผปู้ ฏิบตั อิ ย่างแท้จริง และอีกนัยหนึง่ เพือ่ การละวิปลาสต่าง ๆ ของ บุคคล ดังนี้ สติปฏั ฐานในหมวดกาย เหมาะสำหรับผูม้ ตี ณ ั หาจริต หรือ ผู้เป็นสมถยานิก และมีปญ ั ญาน้อย ทำให้ละวิปลาสหรือความสำคัญผิด ว่า งาม ได้ (สุภวิปลาส) สติปัฏฐานในหมวดเวทนา เหมาะสำหรับผู้มีตัณหาจริต หรือผู้เป็นสมถยานิก และมีปัญญามาก ทำให้ละวิปลาสหรือความ สำคัญผิดว่า สุข ได้ (สุขวิปลาส) 18
สติปัฏฐานในหมวดจิต เหมาะสำหรับผู้มีทิฏฐิจริต หรือ ผู้เป็นวิปัสสนายานิก และมีปัญญาน้อย ทำให้ละวิปลาสหรือความ สำคัญผิดว่า เทีย่ ง ได้ (นิจจวิปลาส) สติปฏั ฐานในหมวดธรรม เหมาะสำหรับผูม้ ที ฏิ ฐิจริต หรือ ผู้เป็นวิปัสสนายานิก และมีปัญญามาก ทำให้ละวิปลาสหรือความ สำคัญผิดว่า ตัวตน ได้ (อัตตวิปลาส) อีกคำตอบหนึง่ อาจได้มาจากการพิจารณากระบวนการปฏิบตั ิ ในหน้า 13 ของหนังสือนี้ ซึง่ เห็นได้ชดั เจนว่า การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 แท้จริงแล้ว มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ โพชฌงค์ (องค์แห่งการตรัสรู)้ , วิชชา (ปัญญารูแ้ จ้ง) และวิมตุ ติ (ความหลุดพ้นจากทุกข์) โดยเฉพาะ กล่าวโดยสรุป การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ให้เกิดปัญญารูเ้ ท่าทันความเป็นจริงของสิง่ ทัง้ หลาย ถามต่อว่า ปัญญาทีร่ เู้ ท่าทันความเป็นจริงนี้ เพือ่ อะไร? คำตอบคือ เพื่อจะได้สามารถเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ต่อ สิง่ ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง และเพือ่ ให้การรับรูท้ ม่ี ตี อ่ สิง่ ต่าง ๆ เป็นไป อย่างถูกต้อง ไม่มผี ลทำให้จติ เกิดปัญหาหรือทุกข์โดยเด็ดขาด เนือ่ งจากชีวติ มีธรรมชาติ 2 ฝ่าย คือ กาย และจิต เป็นองค์ ประกอบพืน้ ฐานสำคัญ ทีจ่ ะต้องอาศัยและใช้ในการดำรงอยู่ ดังนัน้ กาย และ จิต จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องทำให้เกิดปัญญารู้เท่าทัน ความเป็นจริง และเนือ่ งจากตัวชีวติ ยังจะต้องมีการดำเนินชีวติ ด้วย กล่าวคือ มีการรับรูแ้ ละทำหน้าทีเ่ กีย่ วข้องกับสิง่ ต่าง ๆ ซึง่ โดยธรรมชาติของปุถชุ น สิง่ ทีเ่ ป็นหัวใจหรือจุดมุง่ หมายของการรับรูแ้ ละทำหน้าที่ คือ เวทนา กล่าวคือ เพือ่ แสวงหา เวทนา หรือความรูส้ กึ โดยเฉพาะสุขเวทนา 19
อย่างทีต่ นปรารถนา (ทัง้ ทีม่ าจากทางกาย และทีม่ าจากทางใจ) สมดัง พระพุทธวจนะทีต่ รัสไว้วา่ “ธรรมทัง้ ปวงมีเวทนาเป็นทีป่ ระชุมลง” ดังนัน้ เวทนา จึงเป็นเรือ่ งสำคัญอีกเรือ่ งหนึง่ ทีจ่ ะต้องทำให้เกิดปัญญา รูเ้ ท่าทันความเป็นจริง และเนือ่ งจากสาระสำคัญของคำสอนในพระพุทธศาสนา คือ เรือ่ งของทุกข์และความดับไปแห่งทุกข์ หรือ อริยสัจ 4 ดังนัน้ จึงมีเรือ่ ง สำคัญอีกเรือ่ งหนึง่ ทีจ่ ะต้องทำให้เกิดปัญญารูเ้ ท่าทันความเป็นจริงด้วย คือ เรือ่ งทีว่ า่ กาย, จิต และเวทนา ทีร่ แู้ ล้วนัน้ ทำให้เกิดทุกข์ (ทุกขอริยสัจ) ได้อย่างไร ? และจะทำให้หมดสิน้ ไปได้อย่างไร ? ชาวพุทธใช้คำทีป่ ระมวล เพือ่ แสดงความหมายในเรือ่ งนีว้ า่ ธรรม ดังนัน้ ธรรม จึงเป็นเรือ่ งสำคัญ อีกเรือ่ งหนึง่ ทีจ่ ะต้องทำให้เกิดปัญญารูเ้ ท่าทันความเป็นจริง การปฏิบตั ิ สติปฏั ฐาน 4 ทีต่ ง้ั อยูบ่ นฐานของ กาย เวทนา จิต ธรรม จึงมีเหตุผลดังทีก่ ล่าวไปแล้วนี้ วิเคราะห์-สังเคราะห์ กายานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ก่อนจะอธิบายและวิเคราะห์-สังเคราะห์เรือ่ งราวของสติปฏั ฐาน 4 จะขอย้ำอีกครัง้ หนึง่ ถึงคุณลักษณะสำคัญของสติในสติปฏั ฐาน 4 ทีจ่ ะต้อง ระลึกไว้ให้มน่ั เพือ่ ให้การปฏิบตั เิ ป็นไปโดยถูกต้องและประสบผลสำเร็จ ด้วยดี กล่าวโดยสรุป การปฏิบตั ทิ จ่ี ะได้ชอ่ื ว่าเป็นสติปฏั ฐาน 4 จะต้องปฏิบตั ดิ ว้ ยคุณภาพของสติ (ทีร่ บั รูด้ ว้ ยท่าทีทเ่ี ป็นกลาง ไม่มี อคติทง้ั ในทางชอบและชัง ไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ ว่าเป็นเรา ของเรา หรือตัวตน ของเรา และรับรูส้ ง่ิ ต่าง ๆ สักเพียงว่าเป็นเรือ่ งของความรู้ เป็นทีต่ ง้ั ของการระลึก) และมีจดุ มุง่ หมายในการปฏิบตั ิ (เพือ่ นำไปสูโ่ พชฌงค์ 20
วิชชา และวิมตุ ติ กล่าวคือ รูเ้ ท่าทันเหตุปจั จัยและความจริงของสิง่ ที่ ระลึกรู้ จนทำให้ปฏิบตั ติ อ่ สิง่ นัน้ ๆ ได้ถกู ต้อง และไม่เป็นทุกข์) ตาม พระพุทธพจน์ทไ่ี ด้ยกมาแสดงไว้ในหน้า 14 และ 15 ของหนังสือนี้ การอธิบายและวิเคราะห์-สังเคราะห์สติปฏั ฐานในหมวดต่าง ๆ ต่อจากนีไ้ ป ขอให้ตระหนักว่า การปฏิบตั ใิ นทุกหมวดจะต้องมีคณ ุ ลักษณะ ของสติดงั ทีก่ ล่าวข้างต้น ซึง่ ต่อไปจะไม่กล่าวถึงอีก แต่จะเน้นการอธิบาย และวิเคราะห์-สังเคราะห์ถงึ การปฏิบตั แิ ละจุดมุง่ หมายหรือประโยชน์ ทีจ่ ะได้รบั จากการปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ในแต่ละหมวดเป็นสำคัญ กายานุปสั สนาสติปฏั ฐาน มีความหมายว่า การตัง้ สติเพือ่ ตามเห็นความเป็นจริงของกายหรือธรรมชาติฝา่ ยกาย มหาสติปฏั ฐานสูตร ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 10 ข้อ 274-287 ได้แสดงเนื้อหารายละเอียดของกายที่จะให้ตามเห็นความเป็นจริง ไว้เป็น 6 บรรพ หรือ 6 บท คือ 1. อานาปานบรรพ (บทว่าด้วยลมหายใจ) 2. อิรยิ าปถบรรพ (บทว่าด้วยอิรยิ าบถ) 3. สัมปชัญญบรรพ (บทว่าด้วยการเคลือ่ นไหวในอิรยิ าบถย่อย) 4. ปฏิกลู มนสิการบรรพ (บทว่าด้วยความเป็นของไม่สะอาด) 5. ธาตุมนสิการบรรพ (บทว่าด้วยความเป็นธาตุ) 6. นวสีวถิกาบรรพ (บทว่าด้วยสภาพทีเ่ ป็นศพ 9 ลักษณะ) อานาปานบรรพ (บทว่าด้วยลมหายใจ) การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ในบรรพนี้ เป็นการตัง้ สติเพือ่ ตามเห็น ความเป็นจริงของกาย โดยเฉพาะในส่วนทีเ่ ป็นลมหายใจเข้าและออก ซึง่ จำแนกไว้เป็น 4 ขัน้ ย่อย คือ 1. ตามรูล้ มหายใจยาว, 2. ตามรูล้ มหายใจ 21
สัน้ 3. กำหนดรูต้ ลอดกองลม และ 4. ทำลมหายใจให้สงบระงับ ทำไมเรือ่ งของลมหายใจ จึงเป็นเรือ่ งสำคัญทีจ่ ะต้องรูเ้ ท่าทัน ความเป็นจริง ? เหตุผลก็คอื ลมหายใจเป็นสิง่ ปรุงแต่ง หล่อเลีย้ ง และค้ำจุน ชีวติ ฝ่ายกายทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ทีท่ ำให้ชวี ติ ฝ่ายกายดำรงอยูไ่ ด้ ธรรมชาติของลมหายใจของคนทัว่ ไป ปกติจะต้องมีทง้ั หายใจเข้า และหายใจออก สลับกันไป หากหายใจเข้าแล้ว ไม่หายใจออก หรือหายใจ ออกแล้ว ไม่หายใจเข้า ชีวิตก็ตั้งอยู่ไม่ได้ ต้องถึงซึ่งความแตกดับไป ในเรือ่ งนีว้ ทิ ยาศาสตร์ได้อธิบายให้เข้าใจได้วา่ การหายใจเข้า ก็เพือ่ นำ ออกซิเจนเข้าสูร่ า่ งกาย และการหายใจออก ก็เพือ่ นำคาร์บอนไดออกไซด์ ทีเ่ ป็นของเสียออกจากร่างกาย นอกจากนัน้ ยังมีเรือ่ งของความยาว (=หายใจลึก) และความสัน้ (=หายใจตืน้ ) ของลมหายใจ รวมไปถึงลมหายใจที่ หนัก หรือ เบา (=หยาบ หรือ ละเอียด ดูจากความแรงหรือค่อยทีจ่ ดุ สัมผัสลมกระทบ ทีโ่ พรงจมูก) ซึง่ เป็นเรือ่ งสำคัญทีจ่ ะต้องเรียนรูแ้ ละมีสติตามเห็นความ เป็นจริงอีกด้วย การปฏิบตั ใิ นขัน้ ตอนที่ 1 และ 2 ของอานาปานบรรพ ในสติปฏั ฐาน 4 ก็เพือ่ ให้รเู้ ท่าทันความเป็นจริงของลมหายใจ ที่มีเข้า-ออก, ยาว-สั้น ตลอดจนลักษณะความหยาบ-ละเอียด ของลมประเภทต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในร่างกาย ขอให้พิจารณาขั้นตอนที่ 3 ที่ให้มีสติกำหนดรู้ตลอด กองลม หมายถึงตามรูถ้ งึ ความสัมพันธ์ของลมหายใจยาว-สัน้ , หนัก-เบา หรือหยาบ-ละเอียดนัน้ ว่า มีผลต่อความเป็นไปของ กายในสภาพการณ์ตา่ ง ๆ อย่างไร ? 22
โดยทัว่ ไป ขณะทีร่ า่ งกายอยูใ่ นสถานะพัก ไม่ได้ทำงานอะไร ธรรมชาติของลมหายใจจะค่อนไปในทางยาว หรือหายใจลึก และเป็นลม ทีล่ ะเอียด แต่เมือ่ มีการใช้รา่ งกายทำงานมากขึน้ และหนักขึน้ หรืออยูใ่ น ภาวะทีเ่ ครียด-ถูกบีบคัน้ ตกใจ กลัว หรือโกรธ หรืออาจมีความผิดปกติ ของร่างกาย หรือเป็นโรคอะไรบางอย่าง ลมหายใจจะถูกเปลีย่ นเป็น ลมหายใจทีห่ ยาบ สัน้ และหายใจถีข่ น้ึ ด้วย ซึง่ ทางวิทยาศาสตร์อธิบาย ไว้ให้เข้าใจได้งา่ ยว่า ทีห่ ายใจสัน้ และถีข่ น้ึ นัน้ ก็เพราะต้องเร่งการขนส่ง ออกซิเจนจากอากาศ เข้าสูร่ า่ งกายให้มากขึน้ เพราะในขณะนัน้ ต้องใช้ พลังงานในการทำงานมากขึน้ และเพือ่ ปรับทัง้ ร่างกายและจิตใจให้คนื สูภ่ าวะปกติ วิธที ม่ี กี ารแนะนำกันมากประการหนึง่ คือ ให้หายใจยาว ๆ หลาย ๆ ครัง้ (= ลมหายใจยาวทีต่ ง้ั ใจหายใจนีเ้ อง ทีจ่ ดั เป็นลมหายใจ ยาวที่หนักหรือหยาบ) ภาวะความเครียด เป็นต้น ก็จะถูกบรรเทาลง ให้คนื สูค่ วามเป็นปกติได้ในทีส่ ดุ กล่าวคือ จนกลายมาเป็นลมหายใจที่ ยาวและละเอียด เรื่องของลมหายใจสั้น ยังมีสิ่งที่จะต้องรู้จักต่อไปอีก คือ นอกจากลมหายใจสัน้ ตามทีก่ ล่าวไปแล้วข้างต้น ซึง่ จัดเป็นลมหายใจสัน้ ทีห่ นักและหยาบ ในธรรมชาติยงั มีลมหายใจสัน้ อีกประเภทหนึง่ ทีเ่ บา และละเอียด เกิดขึน้ ในภาวะทีบ่ คุ คลทำสมาธิ กล่าวคือ สมาธิยง่ิ ลึก ยิง่ สงบ ยิง่ แน่วแน่เท่าไร ลมหายใจก็จะยิง่ สัน้ เบา และละเอียดยิง่ ขึน้ เท่านัน้ ทัง้ นีเ้ พราะร่างกายในขณะทีอ่ ยูใ่ นสภาวะของสมาธิ กายจะอยู่ ในสภาวะสงบ นิง่ แทบจะไม่มกี ารเคลือ่ นไหวร่างกายในส่วนใด ๆ กลไก การทำงาน (metabolism) ของร่างกายก็ลดลงไปมาก การใช้ออกซิเจน จะน้อยมากไปด้วย การหายใจเข้า-ออกเพียงเล็กน้อย เพียงสัน้ ๆ ตืน้ ๆ และเพียงเป็นลมหายใจทีเ่ บาและละเอียด ก็เพียงพอแล้ว 23
การมีสติตามกำหนดรู้กองลมในขั้นตอนนี้ จะทำให้รู้ความ สัมพันธ์ของลมลักษณะต่าง ๆ ทีม่ ตี อ่ กายในสภาวะต่าง ๆ ในภาษาธรรมะ ใช้คำว่ารูถ้ งึ กายลม ทีส่ มั พันธ์หรือปรุงแต่ง กายเนือ้ และเรียกกองลมนีว้ า่ กายสังขาร หรือสิง่ ทีป่ รุงแต่งกาย ดังนัน้ จึงทำให้บคุ คลสามารถใช้ ประโยชน์จากลมหายใจมาปรับปรุงกาย เพือ่ ให้มสี ขุ ภาพแข็งแรงและ ให้มสี มรรถนะทีเ่ หมาะสมกับภารกิจทีอ่ าศัยกายกระทำอยูใ่ นขณะนัน้ ๆ โดยการเลือกลมหายใจชนิดที่เหมาะสม และหายใจอยู่ด้วยลม ชนิดนัน้ ๆ เช่น ในขณะไม่ได้ทำงานอะไร ให้หายใจด้วยลมหายใจยาวทีเ่ บา หรือละเอียด หรือในขณะทีต่ อ้ งการให้มสี มาธิมาก ๆ ในการกระทำอะไรก็ตาม ก็ให้หายใจสัน้ ด้วยลมทีล่ ะเอียด หรือหยุดหายใจชัว่ ขณะ เป็นต้น ขั้นตอนที่ 4 ที่ให้มีสติทำลมหายใจให้สงบระงับนั้น หมายความว่า เมือ่ มีสติตามรูล้ มหายใจยาวและสัน้ ต่อเนือ่ งกันมา เป็นลำดับ โดยธรรมชาติลมหายใจจะสัน้ ลง ๆ ๆ เบาลง ๆ ๆ และละเอียดประณีตยิง่ ขึน้ ๆๆ ไปเองตามลำดับ จนถึงทีส่ ดุ ของ การตามรู้ลม ก็จะมาถึงอานาปานบรรพในขั้นตอนที่ 4 คือ ลมหายใจสงบระงับ คือไม่มอี าการทีห่ ายใจเข้า และหายใจออก มีแต่ลมหายใจทีซ่ มึ ผ่านเข้าผ่านออกเท่านัน้ หรือกล่าวอีกนัยหนึง่ ในภาวะเช่นนี้ จิตจะเข้าถึงสมาธิในระดับลึก ทีเ่ รียกว่า รูปฌาน ไปตามลำดับ จนถึงที่สุดคือ รูปฌานที่ 4 การปฏิบตั กิ ายานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ในหมวดที่ 1 คืออานาปานบรรพ จะทำให้รเู้ ท่าทันความจริงและความลับของลมหายใจทีม่ ตี อ่ ชีวติ และสามารถนำลมหายใจมาปรับปรุงพัฒนาชีวติ ได้อย่างกว้างขวาง ซึง่ นอกจากจะเป็นประโยชน์ตอ่ ชีวติ ฝ่ายกายโดยตรงดังทีก่ ล่าวไปแล้ว ยังจะ เป็นประโยชน์เกือ้ กูลแก่การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ในหมวดต่อ ๆ ไปเป็น 24
อย่างมากด้วย กล่าวคือ ทำให้ประจักษ์แจ้งในเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส ในหมวด เวทนานุปสั สนา ; ทำให้ประจักษ์แจ้งใน จิตทีเ่ ป็นสมาธิ และจิตทีเ่ ป็น มหรคต ในจิตตานุปสั สนา และทำให้ประจักษ์แจ้งในนิวรณ์ 5 ในธัมมานุปสั สนา เพราะการปฏิบตั อิ านาปานบรรพนี้ เมือ่ ปฏิบตั จิ นถึงขัน้ ที่ 4 คือ ทำกายสังขารให้สงบระงับ จะทำให้นวิ รณ์ 5 สงบลง แล้วจะทำให้จติ มีคุณภาพที่เหมาะสมและพร้อมที่จะปฏิบัติธัมมานุปัสสนาในหมวด ต่อไปให้บรรลุผลด้วยดี อิรยิ าปถบรรพ (บทว่าด้วยอิรยิ าบถ) อิรยิ าบถของกาย คือ ยืน เดิน นัง่ นอน เป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ทีจ่ ะต้องตามระลึกเพือ่ ให้รเู้ ท่าทันความเป็นจริง ทำไมเรื่องของอิริยาบถจึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องรู้เท่าทัน ความเป็นจริง ? เหตุผลก็คอื อริยาบถเป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ทีม่ ผี ลต่อความเป็น ปกติ และความมีสขุ ภาพแข็งแรงของร่างกาย หมายความว่า ร่างกายจะต้องมีสัดส่วนของอิริยาบถทั้ง 4 ในแต่ละวันให้เหมาะสม หากกายอยูใ่ นอิรยิ าบถใดนานเกินไปหรือมาก เกินไป ก็จะทำให้มีโรคภัยไข้เจ็บอะไรบางอย่างเกิดขึ้นได้ สมดัง พระพุทธวจนะทีต่ รัสว่า การบริหาร (อิรยิ าบถ) ไม่สม่ำเสมอเป็น สาเหตุหนึง่ ทีท่ ำให้กายเกิดอาพาธได้ (องฺ. เอกาทสก. 24/60) การอยูใ่ นอิรยิ าบถใดนาน ๆ โดยธรรมชาติ จะทำให้อวัยวะบาง ส่วนถูกใช้งานหนักเกินไป และยิ่งอยู่ในท่าที่ไม่ถูกต้องด้วยแล้ว ก็จะ ยิง่ มีผลทำให้เกิดปัญหากับกายได้มากขึน้ เช่น 25
การยืน : หากยืนผิดท่า เช่น ยืนหลังค่อม ห่อไหล่ หรือใส่รองเท้า ส้นสูง จะทำให้ปวดหลังและเมือ่ ยคอเป็นต้น และหากยืนต่อเนือ่ งเป็น เวลานาน ๆ อาจทำให้เกิดโรคเส้นเลือดขอด เป็นต้น การนัง่ : หากนัง่ ผิดท่า เช่น นัง่ หลังโกง นัง่ บิด ก็เป็นสาเหตุ สำคัญที่ทำให้เกิดโรคปวดหลัง และหากนั่งนานจนเกินไป จะทำให้ การทำงานของลำไส้ใหญ่ลดลง ส่งผลทำให้เกิดโรคท้องผูก และนำไปสู่ โรคริดสีดวงทวาร เป็นต้น การนอน : หากนอนผิดท่า เช่น ท่านอนคว่ำ จะทำให้หายใจ ติดขัดและปวดต้นคอ หรือท่านอนตะแคงซ้ายจะทำให้เกิดลมจุก เสียดบริเวณลิน้ ปี่ เนือ่ งจากอาหารทีย่ งั ย่อยไม่หมดเกิดการคัง่ ค้างใน กระเพาะ หากนอนอยูใ่ นท่าเดียวนาน ๆ จะทำให้เกิดอาการชาตามอวัยวะ ทีถ่ กู ทับอยูน่ าน และหากนอนมากเกินไป อาจทำให้ปวดศีรษะและไม่สดชืน่ ในเวลาตืน่ นอน การนอนบนทีน่ อนทีน่ มุ่ หรือแข็งจนเกินไป ก็อาจทำให้ เป็นโรคปวดหลัง ฯลฯ การเดิน : โดยทัว่ ไป การเดินไม่ได้กอ่ ให้เกิดปัญหาแก่กาย ยกเว้นการเดินขึน้ -ลงบันได สำหรับผูท้ เ่ี ป็นโรคข้อเข่าเสือ่ ม ซึง่ จะทำให้ เกิดการอักเสบมากขึน้ การรู้เท่าทันความเป็นจริงในเรื่องของอิริยาบถที่มีต่อชีวิต ฝ่ายกาย จึงเป็นตัวกำหนดให้ชวี ติ จะต้องมีการบริหารกายตามสมควร สาระสำคัญของการบริหารกายในทีน่ ้ี แท้จริงก็คอื การปรับอิรยิ าบถ ของกายให้มคี วามสมดุลระหว่าง ยืน เดิน นัง่ นอน นัน่ เอง สัมปชัญญบรรพ (บทว่าด้วยการเคลือ่ นไหวในอิรยิ าบถย่อย) ในส่วนกาย ยังมีเรือ่ งของ สัมปชัญญบรรพ คือ การเคลือ่ น 26
ไหวในอิรยิ าบถย่อยต่าง ๆ ของกาย ซึง่ เป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ทีจ่ ะต้องตาม ระลึกเพื่อให้รู้เท่าทันความเป็นจริง ดังที่ได้มีพระพุทธวจนะตรัส ไว้ในมหาสติปฏั ฐานสูตรว่า “ทำความรูส้ กึ ตัวในการก้าว ในการถอย ในการแล ในการเหลียว ในการคูเ้ ข้า ในการเหยียดออก ในการทรงผ้า สังฆาฏิ บาตรและจีวร ในการฉัน การดืม่ การเคีย้ ว การลิม้ ในการถ่าย อุจจาระและปัสสาวะ ย่อมทำความรูส้ กึ ตัว ในการเดิน การยืน การนัง่ การหลับ การตืน่ การพูด การนิง่ ” ทำไมเรือ่ งของสัมปชัญญะ จึงเป็นเรือ่ งสำคัญทีจ่ ะต้องรูเ้ ท่าทัน ความเป็นจริง ? เหตุผลก็คอื สัมปชัญญะหรืออิรยิ าบถย่อยเป็นเครือ่ งมือ สำคัญในการขับเคลือ่ นกิจกรรมต่าง ๆ ทีม่ าจากกาย ทัง้ เพือ่ การ ดำรงอยู่ เพือ่ คุม้ ครองป้องกันชีวติ และเพือ่ สร้างสรรค์หรือกระทำ การต่าง ๆ กล่าวได้วา่ ชีวติ ของสัตว์ทง้ั หลาย รวมทัง้ ชีวติ มนุษย์ ทีส่ ามารถ รักษาตัวให้อยูร่ อดปลอดภัยมาได้โดยตลอด ก็ดว้ ยอาศัยสัมปชัญญะ หรืออิรยิ าบถย่อยนีเ้ อง เป็นเครือ่ งมือสำคัญ การฝึกสติปฏั ฐานในหมวดนี้ จะทำให้ผฝู้ กึ ระมัดระวังในการ เคลือ่ นไหวและการขับเคลือ่ นร่างกายในการกระทำต่าง ๆ ทำให้ไม่เกิด ความผิดพลาดหรือความเสียหายขึน้ ทัง้ ต่อร่างกายเอง และในสิง่ ต่าง ๆ ทีก่ ำลังกระทำอยู่ นอกจากนัน้ ยังทำให้บคุ คลผูเ้ จริญสติปฏั ฐานหมวดนี้ มีกายทีต่ น่ื ตัว คล่องแคล่วว่องไว และอยูใ่ นสภาพพร้อมทีจ่ ะกระทำการ และเผชิญกับสิง่ ต่าง ๆ อยูเ่ สมอ กล่าวได้วา่ กิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ทอ่ี าศัยกายเป็นผูก้ ระทำ อาทิ การเล่นกีฬา เล่นดนตรี งานศิลปะหรือการประดิษฐ์สง่ิ ต่าง ๆ ฯลฯ 27
จะมีเรือ่ งของสัมปชัญญะหรืออิรยิ าบถย่อยนี้ เป็นปัจจัยสำคัญยิง่ ประการ หนึง่ ทีท่ ำให้ประสบความสำเร็จ บุคคลทีเ่ คยผ่านการฝึกเล่นกีฬาหรือ ดนตรี เป็นต้น คงจะประจักษ์เป็นอย่างดีวา่ จะต้องฝึกในท่าต่าง ๆ แล้ว ๆ เล่า ๆ อย่างไร จนกว่าจะสามารถเล่นได้เก่งหรือเล่นได้ดี การฝึกหัดหรือฝึกฝนเกีย่ วกับกาย ในการกระทำกิจกรรมต่าง ๆ นัน้ ทีแ่ ท้กค็ อื การฝึกสัมปชัญญะนีเ้ อง ปฏิกลู มนสิการบรรพ (บทว่าด้วยความเป็นของไม่สะอาด) การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ในบรรพนี้ เป็นการตัง้ สติเพือ่ ตามเห็น ความเป็นจริงของกายในอีกลักษณะหนึง่ คือตามเห็นกายในรูปแบบทีเ่ ป็น อวัยวะ และดูเป็นสิง่ ทีไ่ ม่สะอาด ตามทีไ่ ด้แสดงไว้วา่ “...ภิกษุยอ่ มพิจารณาเห็นกายนีแ้ หละ แต่พน้ื เท้าขึน้ ไป แต่ปลายผม ลงมา มีหนังเป็นทีส่ ดุ รอบ เต็มด้วยของไม่สะอาดมีประการต่าง ๆ ว่ามี อยูใ่ นกายนี้ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนือ้ เอ็น กระดูก เยือ่ ในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้ทบ อาหารใหม่ อาหารเก่า ดี เสลด หนอง เลือด เหงือ่ มันข้น น้ำตา มันเหลว น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร...” ทำไมเรือ่ งของความเป็นปฏิกลู ของกาย จึงเป็นเรือ่ งสำคัญที่ จะต้องรูเ้ ท่าทันความเป็นจริง ? เหตุผลก็คอื กายเป็นทีต่ ง้ั ของความหลงผิด (ว่าเป็นของ สวยงาม) และเป็นที่ตั้งของความยึดติดถือมั่น การมีสติตาม เห็นความจริงของกายโดยความเป็นปฏิกลู ตามนัยข้างต้น ก็เพือ่ ถ่ายถอนความหลงผิดและความยึดติดถือมัน่ ในกาย นอกจากนัน้ การพิจารณาเห็นกายในลักษณะเป็นอวัยวะต่าง ๆ ยังอาจมีนยั สำคัญอีกประการหนึง่ คือมองชีวติ ฝ่ายกายในแง่ทเ่ี ป็นการ 28
ประกอบเข้าและทำหน้าทีร่ ว่ มกันของอวัยวะต่าง ๆ ดังนัน้ เราจึงควร เรียนรู้จักกายในแง่นี้ด้วย เพื่อที่จะได้รู้จักดูแลรักษา และทำหน้าที่ เกีย่ วข้องกับกายในรูปแบบทีเ่ ป็นอวัยวะให้ถกู ต้อง อวัยวะแต่ละอย่าง เช่น ผม ขน เล็บ ฟัน ฯลฯ ล้วนมีวิธีเข้าไปบริหารและจัดการที่แตกต่าง กันออกไป ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้อวัยวะต่าง ๆ สามารถดำรงอยูอ่ ย่างปกติสขุ แข็งแรง ไม่เกิดปัญหาหรือโรคภัยไข้เจ็บ ธาตุมนสิการบรรพ (บทว่าด้วยความเป็นธาตุ) การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ในบรรพนี้ เป็นการตัง้ สติเพือ่ ตามเห็น ความเป็นจริงของกาย ในแง่มมุ ทีล่ กึ ซึง้ ให้เห็นถึงมูลฐานหรือทีม่ าของ ธรรมชาติฝา่ ยกายอย่างแท้จริง กล่าวคือ ทีแ่ ท้กายนีเ้ กิดจากการปรุงแต่ง ขึน้ ของธาตุพน้ื ฐานทัง้ 4 คือ ธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุไฟ และธาตุลม ทำไมเรือ่ งของธาตุทง้ั 4 คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม จึงเป็นเรือ่ งสำคัญ ทีจ่ ะต้องรูเ้ ท่าทันความเป็นจริง ? เหตุผลก็เพือ่ ให้รถู้ งึ มูลฐานซึง่ เป็นทีม่ าของชีวติ ฝ่ายกาย ทัง้ หมดอย่างแท้จริง ถามต่อว่า การรูถ้ งึ มูลฐานซึง่ เป็นทีม่ าของชีวติ ฝ่ายกายนี้ มีประโยชน์อะไร ? คำตอบคือ * ทำให้รวู้ า่ ธรรมชาติทแ่ี ท้จริงของชีวติ ฝ่ายกาย เกิดจากการ ปรุงแต่งของธาตุ ดิน น้ำ ไฟ ลม เท่านัน้ เอง * ทำให้รู้ว่า ชีวิตฝ่ายกาย มีความต้องการตามธรรมชาติ กล่าวคือ ต้องการธาตุ ดิน น้ำ ไฟ ลม ทีอ่ ยูใ่ นรูปของปัจจัย 4 (คือ อาหาร, เครื่องนุ่งห่ม, ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค) เพื่อหล่อเลี้ยงค้ำจุน 29
ชีวติ ฝ่ายกายให้สามารถดำรงอยูไ่ ด้เป็นปกติสขุ * ทำให้รถู้ งึ คุณค่าและความหมายทีถ่ กู ต้องของธรรมชาติ ฝ่ายรูปธรรมทัง้ หมดทีอ่ ยูภ่ ายนอก ว่ามีตอ่ ธรรมชาติของชีวติ ฝ่ายกาย อย่างไร กล่าวโดยสรุป คือ เพื่อหล่อเลี้ยงค้ำจุนชีวิตฝ่ายกายให้ สามารถดำรงอยูไ่ ด้เป็นปกติสขุ ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว * ทำให้รวู้ า่ แท้จริงแล้วธรรมชาติฝา่ ยวัตถุ หรือทีเ่ ป็นรูปธรรม ทัง้ หลาย ล้วนเกิดขึน้ จากการปรุงแต่งของธาตุ ดิน น้ำ ไฟ ลม ทัง้ สิน้ ดังนัน้ จึงทำให้ไม่เกิดความหลงใหล ไม่ถกู ครอบงำ โดยวัตถุใด ๆ ไม่ให้ ค่าของวัตถุใด ว่ามีมากกว่าหรือน้อยกว่าวัตถุใด เพราะรูเ้ ท่าทันความ เป็นจริงว่า วัตถุตา่ ง ๆ เสมอกันหมด โดยความเป็นของทีป่ รุงขึน้ มาจาก ธาตุ ดิน น้ำ ไฟ ลม เท่านัน้ เอง * หากมีสติตามเห็นและรูเ้ ท่าทันความเป็นจริงของธาตุดนิ น้ำ ไฟ ลม มากยิง่ ขึน้ ไปอีก จะทำให้ลว่ งรูถ้ งึ กฎธรรมชาติทเ่ี รียกว่า อุตนุ ยิ าม ซึง่ จะทำให้รถู้ งึ วิถวี วิ ฒ ั นาการด้านกายภาพของธรรมชาติวา่ จะต้องมีการปรับธาตุดนิ น้ำ ไฟ ลม ในธรรมชาติให้เกิดความสมดุล และพอเหมาะพอดีอย่างไร พีชนิยาม หรือพืช และจิตตนิยาม หรือสัตว์ จึงจะสามารถบังเกิดขึน้ มาได้ (โปรดอ่านรายละเอียดเรือ่ งนีเ้ พิม่ เติมได้จากหนังสือ “คู่มือบัณฑิตของแผ่นดิน” หน้า 9-20 ซึ่งจัดพิมพ์โดย ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2552)
* นอกจากนั้นยังสามารถนำความรู้เรื่องธาตุ 4 นี้ไปใช้ ประโยชน์ในการสร้างสรรค์และประดิษฐ์สง่ิ ต่าง ๆ ทางด้านวัตถุได้มาก มายมหาศาล รวมไปถึงการรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ของกายได้อกี ด้วย จะเห็นได้วา่ การแพทย์ในโลกตะวันออก มีหลักการรักษาโรคทีส่ ำคัญ คือการปรับธาตุตา่ ง ๆ ให้มคี วามสมดุล เพือ่ ให้ธาตุตา่ ง ๆ ดำเนินไปด้วยดี 30
นวสีวถิกาบรรพ (บทว่าด้วยสภาพทีเ่ ป็นศพ 9 ลักษณะ) การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ในบรรพนี้ เป็นการตัง้ สติเพือ่ ตามเห็น ความเป็นจริงทีเ่ ป็นทีส่ ดุ ของกาย กล่าวคือ การถึงซึง่ ความตาย หรือ ความแตกดับของกาย ดังทีไ่ ด้มพี ระพุทธวจนะ ตรัสถึงสภาพของกาย หลังจากที่แตกดับ ในสภาพต่าง ๆ เป็น 9 ลักษณะ ตั้งแต่เริ่มพอง บวม ขึน้ อืด เนือ้ เลือด เส้นเอ็น ค่อย ๆ เน่า และหลุดร่วงไป จนอยูใ่ น สภาพของกระดูกทีห่ ลุดออก อยูก่ ระจัดกระจาย เห็นเป็นสีขาว และผุพงั กลายเป็นจุณไปในทีส่ ดุ ทำไมเรือ่ งของสภาพทีเ่ ป็นศพ 9 ลักษณะ จึงเป็นเรือ่ งสำคัญ ทีจ่ ะต้องรูเ้ ท่าทันความเป็นจริง ? เหตุผลก็เพือ่ ให้ประจักษ์ในความจริงว่า * ทีส่ ดุ ของกาย มีจดุ จบในลักษณะนีด้ ว้ ยกันทุกคน * เพือ่ ให้ประจักษ์ถงึ ความเป็นธรรมดาของชีวติ ฝ่ายกายว่า ที่สุดแล้วก็เป็นเช่นนี้เอง ซึ่งจะทำให้บุคคลเอาชนะความรู้สึกกลัว ต่อความตายได้ * เพือ่ ให้เกิดความสลดสังเวช ไม่ลม่ ุ หลงหรือปรนเปรอกายจนเกินไป * เพือ่ เป็นอนุสสติเตือนใจว่า เมือ่ บุคคลตายแล้ว ย่อมไม่ สามารถนำทรัพย์สมบัติ วัตถุสง่ิ ของ หรือสิง่ ทีร่ กั ทีพ่ งึ พอใจ ไม่วา่ จะเป็น อะไรก็ตาม ติดไปได้แม้เพียงสิง่ เดียว * นอกจากนัน้ ยังทำให้เกิดความไม่ประมาทในเรือ่ งของเวลาว่า จะมีเท่าทีเ่ มือ่ ความตายยังมาไม่ถงึ เท่านัน้ ดังนัน้ บุคคลจึงไม่ควรนิง่ นอนใจ ควรเร่งกระทำในสิง่ ทีค่ วรกระทำ และใช้เวลาทีย่ งั มีชวี ติ อยูน่ ้ี ให้มปี ระโยชน์ และประสิทธิภาพทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะสามารถกระทำได้ 31
ผลของการปฏิบัติในหมวดกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน จะทำให้บคุ คลมีความรูร้ อบ-รูล้ กึ เกีย่ วกับธรรมชาติชวี ติ ฝ่ายกาย และที่เกี่ยวข้องในทุกแง่ทุกมุม จนทำให้บุคคลไม่ลุ่มหลงและ ยึดติดถือมัน่ ในกาย สามารถทำหน้าทีต่ อ่ กายตลอดจนสิง่ ทีเ่ กีย่ ว ข้องกับกายได้ถูกต้อง เพื่อที่จะได้รักษากายให้ดำรงอยู่อย่าง แข็งแรงและเป็นปกติสขุ ให้เป็นฐานอันมัน่ คงสำหรับการปฏิบตั ิ สติปฏั ฐานขัน้ ต่อ ๆ ไป ให้บรรลุผลด้วยดี วิเคราะห์-สังเคราะห์ เวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน เวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน มีความหมายว่า การตัง้ สติเพือ่ ตามเห็นความเป็นจริงของเวทนา มหาสติปัฏฐานสูตรได้แสดง รายละเอียดของเวทนาไว้เป็น 9 ลักษณะ ตามพระพุทธวจนะ ดังนี้ “...ภิกษุในธรรมวินยั นี้ เสวยสุขเวทนาอยู่ ก็รชู้ ดั ว่า เราเสวยสุข เวทนา หรือเสวยทุกขเวทนา ก็รชู้ ดั ว่า เราเสวยทุกขเวทนา หรือเสวย อทุกขมสุขเวทนา ก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนา หรือเสวยสุข เวทนามีอามิส ก็รชู้ ดั ว่า เราเสวยสุขเวทนามีอามิส หรือเสวยสุขเวทนา ไม่มอี ามิส ก็รชู้ ดั ว่า เราเสวยสุขเวทนาไม่มอี ามิส หรือเสวยทุกขเวทนา มีอามิส ก็รชู้ ดั ว่า เราเสวยทุกขเวทนามีอามิส หรือ เสวยทุกขเวทนาไม่มี อามิส ก็รชู้ ดั ว่า เราเสวยทุกขเวทนาไม่มอี ามิส หรือเสวยอทุกขมสุข เวทนามีอามิส ก็รชู้ ดั ว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส หรือเสวย อทุกขมสุขเวทนาไม่มอี ามิส ก็รชู้ ดั ว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มี อามิส...” ทำไมเรื่องของเวทนา จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องรู้เท่าทัน ความเป็นจริง ? 32
เหตุผลก็คอื เรือ่ งของ เวทนา หรือความรูส้ กึ หรือรสชาติ ทีเ่ กิดขึน้ จากการรับรูอ้ ารมณ์ (คือสิง่ ทีถ่ กู รู)้ เป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ทีม่ ี ความหมายและความสำคัญต่อชีวิตเป็นอย่างมาก เป็นสิ่งที่มี อิทธิพลสูงสุดในการครอบงำและชักจูงให้เกิดการกระทำทัง้ หมด ของมนุษย์ สมดังพระพุทธวจนะทีต่ รัสว่า * ธรรมทัง้ ปวงมีเวทนาเป็นทีป่ ระชุมลง (อง.อฏฺฐก. 23/189) * เวทนา เป็นจิตตสังขาร (ม.มู. 12/509) คือ เป็นเครือ่ งปรุง แต่งจิต หรือชักนำให้เกิดเรือ่ งราวต่าง ๆ ในจิต * เวทนา เป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา (สํ.นิ. 16/2) มนุษย์ทต่ี อ้ งเป็นทุกข์ (ทุกขอริยสัจ) หรือทีต่ อ้ งเวียนว่าย ตายเกิด เป็นเพราะยังติดอยูใ่ นบ่วงของเวทนานีเ้ อง โดยเฉพาะ ตัณหาหรือความทะยานอยากซึง่ เป็นเหตุแห่งทุกข์นน้ั เป็นความ ทะยานอยากในเวทนาเป็นสำคัญ แม้ธรรมะในพระพุทธศาสนาทีเ่ กิดขึน้ ก็เพราะเวทนานีเ้ ช่นกัน หากธรรมชาติของชีวติ ไม่มี เวทนา โดยเฉพาะทุกขเวทนาแล้ว ธรรมะก็ ไม่มคี วามหมาย และไม่มคี วามจำเป็นต้องศึกษาและปฏิบตั แิ ต่ประการใด นอกจากนัน้ โดยธรรมชาติ สุขเวทนาเป็นอาหารหรือสิง่ หล่อ เลี้ยงจิต ให้มีพลังที่จะสร้างสรรค์ และกระทำกิจต่าง ๆ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เหมือนกับร่างกายทีจ่ ะต้องมีปจั จัย 4 เป็นสิง่ หล่อเลีย้ ง จึงจะดำรงอยูไ่ ด้อย่างเป็นปกติสขุ สมดังพระพุทธวจนะทีว่ า่ “จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น” (องฺ.ปญฺจก. 22/26) ชีวิตของปุถุชนทั่วไปจึงขาด สุขเวทนาที่หล่อเลี้ยงจิตไม่ได้ เพราะหากขาดไปแล้ว จิตจะไม่ตั้งมั่น จะซัดส่าย หวัน่ ไหว ดิน้ รน ไม่พร้อมทีจ่ ะทำหน้าทีต่ า่ ง ๆ อย่างมีประสิทธิ33
ภาพ และหากขาดความสุขไปนาน ๆ จิตก็จะแห้ง เฉา ซึม ขาดพลัง ความคิดสร้างสรรค์ หรืออาจออกอาการไปในทางตรงข้าม คือ ก้าวร้าว เกรี้ยวกราด และนำไปสูโ่ รคซึมเศร้า โรคจิต และโรคประสาท ได้ในทีส่ ดุ การมีสติตามเห็นความเป็นจริงของเวทนา จะทำให้รจู้ กั และเกีย่ วข้องกับเวทนาได้ถกู ต้อง นอกจากนัน้ ยังสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาชีวติ ด้านต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง เวทนาทัง้ หมดทีแ่ สดงไว้ในเวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ประมวล ได้เป็น 9 ลักษณะ ซึง่ อาจนำมาจัดเป็นกลุม่ เพือ่ ความเข้าใจและประโยชน์ ในการปฏิบตั ิ ได้เป็น 3 กลุม่ ดังนี้ 1. กลุม่ เวทนาทางกาย 2. กลุม่ เวทนาทางใจทีม่ อี ามิส 3. กลุม่ เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส แต่ละกลุ่มยังสามารถจำแนกย่อยได้เป็น สุขเวทนา (ความ รูส้ กึ ทีพ่ อใจ), ทุกขเวทนา (ความรูส้ กึ ทีไ่ ม่พอใจ) และอทุกขมสุขเวทนา (ความรูส้ กึ ทีเ่ ฉย ๆ) ปัญหาของมนุษย์ทเ่ี กีย่ วข้องกับเวทนา คือ หลงเข้าใจผิดว่า สุขเวทนาเป็นสิง่ ทีด่ โี ดยส่วนเดียว และเป็นเป้าหมายของชีวติ ; ทุกขเวทนา เป็นสิง่ ทีไ่ ม่ดโี ดยส่วนเดียว และเป็นสิง่ ทีบ่ น่ั ทอนชีวติ ส่วนอทุกขมสุขเวทนาเป็นความจืดชืดทีน่ า่ เบือ่ หน่ายของชีวติ จึงเกิดความรูส้ กึ ไปในทาง “รักสุข เกลียดทุกข์ และทนเฉยนิง่ อยูไ่ ม่ได้” ชีวติ จึงอยูใ่ นลักษณะ ขึน้ ๆ ลง ๆ ฟู ๆ แฟบ ๆ ต้องคอยวิง่ หาสุข วิง่ หนีทกุ ข์ หรือไม่กต็ กอยูใ่ น ภาวะเบือ่ ซึม เซ็ง อยูต่ ลอดเวลา ทัง้ ทีโ่ ดยความเป็นจริงแล้ว เวทนาทัง้ หมดไม่ใช่สง่ิ ทีเ่ ป็นเป้าหมาย ของชีวติ แต่เป็นเพียงเครือ่ งบอกทีน่ บั ว่าใช้ได้ทเี ดียว ทีท่ ำให้รวู้ า่ สิง่ ต่าง ๆ 34
ดำเนินไปเป็นอย่างไร เช่น หากเกิดสุขเวทนา ก็เป็นเครือ่ งบอกว่าสิง่ ต่าง ๆ ดำเนินไปในทิศทางทีพ่ งึ ประสงค์ แต่กย็ งั ไม่แน่วา่ จะเป็นไปในทิศทาง ทีถ่ กู ต้องหรือไม่ เพราะในหลักธรรมได้แสดงไว้วา่ จิตของบุคคลในขณะ ทีม่ คี วามโลภเกิดขึน้ ก็สามารถทำให้เกิดสุขเวทนาได้เช่นกัน ; หากเกิด ทุกขเวทนา ก็เป็นเครือ่ งบอกว่า มีปญ ั หาหรืออุปสรรคเกิดขึน้ แต่หากเกิด อทุกขมสุขเวทนา ก็ยงั ไม่มนี ยั ทีบ่ อกอะไรนัก หลักธรรมในพระพุทธศาสนา ให้คณ ุ ค่าและความสำคัญแก่ ทุกขเวทนามากกว่า โดยเห็นว่าทุกขเวทนาเป็นเครือ่ งบอกเหตุทม่ี ี ความแม่นยำและแน่นอน กล่าวคือ หากเกิดทุกขเวทนาทางกาย ก็เป็นสิง่ บอกให้รวู้ า่ มีปญ ั หาหรือโรคภัยไข้เจ็บอะไรบางอย่างเกิดขึน้ ทีก่ าย ส่วนนัน้ และหากเกิดทุกขเวทนาทางใจ ก็เป็นสิง่ บอกให้รวู้ า่ มีปญ ั หา การรับรูอ้ ะไรบางอย่างทีไ่ ม่ถกู ต้อง เกิดขึน้ ทีใ่ จ นอกจากนัน้ ทุกขเวทนาทางใจ ยังเป็นเรือ่ งสำคัญทีถ่ กู นำมา ใช้เป็นดัชนีชว้ี ดั การเข้าถึงภาวะสูงสุดของชีวติ ตามหลักพระพุทธศาสนา กล่าวคือ เป็นภาวะทีท่ กุ ขเวทนาทางใจถูกดับสนิทอย่างสิน้ เชิงนัน่ เอง ซึง่ จะได้กล่าวอย่างละเอียดต่อไปในบทของธัมมานุปสั สนาสติปฏั ฐาน จะเห็นได้วา่ ภาวะสูงสุดหรือเป้าหมายของชีวิตตามหลัก พระพุทธศาสนา ไม่ได้อยูท่ ส่ี ขุ เวทนา ซึง่ เป็นความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากการปรุงแต่ง สุขเวทนาในระดับสูงสุด คือสุขเวทนาในอรูปฌานที่ 4 ก็ยงั เป็นสุขเวทนาทีไ่ ม่ยง่ั ยืน และสามารถเปลีย่ นกลับมาเป็นทุกขเวทนา อีกเมือ่ ใดก็ได้ แต่พระพุทธศาสนาได้เสนอว่า ภาวะสูงสุดหรือเป้าหมาย ของชีวติ ทีแ่ ท้จริง คือภาวะทีท่ กุ ขเวทนาทางใจถูกดับลงอย่างสิน้ เชิง ด้วยการดับทีเ่ หตุปจั จัย คืออวิชชา ตัณหา และอุปาทานต่างหาก 35
ในอริยสัจ 4 จึงได้ตรัสแสดง นิโรธ หรือ ภาวะความดับสิน้ ไป แห่งทุกข์ ว่าเป็นจุดหมายทีพ ่ งึ ปฏิบตั ใิ ห้เข้าถึง ต่อจากนีไ้ ป จะได้วเิ คราะห์-สังเคราะห์เรือ่ งของเวทนา ตามที่ ได้ตรัสไว้ทง้ั หมด ให้ชดั เจนและละเอียดยิง่ ขึน้ 1. กลุม่ เวทนาทางกาย หมายถึง กลุม่ ของเวทนาทีก่ ล่าวถึงใน กลุม่ แรกของมหาสติปฏั ฐานสูตรทีว่ า่ “เสวยสุขเวทนา...เสวยทุกขเวทนา ...เสวยอทุกขมสุขเวทนา” เป็นเวทนาทางกายทีเ่ กิดขึน้ จากการกระทบ กันของอายตนะภายใน คือ ตา (จักขุประสาท) หู (โสตประสาท) จมูก (ฆานประสาท) ลิน้ (ชิวหาประสาท) กาย (กายประสาท) กับอายตนะ ภายนอก คือ รูป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ (คือสิง่ ต้องกาย ซึง่ กล่าว โดยสรุปคือ สภาพ เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึง ไหว ทีม่ าสัมผัสกับ ประสาทกาย) หรือทีเ่ รียกว่า ปฏิฆสัมผัส หรือ การสัมผัสทางรูป การตัง้ สติเพือ่ ตามเห็นความเป็นจริงของเวทนาทางกาย จะทำให้ ประจักษ์ในความจริงว่า เวทนาทางกาย ทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ 3 ลักษณะจะ เกิดขึน้ โดยเสมอกันหมด ไม่วา่ จะในปุถชุ นหรือในพระอริยบุคคล โดยเฉพาะทุกขเวทนาทางกาย นั้น ไม่มีใครที่สามารถละหรือ ทำให้หมดสิน้ ไปได้อย่างเด็ดขาด ส่วนทีส่ ามารถทำให้หมดสิน้ ไป ได้อย่างเด็ดขาด คือ ทุกขเวทนาทางใจ หรือ โทมนัส เท่านั้น ในพระไตรปิฎกได้แสดงเรือ่ งนีไ้ ว้ชดั เจน โดยเปรียบปุถชุ นเป็นผูท้ ถ่ี กู ยิง ด้วยธนู 2 ดอก คือยังมีทกุ ขเวทนาทัง้ ทางกายและทางใจ ส่วนพระอรหันต์ ถูกยิงด้วยธนูเพียงดอกเดียว คือมีแต่ทกุ ขเวทนาทางกายเท่านัน้ ไม่มี ทุกขเวทนาทางใจเลย (สํ.สฬ. 16/369-372) การบริหารจัดการกับเวทนาทางกายนี้ จึงมีสาระสำคัญ อยูท่ ก่ี ารรูจ้ กั จัดการและปรับปรุง รูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ 36
ทีอ่ ยูภ่ ายนอกเป็นสำคัญ โดยปรับปรุงให้มปี ริมาณและคุณภาพที่ พอเหมาะกับการรับรูข้ องประสาททัง้ 5 ก็จะทำให้เกิดสุขเวทนา และบรรเทาทุกขเวทนาทางกายได้ตามสมควร เช่น อากาศหนาว ทำให้เกิดทุกขเวทนาทางกาย ก็แก้ได้ด้วยการใส่เสื้อผ้าที่หนา เพือ่ ให้เกิดความอบอุน่ แก่รา่ งกาย ทำให้ทกุ ขเวทนาทางกายได้รบั การบรรเทาลง และเกิดเป็นสุขเวทนาทางกายขึน้ 2. กลุม่ เวทนาทางใจทีม่ อี ามิส หมายถึง เวทนาทีต่ อ้ งมีเหยือ่ ล่อ (อามิส แปลว่า วัตถุ สิง่ ของ เหยือ่ หรือเครือ่ งล่อ) หรือต้องอิงอาศัย วัตถุภายนอก คือ รูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ แต่เกิดขึน้ จาก การสัมผัสรับรู้ทางมโนทวารหรือทางใจ หรือที่เรียกว่า อธิวจนสัมผัส หรือ การสัมผัสทางใจ การตัง้ สติเพือ่ ตามเห็นความเป็นจริงของเวทนาทางใจทีม่ อี ามิส จะทำให้ประจักษ์ในความจริงว่า รูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ ทีม่ า สัมผัสกับอายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิน้ และกาย จนเกิดเป็น ปฏิฆสัมผัส และเกิดเวทนาทางกายแล้ว ไม่ได้หยุดอยู่เพียงเท่านั้น แต่ยงั มีกระบวนการรับรูเ้ กิดสืบเนือ่ งต่อไปอีกในทางมโนหรือใจ และเกิดเป็นผัสสะทีเ่ รียกว่า อธิวจนสัมผัส หรือ การสัมผัสทางใจ ทำให้เกิด เวทนาทางใจ ทีเ่ รียกว่า เวทนาทางใจทีม่ อี ามิส อีกด้วย นอกจากนัน้ ยังทำให้รวู้ า่ โดยทัว่ ไป ลักษณะของเวทนาทางใจทีม่ ี อามิสทีเ่ กิดขึน้ เนือ่ งจากอธิวจนสัมผัส จะเป็นอย่างเดียวกับเวทนาทางกายที่ เกิดขึน้ ในปฏิฆสัมผัส แต่ในขัน้ นี้ มีเรือ่ งทีซ่ บั ซ้อนขึน้ ไปอีก กล่าวคือ มีเรือ่ ง ของการให้คณ ุ ค่าความหมายหรือการจินตนาการ ที่มีผลทำให้ เวทนาทางใจทีม่ อี ามิสนี้ เกิดเป็นเวทนาในลักษณะใดได้อกี ด้วย 37
ยกตัวอย่าง บุคคลมีสขุ เวทนาทางกายทีเ่ กิดขึน้ จากการรับรู้ รสชาติของอาหารแล้ว ก็จะทำให้เกิดสุขเวทนาทางใจทีม่ อี ามิสเกิดขึน้ ตามไปด้วย แต่หากบุคคลมีจนิ ตนาการลงไปว่า เป็นอาหารจากบุคคล ทีร่ กั เป็นผูท้ ำให้ ก็จะทำให้เกิดสุขเวทนาทางใจมากยิง่ ขึน้ ในทางตรงข้าม หากมีจินตนาการไปว่า เป็นอาหารจากบุคคลที่เกลียดเป็นผู้ทำให้ แม้รสชาติของอาหารจะอันเดียวกัน แต่กท็ ำให้เกิดทุกขเวทนาทางใจ ขึน้ แทน และเกิดความรูส้ กึ ผะอืดผะอมในการรับประทานอาหารนัน้ ได้ ประเด็นเรือ่ งจินตนาการนี้ ถูกนำไปใช้มากโดยเฉพาะในด้าน โฆษณา ซึง่ แท้จริงแล้ว คือการสร้างจินตนาการให้เกิดขึน้ ในสิง่ ทีป่ ระสงค์ จะโฆษณานัน่ เอง ความสำเร็จในการทำโฆษณาก็คอื การทีส่ ามารถชัก จูงบุคคลให้จินตนาการตาม แล้วทำให้เกิดสุขเวทนาทางใจขึ้นจาก การจินตนาการนัน้ เรือ่ งของสุขเวทนาทัง้ ทีเ่ ป็นทางกาย และทางใจทีม่ อี ามิส คือ ทีเ่ นือ่ งมาจาก รูป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ ยังมีเรือ่ งทีจ่ ะต้องรูต้ อ่ ไปอีกว่า หากมีการรับรูบ้ อ่ ย ๆ และติดต่อกันเป็นเวลานาน จะมีการจืดจางได้ และทำให้ไม่รสู้ กึ เป็นสุขเวทนาอีกต่อไป เช่น อาหารทีว่ า่ อร่อยทีบ่ คุ คล ผูเ้ ป็นทีร่ กั ทำให้ หากให้รบั ประทานหลาย ๆ มือ้ ติดต่อกัน ก็ทำให้เกิด ความเบือ่ หน่าย และไม่รสู้ กึ เป็นสุขอีกต่อไปได้ เวทนาทางใจที่มีอามิส ที่ขึ้นอยู่กับการให้ความหมาย หรือจินตนาการ นีแ้ หละทีเ่ ป็นตัวการหรือต้นเหตุสำคัญทีท่ ำให้ เกิดสิง่ ทีเ่ รียกว่า กาม สมดังพระพุทธวจนะทีต่ รัสว่า “อารมณ์อนั วิจติ รทัง้ หลายในโลก ไม่ชอ่ื ว่ากาม ความกำหนัดทีเ่ กิดขึน้ ด้วยสามารถแห่งความดำริของบุรษุ ชือ่ ว่ากาม อารมณ์อนั วิจติ รทัง้ หลายในโลกย่อมตัง้ อยูต่ ามสภาพของตน 38
ส่วนว่า ธีรชนทั้งหลายย่อมกำจัดความพอใจ ในอารมณ์อันวิจิตร เหล่านัน้ ฯ” (องฺ.ฉกฺก 22/334) ดังนัน้ การตัง้ สติตามเห็นความจริงของเวทนาทางใจทีม่ ี อามิส จะทำให้รจู้ กั และเข้าใจถึงการเกิดขึน้ ของ กาม และ กามราคะ คือ เกิดขึน้ จากการดำริ หรือการให้คณ ุ ค่าความหมาย หรือการ จินตนาการนีเ้ อง การบริหารจัดการกับเวทนาทางใจทีม่ อี ามิสนี้ * ในกรณีของปุถชุ น ซึง่ รูจ้ กั และมีเพียงความสุขประเภทนี้ เท่านัน้ ทีเ่ ป็นอาหารของจิต โดยไม่มคี วามสุขทีล่ ะเอียดประณีตยิง่ กว่า ผูฉ้ ลาดในสุขเวทนาทีม่ อี ามิส จะต้องรูจ้ กั รับรูแ้ ละมีจนิ ตนาการต่อ รูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ ในทางทีจ่ ะทำให้เกิดสุขเวทนาขึน้ ดังที่มีคำสอนให้ฝึกมองแต่ในด้านดี หรือรับรู้ในทางบวก (Positive Thinking) นอกจากนัน้ ยังจะต้องรูจ้ กั ปรับเปลีย่ นไปมา ตามสมควร ไม่ซำ้ จำเจอยูก่ บั สุขเวทนาจากสิง่ หนึง่ สิง่ ใดจนเกินไป ก็จะสามารถบริหารและรักษาสุขเวทนาทีม่ อี ามิสนี้ ให้ดำรงอยู่ ได้ยง่ั ยืน และทำให้ชวี ติ ดำรงอยูไ่ ด้เป็นปกติสขุ พอสมควร * ส่วนในกรณีของผูท้ จ่ี ะปฏิบตั เิ พือ่ ความเป็นพระอริยบุคคล จะเห็นว่าความสุขประเภทนี้ หรือทีเ่ รียกว่า กามสุข เป็น ความสุขทีม่ คี ณ ุ น้อย มีโทษมาก เป็นความสุขทีไ่ ม่ควรเสพ และ เป็นความสุขทีค่ วรกลัว (ม.ม. 13/182) เป็นความสุขทีเ่ ป็นของหลอก ทีต่ อ้ งอาศัยการจินตนาการไปเองของบุคคลทำให้เกิดขึน้ จึงไม่ ยินดีพอใจในสุขเวทนานี้ แต่จะอาศัยเป็นอุปกรณ์สำหรับพิจารณา ให้เกิดปัญญา เพือ่ การละ กามราคะ ทีเ่ ป็นสังโยชน์ตอ่ ไป 39
2. กลุม่ เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส หมายถึง เวทนาทีไ่ ม่ตอ้ งอาศัย เหยือ่ ล่อ หรือไม่ตอ้ งอิงอาศัยวัตถุภายนอก คือ รูป เสียง กลิน่ รส และ โผฏฐัพพะ หรือทีไ่ ม่เจือด้วยกามคุณ หรือทีเ่ ป็นไปเพือ่ เนกขัมมะ (ออก จากกาม) ดังนัน้ หากกล่าวอย่างเคร่งครัด จะหมายถึง สุขเวทนาทีเ่ กิดใน ภาวะจิตทีเ่ ป็นฌาน แต่ในอรรถกถาได้ให้คำอธิบายทีก่ ว้างออกไปว่า เป็น เวทนาใด ๆ ทีเ่ กิดขึน้ หากอยูใ่ นบริบททีม่ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ เนกขัมมะ หรือเพือ่ ความดับทุกข์-ดับกิเลส ก็จดั ได้วา่ เป็นเวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส ซึง่ สามารถเกิดขึน้ ได้เป็นสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา เช่น ในขณะเจริญสมาธิ ซึ่งภาวะของจิตยังไม่ถึงระดับฌาน และใน ขณะนั้นจิตเกิดความรู้สึกวุ่นวายใจและเป็นทุกข์ ก็จัดทุกขเวทนาที่ เกิดขึน้ นัน้ เป็นทุกขเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส เป็นต้น การตัง้ สติตามเห็นความเป็นจริงของเวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส จะทำให้ประจักษ์ในความจริงว่า มีเวทนาอีกประเภทหนึง่ ทีเ่ รียกว่า เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส ทีส่ ำคัญคือ สุขเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส หรือ สุขทีเ่ กิดจากฌาน หรือทีเ่ รียกว่า ฌานสุข มีพระพุทธพจน์ตรัส สรรเสริญความสุขประเภทนีว้ า่ เป็นความสุขที่ “บุคคลควรเสพ ควรให้เกิดมี ควรทำให้มาก ไม่ควรกลัวแต่สขุ นัน้ ” (ม.ม. 13/183) และจิตในระดับฌานนีย้ งั เป็นองค์ประกอบสำคัญหนึง่ ในอริยมรรค มีองค์ 8 ทีเ่ ป็นเครือ่ งมือนำจิตให้สามารถหลุดพ้นจากทุกข์ดว้ ย คุณลักษณะพิเศษของสุขเวทนาที่ไม่มีอามิส ที่แตกต่างจาก สุขเวทนาที่มีอามิส คือ เป็นความสุขที่เป็นเอกเทศ ไม่ต้องขึ้นกับรูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ หรือวัตถุใด ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายนอก ไม่ตอ้ งอาศัย การจินตนาการ และอันทีจ่ ริงเป็นความสุขทีเ่ กิดจากการหยุดจินตนาการ 40
ด้วยซ้ำไป เป็นความสุขทีม่ น่ั คง ไม่ตอ้ งไปแย่งชิงกับใคร ๆ และใคร ๆ ก็ไม่อาจมาแย่งชิงไปได้ นอกจากนั้นรสชาติของความสุขประเภทนี้ ยังละเอียด ประณีต สุขมุ ไม่ทำให้ผรู้ บั รูเ้ กิดความเบือ่ หน่าย แม้จะทำสมาธิ ซ้ำ ๆ หรือบ่อย ๆ หรือติดต่อกันเป็นเวลานานก็ตาม การบริหารจัดการกับเวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิสนี้ * ในกรณีของปุถชุ น เพือ่ ให้ชวี ติ มีความมัน่ คง ตัง้ มัน่ อย่าง ยัง่ ยืนยิง่ ขึน้ ไม่มอี าการขึน้ ๆ ลง ๆ ฟู ๆ แฟบ ๆ และไม่ถกู รสชาติของ รูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ ครอบงำ หรือร้อยรัดเสียดแทงจน เกินไป บุคคลควรรูจ้ กั และฝึกฝนปฏิบตั ใิ ห้มสี ขุ เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส ไว้หล่อเลีย้ งจิตใจด้วย * ส่วนในกรณีของผูท้ จ่ี ะปฏิบตั เิ พือ่ ความเป็นพระอริยบุคคล จะเห็นว่าความสุขประเภทนี้ เป็นความสุขสำคัญ และจำเป็น ต้องฝึกปฏิบัติให้บังเกิดขึ้น เพื่อให้องค์มรรคโดยเฉพาะสัมมาสมาธิ ซึง่ ตรัสว่าคือ ฌาน 4 เกิดขึน้ เพือ่ ทำให้อริยมรรคมีองค์ 8 เกิดขึน้ อย่าง ครบถ้วนสมบูรณ์ ซึ่งจะทำให้มีกำลังถึงขนาดทำให้สังโยชน์ในส่วน ละเอียด หมดสิน้ ไปได้อย่างเด็ดขาด วิเคราะห์-สังเคราะห์ จิตตานุปสั สนาสติปฏั ฐาน จิตตานุปสั สนาสติปฏั ฐาน มีความหมายว่า การตัง้ สติเพือ่ ตามเห็นความเป็นจริงของจิต ซึง่ ในมหาสติปฏั ฐานสูตร ได้แสดง เนือ้ หารายละเอียดของจิตไว้เป็น 16 ประเภท ตามพระพุทธวจนะ ดังนี้ “...ภิกษุในธรรมวินยั นี้ จิตมีราคะ ก็รวู้ า่ จิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะ ก็รวู้ า่ จิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ ก็รวู้ า่ จิตมีโทสะ หรือจิต 41
ปราศจากโทสะ ก็รวู้ า่ จิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะ ก็รวู้ า่ จิตมีโมหะ หรือจิตปราศจากโมหะ ก็รวู้ า่ จิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ ก็รวู้ า่ จิตหดหู่ จิตฟุง้ ซ่าน ก็รวู้ า่ จิตฟุง้ ซ่าน จิตเป็นมหรคต ก็รวู้ า่ จิตเป็นมหรคต หรือ จิตไม่เป็นมหรคต ก็รวู้ า่ จิตไม่เป็นมหรคต จิตมีจติ อืน่ ยิง่ กว่า ก็รวู้ า่ จิตมี จิตอืน่ ยิง่ กว่า หรือจิตไม่มจี ติ อืน่ ยิง่ กว่า ก็รวู้ า่ จิตไม่มจี ติ อืน่ ยิง่ กว่า จิตเป็น สมาธิ ก็รวู้ า่ จิตเป็นสมาธิ หรือจิตไม่เป็นสมาธิ ก็รวู้ า่ จิตไม่เป็นสมาธิ จิตหลุดพ้น ก็รวู้ า่ จิตหลุดพ้น หรือจิตไม่หลุดพ้น ก็รวู้ า่ จิตไม่หลุดพ้น...” ทำไมเรื่องของจิต จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องรู้เท่าทันความ เป็นจริง ? เหตุผลก็เพือ่ ให้รจู้ กั ธรรมชาติของจิตประเภทต่าง ๆ ว่า จิตประเภทใดที่เป็นคุณ ที่จะต้องรู้จักฝึกฝนปฏิบัติให้เกิดขึ้น จิตประเภทใดทีเ่ ป็นโทษ ทีจ่ ะต้องรูจ้ กั ฝึกฝนปฏิบตั ใิ ห้ไม่เกิดขึน้ หรือทำให้หมดไป และจิตใดทีเ่ ป็นเป้าหมายของการฝึกปฏิบตั ิ เพือ่ ให้เข้าถึง เพราะหากบุคคลไม่รจู้ กั เรือ่ งนีแ้ ล้ว จะทำให้สำคัญผิด และทำให้ไม่สามารถพัฒนาจิตหรือยกระดับของจิตให้เป็นไปโดยถูกต้อง ให้บรรลุถงึ ภาวะของจิตทีเ่ ป็นอุดมคติได้ จิตในฝ่ายทีเ่ ป็นโทษ คือ จิตมีราคะ (จิตทีย่ นิ ดีในอารมณ์หรือ ทีป่ ระกอบด้วยโลภะ) จิตมีโทสะ (จิตทีไ่ ม่พอใจในอารมณ์หรือทีป่ ระกอบ ด้วยโทสะ) จิตมีโมหะ (จิตทีห่ ลงในอารมณ์ หรือทีป่ ระกอบด้วยโมหะ) จิตหดหู่ (จิตทีซ่ มึ ท้อแท้) จิตฟุง้ ซ่าน (จิตทีค่ ดิ จับจด) จิตในฝ่ายทีเ่ ป็นคุณ คือ จิตปราศจากราคะ (จิตทีไ่ ม่มโี ลภะ) จิตปราศจากโทสะ (จิตทีไ่ ม่มโี ทสะ) จิตปราศจากโมหะ (จิตทีไ่ ม่มโี มหะ) ส่วนจิตทีเ่ ป็นเป้าหมายของการฝึกปฏิบตั ิ คือ จิตเป็นมหรคต (จิตทีอ่ ยูใ่ นระดับฌาน) ซึง่ บุคคลผูเ้ ข้า 42
ถึงจะต้องสามารถแยกแยะได้ถกู ต้องว่าแตกต่างจาก จิตไม่เป็นมหรคต (จิตทีไ่ ม่อยูใ่ นระดับฌาน) อย่างไร คือ จิตไม่มจี ติ อืน่ ยิง่ กว่า (จิตทีพ่ ฒ ั นาไปจนถึงระดับสูงสุด) ซึ่งบุคคลผู้เข้าถึงจะต้องสามารถแยกแยะได้ถูกต้องว่าแตกต่างจาก จิตมีจติ อืน่ ยิง่ กว่า (จิตทีย่ งั จะต้องพัฒนาต่อไปอีก) อย่างไร คือ จิตเป็นสมาธิ (จิตทีต่ ง้ั มัน่ ) ซึง่ บุคคลผูเ้ ข้าถึงจะต้อง สามารถแยกแยะได้ถูกต้องว่าแตกต่างจาก จิตไม่เป็นสมาธิ (จิตที่ ไม่ตง้ั มัน่ ) อย่างไร คือ จิตหลุดพ้น (จิตทีบ่ รรลุอรหัตผล) ซึง่ บุคคลผูเ้ ข้าถึงจะ ต้องสามารถแยกแยะได้ถกู ต้องว่าแตกต่างจาก จิตไม่หลุดพ้น (จิตทีไ่ ม่ บรรลุอรหัตผล) อย่างไร การรูเ้ รือ่ ง จิต ประเภทต่าง ๆ ดังทีก่ ล่าวไปแล้ว มีความสำคัญมาก เพราะหลักการในพระพุทธศาสนาแสดงว่า “ธรรมทัง้ หลายมีใจเป็น หัวหน้า มีใจประเสริฐทีส่ ดุ สำเร็จแล้วแต่ใจ” (ขุ.ธ. 25/11) ดังนัน้ ภาวะของจิตในระดับต่าง ๆ จึงเป็นสิง่ ทีใ่ ช้ตดั สินในขัน้ สุดท้ายของการ ปฏิบตั วิ า่ ล้มเหลวหรือประสบความสำเร็จเพียงใด กล่าวโดยสรุป * หากมีจติ ในฝ่ายทีเ่ ป็นโทษยังเกิดขึน้ มาก ก็แสดงถึงความ ล้มเหลวในการปฏิบตั ิ เพราะจิตยังวนเวียนอยูใ่ นระดับทีเ่ รียกว่า ทุคติ หรือ อบาย * หากมีจติ ในฝ่ายทีเ่ ป็นคุณเกิดขึน้ มาก ก็เป็นเครือ่ งแสดงว่า มีความก้าวหน้าในการปฏิบตั ิ แต่เป็นในระดับทีเ่ รียกว่า สุคติ ยังไม่สามารถ หลุดพ้นจากทุกข์และกิเลสได้ 43
* แต่หากมีจติ ทีเ่ ป็นเป้าหมายของการปฏิบตั เิ กิดขึน้ ก็เป็น เครือ่ งแสดงว่า มีความก้าวหน้าในการปฏิบตั อิ ย่างแท้จริง และมีความ หวังว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายทีเ่ ป็นอุดมคติในพระพุทธศาสนา คือ วิมตุ ติ หรือความหลุดพ้นจากทุกข์และกิเลสได้ในทีส่ ดุ วิเคราะห์-สังเคราะห์ ธัมมานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ธัมมานุปสั สนาสติปฏั ฐาน มีความหมายว่า การตัง้ สติเพือ่ ตามเห็นความเป็นจริงของธรรม ซึง่ ในมหาสติปฏั ฐานสูตร ได้แสดง เนือ้ หารายละเอียดของธรรมไว้เป็น 5 บรรพ หรือ 5 บท คือ 1. นีวรณบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งนิวรณ์) 2. ขันธบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งขันธ์) 3. อายตนบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งอายตนะ) 4. โพชฌงคบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งโพชฌงค์) 5. สัจจบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งอริยสัจ) ธัมมานุปสั สนาสติปฏั ฐาน มีความแตกต่างจากสติปฏั ฐาน ใน 3 หมวดข้างต้นทีก่ ล่าวไปแล้ว กล่าวคือ ไม่ใช่เพียงตามเห็น สิง่ ทีร่ บั รูต้ ามทีเ่ ป็นจริง หรือรูท้ นั ว่าอะไรเป็นอะไรเท่านัน้ แต่จะ มีการสืบสาวเพือ่ ให้รสู้ าเหตุหรือทีม่ าทีไ่ ปของสิง่ ทีร่ บั รูน้ น้ั ๆ ด้วย ในตอนท้ายของบรรพต่าง ๆ จึงมีขอ้ ความเพิม่ เติมในลักษณะทีว่ า่ ให้รดู้ ว้ ยว่า สิง่ ทีร่ บั รูอ้ ยูน่ น้ั เกิดมาได้อย่างไร ? ดับไปได้อย่างไร ? จะไม่เกิดขึน้ อีกได้อย่างไร ? เป็นต้น นีวรณบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งนิวรณ์) การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ในบรรพนี้ เป็นการตัง้ สติเพือ่ ตามเห็น 44
ความเป็นจริงของธรรม คือ นิวรณ์ 5 ตลอดจนปัจจัยทีท่ ำให้เกิดขึน้ และดับลง ทำไมเรือ่ งของนิวรณ์ 5 จึงเป็นเรือ่ งสำคัญทีจ่ ะต้องรูเ้ ท่าทัน ความเป็นจริง ? เหตุผลก็คอื นิวรณ์ 5 เป็นสิง่ กีดขวาง ปิดกัน้ การทำงานของจิต และบัน่ ทอนปัญญาให้ออ่ นกำลังลง ในมหาสติปฏั ฐานสูตร ได้แสดง เนือ้ หารายละเอียดไว้วา่ คือ กามฉันท์ (ความพอใจในกาม), พยาบาท (ความขัดแค้นเคืองใจ), ถีนมิทธะ (ความหดหู่ เซือ่ งซึม), อุทธัจจะกุกกุจจะ (ความฟุง้ ซ่านรำคาญใจ) และวิจกิ จิ ฉา (ความลังเลสงสัย) นิวรณ์ 5 นี้มีพระพุทธวจนะตรัสว่า เป็นอุปกิเลสแห่งจิต (สํ.ม. 19/490) ซึง่ ทำให้จติ บกพร่องและด้อยประสิทธิภาพ นอกจากนัน้ ในพระสูตรบางแห่ง พระพุทธเจ้าได้ตรัสเปรียบว่า เป็นเช่นสิง่ เจือปน ทีม่ อี ยูใ่ นน้ำ ทำให้ไม่สามารถมองเห็นสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นน้ำได้อย่างชัดเจนถูกต้อง และยังทำให้มองเห็นผิดเพีย้ นไปจากความจริงด้วย โดยเปรียบกามฉันท์ เหมือนกับสีทเ่ี จือปนในน้ำ, พยาบาทเหมือนกับน้ำทีก่ ำลังเดือด, ถีนมิทธะ เหมือนกับจอกแหนทีล่ อยอยูบ่ นผิวน้ำ, อุทธัจจะกุกกุจจะเหมือนกับน้ำทีถ่ กู ลมพัดให้เกิดคลืน่ พลิว้ ทีผ่ วิ น้ำ และวิจกิ จิ ฉาเหมือนกับน้ำทีม่ ตี ะกอนขุน่ ลอยแขวนอยู่ (สํ.ม. 19/603-612) นิวรณ์ จึงเป็นธรรมอันดับแรกทีจ่ ะต้องรูจ้ กั และบรรเทา หรือชำระให้หมดสิน้ ไปก่อน จึงจะทำให้มคี วามก้าวหน้าในการ ปฏิบตั ทิ จ่ี ะเข้าถึงธรรมทีล่ ะเอียดประณีต ทีเ่ ป็นอุดมคติตอ่ ไปได้ การเกิดขึ้นของนิวรณ์ 5 นั้น มีสมุฏฐานหรือสาเหตุมาจาก การหมายรู้หรือจินตนาการต่อ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ โดยความเป็น สุภนิมติ (สิง่ สวยงาม) และปฏิฆนิมติ (สิง่ ทีข่ ดั เคืองใจ) 45
(สํ.ม.19/523-524) ซึง่ นำไปสูน่ วิ รณ์ คือ กามฉันท์และพยาบาท ตามลำดับ
ส่วนนิวรณ์อน่ื ๆ นัน้ อันทีจ่ ริงเป็นเรือ่ งทีเ่ กิดขึน้ ต่อเนือ่ งจากกามฉันท์ และพยาบาท กล่าวคือ วิถชี วี ติ ของปุถชุ นทัว่ ไปเมือ่ ไม่ได้มกี ารหมายรู้ โดยมีแรงกระตุน้ มาจากสุภนิมติ และปฏิฆนิมติ แล้ว หากปล่อยให้เนิน่ นานไป จิตจะกวัดแกว่งไปต่าง ๆ นานา กล่าวคือ ไปในทางเบือ่ หน่าย ซึม ท้อแท้ (ถีนมิทธะ) หรือออกไปในทางคิดฟุง้ ซ่านและรำคาญใจ (อุทธัจจะกุกกุจจะ) และถึงทีส่ ดุ ก็จะทนเฉยอยูไ่ ม่ได้อกี ต่อไป (วิจกิ จิ ฉา) ต้องดิน้ รน ไปในทางทีเ่ ป็นสุภนิมติ หรือปฏิฆนิมติ ทางใดทางหนึง่ ต่อไป นิวรณ์ 5 จะเกิดมากขึน้ น้อยลง หรือหมดไปขึน้ อยูก่ บั บุคคลจะ มีสติรเู้ ท่าทันในนิมติ ทัง้ 2 เพียงใด และมีสติไม่หมายรูต้ อ่ รูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ โดยความเป็นสุภนิมติ และปฏิฆนิมติ ได้เพียงใด ขันธบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งขันธ์) การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ในบรรพนี้ เป็นการตัง้ สติเพือ่ ตามเห็น ความเป็นจริงของธรรม คือ ขันธ์ 5 ว่าคืออะไร ? ตลอดจนเกิดขึน้ และ ดับลงได้อย่างไร? ทำไม ขันธ์ 5 จึงเป็นเรือ่ งสำคัญทีจ่ ะต้องรูเ้ ท่าทันความเป็นจริง ? เหตุผลก็คอื ขันธ์ 5 คือ รูปขันธ์ (กองแห่งรูป), เวทนาขันธ์ (กองแห่งความรูส้ กึ ), สัญญาขันธ์ (กองแห่งความจำได้หมายรู)้ , สังขารขันธ์ (กองแห่งความคิดปรุงแต่ง) และวิญญาณขันธ์ (กองแห่งการ รูแ้ จ้งในอารมณ์) เป็นระบบของการดำเนินชีวต ิ กล่าวคือเป็นระบบ ทีป่ ระมวลสติปฏั ฐานใน 3 หมวดแรก ทีใ่ ห้ตง้ั สติตามรูร้ ายละเอียด อย่างแยกส่วน ทีละอย่าง ๆ มาสูร่ ะบบของการดำเนินชีวติ ทีท่ ำให้ 46
เกิดพฤติกรรมต่าง ๆ ทัง้ หมด สมดังพระพุทธพจน์ทต่ี รัสแสดงให้ เห็นกระบวนการทำงานของขันธ์ 5 ไว้วา่ “ดูกรท่านผูม้ อี ายุทง้ั หลาย จักขุวญ ิ ญาณ ... เกิดขึน้ เพราะอาศัย ตาและรูป... เพราะประชุมธรรม ๓ ประการ จึงเกิดผัสสะ (= วิญญาณขันธ์ และรูปขันธ์) เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดเวทนา (= เวทนาขันธ์) บุคคลเสวยเวทนาอันใด ก็จำ(= สัญญาขันธ์) เวทนาอันนัน้ บุคคล จำเวทนาอันใด ก็ตรึก (= สังขารขันธ์) ถึงเวทนาอันนัน้ ” (ม.มู.12/248) เรือ่ ง ขันธ์ 5 ยังเป็นสาระสำคัญทีท่ ำให้รจู้ กั ทุกข์ในอริยสัจ 4 ตามทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอนได้ถกู ต้อง กล่าวคือ เป็นทีต่ ง้ั ของอุปาทาน หรือความยึดมัน่ ถือมัน่ ทำให้เกิดเป็น อุปาทานขันธ์ 5 ซึง่ ก็คอื ทุกขอริยสัจ นัน่ เอง รูปขันธ์ หรือ กองแห่งรูป หากกล่าวอย่างเคร่งครัด มีความหมาย ต่างกับคำว่า “กาย”ตามทีไ่ ด้อธิบายไว้ในกายานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ซึง่ เน้น ไปในเรือ่ งของกายและความเป็นไปของกาย หรือทีเ่ รียกในภาษาวิชาการ สมัยใหม่วา่ Anatomy (กายวิภาคศาสตร์) และ Physiology (สรีรวิทยา) ซึง่ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้รจู้ กั กายตามทีเ่ ป็นจริงจนสามารถนำความรูท้ ร่ี นู้ น้ั มาปรับปรุงกายให้อยูใ่ นสภาพทีแ่ ข็งแรงและเป็นปกติเท่าทีจ่ ะทำได้ แต่ในธัมมานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ความหมายของรูปขันธ์ จะเน้นเฉพาะรูปในส่วนที่เข้าไปอยู่ในความรับรู้ของจิต และ สามารถปรุงแต่งให้เกิดเรือ่ งราวในจิต จนทำให้เกิดความยึดมัน่ ถือมัน่ ขึน้ กลายเป็น รูปปู าทานขันธ์ ซึง่ เป็นทุกขอริยสัจ ; ดังนัน้ รูปขันธ์ ในทีน่ จ้ี งึ หมายถึงเฉพาะ รูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ ทีจ่ ติ รับรู้ เท่านัน้ 47
สำหรับการเกิดขึน้ และดับลงของรูปขันธ์ มีพระพุทธพจน์ตรัสว่า “ความเกิดขึน้ แห่งรูป ย่อมมีเพราะความเกิดขึน้ แห่งอาหาร ความดับ แห่งรูป ย่อมมีเพราะความดับแห่งอาหาร” (สํ.ข. 17/119) ซึง่ น่าจะหมายถึง รูปในความหมายทีเ่ ป็นกาย และมีอกี พระสูตรหนึง่ ได้ตรัสไว้วา่ “มหาภูตรูป 4 เป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งการบัญญัตริ ปู ขันธ์” (ม.อุ. 14/124) ซึง่ มีความหมายครอบคลุมรูปขันธ์ทง้ั หมด พระพุทธวจนะข้างต้น ทัง้ 2 ข้อความนี้ ได้แสดงการเกิดขึ้นและดับลงที่เน้นไปในเรื่องของรูปขันธ์ โดยเอกเทศ ไม่ได้แสดงในแง่ทไ่ี ปสัมพันธ์กบั การรับรูข้ องจิต แต่หากพิจารณาในส่วนของ รูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ ทีม่ าสัมพันธ์กบั การรับรูข้ องจิต ก็สามารถกล่าวได้วา่ การเกิดขึน้ และ ดับลงของรูปขันธ์น้ี ย่อมมีเพราะการเกิดขึน้ และดับลงของผัสสะ ทัง้ นีเ้ พราะรูป เป็นต้น ทีจ่ ติ จะรับรูไ้ ด้ จะต้องมีการกระทบกับตา และเกิด วิญญาณทางตา ขึน้ ซึง่ เรียกรวมว่าผัสสะ จิตจึงจะรับรูไ้ ด้ ส่วนเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และสังขารขันธ์ มีพระพุทธพจน์ ตรัสไว้วา่ ขันธ์ทง้ั 3 ข้างต้นนี้ เกิดขึน้ และดับลง เพราะความเกิดขึน้ และ ดับลงของผัสสะ (สํ.ข. 17/120-122) การเกิ ด ขึ ้ น และดั บ ลงของวิ ญ ญาณขั น ธ์ ย่ อ มมี เ พราะ การเกิดขึ้นและดับลงของนามรูป (สํ.ข. 17/123) ดังที่ได้แสดงไว้ใน ปฏิจจสมุปบาททีว่ า่ “วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป และแม้นามรูป ก็เป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ” วิญญาณขันธ์ ทีก่ ล่าวนี้ เป็นวิญญาณขันธ์ หรือวิญญาณ 6 ทีเ่ กิดขึน้ ก่อนการเกิดขึน้ ของอายตนะ ดังนัน้ จึงเป็น วิญญาณขันธ์ทบ่ี คุ คลไม่สามารถรูไ้ ด้ แต่ยงั มีวญ ิ ญาณขันธ์อกี ชุดหนึง่ คือ วิญญาณ 6 ทีเ่ กิดขึน้ จากอายตนะภายใน 6 และอายตนะภายนอก 6 กระทบกันตรงผัสสะ ซึง่ ได้แก่ วิญญาณทีร่ แู้ จ้งทางตา หู จมูก ลิน้ กาย 48
และใจ ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าวิญญาณขันธ์ในชุดหลังนี้ เกิดขึ้น และดับลง เพราะการเกิดขึน้ และดับลงของผัสสะ โดยสรุป จึงกล่าวได้วา่ การเกิดขึน้ และดับลงขันธ์ 5 ทัง้ หมด ย่อมมี เพราะการเกิดขึน้ และดับลงของผัสสะนัน่ เอง การตามเห็นและรูเ้ ท่าทันความเป็นจริงของขันธ์ 5 จะทำให้ บุคคลรูเ้ ท่าทันระบบการดำเนินชีวติ ทีท่ ำให้เกิดพฤติกรรมทัง้ หมด ของมนุษย์ นอกจากนั้นทำให้สามารถกำหนดรู้ในทุกขอริยสัจ ทีพ ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอนได้ถกู ต้อง ว่าคือ อุปาทานขันธ์ 5 และที่ สำคัญคือรูถ้ งึ สาระสำคัญของการปฏิบตั ธิ รรมในพระพุทธศาสนา ว่าแท้จริงคือ การอบรมและพัฒนาขันธ์ 5 จากขันธ์ 5 ทีเ่ ป็นทุกข์ (=อุปาทานขันธ์ 5) ให้กลายเป็นขันธ์ 5 ทีไ่ ม่เป็นทุกข์ (=วิสทุ ธิขนั ธ์ 5) ส่วนการรูว้ า่ ขันธ์ 5 เกิดขึน้ และดับลง เพราะความเกิดขึน้ และดับลง ของผัสสะ จะทำให้รวู้ า่ จะสามารถปฏิบตั ใิ ห้ทกุ ข์ (ทุกขอริยสัจ) ดับลงได้อย่างไร ? ซึง่ จะกล่าวให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ในอายตนบรรพ ซึง่ อยูบ่ ทถัดไป อายตนบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งอายตนะ) การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ในบรรพนี้ เป็นการตัง้ สติเพือ่ ตามเห็น ความเป็นจริงของธรรม คือ อายตนะ ว่าคืออะไร ? ตลอดจนสังโยชน์ ทีเ่ กิดจากอายตนะภายในกับอายตนะภายนอกกระทบกัน เกิดขึน้ และดับลงได้อย่างไร ? ทำไมเรื่องของอายตนะ จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องรู้เท่าทัน ความเป็นจริง ? 49
เหตุผลก็คอื อายตนะเป็นจุดเชือ่ มต่อสำคัญทีท่ ำให้เกิดผัสสะ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้กระบวนการรับรู้ กระบวนการดำเนิน ชีวติ ตลอดจนพฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลเกิดขึน้ อายตนะในที่นี้ จำแนกเป็น อายตนะภายใน 6 คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ และอายตนะ ภายนอก 6 คือ รูป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ การมีสติตามเห็นความจริงในเรือ่ งอายตนะ ทำให้รวู้ า่ เพราะ การกระทบกันของอายตนะภายในกับอายตนะภายนอก จะทำให้เกิด วิญญาณทางอายตนะ ปัจจัย 3 ประการนีร้ วมกันเกิดเป็นผัสสะขึน้ และ ผัสสะนีเ้ องทีเ่ ป็นปัจจัยทำให้ขนั ธ์ 5 เกิดขึน้ ทำให้เกิดเป็นกระบวนการรับรู้ กระบวนการดำเนินชีวติ และพฤติกรรมต่าง ๆ ขึน้ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ นอกจากนัน้ ในหมวดอายตนบรรพ ยังได้กำหนดให้ตง้ั สติเพือ่ ตามเห็นการเกิดขึน้ และดับลงของ สังโยชน์ อันเนือ่ งจากการกระทบกัน ของอายตนะภายในกับอายตนะภายนอก คำว่า สังโยชน์ ในทีน่ ้ี มีความหมายว่า เป็นเครือ่ งผูกมัดจิต ให้อยูใ่ นกองทุกข์ กล่าวให้ชดั คือ สิง่ ทีท่ ำให้ ขันธ์ 5 ทีเ่ กิดขึน้ ตรง ผัสสะนัน้ กลายเป็น อุปาทานขันธ์ 5 ทีเ่ ป็น ทุกขอริยสัจ กล่าวโดยสรุป การจะเกิด สังโยชน์ หรือไม่ ขึน้ กับการมี ท่าทีรบั รูต้ อ่ ผัสสะทีเ่ กิดขึน้ จากการกระทบกันระหว่างอายตนะ ภายในกับภายนอก นัน้ อย่างไร ? หากมีทา่ ทีรบั รูใ้ นแบบทีเ่ รียกว่า อโยนิโสมนสิการ ซึง่ เป็นท่าที รับรูเ้ พือ่ มุง่ แสวงหาและเสพรสชาติจากการสัมผัส หรือเวทนาแล้ว จะ ทำให้เกิดกระแสทีน่ ำไปสูส่ งั โยชน์ กล่าวคือ นำไปสู่ ตัณหา --> อุปาทาน --> ภพ --> ชาติ --> ชรามรณะ ทำให้ขนั ธ์ 5 ทีเ่ กิดขึน้ หลังผัสสะ เกิดเป็นอุปาทานขันธ์ 5 หรือทุกขอริยสัจ ขึน้ 50
แต่หากมีทา่ ทีรบั รูใ้ นแบบทีเ่ รียกว่า โยนิโสมนสิการ ซึง่ เป็นท่าที รับรูเ้ พือ่ มุง่ ศึกษาเรียนรู้ เพือ่ ให้เกิดปัญญารูแ้ จ้งเห็นจริงในสิง่ ทีร่ บั รูน้ น้ั ซึง่ อันทีจ่ ริงก็คอื ท่าทีการมีสติรบั รูต้ อ่ สิง่ ต่าง ๆ คือ กาย เวทนา จิต และ ธรรม ดังทีก่ ล่าวมาแล้วทัง้ หมดนัน่ เอง จะทำให้กระแสทีน่ ำไปสูส่ งั โยชน์ เกิดขึน้ ไม่ได้ แต่จะทำให้เกิดกระแสทีน่ ำไปสู่ สติปฏั ฐาน --> โพชฌงค์ --> วิชชา --> วิมตุ ติ หรือวิสทุ ธิขนั ธ์ แทน โพชฌงคบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งโพชฌงค์) การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ในบรรพนี้ เป็นการตัง้ สติเพือ่ ตามเห็น ความเป็นจริงของธรรม คือ โพชฌงค์ ว่าคืออะไร ? ตลอดจนจะทำ ให้เกิดขึน้ และทำให้ไพบูลย์ได้อย่างไร ? ทำไมเรือ่ งของโพชฌงค์ จึงเป็นเรือ่ งสำคัญทีจ่ ะต้องรูเ้ ท่าทัน ความเป็นจริง ? เหตุผลก็คอื โพชฌงค์หรือองค์แห่งการตรัสรู้ เป็นองค์ประกอบ สำคัญลำดับสุดท้ายทีจ่ ะทำให้เกิดปัญญาหรือวิชชาขึน้ และนำ ไปสู่ผล คือวิมุตติหรือความหลุดพ้นจากทุกข์ (ทุกขอริยสัจ) ในมหาสติปฏั ฐานสูตรได้แสดงเนือ้ หารายละเอียดไว้วา่ คือ สติสมั โพชฌงค์ ธัมมวิจัยสัมโพชฌงค์ วิริยสัมโพชฌงค์ ปีติสัมโพชฌงค์ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมาธิสมั โพชฌงค์ และอุเบกขาสัมโพชฌงค์ การทำหน้าที่ของโพชฌงค์จะเกิดขึ้นได้ ก็โดยเริ่มต้นจาก สติสมั โพชฌงค์ ซึง่ เป็นสติทท่ี ำหน้าทีจ่ บั ประเด็นหรือเรือ่ งทีป่ ระสงค์ จะให้เกิดปัญญารูแ้ จ้ง จากนัน้ ธัมมวิจยั สัมโพชฌงค์ จะทำหน้าทีส่ บื สาว ค้นหาเหตุและปัจจัยทีท่ ำให้เกิดเรือ่ งนัน้ ๆ และในระหว่างทีก่ ำลังสืบ ค้นอยูน่ น้ั จะต้องมี วิรยิ สัมโพชฌงค์ คือความเพียรคอยอุดหนุนให้ 51
สติสมั โพชฌงค์และธัมมวิจยั สัมโพชฌงค์นน้ั ทำหน้าทีอ่ ยูอ่ ย่างต่อเนือ่ ง ไม่ให้ยตุ หิ รือเลิกราไปก่อน จนกว่าจะประสบความสำเร็จ คือ รูแ้ จ้งแทง ตลอดถึงทีม่ า-ทีไ่ ป และเหตุปจั จัยต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยจะมี ปีตสิ มั โพชฌงค์ เป็นเครือ่ งบอก เพราะตราบใดทีย่ งั ไม่ประสบความสำเร็จ ก็จะยังไม่มปี ตี สิ มั โพชฌงค์เกิดขึน้ หลังจากนัน้ จะเกิดภาวะผ่อนคลาย และสงบเย็นทัง้ ทางกายและใจ ทีเ่ รียกว่า ปัสสัทธิสมั โพชฌงค์ จิตจะ สงบ ผ่องใส นิง่ แน่วแน่ ทีเ่ รียกว่า สมาธิสมั โพชฌงค์ ปัญญาทีเ่ กิดขึน้ นี้ จะทำให้เกิดภาวะของจิตทีเ่ ป็นกลาง กล่าวคือปัญหาต่าง ๆ ทีเ่ กิดจาก ความไม่รู้ในเรื่องนั้น ๆ จะตกไปจากจิตอย่างเด็ดขาด ไม่สามารถมี อิทธิพลบีบคัน้ หรือเสียดแทง และทำให้จติ ของบุคคลนัน้ เกิดความหวัน่ ไหวได้อกี ต่อไป เรียกภาวะนีว้ า่ อุเบกขาสัมโพชฌงค์ หากพิจารณาสติปฏั ฐานใน 3 หมวดแรก คือ กาย เวทนา และ จิต จะเห็นได้วา่ เป็นหมวดทีเ่ น้นการพัฒนาสติเพือ่ มุง่ ให้เกิดเป็นสติสมั โพชฌงค์เป็นสำคัญ กล่าวคือ มุง่ ปฏิบตั สิ ติให้ตามรูเ้ ท่าทันเรือ่ งราวและ ประเด็นต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับชีวติ อย่างครบถ้วน และเพียงพอทีจ่ ะเป็น ฐานข้อมูลให้นำไปสืบสาวค้นคว้าหาเหตุปจั จัยทีเ่ ป็นสาเหตุดว้ ยโพชฌงค์ ข้ออืน่ ๆ ต่อไป ส่วนสติปฏั ฐาน 4 ในหมวดธรรม แตกต่างออกไปอย่างชัดเจน กล่าวคือ มีข้อความในตอนท้ายของทุกบรรพ ที่ให้สืบสาวราวเรื่อง ถึงทีม่ า-ทีไ่ ป ตลอดจนปัจจัยทีท่ ำให้เกิดขึน้ และดับลง ของสิง่ หรือเรือ่ งนัน้ ๆ ซึง่ เป็นการทำหน้าทีข่ องธัมมวิจยั สัมโพชฌงค์ ดังนัน้ เมือ่ ปฏิบตั สิ ติปฏั ฐานมาตามลำดับจนถึงหมวดอายตนะบรรพ จึงทำให้ธมั มวิจยั สัมโพชฌงค์ ซึง่ เป็นองค์ทส่ี ำคัญทีส่ ดุ ในการ ทำหน้าทีข่ องโพชฌงค์ มีความสมบูรณ์ยง่ิ ขึน้ ๆ ตามลำดับไปด้วย 52
สำหรับการทำโพชฌงค์ทเ่ี กิดขึน้ ให้ไพบูลย์นน้ั ทำได้ตามหลัก ทีว่ า่ “ภาวิตา พหุลกี ตา” กล่าวคือ ทำให้มาก ๆ และทำให้ตอ่ เนือ่ ง ตามทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว ก็จะทำให้โพชฌงค์ได้รบั การอบรมให้สมบูรณ์ และไพบูลย์ยง่ิ ขึน้ ๆ จนถึงระดับทีพ่ ร้อมจะนำไปใช้เพือ่ ทำให้เกิดปัญญา รูแ้ จ้งอริยสัจ 4 ซึง่ เป็นหมวดสุดท้ายของสติปฏั ฐาน 4 ในบรรพถัดไป เพือ่ ให้บรรลุผล คือ วิมตุ ติหรือความหลุดพ้นจากทุกข์ (ทุกขอริยสัจ) ในทีส่ ดุ สัจจบรรพ (บทว่าด้วยเรือ่ งอริยสัจ) การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ในบรรพนี้ เป็นการตัง้ สติเพือ่ ตามเห็น ความเป็นจริงของธรรม คือ อริยสัจ 4 ทำไมเรือ่ งของอริยสัจ 4 จึงเป็นเรือ่ งสำคัญทีจ่ ะต้องรูเ้ ท่าทัน ความเป็นจริง ? เหตุผลก็คอื การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ทีผ่ า่ นมาทัง้ หมด กล่าวโดยสรุป : ในเบือ้ งต้น เพือ่ ให้มฐี านข้อมูลสำคัญทีจ่ ะต้องรู้ ให้ครบถ้วน และเพียงพอเสียก่อน (คือสติปฏั ฐาน หมวดกาย เวทนา และจิต) และ รูจ้ กั อบรมพัฒนาจิตให้มคี ณ ุ ภาพทีเ่ หมาะสม (คือสติปฏั ฐาน หมวดธรรม คือนีวรณบรรพ) ตลอดจนรูถ้ งึ กลไกของปฏิจจสมุปบาทในส่วนทีบ่ คุ คล สามารถรูไ้ ด้ในระดับจิตสำนึก คือตัง้ แต่อายตนะเป็นต้นไป (คือ อายตนบรรพ) และรูถ้ งึ กระบวนการเกิดขึน้ ของขันธ์ 5 ทีเ่ กิดขึน้ หลังผัสสะ และถูกปรุง แต่งต่อจนกลายเป็นอุปาทานขันธ์ 5 (คือ ขันธบรรพ) : ในเบือ้ งกลาง เพือ่ เจริญโพชฌงค์ 7 ซึง่ เป็นเครือ่ งมือสำคัญ ทีจ่ ะนำไปสูก่ ารตรัสรู้ หรือรูแ้ จ้งเห็นจริง (คือสติปฏั ฐาน หมวดธรรม ใน ส่วนของโพชฌงค์) ให้สมบูรณ์ขน้ึ 53
: ในเบือ้ งปลาย เพือ่ นำเครือ่ งมือ คือโพชฌงค์ 7 ทีอ่ บรมและ พัฒนาให้เกิดขึน้ แล้วนัน้ ไปพิจารณาเพือ่ ให้เกิดความรูแ้ จ้งเห็นจริงหรือวิชชา ขึน้ โดยเฉพาะกระแสปฏิจจสมุปบาทในส่วนทีไ่ ม่สามารถรูไ้ ด้ในระดับทีเ่ ป็น จิตสำนึก กล่าวคือตัง้ แต่ อวิชชา --> สังขาร --> วิญญาณ --> นามรูป โดยการพิจารณาทวนกระแสปฏิจจสมุปบาท จากอายตนะ (ในอายตนบรรพ) ขึน้ ไปอีก จนทำให้ประจักษ์แจ้งถึงนามรูป ...ถึงวิญญาณ ...ถึงสังขาร... และถึงอวิชชาในที่สุด วิชชาที่เกิดขึ้นนี้ จะไปดับอวิชชาคือความไม่รู้ ในอริยสัจ 4 ซึง่ เป็นหัวขบวนทีท่ ำให้กเิ ลสและกองทุกข์เกิดขึน้ ทำให้บคุ คล บรรลุวมิ ตุ ติ หรือความหลุดพ้นจากทุกข์ อย่างสิน้ เชิงในทีส่ ดุ วิชชาทีเ่ กิด ขึน้ นี้ คือความรูแ้ จ้งเห็นจริงในอริยสัจ 4 นัน่ เอง ซึง่ ในมหาสติปฏั ฐานสูตร ได้แสดงรายละเอียดของแต่ละหัวข้อของอริยสัจ ไว้อย่างละเอียดลออยิง่ สมดังพระพุทธพจน์ทไ่ี ด้ยกมาแสดงไว้แล้วว่า สติปฏั ฐาน 4 -> โพชฌงค์ 7 --> วิชชา --> วิมตุ ติ ข้อพิจารณาสำคัญในท้ายของทุกบรรพ มีขอ้ ความทีเ่ ป็นพุทธวจนะ ในตอนท้ายของทุกหมวดและทุก บรรพในมหาสติปฏั ฐานสูตร ทีเ่ ป็นข้อความแบบเดียวกัน (ตามทีไ่ ด้ยก มาข้างใต้น)้ี จะมีทแ่ี ตกต่างกันบ้างเพียงเฉพาะคำว่า กาย ทีถ่ กู เปลีย่ น เป็น เวทนา จิต และธรรม เท่านัน้ โดยได้ตรัสซ้ำ ๆ กันนับรวมได้ถงึ 22 ครั้ง ทำให้รู้สึกได้ถึงความสำคัญยิ่งของข้อความเหล่านี้ ซึ่งควรจะ ได้นำมาพินจิ พิจารณาให้ถถ่ี ว้ นด้วย .....ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุยอ่ มพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง พิจารณา
54
เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึน้ ในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อม ในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความ เสื่อมในกายบ้างย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่งสติของเธอที่ตั้งมั่น อยู่ว่ากายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึก เท่านัน้ เธอเป็นผูอ้ นั ตัณหาและทิฐไิ ม่อาศัยอยูแ่ ล้ว และไม่ถอื มัน่ อะไร ๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็น กายในกายอยู่ ฯ
ข้อความแรกทีค่ วรพิจารณาคือ กายในกาย คัมภีรอ์ รรถกถา ได้ให้คำอธิบายไว้หลายนัย แต่คำอธิบายทีใ่ ช้มากทีส่ ดุ คือ ส่วนย่อย ในส่วนใหญ่ หมายถึงการตามดูกายแต่ละส่วน ๆ ในกายทีเ่ ป็นส่วนรวม นัน้ เป็นการแยกออกไปดูทลี ะอย่าง จนมองเห็นว่ากายทัง้ หมดนัน้ ไม่มี อะไรนอกจากเป็นทีร่ วมของส่วนประกอบย่อย ๆ ลงไปเท่านัน้ ในส่วน ของเวทนา จิต และธรรม ก็ทำนองเดียวกัน นอกจากนัน้ มีผรู้ บู้ างท่านได้ให้คำอธิบายไว้วา่ เป็นการตามดู สิง่ นัน้ ๆ ทีส่ ง่ิ นัน้ ๆ โดยตรง ซึง่ เป็นการรูแ้ บบประจักษ์ ยกตัวอย่างเช่น การตามดูกายในกาย คือ ลมหายใจ จะต้อง ตัง้ สติตามดูลมหายใจ ทีล่ มหายใจ ในขณะทีก่ ำลังหายใจจริง ๆ ซึง่ การ ตามดูในลักษณะนี้ เป็นหลักการสำคัญของการปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน 4 ทีจ่ ะ ต้องตามดูของจริง ทีป่ ระจักษ์จริง ๆ จึงจะนำไปสูโ่ พชฌงค์ และเกิด วิชชาทีร่ แู้ จ้งแทงตลอดในสิง่ นัน้ ๆ จริง ๆ คำอื่นที่ควรกล่าวถึงด้วย ก็คือคำว่า กายภายใน หมายถึง กายของตนเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่ประจักษ์ได้และตามดูได้โดยตรง 55
และ กายภายนอก หมายถึง กายของผูอ้ น่ื ซึง่ ในทีน่ ไ้ี ม่ได้มคี วามหมาย ว่าให้ตามดูและประจักษ์ที่กายของผู้อื่นโดยตรง แต่เป็นการขยาย ความรูจ้ ริงทีป่ ระจักษ์ในกายตน ซึง่ เป็นความรูเ้ ฉพาะ ให้กลายเป็นความรู้ ทัว่ ไป ว่าแม้ในกายของผูอ้ น่ื ก็เป็นเช่นเดียวกัน เพือ่ ทำให้หมดความสงสัย ในเรือ่ งของกายไม่วา่ จะเป็นกายใด ๆ ก็ตามอย่างสิน้ เชิง และคำว่า พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึน้ ในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสือ่ มในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรม คือทัง้ ความเกิดขึน้ ทัง้ ความเสือ่ มในกายบ้าง หมายถึงการพิจารณา เห็นไตรลักษณ์ ในสิง่ ทีส่ ติตามดูทง้ั หมด ส่วนคำอืน่ ๆ ทีเ่ หลือทีว่ า่ อีกอย่างหนึง่ สติของเธอทีต่ ง้ั มัน่ อยูว่ า่ กาย มีอยูก่ เ็ พียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านัน้ เธอเป็นผูอ้ นั ตัณหาและทิฐไิ ม่อาศัยอยูแ่ ล้ว และไม่ถอื มัน่ อะไร ๆ ในโลก ได้อธิบายไว้ชดั เจนแล้วในหน้าที่ 15 ของหนังสือนี้ ในการพิจารณา เวทนาในเวทนา, จิตในจิต และ ธรรม ในธรรม ก็อธิบายในลักษณะเดียวกัน อานิสงส์ของการเจริญสติปฏั ฐาน 4 เป็นที่น่าสนใจยิ่ง และเห็นควรตั้งเป็นข้อสังเกตไว้ ณ ที่นี้ว่า สติปฏั ฐาน 4 เป็นระบบปฏิบตั เิ พียงระบบเดียวเท่านัน้ ทีพ่ ระพุทธเจ้าได้ แสดงทั้งอานิสงส์และระยะเวลาของการปฏิบัติที่จะทำให้บรรลุผล ไว้เป็นเครือ่ งยืนยันและหลักประกันความแน่นอนให้กบั ผูป้ ฏิบตั ดิ ว้ ยว่า หากปฏิบตั ติ รงตามทีต่ รัสสอนแล้ว อย่างช้า 7 ปี อย่างกลาง 7 เดือน และอย่างเร็ว 7 วัน จะทำให้บคุ คลบรรลุเป็นพระอรหันต์ แต่หากยังไม่ สิน้ กิเลส ก็จะบรรลุเป็นพระอนาคามี 56
ด้วยเหตุนเ้ี อง สติปฏั ฐาน 4 จึงเป็นระบบปฏิบตั ทิ ไ่ี ด้รบั ความ นิยมอย่างสูงและแพร่หลาย ในแวดวงพุทธบริษัทนิกายเถรวาทใน ประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลก การจำแนกความแตกต่างระหว่างพระเสขะ กับอเสขะ ด้วยสติปฏั ฐาน 4 เรือ่ งสติปฏั ฐาน 4 นี้ นอกจากเป็นระบบปฏิบตั ิ ทีท่ ำให้บคุ คล บรรลุความเป็นพระอริยบุคคลแล้ว ยังสามารถนำมาเป็นเครือ่ งจำแนก ความแตกต่างระหว่างพระเสขะ (พระโสดาบัน พระสกทาคามี และ พระอนาคามี) กับพระอเสขะ (พระอรหันต์) ได้อีกด้วย ตามคำของ พระอนุรทุ ธะทีก่ ล่าวตอบพระสารีบตุ รว่า บุคคลทีจ่ ะชือ่ ว่าเป็นพระเสขะ เพราะเจริญสติปฏั ฐาน ๔ ได้เป็นส่วนๆ และชือ่ ว่าเป็นพระอเสขะ เพราะเจริญสติปฏั ฐาน ๔ ได้บริบรู ณ์ (สํ.ม. 19/781-784) การเจริญสติปฏั ฐาน 4 ได้เป็นส่วน ๆ และการเจริญสติปฏั ฐาน 4 ได้บริบรู ณ์ แตกต่างกันอย่างไร ? ในเรือ่ งนี้ หากพิจารณาตามทีไ่ ด้เสนอไปแล้วในธัมมานุปสั สนาสติปัฏฐาน หมวดสัจจบรรพ ที่ได้สรุปการปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 ว่ามี ขัน้ ตอนใหญ่ ๆ 3 ขัน้ ตอน คือ เบือ้ งต้น (เพือ่ ให้มฐี านข้อมูลสำคัญทีจ่ ะต้องรู)้ เบื้องกลาง (เพื่อให้เกิดโพชฌงค์ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะนำไปสู่ การรูแ้ จ้งเห็นจริง) และเบือ้ งปลาย (เพือ่ พิจารณาให้เกิดความเห็นแจ้ง ในอริยสัจ 4) (โปรดดูรายละเอียดในหน้าที่ 53-54) จะเห็นได้ว่า พระอริยบุคคลทุกระดับ แน่นอนว่าจะต้องมี การปฏิบตั ใิ นเบือ้ งกลางและเบือ้ งปลาย อย่างจะขาดเสียมิได้ เพราะ 57
ต้องอาศัยปัญญาทีร่ ใู้ นอริยสัจ 4 อันเกิดจากโพชฌงค์เป็นเครือ่ งมือใน การละสังโยชน์ และควรจะรวมไปถึงเรือ่ งของนิวรณ์ ขันธ์ และอายตนะ ด้วย เพราะเป็นเรือ่ งสำคัญพืน้ ฐานทีจ่ ำเป็นต้องรู้ ซึง่ ทัง้ หมดก็คอื สติปฏั ฐาน ในหมวดธัมมานุปัสสนานั่นเอง จะแตกต่างกันบ้างก็เฉพาะในส่วนที่ เป็นเบือ้ งต้น คือ ในระดับทีเ่ ป็นฐานข้อมูล หรือสติปฏั ฐานใน 3 หมวด แรก ทีพ่ ระอริยบุคคลระดับต่าง ๆ สามารถเจริญได้จนสมบูรณ์ไม่เท่ากัน ดังนัน้ พระอริยบุคคลในทุกระดับ จะต้องมีสติปฏั ฐานในหมวด ธัมมานุปสั สนา เป็นองค์ประกอบสำคัญอยูด่ ว้ ย และเมื่อนำเรื่องของสังโยชน์มาพิจารณาประกอบร่วมด้วย จะเห็นว่า สังโยชน์ในระดับของพระโสดาบันและพระสกทาคามี เนือ่ ง ด้วยกับสักกายทิฏฐิหรือทีเ่ นือ่ งกับกายเป็นสำคัญ ; สังโยชน์ในระดับของ พระอนาคามี เนื่องด้วยกับกามราคะหรือเวทนาที่มีอามิสเป็นสำคัญ ส่วนสังโยชน์ในระดับของพระอรหันต์ เนือ่ งด้วยกับรูปราคะและอรูปราคะ หรือเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิสและกิเลสในระดับลึกทีเ่ นือ่ งกับจิตเป็นสำคัญ ดังนัน้ จึงสามารถสรุปได้วา่ * พระโสดาบันและพระสกทาคามี คือพระเสขะผูเ้ จริญสติปัฏฐาน 4 ได้บริบรู ณ์เฉพาะในส่วนของกายานุปสั สนา และธัมมานุปสั สนา * พระอนาคามี คือพระเสขะผูเ้ จริญสติปฏั ฐาน 4 ได้บริบรู ณ์เพิม่ ขึน้ ไปอีกเฉพาะในส่วนของเวทนานุปสั สนา ทีเ่ นือ่ งกับเวทนาทีม่ อี ามิส พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี จึงเป็นบุคคล ทีช่ อ่ื ว่าเป็นพระเสขะ เพราะเจริญสติปฏั ฐาน ๔ ได้เป็นส่วนๆ * พระอรหันต์ คือพระอเสขะผูเ้ จริญสติปฏั ฐาน 4 ได้บริบรู ณ์ เพิม่ ขึน้ ไปอีก ในส่วนของเวทนานุปสั สนาทีเ่ นือ่ งกับเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส 58
และจิตตานุปสั สนาทัง้ หมด ซึง่ ก็คอื สติปฏั ฐาน 4 ทัง้ หมด พระอรหันต์ จึงเป็นบุคคลทีช่ อ่ื ว่าเป็นพระอเสขะ เพราะ เจริญสติปฏั ฐาน ๔ ได้บริบรู ณ์ บทสรุป ดังที่ได้อธิบายและวิเคราะห์-สังเคราะห์ไปแล้วทั้งหมด คงจะทำให้เห็นชัดเจนว่า การปฏิบตั ใิ นระบบสติปฏั ฐาน 4 มีความ ลุม่ ลึกและกว้างขวางเพียงใด ตลอดจนสามารถน้อมนำทุกสิง่ หรือ ทุกเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องมาเป็นอุปกรณ์สำหรับการปฏิบตั ใิ นทุกขณะ ชีวติ ได้อย่างไร ซึง่ จะทำให้โลกทัศน์เกีย่ วกับการปฏิบตั ธิ รรมใน พระพุทธศาสนา ขยายตัวออกไปอย่างมหาศาล ไม่ถกู จำกัดด้วย รูปแบบ ลักษณะ หรือกิรยิ าอาการอะไรบางอย่างเท่านัน้ และด้วยความหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า คงมีสว่ นทีจ่ ะช่วยให้ทา่ น ผูอ้ า่ นเกิดความภูมใิ จและมัน่ ใจอย่างเต็มเปีย่ ม ในสติปฏั ฐาน 4 ตามทีพ ่ ระศาสดาตรัสไว้วา่ “....หนทางนีเ้ ป็นทีไ่ ปอันเอก เพือ่ ความบริสทุ ธิข์ องเหล่า สัตว์ เพือ่ ล่วงความโศกและปริเทวะ เพือ่ ความดับสูญแห่งทุกข์ และโทมนัส เพือ่ บรรลุธรรมทีถ่ กู ต้อง เพือ่ ทำให้แจ้งซึง่ พระนิพพาน หนทางนี้ คือ สติปฏั ฐาน 4....”
59
ดรรชนีคน้ คำ กฎธรรมชาติ 30 กรรมฐาน40 10 กาม 38, 39 กามคุณ 40 กามฉันท์ 45, 46 กามราคะ 39, 58 กามสุข 39 กายเนื้อ 24 กายในกาย 55 กายลม 24 กายสังขาร 14, 24, 25 กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน 21, 24, 32, 47 กิเลส 15, 44 กุศล 4, 5 ขันธ์ 5 46, 47, 49, 50, 53, 58 ขันธบรรพ 44, 53 จิต 16 ประเภท 41 จิตตนิยาม 30 จิตตสังขาร 33 จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน 41 จิตในจิต 56 จินตนาการ 37, 38, 39, 40 ชรามรณะ 13, 50 ชาติ 13, 50 ฌาน 10, 14, 16, 40, 41 ฌานสุข 40 ญาณ 11, 12 ตัณหา 13, 15, 33, 50 ตัณหาจริต 18 ตัวตน 15, 16, 20, 35, ไตรลักษณ์ 17 ไตรสิกขา 11, 12, 13 ถีนมิทธะ 45, 46 เถรวาท 8, 57 ทิฏฐิจริต 19 ทิฐิ 15 ทุกขเวทนา 32, 33, 34, 35, 36, 38 ทุกขอริยสัจ 11, 12, 13, 20, 33, 47, 49, 50, 51, 53 ทุคติ 43 โทมนัส 14, 15 ธรรมในธรรม 56
ธัมมวิจัยสัมโพชฌงค์ 51, 52 ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน 44, 47, 57 ธาตุดิน 29, 30 ธาตุน้ำ 29, 30 ธาตุไฟ 29, 30 ธาตุมนสิการบรรพ 21, 29 ธาตุลม 29, 30 นวสีวถิกาบรรพ 21, 31 นามรูป 48, 54 นิจจวิปลาส 19 นิพพาน 8, 59 นิโรธ 36 นิวรณ์ 10, 17, 25, 45, 46, 58 นีวรณบรรพ 44, 53 เนกขัมมะ 40 ปฏิกูลมนสิการบรรพ 21, 28 ปฏิฆนิมิต 45, 46 ปฏิฆสัมผัส 36 ปฏิจจสมุปบาท 13, 53, 54 ปัญญา 6, 10, 11, 12, 14, 15, 51, 53, 58 ปัญญาขันธ์ 15 ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ 51, 52 ปีติ 17 ปีติสัมโพชฌงค์ 51, 52 ปุถุชน 19, 36, 39, 41 ผัสสะ 13, 48, 49, 50, 53 พยาบาท 45, 46 พระสกทาคามี 57, 58 พระเสขะ 57, 58 พระโสดาบัน 57, 58 พระอนาคามี 8, 56, 57, 58 พระอรหัตผล 8 พระอรหันต์ 6, 36, 56, 57, 58, 59 พระอริยบุคคล 36, 39, 41, 57 พระอเสขะ 57, 58, 59 พีชนิยาม 30 โพชฌงค์ 11, 13, 14, 15, 19, 20, 51, 53, 54, 57 โพชฌงคบรรพ 44, 51 ภพ 13, 50 ภาวิตา พหุลีกตา 53 มนสิการ 5 มโนทวาร 37 มรรคจิต 6
มหาภูตรูป4 48 มหาสติปัฏฐานสูตร 7, 9, 14, 15, 16, 17, 21, 27, 41, 44, 45, 51, 54 มิจฉาสติ 4, 5 มีอามิส 32, 37, 38, 39, 58 ไม่มีอามิส 14, 17, 32, 40, 41, 58 โยนิโสมนสิการ 13, 18, 51 รูปขันธ์ 46, 47, 48 รูปฌาน 24 รูปราคะ 58 รูปูปาทานขันธ์ 47 โลกียะ 16 โลกุตตระ 16 วิจิกิจฉา 45, 46 วิชชา 11, 12, 13, 14, 15, 19, 21, 51, 54 วิญญาณขันธ์ 46, 47, 48, 49 วิตก 5 วิปัสสนาภาวนา 9, 10, 14 วิปัสสนายานิก 19 วิมุตติ 11, 13, 14, 15, 19, 21, 44, 51, 53, 54 วิริยสัมโพชฌงค์ 51 วิสุทธิขันธ์ 51 เวทนาขันธ์ 46, 47, 48 เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน 32 เวทนาในเวทนา 56 ศรัทธา 13, 18 ศีล 6, 12 สตินทรีย์ 7 สติพละ 7 สติสัมปชัญญะ 13, 18 สติสัมโพชฌงค์ 7, 15, 51, 52 สมถภาวนา 9, 10, 14 สมถยานิก 18 สมาธิ 6, 9, 10, 11, 12, 23 สมาธิขันธ์ 15 สมาธิสัมโพชฌงค์ 51, 52 สังขาร 54 สังขารขันธ์ 46, 47, 48 สังโยชน์ 41, 49, 50, 51, 58 สัจจบรรพ 44, 53, 57 สัญญาขันธ์ 46, 47, 48
60
สัมปชัญญบรรพ 21, 26 สัมปชัญญะ 14, 27, 28 สัมมากัมมันตะ 12 สัมมาญาณะ 11 สัมมาทิฏฐิ 12 สัมมาวาจา 12 สัมมาวายามะ 12 สัมมาวิมุตติ 11 สัมมาสติ 4, 7, 12, 14, 15 สัมมาสมาธิ 12, 41 สัมมาสังกัปปะ 12 สัมมาอาชีวะ 12 สุขวิปลาส 18 สุขเวทนา 32, 33, 34, 35, 36, 38, 39, 40, 41 สุคติ 43 สุจริต3 13, 18 สุภนิมิต 45, 46 สุภวิปลาส 18 อกุศล 5 อทุกขมสุขเวทนา 32, 34, 35, 36 อธิวจนสัมผัส 37 อบาย 43 อภิชฌา 14, 15 อโยนิโสมนสิการ 13 อรรถกถา 18, 40 อริยมรรคมีองค์8 11, 12, 13, 14, 40, 41 อริยสัจ4 13, 20, 35, 47, 53, 54, 58 อรูปราคะ 58 อวิชชา 13, 35, 54 อัตตวิปลาส 19 อานาปานบรรพ 14, 16, 21, 22, 24 อานาปานสติสูตร 14, 16, 17 อายตนบรรพ 44, 49, 53, 54 อายตนะภายนอก 36, 48, 50 อายตนะภายใน 36, 48, 50 อินทรียสังวร 13, 18 อิริยาปถบรรพ 21, 25 อุตุนิยาม 30 อุทธัจจะกุกกุจจะ 45, 46 อุเบกขาสัมโพชฌงค์ 51, 52 อุปกิเลส 45 อุปาทาน 13, 35, 47, 50 อุปาทานขันธ์5 47, 49, 50, 53