Program CU Trombone Ensemble Olympic Fanfare
John Williams Arranged by Jon Bohls
Largo from Symphony No. 9 in E Minor Op. 95 "From the New World" Leffe from “One for the Road”
Antonín Dvořák Arranged by Jirajet Thawornsiri Steven Verhelst CU Percussion Ensemble
Escape Velocity Percussion Ensemble
Dave Hall CU Clarinet Ensemble
Sudsanan (สุดสะแนน) for Clarinet Quartet Pas redoublé, Op.86
Praphanpong Maneewong Camille Saint-Saëns Arranged by Wantana Tancharoenpol
Olympic Fanfare John Williams “Olympic Fanfare and theme” ประพันธ์ขึ้นในปี ค.ศ.1984 โดยนักประพันธ์เพลงที่มีชื่อว่า John Williams เขาประพันธ์เพลงนี้ขึ้นมาเพื่อเล่นในพิธีเปิดเกมส์กีฬาโอลิมปิก ที่เมืองลอสแอนเจลิส รัฐ แคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเจ้าภาพ ตอนต้นของเพลงนี้เปิดด้วยการบรรเลงโดยทรัมเป็ตและ จากนั้นถูกรับโดย Low Brass (เครื่องเป่าทองเหลืองเสียงตํ่า) ทําให้ฟังดูแล้วอลังการ เพลงนี้เป็นเพลงใน ฉันทลักษณ์ A-B-A-B Form Trombone 1: จิราเจต ถาวรศิริ
Jirajet Thawornsiri
Trombone 2: สุภาวดี กาหลง
Suphawadee Kalhong
Trombone 3: กิตติภัต ระตินัย
Kittipat Ratinai
Trombone 4: สรนนท์ หอมมณฑา
Soranont Hommontha
Trombone 5: บัณฑิต ผ่องโชค
Bundit Pongchok
Trombone 6: ภาคภูมิ กันนิกา
Parkpoom Kannika
Trombone 7: ปราชญ์ ลิ้มวรนันท์
Pradch Limvoranant
Largo from Symphony No. 9 in E Minor Op. 95 "From the New World" Antonín Dvořák “Largo” หนึ่งในกระบวนที่ไพเราะในบทเพลง Symphony No.9 (New World Symphony) in E minor ประพันธ์โดย Antonin Dvorák ในปี 1893 ท่อน Largo เปิดด้วยการประพันธ์โดยใช้เครื่องเป่า บรรเลงคอร์ดที่ไพเราะฟังง่าย ต่อมาได้ใช้การประพันธ์ทํานองหลักโดย English horn เป็นเครื่องดนตรี ที่บรรเลง ท่อนกลางถูกประพันธ์ให้ผู้ฟังรู้สึก คิดถึงโหยหาและอ้างว้าง และในช่วงท้ายของท่อนนั้นได้ ประพันธ์โดยใช้คอร์ดหลักที่เหมือนตอนต้นท่อนอย่างนุ่มนวล Trombone 1: จิราเจต ถาวรศิริ
Jirajet Thawornsiri
Trombone 2: สรนนท์ หอมมณฑา
Soranont Hommontha
Trombone 3: ยศวดี แสงตรง
Yotwadee Sangtrong
Trombone 4: สรวิชญ์ สังข์ทอง
Sorawitch Sungthong Leffe from “One for the Road” Steven Verhelst
“One for the road” ประพันธ์ขึ้นให้กับวง International Trombone Association โดย Steven Verhelst บทประพันธ์นี้มีใช้ทรอมโบนจํานวน 12 แนว และมีทั้งหมด 4 ท่อน โดยใช้ลักษณะการประพันธ์ เป็นวงขนาดเล็ก 2 วง (Two Choirs) โดยชื่อของแต่ละท่อนได้มีการใช้ชื่อของเบียร์ที่มีชื่อเสียงจาก ประเทศเบลเยียมเป็นแรงบันดาลใจในการประพันธ์ โดยมีชื่อของแต่ละท่อนดังนี้ Leffe, Duvel, Blonde และTripel ความพิเศษของเพลงนี้คือ ผู้เล่นสามารถเรียงลําดับท่อนก่องหลังได้ตามรสนิยมของผู้เล่นเอง ไม่จําเป็นต้องเรียงตามแบบที่ได้กล่าวมาข้างต้น แต่ทั้งนี้ผู้ประพันธ์แนะนําว่าให้เรียงท่อนตามที่ได้กล่าวไว้ ข้างต้น Trombone 1: กิตติภัต ระตินัย
Kittipat Ratinai
Trombone 2: จิราเจต ถาวรศิริ
Jirajet Thawornsiri
Trombone 3: สรนนท์ หอมมณฑา
Soranont Hommontha
Trombone 4: จิรวัฒน์ เอื้อทรงธรรม
Jirawat Auesongthum
Trombone 5: สุภาวดี กาหลง
Suphawadee Kalhong
Trombone 6: ปัฐวีร์ วงศ์พัฒนกูล
Patthavee Vongpatthanakool
Trombone 7: ยศวดี แสงตรง
Yotwadee Sangtrong
Trombone 8: บัณฑิต ผ่องโชค
Bundit Pongchok
Bass Trombone 1: สรวิชญ์ สังข์ทอง
Sorawitch Sungthong
Bass Trombone 2: กิตติวงศ์ นาโควงศ์
Kittiwong Nakowong
Bass Trombone 3: ภาคภูมิ กันนิกา
Parkpoom Kannika
Bass Trombone 4: ปราชญ์ ลิ้มวรนันท์
Pradch Limvoranant
Escape Velocity Percussion Ensemble Dave Hall บทประพันธ์ชิ้นนี้เขียนขึ้นเมื่อช่วงฤดูใบไม้ผลิในปีค.ศ. 2008 สําหรับวงดนตรี 4 ชิ้น (Quartet ประกอบด้วย Keyboard Percussion 3 แนวและ 1 แนวสําหรับ Djembe ซึ่งผู้เล่นแต่ละคนจะต้องเล่น เครื่องกระทบหลายอย่างที่มากกว่า 2 เครื่อง และอาจจะต้องเล่นโน้ตเครื่องอื่นพร้อมกับเครื่องดนตรี หลักประจําแนวของตัวเอง ผลงานชิ้นนี้ได้รับอิทธิพลทางดนตรีมาจาก Bela Bartok อีกด้วย Vibraphone: พิชญา ดลมหัทธนะกิตติ์
Pichaya Dolmahatthanakitti
Marimba 1: จิรัชฌา อริยะวัตรกุล
Jiratcha Ariyawatkul
Marimba 2: ทิพาพร ศรีผดุง
Tipaporn Sipadung
Percussion: ภาวิต กกฝ้าย
Phawit Kokfai สุดสะแนน (Sood Sanan for Clarinet Quartet) ประพันธ์พงศ์ มณีวงษ์
เป็นการนําเอาองค์ประกอบดนตรีอีสาน อัตลักษณ์ของเสียงแคน เครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสานที่มีเสียง ที่เป็นเอกลักษณ์ รวมถึงสังคีตลักษณ์และเทคนิคต่างๆ ของแคน อีกทั้งนําเอาสําเนียงการเป่ามาจากหมอ แคนหลายๆ ท่าน เช่น หมอแคนสมบัติ สิมหล้า หมอแคนถนอม จ่าบาล และหมอแคนแดงต้อย สายข้อง ขาด เป็นต้น มาแทรกในบทเพลงนี้ ซึ่งเป็นลายแคนที่มีความไพเราะและเต็มไปด้วยเทคนิคในการบรรเลงแคน มาเรียบเรียงเสียงประสานใหม่สําหรับวงคลาริเน็ตควอเท็ต ลายสุดสะแนน เป็นลายต้นแบบหรือลายครูในกลุ่มทํานอง “ทางสั้น” ใช้บรรเลงประกอบการลํา ของหมอลํากลอน หรือ หมอลําคู่ เป็นการลําที่โต้ตอบกันระหว่างหมอลําชาย – หญิง ทํานองมีลักษณะ เป็นการด้นลาย ( Improvisation ) ในกลุ่มเสียง ซอล ลา โด เร มี โดยใช้เสียง ซอล เป็นเสียงเสพ (Drone) เพื่อสร้างสําเนียงและสร้างอารมณ์เพลง หากเทียบกับบันไดเสียงหรือโมด (Mode) ในดนตรีตะวันตก ลายสุดสะแนนจะจัดอยู่ในโหมด Mixolydian ซึ่งเป็นโมดที่คล้ายกับบันไดเสียง Major จึงทําให้มีอารมณ์ที่ สดใส สนุกสนาน เร้าใจ เป็นลายแคนที่ทําให้ฟังแล้วผู้ฟังรู้สึกมีความสุข Clarinet: ประพันธ์พงศ์ มณีวงษ์
Praphanpong Maneewong
Pas Redoublé Camille Saint-Saëns Pas Redoublé (Double-Quick Step) , Op. 86 โ ด ย Camille Saint-Saëns (1835-1921) ประพันธ์ขึ้นในปีค.ศ. 1887 เดิมทีเขียนไว้สําหรับเปียโน 4 มือ อัตราจังหวะที่ใช้ในบทเพลงแตกต่างกันไป ตามความสามารถของนักดนตรี เช่นเดียวกับความปรารถนาของผู้ประพันธ์และรูปแบบของยุคสมัยนั้น ในช่วงกลางของศตวรรษที่ 19 หน่วยทหารในบางประเทศ ได้นําบทเพลงนี้มาใช้ในการเดินขบวนด้วย อัตราจังหวะ 90 (ต่อนาที) สําหรับ Slow March (Pas Oedinaire), และอัตราจังหวะ 120 สําหรับ Quick March (Pas Redoublé) และอัตราจังหวะ 160-180 สําหรับ Double Quick March (Pas de Charge) Eb Clarinet
จรรยารักษ์ ปานปลั่ง
Janyarak Panplang
Bb Clarinet 1
ยศ วณีสอน
Yos Vaneesorn
ชนกันต์ เกตุแก้ว
Chanagun Katekaew
ธันยวัฒน์ ดิลกคุณานันท์
Tanyawat Dilokkunanant
รติมา ปะวะภูชะเก
Ratima Pawaphuchakay
พงศ์วิสิษฐ์ สิริวารินทร์
Pongwisit Siriwarin
กีรติ มีสมพืชน์
Keerati Meesompuech
ขวัญชนก สําเร็จประสงค์
Kwanchanok Samrejprasong
ชูวิทย์ ยุระยง
Choowit Yurayong
คริสต์หทัย ปักสมัย
Christhatai Paksamai
ณัฐวัฒน์ แสงศรีลา
Nattawat Saengsrila
ธนกฤต ด้วงคงมนศรี
Tanakrit Duangkhongmonsri
เจตดิลก อุ่มอาสา
Jetdilok Oumasa
ณัฐชนน จรัสพันธุ์
Natchanon Jarusphan
Alto Clarinet
ธนพร พิมพ์เพ็ชร
Thanaphorn Pimpetch
Bass Clarinet
สุรเดช สารอินทร์
Suradet Sarn-in
Bb Clarinet 2 Bb Clarinet 3
Bb Clarinet 4
Contrabass Clarinet กฤตยันพล จตุภิชัยพันธ์
Krityanpon Jathupichaipan
Video & Audio Edit ฤทธิฉัตร เพชรมุนินทร์
Rittichut Phetmunin
วงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-0584 สํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3634-5 E-mail: cuartculture@chula.ac.th
www.cuartculture.chula.ac.th
254 ถนนพญาไท วังใหม่ ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
CU Symphony Orchestra CU Art Culture @cuartculture CU Art Culture