หนังสือที่ระลึกพิธีไหว้ครูดนตรีไทย ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๖๒

Page 1

หนังสือที่ระลึก

พิธีไหว้ครูดนตรีไทย ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๖๒

๑ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ เรือนไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

i


ii


∫∑‰À«â§√Ÿ æ√–√“™π‘æπ∏å„π ¡‡¥Á®æ√–‡∑æ√—μπ√“™ ÿ¥“œ ¬“¡∫√¡√“™°ÿ¡“√’ ÒÙ °√√æÿ¡ª√–π¡°√ª√–≥μ ®ÕßÕ—μ∂∂âÕ¬√ÿ®‘·∂≈ß ∫Ÿ™‘μæ√–§ÿ≥Õ¡√ƒ∑‡≈‘»§’μ°“√¥ÿ√‘¬π—ππ∫摶‡≥»«√‰∑ §◊Õ«‘™™»“ μ√ ÿ∫«√ Õ’°Õߧåæ√–ªí≠® ‘¢‡√» ◊∫»‘≈ªÕ“°√§√–≈Õß π∫∫Ÿ√æ“®√‘¬¡«≈ ®ÿàß¡“ πÕß»√ÿμ»—æÒı ÿ…‘√ √Õÿ¥¡«“√ ÿ«“∑’ ª«√æ√ª√–¥“¡’ ¥ÿ√’¬å ‰∑¬

‘√‘æ®π ”·¥ß ·≈–√®‘μ«®’©—π∑å ∏‘ª√– ‘∑∏‘ª√– “∑ √√§å ∑Õ‡π°π“§√ ∏√‰æ ‘∞“¿√≥å ∏ ¢®—¥æ‘∫—μ‘ºÕß »ÿ¿‡»√…∞≈”¬Õß ·≈–æ√–Õߧåª√–‚§π∏√√æ §ÿ√ÿ≈â«π®–‡π◊ËÕßπ—∫ ∑ª√–°“»ª√–°Õ∫°“√¬å »—°¥‘ ◊∫ “√ ‡°√‘° «— ¥‘Ï»√’

æ‘¡æå§√—Èß·√°„π ¥πμ√’ ‰∑¬Õÿ¥¡»÷°…“ §√—Èß∑’Ë ÒÚ (æ.». ÚıÚÚ) æ‘¡æå§√—Èß∑’Ë Õß„π ¡≥’æ≈Õ¬√âÕ¬· ß (æ.». ÚıÛÙ) Àπâ“ ÚˆÛ æ‘¡æå§√—Èß∑’Ë “¡„π Àπ—ß ◊Õ‰À«â§√Ÿ¥πμ√’ ‰∑¬ ¢Õß ”π—°ß“π§≥–°√√¡°“√«—≤π∏√√¡·Ààß™“μ‘ ‡π◊ËÕß„π°“√®—¥ —¡¡π“¥πμ√’ ‰∑¬-°—¡æŸ™“ (æ.». ÚıÛ˜)


ค�ำน�ำ ดนตรีไทยเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติไทย ที่สั่งสมและสืบทอดต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน เป็นสิ่งที่แสดง ให้เห็นศิลปะทางดนตรีชั้นสูงและลักษณะพิเศษของวัฒนธรรมประจ�ำชาติ พิธีไหว้ครูและการครอบ เป็นจารีตและวัฒนธรรม ประเพณีที่ส�ำคัญควบคู่ไปกับวิถีชีวิตของนักดนตรีไทยทุกคน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด�ำเนินพันธกิจในการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมดนตรีไทยให้มั่นคงอยู่ใน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาจนกระทั่งปัจจุบัน ตั้งแต่เป็นการรวมกลุ่มกันเล่นของนิสิต จนเป็นชมรมดนตรีไทยสโมสรนิสิตจุฬาฯ ในที่ปัจจุบัน รวมทั้งได้มีการเรียนการสอนเป็นหลักสูตรครูดนตรีไทยขึ้นในคณะครุศาสตร์ และผลิตศิลปินบัณฑิตทางดนตรีขึ้น ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ ในบางโอกาสยังได้รวมตัวกันเป็นวงดนตรีไทยประจ�ำมหาวิทยาลัยอีกด้วย ทั้งนี้ ส�ำนักบริหาร ศิลปวัฒนธรรม ท�ำหน้าที่ในการสนับสนุนและประสานงานให้เกิดกิจกรรมและโครงการทางดนตรีไทยเพื่อการอนุรักษ์ สืบรักษา และเผยแพร่ออกสู่ประชาคม สังคมไทยและนานาชาติต่อไป ส�ำหรับหนังสือที่ระลึกพิธีไหว้ครูดนตรีไทยของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๖๒ นี้ ได้ขออนุญาตจัดพิมพ์ โน้ตเพลงไทย จากหนังสือศิลปากร ซึ่งเป็นโน้ตเพลงเก่า ทรงคุณค่า รวมทั้งเพิ่มเติมบทความของอาจารย์ ดร.สิริชัยชาญ ฟักจ�ำรูญ ศิลปินแห่งชาติ และบทความของอาจารย์บุญช่วย โสวัตร ผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีไทยของมหาวิทยาลัยไว้อีกด้วย จึงหวังว่าหนังสือที่ระลึกเล่มนี้ น่าจะเป็นประโยชน์และเป็น เอกสารส�ำคัญทางดนตรีและนาฏศิลป์ไทยสืบไป

ส�ำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒


โน้ตเพลงไทย ส�ำเนาจากหนังสือ

ศิลปากร พุทธศักราช ๒๕๐๒ - ๒๕๐๔ (ปีที่ ๓ - ปีที่ ๔)

เพลงขวัญเมือง เพลงเขมรพวง เพลงเขมรเลียบนคร เพลงทยอยเขมร ๓ ชั้น เพลงสุดสงวน เถา เพลงแขกลพบุรี เถา เพลงแขกต่อยหม้อ เถา เพลงลาวเสี่ยงเทียน เถา เพลงธรณีร้องไห้ ๓ ชั้น


จาก : วารสารศิลปากร ปีที่ ๓ เล่มที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ ถึง ปีที่ ๔ เล่มที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๐๔ พิมพ์ที่ โรงพิมพ์พระจันทร์ ท่าพระจันทร์ พระนคร นายสนั่น บุณยศิริพันธ์ุ เจ้าของ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา พ.ศ. ๒๕๐๒ - ๒๕๐๔


3


4


5


6


7


8


9


10


11


12


13


14


15


16


17


18


19


20


21


22


23


24


25


26


27


28


29


30


31


32


33


34


35


36


37


38


39


40


41


42


43


44


45


46


47


48


49


50


51


52


53


54


55


56


57


58


59


60


61


62


63


64


65


66


67


68


69


70


71


72


73


74


75


76


77


78


79


80


81


82


83


84


85


86


87


88


89


90


91


92


93


94


95


96


97


98


99


100


101


102


103


104


105


106


107


108


109


110


111


112


113


114


115


116


เพลงเรื่อง โครงการในพระราชด�ำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สิริชัยชาญ ฟักจ�ำรูญ* ประเภทของเพลงไทย คุณครูมนตรี ตราโมท ได้เขียนไว้เป็นต�ำราเรียนไว้เมือ่ สมัยทีผ่ เู้ ขียนยังเรียนอยูท่ โี่ รงเรียนนาฏศิลป์ ท่านได้แบ่งประเภทของเพลงออกเป็นเพลง ๓ ประเภทด้วยกัน คือ ๑. ประเภทเพลงหน้าพาทย์ ๒. ประเภทเพลงเรื่อง ๓. ประเภทเพลงมโหรี

ในที่นี้ขอยกเฉพาะประเภทเพลงเรื่อง มากล่าว ท่านอธิบายไว้ว่า

ประเภทเพลงเรือ่ งนัน้ เป็นไปได้หลายสาขา (ค�ำว่า “เรือ่ ง” ในหนังสือศัพท์สงั คีต อธิบายว่า เรือ่ ง คือ เพลงหลาย ๆ เพลง ที่ได้จัดรวมไว้ส�ำหรับบรรเลงติดต่อกันไป เพลงทั้งหมดนั้นรวมเรียกว่า เพลงเรื่อง และชื่อเฉพาะของเพลงเรื่องนั้น โดยมาก มัก เรียกตามชื่อของเพลงที่อยู่ต้นของ เรื่อง นั้นๆ...) คือ ๑. ประเภทเพลงช้า เช่นเรื่องมอญแปลง (มักมีเพลงสองไม้และเพลงเร็วติดไปด้วย) ๒. ประเภทเพลงสองไม้ เช่น เรื่องทยอย ๓. ประเภทเพลงเร็ว เช่น เรื่องแขกมัดตีนหมู (มะตีมู) ๔. ประเภทเพลงฉิ่ง (๒ ชั้นและชั้นเดียว) และยังมีเพลงเรือ่ งพิเศษออกไปอีก เช่น เรือ่ งท�ำขวัญ เรือ่ งนางหงส์ เป็นต้น เพลงเรือ่ งเหล่านีบ้ างเพลงก็อยูใ่ นประเภท ไหว้ครู และบางเพลงก็เข้าอยู่ในประเภทหน้าทับพิเศษได้ ส�ำหรับเพลงเรื่องที่จะกล่าวในที่นี้ ขอยกเอาเพลงเรื่องตามพระราชด�ำริในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชด�ำริฯ โปรดให้มีการเก็บรักษา อนุรักษ์ สืบสาน ในเพลงเรื่อง ซึ่งเพลงเรื่องนั้นเป็นของส�ำคัญ เป็นของรัก ของหวงของแต่ละบ้านดนตรี ไม่อยากจะให้สูญไป จากการที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนิน เป็นประธานการประชุมเรื่อง “เพลงเรื่อง” ณ อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ทรงเป็นห่วงในเรื่องการที่จะอนุรักษ์ และสืบสาน เพลงเรื่อง ในการประชุมครั้งนั้น ท่านได้มีกระแสพระราชด�ำรัส ในที่ประชุมตอนหนึ่ง ความว่า “...ตอนหลังนีพ่ ดู กันว่าเพลงเรือ่ งยังมีอกี อยากจะรวบรวมเอาไว้ แต่วา่ ขัน้ นีน้ า่ จะท�ำประมาณรวบรวม แล้วก็พยายามเก็บรักษาไว้.... แต่ว่าจะต้องมีหลักเกณฑ์อยู่ว่า คือจะต้องเป็นความยินยอมหรือพอใจของ เจ้าของ ...เพราะว่าเราไม่ได้เป็นว่า เอามาแล้วกลายเป็นลิขสิทธิ์ของเรา แต่ว่าจะรวบรวมว่ามีอะไรบ้าง คือบางคนเขาก็มีความคิดเรื่องว่าเพลงนี้จะต้องอยู่ในครอบครองเขาจนกระทั่งสิ้นสูญ แล้วไม่ให้เก็บ แต่ถ้า คิดว่าของพวกนีน้ า่ จะเก็บเอาไว้ นีก้ เ็ ป็นคนบ้าเก็บของ ไม่ชอบทีจ่ ะให้อะไรมันขาดหาย หายสูญไปก็เท่านัน้ ...” จากกระแสพระราชด�ำรัสข้างต้น สิ่งส�ำคัญตอนนี้คือ การอนุรักษ์และสืบสาน เพราะทรงทราบว่าเพลงเรื่องเป็นสิ่งที่ นักดนตรีที่เป็นบรมครูในสมัยก่อนได้จัดผูกร้อยเรียงกันไว้ โดยได้น�ำเอาเพลงหลาย ๆ เพลงมาบรรเลงติดต่อกัน โครงสร้าง ของเพลงเรื่องก็จะมี เพลงสองชั้น เริ่มต้นด้วยเพลงอะไรก็จะตั้งชื่อด้วยเรื่องนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น ถ้าเริ่มต้นด้วยเต่ากินผักบุ้ง * ศิลปินแห่งชาติ และศิลปินแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

117


ก็จะตัง้ ชือ่ ว่า เรือ่ งเต่ากินผักบุง้ และมีเพลงอืน่ ๆ ตามมาอีกหลายเพลง จากนัน้ บรรเลงเพลงสองชัน้ ต่อเนือ่ งมาหลาย ๆ เพลงแล้ว ก็จะมีเพลงเรียกว่าสองไม้ตามมา แล้วสุดท้ายออกเพลงเร็ว ในอัตราจังหวะชั้นเดียว และสุดท้ายลงจบด้วยเพลงลา นี้เป็นโครงสร้างของเพลงเรื่อง ที่จะท�ำการเก็บข้อมูลในระยะเริ่มต้น จึงมีการจัดประชุม และขอความร่วมมือจาก หน่วยงานหลักของราชการก่อน อันได้แก่ ส�ำนักการสังคีต กรมศิลปากร วงดนตรีของสี่เหล่าทัพ (กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพ อากาศ ต�ำรวจ) และวงของกองทัพไทย วงดนตรีของส�ำนักวัฒนธรรมฯ กรุงเทพมหานคร วงกรมประชาสัมพันธ์ จากนั้นจะเป็น วงบ้านพาทยโกศล และวงอื่น ๆ ตามมา โดยในขณะนี้ (มิถุนายน – สิงหาคม ๒๕๖๒) ได้เริ่มด�ำเนินการไปบางส่วนแล้ว โดยเรียนเชิญวงดนตรีจากหน่วยงานดังกล่าว มาบันทึกเสียง พร้อมรวบรวมข้อมูลประวัติที่มา การสืบทอด บันทึกโน้ต เพลงเรื่อง เพื่อเก็บเป็นประวัติศาสตร์ของชาติต่อไป ในการนี้ ส�ำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท�ำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานหลัก ในการด�ำเนินการ เก็บข้อมูล บันทึกเสียง บันทึกภาพเคลื่อนไหว จัดเตรียมสถานที่บันทึกเสียง และอ�ำนวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ โดยในระยะ ๖ เดือน(เมษายน - กันยายน ๒๕๖๒) หลังจากเสด็จพระราชด�ำเนินมาประชุมโครงการ คาดหวังว่าจะบันทึกเพลงเรือ่ งจากวงต่าง ๆ วงละ ๒ เรื่องเป็นอย่างน้อย และจะได้น�ำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายรายงานเป็นครั้งแรก และหลังจากทุกวงมีความพร้อมก็จะบันทึก เพิ่มเติมอีก เพราะแต่ละวงคงมีเพลงเรื่องต่าง ๆ อีกหลายเรื่อง ที่ควรบันทึกจัดเก็บต่อไป เพลงเรื่ องเป็น เพลงประเภทหนึ่งที่นัก ดนตรี ห วงแหน และถื อเป็ น สมบั ติล�้ ำ ค่ า ที่ ไ ด้ สื บสานกั น มาจากครู อาจารย์ ไม่ได้สืบทอดกันมากนัก ถ้าจะเปรียบกับโบราณวัตถุก็จะเป็นของชิ้นเอกที่ส�ำคัญที่สุดที่รักษาไว้ เก็บไว้เป็นของส�ำคัญของแต่ละ บ้านดนตรี สิ่งส�ำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ ส�ำนวนท�ำนองของเพลงเรื่องซึ่งเป็นทางฆ้อง เป็นการใช้มือฆ้องที่ลึกซึ้ง ผู้ที่ได้เรียน เพลงเรื่องหลาย ๆ เรื่อง และได้มือฆ้องจากเพลงเรื่องต่าง ๆ จะท�ำให้เข้าใจเพลงไทยได้ละเอียดลึกล�้ำมากขึ้น และจะสามารถ น�ำไปใช้ในการที่จะคิดพัฒนาหรือสร้างสรรค์เพลงไทยต่อไปได้ในอนาคต จึงนับว่าเพลงเรื่อง เป็นเพลงที่ส�ำคัญมากประเภทหนึ่ง ของวิชาการดนตรีของไทย ขอกราบพระบาท สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงมี สายพระเนตรยาวไกลถึงคุณค่า ความส�ำคัญของเพลงเรื่อง มองเห็นถึงการอนุรักษ์ สืบสาน และเห็นถึงการที่จะพัฒนาดนตรีไทย ให้ก้าวหน้าต่อไป

118


ดนตรีไทยกับสังคม

บุญช่วย โสวัตร*

๑. ลักษณะและคุณสมบัติของนักดนตรีไทย นักดนตรีไทยที่ดี จะต้องอยู่ในองค์ประกอบแห่งความงาม คือ ๑. ฝีมืองาม ๒. ความประพฤติงาม ๓. ความรู้งาม อันที่จริงนั้นลักษณะและคุณสมบัติของนักดนตรีไทยในอุดมคติก็คือ รูปจ�ำลองของบุคลิกไทยนั่นเอง ได้แก่ ความสุภาพ อ่อนน้อม ซื่อสัตย์ เมตตากรุณา ร่าเริงเบิกบาน อดทน มีน�้ำใจ เหล่านี้เป็นต้น จะเห็นได้ว่าดนตรีไทยและความเป็นไทยนั้น จะขาด จากกันเสียมิได้ไม่ว่าจะพิจารณาที่จุดไหนตั้งแต่ระบบการศึกษาหาความรู้ไปจนถึงการประกอบอาชีพ และการก�ำหนดสถานภาพ ของบุคคล เราจะเห็นได้วา่ วงการดนตรีไทยนัน้ เป็นหน่วยสังคมหนึง่ ของสังคมไทยทีม่ รี ะบบการควบคุมมีความเป็นอยูแ่ ละปกครอง กันโดยระบบเบ็ดเสร็จในตัวเอง กล่าวคือมิได้อยู่ได้ด้วยการใช้ก�ำหนดกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษรบังคับ แต่อยู่ด้วยกฎแห่ง วิถีประชาคือใช้ความเห็นที่ถูกต้องในหลักการเดียวกัน มีทั้งระบบการตอบแทนความดี และระบบการลงโทษผู้กระท�ำการ อันไม่เหมาะสม ความเป็นอยู่ส่วนใหญ่อยู่ด้วยระบบการช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายใต้หลักแห่งคุณธรรม ให้การชมเชยและยกย่องผู้ที่ มีความสามารถสูงและพร้อมถึงซึ่งความเป็นผู้มีคุณธรรมสูง เป็นปูชนียบุคคล และจะต�ำหนิติเตียนผู้กระท�ำผิดระบบระเบียบ ต่าง ๆ จนกว่าจะละเว้นสิ่งที่พลาดต่าง ๆ เหล่านั้น

ระบบการควบคุมนี้จ�ำแนกออกเป็น ๒ ลักษณะ คือ ๑. ระบบการให้การศึกษา ๒. ระบบการก�ำหนดสถานภาพ

ระบบการอนุญาตให้การศึกษาในวงการดนตรีไทย ใช้ระบบการประกอบพิธไี หว้ครูเป็นเกณฑ์ พิจารณาดูตามความเหมาะสม ในการอนุญาตให้นกั ดนตรีได้ศกึ ษาเพลงและความรูต้ ามล�ำดับขัน้ อันควรและเหมาะสมแก่ความสามารถของแต่ละบุคคลตามล�ำดับ จนถึงการอนุญาตให้ศึกษาวิชาการขั้นสูงสุด ระบบการก�ำหนดสถานภาพ โดยทั่วไปเป็นไปตามระดับของความสามารถโดยมีผู้ที่มีความสามารถและความรู้สูง เป็นเสมือนผู้ให้การรับรอง แต่ส�ำหรับในความสามารถขั้นเป็นผู้ฝีมือสูงหรือเหนือผู้อื่นนั้น จะใช้ระบบการประกวดประชันกัน เป็นเครื่องมือวัดมาตรฐานของความรู้และความสมารถ นักดนตรีไทยทีถ่ งึ พร้อมด้วยความงามดังกล่าวข้างต้น อันควรทีน่ สิ ติ จะได้รจู้ กั และศึกษาค้นคว้าความเป็นเอตทัคคะของ แต่ละท่านต่อไป ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน คือ ๑. พระประดิษฐ์ไพเราะ (มี ดุริยางกูร) ๒. ครูช้อย สุนทรวาทิน ๓. พระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) ๔. พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) ๕. จางวางทั่ว พาทยโกศล ๖. หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ๗. หลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) * ผู้เชี่ยวชาญดนตรีไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

119


ทั้งเจ็ดท่านนี้มีพระคุณและบทบาทอย่างใหญ่หลวงแก่การดุริยางค์ไทยทั้งเชิงทฤษฎี ปฏิบัติ และประวัติศาสตร์ เป็นปูชนียบุคคลอันควรแก่การเอาเยี่ยงอย่าง เป็นแบบฉบับในอุดมคติของนักดนตรีไทยเป็นบุคคลผู้ควรบูชาโดยแท้

๒. ความสัมพันธ์กับสังคมไทย นอกจากลักษณะของบุคลิกภาพดังได้กล่าวถึงในหัวข้อที่แล้ว ดนตรีไทยยังมีความผูกพันกับสังคมไทยทุกระดับอย่าง แนบแน่นตั้งแต่สังคมในระดับชาวบ้านไปจนถึงราชส�ำนัก จนอาจกล่าวได้ว่าทุกการเคลื่อนไหวของสังคมไทยจะมีดนตรีไทย ร่วมอยู่ด้วยเสมอไป ตั้งแต่ประเพณี ขนบธรรมเนียมต่าง ๆ ไปจนถึงความเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์ทุกระยะ ยิ่งไปกว่านั้น เราถือได้ว่าดนตรีไทยเป็นโฉมหน้าหนึ่งแห่งบูรณาการอันสมบูรณ์ของวัฒนธรรมไทย ทั้งเชิงคติธรรม ซึ่งหมายถึง คติหรือหลัก ด�ำเนินชีวิต เช่น ความเมตตากรุณา ความกตัญญูกตเวทิตา เชิงเนติธรรม ซึ่งหมายถึง Social sanction คือการเห็นชอบ ของสังคม เช่น บุคคลใดประพฤติตนตามจารีตประเพณีหรือก�ำหนดกฎหมายที่หมู่คณะตั้งขึ้นก็จะได้รับความเห็นชอบ ถ้าฝ่าฝืน ก็จะได้รับโทษทัณฑ์จากสังคม เป็นต้น เชิงวัตถุธรรม ซึ่งหมายถึง สิ่งอันจับต้องได้ทั้งวัตถุทางศิลปกรรมและวัตถุซ่ึงสนอง ความต้องการของชีวติ และร่างกาย และเชิงสหธรรม ซึง่ หมายถึง ข้อยึดถือปฏิบตั ใิ นการติดต่อเกีย่ วข้องซึง่ กันและกัน เช่น มารยาท ในโอกาสต่าง ๆ เป็นต้น จะเห็นได้วา่ ดนตรีไทยมีบทบาทส�ำคัญในทุกแง่โดยถ้วนจนอาจเป็นทีย่ อมรับได้วา่ ถ้าวัฒนธรรมไทยสูญเสีย ดนตรีไทยไปก็จะกลายเป็นวัฒนธรรมที่เสื่อมบุคลิกภาพและไร้เสถียรภาพ อนึ่งเมื่อพิจารณาในแง่ของการสังสรรค์วัฒนธรรม (Acculturation) จะพบว่าดนตรีไทยเป็นสถาบันสังคมที่มีแรงต้าน การบ่าของวัฒนธรรมตะวันตกค่อนข้างสูง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของตนเองอันเนื่องจากการให้การศึกษา ระบบการก�ำหนด สถานภาพและบทบาทของบุคลากร เป็นต้น ดนตรีไทยจึงเป็นสถาบันที่ด�ำรงความเป็นเอกลักษณ์ไทยไว้ได้ด้วยความมั่นคงประดุจ โฉมหน้าอันถาวรของสังคมไทยฉะนั้น

๓. การใช้เพลงเกียรติยศ ชาติซึ่งมีอารยธรรมเก่าแก่นั้นย่อมมีการปฏิบัติให้เกียรติแก่ฐานันดรต่างๆ ด้วยรายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกันออกไป ชาติไทยก็เช่นกัน และดูจะมีระเบียบวิธีปฏิบัติเป็นการเฉพาะละเอียดปลีกย่อยมากกว่าชาติใดๆ เช่น การเสด็จพระราชด�ำเนิน ถวายผ้าพระกฐิน ณ พระอารามหลวง นั้น ถ้าองค์พระมหากษัตริย์เสด็จพระราชด�ำเนินไปด้วยพระองค์เอง การประโคมดุริยางค์ ก็เป็นอย่างหนึ่ง แต่ถ้าเป็นกฐินพระราชทานให้เจ้านายหรือข้าราชการผู้ใหญ่ไปแทนพระองค์ การบรรเลงก็เป็นอีกอย่างหนึ่ง เช่น จะใช้แตรสังข์ประโคมได้ก็เฉพาะผู้รับพระราชทานพานทอง หรือเป็นเจ้าพระยาก็มีแต่แตรงอนกับแตรฝรั่งไม่มีสังข์ เช่นนี้ เป็นต้นไป ลักษณะเช่นนี้ถ้าดูกันโดยผิวเผินหรือคิดข้างตื้นก็จะเห็นเป็นการมากเรื่อง แต่ถ้าพิเคราะห์โดยใจเป็นธรรมจะต้อง ยอมรับว่าสังคมใดที่มีการใคร่ครวญคิดค้นแบบแผนการปฏิบัติซึ่งแสดงการคารวะ แสดงการยกย่องให้เกียรติได้โดยวิจิตรพิสดาร สังคมนั้นย่อมต้องมีวัฒนธรรมอันยาวนานมีเอกลักษณ์เฉพาะตน และมีประวัติศาสตร์อันทรงคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์ การบรรยายในหัวข้อนีจ้ ะไม่กล่าวถึง ระเบียบการบรรเลงดุรยิ างค์ไทยในงานพระราชพิธตี า่ ง ๆ ซึง่ มีรายละเอียดอันสมควร กล่าวถึงในรายวิชาอื่นๆ ต่อไป แต่จะสรุปหลักการใช้เพลงเกียรติยศเท่าที่มีอยู่ในปัจจุบันคือ ๑. เพลงชาติ ๒. เพลงสรรเสริญพระบารมี ๓. เพลงมหาฤกษ์ ๔. เพลงมหาชัย ๑. การบรรเลงเพลงชาติไทย ก. ในกรณีที่มุ่งหมายจะแสดงความเคารพต่อชาติ ข. ในการพิธีต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับประชาชน ค. ในการสโมสรสันนิบาตที่มีการดื่มเพื่อความเจริญของชาติ

120


๒. การบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี ก. ดุริยางค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีทั้งรับและส่งเสด็จในกรณีต่อไปนี้ ๑) พิธีการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนิน ๒) พิธีการที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จพระราชด�ำเนิน ๓) พิธีการที่สมเด็จพระบรมราชินีนาถในรัชกาลอื่นๆ เสด็จพระราชด�ำเนิน ๔) พิธีการที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชด�ำเนิน

ข. ในกรณีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จพระราชด�ำเนิน พร้อมด้วยประมุขต่างประเทศ ดุริยางค์บรรเลงชาติของประเทศนั้นจบแล้วบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีทั้งรับและส่งเสด็จ ถ้าประมุขต่างประเทศเสด็จหรือไปตามล�ำพัง ดุริยางค์บรรเลงเพียงเพลงชาติของประเทศนั้น ไม่ต้องบรรเลงเพลงสรรเสริญ พระบารมี ค. งานเสด็จพระราชด�ำเนินซึ่งมีผู้แทนพระองค์ ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ๑) ผู้แทนพระองค์ตั้งแต่พระบรมวงศ์เธอขึ้นไป หรือสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอหรือสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ ให้ดุริยางค์บรรเลงเพลงมหาชัยเมื่อเสด็จมาถึง เมื่อผู้แทนพระองค์ประทับเรียบร้อยแล้วบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี เป็นการเปิดงาน เมื่อปิดงานบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี เมื่อผู้แทนพระองค์เสด็จกลับบรรเลงเพลงมหาชัย ๒) ผู้แทนพระองค์เป็นบุคคลอื่น ๆ ดุริยางค์ไม่ต้องบรรเลงเพลงใด ๆ เป็นการรับหรือส่ง แต่คงบรรเลง เพลงสรรเสริญพระบารมีเป็นการ เปิด – ปิดงานเช่นข้อแรก ง. ในการสโมสรสันนิบาตที่มีการดื่มถวายพระพรพระมหากษัตริย์ จ. ในการมหรสพซึ่งมีการแสดงเป็นพิธีใหญ่ ฉ. ในกรณีใดๆ ซึ่งมุ่งหมายจะถวายความเคารพแด่พระมหากษัตริย์

๓. การบรรเลงเพลงมหาชัย

ก. ในกรณีซึ่งเป็นงานพิธีหรืองานสโมสรเกียรติยศ บรรเลงเมื่อผู้เป็นประธานหรือแขกเกียรติยศสูงสุดของงานนั้น มาถึง แต่ผู้เป็นประธานมีต�ำแหน่งต�่ำกว่าข้าหลวงประจ�ำจังหวัดลงมาไม่ต้องบรรเลง ถ้าเป็นแขกต่างประเทศบรรเลงรับตั้งแต่ ชั้นผู้ส�ำเร็จราชการขึ้นไป ข. ในการดื่มอวยพรซึ่งไม่อาจใช้เพลงใดเพลงหนึ่งได้ เช่น การดื่มเพื่อสัมพันธ์ไมตรีระหว่างสองชาติ หรือนานาชาติ ให้บรรเลงมหาชัยแทนเพลงชาติใดชาติหนึ่ง ค. พิธีการที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเสด็จพระราชด�ำ เนินดุริยางค์บรรเลงเพลงมหาชัยทั้งรับและ ส่งเสด็จฯ ง. พิ ธี ก ารที่ ส มเด็ จ พระเจ้ า ลู ก ยาเธอ สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอหรื อ พระบรมวงศ์ เ ธอขึ้ น ไปเสด็ จ เป็ น ประธาน ดุริยางค์บรรเลงเพลงมหาชัยทั้งรับและส่งเสด็จฯ จ. ในกรณีใด ๆ อันไม่สามารถใช้เพลงชาติหรือเพลงสรรเสริญพระบารมี

๔. การบรรเลงเพลงมหาฤกษ์

ใช้ในกรณีที่เกี่ยวกับฤกษ์เท่านั้นไม่ใช้ในโอกาสอื่นใด เช่น การชักผ้าคลุมป้ายเปิดสถานที่ต่าง ๆ เปิดอนุสาวรีย์ หรือเริ่ม เททองหล่อพระพุทธรูปซึ่งมีก�ำหนดฤกษ์แน่นอนว่าเป็นเวลานั้นเวลานี้ แต่ในกรณีที่อาจใช้เพลงชาติหรือเพลงสรรเสริญพระบารมี ได้ก็ต้องใช้แล้วแต่กรณีโดยไม่ต้องบรรเลงเพลงมหาฤกษ์เช่น การเปิดอนุสาวรีย์อันเป็นพระบรมรูปพระมหากษัตริย์ต้องใช้ เพลงสรรเสริญพระบารมี ดังนี้เป็นต้น

121


๔. ดนตรีไทยกับสุขภาพจิต

หัวข้อนี้จะแบ่งออกเป็น ๒ ตอน

ตอนแรกจะได้กล่าวถึงผลของดนตรีไทย อันมีกจิ กรรมแห่งมนัสโดยทัว่ ไป จากนัน้ จึงจะได้พจิ ารณาผลกระทบต่อสุขภาพจิต เป็นอันดับหลัง เมื่อมนุษย์ใคร่ครวญสุนทรียภาพจากดนตรี เราเชื่อได้ว่าน่าจะมีผลกระทบต่อกิจกรรมแห่งมนัสดังต่อไปนี้ ๑. ผลต่อ Sub – conscious บทเพลงแต่ละบทย่อมมีผลต่อการปลุกเร้า Sub – conscious ของแต่ละปัจเจกบุคคล คล้อยตามการสั่งสมประสบการณ์เฉพาะหน่วย เช่น บทเพลงเศร้ามีผลต่อการเร้า Sub – conscious ซึ่งเป็นผลลัพธ์จากการ สั่งสมประสบการณ์ผิดหวังรันทด หดหู่ เสียใจ เป็นต้น แต่การปลุกเร้านี้มิได้ก่อให้เกิดกิจกรรมแห่งมนัสเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง อันเนื่องจากประสบการณ์เดิมอย่างเดียวก็หาไม่ หากจะมีธาตุสุนทรีย์อนุสัยอยู่ด้วยเสมอไป ดังนั้นปัจเจกบุคคลหนึ่ง ๆ ย่อมมี ความพึงพอใจใคร่จะได้ฟังบทเพลงเศร้าใด ๆ อยู่เสมอ แต่ไม่หวังจะให้เกิดประสบการณ์แห่งความเศร้าซึ่งได้เคยเกิดมาแล้วจริง ๆ ในชีวิตอีกเป็นอันขาด ๒. ผลต่อ Imagination โดยเหตุที่ดนตรีเป็นศิลปะที่มิได้เสนอภาพพจน์ที่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดหรืออีกนัยหนึ่งดนตรีเสนอ มโนภาพกว้าง ๆ เพียงโครงสร้าง แต่ไม่กำ� หนดรายละเอียดตายตัว ผูฟ้ งั จึงอาจอาศัยดนตรีเป็นสือ่ น�ำความคิดสร้างสรรค์จนิ ตนาการ ส่วนตัวตามอ�ำเภอใจ ๓. ผลต่อความส�ำนึกในเชื้อชาติ ดนตรีไทยเป็นบูรณาการของวิถีไทยโดยสรุป เช่น ความอ่อนหวาน ความงาม ความเป็นระเบียบ ความเป็นอิสระ ซึ่งไม่เหมือนชาติใด ๆ จึงอาจสรุ ป ได้ ว ่ า บุ ค คลใดซึ่ ง ผ่ า นขบวนการสั่ ง สมวั ฒ นธรรม (Enculturation) อย่างไทยมาเป็นระยะเวลาพอสมควรเมือ่ ได้ฟงั ดนตรีไทยโดยใคร่ครวญย่อมบังเกิดความส�ำนึกรูใ้ นความเป็นไทย ๔. ผลต่อความคิดเชิงศาสนา ดนตรีไทยมีวิวัฒนาการควบคู่กับชาติไทยมาโดยมีพุทธศาสนาเป็นหลักโดยเหตุที่ดนตรี ในระดับศึกษิต (Ckassic) ย่อมสามารถสร้างมโนภาพเหนือธรรมชาติ (Super – natural)ได้ ดนตรีไทยก็เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เพลงในหมวดหน้าพาทย์ ยิ่งไปกว่านั้นหากพิจารณาในแง่ของปรัชญาถือได้ว่าดนตรีเป็นแง่ (Aspect) หนึ่งของความจริงอันติมะ (Ultimate Reality) ซึ่งซ่อนอยู่เบื้องหลังการปรากฏของโลกและจักรวาล การใคร่ควรญดนตรีเป็นทางหนึ่งแห่งการยกระดับ ความรู้ของมนุษย์เพื่อไปสู่ความจริงที่สูงยิ่งไปกว่าการใช้อายตนะโดยธรรมดา การทีจ่ ะพิจารณาว่าดนตรีไทยมีผลต่อสุขภาพจิตของผูฟ้ งั อย่างไรนัน้ จ�ำเป็นต้องนิยามค�ำว่าสุขภาพจิตเสียก่อน องค์การ อนามัยโลกได้ให้ความหมายของสุขภาพจิตว่า “ความสามารถของบุคคลที่จะปรับตัวให้มีความสุขอยู่กับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้ดีมีสัมพันธภาพอันดีงามกับบุคคลอื่น และด�ำรงชีวิตได้ด้วยความสมดุลย์อย่างสุขสบาย รวมทั้งสามารถสนองความต้องการของตนเองในโลกที่ก�ำลังเปลี่ยนแปลงได้ โดยไม่มีข้อขัดแย้งภายในจิตใจ ทั้งนี้ไม่ได้หมายความเพียงการปราศจากอาการของโรคประสาทและโรคจิตเท่านั้น” พิจารณาจากนิยามเช่นนี้ดูเป็นการยากที่จะหาผลกระทบของดนตรีไทย ต่อสุขภาพจิตของผู้ฟังเพราะดูเหมือนจะเป็น คนละเรื่อง แต่ถ้าเราจะปรับปรุงค�ำถามเสียใหม่ว่า ดนตรีไทยส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้ฟังหรือไม่อย่างไร น่าจะท�ำให้การพิจารณา ง่ายเข้า

เราอาจสรุปโดยกว้าง ๆ ได้ว่า ผู้ที่มีสุขภาพจิตดี ย่อมประกอบไปด้วยลักษณะ ๓ ประการดังต่อไปนี้ ๑. เป็นผู้ปรับตัวดี (Adjusted person) ๒. เป็นผู้สร้างสรรค์ได้ (Productive person) ๓. เป็นผู้มีชีวิตชีวา (Zest for life)

ดังนัน้ ถ้าดนตรีไทยสามารถสนับสนุนคุณสมบัตทิ งั้ สามประการนี้ หรืออย่างน้อยไม่เป็นปฏิปกั ษ์ตอ่ การพัฒนาคุณสมบัติ ในปัจเจกบุคคล ย่อมถือได้ว่าดนตรีไทยเป็นวิถีทางหนึ่งในการส่งเสริมสุขภาพจิตของบุคคล ย้อนกลับมาในทฤษฏีดุริยางค์ไทย การบรรเลงทุกครั้งจะต้องมีความคิดสร้างสรรค์ในบทเพลงอยู่เสมอไม่มากก็น้อย ลักษณะนีค้ ล้ายคลึงกับ Improvisation ในการบรรเลงแจ๊สสมัยใหม่ถา้ ผูฟ้ งั มีพนื้ ฐานความรูเ้ ป็นทุนเดิมอยูแ่ ล้ว ย่อมต้องรูส้ กึ รูค้ ดิ

122


ในกระบวนการนี้ไปด้วย เท่ากับเป็นการฝึกใช้ความคิดสร้างสรรค์ไปด้วยพร้อมกันกับผู้บรรเลง ถึงแม้ผู้ฟังไม่มีพื้นฐานความรู้ ทางดนตรีอยู่เลยก็ยังน่าจะรู้สึกถึงการผันแปรของบทเพลงไปตามวรรคตอนและบันไดเสียงต่าง ๆ อันถือได้ว่าเป็นการประสาน กลมกลืนเพื่อเป็นวิถีไปสู่ความไพเราะในที่สุด ผู้เขียนเชื่อว่าโครงสร้างของมนัสในแต่ละบุคคลย่อมมีรูปแบบความกลมกลืน โดยคร่าว ๆ อยูแ่ ต่เดิมอันอาจเป็นผลจากวัฒนธรรม ภาษา ประสบการณ์ การเรียนรู้ ฯลฯ ในขณะทีบ่ ทเพลงก�ำลังด�ำเนินไปเรือ่ ย ๆ ผู้ฟังก็จะเทียบลีลาของบทเพลงนั้นเข้ากับโครงสร้างแห่งความกลมกลืนเฉพาะตัวเรื่อยไปโดยอัตโนมัติ เมื่อบทเพลงบูรณาการ ี จนบรรลุ เ อกลั ก ษณ์ ต ามการนิ พ นธ์ ข องคตกวี ผู ้ ฟ ั ง ก็ ย ่ อ มเกิ ด ความรู ้ สึ ก เข้ า กั น ได้ กั บ บทเพลงหรื อ ขั ด แย้ ง กั บ บทเพลง อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ไม่ว่าอย่างไรผู้ฟังก็ได้มีโอกาสใช้ความคิด ใคร่ควรญ วิเคราะห์ ทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ ถือได้ว่าเป็นการ พัฒนาลักษณะสร้างสรรค์ได้อย่างหนึ่ง ส�ำหรับในแง่ของการปรับตัวและความสนุกสนานรื่นเริงนั้น ในด้านของผู้ฟังเราอาจจะพิจารณาได้ตั้งแต่มารยาท ในการฟัง เรื่อยไปจนถึงอรรถรสในดนตรี ซึ่งเป็นเรื่องทั่วๆ ไป ของดนตรีทุกรูปแบบไม่ใช่แต่จะมีเฉพาะไทยเท่านั้น จึงจะขอข้าม ไปเสีย เป็นอันสรุปได้ว่าดนตรีไทยให้ผลส่งเสริมต่อสุขภาพจิตของผู้ฟังได้กล่าวมาแล้วข้างต้นแต่เป็นการจ�ำเป็นต้องเสริมไว้ ในทีน่ อี้ กี นิดว่า การบรรเลงและการฟังดนตรีทมี่ ไิ ด้มจี ดุ จบทีอ่ รรถรสแห่งความงามของดนตรี ย่อมไม่อาจบรรลุความสุขทีแ่ ท้จริงได้ เพราะศิลปะแห่งการดนตรีมิได้มีอยู่เพื่อสิ่งใดนอกตัวมันเอง หากแต่มีอยู่เพื่อความงามอันเป็นปรนัยของตนเองให้มนุษย์ได้รู้จัก และเข้าใจ

ที่มา : บทความในหนังสือดนตรีไทยปริทรรศน์ พ.ศ. ๒๕๒๖

123


®√√¬“∫√√≥¢Õß»‘≈ªîπ Ò. Ú. Û. Ù. ı.

¥”√ß™’«‘μ„Àâ¡’‡°’¬√μ‘ ·≈–¡’§ÿ≥∏√√¡ ‰¡à„™â»‘≈ª–‡ªìπ¡√√§‰ª Ÿàº≈Õ◊Ëπ„¥∑’Ë ‰¡à„™à§ÿ≥§à“∑“ß ÿπ∑√’¬– ‡Õ◊ÈÕ§«“¡√Ÿâ„π«‘™“™’æμàÕ‡æ◊ËÕπ√à«¡ß“π·≈–‡æ◊ËÕπ¡πÿ…¬å ∑–πÿ∫”√ÿß»‘≈ª–„Àâ«—≤π“∂“«√·≈–∫√‘ ÿ∑∏‘Ï ™—Ë«π‘√—π¥√å «‘æ“°…åº≈ß“π»‘≈ª–¥â«¬À≈—°¢Õߧ«“¡§‘¥ √â“ß √√§å

®√√¬“∫√√≥¢Õß»‘≈ªîππ’È π—∫‰¥â«à“‡ªìπ ‘Ëß∑’Ë ‰√â´÷Ëߧ«“¡‡ªìπ‚∑… μàÕ —ߧ¡ ·≈–®–‡ªìπ ‘Ëßπ”¡“´÷Ëߪ√–‚¬™πå ÿ¢¢Õß —ߧ¡·≈–ª√–‡∑»™“μ‘ ¢Õ߉∑¬‚¥¬·∑âÕ’°∑“ßÀπ÷Ëß


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.