ปฏิบัติธรรม (ทำไม?-อย่างไร?)
จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ธรรมสถาน สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
"ปฏิบตั ธิ รรม (ทำไม?-อย่างไร?)” เรียบเรียง : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ พิมพ์ครัง้ ที่ 1 : กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ธรรมสถาน สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 4,000 เล่ม หลวงพ่อปฏิจจะ สัมมัตตะ10 (พระวินัย สิริธโร) จำนวน
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ สุรพล ไกรสราวุฒ.ิ ปฏิบตั ธิ รรม (ทำไม?-อย่างไร?).— กรุงเทพฯ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559. 64 หน้า. 1. ธรรมะกับชีวติ ประจำวัน. 2.การปฏิบตั ธิ รรม. I. ชือ่ เรือ่ ง. 294.3144 ISBN : 978-616-551-989-2 บรรณาธิการอำนวยการ : ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ดร.ระวี ภาวิไล, รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ์, นายกรรชิต จิตระทาน บรรณาธิการ : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ออกแบบปก : นายพงศ์ศกั ดิ์ สุวรรณมณี พิสจู น์อกั ษร : นางปาลิดา จิรภาธงชัย ประสานงาน : นายจาตุรนต์ กิตติสรุ นิ ทร์ นายมาโนช กลิน่ ทรัพย,์ นางนิตพิ ร ใบเตย พิมพ์ท่ี : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร.0-2215-1991-2 ลิขสิทธิ์ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3018 Website : http://www.dharma-centre.chula.ac.th Email : dharma-centre@chula.ac.th จัดทำโดย : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คำนำ โดย ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ดร.ระวี ภาวิไล ศาสนเมธีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ********************************************** ผมรูจ้ กั กับเภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ มานานมาก ตัง้ แต่ทา่ น เพิ่งจบการศึกษา และมาร่วมงานกัน ตราบจนปัจจุบันซึ่งท่านดำรง ตำแหน่งเป็นผูอ้ ำนวยการธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านมี ความสนใจใฝ่ในธรรม มีความกระตือรือร้นที่จะเผยแพร่ธรรมะอย่าง เสมอต้นเสมอปลายมาโดยตลอด ทรรศนะและงานเขียนของท่านจึงมี คุณค่าสมควรแก่การศึกษาและรับมาพิจารณาเพือ่ น้อมนำไปทดลอง ปฏิบตั ิ สำหรับหนังสือ “ปฏิบตั ธิ รรม (ทำไม?-อย่างไร?)” เล่มนี้ เภสัชกรสุรพลได้เรียบเรียงในลักษณะของปริยตั ใิ นปฏิบตั ิ ทีไ่ ด้ผา่ นการวิเคราะห์ วิจยั และตรวจสอบมาอย่างละเอียดลออ โดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ทำให้ ผูอ้ า่ นเข้าใจความหมายและนัยต่าง ๆ ของการปฏิบตั ิ ทำให้รวู้ า่ จะต้อง ปฏิบัติอะไร และปฏิบัติอย่างไร ตั้งแต่เบื้องต้นไปจนถึงที่สุดของการ ปฏิบัติได้อย่างชัดเจน สามารถใช้หนังสือนี้เป็นแผนที่หรือคู่มือการ ปฏิบตั ธิ รรมในพระพุทธศาสนาได้เป็นอย่างดี ผมจึงขออนุโมทนามา ณ ทีน่ ้ี และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าท่านผูอ้ า่ น จะได้รบั ประโยชน์สมกับความตัง้ ใจของหนังสือเล่มนี้ . 24 พฤศจิกายน 2558
คำนิยม โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ์ ผูช้ ว่ ยอธิการบดี (กำกับงานด้านศิลปวัฒนธรรม) **************************************************** หนังสือเล่มนีเ้ ดิมที ผูเ้ ขียนประสงค์จะใช้ชอ่ื ว่า “เคล็ดวิธปี ฏิบตั ธิ รรม (สำหรับคนช่างสงสัย)” โดยทีเ่ ห็นว่าชาวพุทธจำนวนหนึง่ ซึง่ น่าจะเป็นส่วนใหญ่ เมือ่ ศึกษาพระพุทธศาสนา (ปริยตั )ิ ไปได้ระยะหนึง่ แล้ว ย่อมจะมีขอ้ สงสัยต่างๆ นานา ใคร่จะหาผูร้ เู้ พือ่ ปรึกษาหาคำตอบ อันเป็นแนวปฏิบตั นิ ำสูก่ ารประจักษ์เห็นจริงยิง่ ๆ ขึน้ ไป เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ปฏิบตั งิ านมาหลายปีจนได้เป็น ผูอ้ ำนวยการ ธรรมสถาน แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตระหนักดีถงึ ความเป็นไปดังกล่าว จึงมีจติ กุศล ใคร่จะช่วยสร้างความกระจ่างให้แก่สมาชิกธรรม โดยความอุตสาหะของท่าน ท่านได้ประมวลหลักธรรม รวบรวม เรียบเรียง จัดลำดับ เขียนขึน้ ใหม่ให้เหมาะแก่ ผูส้ นใจพระพุทธศาสนาในกาลปัจจุบนั เกิดเป็นหนังสือเล่มกะทัดรัด ง่ายแก่การหยิบอ่าน หวังอย่างยิง่ ว่าความพยายามและความตัง้ ใจดี ของ เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ จักยังประโยชน์ให้แก่สาธุชน ผูใ้ คร่ธรรมได้. 10 มกราคม 2559
สารบัญ
หน้า
คำนำ โดย ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ดร.ระวี ภาวิไล ศาสนเมธีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำนิยม โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ์ ผูช้ ว่ ยอธิการบดี (กำกับงานด้านศิลปวัฒนธรรม) เรือ่ งทีค่ วรทราบก่อน ♦ เริม่ ต้นด้วยการรูจ้ กั แนวการปฏิบตั ธิ รรม 2 รูปแบบ ♦ ปฏิบตั ธิ รรม คืออะไร ? ♦ จะเข้าใจเรือ่ งการปฏิบตั ธิ รรมให้ลกึ ซึง้ ต้องเข้าใจหลัก สัทธรรม 3 (คือ ปริยตั ิ ปฏิบตั ิ และปฏิเวธ) ♦ ทำไมการปฏิบตั ธิ รรมในพระพุทธศาสนา จึงมีเป้าหมาย สูงสุดอยูท่ ค่ี วามดับสิน้ ไปแห่งทุกข์ ? ♦ รูอ้ ะไร ? (รูอ้ ริยสัจ 4) จึงทำให้ปฏิบตั ธิ รรมได้ถกู ต้อง ♦ รูอ้ ริยสัจ 4 อย่างไร ? จึงทำให้ปฏิบตั ธิ รรมได้ถกู ต้อง ♦ ทำไม อริยสัจ 4 จึงนำเสนอในลักษณะแสดงผลก่อนเหตุ และทำไมไม่แสดง “อวิชชา” เป็นสาเหตุแห่งทุกข์ในอริยสัจ ? ♦ ทุกข์ในอริยสัจแตกต่างจากทุกข์ในเวทนา และ ทุกข์ในไตรลักษณ์อย่างไร ? ♦ ทำอย่างไร จึงจะเข้าใจ “ตัณหา” ในทุกขสมุทยั และ “สัมมา” ในอริยมรรคมีองค์ 8 ได้ถกู ต้อง ♦ รูอ้ ริยสัจแล้ว ทำให้เกิดผลอะไร ? (ทำให้รถู้ งึ ) เส้นทางชีวติ ทุกข์ และทีไ่ ม่ทกุ ข์ (ทำให้รถู้ งึ ) เส้นทางชีวติ ในระดับโลกียะและ ในระดับโลกุตตระ รูว้ า่ ทุกข์ในอริยสัจ มีระดับหยาบและละเอียด ทีจ่ ะต้องดับไปตามลำดับ รูว้ า่ อะไรคือสาเหตุของทุกข์ในอริยสัจในแต่ละระดับ
2 2 4 4 7 7 8 11 12 14 18 19 19 22 22
สารบัญ
หน้า
เคล็ดวิธปี ฏิบตั ธิ รรม ♦ การปฏิบตั ติ ามหลักอริยมรรค มีองค์ 8 การปฏิบตั สิ มั มาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) การปฏิบตั สิ มั มาสังกัปปะ (ความดำริชอบ) การปฏิบตั ิ สัมมาวาจา (เจรจาชอบ) สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ) สัมมาอาชีวะ (เลีย้ งชีพชอบ) การปฏิบตั ิ สัมมาวายามะ (พยายามชอบ) สัมมาสติ (ระลึกชอบ) สัมมาสมาธิ (ตัง้ จิตมัน่ ชอบ) สรุปการปฏิบตั ติ ามหลักอริยมรรค มีองค์ 8 ♦ การปฏิบตั ติ ามหลักไตรสิกขา การจำแนกอริยบุคคลตามหลักไตรสิกขา หลักไตรสิกขาทำให้รถู้ งึ การปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นไปตามลำดับ การปฏิบตั ไิ ตรสิกขา ทำให้บรรลุธรรมระดับต่าง ๆ ได้อย่างไร ? การปฏิบตั ไิ ตรสิกขา เมือ่ ศีลสมบูรณ์ ทำให้ บรรลุธรรมระดับโสดาบัน และสกทาคามี ได้อย่างไร ? การปฏิบตั ไิ ตรสิกขา เมือ่ สมาธิสมบูรณ์ ทำให้ บรรลุธรรมระดับอนาคามี ได้อย่างไร ? การปฏิบตั ไิ ตรสิกขา เมือ่ ปัญญาสมบูรณ์ ทำให้ บรรลุธรรมระดับอรหันต์ ได้อย่างไร ? ♦ การปฏิบตั ทิ เ่ี นือ่ งด้วยสติ บทสรุป ดรรชนีคน้ คำ รายชือ่ หนังสือทีไ่ ด้จดั พิมพ์มาแล้วของผูเ้ รียบเรียง ท้ายเล่ม โดย นายกรรชิต จิตระทาน ผูอ้ ำนวยการสำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม
26 28 28 32 34 37 42 43 45 46 47 47 49 52 53 55 56 57 58
ปฏิบัติธรรม (ทำไม?-อย่างไร?) ********************************
ห
นังสือ “ปฏิบัติธรรม (ทำไม?-อย่างไร?)” นี้ เรียบเรียงขึน้ ด้วยจุดมุง่ หมายทีจ่ ะนำเสนอวิธปี ฏิบตั ิ ธรรมสำหรับผูท้ เ่ี ริม่ สนใจในการปฏิบตั ธิ รรม ทีช่ อบคิดพิจารณา หรือเป็น ประเภทช่างสงสัย ชอบซักถามเพือ่ ทำความเข้าใจ หรือหาคำตอบใน เรื่องต่าง ๆ ให้เกิดความชัดเจน หรือให้ลงใจพอสมควรก่อน จึงจะมี ศรัทธาและลงมือปฏิบตั ติ อ่ ไปอย่างจริงจัง นอกจากนัน้ ประสงค์จะนำเสนอ วิธกี ารปฏิบตั ธิ รรมทีไ่ ม่ยงุ่ ยาก เข้าใจง่าย และทีส่ ำคัญคือทำให้บคุ คล ผูเ้ ข้าใจสามารถพึง่ ตนเองได้มากทีส่ ดุ อีกทัง้ เป็นวิธที ส่ี ามารถนำมาปฏิบตั ิ ควบคูก่ นั ไปกับการดำเนินชีวติ ประจำวันได้เป็นอย่างดี สำหรับท่านทีไ่ ด้ หลักหรือวิธกี ารปฏิบตั จิ นเป็นทีม่ น่ั ใจแล้ว ก็สามารถอ่านเพือ่ ประดับความรู้ หรือเป็นตัวอย่างหนึง่ ของการศึกษาให้เห็นถึงความพยายามทีจ่ ะประยุกต์ เรือ่ งการปฏิบตั ธิ รรมให้เหมาะสมและสอดคล้องกับชีวติ ในบริบทปัจจุบนั 1
เรือ่ งทีค่ วรทราบก่อน ก่อนทีจ่ ะลงมือปฏิบตั ธิ รรม ขอนำเสนอแนวการปฏิบตั ธิ รรม ซึง่ จำแนกได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ ๆ ตามอัธยาศัยของบุคคล เพือ่ ให้บคุ คล ได้ทราบและเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับตนตั้งแต่ต้น ก็จะทำให้การ ปฏิบตั ธิ รรมเป็นไปด้วยความราบรืน่ และมีความก้าวหน้าได้รวดเร็วยิง่ ขึน้ เริม่ ต้นด้วยการรูจ้ กั แนวการปฏิบตั ธิ รรม 2 รูปแบบ แนวการปฏิบตั ธิ รรมแบบที่ 1 เป็นรูปแบบการปฏิบตั ทิ อ่ี าศัย ศรัทธาเป็นตัวนำ การปฏิบัติธรรมในรูปแบบนี้ อิงอาศัยบุคคลที่เป็น อาจารย์หรือผูน้ ำการปฏิบตั เิ ป็นหลัก มักจะไม่สนใจศึกษาคำสอนทีเ่ ป็น คัมภีรห์ รือตำราต่าง ๆ เท่าใด ไม่ตอ้ งการรูเ้ รือ่ งราวต่าง ๆ ทีเ่ ป็นวิชาการ หรือแม้แต่เรือ่ งราวทีเ่ ป็นผลของการปฏิบตั ลิ ว่ งหน้า เพราะเกรงว่าความรู้ เหล่านี้ จะมารบกวนการปฏิบตั ิ ให้มวั แต่ไปกังวลถึงสิง่ ทีไ่ ด้ยนิ ได้ฟงั มา และยังอาจเร้าหรือชักนำให้เกิดการคิดและปรุงแต่งเพือ่ ทีจ่ ะให้บงั เกิด ผลตามที่ได้ทราบมานั้น จนทำให้การปฏิบัติถูกบิดเบือนไป ไม่เป็น ธรรมชาติ และกลับกลายมาเป็นอุปสรรคของการปฏิบตั ไิ ด้ การปฏิบตั ิ ในรูปแบบแรกนี้ จึงเน้นการมอบความไว้วางใจต่อบุคคลผูท้ น่ี บั ถือเป็น อาจารย์ และปฏิบตั ติ ามทีอ่ าจารย์สอนโดยเคร่งครัด ซึง่ ผูเ้ ป็นอาจารย์ ก็จะคอยดูแลและอบรมอย่างใกล้ชดิ คอยแนะนำวิธกี ารปฏิบตั เิ พิม่ เติม ให้ยง่ิ ขึน้ ๆ ตามลำดับ ให้เหมาะสมกับระดับของการปฏิบตั ทิ ส่ี ามารถ ปฏิบตั ไิ ด้แล้ว กล่าวโดยสรุป การปฏิบตั ใิ นรูปแบบที่ 1 เหมาะสำหรับบุคคลผูม้ ี 2
อัธยาศัยทีม่ ากด้วยศรัทธา ไม่คอ่ ยสนใจในเรือ่ งของปริยตั ิ ต้องการลงมือ ปฏิบัติเลยทีเดียว ซึ่งการปฏิบัติในรูปแบบนี้ จะให้ผลดีและรวดเร็ว หากอาจารย์ทเ่ี ป็นผูน้ ำ เป็นผูท้ ป่ี ฏิบตั ไิ ด้ถกู ต้องแล้ว แต่ในทางตรงกันข้าม หากยังเป็นผูป้ ฏิบตั ไิ ม่ถกู ต้องจริง ก็จะทำให้ผปู้ ฏิบตั ติ ามไม่ถกู ต้องไป ด้วย และทำให้การปฏิบตั ไิ ม่บรรลุผล การปฏิบตั ใิ นรูปแบบแรกนี้ จึงต้อง รูจ้ กั เลือกเฟ้นบุคคลผูจ้ ะขอฝากตัวเป็นศิษย์ให้ดี เพราะเป็นเงือ่ นไขสำคัญ ทีส่ ดุ ของการปฏิบตั ิ แนวการปฏิบตั ธิ รรมแบบที่ 2 เป็นรูปแบบการปฏิบตั ทิ อ่ี าศัย ความรูค้ วามเข้าใจเป็นหลัก การปฏิบตั ใิ นรูปแบบนี้ ก่อนจะลงมือปฏิบตั ิ ในเรือ่ งใด จะมีการให้ความรู้ หรือศึกษาหาความรูใ้ นเรือ่ งนัน้ ๆ จากคัมภีร์ ตำรา หรือคำสอนของอาจารย์ ฯลฯ ให้มากเพียงพอ จนเกิดความเข้าใจ หรือหายสงสัยในระดับหนึง่ เสียก่อน จึงจะเริม่ ลงมือปฏิบตั ิ และจะอาศัย ความรูท้ เ่ี ข้าใจเป็นตัวนำทางในการปฏิบตั ติ อ่ ไป รูปแบบการปฏิบตั ใิ นแบบที่ 2 นี้ เหมาะสำหรับบุคคลผูม้ อี ธั ยาศัย ชอบคิดชอบพิจารณา หรือช่างสงสัย บุคคลประเภทนี้ หากไม่ได้รหู้ รือ เข้าใจในสิง่ ทีก่ ระทำก่อนอย่างเพียงพอ จะยังไม่เกิดฉันทะทีจ่ ะปฏิบตั ิ ต่อเมือ่ ได้รเู้ ข้าใจชัดเจนพอสมควรแล้ว จึงเกิดความตัง้ ใจและเต็มใจใน การปฏิบตั ติ อ่ ไป การปฏิบัติในรูปแบบที่ 2 จึงไม่อิงหรือขึ้นกับบุคคลผู้เป็น อาจารย์ แต่จะเน้นการพึง่ ตนเองหรือพึง่ ความรูท้ ต่ี นได้พนิ จิ พิจารณา จนเข้าใจดีแล้วเป็นหลัก แต่เนือ่ งจากธรรมทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอนเป็น สิ่งที่ลึกซึ้งและละเอียดอ่อนมาก ยากต่อบุคคลที่จะเข้าใจได้ถูกต้อง ดังนั้นโอกาสที่บุคคลจะสามารถรู้เข้าใจธรรมได้ถูกต้องด้วยตนเอง จึงเป็นสิง่ ทีท่ ำไม่ได้งา่ ย ๆ แต่หากสามารถทำได้แล้ว ก็จะทำให้บคุ คล 3
สามารถปฏิบตั ธิ รรมได้อย่างอิสระ และพึง่ ตนเองได้อย่างแท้จริง หนังสือนีเ้ รียบเรียงขึน้ ตามรูปแบบการปฏิบตั ธิ รรมในแบบที่ 2 ซึง่ เน้นสำหรับผูช้ อบคิดพิจารณาหรือประเภทช่างสงสัย ด้วยมุง่ หวังที่ จะทำความเข้าใจเรือ่ งราวต่าง ๆ ทีเ่ นือ่ งด้วยการปฏิบตั ธิ รรมในประเด็น หลัก ๆ ให้ชดั เจนและเพียงพอ จนคลายสงสัยและไม่ถกู กระทบจาก ความสงสัยแม้ในประเด็นปลีกย่อยอืน่ ๆ อันเป็นเหตุรบกวนหรือขัดขวาง การปฏิบตั ไิ ม่ให้มคี วามก้าวหน้า ซึง่ จะทำให้การปฏิบตั ธิ รรมเป็นไปด้วย ความราบรืน่ และบรรลุผลด้วยดี ปฏิบตั ธิ รรม คืออะไร ? ประการแรกสุดทีจ่ ะต้องรูแ้ ละทำความเข้าใจก่อน คือความหมาย ของคำว่า “ปฏิบตั ธิ รรม” ซึง่ อธิบายให้เข้าใจได้งา่ ย ๆ คือ “การนำธรรมะ มาปฏิบตั ”ิ หรือ “นำธรรมะมาใช้ในชีวติ จริง ๆ” จะเข้าใจเรือ่ งการปฏิบตั ธิ รรมให้ลกึ ซึง้ ต้องเข้าใจ หลักสัทธรรม 3 (คือ ปริยตั ิ ปฏิบตั ิ และปฏิเวธ) แต่หากจะเข้าใจนัยอันลึกของการปฏิบัติธรรมยิ่งขึ้น ในที่นี้ ขอเสนอให้ทำความเข้าใจในหมวดธรรม คือ “สัทธรรม 3” หรือหลักที่ เป็นแก่นของการศึกษาและปฏิบตั ใิ นพระพุทธศาสนา ซึง่ จำแนกเป็น ปริยตั ิ ปฏิบตั ิ และปฏิเวธ ก็จะช่วยทำให้เข้าใจเรือ่ งราวและความหมาย ของการปฏิบตั ธิ รรมได้ถอ่ งแท้ยง่ิ ขึน้ ในขัน้ ต้นนี้ จึงขอเชิญชวนให้มารูจ้ กั และทำความเข้าใจในความหมายของข้อธรรมทัง้ 3 หัวข้อนี้ ให้ชดั เจน เสียก่อน 4
คำว่า ปริยตั ิ มาจากภาษาบาลีแยกศัพท์ได้เป็น ปริ + ยตฺติ ปริ แปลว่า รอบ, ทัว่ ยตฺติ แปลว่า ศึกษา, เรียนรู้ ในแง่ของปริยตั จิ ะต้องมีการศึกษาเรียนรูใ้ ห้มาก ให้กว้างขวาง ออกไป ในลักษณะทีม่ กี ารแจกแจง แตกรายละเอียด หรือเชือ่ มโยงให้ เห็นความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ โดยรอบด้าน และด้วยวิธีของปริยัติ ตามทีก่ ล่าวนี้ จะทำให้เกิดความรอบรูแ้ ละแตกฉานในเรือ่ งของปริยตั ิ คำว่า ปฏิบตั ิ มาจากภาษาบาลีแยกศัพท์ได้เป็น ปฏิ + ปตฺติ ปฏิ แปลว่า เฉพาะ, จำเพาะลงไป ปตฺติ แปลว่า ดำเนินไป ในแง่ของการปฏิบตั ิ แทนทีจ่ ะใช้คำว่า ปริ ซึง่ แปลว่า รอบ ,ทัว่ กลับใช้คำว่า ปฏิ ซึ่งแปลว่า เฉพาะ, จำเพาะลงไป ดังนั้นเรื่อง ของการปฏิบัติจึงมีวิธีการกระทำที่แตกต่างออกไปจากวิธีของปริยัติ กล่าวคือจะต้องดำเนินไปในลักษณะจำเพาะเจาะจง ไม่ใช่การแตกหรือ กระจายรายละเอียดให้มากออกไป ในทางตรงข้ามจะต้องรูจ้ กั สรุปหรือ ควบรวมเรือ่ งราวต่าง ๆ ทีม่ อี ยูม่ ากมาย ให้งวดเข้ามา จนเหลือเฉพาะ เรือ่ งทีเ่ ป็นหลักการ หรือแก่น หรือทีเ่ ป็นหัวใจจริง ๆ จึงจะสามารถนำมา ปฏิบตั ใิ ห้บงั เกิดผลได้จริง เพราะหากยังมีเรือ่ งราวมากมาย ก็ทำให้ไม่ สามารถหรือยากทีจ่ ะนำมาปฏิบตั ไิ ด้ คำว่า ปฏิเวธ มาจากภาษาบาลีแยกศัพท์ได้เป็น ปฏิ + เวโธ ปฏิ แปลว่า เฉพาะ, จำเพาะลงไป เวโธ แปลว่า เจาะ, แทง ในแง่ของปฏิเวธ คือการบรรลุผล ก็จะต้องดำเนินไปในลักษณะ จำเพาะเจาะจงเช่นเดียวกันกับการปฏิบตั ิ เพราะเป็นผลสำเร็จทีเ่ กิดขึน้ 5
จากการปฏิบตั ิ โดยปฏิเวธจะเกิดขึน้ ได้ ต้องมีการปฏิบตั ใิ นเรือ่ งนัน้ ๆ ให้มาก ๆ และให้ตอ่ เนือ่ ง ก็จะบังเกิดเป็นปฏิเวธหรือผลสำเร็จขึน้ มา ในทีส่ ดุ ยกตัวอย่าง คำสอนของพระพุทธเจ้า ตามทีป่ รากฏในพระไตรปิฎก มีจำนวนมากถึง 84,000 พระธรรมขันธ์ การศึกษาให้รอบรูค้ ำสอน ตามนัยต่าง ๆ ที่ตรัสไว้ นีค้ อื ปริยตั ิ แต่เมือ่ มาถึงเรือ่ งของการปฏิบตั ิ พระพุทธเจ้าได้ตรัสสรุปคำสอน ทีไ่ ด้ทรงแสดงไว้ทง้ั หมดว่า “ในกาลก่อนด้วย ในกาลบัดนีด้ ว้ ย เราย่อม บัญญัตทิ กุ ข์ และความดับแห่งทุกข์” 1 จึงทำให้เห็นนัยโดยสรุปของ คำสอนทีเ่ ป็นปริยตั ทิ ง้ั หมดได้วา่ ทีแ่ ท้คอื เรือ่ งของทุกข์และความดับสิน้ ไป ของทุกข์ ซึง่ พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนยักเยือ้ งออกไปเป็นนัยต่าง ๆ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้เหมาะสมกับบริบทของบุคคลและสถานการณ์ทแ่ี ตกต่างกันนัน่ เอง เมือ่ สรุปสาระคำสอนทีเ่ ป็นปริยตั ทิ ง้ั หมดจนได้สว่ นทีเ่ ป็นแก่นแล้ว จึง ทำให้รถู้ งึ ความหมายของการปฏิบตั ธิ รรมได้ชดั เจนว่า คือวิธปี ฏิบตั เิ พือ่ ทำให้ทกุ ข์หมดสิน้ ไป หรือไม่ให้มที กุ ข์เกิดขึน้ ร้อยรัด เสียดแทง หรือบีบคัน้ ชีวติ อีกต่อไป ซึง่ พระพุทธเจ้าได้ตรัสแสดงไว้หลายหมวด ธรรม เช่น มรรคมีองค์ 8, ไตรสิกขา, อานาปานสติ 16 ขัน้ , สติปฏั ฐาน 4, สมถ-วิปสั สนา ฯลฯ หนังสือนีจ้ ะเลือกนำมาอธิบายเฉพาะหมวดธรรม ทีต่ รัสสอนบ่อยและมาก คือมรรคมีองค์ 8 และไตรสิกขา นอกจากนัน้ จะขอนำเสนอวิธปี ระยุกต์การปฏิบตั จิ ากหมวดธรรมทัง้ 2 นี้ โดยสรุปให้ เหลือเป็นการปฏิบตั ิ “สติ” เพียงเรือ่ งเดียว เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั ไิ ด้สะดวก ยิง่ ขึน้ และกลมกลืนเป็นอันหนึง่ อันเดียวกันกับการดำเนินชีวติ ประจำวัน ทัว่ ไปด้วย 1
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ 12 ข้อที่ 286
6
ทำไมการปฏิบตั ธิ รรมในพระพุทธศาสนา จึงมีเป้าหมายสูงสุดอยูท่ ค่ี วามดับสิน้ ไปแห่งทุกข์ ? ทัง้ นีเ้ พราะ "ทุกข์" เป็นปัญหาสำคัญทีส่ ดุ ทีท่ ำให้มนุษย์ ไม่สามารถดำรงอยู่ให้เป็นปกติสุข ให้มีอันต้องถูกบีบคั้น ดิ้นรน กระเสือกกระสนตราบเท่าทีค่ วามทุกข์ยงั ปรากฏอยู่ จนกว่าทุกข์นน้ั จะ บรรเทาหรือดับลง หากในธรรมชาติของชีวติ ไม่มี "ทุกข์" เกิดขึน้ “ธรรม” ก็เป็นสิง่ ทีไ่ ม่จำเป็น และบุคคลก็ไม่ตอ้ งมาสนใจ แต่ใน ความเป็นจริง ทัง้ ความรูส้ กึ นึกคิด คำพูดและการกระทำทุกอย่างของ บุคคล ย่อมมีผลทีท่ ำให้เกิดทุกข์ได้ทง้ั สิน้ "ธรรม" จึงเป็นสิง่ ทีส่ ำคัญและจำเป็นอย่างยิง่ ก็เพือ่ ไม่ให้ เกิดผล คือ "ทุกข์" นัน่ เอง หรือมองอีกแง่หนึง่ ก็เพราะ "ภาวะความดับทุกข์ หรือไม่มี ทุกข์” เป็นสิ่งที่ดีที่สุดและสูงสุดที่บุคคลควรเข้าถึงหรือได้รับ เพราะไม่ว่าบุคคลจะได้รับหรือบรรลุถึงสิ่งใดก็ตาม หากในภาวะนั้น ความทุกข์ยงั สามารถเกิดขึน้ รบกวนหรือบีบคัน้ ชีวติ ได้ ก็ยงั ไม่ควรกล่าว ว่าเป็นสิ่งที่ดีที่สุดหรือสูงสุดจริง ลองพิจารณาดูว่าจะมีอะไรที่ดีหรือ ประเสริฐยิง่ ไปกว่าชีวติ ทีไ่ ม่มที กุ ข์ รูอ้ ะไร ? (รูอ้ ริยสัจ 4) จึงทำให้ปฏิบตั ธิ รรมได้ถกู ต้อง ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วโดยสรุปว่า การปฏิบตั ธิ รรม คือวิธปี ฏิบตั ิ เพือ่ ให้ทกุ ข์หมดสิน้ ไป ซึง่ ในเรือ่ งทุกข์และความดับสิน้ ไปแห่งทุกข์น้ี 7
อันทีจ่ ริงคือเรือ่ ง “อริยสัจ 4“ ทีพ่ ระพุทธตรัสรู้ ซึง่ ในอริยสัจ 4 ได้แสดง รายละเอียดเกีย่ วกับเรือ่ งของทุกข์และความดับสิน้ ไปแห่งทุกข์ พร้อมทัง้ สาเหตุและวิธกี ารปฏิบตั ไิ ว้อย่างชัดเจนและครบถ้วน ดังนัน้ ก่อนทีจ่ ะปฏิบตั ธิ รรม จึงควรจะหาความรูแ้ ละทำ ความเข้าใจในอริยสัจ 4 ให้ถกู ต้องและเพียงพอเสียก่อน รูอ้ ริยสัจ 4 อย่างไร ? จึงทำให้ปฏิบตั ธิ รรมได้ถกู ต้อง พระพุทธเจ้าตรัสแสดงอริยสัจ พร้อมทั้งกิจที่ต้องกระทำใน อริยสัจ โดยจำแนกเป็น 4 หัวข้อ ในทีน่ ข้ี อยกมากล่าวเฉพาะหัวข้อและ สาระทีส่ ำคัญ ๆ โดยย่อ 1. ทุกขอริยสัจ ภาวะของความทุกข์ในอริยสัจ กล่าวโดยสรุป คือ อุปาทานขันธ์ 5 หรือความทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากความยึดมัน่ ถือมัน่ ใน ขันธ์ 5 กล่าวคือ รูปขันธ์ (ส่วนทีเ่ ป็นรูป, ร่างกาย) เวทนาขันธ์ (ความรูส้ กึ สุข ทุกข์ หรือเฉย ๆ), สัญญาขันธ์ (ความจำได้และหมายรู)้ , สังขารขันธ์ (ความคิดปรุงแต่ง) และวิญญาณขันธ์ (ความรูแ้ จ้งอารมณ์ คือ รูร้ ปู เสียง กลิน่ รส สิง่ ต้องกาย และสิง่ ทีส่ มั ผัสรับรูท้ างใจ) ซึง่ หากประมวล สิง่ ทีเ่ ป็นทีต่ ง้ั แห่งความยึดมัน่ ถือมัน่ ทัง้ หมดในชีวติ ให้เข้าใจง่ายขึน้ ก็คอื เรือ่ งความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย และสิง่ ทีเ่ ป็นทีร่ กั ทีพ่ อใจ ตามทีพ่ ระพุทธเจ้าได้ตรัสแสดงรายละเอียดไว้ในอริยสัจ 4 นัน่ เอง ขันธ์ 5 ทีป่ ระกอบอยูด่ ว้ ยความยึดมัน่ นีเ้ อง คือ ทุกขอริยสัจ ทีพ่ ระพุทธเจ้ามุง่ หมาย เป็นทุกข์ทเ่ี ป็นปัญหาแท้จริงของมนุษย์ เป็นทุกข์ทม่ี นุษย์หลงปรุงแต่งให้เกิดขึน้ มาเอง และเป็นทุกข์ทส่ี ามารถ ดับให้หมดสิ้นลงได้อย่างเด็ดขาด มีกิจที่ต้องกระทำ คือ กำหนดรู้ 8
หมายถึงกำหนดรูส้ ภาวะของทุกข์ในอริยสัจให้ถกู ต้อง ซึง่ การจะรูว้ า่ ทุกข์ในอริยสัจเป็นอย่างไรได้อย่างถูกต้องและแท้จริง ผูเ้ รียบเรียงเห็นว่าจะ ต้องสามารถแยกแยะได้ถงึ ความแตกต่างของ ทุกข์ในอริยสัจ กับทุกข์ใน เวทนา และทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึง่ จะได้กล่าวถึงเรือ่ งนีอ้ กี ครัง้ ในบทต่อไป ในประเด็นของทุกข์ในอริยสัจ ขอเน้นย้ำเป็นพิเศษว่าพระพุทธเจ้า ตรัสไว้วา่ คือ “อุปาทานขันธ์ 5” หรือขันธ์ 5 ทีป่ ระกอบด้วยอุปาทาน ไม่ใช่ “ขันธ์ 5” (เฉย ๆ) ลำพังเพียง อุปาทาน หรือ ขันธ์ 5 อย่างใด อย่างหนึง่ เท่านัน้ ยังไม่ชอ่ื ว่าเป็น อุปาทานขันธ์ 5 ซึง่ เป็นทุกข์ในอริยสัจ หากจะเปรียบเทียบเพือ่ ให้เห็นภาพทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ เปรียบได้ กับบุคคลเป็นโรคทีเ่ กิดมาจากเชือ้ โรคชนิดหนึง่ ลำพังเชือ้ โรคเพียงอย่าง เดียวแต่ยงั ไม่ได้เข้ามาอยูใ่ นร่างกาย หรือลำพังร่างกายเพียงอย่างเดียว แต่ยงั ไม่ตดิ เชือ้ โรค ก็ไม่ชอ่ื ว่าบุคคลเป็นโรคแต่อย่างใด ต่อเมือ่ มีเชือ้ โรค เข้าสูร่ า่ งกาย บุคคลจึงได้ชอ่ื ว่าเป็นโรคนัน้ ๆ โดยอาการของโรคไม่ได้ เกิดขึน้ กับตัวเชือ้ โรค แต่มาปรากฏทีร่ า่ งกาย ในกรณีน้ี เปรียบร่างกายที่ เป็นปกติได้กบั “ขันธ์ 5”, ตัวเชือ้ โรคเปรียบได้กบั “อุปาทาน” ส่วนร่างกาย ทีเ่ กิดโรคเปรียบได้กบั “อุปาทานขันธ์ 5” โดยตัวขันธ์ทม่ี อี ปุ าทานนัน้ เอง ทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสว่า คือ “ทุกข์ในอริยสัจ” 2. ทุกขสมุทัยอริยสัจ สาเหตุแห่งทุกข์ คือ ตัณหา หรือ ความทะยานอยาก มีกจิ ทีต่ อ้ งกระทำคือ ให้ละ การจะรูว้ า่ ทุกขสมุทยั ในอริยสัจเป็นอย่างไรได้อย่างถูกต้องและแท้จริง จำเป็นต้องรูแ้ ละเข้าใจ ว่าอะไรคือความต้องการทีแ่ ท้จริงของชีวติ อย่างทีใ่ นภาษาอังกฤษใช้ คำว่า “Need” เพราะในตัวชีวติ เองก็มคี วามต้องการโดยธรรมชาติ จึงจะ ทำให้รจู้ กั และสามารถแยกแยะได้วา่ อะไรคือความต้องการทีเ่ ป็นตัณหา หรือความทะยานอยาก ซึง่ เป็นความต้องการทีบ่ คุ คลเข้าใจผิดไปเอง 9
หรือใส่ลงไปให้กบั ตัวชีวติ เอง อย่างทีใ่ นภาษาอังกฤษใช้คำว่า “Want” ทัง้ ๆ ทีธ่ รรมชาติของชีวติ แท้ ๆ ไม่ได้มคี วามต้องการชนิดนีเ้ ลย ซึง่ จะ ได้อธิบายให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ต่อไป 3. ทุกขนิโรธอริยสัจ ภาวะทีไ่ ม่มที กุ ข์ในอริยสัจ หรือภาวะ ทีต่ ณ ั หาดับสิน้ ไป มีกจิ ทีต่ อ้ งกระทำ คือ ทำให้แจ้ง หรือทำให้ปรากฏ คำว่า “ทำให้แจ้ง” นี้ มีความหมายพิเศษทีจ่ ะต้องทำความเข้าใจให้ดี กล่าวคือ ไม่ใช่ภาวะทีบ่ คุ คลจะสร้างหรือปรุงแต่งให้เกิดขึน้ มา และก็ไม่ใช่ การเข้าถึงทุกขนิโรธทีม่ อี ยูแ่ ล้ว ดังเช่นบุคคลทีต่ อ้ งการเดินทางไปให้ถงึ จุดหมายปลายทางอันใดอันหนึง่ ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว และเมือ่ เดินทางไปถึงก็ได้ ชือ่ ว่าเข้าถึง แต่เรือ่ งของทุกขนิโรธอริยสัจมีความแตกต่างออกไปเป็น อย่างมาก กล่าวคือ ภาวะของทุกขนิโรธอริยสัจจะปรากฏขึน้ หรือจะแจ้ง ออกมาให้รบั รู้ ต่อเมือ่ หรือในขณะทีต่ ณ ั หาได้ถกู กระทำจนหมดสิน้ ไป แล้ว 4. ทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทาอริยสัจ คือข้อปฏิบตั ใิ ห้บรรลุ ภาวะทีไ่ ม่มที กุ ข์ในอริยสัจ คือการปฏิบตั ถิ กู ต้องใน อริยมรรคมีองค์ 8 ซึง่ มี 8 หัวข้อธรรม คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ), สัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ), สัมมาวาจา (การเจรจาชอบ), สัมมากัมมันตะ (การ กระทำชอบ), สัมมาอาชีวะ (การเลีย้ งชีพชอบ), สัมมาวายามะ (ความเพียร ชอบ), สัมมาสติ (ความระลึกชอบ), และสัมมาสมาธิ (ความตัง้ ใจมัน่ ชอบ) หรือกล่าวโดยสรุปคือ การปฏิบตั ติ นให้ถกู ต้องในทุก ๆ ด้านของ ชีวติ (สัมมา แปลว่าความถูกต้อง) มีกจิ ทีต่ อ้ งกระทำ คือให้เจริญ หรือ ฝึกฝนปฏิบตั ใิ ห้เกิดขึน้ การปฏิบตั ิ อริยมรรคมีองค์ 8 จะมีผลทำให้ ตัณหา หรือ 10
ความทะยานอยากหมดสิ ้ น ไป เมื ่ อ ตั ณ หาซึ ่ ง เป็ น เหตุ แ ห่ ง ทุกข์ในอริยสัจหมดสิน้ ไป ทุกข์ในอริยสัจ ก็พลอยหมดสิน้ ไปด้วย ภาวะของทุกขนิโรธ ก็จะปรากฏออกมาให้ประจักษ์ ทำไม อริยสัจ 4 จึงนำเสนอในลักษณะแสดงผลก่อนเหตุ และทำไมไม่แสดง “อวิชชา” เป็นสาเหตุแห่งทุกข์ในอริยสัจ ? มาถึงตรงนีอ้ าจจะมีทา่ นผูอ้ า่ นบางท่านเกิดความสงสัยขึน้ มา ว่า ทำไมการแสดงอริยสัจ 4 พระพุทธเจ้าจึงตรัสในส่วนทีเ่ ป็นผลก่อน แล้วจึงมาตรัสถึงเหตุ ทำไมไม่ตรัสแสดงเหตุกอ่ นแล้วจึงแสดงผลทีจ่ ะ เกิดตามมา ในทีน่ ข้ี ออธิบายว่า โดยหลักธรรมดาแล้ว การจะแสวงหาว่า อะไรทีเ่ ป็นสาเหตุ จะต้องมีเรือ่ งหรือปัญหา หรือประเด็นอันใดอันหนึง่ เป็นตัวตัง้ เสียก่อน หากไม่มปี ระเด็นทีเ่ ป็นตัวตัง้ ก่อนแล้ว จะเกิดการ แสวงหาสาเหตุได้อย่างไร ? ดังนัน้ ในอริยสัจ 4 จึงแสดงประเด็นของ ปัญหาขึน้ ก่อน ว่าคือ “ทุกขอริยสัจ” จากนัน้ จึงได้แสดงถึงสาเหตุเป็นลำดับ ต่อมาว่าคือ “ตัณหา” ในส่วนของ “นิโรธ” ทีเ่ ป็นผลนัน้ ทีต่ อ้ งแสดงไว้กอ่ น “มรรค” ที่ เป็นเหตุนน้ั มีเหตุผลคล้ายกัน คือ จะต้องรูเ้ ป้าหมายของการปฏิบตั ิ ตามทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอนเสียก่อน การปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง “มรรค” จึงจะ ไม่ผดิ พลาดหรือเขวไปทีอ่ น่ื เปรียบได้กบั การเดินทางของบุคคล จะต้อง กำหนดสถานทีท่ เ่ี ป็นเป้าหมายไว้กอ่ น เส้นทางการเดินทางจึงจะเกิดขึน้ เช่น จะไปจังหวัดเชียงใหม่ กับจะไปจังหวัดอุดรธานี เส้นทางการเดินทาง ของบุคคลย่อมแตกต่างกัน 11
สำหรับเรือ่ งสาเหตุแห่งทุกข์ ทีอ่ ริยสัจแสดงไว้วา่ คือ “ตัณหา” ไม่ได้แสดงว่าคือ “อวิชชา” (ในปฏิจจสมุปบาทได้แสดงว่าอวิชชาเป็น สาเหตุอนั ดับต้นทีท่ ำให้เกิดทุกข์ในอริยสัจ และเป็นสิง่ ทีป่ รุงแต่งให้เกิด ตัณหาในลำดับต่อมาด้วย) ก็เพราะเมือ่ เกิดตัณหาแล้ว กระแสปฏิจจสมุปบาทจะต้องปรุงแต่งต่อไปจนจบกระบวนธรรม เป็น อุปาทาน --> ภพ --> ชาติ ชรามรณะ หรืออุปาทานขันธ์ที่เป็นทุกข์ในอริยสัจในที่สุด อย่างแน่นอน ไม่สามารถหยุดยัง้ ได้ แต่ในกระแสปฏิจจสมุปบาททีเ่ ริม่ จากอวิชชา เมือ่ ปรุงแต่งมาจนถึงผัสสะหรือเวทนา หากมีสติตรงผัสสะ ก็สามารถกัน้ กระแสปฏิจจสมุปบาทไม่ให้เกิดตัณหาต่อไปได้ ดังนัน้ การ เริม่ ต้นทีอ่ วิชชานัน้ ไม่แน่วา่ จะปรุงแต่งไปจนถึงตัณหาหรือไม่ ซึง่ หาก ปรุงแต่งไปไม่ถึงตัณหาแล้ว อุปาทานขันธ์หรือทุกข์ในอริยสัจก็จะยัง ไม่เกิดขึน้ ดังนัน้ จึงถูกต้องแล้วทีใ่ นอริยสัจ 4 แสดงตัณหาว่าเป็นเหตุ แห่งทุกข์ ไม่ได้แสดงว่าอวิชชาเป็นเหตุแห่งทุกข์ ทุกข์ในอริยสัจ แตกต่างจากทุกข์ในเวทนา และทุกข์ในไตรลักษณ์ อย่างไร ? ดังทีไ่ ด้กล่าวไว้ในบททีผ่ า่ นมาว่า การจะเข้าใจความหมายของ ทุกข์ในอริยสัจ ได้ถูกต้องและถ่องแท้ บุคคลต้องสามารถจำแนกถึง ความแตกต่าง ๆ ของคำ 3 คำทีใ่ กล้เคียงกัน ซึง่ มีความหมายเป็นคนละ อย่างกัน แต่มคี วามสัมพันธ์กนั อย่างใกล้ชดิ ได้แก่คำว่า ทุกข์ในอริยสัจ ทุกข์ในเวทนา และทุกข์ในไตรลักษณ์ ในบทนีจ้ งึ ขอนำคำทัง้ 3 ดังกล่าว มาอธิบายเพือ่ ให้เข้าใจชัดเจนยิง่ ขึน้ ซึง่ จะมีผลทำให้การปฏิบตั เิ ป็นไป
12
โดยถูกต้อง และได้รบั ผลทีเ่ ป็นจุดมุง่ หมายตรงตามทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัส สอนอย่างแท้จริง ทุกข์ในอริยสัจ เป็นทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากอุปาทานหรือความ ยึดมัน่ ถือมัน่ ในขันธ์ 5 เป็นทุกข์ทบ่ี คุ คลปรุงแต่งให้เกิดขึน้ เอง ดังทีไ่ ด้ อธิบายในบททีแ่ ล้ว เป็นทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากความขัดแย้งของจิตทีย่ ดึ มัน่ ต้องการให้สิ่งที่ยึดมั่นนั้นดำรงอยู่ในสภาพอย่างที่ต้องการตลอดไป (นิจจัง) ไม่ให้เปลีย่ นสภาพไปเป็นอย่างอืน่ (สุขงั ) และให้เป็นไปตาม อำนาจการบังคับของตน (อัตตา) ซึง่ ไปขัดแย้งกับความจริงของธรรมชาติ ทีว่ า่ สิง่ ต่าง ๆ ล้วนเปลีย่ นแปลงไปตามเหตุปจั จัย (อนิจจัง) อยูใ่ นสภาวะ ทีท่ นอยูใ่ นสภาพเดิมไม่ได้ (ทุกขัง) และไม่อยูใ่ นอำนาจการบังคับของ ใคร (อนัตตา) เมื่อมีความขัดแย้งของจิตที่ยึดมั่นถือมั่นอยู่ กับความจริงที่ เป็นอยู่ จะทำให้เกิดทุกข์ในอริยสัจขึน้ ทุกข์ในอริยสัจนีเ้ ป็นทุกข์ทเ่ี ป็นปัญหาแท้จริงซึง่ เกิดขึน้ จาก การปรุงแต่งไปเองของบุคคล เป็นทุกข์ทส่ี ามารถดับให้หมดสิน้ ได้ อย่างเด็ดขาด ด้วยการดับอุปาทานหรือตัณหาให้หมดสิน้ ไป ทุกข์ในเวทนา เป็นทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากการกระทบกันของ อายตนะภายใน กับอายตนะภายนอก หรือกล่าวได้วา่ เป็นรสชาติทเ่ี กิดขึน้ จากการสัมผัสรับรูต้ อ่ สิง่ ต่าง ๆ ในกรณีของทุกขเวทนานัน้ บุคคลสามารถ ดับได้เฉพาะทุกขเวทนาทางใจเท่านัน้ ไม่สามารถดับทุกขเวทนา ทางกายให้หมดสิน้ ได้เลย เพราะเป็นทุกขเวทนาทีเ่ กิดขึน้ จากประสาท ทางกายไปสัมผัสรับรูก้ บั สิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ ป็นรูปธรรมทีอ่ ยูภ่ ายนอก มีกลไก การเกิดขึน้ เหมือนกันทุกคน เช่น มือถูกมีดบาด จะรูส้ กึ เจ็บเสมอเหมือน กันหมด ไม่วา่ จะเป็นปุถชุ นหรือพระอรหันต์กต็ าม 13
ทุกข์ในไตรลักษณ์ เป็นสามัญลักษณะประการหนึง่ ใน สามของสิง่ ทีเ่ ป็นสังขารธรรมหรือสิง่ ทีม่ ปี จั จัยปรุงแต่ง เรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า ทุกขัง เป็นทุกข์ในความหมายว่า ทนอยูใ่ นสภาพเดิมไม่ได้ เป็นกฎธรรมชาติทค่ี วบคุมความเป็นไปของสิง่ ต่าง ๆ ทีบ่ คุ คลต้องรูจ้ กั และ เข้าถึง เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือนำไปดับทุกข์ในอริยสัจโดยเฉพาะ ความสัมพันธ์ของทุกข์ทง้ั 3 ประเภท อาจแสดงให้เห็นได้ดงั นี้ เพราะไม่รคู้ วามจริงว่าสิง่ ต่าง ๆ ล้วนตกอยูภ่ ายใต้กฎไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงไปหลงและยึดมัน่ ในเวทนาทีเ่ กิดขึน้ จากการ สัมผัสรับรูต้ อ่ สิง่ ต่าง ๆ โดยอยากให้เวทนาทัง้ หลายเป็นไปดังใจ (นิจจัง สุขงั อัตตา) เมือ่ เกิดความขัดแย้งกันของสิง่ ทีย่ ดึ มัน่ อยูใ่ นใจกับความ เป็นจริงของธรรมชาติ จึงทำให้เกิดทุกข์ในอริยสัจขึน้ ทำอย่างไร จึงจะเข้าใจ “ตัณหา” ในทุกขสมุทยั และ “สัมมา” ในอริยมรรคมีองค์ 8 ได้ถกู ต้อง ? เมือ่ เข้าใจทุกข์ในอริยสัจชัดเจนแล้ว ประเด็นเบือ้ งต้นทีจ่ ะต้อง ทำความเข้าใจให้ชดั เจนต่อไป คือ “ตัณหา” หรือความทะยานอยากที่ เป็นสมุทยั และ “สัมมา” หรือความถูกต้องในองค์มรรคทัง้ 8 คืออะไร ? และมีอะไรเป็นเครือ่ งวินจิ ฉัยหรือตัดสินว่า ความเข้าใจนัน้ ๆ ถูกต้องดี แล้ว การจะรูว้ า่ อะไรคือ “ตัณหา” และอะไรคือ “สัมมา” ขอเสนอว่า บุคคลไม่สามารถหาคำตอบด้วยการใช้ความคิด หรือใช้กรอบของทฤษฎี ต่าง ๆ มาอธิบาย แต่คำตอบนัน้ มีอยูแ่ ล้วพร้อมมูลในตัวธรรมชาติของ 14
ชีวิตเอง กล่าวคือ ตัวธรรมชาติของชีวิตทั้งกายและจิตนั้นเอง กำลังป่าวประกาศคำตอบนั้นอยู่ทุกขณะ เพียงแต่มนุษย์เราอาจ จะไม่ได้สงั เกตและเฝ้าดูอย่างเพียงพอ หรือมัวแต่ไปสังเกตทีอ่ น่ื จึงไม่ พบคำตอบทีม่ าจากตัวธรรมชาติแท้ ๆ เพือ่ ให้การสังเกตและเฝ้าดูเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ ตรงเป้าหมาย ในทีน่ ้ี ขอเสนอให้สงั เกตและเฝ้าดูในแง่มมุ ทีว่ า่ ชีวติ คือ อะไร ? ต้องการอะไร ? เพือ่ อะไร ? และเนือ่ งจากชีวติ มีองค์ประกอบ ทีส่ ำคัญอยู่ 2 ส่วน คือ กายกับจิต ดังนัน้ จึงขอให้สงั เกตและเฝ้าดูวา่ กาย คืออะไร?….ต้องการอะไร?…...เพือ่ อะไร? จิต คืออะไร?….ต้องการอะไร?…...เพือ่ อะไร? เริม่ จากชีวติ ในส่วนกายก่อน เมือ่ สังเกตและเฝ้าดูจะพบว่า ธรรมชาติของกาย มีสว่ นทีแ่ ข็ง ส่วนทีเ่ หลว ส่วนทีเ่ คลือ่ นไหวลอยไปมาได้ และส่วนทีร่ อ้ น-เย็น ซึง่ ใน ภาษาธรรมะเรียกว่า ธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุลม และธาตุไฟ ธรรมชาติของชีวติ ฝ่ายกาย ก็คอื การประกอบกันเข้าของ ธาตุทง้ั 4 นีเ้ อง ชีวติ ฝ่ายกายมีความต้องการไหม? เราย่อมสามารถสังเกตได้ดว้ ยตนเองว่า ชีวติ ฝ่ายกายมีความ ต้องการตามธรรมชาติแน่นอน กล่าวโดยสรุปคือ ต้องการธาตุดิน ธาตุนำ้ ธาตุลม และธาตุไฟ จากธรรมชาติภายนอกซึง่ อยูใ่ นรูป ของปัจจัย 4 (อาหาร , เครือ่ งนุง่ ห่ม , ทีอ่ ยูอ่ าศัย และยารักษาโรค) โดยไม่ได้จำกัดว่าจะต้องเป็นอะไรหรืออยูใ่ นรูปแบบใด ขอแต่เพียงไม่เป็น พิษหรือก่อโทษให้เกิดขึน้ ต่อกายเท่านัน้ 15
เพือ่ อะไร? เพือ่ หล่อเลีย้ งและค้ำจุนชีวติ ฝ่ายกาย ให้สามารถดำรงอยู่ และทำหน้าทีไ่ ด้เป็นปกติ เพราะหากชีวติ ฝ่ายกายไม่ได้รบั ปัจจัย 4 จากธรรมชาติภายนอกแล้ว ก็ไม่สามารถดำรงอยูไ่ ด้ ในส่วนของชีวติ ฝ่ายจิตบ้าง เมื่อสังเกตและเฝ้าดูจะพบว่า ในตัวชีวิตยังมีธรรมชาติอีก ประเภทหนึง่ เป็นธรรมชาติรู้ ทีส่ ามารถรูส้ ง่ิ ต่างๆ ได้ ธรรมชาติรนู้ ้ี ก็คอื “จิต” นัน่ เอง จิต เป็น ธรรมชาติรู้ ธรรมชาติรนู้ ้ี มีความต้องการแท้ๆ ตามธรรมชาติ เช่น เดียวกันกับชีวติ ฝ่ายกายทีก่ ล่าวไปแล้วข้างต้นไหม ? คำตอบในทีน่ ค้ี อื มี ; แต่จะคืออะไรนัน้ อาจสังเกตได้ยากกว่า ชีวติ ในฝ่ายกาย ในทีน่ ้จี ะขอกล่าวโดยสรุปเลยว่า เนือ่ งจากจิตเป็นธรรมชาติรู้ ดังนัน้ สิง่ ทีจ่ ติ ต้องการ ก็คอื ปัญญา หรือความรูท้ ถ่ี กู ต้อง เพือ่ อะไร? เพือ่ หยุดความสงสัย หยุดความดิ้นรนกระวนกระวาย หรือหยุดปัญหาที่เกิดขึ้นจากความไม่รู้ของตัวจิตเอง เพราะ ตราบใดทีจ่ ติ ยังไม่รู้ถูกต้องหรือไม่รู้แจ้งในเรือ่ งใด เรือ่ งนัน้ ก็ยงั มีอนั พันพัวจิตให้ด้นิ รนด้วยความงุนงงสงสัย ไม่สามารถสงบ นิง่ เป็นปกติได้ ตัวอย่างในชีวติ จริงทีท่ กุ คนคงเคยประสบมาแล้ว คือในยามที่ มีปญ ั หาทำให้เกิดความกังวลหรือหนักใจในเรือ่ งใดก็ตาม ตราบใดทีจ่ ติ ยังไม่รวู้ า่ อะไรเป็นอะไร ยังมองไม่เห็นทางออก หรือไม่รคู้ ำตอบในการ 16
แก้ปญ ั หานัน้ จิตก็จะยังทุกข์และกังวลอยูต่ ราบนัน้ แต่ในขณะใดทีเ่ ห็น ทางออกและรูค้ ำตอบในการแก้ไขปัญหานัน้ ๆ จิตจะเกิดภาวะโล่งใจ อย่างทีม่ คี ำกล่าวว่า เหมือนยกภูเขาออกจากอก นีย่ อ่ มเป็นเครือ่ งแสดง ว่า สิง่ ทีจ่ ติ ต้องการจริง ๆ คือ ความรูท้ ถ่ี กู ต้อง หรือหากจะพิจารณาจากพุทธประวัติ ซึ่งมีเรื่องกล่าวไว้ว่า พระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญบารมีนานถึง 4 อสงไขยกับแสนกัปป์ หลังจาก ทีไ่ ด้รบั พุทธพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าทีปงั กร ทีท่ รงบำเพ็ญมาทัง้ หมด ต้องการอะไร ? คำตอบ คือ ต้องการโพธิญาณ หรือการตรัสรู้ รูแ้ จ้ง เห็นจริงในสรรพสิง่ นีย่ อ่ มเป็นสิง่ ยืนยันให้เห็นชัดเจนว่า สิง่ ทีจ่ ติ ต้องการ ตามธรรมชาติแท้ ๆ คือ ความรูแ้ จ้ง หรือ ความรูท้ ถ่ี กู ต้อง การสังเกตและเฝ้าดูชีวิตฝ่ายกายและฝ่ายจิตดังที่กล่าวมา จะทำให้รแู้ ละเข้าใจถึงความต้องการทีแ่ ท้จริงของชีวติ อย่างทีเ่ รียกว่า Need ซึง่ จะทำให้บคุ คลสามารถแยกแยะได้วา่ ความต้องการอย่างใด ทีเ่ ป็นตัณหา อย่างทีเ่ รียกว่า Want ซึง่ เป็นความต้องการทีบ่ คุ คลเข้าใจ ผิดไปเอง หรือใส่ลงไปให้กบั ตัวชีวติ เอง ทัง้ ๆ ทีธ่ รรมชาติของชีวติ แท้ ๆ ไม่ได้มคี วามต้องการนีเ้ ลย และเมือ่ เข้าใจถูกต้องในประเด็นทีว่ า่ ชีวติ คืออะไร ? ต้องการ อะไร ? เพือ่ อะไร ? จะทำให้บคุ คลมีความเข้าใจพืน้ ฐานทีถ่ กู ต้อง เป็น สัมมาในอริยมรรค มีองค์ 8 เพราะรูถ้ กู ต้องถึงธรรมชาติของชีวติ (=ชีวติ คืออะไร ?) สิง่ ทีต่ อ้ งกระทำในชีวติ (=ต้องการอะไร ?) และเป้าหมาย หรืออุดมคติทถ่ี กู ต้องของการมีชวี ติ (=เพือ่ อะไร ?) ซึง่ จะเป็นฐานข้อมูล สำคัญทีท่ ำให้วนิ จิ ฉัยความเป็น สัมมา ในอริยมรรค มีองค์ 8 ทัง้ หมด ต่อไปได้งา่ ยขึน้ 17
รูอ้ ริยสัจแล้ว ทำให้เกิดผลอะไร ? การรูร้ ายละเอียดของ อริยสัจ 4 ว่ามีขอ้ ธรรม 4 ข้อ คือ ทุกข์ สมุทยั นิโรธ และมรรค มีประโยชน์อะไร ? หรือนำไปสูอ่ ะไร ? คำตอบ คือ นำไปสูก่ ารเห็นเส้นทางการดำเนินชีวติ ทัง้ หมด ทัง้ สิน้ ของมนุษย์ อันทีจ่ ริงรวมไปถึงสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หลายด้วย แต่ในทีน่ ้ี จะกล่าวเน้นเฉพาะในบริบทของมนุษย์เพียงอย่างเดียว อธิบายว่า นอกจากพระพุทธเจ้าจะตรัสแสดงอริยสัจ 4 ทัง้ 4 หัวข้อแล้ว ยังได้แสดงความสัมพันธ์ของข้อธรรมทัง้ 4 ไว้อกี ว่า ทุกข์เป็นผล มาจากเหตุ คือ สมุทยั นิโรธเป็นผล มาจากเหตุ คือ มรรค ทำให้สามารถสรุปให้เห็นเส้นทางการดำเนินชีวติ ทัง้ หมดของ มนุษย์ได้วา่ มี 2 เส้นทางใหญ่ ๆ คือ เส้นทางชีวติ ทุกข์ (=ทุกข์ - สมุทยั ) และเส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ (=นิโรธ - มรรค) หรือจำแนกอีกนัยหนึง่ ว่า เส้นทางชีวติ ในระดับโลกียะ (=ทุกข์ - สมุทยั ) และเส้นทางชีวติ ในระดับ โลกุตตระ (=นิโรธ - มรรค) อริยสัจ 4 จึงเป็นเสมือนแผนทีช่ วี ติ ของมนุษย์ ทีท่ ำให้รเู้ ส้นทาง ชีวติ ทัง้ ทีถ่ กู และผิด ตลอดจนเป้าหมายทีแ่ ท้จริงของชีวติ จึงทำให้ผรู้ ู้ เข้าใจในอริยสัจ 4 มีความมัน่ ใจและอุน่ ใจในการดำเนินชีวติ เปรียบได้ กับการเดินทางของบุคคลทัว่ ไป ทีไ่ ปในสถานทีท่ ไ่ี ม่เคยไปมาก่อน ระหว่าง บุคคลทีม่ กี บั บุคคลทีไ่ ม่มแี ผนทีเ่ ส้นทางในการเดินทางติดตัวไป ย่อมให้ ความรูส้ กึ และให้ผลในการเดินทางทีแ่ ตกต่างกันมาก
18
(ทำให้รถู้ งึ ) เส้นทางชีวติ ทุกข์ และทีไ่ ม่ทกุ ข์ ต่อจากนี้ จะได้อธิบายรายละเอียดของเส้นทางชีวติ ตามทีไ่ ด้ จำแนกไว้ในบททีแ่ ล้วโดยสังเขป ซึง่ มี 2 นัยใหญ่ ๆ คือ เส้นทางชีวติ ทุกข์ - ทีไ่ ม่ทกุ ข์ กับเส้นทางชีวติ ในระดับโลกียะ - โลกุตตระ 1. เส้นทางชีวติ ทุกข์ (ทุกข์ - สมุทยั ) เป็นเส้นทางดำเนินชีวติ ทีเ่ อาความต้องการของตนหรือตัวตน (=ตัณหา) เป็นหลักหรือตัวนำใน การดำเนินชีวติ จึงทำให้มพี น้ื ฐานของชีวติ ทีจ่ ะก่อให้เกิดทุกข์ในอริยสัจ ซึง่ เป็นทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากความขัดแย้งของความอยากและความยึดมัน่ ทีอ่ ยูใ่ นใจกับความเป็นจริงของธรรมชาติ ได้งา่ ยและตลอดเวลา ซึง่ จะ ทุกข์มากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั ความหยาบ - ละเอียด และปริมาณ - คุณภาพ ของตัณหาทีม่ อี ยูเ่ ป็นสำคัญ 2. เส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ (นิโรธ - มรรค) เป็นเส้นทางดำเนิน ชีวติ ทีเ่ อาความถูกต้อง เป็นหลักหรือตัวนำในการดำเนินชีวติ (=อริยมรรคมีองค์ 8 ทุกองค์ขน้ึ ต้นด้วย สัมมา ซึง่ แปลว่าความถูกต้อง) จะทำให้ การดำเนินชีวติ เป็นไปอย่างถูกต้อง ไม่มคี วามขัดแย้งกับความเป็นจริง ของธรรมชาติ และไม่ทำให้เกิดทุกข์ในอริยสัจขึน้ (ทำให้รถู้ งึ ) เส้นทางชีวติ ในระดับโลกียะ และในระดับโลกุตตระ สำหรับ เส้นทางชีวติ ในระดับโลกียะ และในระดับโลกุตตระ อธิบายรายละเอียดได้ดงั นี้ 1. เส้นทางชีวติ ในระดับโลกียะ เป็นเส้นทางชีวติ ทีเ่ ป็น ไปตามวิสยั โลก โลกียะแปลว่าวิสยั โลก เป็นเส้นทางชีวติ เดียวกันกับ เส้นทางชีวติ ทุกข์ ซึง่ มีตณ ั หาเป็นตัวนำในการดำเนินชีวติ เป็นเส้นทาง 19
ชีวติ ทีม่ คี วามมุง่ หวังหรือต้องการในสิง่ ทีจ่ ติ รับรู้ ชีวติ ในระดับนีจ้ งึ ขึน้ ๆ ลง ๆ ไปตามสิง่ ทีจ่ ติ รับรู้ กล่าวคือเมือ่ รับรูว้ า่ เป็นสิง่ ทีน่ า่ ยินดีพอใจ จิตจะ รูส้ กึ ยินดีพอใจ แต่หากรับรูว้ า่ เป็นสิง่ ทีไ่ ม่นา่ ยินดีไม่นา่ พอใจ จิตก็จะรูส้ กึ ไม่ยนิ ดีไม่พอใจไปด้วย จิตถูกกระทำให้ ขึน้ ๆ ลง ๆ ฟู ๆ แฟบ ๆ อยู่ ตลอดเวลา เส้นทางชีวิตในระดับโลกียะยังจำแนกเป็นระดับหยาบและ ละเอียด ตามสิง่ ทีจ่ ติ เห็นว่าน่ายินดีหรือไม่นา่ ยินดี และคุณภาพของจิต ทีเ่ ข้าไปรับรูห้ รือเกีย่ วข้องด้วย สำหรับ สิง่ ต่าง ๆ ทีจ่ ติ รับรูแ้ ล้วมีผลทำให้จติ พอใจและไม่พอใจ จำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือสิง่ ทีเ่ ป็นรูปธรรม หรือสิง่ ทีเ่ นือ่ งด้วย รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย และสิง่ ทีเ่ ป็นนามธรรม หรือสิง่ ทีไ่ ม่ เนือ่ งด้วยรูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย กรณีสง่ิ ทีจ่ ติ รับรูเ้ ป็นรูปธรรม หรือทีเ่ นือ่ งด้วย รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย หากเข้าไปเกีย่ วข้องด้วยจิตทีป่ ระกอบอยูด่ ว้ ยความโลภ จะนำไปสูช่ วี ติ ในระดับโลกียะทีเ่ รียกว่า เปรต หากเข้าไปเกีย่ วข้องด้วยจิตทีป่ ระกอบอยูด่ ว้ ยความโกรธ จะนำไปสูช่ วี ติ ในระดับโลกียะทีเ่ รียกว่า สัตว์นรก หากเข้าไปเกีย่ วข้องด้วยจิตทีป่ ระกอบอยูด่ ว้ ยความหลง จะนำไปสูช่ วี ติ ในระดับโลกียะทีเ่ รียกว่า สัตว์เดรัจฉาน หากเข้าไปเกีย่ วข้องด้วยจิตทีป่ ระกอบอยูด่ ว้ ยความกลัว จะนำไปสูช่ วี ติ ในระดับโลกียะทีเ่ รียกว่า อสุรกาย หากเข้าไปเกีย่ วข้องด้วยจิตทีป่ ระกอบอยูด่ ว้ ยศีล 5 จะนำ ไปสูช่ วี ติ ในระดับโลกียะทีเ่ รียกว่า มนุษย์ 20
หากเข้าไปเกีย่ วข้องด้วยจิตทีป่ ระกอบอยูด่ ว้ ยหิริ -โอตตัปปะ จะนำไปสูช่ วี ติ ในระดับโลกียะทีเ่ รียกว่า เทวดา กรณีสิ่งที่จิตรับรู้เป็นนามธรรม หรือที่ไม่เนื่องด้วย รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย หรือภาวะทีเ่ ป็นสมาธิ หากเข้าไปเกีย่ วข้องด้วยจิตทีป่ ระกอบอยูด่ ว้ ยสมาธิใน ระดับรูปฌาน จะนำไปสูช่ วี ติ ในระดับโลกียะทีเ่ รียกว่า รูปพรหม หากเข้าไปเกีย่ วข้องด้วยจิตทีป่ ระกอบอยูด่ ว้ ยสมาธิใน ระดับอรูปฌาน จะนำไปสูช่ วี ติ ในระดับโลกียะทีเ่ รียกว่า อรูปพรหม กล่าวโดยสรุป ภาวะชีวติ ในระดับโลกียะ ก็คอื ภาวะของ จิตทีม่ คี วามติดยึดต่อสิง่ ต่างๆ ทีจ่ ติ รับรู้ โดยเวียนว่ายอยูใ่ น 31 ภพภูมิ นัน่ เอง 2. เส้นทางชีวิตในระดับโลกุตตระ เป็นเส้นทางชีวิตที่อยู่ เหนือวิสยั โลก โลกุตตระแปลว่าเหนือวิสยั โลก เป็นเส้นทางชีวติ เดียว กันกับ เส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ บนเส้นทางชีวติ ในระดับโลกุตตระนี้ ไม่ได้ มุง่ หวังสิง่ ใด ๆ ทีจ่ ติ รับรู้ แต่มเี ป้าหมายต้องการฝึกฝนจิตให้มที า่ ทีรบั รู้ ต่อสิง่ ต่าง ๆ ให้ถกู ต้อง จนไม่มสี ง่ิ ใดทีจ่ ติ รับรูแ้ ล้ว จะสามารถมีอทิ ธิพล ครอบงำ ร้อยรัด เสียดแทง หรือทำให้จติ ของบุคคลเกิดความหวัน่ ไหว ขึน้ ๆ ลง ๆ หรือ ฟู ๆ แฟบ ๆ หรือทำให้เกิดทุกข์ในอริยสัจขึน้ ได้ เป็นจิต ทีไ่ ม่มอี ะไรทีจ่ ะสามารถทำให้เกิดทุกข์ในอริยสัจได้อกี ต่อไป ภาวะชีวติ ในระดับโลกุตตระ จำแนกได้เป็น 4 ระดับ ตามระดับ ของจิตที่สามารถฝึกฝนปฏิบัติจนอยู่เหนืออิทธิพลของสิ่งต่าง ๆ ได้ กล่าวคือระดับโสดาบัน สกทาคามี อนาคามี และอรหันต์ ซึง่ จะได้แสดง ความหมายโดยละเอียดในบทต่อ ๆ ไป หรือมองในแง่มมุ ตรงข้ามกับเส้นทางชีวติ ในระดับโลกียะ เส้น 21
ทางชีวติ ในระดับโลกุตตระไม่ได้เป็นไปเพือ่ การเวียนว่ายอยูใ่ น 31 ภพภูมิ แต่เป็นเส้นทางชีวติ ทีม่ งุ่ ละหรือดับการเวียนว่ายใน 31 ภพภูมิ กล่าวคือ - พระโสดาบันและพระสกทาคามี เป็นผู้ละการเวียนว่าย ในอบายภูมิ 4 (คือ นรก เปรต อสุรกาย เดรัจฉาน) ได้อย่างเด็ดขาด - พระอนาคามี เป็นผูล้ ะการเวียนว่ายเพิม่ ขึน้ ในกามภพทัง้ หมด (คือมนุษย์ และเทวดา) ได้อย่างเด็ดขาด - พระอรหันต์ เป็นผูล้ ะการเวียนว่ายเพิม่ ขึน้ ในรูปภพและอรูป ภพทัง้ หมด (คือรูปพรหม และอรูปพรหม) ได้อย่างเด็ดขาด รูว้ า่ ทุกข์ในอริยสัจ มีระดับหยาบและละเอียด ทีจ่ ะต้องดับไปตามลำดับ การจะปฏิบตั ติ อ่ อริยสัจได้ถกู ต้อง ยังต้องรูว้ า่ ทุกข์ในอริยสัจมี ระดับหยาบและละเอียดทีจ่ ะต้องละหรือดับไปตามลำดับ เพราะหากไม่รู้ ในเรือ่ งนี้ จะทำให้บคุ คลปฏิบตั ไิ ม่ถกู ต้อง ทุกข์ในระดับหยาบทีค่ วรดับ ก่อน ก็ไม่ได้ทำ แต่มงุ่ จะไปดับทุกข์ในระดับละเอียดเลยทีเดียว ทัง้ ที่ ยังมีพน้ื ฐานไม่เพียงพอ จึงทำให้การปฏิบตั ธิ รรมไม่บรรลุผล และไม่กา้ ว หน้าเท่าทีค่ วร ในบทต่อไปนีจ้ งึ ขออธิบายระดับของทุกข์ในอริยสัจทีจ่ ะ ต้องทำให้หมดสิน้ ไปตามลำดับ รูว้ า่ อะไรคือสาเหตุของทุกข์ในอริยสัจในแต่ละระดับ การรูว้ า่ ทุกข์ในอริยสัจ คืออุปาทานขันธ์ 5 ทำให้รถู้ งึ ระดับความ หยาบและละเอียดของความทุกข์ทเ่ี ป็นไปตามลำดับ โดยพิจารณาจาก อุปาทาน ซึง่ เป็นตัวการสำคัญทีท่ ำให้เกิดทุกข์ในอริยสัจ 22
พระพุทธเจ้าตรัสจำแนกอุปาทาน เป็น 4 ประเภท คือ 1. กามุปาทาน เป็นอุปาทานทีเ่ นือ่ งด้วยกาม หรือรูป เสียง กลิน่ รส สัมผัสทางกาย ทีน่ า่ ใคร่นา่ พอใจ 2. ทิฏฐุปาทาน เป็นอุปาทานทีเ่ นือ่ งด้วยความเห็นผิด โดย เฉพาะในเรือ่ งของชีวติ และเป้าหมายทีแ่ ท้จริงของชีวติ 3. สีลพ ั พตุปาทาน เป็นอุปาทานทีเ่ นือ่ งด้วยศีลและพรต โดยเชือ่ ว่าด้วยเพียงการกระทำตามศีลและพรตบางอย่าง จะทำให้บรรลุ สิง่ สูงสุด 4. อัตตวาทุปาทาน เป็นอุปาทานที่เนื่องด้วยความรู้สึกที่ เป็นตัวตน หรือความรูส้ กึ ว่า “เรา” โดยมุง่ หวังทำให้ตวั ตนได้บรรลุใน สิง่ ทีด่ ที ส่ี ดุ ประเสริฐสูงสุด ในพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าไม่ได้ตรัสถึงการละอุปาทานทีเ่ ป็น ไปตามลำดับ แต่ได้แสดงไว้ชดั ในเรือ่ งของสังโยชน์ 10 ซึง่ ทำให้เห็นถึง การละสังโยชน์จากระดับหยาบไปจนถึงระดับละเอียด และทำให้บคุ คล บรรลุความเป็นพระอริยบุคคลไปตามลำดับ ดังนัน้ จึงเห็นว่าควรนำ เรือ่ งของสังโยชน์ มาแสดงไว้เพือ่ ประโยชน์แก่การพิจารณาในทีน่ ด้ี ว้ ย พระพุทธเจ้าตรัสจำแนกสังโยชน์ เป็น 10 ประเภท คือ 1. สักกายทิฏฐิ ความเห็นผิดว่าเป็นตัวของตน 2.วิจิกิจฉา ความลั ง เลสงสั ย ในพระรั ต นตรั ย หรื อ ความลังเลสงสัยในชีวติ หรือขาดความมัน่ ใจในการดำเนินชีวติ 3. สีลพั พตปรามาส ความถือมัน่ ในศีลและพรตอย่างงมงาย 4. กามราคะ ความกำหนัดในกาม หรือรูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกายทีน่ า่ รักน่าพอใจ 23
5. ปฏิฆะ ความหงุดหงิดขัดเคือง 6. รูปราคะ ความติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน 7. อรูปราคะ ความติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน 8. มานะ ความสำคัญตนด้วยการเปรียบเทียบกับผูอ้ น่ื 9. อุทธัจจะ ความฟุง้ ซ่าน 10. อวิชชา ความไม่รใู้ นอริยสัจ เมือ่ รูจ้ กั ว่าสังโยชน์ 10 คืออะไร จะทำให้เข้าใจความทุกข์ใน อริยสัจ ซึง่ จำแนกเป็น 4 ระดับได้งา่ ยยิง่ ขึน้ ดังนี้ ทุกข์ในอริยสัจระดับที่ 1 เป็นทุกข์ลำดับแรกทีจ่ ะทำให้หมด สิน้ ไปได้กอ่ น คือทุกข์ทเ่ี นือ่ งด้วยสักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา และสีลพั พตปรามาส เป็นทุกข์ทเ่ี กิดจากความเห็นผิดในเรือ่ งชีวติ ว่า “เป็นตัวตน” หรือ “มีตวั ตน” ความเห็นผิดนีท้ ำให้มที า่ ทีในการรับรูต้ อ่ สิง่ ต่าง ๆ อย่างผิด ๆ คือต้องการบังคับสิง่ ต่าง ๆ ให้เป็นไปตามทีต่ วั ตนต้องการ แต่เนือ่ งจาก สิง่ ต่าง ๆ ดำเนินไปตามกฎธรรมชาติ ไม่ได้ขน้ึ กับความต้องการของใคร ชีวิตที่มีความเห็นผิดจึงเป็นต้นธารของการเกิดขึ้นของทุกข์ในอริยสัจ ซึ่งเป็นทุกข์ที่เกิดจากความขัดแย้งดังที่ได้อธิบายไปแล้ว และผลของ ความขัดแย้งนีเ้ อง ทำให้จติ เกิดความลังเลสงสัยรบกวนจิตอยูต่ ลอดเวลา ว่า ทำไมสิง่ ต่าง ๆ จึงไม่เป็นไปดังทีจ่ ติ ต้องการ และเพือ่ ระงับความรูส้ กึ ทีร่ บกวนดังกล่าว จึงทำให้บคุ คลแสวงหาสิง่ ยึดเหนีย่ ว ซึง่ มักจะได้แก่ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ เ่ี ชือ่ ว่ามีอำนาจดลบันดาลหรือให้ความคุม้ ครอง เรียกบุคคล ทีส่ ามารถดับทุกข์ในระดับนีไ้ ด้อย่างเด็ดขาดว่า พระโสดาบัน ทุกข์ในอริยสัจระดับที่ 2 มีนยั เช่นเดียวกันกับในระดับที่ 1 แต่สามารถทำให้กเิ ลสคือ ราคะ โทสะ และโมหะ เบาบางลงไปอีก เรียก บุคคลในระดับนีว้ า่ พระสกทาคามี 24
ทุกข์ในอริยสัจระดับที่ 3 เป็นทุกข์ทเ่ี นือ่ งด้วยกามราคะและ ปฏิฆะ หรืออาจสรุปว่าเป็นทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากยึดติดในรสชาติของความสุข ทีม่ าจาก รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย หรือทีม่ าจากสิง่ ทีเ่ ป็นรูปธรรม เรียกบุคคลทีส่ ามารถดับทุกข์ในระดับนีไ้ ด้อย่างเด็ดขาดว่า พระอนาคามี ทุกข์ในอริยสัจระดับที่ 4 เป็นทุกข์ทเ่ี นือ่ งด้วยรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา หรืออาจสรุปว่าเป็นทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากยึดติด ในรสชาติของความสุขทีม่ าจากสมาธิระดับฌาน หรือสิง่ ทีเ่ ป็นนามธรรม ทีพ่ น้ ไปจาก รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย เรียกบุคคลทีส่ ามารถ ดับทุกข์ในระดับนีไ้ ด้อย่างเด็ดขาดว่า พระอรหันต์ กล่าวโดยสรุป สิง่ ต่าง ๆ ในโลกสามารถจัดแบ่งเป็นธรรมชาติ ได้ 2 ฝ่ายใหญ่ ๆ คือ ธรรมชาติฝา่ ยรูปธรรม และธรรมชาติฝา่ ยนามธรรม ดังนัน้ ปัญหาทีจ่ ะเกิดขึน้ กับจิต จึงขึน้ อยูก่ บั การรับรูข้ องจิตทีม่ ตี อ่ ธรรมชาติทง้ั 2 ฝ่ายนี้ และสิง่ ทีเ่ ป็นสาระสำคัญหรือมีอทิ ธิพลต่อการรับรูข้ อง จิตมากทีส่ ดุ คือรสชาติทเ่ี กิดขึน้ จากการสัมผัสรับรูข้ องจิตต่อธรรมชาติ ทัง้ 2 ฝ่าย ดังนัน้ เพือ่ ความเข้าใจทีง่ า่ ยขึน้ จึงสามารถประมวลความทุกข์ ในอริยสัจ ได้ในอีกบริบทหนึง่ ทีบ่ คุ คลในปัจจุบนั อาจเข้าใจได้ดกี ว่า เป็น 3 ระดับใหญ่ ๆ คือ (1) ความทุกข์ในอริยสัจทีเ่ กิดขึน้ จากความเห็นผิดในธรรมชาติฝา่ ยรูปธรรม หรือฝ่ายนามธรรม ว่าเป็นตัวตน (=ระดับพระโสดาบัน และระดับพระสกทาคามี) (2) ความทุกข์ในอริยสัจทีเ่ กิดขึน้ จากการยึดติดในรสชาติ ของความสุขทีเ่ กิดจากการสัมผัสรับรูต้ อ่ ธรรมชาติฝา่ ยรูปธรรม (=ระดับ พระอนาคามี) 25
(3) ความทุกข์ในอริยสัจทีเ่ กิดขึน้ จากการยึดติดในรสชาติ ของความสุขทีเ่ กิดจากการสัมผัสรับรูต้ อ่ ธรรมชาติฝา่ ยนามธรรมทีพ่ น้ ไป จาก รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย(=ระดับพระอรหันต์) เคล็ดวิธปี ฏิบตั ธิ รรม เมือ่ มีความรูใ้ นปริยตั ทิ จ่ี ำเป็นต่อการปฏิบตั อิ ย่างเพียงพอแล้ว ต่อจากนีไ้ ปจะเข้าสูเ่ รือ่ งการปฏิบตั ธิ รรม ซึง่ หนังสือนีจ้ ะเน้นการปฏิบตั ิ ธรรมในระดับโลกุตตระ ที่มุ่งหมายการดับทุกข์ดับกิเลสเป็นสำคัญ ทัง้ นีเ้ พราะเห็นว่าการปฏิบตั ธิ รรมในระดับโลกียะ ทีม่ จี ดุ มุง่ หมายให้ได้ รับสิง่ ดี ๆ ทีน่ า่ พอใจน่าปรารถนา เช่น กุศลกรรมบท 10, พรหมวิหาร 4, สังคหวัตถุ 4, ทิศ 6 เป็นทีร่ เู้ ข้าใจ และรูจ้ กั ปฏิบตั กิ นั ดีอยูแ่ ล้ว โดยจะ ขอนำเสนอในลักษณะทีเ่ ป็น “เคล็ดวิธปี ฏิบตั ”ิ (เคล็ด มีความหมายว่า วิธกี ารทีฉ่ ลาด พลิกแพลง ใช้ในการอย่างใดอย่างหนึง่ ) ซึง่ นอกจากจะ นำเสนอวิธีการปฏิบัติแล้ว ยังมุ่งหวังที่จะชี้ให้เห็นจุดสำคัญ รวมทั้ง จุดมุง่ หมายของการปฏิบตั ิ ตลอดจนความสัมพันธ์ทเ่ี ชือ่ มโยงกับเรือ่ ง ต่าง ๆ โดยรอบด้าน ซึง่ จะช่วยทำให้การปฏิบตั ธิ รรมไม่ตดิ ในรูปแบบ มีความเป็นอิสระ และยังทำให้บคุ คลสามารถพลิกแพลงการปฏิบตั ไิ ด้ อย่างคล่องตัวอีกด้วย สำหรับการปฏิบตั ธิ รรมในระดับโลกุตตระ เพือ่ ความดับสิน้ ไป แห่งกิเลสหรือทุกข์ในอริยสัจนัน้ พระพุทธเจ้าได้ตรัสแสดงไว้หลายหมวด เช่น อริยมรรคมีองค์ 8, ไตรสิกขา, อานาปานสติ 16 ขั้น, สติปัฏฐาน 4 (ในมหาสติปฏั ฐานสูตร), สมถ-วิปสั สนา ฯลฯ สำหรับหนังสือนี้ จะขอ เลือกนำเสนอเฉพาะในบางหมวดธรรมทีเ่ ห็นว่าค่อนข้างง่ายและเหมาะ สำหรับบุคคลทัว่ ไป ใน 3 หมวดธรรม ดังต่อไปนี้ 26
1. อริยมรรค มีองค์ 8 ในอริยสัจ 4 เป็นการปฏิบตั ใิ น 8 เรือ่ งด้วยกัน คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) สัมมาสังกัปปะ (ความ ดำริชอบ) สัมมาวาจา (วาจาชอบ) สัมมากัมมันตะ (การกระทำชอบ) สัมมาอาชีวะ (การเลีย้ งชีพชอบ) สัมมาวายามะ (ความเพียรชอบ) สัมมาสติ (ความระลึกชอบ) สัมมาสมาธิ (ความตัง้ ใจมัน่ ชอบ) 2. ไตรสิกขา เป็นการปฏิบตั ใิ น 3 เรือ่ งด้วยกัน คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เป็นการประมวลการปฏิบตั จิ ากอริยมรรค มีองค์ 8 ซึง่ มี เรือ่ งทีจ่ ะต้องปฏิบตั ิ 8 เรือ่ งให้เหลือเพียง 3 เรือ่ ง เพือ่ ให้การปฏิบตั เิ ป็น ไปโดยง่ายขึน้ และเห็นจุดมุง่ หมายทีเ่ ป็นขัน้ เป็นตอน และเป็นไปตาม ลำดับชัดเจนยิง่ ขึน้ กล่าวคือ จาก สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ รวบเข้า มาเป็น ศีล จาก สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ รวบเข้ามา เป็นสมาธิ จาก สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ รวบเข้ามาเป็นปัญญา 3. สติ เป็นการปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง สติ ซึง่ ได้สงั เคราะห์มาจาก “อัปปมาทธรรม” หรือ “ความไม่ประมาท” พระพุทธเจ้าได้ตรัสแสดงไว้วา่ คือ “สติ” เป็นธรรมทีค่ รอบคลุมธรรมอืน่ ๆ ทัง้ หมด เปรียบได้กบั รอยเท้าช้าง ซึง่ รอยเท้า ของสัตว์บนบกทัง้ หลาย ย่อมนำมาหยัง่ ลงในรอยเท้าช้างนีไ้ ด้ทง้ั หมด 2 การปฏิบัติในเรื่องสตินี้ มีจุดมุ่งหมายที่จะรวบการปฏิบัติ จาก 3 เรือ่ งในไตรสิกขา ให้เหลือเพียงเรือ่ งเดียว ซึง่ จะช่วยทำให้ภาระ ในการปฏิบตั นิ อ้ ยลง ช่วยลดความสับสน ทำให้การปฏิบตั งิ า่ ยขึน้ และ สะดวกขึน้ ซึง่ จะได้อธิบายโดยละเอียดต่อไป 2
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ 15 ข้อที่ 379
27
การปฏิบตั ติ ามหลักอริยมรรคมีองค์ 8 การปฏิบตั ติ ามหลักอริยมรรค มีองค์ 8 เป็นวิธกี ารปฏิบตั ทิ เ่ี ป็น มาตรฐานทีส่ ดุ และพืน้ ฐานทีส่ ดุ พระพุทธเจ้าได้ตรัสแสดงรายละเอียด ของการปฏิบตั ใิ นแต่ละหัวข้อไว้อย่างชัดเจนแล้ว บุคคลเพียงแต่ทำความ เข้าใจในเนือ้ หารายละเอียดให้ถกู ต้อง และปฏิบตั ใิ ห้ได้ตามนัน้ ก็จะนำ บุคคลให้ได้รบั สิง่ ทีด่ แี ละประเสริฐทีส่ ดุ และบรรลุเป้าหมายสูงสุด คือ ดับทุกข์ดบั กิเลสได้ในทีส่ ดุ การปฏิบตั ิ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) ในพระไตรปิฎกแสดงเนือ้ หารายละเอียดของสัมมาทิฏฐิวา่ คือ “ความเห็นหรือความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่อง อริยสัจ 4” ซึง่ ได้อธิบายภาพรวมของอริยสัจ 4 ไว้อย่างละเอียดแล้วในบทก่อน ๆ การมีความรู้ความเข้าใจในสัมมาทิฏฐิได้ถูกต้อง ทำให้เกิด สิง่ ทีเ่ รียกว่า “ธรรมจักษุ” หรือ “ดวงตาเห็นธรรม” ขึน้ กล่าวคือทำให้ เห็น “ทาง” ของชีวติ รูว้ า่ ปัญหาทีแ่ ท้จริงและเป้าหมายทีแ่ ท้จริงของ ชีวติ คืออะไร และรูว้ า่ จะดำเนินชีวติ ทีถ่ กู ต้องต่อไปอย่างไร การปฏิบตั ติ ามหลักอริยมรรค มีองค์ 8 ทีก่ ำหนดให้เริม่ ต้นการ ปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง สัมมาทิฏฐิ ก่อน เป็นสิง่ ที่มนี ยั สำคัญ หมายความว่า ลำดับแรกสุดของการปฏิบตั ิ บุคคลจะต้องปรับทัศนคติหรือความเห็น ในเรือ่ งชีวติ ให้ถกู ต้องเสียก่อน จึงจะทำให้การปฏิบตั ใิ นเรือ่ งอืน่ ๆ ต่อไป เป็นไปโดยถูกต้อง หากทัศนคติในเรือ่ งชีวติ ของบุคคลยังไม่ถกู ต้องแล้ว เรือ่ งอืน่ ๆ ก็ยอ่ มไม่ถกู ต้องไปด้วย เหมือนกับบุคคลทีต่ ดิ กระดุมเม็ด แรกผิด ย่อมทำให้ตดิ กระดุมเม็ดอืน่ ผิดตามไปด้วย 28
สำหรับวิธปี ฏิบตั เิ พือ่ ให้มี “สัมมาทิฏฐิ” นัน้ บุคคลปฏิบตั ิ ได้ดว้ ยการหมัน่ พิจารณาและไตร่ตรองเนือ้ หาของอริยสัจ 4 จน เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ว่าทุกข์ สมุทยั นิโรธ และมรรค ใน อริยสัจ 4 คืออะไร ? รูแ้ ละเข้าใจชัดว่า ปัญหาทีแ่ ท้จริงของชีวติ คือ ทุกข์ในอริยสัจ (อุปาทานขันธ์ 5) สิง่ ทีด่ ที ส่ี ดุ หรือเป้าหมายสูงสุดของ ชีวติ คือความไม่มที กุ ข์ (นิโรธ) รูว้ า่ จะต้องไม่ดำเนินชีวติ ไปตามความ ทะยานอยาก (ตัณหา) ของตน ซึง่ จะนำพาไปสูท่ กุ ข์ แต่จะดำเนินชีวติ ไปตามความถูกต้อง หรือตามเหตุปจั จัยทีถ่ กู ต้อง (มรรค) ซึง่ จะนำพา ไปสูค่ วามไม่มที กุ ข์ เรือ่ งของสัมมาทิฏฐิ อันทีจ่ ริงเป็นเรือ่ งทีก่ ว้างขวางมาก อย่างที่ เรียกว่าครอบจักรวาล การให้ความหมายของสัมมาทิฏฐิวา่ คือ ความรู้ ความเข้าใจในเรือ่ งทุกข์ สมุทยั นิโรธ และมรรค เป็นเพียงแต่การให้ ความหมายอย่างย่อทีเ่ รียกว่าอุเทศ แต่ในการนำสัมมาทิฏฐิไปใช้จริง จะต้องรูเ้ ข้าใจในเนือ้ หาหรือรายละเอียดของแต่ละเรือ่ งด้วย โดยเฉพาะ ในแง่มมุ ทีว่ า่ รูอ้ ย่างไรเกีย่ วข้องอย่างไร จะทำให้เกิดทุกข์ และรูอ้ ย่างไร เกีย่ วข้องอย่างไร จึงจะไม่เกิดทุกข์ ดังนัน้ เพือ่ ให้ได้ประโยชน์ในเรือ่ ง สัมมาทิฏฐิอย่างเต็มที่ จึงควรเรียนรูแ้ ละแสวงหาสัมมาทิฏฐิในเรือ่ งที่ เกีย่ วข้องกับชีวติ ในแง่มมุ ต่าง ๆ ให้ครอบคลุมและเพียงพอ ก็จะทำให้ การดำเนินชีวติ เป็นไปด้วยดี ในทีน่ จ้ี งึ ขอเสนอให้เรียนรูห้ รือแสวงหาสัมมาทิฏฐิหรือความเห็นทีถ่ กู ต้องในเรือ่ งต่าง ๆ ทีส่ ำคัญ ๆ ของชีวติ ดังนี้ 1. สัมมาทิฏฐิ ในเรือ่ งชีวติ โดยเฉพาะในประเด็นทีว่ า่ ชีวติ คืออะไร ? ต้องการอะไร ? เพือ่ อะไร ? (โปรดอ่านทบทวนในหน้า 14 ถึง 17) จะทำให้บคุ คลรูเ้ ข้าใจชัดเจนว่า ความต้องการทีแ่ ท้จริงของชีวติ 29
กับความต้องการทีเ่ ป็นตัณหา คืออะไร ? แตกต่างกันอย่างไร ? ความ ถูกต้องหรือสัมมาในเรือ่ งต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับชีวติ คืออะไร ? สัมมาทิฏฐิ ในเรือ่ งชีวติ นี้ เป็นพืน้ ฐานสำคัญทีท่ ำให้รแู้ ละเข้าใจสัมมาทิฏฐิในเรือ่ ง อืน่ ๆ ต่อไปได้งา่ ย หากยังไม่เข้าใจสัมมาทิฏฐิในเรือ่ งชีวติ ให้ถกู ต้องและ เพียงพอแล้ว ก็ยากทีจ่ ะเข้าใจสัมมาทิฏฐิในแง่อน่ื ๆ ทีจ่ ะกล่าวต่อไปให้ ถูกต้องได้ 2. สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งปัจจัย 4 คือเรือ่ ง อาหาร เครือ่ งนุง่ ห่ม ทีอ่ ยูอ่ าศัย และยารักษาโรค ซึง่ เป็นสิง่ จำเป็นพืน้ ฐานสำหรับการดำรง ชีวติ สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งปัจจัย 4 นี้ กล่าวโดยสรุป คือความเห็นว่า เป็น ธาตุ 4 จากภายนอกทีน่ ำมาหล่อเลีย้ งค้ำจุนธาตุ 4 ของชีวติ ฝ่ายกาย โดยให้ผลสูงสุด คือทำให้ดำรงอยู่ได้เป็นปกติ ให้มีสุขภาพแข็งแรง ไม่ให้เจ็บป่วย หรือเกิดความพิกลพิการ ไม่เห็นผิดหรือให้คณ ุ ค่าความหมาย ผิด ๆ เกินเลยไปจากความจริงทีเ่ ป็นอยู่ 3.สัมมาทิฏฐิในเรื่องสิ่งอำนวยความสะดวกสบาย เช่น รถยนต์ อุปกรณ์เครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ มีสาระโดยสรุปได้วา่ เป็นสิง่ ทีท่ ำให้ บุคคลได้รบั ความสะดวกสบายหรือรวดเร็วมากขึน้ ทำให้เหน็ดเหนือ่ ย น้อยลง ไม่เห็นผิดว่าเป็นเครือ่ งวัดความสำเร็จ หรือวัดสถานภาพสูง ต่ำของบุคคล เป็นต้น 4. สัมมาทิฏฐิในเรื่องการเรียน มีสาระโดยสรุปคือ เพื่อ สร้างเสริมความรูค้ วามสามารถทีจ่ ะไปประกอบวิชาชีพ และสิง่ ทีเ่ ป็น ผลลัพธ์สงู สุดของการเรียนจริง ๆ คือการเสริมสร้างสติ สมาธิ และปัญญา ของบุคคลให้แก่กล้าและมีมากเพียงพอ ซึ่งทั้ง 3 สิ่งนี้เป็นเครื่องมือ สำคัญทีน่ ำไปใช้ในทุกสถานการณ์ของชีวติ เพือ่ ให้ชวี ติ ดำเนินไปด้วยดี 30
และบรรลุเป้าหมายทีแ่ ท้จริง ไม่เห็นผิดไปว่าเรียนเพือ่ จะได้เป็นเจ้าคน นายคน เป็นต้น 5. สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการมีครอบครัว ในกรณีของบุคคล ทัว่ ไป มีความเข้าใจว่า เพือ่ ความสุข ความอบอุน่ และความมัน่ คงของ ชีวติ แต่ในกรณีของบุคคลผูม้ เี ป้าหมายชีวติ เพือ่ ความดับทุกข์ดบั กิเลส และยังประสงค์จะมีครอบครัว ก็สามารถมีครอบครัวได้ เพราะแม้แต่ พระอริยบุคคลในระดับต้น คือพระโสดาบันและพระสกทาคามี ก็ไม่มี ข้อห้ามหรือข้อจำกัดในเรือ่ งการมีครอบครัวแต่ประการใด แต่บคุ คลต้อง ปรับความรูค้ วามเข้าใจถึงคุณค่าและความหมายของการมีครอบครัวใหม่ ด้วยการยอมรับว่าตนยังมีจติ ใจและปัญญาไม่เข้มแข็งพอ ยังไม่สามารถ เอาชนะหรืออยูเ่ หนือสังโยชน์เบือ้ งกลาง คือ กามราคะและปฏิฆะได้ ดังนัน้ สาระสำคัญของการมีครอบครัวในแบบหลังนี้ จึงไม่ได้มเี ป้าหมาย อยู่ที่ความสุขและความมั่นคงของชีวิตเป็นต้น อย่างในบุคคลทั่วไป แต่กลับมี เป้าหมายอยูท่ ก่ี ารศึกษาและเรียนรูเ้ พือ่ ให้เกิดความรูแ้ จ้งใน เรือ่ งกามราคะและปฏิฆะเป็นสำคัญ จนเกิดปัญญาและสามารถเอา ชนะสังโยชน์ทง้ั 2 นีไ้ ด้ในทีส่ ดุ 6. สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการทำงาน คุณค่าความหมายในขัน้ พื้นฐานของการทำงานที่แท้จริง เป็นวิธีแสวงหาให้ได้มาซึ่งปัจจัย 4 อันเป็นปัจจัยพืน้ ฐานสำหรับการดำรงชีวติ หากเป็นคุณค่าความหมาย ในขัน้ สูง “การทำงานคือการปฏิบตั ธิ รรม” กล่าวคือ อาศัยการทำงาน นี้เองเป็นแบบฝึกหัดเบื้องต้นในการปฏิบัติธรรม หากบุคคลสามารถ ปฏิบตั งิ านได้เรียบร้อยและให้ลลุ ว่ งไปด้วยดี ก็เป็นเครือ่ งแสดงให้เห็นว่า เป็นผูม้ สี ติ สมาธิ ปัญญา ในระดับเบือ้ งต้นเพียงพอทีจ่ ะปฏิบตั ธิ รรม ในระดับสูงให้มคี วามก้าวหน้าได้ตอ่ ไป 31
7. สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งตำแหน่ง ให้รเู้ ข้าใจว่า ตำแหน่งเป็น เพียงสิง่ ทีบ่ อกให้รวู้ า่ ใครมีหน้าทีอ่ ะไร ต้องทำอะไรในระบบงานเท่านัน้ ซึ่งอันที่จริงทุกตำแหน่งมีความสำคัญด้วยกันทั้งนั้น เป็นเสมือนฟัน เฟืองน้อยใหญ่ทช่ี ว่ ยกันทำให้งานทัง้ ระบบดำเนินไปได้ ไม่เข้าใจผิดต่อ เรื่อง “ตำแหน่ง” โดยไปเห็นว่าเป็นสิ่งหรือเครื่องวัดที่บอกให้รู้ว่าใคร ใหญ่กว่าใคร หรือใครประสบความสำเร็จมากกว่าใคร ทั้ง ๆ ที่โดย ความเป็นจริงแล้ว จะขาดตำแหน่งใด ๆ ไปไม่ได้เลย 8. สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งเกียรติ ให้รแู้ ละเข้าใจว่า ไม่ได้มไี ว้เพือ่ ให้นำไปยกหูชหู าง หรือสำคัญผิดว่าตนอยูส่ งู กว่าบุคคลอืน่ แต่อย่างใด แต่เป็นสิง่ ทีส่ งั คมแสดงความยกย่องบุคคลให้เป็นทีป่ รากฏ เพือ่ ให้เป็น ตัวอย่างแก่บคุ คลทัว่ ไป ทีจ่ ะเอาแบบอย่างและทำตาม สัมมาทิฏฐิทน่ี ำมาแสดงไว้ขา้ งต้น เป็นสัมมาทิฏฐิเกีย่ วกับเรือ่ ง ใหญ่ ๆ ในชีวติ ของบุคคลทีจ่ ะต้องพบเจอเป็นประจำ เป็นตัวอย่างให้ เห็นถึงการทำหน้าทีข่ องสัมมาทิฏฐิ ทีเ่ ป็นเครือ่ งนำทางให้บคุ คลเข้าไป ทำหน้าทีแ่ ละเกีย่ วข้องกับสิง่ ต่าง ๆ ด้วยความถูกต้อง โดยไม่กอ่ ให้เกิด ความทุกข์และความเดือดร้อนทัง้ ต่อตนเองและผูอ้ น่ื ในกรณีทเ่ี ป็นเรือ่ ง อืน่ ๆ นอกจากทีก่ ล่าวไปแล้วนีก้ เ็ ช่นเดียวกัน ก่อนทีจ่ ะเข้าไปทำหน้าที่ และเกีย่ วข้อง ให้แสวงหาสัมมาทิฏฐิ ในเรือ่ งนัน้ ๆ ให้ถกู ต้องเสียก่อน จากนัน้ จึงค่อยกระทำไปตามสัมมาทิฏฐิ ก็จะทำให้ชวี ติ ดำเนินอยูบ่ น เส้นทางทีไ่ ม่ทกุ ข์ ปลอดพ้นจากความบีบคัน้ และร้อยรัดเสียดแทงจิต อย่างแท้จริงได้ การปฏิบตั ิ สัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ) สัมมาสังกัปปะ เป็นมรรคองค์ท่ี 2 ซึง่ บุคคลจะต้องรูจ้ กั และ 32
ฝึกปฏิบตั ใิ นลำดับถัดไปต่อจากสัมมาทิฏฐิทไ่ี ด้กล่าวไปแล้ว สัมมาสังกัปปะ คือความดำริชอบ พระพุทธเจ้าได้ทรงให้ อรรถาธิบายว่า คือความดำริในการออกจากกาม (เนกขัมมสังกัปป์) ความดำริในการออกจากพยาบาท (อพยาบาทสังกัปป์ ) และความ ดำริในการออกจากการเบียดเบียน (อวิหงิ สาสังกัปป์) การมีสมั มาทิฏฐิ ทำให้บคุ คลรูว้ า่ ควรจะเข้าไปรับรูแ้ ละทำหน้าที่ หรือเกีย่ วข้องกับสิง่ ต่าง ๆ อย่างไร แต่เมือ่ เข้าไปทำหน้าทีจ่ ริง ๆ ทัง้ ๆ ทีร่ ู้ ก็ยงั อาจมีความรูส้ กึ ชอบหรือชังของบุคคลทีม่ ตี อ่ เรือ่ งหรือสิง่ นัน้ ๆ เกิดขึน้ ได้ และทำให้เกิดการเบีย่ งเบนของการกระทำ ออกไปจากคลอง ของสัมมาทิฏฐิ แล้วไปกระทำตามความรูส้ กึ ทีช่ อบและชังนัน้ จนทำให้ เกิดการเบียดเบียนกันขึน้ ในทางใดทางหนึง่ ทำให้ความทุกข์และความ เดือดร้อนขยายตัวออกไป ดังนั้น จึงต้องมีปัญญาที่เรียกว่า สัมมาสังกัปปะ คอย กำกับจิตไม่ให้ดำริไปหลงรักหรือหลงชอบ (=เนกขัมมสังกัปป์) ไม่ให้ดำริไปหลงเกลียดหรือหลงชัง (=อพยาบาทสังกัปป์) และ ไม่ให้ดำริไปหลงกระทำตามอารมณ์ทช่ี อบและชังนัน้ จนทำให้ เกิดความเบียดเบียน หรือความทุกข์ทง้ั ต่อตนเองและบุคคลอืน่ (=อวิหงิ สาสังกัปป์) การปฏิบตั เิ รือ่ งสัมมาสังกัปปะอีกนัยหนึง่ คือการดำรงชีวติ ที่ ให้กายอยูห่ ลีกห่างจาก รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย ทีม่ ี ลักษณะชักชวนให้เกิดความรูส้ กึ ในทางกามได้งา่ ย และในส่วนของจิต ก็ระมัดระวังอย่าให้หลงใหลหรือจมอยู่ในอารมณ์ของกามคุณด้วย เพราะสิง่ เหล่านีเ้ ป็นอุปสรรคสำคัญทีข่ วางกัน้ ไม่ให้กา้ วหน้าในการเจริญ มรรคมีองค์ 8 ซึง่ มีพระพุทธพจน์ตรัสไว้โดยสรุปว่า “ไม้สดทีช่ มุ่ ยางและ 33
จมอยูใ่ นน้ำ ย่อมไม่สามารถนำมาจุดติดไฟได้ ...ต้องเป็นไม้แห้งทีไ่ ม่ชมุ่ ยาง และนำขึน้ มาไว้บนบก จึงจะนำมาจุดติดไฟได้” ความหมายของ “ชุม่ ยาง” และ“อยูใ่ นน้ำ” คือการทีท่ ง้ั จิตและกายยังพัวพันอยูด่ ว้ ยกามคุณ 3 ซึง่ เป็นสภาวะทีไ่ ม่เหมาะสำหรับการดำเนินชีวติ บนเส้นทางแห่งมรรคมีองค์ 8 องค์มรรคทัง้ 2 คือ สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ พระพุทธเจ้าได้สงเคราะห์จดั ให้อยูใ่ นกลุม่ ของ ปัญญาขันธ์ ซึง่ เป็นปัญญาทีเ่ ป็น เครือ่ งนำทาง และปัญญาทีค่ อยกำกับจิต เมือ่ มีองค์มรรคทัง้ 2 นีแ้ ล้ว ก็ทำให้สามารถปฏิบตั มิ รรคองค์อน่ื ๆ โดยถูกต้องต่อไปได้ การปฏิบตั ิ สัมมาวาจา (เจรจาชอบ) สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ) สัมมาอาชีวะ (เลีย้ งชีพชอบ) เมือ่ มีสมั มาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะแล้ว หมายความว่าบุคคล มีความพร้อมทัง้ ในส่วนของความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องทีจ่ ะเข้าไปรับรู้ และเกีย่ วข้องกับสิง่ ต่าง ๆ รวมทัง้ ในส่วนของปัญญาทีส่ ามารถควบคุม จิตไม่ให้ตกอยูภ่ ายใต้อารมณ์ชอบหรือชัง ตลอดจนรูจ้ กั จัดชีวติ ความ เป็นอยูใ่ ห้เหมาะสมและเกือ้ กูล ไม่ให้เรือ่ งของกามมาเป็นอุปสรรคแก่ การปฏิบัติเพื่อความดับสิ้นไปแห่งทุกข์ จึงเป็นผู้พร้อมที่จะเข้าเผชิญ กับสิง่ ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องแท้จริงต่อไป ในขัน้ ต่อไป คือการเข้าไปปฏิบตั หิ รือทำหน้าทีจ่ ริง ๆ ต่อสิง่ ต่าง ๆ ให้ถกู ต้อง เมือ่ ประมวลแล้ว จำแนกได้เป็น 2 กลุม่ คือ สิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายนอก และสิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายใน 3
พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 13 ข้อที่ 492
34
การกระทำต่อสิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายนอก ทีบ่ คุ คลสามารถ กระทำได้ทง้ั หมด โดยสรุป คือ ด้วยวาจา ด้วยการกระทำทางกาย และ ด้วยการเลีย้ งชีพ ซึง่ ก็คอื องค์มรรคในข้อถัดไป คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ การกระทำทีก่ ล่าวนีจ้ ะเป็นไปอย่างถูกต้อง หรือไม่ อันทีจ่ ริงขึน้ กับสัมมาทิฏฐิโดยตรง บุคคลผูม้ สี มั มาทิฏฐิยอ่ มรู้ เข้าใจชัดถึงคุณค่าความหมายของสิง่ ต่าง ๆ ภายนอกทีม่ ตี อ่ ชีวติ ตามที่ เป็นจริง จึงทำให้เกีย่ วข้องหรือทำหน้าทีต่ อ่ สิง่ ต่าง ๆ เหล่านัน้ ได้อย่าง ถูกต้อง ซึง่ ให้ผลคือไม่เกิดความทุกข์หรือความเดือดร้อนใด ๆ ขึน้ จาก การกระทำนัน้ ๆ และเพือ่ กำกับการกระทำต่าง ๆ ให้เป็นไปโดยถูกต้อง ให้เห็น ขอบเขตของการปฏิบตั ใิ ห้ชดั เจนยิง่ ขึน้ พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนถึงการ ปฏิบตั ใิ นองค์มรรคกลุม่ นี้ โดยตรัสสอนในเรือ่ ง สัมมาวาจา ให้ละเว้น การพูดเท็จ คือ คำไม่จริง, เว้นจากการพูดคำหยาบ ซึง่ ในทีน่ ไ้ี ม่ใช่คำ ทีไ่ ม่สภุ าพ แต่มงุ่ หมายเอาคำพูดทีเ่ จตนาต้องการประทุษร้ายต้องการ ให้ผฟู้ งั เจ็บปวดหรือเป็นทุกข์เพราะคำพูด ดังนัน้ แม้แต่คำพูดทีส่ ภุ าพ หรือคำหวาน ๆ ก็จดั เป็นคำหยาบได้ หากเป็นคำพูดทีต่ ง้ั ใจทำให้เกิด ความรูส้ กึ เจ็บปวดแก่ผฟู้ งั , เว้นจากการพูดส่อเสียด คือ การพูดทีย่ ใุ ห้ แตกแยกกัน, เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ คือ การพูดทีไ่ ม่รจู้ กั กาลเทศะ และไม่อยูใ่ นครรลองแห่งเหตุผล นอกจากนัน้ ตรัสสอนให้พดู แต่ความจริง ทีเ่ ป็นประโยชน์ รูก้ าลเทศะ และประกอบด้วยเมตตา สำหรับ สัมมากัมมันตะ ทรงสอนให้เว้นการประทุษร้ายหรือ เบียดเบียนผูอ้ น่ื ด้วยการกระทำทางกาย ซึง่ จำแนกได้เป็น 3 ด้านใหญ่ ๆ คือ เรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับชีวติ (ปาณาติบาต) เรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับทรัพย์สนิ 35
(อทินนาทาน) และเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับสิง่ ทีม่ คี วามหมายพิเศษในจิตใจ ของบุคคล (กาเมสุมิจฉาจาร) ซึ่งในเรื่องของชีวิตและทรัพย์สินนั้น เป็นทีเ่ ข้าใจกันดีอยูแ่ ล้วว่าคืออะไร ส่วนในเรือ่ งทีม่ คี วามหมายพิเศษ ในจิตใจของบุคคล เป็นเรือ่ งละเอียดอ่อนทีบ่ คุ คลจะต้องรูจ้ กั สังเกตให้ดี เพราะบุคคลแต่ละคน ให้ความหมายพิเศษแก่สิ่งต่าง ๆ แตกต่าง กันไป สิง่ ทีม่ คี วามหมายพิเศษในจิตใจของบุคคลโดยทัว่ ไป คือบุตร ภรรยา สามี หรือบุคคลในครอบครัว และการกระทำทีเ่ ป็นกาเมสุมจิ ฉาจาร มักจะเพ่งเล็งไปในเรือ่ งของการล่วงเกินทางเพศ ซึง่ ก็เป็นความเข้าใจที่ ถูกต้องในระดับหนึ่ง แต่ยังไม่ครอบคลุมความหมายอย่างที่ประสงค์ เพราะแม้แต่การล่วงเกินกันเพียงด้วยการใช้สายตา หรือกิรยิ าท่าทาง บางอย่างทีไ่ ม่เหมาะสม แล้วทำให้เกิดความบาดหมาง ไม่พอใจ หรือ เกิดเป็นความอาฆาตพยาบาทจองเวรต่อกัน ก็นบั ว่าเป็นการกระทำผิด ในเรือ่ งกาเมสุมจิ ฉาจารแล้ว ในประเด็นสิ่งที่มีความหมายพิเศษนี้ ขอให้ตระหนักว่ามี ความหมายกว้างขวาง ขึน้ อยูก่ บั บุคคลว่าจะให้ความหมายพิเศษแก่ สิง่ ใด เช่น เสือ้ ผ้าชุดเก่า ๆ บางชุด หรือหมอนใบเก่า ๆ อย่างทีเ่ รียกว่า “หมอนเน่า” ซึง่ มีความหมายและความผูกพันอย่างลึกซึง้ ในจิตใจของ บุคคลบางคน ก็ตอ้ งมีความระมัดระวังทีจ่ ะไม่ไปก้าวล่วง ละเมิด หรือ ทำให้เกิดความเสียหายขึน้ เพราะสามารถทำให้เกิดความบาดหมาง ไม่พอใจ เป็นต้น ขึน้ และจัดเป็นการกระทำผิดในเรือ่ งกาเมสุมจิ ฉาจารได้ ส่วน สัมมาอาชีวะ คือการเลีย้ งชีพชอบ ในทีน่ ห้ี มายถึงการ แสวงหาเพือ่ ให้ได้มาซึง่ ปัจจัย 4 เพือ่ การดำรงชีพ ก็ให้กระทำด้วยความ 36
ถูกต้อง ซึง่ รวมถึงการประกอบสัมมาชีพ หรือเว้นมิจฉาชีพ โดยเฉพาะ ในเรือ่ งของการค้าขาย พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนให้งดเว้นการค้าขายที่ ไม่พงึ ทำ หรือมิจฉาวณิชชา ซึง่ มี 5 อย่าง คือ ค้าอาวุธ ค้ามนุษย์ ค้า สัตว์สำหรับฆ่าเป็นอาหาร ค้าของเมา และค้ายาพิษ หรือแม้แต่การ ค้าขายทีไ่ ม่ได้หา้ มไว้ ก็ให้เป็นไปด้วยความชอบธรรม ไม่หลอกลวง ไม่ คดโกง จึงจัดเป็นสัมมาอาชีวะ ทีอ่ ยูใ่ นองค์มรรค กล่าวโดยสรุป การกระทำทัง้ หมดทัง้ สิน้ ต่อสิง่ ต่าง ๆ ภายนอก มีเรือ่ งราวทีก่ ระทำได้ตามองค์มรรคทัง้ 3 ทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว การปฏิบตั ิ สัมมาวายามะ (พยายามชอบ) สัมมาสติ (ระลึกชอบ) สัมมาสมาธิ (ตัง้ จิตมัน่ ชอบ) องค์มรรคทีเ่ หลืออีก 3 องค์ อันทีจ่ ริงเป็นการปฏิบตั ติ อ่ สิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายใน คือ จิต ให้ถกู ต้อง เพือ่ ฝึกฝนและพัฒนาจิตให้ มีสมรรถนะ มีสขุ ภาวะ มีคณ ุ ภาพ และมีความพร้อมทีจ่ ะนำไปใช้ใน การกระทำกิจการงานต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี สัมมาวายามะ คือความเพียรชอบ ได้ตรัสสอน ให้ฝกึ ฝนจิต ให้มคี วามเพียร หรือพลังทีจ่ ะขับเคลือ่ นและดำเนินการต่าง ๆ ไม่เป็น จิตที่เกียจคร้าน ความสำเร็จใด ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ไม่ใช่เกิดขึน้ มาด้วยการ อยูเ่ ฉย แต่จะต้องอาศัยพลังในการขับเคลือ่ น รวมทัง้ ผลักดันและฟันฝ่า อุปสรรคหรือสิง่ กีดขวางทัง้ หลาย จนกว่าจะบรรลุจดุ หมาย หากจิตไม่มี ความเพียรหรือพลังในการขับเคลือ่ น ก็ไม่สามารถกระทำอะไรให้เกิด เป็นผลสำเร็จขึ้นมาได้ ในเรื่องนี้มีพระพุทธพจน์ตรัสเตือนสติไว้ 37
โดยสรุปว่า หากสิง่ ต่าง ๆ สำเร็จได้ดว้ ยเพียงการอ้อนวอนแล้ว ในโลกนี้ คงไม่มใี ครทีผ่ ดิ หวัง เพราะใคร ๆ ก็ออ้ นวอนเป็นด้วยกันทัง้ นัน้ 4 ในเรือ่ งของความเพียร นอกจากมีพลังแล้ว ยังจะต้องมีกรอบ หรือทิศทางการขับเคลือ่ นให้ถกู ต้องอีกด้วย พระพุทธเจ้าให้หลักไว้วา่ จะต้องระมัดระวังไม่ไปในทิศทางทีเ่ ป็นอกุศล ซึง่ ทำให้เกิดความเสือ่ ม และหายนะ หรือหากกำลังอยูใ่ นทิศทางดังกล่าว ก็ให้รบี เลิกละและ ถอนตัวออกเสีย ให้เป็นไปแต่ในทางทีเ่ ป็นกุศล ซึง่ เป็นหนทางทีน่ ำมา แต่ความเจริญและปลอดภัย ตลอดจนเพียรรักษาให้ดำรงอยูแ่ ต่ในทิศ ทางนีใ้ ห้ได้ ไม่ให้เกิดความเพลีย่ งพล้ำ และหากดีกว่านัน้ คือพยายาม ปรับปรุงให้เป็นกุศลทีด่ ขี น้ึ ประณีตยิง่ ขึน้ ตลอดเวลา สำหรับ สัมมาสติ คือความระลึกชอบ ได้ตรัสสอนให้ฝกึ ฝน และพัฒนาจิตให้มสี ติรบั รูต้ อ่ สิง่ ต่าง ๆ ให้ถกู ต้อง โดยเฉพาะระลึกได้ ว่า สิง่ ทีร่ บั รูน้ น้ั เป็นคุณหรือเป็นโทษต่อชีวติ เพือ่ จะได้รวู้ า่ จะต้องเกีย่ วข้อง ต่อสิง่ นัน้ ๆ ต่อไปอย่างไร ดังทีม่ พี ระพุทธพจน์เปรียบสติเป็นเสมือน นายทวารเฝ้าประตูเมืองผูฉ้ ลาด 5 คอยทำหน้าทีส่ อดส่องและปล่อยให้ บุคคลทีร่ จู้ กั ผ่านเข้าประตูเมือง และกันบุคคลทีไ่ ม่รจู้ กั ไม่ให้เข้าเมือง ซึง่ ในอริยมรรคมีองค์ 8 แสดงเนือ้ หาให้มกี ารระลึกถูกต้องในกาย เวทนา จิต และธรรม ซึ่งก็คือทุกสิ่งที่รับรู้ นอกจากนั้นยังได้ตรัสสอนถึง คุณภาพของสติทป่ี ระสงค์ดว้ ย กล่าวคือ ไม่ประกอบด้วยความยินดี หรือยินร้าย ไม่มคี วามชอบหรือชัง ให้เป็นสักแต่วา่ การระลึกรูใ้ นลักษณะ ที่มุ่งให้เป็นฐานที่จะทำให้เกิดปัญญาต่อไป และด้วยความไม่ยึดมั่น ถือมัน่ 4
พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 22 ข้อที่ 43 5 พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 18 ข้อที่ 342
38
ส่วน สัมมาสมาธิ คือความตัง้ จิตมัน่ ชอบ มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพของจิต ให้มคี วามพร้อมและความเหมาะสม ทีจ่ ะทำภารกิจต่าง ๆ ด้วยดี และอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวโดยสรุป เป็นจิตทีม่ คี วามผ่องใส (ปริสทุ โฺ ธ) ตัง้ มัน่ (สมาหิโต) คล่องแคล่วว่องไว (กมฺมนีโย) ปราศจากนิวรณ์ 5 คือ กามฉันทะ (ความใคร่ในรูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งต้องกาย) พยาบาท (ความขัดเคืองใจ) ถีนะมิทธะ (ความง่วงซึมเซา) อุทธัจจะกุกกุจจะ (ความฟุง้ ซ่านรำคาญใจ) วิจกิ จิ ฉา (ความลังเลสงสัย) ซึง่ เป็นสิง่ ทีข่ ดั ขวางจิตไม่ให้กา้ วหน้า นอกจากนัน้ ยังเป็นการฝึกฝนอบรมจิตให้อยูใ่ นอำนาจการควบคุมของสติ ให้รจู้ กั และสัมผัสกับความสุขอีกประเภทหนึง่ ทีล่ ะเอียดประณีตยิง่ กว่าความสุข ทีม่ าจาก รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย ซึง่ ความสุขประเภทนี้ เป็นปัจจัยสำคัญยิง่ อันหนึง่ ทีจ่ ะหนุนส่งให้บคุ คลผูป้ ฏิบตั ิ บรรลุเป้าหมาย สูงสุดในพระพุทธศาสนาได้เป็นอย่างดี ในพระไตรปิฎกพระพุทธเจ้า ตรัสสอนว่าได้แก่ สัมมาสมาธิ คือรูปฌาน 4 และยังได้ตรัสไว้ในพระสูตร อืน่ ด้วยว่า “ฌานและปัญญามีอยูใ่ นผูใ้ ด ผูน้ น้ั แลอยูใ่ นทีใ่ กล้นพิ พาน” 6 เนือ่ งจากผูเ้ รียบเรียงเห็นว่ารูปฌาน 4 เป็นเรือ่ งหนึง่ ทีม่ คี วาม สำคัญมาก โดยเฉพาะในพระพุทธพจน์ที่ยกมาอ้างข้างต้น ที่ได้ทรง แสดงไว้วา่ ฌานและปัญญามีอยูใ่ นผูใ้ ด ผูน้ น้ั แลอยูใ่ นทีใ่ กล้นพิ พาน หนังสือนีจ้ งึ ขอนำวิธกี ารปฏิบตั เิ พือ่ เข้าถึงภาวะของรูปฌาน 4 มาอธิบาย แต่พอสังเขป พอให้ทา่ นผูอ้ า่ นได้ทราบและเข้าใจ และเห็นแนวทางที่ จะปฏิบตั ใิ นเรือ่ งนีต้ อ่ ไป การปฏิบตั สิ มาธิเพือ่ เข้าถึงภาวะรูปฌาน 4 นัน้ ในพระไตรปิฎก 6
พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 25 ข้อที่ 35
39
ได้แสดงวิธกี ารปฏิบตั ไิ ว้หลายรูปแบบ เช่น กสิณ 10 , อานาปานสติ แล้วแต่อธั ยาศัยของบุคคล แต่โดยทัว่ ไปการปฏิบตั ใิ น 2 รูปแบบข้างต้น มีขอ้ ดีและข้อด้อยทีแ่ ตกต่างกัน เช่น ข้อดีของกสิณ เป็นอารมณ์หยาบ ทีก่ ำหนดได้งา่ ย แต่ขอ้ ด้อยคือต้องใช้สายตาในการเพ่งมาก จึงอาจทำให้ ผูป้ ฏิบตั เิ กิดอาการปวดประสาทตาหรือกล้ามเนือ้ ตาได้มาก ส่วนอานาปานสติมขี อ้ ดีคอื สะดวกและสามารถปฏิบตั ไิ ด้ในทุกหนแห่ง ส่วนข้อด้อย คือเป็นอารมณ์ละเอียดทีก่ ำหนดได้คอ่ นข้างยาก และการตามรูล้ มหายใจ อย่างเป็นธรรมชาติ ก็ทำได้ยากเช่นกัน ในหนังสือนี้ จะขอแนะนำการปฏิบตั อิ านาปานสติเพือ่ การเข้าถึง ภาวะรูปฌาน 4 โดยสังเขป พอให้รเู้ ป็นแนวทางคร่าว ๆ ก่อนการปฏิบตั คิ วรตัดปลิโพธ หรือเครือ่ งกังวลใจต่าง ๆ ออกไป ก่อน หาสถานทีท่ ส่ี งบ ปลอดจากการรบกวนของผูค้ น จากนัน้ นัง่ ขัด สมาธิทเ่ี รียกว่า “ท่าดอกบัว” หรือ “ท่าขัดสมาธิเพชร” ท่าเหล่านีท้ ำให้ กายมีความมัน่ คง ไม่เกิดการโยกคลอนอันจะส่งผลรบกวนจิต ทำให้ไม่ สามารถเข้าถึงภาวะของรูปฌานได้ เพราะเมือ่ เข้าถึงภาวะของรูปฌาน แล้ว จะไม่มกี ารรับรูท้ างประสาทต่าง ๆ ทีเ่ นือ่ งกับกายทัง้ หมด คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกายประสาท จะมีการรับรู้แต่ทางใจหรือมโนเพียง อย่างเดียวเท่านัน้ การโยกคลอนของกายจะทำให้จติ ต้องมารับรูท้ างกาย และทำให้ไม่สามารถรับรูอ้ ยูแ่ ต่เพียงทางใจอย่างเดียวได้ ต่อจากนัน้ ให้ ตัง้ กายให้ตรง ดำรงสติอยูเ่ ฉพาะหน้า เมือ่ หายใจเข้าและหายใจออก ก็ให้มสี ติตามรูล้ มหายใจทีเ่ ข้าและออกนัน้ ไปตามทีเ่ ป็นอยูจ่ ริง ไม่วา่ ลมหายใจจะยาวหรือสัน้ ก็ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ ในตอนต้นของการปฏิบตั ิ ให้มสี ติตามรูล้ มทีเ่ ข้าและออก โดย 40
ทำเหมือนวิง่ ตามลม ระหว่างปลายจมูกกับบริเวณหน้าท้อง เมือ่ สามารถ ตามรูไ้ ด้สม่ำเสมอพอสมควรแล้ว ให้เปลีย่ นมารับรูเ้ ฉพาะตรงจุดสัมผัส ของลมทีก่ ระทบปลายจมูกเพียงอย่างเดียว ต่อจากนีก้ ใ็ ห้รกั ษาการรับรู้ เฉพาะสัมผัสของลมตรงนีเ้ ท่านัน้ เมือ่ สามารถรับรูต้ รงจุดทีล่ มกระทบสัมผัสได้ตอ่ เนือ่ ง ไม่วอกแวก ไปทีอ่ น่ื หมายความว่า กำลังของสมาธิดขี น้ึ ตามลำดับ จนถึงจุดหนึง่ ที่ สมาธิเริม่ มีความแนบแน่นขึน้ และถึงระดับทีจ่ ะเข้าสูภ่ าวะของรูปฌานได้ จะมีสง่ิ ทีเ่ รียกว่า “อุคคหนิมติ ” ปรากฏขึน้ เองตามธรรมชาติ ซึง่ อาจมี ลักษณะเป็นดวงสว่าง เป็นรูปทรงกลม หรืออาจเป็นรูปหยดน้ำ หรือคล้าย ใยแมงมุม เป็นต้น ในกรณีน้ี อาจเปรียบได้กบั การใช้เลนส์นนู รับแสง จากดวงอาทิตย์ เพือ่ รวมแสงอาทิตย์ทก่ี ระจัดกระจายให้มาอยูใ่ นจุดเดียว จะทำให้เห็นเป็นจุดหรือดวงสว่างเกิดขึน้ มีความร้อนสูงและสามารถเผา ไหม้กระดาษให้ลกุ เป็นไฟได้ การทำสมาธิกเ็ ช่นเดียวกัน เป็นการรวม กระแสจิตทีก่ ระจัดกระจายไปกับการรับรูอ้ ารมณ์ในช่องทางต่าง ๆ ให้มาอยู่ ทีจ่ ดุ เดียว เมือ่ รวมได้แน่วแน่กจ็ ะเกิดเป็นดวงสว่างทีเ่ รียกว่า “อุคคหนิมติ ” ขึน้ ต่อจากนัน้ ให้รกั ษาการเห็นอุคคหนิมติ นีไ้ ว้ จนจิตมีความแนบ แน่น และเปลีย่ นการรับรูท้ ง้ั หมดจากสัมผัสของลมกระทบทีป่ ลายจมูก มารับรูท้ อ่ี คุ คหนิมติ เพียงอย่างเดียว และเพือ่ ทดสอบว่ากำลังสมาธิใน ขณะนีม้ คี วามมัน่ คง แนบแน่นเพียงพอสำหรับการเข้าสูภ่ าวะของรูปฌาน หรือยัง ก็ทำได้โดยการลองย่อ-ขยายอุคคหนิมติ หรือเลือ่ นให้ใกล้เข้ามา หรือให้ไกลออกไป ซึง่ หากสามารถทำได้ ก็จะเรียกชือ่ ใหม่วา่ “ปฏิภาคนิมติ ” ต่อจากนีไ้ ป ให้เลือกปฏิภาคนิมติ ทีม่ ขี นาด-สีสนั -อยูใ่ นระยะ 41
ใกล้หรือไกล ทีม่ คี วามรูส้ กึ พอดีกบั จิต มาให้จติ รับรูอ้ ยูแ่ ต่ในปฏิภาคนิมติ นัน้ เมือ่ องค์ฌาน คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตา เกิดขึน้ ครบถ้วน สมบูรณ์เมือ่ ใด จิตก็จะเข้าถึงสมาธิทเ่ี รียกว่ารูปฌานที่ 1 และหากรักษา การกำหนดรูอ้ ยูใ่ นปฏิภาคนิมติ อยูต่ อ่ เนือ่ งไปเรือ่ ย ๆ ก็จะค่อย ๆ ละ องค์ฌานที่หยาบไปตามลำดับ จนเมื่อเข้าถึงภาวะของรูปฌานที่ 4 จะเหลือแต่องค์ฌาน คือ อุเบกขา และเอกัคคตา ภาวะของจิตทีเ่ ข้าถึงรูปฌานนัน้ เป็นจิตทีส่ งัดจากกาม สงัดจาก อกุศลธรรมทัง้ หลาย ไม่มนี วิ รณ์เกิดขึน้ รบกวน ไม่มดี ำริใด ๆ เกีย่ วกับ กาม หรือรูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย เกิดขึน้ เวทนาทัง้ หลาย ทีเ่ กิดขึน้ ในระดับนี้ เรียกว่า เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส เป็นจิตทีพ่ ระ พุทธเจ้าตรัสว่าเป็น อธิจติ มีคณ ุ ภาพพร้อมและเหมาะสม ควรแก่การงาน ทุกอย่าง สรุปการปฏิบตั ติ ามหลักอริยมรรค มีองค์ 8 ข้อธรรมทัง้ 8 ในอริยมรรค มีองค์ 8 แท้จริง คือพฤติทง้ั หมด ของชีวติ ทีจ่ ะต้องฝึกหัดปฏิบตั ใิ ห้มคี วามถูกต้อง ซึง่ กำหนดไว้มี 8 ด้าน กล่าวคือ ความเห็น (สัมมาทิฏฐิ), ความคิดต้องการ (สัมมาสังกัปปะ), การแสดงออกทางกาย (สัมมากัมมันตะ), ทางวาจา (สัมมาวาจา), วิธี เลี้ยงชีวิต (สัมมาอาชีวะ) ตลอดจนการปรับปรุงจิตให้มีความพร้อม กล่าวคือมีความขยันขันแข็ง (สัมมาวายามะ), มีความรอบคอบ-ไม่ประมาท (สัมมาสติ) และมีคุณภาพของจิตที่เหมาะสม คือผ่องใส ตั้งมั่น คล่องแคล่วว่องไว (สัมมาสมาธิ) การปฏิบตั อิ ริยมรรค มีองค์ 8 บุคคลจะต้องฝึกปฏิบตั ใิ นทุก 42
หัวข้อตามทีไ่ ด้อธิบายมา แต่เวลาจะให้ผล องค์มรรคทัง้ 8 ต้องมาร่วม ทำหน้าทีพ่ ร้อมเพรียงกัน (มรรคสมังคี) ส่วนจะให้ผลในระดับใดขึน้ อยู่ กับองค์มรรคแต่ละองค์วา่ มีกำลังสมบูรณ์เพียงใด ก็จะทำให้สามารถ ดับทุกข์ในระดับนัน้ ๆ ได้ เพือ่ ให้เห็นภาพชัดเจนยิง่ ขึน้ อาจเปรียบได้กบั การยิงธนูให้เข้า เป้า บุคคลจะต้องมีการเตรียมตัวหรือมีการฝึกฝนในหลาย ๆ เรือ่ ง เช่น ต้องรูจ้ กั ตัง้ แต่เลือกไม้มาทำคันธนูและลูกธนู, เลือกวัสดุมาทำสายธนู, ตลอดจนเหลาไม้ให้มีความตรงหรือโค้งให้ได้ที่, รู้จักฝึกฝนในท่ายิง, ในมุมที่ยิง,ในน้ำหนักการยิง และยังต้องคอยหมั่นฝึกฝนการยิงอยู่ แล้ว ๆ เล่า ๆ จึงทำให้การยิงธนูมคี วามแม่นยำขึน้ ๆ และเมือ่ คราวทีจ่ ะ ยิงให้ได้ผลจริง ๆ การฝึกฝนทุกอย่างทีผ่ า่ นมา จะประมวลมาพร้อมเพรียง อยู่ในท่ายิงที่นิ่งเพียงท่าเดียวที่พร้อมจะปล่อยลูกธนูออกไป (เปรียบ ได้กบั มรรคสมังคี) และเมือ่ ปล่อยลูกธนูออกไปเมือ่ ใด ก็เป็นทีแ่ น่นอน ว่า จะเข้าทีเ่ ป้าตามทีม่ งุ่ หมายหรือทีต่ ง้ั ใจไว้ การปฏิบตั ติ ามหลักไตรสิกขา ไตรสิกขา คือข้อศึกษาและปฏิบตั ใิ น 3 เรือ่ ง จำแนกได้เป็น อธิสลี สิกขา อธิจติ ตสิกขา และอธิปญ ั ญาสิกขา หรือเรียกง่าย ๆ ว่า ศีล สมาธิ และปัญญา โดยมีจุดหมายเพื่อความดับทุกข์ดับกิเลสเป็น สำคัญ อันทีจ่ ริงอริยมรรค มีองค์ 8 เป็นเรือ่ งเดียวกันกับไตรสิกขา พระพุทธเจ้าได้ตรัสสงเคราะห์อริยมรรค มีองค์ 8 ลงในไตรสิกขา ดังทีไ่ ด้ อธิบายไปแล้ว 43
ความแตกต่างทีส่ ำคัญประการหนึง่ ระหว่าง อริยมรรค มีองค์ 8 และ ไตรสิกขา คือ อริยมรรค มีองค์ 8 เป็นหนทางหรือข้อปฏิบตั ทิ ท่ี ำให้ บรรลุถงึ ความดับทุกข์ดบั กิเลสโดยเฉพาะ เป็นผลมาจากปัญญาตรัสรู้ ของพระพุทธเจ้า ไม่มปี รากฏในศาสนาอืน่ ส่วน ไตรสิกขา เป็นคำทีม่ ี ความหมายกว้าง กล่าวได้วา่ ศาสนาต่าง ๆ ล้วนสอนให้ศกึ ษาและปฏิบตั ิ อยู่ในกรอบของไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญาด้วยกันทั้งนั้น เพียงแต่ไม่ใช่ ศีล สมาธิ และปัญญา ทีเ่ ป็นองค์มรรค จึงไม่สามารถทำให้ เกิดผล คือการดับทุกข์ดบั กิเลสได้ การปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา ทำให้เห็นภาพรวมและวัตถุประสงค์ของการปฏิบตั ติ ามหลัก อริยมรรค มีองค์ 8 ชัดเจนยิง่ ขึน้ อธิสลี สิกขา หรือการปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง “ศีล” เป็นภาพรวมของ การปฏิบตั ิ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ ในอริยมรรค มีองค์ 8 เป็นข้อปฏิบตั ทิ ม่ี จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ ควบคุมพฤติกรรมการแสดง ออกทางกายและวาจาให้ถูกต้อง ในการไปเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับ บุคคลและสิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายนอก แล้วไม่ทำให้เกิดปัญหา ความกระทบกระทัง่ หรือความเดือดร้อนขึน้ ทำให้สงั คมอยูร่ ว่ มกันได้โดยปกติสขุ มีความสนิทใจและไว้วางใจต่อกัน ไม่ตอ้ งอยูร่ ว่ มกันด้วยความหวาด และระแวงกันอีกต่อไป กล่าวในแง่การละกิเลส การปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง “ศีล”สามารถละ กิเลสได้ในระดับหยาบ หรือกิเลสทีล่ ว่ งออกมาเป็นพฤติกรรมทางกาย และวาจา อธิจติ ตสิกขา หรือการปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง “สมาธิ” เป็นภาพรวม ของการปฏิบตั ิ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ ในอริยมรรค 44
มีองค์ 8 เป็นข้อปฏิบตั ทิ ม่ี จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ ปรับปรุงคุณภาพหรือภาวะ ของจิตให้มคี วามเหมาะสม มีสขุ ภาวะ ประสิทธิภาพ และสมรรถภาพ พร้อมทีจ่ ะปฏิบตั งิ านหรือทำหน้าทีต่ า่ ง ๆ ได้เป็นอย่างดี ในหลักธรรม ได้แสดงคุณสมบัตทิ ส่ี ำคัญ คือ บริสทุ ธิ์ ตัง้ มัน่ ว่องไว ควรแก่การงาน กล่าวในแง่การละกิเลส การปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง “สมาธิ” สามารถละ กิเลสได้ในระดับกลาง หรือกิเลสต่าง ๆ ทีก่ ำลังกลุม้ รุมจิตใจ ตัวอย่าง ทีถ่ กู กล่าวถึงบ่อยในคัมภีร์ คือนิวรณ์ 5 อธิปัญญาสิกขา หรือปัญญา เป็นข้อปฏิบัติเพื่อทำให้เกิด ความรอบรู้ รูเ้ ท่าทันความจริง รูเ้ งือ่ นไข รูเ้ หตุปจั จัย รูว้ ธิ แี ก้ไขปัญหา ต่าง ๆ โดยเฉพาะความทุกข์ทร่ี อ้ ยรัดเสียดแทงจิตใจ ซึง่ เป็นภาพรวม ของสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ และควรจะรวมถึงสัมมาญาณะ ซึง่ ตรัสเพิม่ เป็นองค์ท่ี 9 จากอริยมรรค มีองค์ 8 ในหมวดธรรมทีเ่ รียกว่า สัมมัตตะ 10 โดยองค์ท่ี 10 คือ สัมมาวิมตุ ติ ซึง่ เป็นภาวะความหลุดพ้นจาก ทุกข์และกิเลสทัง้ ปวงโดยสิน้ เชิง กล่าวในแง่การละกิเลส การปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง “ปัญญา” สามารถ ละกิเลสได้ในระดับละเอียด ทีเ่ รียกว่าอนุสยั หรือในระดับทีเ่ ป็นความ เคยชินทีจ่ ะเกิดกิเลสนัน้ ๆ ในอนาคตอีกต่อไปหรือไม่ การจำแนกอริยบุคคลตามหลักไตรสิกขา ไตรสิกขาเป็นหลักทีส่ ำคัญอีกหลักหนึง่ ในการนำมาเป็นเครือ่ ง ชีว้ ดั ความสำเร็จของการปฏิบตั ธิ รรมระดับต่าง ๆ ได้ดกี ว่าและชัดเจน กว่าเมือ่ เปรียบเทียบกับหลักอริยมรรค มีองค์ 8 โดยจำแนกพระอริยบุคคล ระดับต่าง ๆ 7 ได้ดงั นี้ 7
พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 20 ข้อที่ 526
45
พระโสดาบัน เป็นผูม้ ศี ลี สมบูรณ์ สมาธิพอประมาณ ปัญญา พอประมาณ พระสกทาคามี เป็นผูม้ ศี ลี สมบูรณ์ สมาธิพอประมาณ ปัญญา พอประมาณ แต่สามารถทำราคะ โทสะ และโมหะให้เบาบาง พระอนาคามี เป็นผูม้ ศี ลี สมบูรณ์ สมาธิสมบูรณ์ ปัญญาพอ ประมาณ พระอรหันต์ เป็นผูม้ ศี ลี สมบูรณ์ สมาธิสมบูรณ์ ปัญญาสมบูรณ์ หลักไตรสิกขาทำให้รถู้ งึ การปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นไปตามลำดับ จากการนำไตรสิกขามาเป็นเครือ่ งวัดผลความก้าวหน้าของการ ปฏิบตั ธิ รรม จึงทำให้บคุ คลรูว้ า่ การปฏิบตั ธิ รรมทีถ่ กู ต้อง จะต้องฝึกฝน การปฏิบตั ใิ นไตรสิกขาทัง้ 3 หมวดธรรมไปพร้อม ๆ กัน เพียงแต่จะต้อง เน้นการปฏิบตั แิ ต่ละหมวดธรรม ให้สมบูรณ์ไปตามลำดับเท่านัน้ ดังนัน้ จึงสามารถสรุปการปฏิบตั เิ ป็นขัน้ เป็นตอนไปตามลำดับได้ดงั นี้ การปฏิบตั ธิ รรมในลำดับแรกทีส่ ดุ เป็นการปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง ของศีล ซึง่ อันทีจ่ ริงอยูใ่ นระนาบเดียวกับการปฏิบตั ใิ นเรือ่ งสัมมาทิฏฐิ เพราะอย่างทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วว่า การจะปฏิบตั ศิ ลี ให้ถกู ต้องได้จริง จะ ต้องมีสมั มาทิฏฐิ คือความรูค้ วามเข้าใจในชีวติ ในคุณค่าความหมาย ของสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับชีวติ ถูกต้องเสียก่อน จึงเป็นปัจจัยทำให้ ใช้กายและวาจาไปเกีย่ วข้องกับสิง่ ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง และหากปฏิบตั ิ จนศีลสมบูรณ์เมื่อใด ก็จะทำให้บรรลุเป็นพระอริยบุคคลในระดับ พระโสดาบันและระดับพระสกทาคามี ตามลำดับ
46
การปฏิบตั ใิ นลำดับถัดไป เป็นการปฏิบตั ใิ นเรือ่ งของสมาธิ เมือ่ สามารถปฏิบตั จิ นสมาธิสมบูรณ์เมือ่ ใด จะทำให้บรรลุพระอริยบุคคล ในระดับพระอนาคามี การปฏิบตั ใิ นลำดับสุดท้าย เป็นการปฏิบตั ใิ นเรือ่ งของปัญญา เมือ่ สามารถปฏิบตั จิ นปัญญาสมบูรณ์เมือ่ ใด จะทำให้บรรลุพระอริยบุคคล ในระดับพระอรหันต์ การปฏิบตั ไิ ตรสิกขา ทำให้บรรลุธรรมระดับต่าง ๆ ได้อย่างไร ? ต่อจากนีไ้ ปจะได้วเิ คราะห์ให้เห็นชัดเจนยิง่ ขึน้ ในประเด็นทีว่ า่ การปฏิบตั ใิ นเรือ่ งศีล สมาธิ และปัญญา ทีส่ มบูรณ์ไปตามลำดับ ทำให้ บุคคลบรรลุธรรมเป็นพระอริยบุคคลระดับต่าง ๆ ได้อย่างไร การปฏิบตั ไิ ตรสิกขา เมือ่ ศีลสมบูรณ์ ทำให้บรรลุธรรมระดับโสดาบัน และสกทาคามี ได้อย่างไร ? คุณสมบัตขิ องพระโสดาบันทีส่ ำคัญประการหนึง่ คือเป็นผูม้ ี สัมมาทิฏฐิสมบูรณ์ การมีสมั มาทิฏฐิสมบูรณ์ มีความหมายว่า เป็นผูเ้ ห็นทางดำเนิน ชีวติ ทีถ่ กู ต้อง จึงทำให้บคุ คลรูจ้ กั ละการดำเนินชีวติ ทีเ่ ป็นไปตามตัณหา หรือความอยากของตัวตน และฝึกหัดดำเนินชีวติ ทีเ่ อาความถูกต้องเป็น เครือ่ งนำทาง ทำให้บงั เกิดผลคือสามารถละ สักกายทิฏฐิ ได้ กล่าวคือ ไม่เอาความเห็นผิดในตัวตนเป็นทีต่ ง้ั และไม่ดำเนินชีวติ เป็นไปในแนว 47
ทางทีต่ อบสนองความต้องการของตัวตน นอกจากนัน้ ยังทำให้สามารถ ละ วิจกิ ฉิ า คือความลังเลสงสัยในการดำเนินชีวติ ได้ เพราะได้รชู้ ดั เจน แล้วว่าแนวทางการดำเนินชีวติ ทีถ่ กู ต้องทีน่ ำให้ชวี ติ ไปสูค่ วามหลุดพ้น ั พตปรามาส คือ จากทุกข์ซง่ึ เป็นอุดมคตินน้ั คืออะไร และทำให้ละ สีลพ ความงมงายในศีลและพรต หรืองมงายในการยึดถือเอาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นทีพ่ ง่ึ ได้ดว้ ย เพราะรูช้ ดั แล้วว่าด้วยการปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องตามหลัก อริยมรรค มีองค์ 8 เท่านัน้ จึงจะนำให้บคุ คลบรรลุชวี ติ ทีเ่ ป็นอุดมคติได้ อย่างแท้จริง เมือ่ บุคคลมีสมั มาทิฏฐิสมบูรณ์ จะทำให้การปฏิบตั ใิ นศีลถูกต้อง ไปด้วย และเมือ่ ปฏิบตั ศิ ลี ได้จนสมบูรณ์ ซึง่ มีความหมายว่า จะไม่มกี าร กระทำทางกายและวาจาใด ๆ ก่อให้เกิดโทษหรือความเดือดร้อนต่อไป อีกโดยเด็ดขาด จึงทำให้เป็นผูท้ ส่ี ามารถปิดอบายภูมไิ ด้อย่างเด็ดขาด ทั้งนี้เพราะศีลเป็นเส้นแบ่งที่ทำให้เห็นเขตแดนของอบายภูมิได้อย่าง ชัดเจน กล่าวคือ เป็นภาวะทีล่ ว่ งละเมิดศีล หรือภาวะทีศ่ ลี ไม่สามารถ สะกัดกัน้ ได้อกี ต่อไปนัน่ เอง บุคคลทีม่ สี มั มาทิฏฐิเป็นเครือ่ งนำทางชีวติ และสามารถปฏิบตั ิ จนศีลสมบูรณ์ เป็นผูส้ ามารถปิดอบายภูมไิ ด้อย่างเด็ดขาด นีค้ อื ภาวะชีวติ ของพระโสดาบัน ซึ่งเป็นผู้หมดทุกข์ในอริยสัจที่มาจากความเห็นผิด อย่างสิน้ เชิง เป็นผูม้ พี ฤติกรรมทางกายและวาจาถูกต้อง ไม่กอ่ ให้เกิด ทุกข์และโทษกับทั้งตนเองและสังคม จนได้รับคำยกย่องว่าเป็นผู้มี “อริยกันตศีล” คือศีลทีพ่ ระอริยเจ้าพอใจหรือสรรเสริญ เป็นผูท้ ป่ี ลอดพ้น จากความเสือ่ มโดยประการทัง้ ปวง และสำหรับผูท้ ส่ี ามารถทำให้ราคะ โทสะ โมหะ เบาบางลงได้อกี จะทำให้บรรลุเป็นพระอริยบุคคลในระดับ พระสกทาคามี 48
การปฏิบตั ไิ ตรสิกขา เมือ่ สมาธิสมบูรณ์ ทำให้บรรลุธรรมระดับอนาคามี ได้อย่างไร ? การปฏิบตั ใิ นลำดับถัดไป คือการปฏิบตั ใิ นระดับอนาคามี ซึง่ มีพระพุทธพจน์ตรัสไว้ว่า เป็นผู้ที่มีศีลสมบูรณ์ สมาธิสมบูรณ์ และ ปัญญาพอประมาณ เป็นผูส้ ามารถละสังโยชน์ คือกามราคะและปฏิฆะ ได้อย่างเด็ดขาด ประเด็นสำคัญในการปฏิบัติเพื่อบรรลุในระดับอนาคามี คือ การมีจติ อยูเ่ หนืออิทธิพล หรือหลุดพ้นจากอำนาจการครอบงำของความ ติดยึดหรือความขัดเคืองใจในกาม หรือรูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัส ทางกาย ทัง้ ในทางทีน่ า่ รักน่าพอใจ และทีไ่ ม่นา่ รักไม่นา่ พอใจ และการ ปฏิบตั เิ พิม่ เติมในระดับอนาคามีน้ี คือการทำสมาธิให้สมบูรณ์ คำว่า สมาธิทส่ี มบูรณ์ในทีน่ ้ี พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงอรรถาธิบาย ไว้ตรง ๆ ว่าคืออะไร แต่หากพิจารณาจากพระสูตรต่าง ๆ ทีท่ รงแสดงไว้ น่าจะหมายถึงสมาธิในระดับ “รูปฌาน ” ดังทีไ่ ด้ตรัสแสดงว่า “สัมมาสมาธิ” ในอริยมรรค มีองค์ 8 คือ “รูปฌานที่ 1-4” สมาธิทส่ี มบูรณ์ หรือ ภาวะ “ฌาน” ช่วยทำให้กามราคะ และปฏิฆะหมดสิน้ ไปได้อย่างไร ? ในที่นี้ขอเสนอให้พิจารณาพระพุทธพจน์บทหนึ่งที่ตรัสไว้ว่า “อารมณ์อนั วิจติ รทัง้ หลายในโลกไม่ชอ่ื ว่ากาม ความกำหนัดทีเ่ กิดขึน้ ด้วยสามารถแห่งความดำริของบุคคล ชือ่ ว่ากาม” 8 จากพระสูตรที่กล่าวข้างต้น ทำให้รู้ว่ากามที่มนุษย์หลงใหล หรือกามราคะทีต่ ดิ ยึดนัน้ แท้จริงแล้วไม่ใช่ตวั รูป เสียง กลิน่ รส และ 8
พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 22 ข้อที่ 334
49
สิง่ ต้องกายโดยตรง แต่เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จากความดำริของจิตทีม่ ตี อ่ รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย จนเกิดเป็นกามทีท่ ำให้จติ หลงใหลและ มีอทิ ธิพลสามารถครอบงำจิตได้ ความดำริทก่ี ล่าวถึงนี้ อาจใช้ภาษาร่วมสมัยทีท่ ำให้เข้าใจได้ดี กว่า คือคำว่า “จินตนาการ” เพราะการจินตนาการของมนุษย์ทม่ี ตี อ่ รูป เสียง เป็นต้น จึงทำให้เกิดเป็นรูป เสียง ทีม่ คี วามหมายของ “กาม” เกิดขึน้ และสามารถมีผลร้อยรัดหรือผูกมัดจิตให้จมอยูใ่ นกองทุกข์ ยกตัวอย่างเรือ่ งอาหาร หากไม่มจี นิ ตนาการใด ๆ ทับลงไป ก็มี ความหมายเป็นเพียงอาหารทีไ่ ม่มผี ลอะไรต่อจิตใจนัก แต่หากมีจนิ ตนาทับลงไปว่า เป็นอาหารทีค่ นรักทำให้ทาน จะทำให้เกิดความรูส้ กึ ทีเ่ ป็น “กาม” เกิดขึน้ และเกิดความรูส้ กึ เป็นสุขเมือ่ รับประทาน ในทางตรงข้าม อาหารจานเดียวกันนัน้ เอง หากจินตนาการทับลงไปว่าเป็นอาหารทีบ่ คุ คล ทีเ่ กลียดเป็นผูท้ ำ ก็จะทำให้เกิดความรูส้ กึ ขัดเคือง รับประทานไม่ลง หรือรับประทานด้วยความผะอืดผะอม โดยทีร่ ปู ลักษณ์และรสชาติของ อาหารทีป่ ระสาทลิน้ สัมผัสนัน้ อันทีจ่ ริงเป็นอย่างเดียวกัน กล่าวโดยสรุป การจินตนาการของบุคคลทีท่ ำให้เกิด “กาม” มี 2 รูปแบบ คือ ในด้านทีส่ วยงามน่ารักน่าใคร่ และในด้านทีน่ า่ เกลียดน่า ขัดเคือง ซึง่ ในภาษาธรรมะใช้คำว่า “สุภนิมติ ” และ “ปฏิฆนิมติ ” หากบุคคลรับรูด้ ว้ ยจินตนาการทีเ่ ป็น “สุภนิมติ ” จะทำให้เกิด สังโยชน์ทเ่ี ป็น “กามราคะ” แต่หากรับรูด้ ว้ ยจินตนาการทีเ่ ป็น “ปฏิฆนิมติ ” จะทำให้เกิดสังโยชน์ทเ่ี ป็น “ปฏิฆะ” ภาวะของจิตทีเ่ ป็น “ฌาน” นัน้ มีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษอยู่ 2 ประการ คือ 1.เป็นภาวะทีส่ งัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลาย ไม่มจี นิ ตนา50
การต่อรูป เสียง เป็นต้น ใด ๆ จิตจะรับรูอ้ ยูแ่ ต่ทางมโนทวารเพียงอย่างเดียว ไม่มารับรูร้ ว่ มกับ ตา หู จมูก ลิน้ และกายเลย เป็นภาวะของจิตทีเ่ ป็น อิสระจากกาย และ 2.เป็นภาวะของจิตทีม่ สี ขุ เวทนาทีเ่ รียกว่านิรามิสสุข หรือสุขทีไ่ ม่องิ กับรูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย ภาวะของสมาธิที่สมบูรณ์ หรือรูปฌาน 4 ตามที่ได้กล่าวไว้ เป็นสิ่งสำคัญมาก ทำให้จิตมีคุณภาพพร้อมที่จะทำให้สังโยชน์คือ กามราคะและปฏิฆะหมดสิ้นไป และบรรลุเป็นพระอริยบุคคลระดับ อนาคามี กล่าวคือ เป็นภาวะทีท่ ำให้จติ สามารถประจักษ์และเกิดปัญญา แจ้งชัดว่า จินตนาการทีเ่ ป็นตัวการสำคัญทำให้เกิด กาม นัน้ เกิดขึน้ มา ได้อย่างไร ปรุงแต่งต่อจนเกิดเป็นกามสุขได้อย่างไร และเมื่อยึดติด ถือมัน่ แล้ว ทำให้เกิดเป็นสังโยชน์ คือ กามราคะและปฏิฆะต่อไปได้อย่างไร เพราะขณะทีอ่ ยูใ่ นฌานนัน้ จิตจะไม่รบั รูใ้ ด ๆ เกีย่ วกับรูป เสียง กลิน่ รส สิง่ ต้องกาย เลย และยังไม่มจี นิ ตนาการใด ๆ เกิดขึน้ ด้วย แต่เมือ่ จิต ออกจากฌาน จึงจะเริม่ มารับรูร้ ว่ มกับ ตา หู จมูก ลิน้ และสิง่ ต้องกาย และเริม่ มีจนิ ตนาการต่อสิง่ ทีร่ บั รูน้ ้ี จนเกิดเป็นกามและกามสุขขึน้ การ ประจักษ์ของจิตนี้ ทำให้จติ เกิดปัญญาแจ่มแจ้งขึน้ ว่า ที่แท้ทั้งเรื่อง ของกามและกามสุขเป็นของหลอกที่เกิดขึ้นจากจิตของบุคคล ปรุงแต่งหรือจินตนาการไปเอง จึงทำให้ไม่หลงใหล ไม่ยนิ ดีใน เรื่องของกามและกามสุขอีกต่อไป ประกอบกับจิตที่ได้ฌานมี นิรามิสสุขเกิดขึน้ ด้วย จึงได้อาศัยความสุขทีเ่ กิดขึน้ นี้ ทดแทน ความสุขทีเ่ ป็นกามสุข ทำให้ไม่มคี วามอาลัยอาวรณ์ตอ่ กามสุข อีกต่อไป ทัง้ หมดทีไ่ ด้กล่าวไปนี้ จึงทำให้สามารถละสังโยชน์คอื กามราคะและปฏิฆะ ได้อย่างเด็ดขาด 51
การปฏิบตั ไิ ตรสิกขา เมือ่ ปัญญาสมบูรณ์ ทำให้บรรลุธรรมระดับอรหันต์ ได้อย่างไร ? การปฏิบัติไตรสิกขาในลำดับสุดท้าย จากพระอนาคามีเพื่อ บรรลุความเป็นพระอรหันต์ คือการทำปัญญาให้สมบูรณ์ สังโยชน์ในลำดับสุดท้ายทีย่ งั สามารถร้อยรัดพระอนาคามี คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา ซึง่ กล่าวโดยสรุป คือ ความยินดีพอใจหรือความยึดติดถือมัน่ ในความสุขทีเ่ กิดจากฌาน และ ภาวะต่างๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งในระดับฌานนัน่ เอง การละสังโยชน์ในระดับนี้ แตกต่างจากในระดับก่อน ๆ ทีจ่ ะ ต้องมีการฝึกปฏิบตั ใิ ห้มคี ณ ุ ภาพอะไรบางอย่างเกิดขึน้ เพิม่ เติมขึน้ มาก่อน เช่นสัมมาทิฏฐิสมบูรณ์ ศีลสมบูรณ์ และสมาธิสมบูรณ์ ส่วนในระดับนี้ ไม่ตอ้ งปฏิบตั ใิ ห้มคี ณ ุ ภาพอะไรเพิม่ เติมอีก เพราะเป็นการละความยินดี พอใจและความยึดติดถือมั่นในรสชาติของฌานและภาวะต่างๆ ที่ เกีย่ วเนือ่ งในระดับฌานเท่านัน้ การทำปัญญาให้สมบูรณ์ในระดับนี้ จึง เน้นการพิจารณาในไตรลักษณ์ คือพิจารณาให้เห็นอนิจจัง (ความไม่เทีย่ ง) ทุกขัง (ความทีท่ นอยูใ่ นสภาพเดิมไม่ได้) และอนัตตา (ความไม่ใช่ตวั ตน) ในภาวะของฌาน จนสามารถถอนความยินดีพอใจและความยึดติด ถือมัน่ ในฌานและภาวะต่างๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งในระดับฌานได้โดยเด็ดขาด ทำให้ละสังโยชน์คอื รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา ได้ จนหมดสิน้ บรรลุเป็นพระอรหันต์ ซึง่ เป็นอุดมคติสงู สุดตามคำสอนใน พระพุทธศาสนา เป็นผูท้ ส่ี ามารถดับทุกข์ดบั กิเลสได้อย่างหมดจดและ สิน้ เชิง เป็นพระอเสขะ ทีไ่ ม่มกี จิ ใด ๆ ทีจ่ ะต้องปฏิบตั เิ พือ่ ความดับทุกข์ ดับกิเลสอีกต่อไป 52
การปฏิบตั ทิ เ่ี นือ่ งด้วยสติ การปฏิบตั ธิ รรมในแนวสุดท้ายทีป่ ระสงค์จะนำเสนอ คือการ ปฏิบตั ทิ เ่ี นือ่ งด้วยสติ ซึง่ เป็นแนวการปฏิบตั ทิ ไ่ี ด้วเิ คราะห์สงั เคราะห์ขน้ึ โดยเลียนแบบการปฏิบตั ใิ นระบบสติปฏั ฐาน 4 ซึง่ เอาสติเป็นตัวการสำคัญ ในการปฏิบตั ิ แต่นำมาปฏิบตั ติ ามระบบของไตรสิกขา โดยพยายามทำ 3 เรือ่ งทีแ่ ตกต่างกันในไตรสิกขา ให้กลายเป็นเรือ่ งเดียว คือเรือ่ งของ “สติ” และอาศัยสติซง่ึ มีคณ ุ ภาพเฉกเช่นเดียวกันกับทีแ่ สดงไว้ในสัมมาสติเป็น ตัวเดินเรือ่ ง แต่สามารถให้ผลออกมาครบถ้วนเป็น ศีล สมาธิ และปัญญา ตามหลักไตรสิกขา ทัง้ นีด้ ว้ ยมุง่ หวังให้การปฏิบตั สิ ามารถทำได้ตลอดเวลา ในทุกสถานการณ์ และเป็นอันหนึง่ อันเดียวกับชีวติ ประจำวันด้วย กล่าวโดยสรุป การปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง "สติ" สามารถปฏิบตั ไิ ด้ 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. ให้มี "สติ" ระลึกใน "สัมมาทิฏฐิ" (= ความรูค้ วามเข้าใจ ในเรือ่ งของชีวติ ตลอดจนคุณค่าความหมายของสิง่ ต่างๆทีถ่ กู ต้อง) แล้วไปเกีย่ วข้องกับสิง่ ต่างๆ เหล่านั้นด้วยกายและวาจาตามนัย ของ “สัมมาทิฏฐิ” นัน้ จะทำให้เกิดสิง่ ทีเ่ รียกว่า “ศีล” หรืออาจแตก ออกไปได้เป็น สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ 2. ให้ มี "สติ" ระลึกตัง้ มัน่ แน่วแน่อยูใ่ นสิง่ หรืออารมณ์ท่ี กำหนด จะทำให้เกิดสิง่ ทีเ่ รียกว่า ”สมาธิ” หรืออาจแตกออกไปได้เป็น สัมมาวายามะ, สัมมาสติ, สัมมาสมาธิ 3. ให้ มี "สติ" ระลึกพิจารณาอารมณ์เพือ่ รูเ้ ท่าทันความ จริงของอารมณ์ จะทำให้เกิดสิง่ ทีเ่ รียกว่า “ปัญญา” หรืออาจแตกออก ไปได้เป็น สัมมาทิฏฐิ, สัมมาสังกัปปะ และสัมมาญาณะ 53
การจะปฏิบตั ิ สติ อย่างไรใน 3 ลักษณะทีก่ ล่าวข้างต้น ขึน้ อยู่ กับสถานการณ์ของชีวติ ในขณะนัน้ เป็นสำคัญ ในภาวะปกติทั่วไป การปฏิบัติจะหนักไปในทางศี ล กล่าวคือให้มสี ติระลึกในสัมมาทิฏฐิ หรือความรูค้ วามเข้าใจ หรือคุณค่า ความหมายทีถ่ กู ต้องในเรือ่ งต่าง ๆ ทัง้ ทีเ่ ป็นบุคคล สิง่ ของ กฎ กติกา มรรยาท ฯลฯ แล้วใช้กายและวาจาไปทำหน้าทีเ่ กีย่ วข้องให้ถกู ต้องตาม สัมมาทิฏฐินน้ั ๆ ก็จะทำให้เกิดผลเป็นความถูกต้อง ไม่กอ่ ให้เกิดความ ทุกข์ ทีจ่ ะมาสร้างความเดือดร้อน ให้เกิดขึน้ กับตนเองและสังคม ในภาวะทีจ่ ติ รูส้ กึ เหน็ดเหนือ่ ย ไม่มพ ี ลัง วุน่ วาย หรือมี อารมณ์ตา่ ง ๆ รบกวนจิตใจ การปฏิบตั จิ ะหนักไปในทางสมาธิ กล่าวคือ ให้ มี "สติ" ระลึกตัง้ มัน่ แน่วแน่อยูใ่ นสิง่ หรืออารมณ์ทก่ี ำหนด ก็จะทำให้อารมณ์ทั้งหลายที่รบกวนจิตสงบลง ทำให้จิตมีภาวะสงบ ผ่องใส ตัง้ มัน่ และเมือ่ จิตมีความพร้อมเช่นนีแ้ ล้ว จึงออกจากสมาธิ แล้วมาทำหน้าทีต่ า่ ง ๆ ทีจ่ ะต้องทำต่อไป ในภาวะทีจ่ ติ ประสบปัญหา ไม่วา่ จะเป็นปัญหาอะไรก็ตาม ทัง้ ทีเ่ ป็นปัญหาเกีย่ วข้องกับบุคคล สังคม การงาน ฯลฯ หรือปัญหา ของตัวจิตเอง เช่น ความทุกข์ ความไม่สบายใจ ความวิตกกังวล การปฏิบตั ใิ นสถานการณ์แบบนีจ้ ะหนักไปในทางปัญญา กล่าวคือ ให้มี "สติ" ตามระลึกในเรือ่ งหรือสิง่ หรืออารมณ์ทเ่ี ป็นปัญหานัน้ เพือ่ พิจารณา ไต่สวน ให้รเู้ รือ่ งราว ทีม่ าทีไ่ ป ของปัญหา จนพบสาเหตุของ ปัญหา ก็จะทำให้เกิดปัญญารูเ้ ท่าทันความจริง และสามารถแก้ไขปัญหา ทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างแท้จริง ในกรณีของพระพุทธศาสนา ทีม่ งุ่ การปฏิบตั ิ เพือ่ ความดับทุกข์ดบั กิเลส ก็ปฏิบตั ใิ นแบบเดียวกัน เพียงแต่เอาความ ทุกข์หรือกิเลสต่าง ๆ ทีเ่ ป็นปัญหาแท้จริงของชีวติ เป็นตัวตัง้ แล้วใช้สติ 54
ตามรูแ้ ละพิจารณาไต่สวน หากเกิดปัญญารูเ้ ท่าทันความเป็นจริง รูท้ ม่ี า ทีไ่ ป จนรูถ้ งึ สาเหตุหรือต้นตอทีท่ ำให้เกิดกิเลสหรือความทุกข์ได้เมือ่ ใด ปัญญาที่เกิดขึ้น จะทำหน้าที่ดับสาเหตุหรือต้นตอที่ค้นพบนั้น ก็จะ สามารถดับทุกข์และดับกิเลสได้โดยสิน้ เชิงในทีส่ ดุ กล่าวโดยสรุป สถานการณ์ตา่ ง ๆ ของชีวติ มีอยู่ 3 สถานการณ์ ใหญ่ ๆ ดังทีก่ ล่าวมาแล้ว การปฏิบตั ธิ รรมของบุคคลจึงขึน้ อยูก่ บั สถานการณ์เป็นหลัก แล้วปรับเปลีย่ นไปมาอยูต่ ลอดเวลา ขึน้ กับว่าสถานการณ์ ต่าง ๆ จะแปรเปลีย่ นไปอย่างไร หากบุคคลสามารถปฏิบตั สิ ติได้ถกู ต้อง และสอดคล้องกับสถานการณ์จริง นัน่ หมายความว่าจะทำให้ทกุ สถานการณ์ของชีวติ ซึง่ ก็คอื ชีวติ ประจำวันของบุคคล เป็นไปด้วยดี และยังทำให้ กิเลสและทุกข์ในอริยสัจของบุคคลได้รบั การบรรเทาและทำให้หมดสิน้ ไปพร้อม ๆ กัน บทสรุป หนังสือ “ปฏิบัติธรรม (ทำไม?-อย่างไร?)” ขอยุติไว้เพียงนี้ หากเนือ้ หาตามทีไ่ ด้เรียบเรียง จะสามารถช่วยให้ทา่ นผูอ้ า่ นหายสงสัย หรือคลายความสงสัยในการศึกษาและปฏิบตั ธิ รรมในพระพุทธศาสนาได้บา้ ง ก็นบั เป็นอานิสงส์อย่างมากทีไ่ ด้บงั เกิดแล้ว และหากสามารถช่วยให้ ท่านผูอ้ า่ นได้เห็น “ทาง” ทีจ่ ะดำเนินไปสูเ่ ป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา ตลอดจนสามารถพึ่งตนเองในการศึกษาและปฏิบัติธรรมได้ ตามสมควร ก็นบั ว่าได้บรรลุผลอย่างไม่มที ส่ี ดุ ไม่มปี ระมาณแล้วเช่นกัน ขอความเจริญในธรรม จงมีแก่ทา่ นผูอ้ า่ นทุกท่าน. 55
ดรรชนีคน้ คำ กาม 33, 49 กามราคะ 23, 25, 49, 50 กามุปาทาน 23 ขันธ์5 9 ความกลัว 20 ความโกรธ 20 ความโลภ 20 ความหลง 20 จินตนาการ 50, 51 ฉันทะ 3 ดวงตาเห็นธรรม 28 ตัณหา 9, 10, 11, 12, 14 ตัวตน 19, 23, 25 ทิฏฐุปาทาน 23 ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ 10 ทุกขนิโรธอริยสัจ 10 ทุกข์ในไตรลักษณ์ 9, 12, 13, 14 ทุกข์ในเวทนา 9, 12, 13 ทุกข์ในอริยสัจ 8, 9, 12, 13 ทุกขสมุทัยอริยสัจ 9 ทุกขอริยสัจ 8, 11 ทุกขัง 13, 14, 52 เทวดา 21, 22 ธรรมจักษุ 28 ธาตุดิน 15 ธาตุน้ำ 15 ธาตุไฟ 15
ธาตุลม 15 นิจจัง 13, 14 นิวรณ์5 39 เนกขัมมสังกัปป์ 33 ปฏิฆนิมิต 50 ปฏิฆะ 24, 25, 49, 50 ปฏิจจสมุปบาท 12 ปฏิบัติ 4, 5, 6 ปฏิภาคนิมิต 41 ปฏิเวธ 4, 5 ปริยัติ 4, 5, 6 ปลิโพธ 40 ปัญญา 16 ปัญญาสมบูรณ์ 46, 49, 52 ปุถุชน 13 เปรต 20, 22 พระสกทาคามี 21, 22, 24, 46, 47 พระโสดาบัน 21, 22, 24, 46, 47 พระอนาคามี 21, 22, 25, 46, 49 พระอรหันต์ 13, 21, 22, 25, 46, 52 โพธิญาณ 17 มนุษย์ 20, 22 มานะ 24, 25 มิจฉาวณิชชา 37 รูปขันธ์ 8
รูปฌาน 21 รูปพรหม 21, 22 รูปภพ 22 รูปราคะ 24, 25 โลกียะ 18, 19, 20, 21 โลกุตตระ 18, 19, 21 วิจิกิจฉา 23, 48 วิญญาณขันธ์ 8 เวทนาขันธ์ 8 เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส 42 ศรัทธา 2, 3 ศีล5 20 ศีลสมบูรณ์ 46, 47 สมาธิสมบูรณ์ 46, 49 สักกายทิฏฐิ 23, 47 สังขารขันธ์ 8 สังโยชน์10 23 สัญญาขันธ์ 8 สัตว์เดรัจฉาน 20, 22 สัตว์นรก 20, 22 สัทธรรม3 4 สัมมากัมมันตะ 10, 34, 35 สัมมาทิฏฐิ 10, 28, 29, 30, 31, 32, 53 สัมมาวาจา 10, 34, 35 สัมมาวายามะ 10, 37 สัมมาสติ 10, 37, 38 สัมมาสมาธิ 10, 37, 39
56
สัมมาสังกัปปะ 10, 32, 33 สัมมาอาชีวะ 10, 34, 35, สีลัพพตปรามาส 23, 48 สีลัพพตุปาทาน 23 สุขขัง 13, 14 สุภนิมิต 50 หิริ-โอตตัปปะ 21 อธิจิตตสิกขา 43, 44 อธิปัญญาสิกขา 43, 45 อธิสีลสิกขา 43, 44 อนัตตา 13, 14, 52 อนิจจัง 13, 14, 52 อพยาบาทสังกัปป์ 33 อริยมรรคมีองค์8 14 อริยสัจ4 8, 11 อรูปฌาน 21 อรูปพรหม 21, 22 อรูปภพ 22 อรูปราคะ 24, 25 อวิชชา 11, 12, 24, 25 อวิหิงสาสังกัปป์ 33 อสุรกาย 20, 22 อัตตวาทุปาทาน 23 อัตตา 13, 14 อคคหนิมิต 41 อุทธัจจะ 24 อุปาทาน 9 อุปาทาน4 23 อุปาทานขันธ์5 8, 9
รายชือ่ หนังสือทีไ่ ด้จดั พิมพ์มาแล้วของผูเ้ รียบเรียง พ.ศ. 2548 “ความหมายคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการพัฒนาชีวติ ที่ สมบูรณ์แบบ”
พ.ศ. 2549 “ความพอเพียง คือทางรอด ของมนุษย์และสังคม”
พ.ศ. 2550 “หลักธรรมพืน้ ฐานที่ ชาวพุทธพึงรู”้
พ.ศ. 2551 “คูม่ อื บัณฑิตของแผ่นดิน”
พ.ศ. 2552 “คูม่ อื ปัญญา ใน พระพุทธศาสนา”
พ.ศ. 2553 “ปฏิจจสมุปบาท ฉบับ วิเคราะห์-สังเคราะห์”
พ.ศ. 2554 “สติปฏั ฐาน 4 ฉบับ วิเคราะห์-สังเคราะห์”
พ.ศ. 2555 “อริยสัจสำหรับทุกคน”
พ.ศ. 2556 “ความสุขทุกมิติ ตามหลักพระพุทธศาสนา”
57
พ.ศ. 2557 “ชีวติ ติดปัญญา”
ท้ายเล่ม ธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีความลุม่ ลึกและแตกแขนงออกไปมากมาย มีหลักในการคิดและการปฏิบตั แิ ตกต่างกันออกไปหลายวิธี ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ผูอ้ ำนวยการธรรมสถาน ได้ประมวลหลักธรรมและวิธปี ฏิบตั ทิ น่ี า่ สนใจ และอาจจะทำให้หลาย ๆ ท่านทีไ่ ด้อา่ นแล้ว พบหลักคิดและวิธกี ารปฏิบตั ทิ ต่ี รงใจ สามารถนำมาใช้ในการดำรงชีวติ ได้ ก็ถอื ว่าเป็นเรือ่ งทีน่ า่ ยินดียง่ิ และขออนุโมทนาในกุศลจิตครัง้ นีด้ ว้ ย
กรรชิต จิตระทาน ผูอ้ ำนวยการสำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม
58