หนังสือที่ระลึกพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ประจำปี 2561 ณ วัดเขาแก้ววรวิหาร (พระอารามหลวง) จ.สระบุรี

Page 1



หนังสือ : วัดเขาแก้ววรวิหาร พิมพ์ครั้งที่ ๑ : ตุลาคม ๒๕๖๑ จํานวน : ๗๐๐ เล่ม จัดพิมพ์โดย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ที่ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน) โทรศัพท์ : ๐-๒๘๘๒-๑๐๑๐, ๐-๒๔๒๒-๙๐๐๐ www.amarin.co.th ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ (National Library of Thailand Cataloging in Publication Data) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วัดเขาแก้ววรวิหาร.-- กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๖๑ . ๑๓๖ หน้า. I. ชื่อเรื่อง. ISBN 978-616-407-377-7 CIP 294.3135


คำ�นำ� วัดเข�แก้ววรวิห�รเป็นพระอ�ร�มหลวง มีประวัติคว�มเป็นม� ตั้ ง แต่ ค รั้ ง กรุ ง เก่ � ในบั น ทึ ก เผยว่ � พื้ น ที่ เ ข�แก้ ว มี ค ว�มสำ � คั ญ เพร�ะเป็ น เส้ น ท�งไปยั ง รอยพระพุ ท ธบ�ทและพระพุ ท ธฉ�ย อั น เป็ น เหตุ ใ ห้ สั น นิ ษ ฐ�นว่ � ในภ�ยหลั ง จึ ง ได้ ส ร้ � งวั ด เข�แก้ ว วรวิ ห �รขึ้ น ในบั น ทึ ก ยั ง เพิ่ ม เติ ม ว่ � ครั้ ง ที่ พ ระบ�ทสมเด็ จ พระจอมเกล้ � เจ้ � อยู ่ หั ว เสด็ จ ขึ้ น ม�นมั ส ก�รรอยพระพุ ท ธบ�ท และพระพุ ท ธฉ�ยที่ ส ระบุ รี กระบวนเสด็ จ ได้ แ วะพั ก ณ วั ด เข�แก้ ว วรวิ ห �รแห่ ง นี้ เช่ น เดี ย วกั บ พระเจ้ � แผ่ น ดิ น แห่ ง กรุงศรีอยุธย�หล�ยพระองค์ ที่อ�จเคยเสด็จประพ�สผ่�นม�ก่อน ณ วั ด เขาแก้ ว วรวิ ห ารแห่ ง นี้ มี ส ถาปั ต ยกรรมอั น ประกอบด้ ว ย พุทธศิลป์ มีลักษณะเฉพาะตัว สมควรแก่การศึกษาและน�าเสนอให้ เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ก่ ส าธารณชนผู ้ ใ คร่ รู ้ นอกจากนั้ น ยั ง มี ชุ ม ชนเก่ า ที่วางตัวอยู่รอบวัด ได้แก่ ชาวไท-ยวนและลาวเวียงที่อยู่ห่างออกไป ซึ่งอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานเมื่อต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ชุมชนเหล่านี้มี บทบาทส� า คั ญ ให้ ก ารอุ ป ถั ม ภ์ พ ระพุ ท ธศาสนาและกิ จ การต่ า ง ๆ ของวัดตลอดเรื่อยมา โดยสามารถคงรักษาประเพณีแบบอย่างดั้งเดิม ตามวัฒนธรรมของตนไว้ได้เป็นอย่างดี วัดเขาแก้ววรวิหารและชุมชน เมื่อประกอบเข้าด้วยกัน จึงเกิดเป็นภาพลักษณ์ที่มีสีสัน อันเชิญชวน ให้ผู้คนเข้าไปรับรู้เรียนรู้สาระต่าง ๆ ทั้งในความเป็นองค์รวมที่น่า ตื่นตา และในรายละเอียดอันมีนัยส�าคัญแฝงไว้ ศูนย์รูปธรรมศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ได้ร่วมกับ ส�านัก บริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยถือเอาฤกษ์ดี แห่ง “เทศกาลกฐินทาน” จัดท�าหนังสือ วัดเขาแก้ววรวิหาร เล่มนี้ ขึ้ น เ พื่ อ ป ร ะ ส ง ค ์ ใ น ก า ร ท ะ นุ บ� า รุ ง ม ร ด ก ส� า คั ญ ข อ ง ช า ติ ใ ห ้ ยื น ยาวสื บ ไป เฉพาะส� า หรั บ หนั ง สื อ เล่ ม นี้ ได้ เ พิ่ ม การน� า เสนอ ภาพซ้ อ น เพื่ อ การซึ ม ซั บ ทั ศ นศิ ล ป์ ขึ้ น อี ก มิ ติ ห นึ่ ง นอกเหนื อ จาก การเสนอภาพที่ มี คุ ณ ภาพอั น เป็ น ความโดดเด่ น ของหนั ง สื อ ซึ่งด�าเนินการมานับถึงเล่มนี้เป็นปีที่เก้าแล้ว หวังอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจักหยั่งถึงความตั้งใจของคณะบรรณกรได้ ด้วยความเชื่อมั่นอย่างยิ่งว่า นี่คือหนังสือที่มีคุณค่า เป็นสมบัติที่น่า ถือครอง และจักเป็นภาพจ�าส�าคัญแก่อนาคตกาลต่อไป

จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย


ส�รบัญ

-

๑ ๒ ๓

-

ประวัติศ�สตร์เมืองสระบุรี (๑๕)

-

-

วัดเข�แก้ววรวิห�ร (๔๗)

-

-

ระเบียงภ�พ (๑๐๗)

บรรณ�นุกรม (๑๓๕) คณะบรรณกร (๑๓๖)



11

วัดเขาแก้ววรวิหาร

เมืองสระบุรี

เมืองสระบุรี

เมืองสระบุรีอยู่ในเขตภ�คกล�ง มีอ�ณ�เขตติดต่อกับหล�ยจังหวัด ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดกับจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดนครนายก ทิศใต้ มีอาณาเขตติดกับจังหวัดปทุมธานี และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดกับจังหวัดลพบุรี ข้อมูลพื้นฐาน จั ง หวั ด สระบุ รี อ ยู ่ ห ่ า งจากกรุ ง เทพมหานคร ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ประมาณ ๑๑๐ กิ โ ลเมตร มี พื้ น ที่ ๓,๕๗๖ ตารางกิ โ ลเมตร สามารถแบ่ ง ประเภท ของพื้ น ที่ อ อกได้ ๓ ประเภท คื อ ภู เ ขาสู ง ภู เ ขาลู ก โดด และที่ ร าบลุ ่ ม แม่ น�้ า มี แ ม่ น�้ า สายหลั ก คื อ แม่ น�้ า ป่ า สั ก ที่ มี ต ้ น ก� า เนิ ด มาจากจั ง หวั ด เลย ไหลผ่ า นไป ยั ง จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ เข้ า สู ่ จั ง หวั ด ลพบุ รี จั ง หวั ด สระบุ รี และไหลรวมกั บ แม่น�้าเจ้าพระยาที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

๑๒ ๘ ๗

๙ ๖

๑๑

๑๓ ๑๐

๕ ๓

จังหวัดสระบุรีแบ่งเป็น ๑๓ อําเภอ ๑๑๑ ตําบล ๙๖๕ หมู่บ้าน (๑) อําเภอเมืองสระบุรี (๒) อําเภอแก่งคอย (๓) อําเภอหนองแค (๔) อําเภอวิหารแดง (๕) อําเภอหนองแซง (๖) อําเภอบ้านหมอ (๗) อําเภอดอนพุด (๘) อําเภอหนองโดน (๙) อําเภอพระพุทธบาท (๑๐) อําเภอเสาไห้ (๑๑) อําเภอมวกเหล็ก (๑๒) อําเภอวังม่วง (๑๓) อําเภอเฉลิมพระเกียรติ


วัดเขาแก้ววรวิหาร

เมืองสระบุรี

13

สัญลักษณ์ จั ง ห วั ด ส ร ะ บุ รี ใ ช ้ สั ญ ลั ก ษ ณ ์ เ ป ็ น รู ป ม ณ ฑ ป พระพุ ท ธบาท ซึ่ ง ได้ ค ้ น พบรอยพระพุ ท ธบาทใน รั ช สมั ย ของสมเด็ จ พระเจ้ า ทรงธรรม และได้ ก ลาย เป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ คู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ งตั้ ง แต่ ค รั้ ง นั้ น รวมทั้ ง เกิ ด เป็ น ราชประเพณี ใ นการเสด็ จ พระราชด� า เนิ น นมั ส การรอยพระพุ ท ธบาทของพระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ทรงปฏิบัติสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน ค�าขวัญ “พระพุ ท ธบาทสู ง ค่ า เขื่ อ นป่ า สั ก ชลสิ ท ธิ์ ฐานผลิ ต อุ ต สาหกรรม เกษตรน� า ล�้ า แหล่ ง เที่ ย ว หนึ่ ง เดี ย ว กะหรี่ปั๊บนมดี ประเพณีตักบาตรดอกไม้งาม เหลือง อร่ามทุ่งทานตะวัน ลือลั่นเมืองชุมทาง”


ประวัติศ�สตร์ เมืองสระบุรี


17

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

เมืองสระบุรีก่อนสมัยอยุธย�

พื้นที่บริเวณเมืองสระบุรีในสมัยก่อนประวัติศ�สตร์ ร�ว ๓๐๐,๐๐๐ ปี มี ห ลั ก ฐ�นท�งธรณี วิ ท ย�ระบุ ว่ � เคยเป็ น ทะเลม�ก่ อ น ต่ อ ม�เมื่ อ มี ก �รทั บ ถม ของตะกอนจนเกิ ด เป็ น พื้ น ดิ น จึ ง ทำ � ให้ เ ขตของ แนวช�ยฝั ่ ง ร่ น ตั ว ลงม�ท�งใต้ ม �กขึ้ น 1 เกิ ด เป็ น ชุมชนก่อนประวัติศ�สตร์บริเวณพื้นที่เมืองสระบุรี ได้ แ ก่ แหล่ ง โบร�ณคดี ถำ้ � เทพนิ มิ ต ธ�รทองแดง และแหล่งโบร�ณคดีเข�ปัถวี (พระพุทธฉ�ย) ซึ่งพบ หลั ก ฐ�นท�งโบร�ณคดี ที่ บ ่ ง ชี้ ถึ ง ก�รตั้ ง ถิ่ น ฐ�น ของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศ�สตร์อย่�งชัดเจน ต่อมามีการร่นตัวของแนวชายฝั่งราว ๓,๐๐๐ ปีที่แล้ว ท� า ให้ เ กิ ด เป็ น แนวชายฝั ่ ง ทะเลในเขตที่ ร าบลุ ่ ม ภาคกลาง เว้ า เข้ า ไปในเขตที่ ร าบโดยเริ่ ม จากด้ า น ทิ ศ ตะวั น ตกที่ จั ง หวั ด เพชรบุ รี ขึ้ น ไปทางเหนื อ ที่ จั ง หวั ด ราชบุ รี นครปฐม สุ พ รรณบุ รี อ้ อ มไปทาง ทิ ศ ตะวั น ออกผ่ า นจั ง หวั ด อ่ า งทอง ลพบุ รี สระบุ รี น ค ร น า ย ก แ ล ้ ว อ ้ อ ม ล ง ม า ท า ง ใ ต ้ ผ ่ า น จั ง ห วั ด ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และชลบุรี 2 เกิดเป็นเมืองใน วั ฒ นธรรมทวารวดี ใ นพื้ น ที่ บ ริ เ วณดั ง กล่ า ว โดย บริเวณเมืองสระบุรีเกิดขึ้น ๒ เมือง ได้แก่ เมืองโบราณ อู่ตะเภา และเมืองโบราณขีดขิน ก�าหนดอายุอยู่ในช่วง พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๑ – ๑๖ 3 และยั ง มี เ มื อ งโบราณ อี ก เมื อ งที่ เ กิ ด ขึ้ น ในช่ ว งหลั ง ของวั ฒ นธรรมขอม อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ – ๑๙ คือ เมืองโบราณ บ้ า นไผ่ ล ้ อ ม ในเขตอ� า เภอเสาไห้ ลั ก ษณะเป็ น เมื อ ง ที่ มี คู น�้ า คั น ดิ น ล้ อ มรอบ เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มมุ ม มน มี แ ม่ น�้ า ป่ า สั ก ไหลผ่ า น 4 หลั ง จากนั้ น สั น นิ ษ ฐานว่ า มี การอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นเมืองสระบุรี ในสมัยอยุธยา

วัดพระพุทธฉาย อําเภอเมือง จังหวัดสระบุรี

1 ผ่ อ งศรี วนาสิ น , รายงานผลการวิ จั ย เรื่ อ ง เมื อ งโบราณบริ เ วณ ชายฝั ่ ง ทะเลเดิ ม ของที่ ร าบภาคกลางประเทศไทย : การศึ ก ษา ตํ า แหน่ ง ที่ ตั้ ง และภู มิ ศ าสตร์ สั ม พั น ธ์ (กรุ ง เทพฯ : จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๑๕๒๓), หน้า ๒๐. 2 เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๔. 3 กรมศิ ล ปากร, มรดกทางวั ฒ นธรรมบนแผ่ น ดิ น ไทย ก่ อ นพุ ท ธ ศตวรรษที่ ๑๙ (พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๑๓), หน้า ๔. 4 ณั ฐ วิ ท ย ์ พิ ม พ ์ ท อ ง , “ ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ ง เ มื อ ง ส ร ะ บุ รี ใ น สมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๕๕๐,”(วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตร์ ม ห า บั ณ ฑิ ต ส า ข า ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ์ ไ ท ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๕๐), หน้า ๑๖.


19

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

ภาพถ่ายทางอากาศเมืองโบราณอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๙ ในอําเภอเสาไห้ (ถ่ายเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๙) ที่มา:หอจดหมายเหตุแห่งชาติ

พระพุทธฉาย อําเภอเมือง จังหวัดสระบุรี

ภาพสลักบนผนังถํ้าพระโพธิสัตว์ หรือถํ้าพระงามอําเภอแก่งคอย ศิลปกรรมในวัฒนธรรมทวารวดี อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖–๑๗

แม่นํ้าป่าสัก บริเวณอําเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี


21

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

เมืองสระบุรีในสมัยอยุธย�

หลั ก ฐ�นสมั ย อยุ ธ ย�ที่ ก ล่ � วถึ ง “เมื อ งสระบุ รี ” พ บ ใ น ส มั ย ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ไ ต ร โ ล ก น � ถ (พ.ศ.๑๙๙๑ – ๒๐๓๑) ซึ่งเป็นช่วงของก�รปรับปรุง ก�รปกครองจ�กระบบหั ว เมื อ งหน้ � ด่ � นม�เป็ น ระบบรวมอำ � น�จเข้ � สู ่ ศู น ย์ ก ล�ง โดยเอกส�รที่ กล่ � วถึ ง เมื อ งสระบุ รี ได้ แ ก่ พระอั ย ก�รระบบ ศักดิน� กล่�วว่�เมืองสระบุรีมีฐ�นะเป็น เมืองตรี 5 จั ด เป็ น หั ว เมื อ งชั้ น ในขึ้ น ตรงกั บ ร�ชธ�นี มี ก �ร ป ก ค ร อ ง แ บ บ ก ร ม ก � ร เ มื อ ง ขึ้ น กั บ ป ร ะ แ ด ง เสน�ฎขว� 6 เจ้ � เมื อ งที่ อ อกพระพิ ไ ชยณรงค์ 7 นอกจ�กนี้เมืองสระบุรียังเป็นเมืองหน้� ด่�นรับทัพ ที่ ย กม�จ�กท�งด้ � นทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ อย่�งเช่นในสมัยของพระมหินทร�ธิร�ช (ครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๑๑๑ – ๒๑๑๒) กองทัพกรุงศรีสัตน�คนหุต ยกลงม�เพื่ อ ช่ ว ยกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ย�ในก�รรบกั บ กรุงหงส�วดี โดยยกลงม�ท�งเมืองเพชรบูรณ์ลงม� ถึงเมืองสระบุรี และได้ถูกหงส�วดีตีแตกบริเวณนี้ 8

พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี

รอยพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี

5 การปกครองในสมั ย ของพระบรมไตรโลกนาถแบ่ ง ชั้ น ของเมื อ ง ออกเป็น ๔ ชั้น ได้แก่ เอก โท ตรี และจัตวา ในแต่ละชั้นของเมือง จะแบ่ ง การปกครองออกเป็ น ๒ ประเภท ได้ แ ก่ เมื อ งที่ ป กครอง อย่ า งจตุ ส ดมภ์ (เวี ย ง วั ง คลั ง นา ) ตามแบบราชธานี และการ ปกครองแบบกรมการเมื อ งที่ แ บ่ ง ออกเป็ น ๓ ตํ า แหน่ ง ได้ แ ก่ เจ้าเมือง ปลัดเมือง และยกกระบัตร 6 ประแดงเสนาฎขวา หมายถึ ง เจ้ า หน้ า ที่ ที่ ติ ด ต่ อ ประสานงาน ระหว่างหัวเมืองกับส่วนกลาง (สมุหกลาโหม) 7 ธรรมคามน์ โภวาที , ประวั ติ ม หาดไทย (ส่ ว นกลาง) ภาคที่ ๒ พิมพ์ครั้งที่ ๑, (พระนคร : โรงพิมพ์มหาดไทย กรมราชทัณฑ์, ๒๕๑๐), หน้า ๒๓๖ – ๒๔๒. 8 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และ พระราชพงศาวดารกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ . คํ า ให้ ก าร ชาวกรุงเก่า. คําให้การขุนหลวงหาวัด, (นนทบุรี : ศรีปัญญา, ๒๕๕๓), หน้า ๑๒๕.


23

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

ถนนฝรั่งส่องกล้อง

บริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของพระตําหนักท่าเจ้าสนุก ปัจจุบันเป็นที่เอกชน

เมื อ งสระบุ รี มี ค วามส� า คั ญ เพิ่ ม มากขึ้ น ในสมั ย ของ พระเจ้ า ทรงธรรม (พ.ศ. ๒๑๔๘) โดยได้ ค ้ น พบ รอยพระพุ ท ธบาทบนเขาสุ ว รรณบรรพต 9 ซึ่ ง เชื่ อ ว่ า เป็นรอยพระพุทธบาท ณ เขาสัจพันธบรรพต ตามที่ กล่ า วไว้ ใ นอรรถกถาปุ ณ โณวาทสู ต ร 10 พระเจ้ า ทรงธรรมจึ ง ได้ โ ปรดฯ ให้ ส ร้ า งมณฑปครอบรอย พระพุ ท ธบาทเอาไว้ และได้ ท รงโปรดฯ ให้ ตั ด ถนน พระเจ้าทรงธรรม หรือถนนฝรั่งส่องกล้อง11 เพื่อเชื่อม ต่ อ เส้ น ทางการเสด็ จ พระราชด� า เนิ น ทางชลมารค จากพระบรมมหาราชวั ง โดยตั ด ตรงจากบริ เ วณ ท่ า เจ้ า สนุ ก มาถึ ง ยั ง พระพุ ท ธบาท มี ก ารสร้ า ง พ ร ะ ต� า ห นั ก เ พื่ อ เ ป ็ น ที่ ป ร ะ ทั บ ใ น ก า ร เ ส ด็ จ พ ร ะ ร า ช ด� า เ นิ น ม า น มั ส ก า ร ร อ ย พ ร ะ พุ ท ธ บ า ท ตลอดจนมี ก ารสร้ า งสาธารณู ป โภคต่ า ง ๆ เพื่ อ อ�านวยความสะดวกแก่ผู้เดินทาง ตัวอย่างเช่น บ่อน�้า และศาลาที่พักต่าง ๆ เป็นต้น12

ก า ร เ ส ด็ จ พ ร ะ ร า ช ด� า เ นิ น ม า น มั ส ก า ร ร อ ย พ ร ะ พุทธบาทได้กลายเป็นราชประเพณีที่พระมหากษัตริย์ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาทรงปฏิ บั ติ สื บ เนื่ อ งมา โดยปรากฏ หลั ก ฐานการเสด็ จ พระราชด� า เนิ น และการบู ร ณ ปฏิ สั ง ขรณ ์ พ ระ พุ ท ธบา ทในหลา ย รั ช กาล เช่ น ใ น รั ช ก า ล ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ ้ า อ ยู ่ หั ว บ ร ม โ ก ศ (พ.ศ. ๒๒๗๕ – ๒๓๐๑) ซึ่งทรงเสด็จพระราชด�าเนิน นมัสการรอยพระพุทธบาทถึง ๓ ครั้ง13 เป็นต้น 9 Bidyalankarana, H.R.H. Prince, “The Buddha’s Footprint”, JSS Vol.28 (1935), p. 5. 10 http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha. php?b=14&i=754 11 เรียกว่า ถนนฝรั่งส่องกล้อง เนื่องจากกลุ่มที่สร้างถนนเส้นนี้คือ ชาวฮอลันดา 12 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และ พระราชพงศาวดารกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ . คํ า ให้ ก าร ชาวกรุงเก่า. คําให้การขุนหลวงหาวัด, หน้า ๒๖๓ – ๒๖๓. 13 เรื่องเดียวกัน, หน้า ๓๖๐, ๓๖๔ และ ๓๖๘.


25

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

พระตำ�หนักและสถ�นที่สำ�คัญต่�งๆ บนเส้นท�งนมัสก�รรอยพระพุทธบ�ท

พระตำ�หนักธ�รเกษม

พระตำ�หนักที่สร้�งขึ้นเพื่อเป็นที่ประทับในคร�วเสด็จพระร�ชดำ�เนินม�นมัสก�รรอยพระพุทธบ�ท มี ๓ ตำ�หนัก ได้แก่ พระตำ�หนัก ท้�ยพิกุล พระตำ�หนักธ�รเกษม และพระตำ�หนักสระยอ นอกจ�กนี้ยังมีบ่อนำ้�ต�มเส้นท�งฝรั่งส่องกล้อง ได้แก่ บ่อบ�งโขมด บ่อโสก บ่อดงโอบ บ่อเจ้�เณร เป็นต้น รวมทั้งศ�ลเจ้�พ่อเข�ตก ซึ่งเป็นที่เค�รพของผู้ที่เดินท�งไปนมัสก�รรอยพระพุทธบ�ทม�ช้�น�น ซึ่งชื่อสถ�นที่เหล่�นี้ ยังปร�กฏอยู่ในนิร�ศพระบ�ทของสุนทรภู่ และนิร�ศพระบ�ทสำ�นวนน�ยจัดด้วย14

พระพุทธบ�ท พระตำ�หนักท้�ยพิกุล พระตำ�หนักสระยอ

ศ�ลเจ้�พ่อเข�ตก

พระตําหนักท้ายพิกุล

พระตําหนักธารเกษม

พระตําหนักสระยอ

บ่อดงโอบ

บ่อดงโอบ

พระตำ�หนักท่�เจ้�สนุก

14 กรมศิลปากร, ประชุมวรรณคดีเรื่องพระพุทธบาท (กรุงเทพฯ : สํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์, ๒๕๕๖), หน้า ๑๖๙ – ๑๙๒, ๒๔๕ – ๒๗๓.


27

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

๑. พระตำ�หนักท้�ยพิกุล ตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณเชิ ง วั ด พระพุ ท ธบาทด้ า นทิ ศ ตะวั น ตก สร้ า งขึ้ น ในสมั ย ของสมเด็ จ พระเจ้ า ทรงธรรม 15 เป็ น พระต� า หนั ก แห่ ง แรกที่ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ที่ ป ระทั บ แรม ปั จ จุ บั น เหลื อ เพี ย งแนวก� า แพงด้ า นนอก ฐานพระต� า หนั ก เกยด้านในและด้านนอก โดยเกยที่ปรากฏอยู่ด้านนอกก�า แพงนั้น สันนิษฐานว่า อาจสร้ า งขึ้ น ในสมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เมื่ อ ครั้ ง เสด็ จ พระราชด� า เนิ น นมั ส การรอยพระพุ ท ธบาท ดั ง ปรากฏในจดหมายเหตุ รัชกาลที่ ๔ เรื่องการท�ายอดพระมณฑปเมืองพระพุทธบาท ความว่า “ทรงเห็นว่า...ในวังท้ายพิกุล จะต้องให้มีที่ประทับในหลวง ...เป็นที่ประทมอีก หลังหนึ่ง เป็นพลับพลาที่เสด็จฯ ออกคราวหน้า จะเอาอย่างพระที่นั่งไพศาล ทักษิณ และอมรินทร์วินิจฉัย ... แต่อย่าให้ใหญ่โตด้วยว่าเป็นของไม่ได้ใช้อะไร นัก...สองข้างประตูจะใคร่ให้มีเกยอยู่ริมกําแพงข้างตะวันออกเป็นเกยประทับ เกยหนึ่ง ข้างตะวันตกเป็นเกยประทับหลังหนึ่ง...” 16

นอกจากนั้นยังมีการกล่าวถึงพระต�าหนักท้ายพิกุลในวรรณกรรมอื่นๆ อีก ตัวอย่างเช่น พิกุลเกิดเกลื่อนใกล้ ท้ายพิกุลกลางสนาม มณฑลพิกุลงาม ดูระดูดอกกี้

อาราม สนุกนิ์นี้ คือฉัตร เฉลิมฤๅ เมื่อไซ้ฤๅวายฯ โคลงนิราศพระพุทธบาท 17

“ครั้นถึงถิ่นท้ายพิกุลระกําโหย รินรินเสาวคนธ์ปนพยอม

พระพายโรยรสพิกุลจรูญหอม ช่างดกค้อมหอมรื่นชื่นชูใจ” นิราศพระบาทสํานวนนายจัด 18

15 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐ. คําให้การชาวกรุงเก่า. คําให้การขุนหลวงหาวัด, หน้า ๒๖๓ – ๒๖๔. 16 จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๔ เลขที่ ๑๕๐ เรื่อง การทํายอดพระมณฑปเมืองพระพุทธบาท ฯลฯ (เอกสาร ตัวเขียน) 17 ประชุมวรรณคดีเรื่องพระพุทธบาท, หน้า ๘๒. 18 เรื่องเดียวกัน,หน้า ๒๖๓ เกยด้านในพระตําหนักท้ายพิกุล


29

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

๒. พระตำ�หนักธ�รเกษม ตั้ ง อยู ่ ด ้ า นทิ ศ เหนื อ ห่ า งจากวั ด พระพุ ท ธบาทราว ๑.๕ กิ โ ลเมตร สร้ า งขึ้ น ในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ในราว พ.ศ. ๒๑๗๖ มีล�า ธารชื่อ ธารทองแดง โอบพระต� า หนั ก ด้ า นทิ ศ เหนื อ และทิ ศ ตะวั น ออก ซึ่ ง ธารทองแดงแห่ ง นี้ เ ป็ น แหล่งน�้าส�าคัญ ที่ส่งต่อไปยังพระพุทธบาทและพระต�าหนักท้ายพิกุลด้วย “...ช่ า งกองใหญ่ ย กขึ้ น ไปทํ า พระตํ า หนั ก ริ ม ลํ า ธารท้ า ยธารทองแดงคิ ด ทด ท่ อ นํ้ า ปิ ด ให้ ไ หลเชี่ ย วมาแต่ ธ ารทองแดง อั น พระราชนิ เ วศน์ ซึ่ ง ทํ า นั้ น ในดง พฤกษชาติ ร ่ ม รื่ น ชื่ น ชิ ด เป็ น ที่ สํ า ราญราชหฤทั ย ปิ ่ น ธเรศตรี ว รกษั ต ริ ย ์ ส รรพ แสนสนุก และคิดผ่อนทางชลชลาให้ไหลหลั่นลงมายังห้วยศิลาดาษ จึงให้นาม ชื่อ พระราชนิเวศน์ธารเกษมและให้วนจรกะนําออกไปตกแต่งธารโสกปลาย ธารทองแดงเป็นที่ประพาสแห่งหนึ่ง แต่ตกแต่งพระราชนิเวศน์ธารเกษมและ ธารทองแดง บริเวณพระพุทธบาทและสถลมารคทั้งปวง ๓ เดือนก็เสร็จ...” 19

ปั จ จุ บั น พระต� า หนั ก เหลื อ เพี ย งฐาน มี แ ผนผั ง เป็ น อาคารตรี มุ ข ฐานพระ ต� า หนั ก ก่ อ ด้ ว ยหิ น สอปู น แบ่ ง ออกเป็ น ๔ ห้ อ งและมี ก ารท� า เกยไว้ ใ นตั ว พระต�าหนักทั้งด้านทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศใต้ ท่าธารสินธุเกษมกระแสชลคคึก ไหลโลดคโครมคึก

ฉฉาน ปุณโณวาทคําฉันท์ 20

คําขนานธารเกษมก็สมชื่อ เมื่อใช้บนเล่นชลธารา

สนุกคือเรื่องอิเหนาเสน่หา อันเรื่องว่ากับเราเห็นก็เช่นกัน นิราศพระบาทของสุนทรภู่ 21

19 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐ. คําให้การชาวกรุงเก่า. คําให้การขุนหลวงหาวัด, หน้า ๒๗๔ – ๒๗๕. 20 ประชุมวรรณคดีเรื่องพระพุทธบาท, หน้า ๒๘. 21 เรื่องเดียวกัน,หน้า ๑๙๐. ฐานพระตําหนักธารเกษม


31

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

๓. พระตำ�หนักสระยอ ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของวัดพระพุทธบาทราว ๑ กิโลเมตร ด้านทิศเหนือของ พระต�าหนักมีสระน�้า ๑ สระ ชื่อ สระยอ สร้างขึ้นในสมัยของสมเด็จพระนารายณ์ โดยสันนิษฐานว่าเป็น ต�าหนักนารายณ์ ที่กล่าวถึงในค�าให้การขุนโขลน ซึ่งระบุ ต�าแหน่งว่าอยู่บริเวณท้ายสระยอ ส่วนชื่อพระต�าหนักสระยอคงจะเป็นการเรียก ในคราวหลัง 22 “...ตํ า แหน่ ง ทางรั บ เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น นั้ น ข้ า พระพุ ท ธบาทได้ ทํ า แต่ ลานพระลงไปถึ ง ตํ า หนั ก นารายณ์ เ ปนเจ้ า ท้ า ยสระยอ แต่ ตํ า หนั ก นารายณ์ เปนเจ้าลงไปถึงโป่งนางงามนั้น เมืองลพบุรีได้ทํา...” 23

ปั จ จุ บั น พระต� า หนั ก เหลื อ เพี ย งส่ ว นฐาน มี ผั ง เป็ น รู ป ตรี มุ ข วางอาคารใน แนวแกนทิศตะวันออก – ทิศตะวันตก ปีกทางด้านทิศตะวันออกของพระต� าหนัก เป็นต�าแหน่งของเกย และระเบียง ฐานพระต�าหนักก่อด้วยหินสอปูน ถึงสระยอพอได้เวลาเสด็จ กําแดดแผดเที่ยงทินกร

ก็ตามเสร็จแวดล้อมพร้อมสลอน รีบกุญชรช้างที่นั่งขนัดตาม นิราศพระบาทของสุนทรภู่ 24

ถึงสระยอยิ่งระกําชํ้าอุระ เห็นพฤกษาในอรัญกระสันใจ

ทุกข์ปะทะมัวหมองไม่ผ่องใส พรรณไม้มีดอกออกอรชร นิราศพระบาทสํานวนนายจัด

25

22 นงคราญ ศรี ช าย, “พระตํ า หนั ก ท้ า ยพิ กุ ล พระตํ า หนั ก ธารเกษม พระตํ า หนั ก สระยอ”, ใน เมืองโบราณ ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๓ (กรกรฎาคม – กันยายน ๒๕๓๙), หน้า ๓๗-๕๓. 23 ประชุ ม พงศาวดาร ภาคที่ ๗ (คํ า ให้ ก ารขุ น โขลน) (พระนคร : โรงพิ ม พ์ บํ า รุ ง นุ กู ล กิ จ , ๒๔๖๐), หน้า ๖๑. 24 ประชุมวรรณคดีเรื่องพระพุทธบาท, หน้า ๑๘๓. 25 เรื่องเดียวกัน, ๒๖๓. ฐานพระตําหนักสระยอ


33

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

๔. ศ�ลเจ้�พ่อเข�ตก ตั้ ง อยู ่ ท างด้ า นทิ ศ ใต้ ข องวั ด พระพุ ท ธบาทห่ า งออกไปราว ๒ กิ โ ลเมตร ลั ก ษณะของศาลเป็ น อาคารเก๋ ง จี น ภายในประดิ ษ ฐานเทวรู ป เจ้ า พ่ อ เขาตก ๒ องค์ โดยองค์ แ รกสร้ า งขึ้ น ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เมื่อครั้งเสด็จพระราชด�าเนินนมัสการรอยพระพุทธบาทเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๓ และมี จารึกบริเวณฐานของเทวรูปเจ้าพ่อเขาตก ความว่า “พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ได้ เ สด็ จ พระราชดํ า เนิ น มาประพาส ถึงที่นี้ เสด็จประทับทอดพระเนตรศาลเทพยดานี้แล้ว จึงมีพระบรมราชโองการ ให้ อั ญ เชิ ญ เทพยดาอํ า นวยก้ อ นศิ ล าก้ อ นหนึ่ ง ในเขานี้ ล งไปกรุ ง เทพมหานคร แล้ ว มี พ ระบรมราชโองการดํ า รั ส ให้ ช ่ า งสร้ า งขึ้ น เป็ น รู ป เทพยดาอย่ า ง เทวรูปโบราณ...”

ต่ อ มาในสมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ได้ ท รงพระ กรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า งเทวรู ป เจ้ า พ่ อ เขาตกขึ้ น ใหม่ เ นื่ อ งจากเกิ ด เพลิ ง ไหม้ โดยประดิ ษ ฐานบริ เ วณด้ า นหน้ า ของเทวรู ป องค์ เ ดิ ม ปั จ จุ บั น ศาลเจ้ า พ่ อ เขาตก เป็นที่เคารพสักการะของผู้ที่เดินทาง เนื่องจากเชื่อว่าจะช่วยคุ้มครองการเดินทาง ให้ปลอดภัย

เทวรูปเจ้าพ่อเขาตกองค์แรก (สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) พร้อมจารึกการสร้าง

เทวรูปเจ้าพ่อเขาตกองค์ที่ ๒ (สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)

จารึกของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ด้านหน้าศาลเจ้าพ่อเขาตก


35

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

๕. บ่อนำ้�ต่�งๆ ตลอดเส้นทางของถนนฝรั่งส่องกล้อง อันเป็นทางสัญจรหลักในการเดินทาง ไปนมัสการรอยพระพุทธบาท ในพระราชพงศาวดารอยุธยากล่าวถึงบ่อน�้าต่างๆ ซึ่งพระเจ้าปราสาททองทรงโปรดฯ ให้ขุดตามรายทาง เพื่ออ�านวยประโยชน์แก่ บรรดาผู้เดินทาง ความว่า “...ขุดบ่อบางโขมด ตําบลบ่อโสกนั้น ขุดบ่อริมต้นโสกจึงให้ชื่อบ่อโสก และให้ ขึ้นไปขุดบ่อทําศาลากลางทาง...” 26

จากความในพระราชพงศาวดาร สั น นิ ษ ฐานว่ า นอกจากบ่ อ น�้ า แล้ ว ยั ง มี การสร้างศาลาเป็นที่พักของผู้เดินทางด้วย แต่ในปัจจุบันไม่หลงเหลือหลักฐานแล้ว ส่ ว นบ่ อ น�้ า ที่ ป รากฏเป็ น หลั ก ฐานมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น มี บ ่ อ ดงโอบ และบ่ อ เจ้ า เณร ตั้งอยู่ใกล้กับวัดปัญจาภิรมย์ โดยเฉพาะบ่อดงโอบซึ่งยังคงมีสภาพให้สังเกตได้

26 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐ. คําให้การชาวกรุงเก่า. คําให้การขุนหลวงหาวัด, หน้า ๒๗๔ – ๒๗๕.

บ่อดงโอบ


37

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

เมืองสระบุรีในสมัยรัตนโกสินทร์

แม่นํ้าป่าสัก บริเวณอําเภอเสาไห้

เมืองสระบุรีในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีฐ�นะเป็นเมืองจัตว� สังกัดหัวเมืองชั้นใน มีตำ�แหน่งผู้รั้งเมือง27 หรื อ ผู ้ รั ก ษ�เมื อ ง ในรั ช สมั ย ของพระบ�ทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ � จุ ฬ �โลก เกิ ด ศึ ก กั บ พม่ � ท�งด้ � น เมื อ งเหนื อ จึ ง ทรงพระกรุ ณ �โปรดเกล้ � ฯ ให้ ส มเด็ จ เจ้ � ฟ้ � กรมหลวงเทพหริ รั ก ษ์ จั ด ทั พ ขึ้ น ไปปร�บ และในคร�วนั้ น ส�ม�รถไล่ พ ม่ � ออกไปจ�กเมื อ งเชี ย งแสนได้ พร้ อ มทั้ ง ได้ เ ทครั ว ช�วไทยวนเชี ย งแสน โดยแบ่งออกเป็น ๕ กลุ่ม มีกลุ่มหนึ่งโปรดฯ ให้ส่งลงม�ยังพระนครเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๗ โดยโปรดเกล้�ฯ ให้ ตั้งถิ่นฐ�นบริเวณอำ�เภอเส�ไห้ในปัจจุบัน 28 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เกิดเหตุการณ์กบฏเจ้าอนุวงศ์ขึ้น ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้จัดทัพขึ้นไปปราบ โดยสามารถยึด เมืองเวียงจันทน์ได้ใน พ.ศ. ๒๓๗๒ และได้เทครัวชาวลาว เวี ย งจั น ทน์ ล งมายั ง เมื อ งสระบุ รี เ ป็ น จ� า นวนมาก ซึ่ ง ได้ ท รงโปรดเกล้ า ฯ ให้ ไ ปตั้ ง ชุ ม ชนอยู ่ บ ริ เ วณเดิ ม 29 จากการเข้ า มาอยู ่ อ าศั ย ของชาวไทยวนและชาวลาวเวี ย งจั น ทน์ ดั ง ที่ ไ ด้ ก ล่ า วมา ส่ ง ผลให้ พื้ น ที่ บ ริ เ วณ เมื อ งสระบุ รี โ ดยเฉพาะอ� า เภอเสาไห้ มี รู ป แบบของวั ฒ นธรรม ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ที่ เ กิ ด จากการผสมผสาน ระหว่ า งวั ฒ นธรรมไทยวนเชี ย งแสนและลาวเวี ย งจั น ทน์ เกิ ด เป็ น ลั ก ษณะพิ เ ศษที่ มี ค วามแตกต่ า งจาก วัฒนธรรมของพื้นที่โดยรอบ เป็นเอกลักษณ์ที่สืบทอดมาจนปัจจุบันนี้

แผนที่จังหวัดสระบุรีในสมัยรัชกาลที่ ๕ ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ

27 กรมศิลปากร, กฏหมายตราสามดวง (กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจํากัดอุดมศึกษา, ๒๕๒๑), หน้า ๖๕๘ – ๖๖๑. 28 พระราชพงศาวดารกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ฉบั บ พั น จั น ทนุ ม าศ (เจิ ม ) และพระราชพงศาวดารกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ . คํ า ให้ ก าร ชาวกรุงเก่า. คําให้การขุนหลวงหาวัด, หน้า ๓๓๔ – ๓๓๕. 29 พระราชพงศาวดารกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ รั ช กาลที่ ๑-๔ ฉบั บ เจ้ า พระยาทิ พ ากรวงศ์ (ขํ า บุ น นาค) (กรุ ง เทพฯ : ศรี ป ั ญ ญา, ๒๕๕๕), หน้า ๑,๐๕๖ – ๑,๐๕๗.


39

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

น อ ก จ า ก นี้ เ มื อ ง ส ร ะ บุ รี ถื อ เ ป ็ น ห นึ่ ง ใ น เ มื อ ง ที่ มี น�้าศักดิ์สิทธิ์ หรือ น�้าเบญจสุทธคงคา ดังปรากฏใน พระราชพงศาวดารรั ช กาลที่ ๒ กล่ า วถึ ง การจั ด หา น�้าเบญจสุทธคงคาจาก ๕ แห่ง เพื่อน�ามาใช้ประกอบ ในพระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษกในปี พ.ศ. ๒๓๕๒ อี ก ด้ ว ย 30 ในปั จ จุ บั น บริ เ วณซึ่ ง เป็ น ต� า แหน่ ง ที่ มี ก า ร ตั ก น�้ า ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ น เ ข ต เ มื อ ง ส ร ะ บุ รี ดั ง ที่ ปรากฏในพระราชพงศาวดารอยู ่ ที่ ท ่ า น�้ า ริ ม แม่ น�้ า ป่าสักในเขตต�าบลท่าราบ อ�าเภอเสาไห้ ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว ได้ มี ก ารปฏิ รู ป การปกครองเป็ น แบบ เทศาภิบาล โดยเมืองสระบุรีขึ้นอยู่กับมณฑลกรุงเก่า หรื อ มณฑลอยุ ธ ยาในปี พ.ศ. ๒๔๓๘ 31 พร้ อ มทั้ ง เปลี่ยนต�าแหน่งผู้ปกครองเมืองจากเจ้าเมือง มาเป็น ผู้ว่าราชการเมืองแทน นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท ร ง มี พ ร ะ ร า ช ด� า ริ ใ ห ้ ตั ด ท า ง ร ถ ไ ฟ ส า ย อี ส า น ไปยั ง จั ง หวั ด นครราชสี ม า ทางรถไฟสายนี้ ถื อ เป็ น ทางรถไฟสายแรกของประเทศไทย 32 เริ่ ม ต้ น ที่ ชุ ม ทางกรุ ง เทพฯ ตั ด ผ่ า นเมื อ งพระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยในพื้ น ที่ จั ง หวั ด สระบุ รี เ ส้ น ทางรถไฟจะเลี ย บ ล� า น�้ า ป่ า สั ก ตั้ ง แต่ บ ริ เ วณสถานี ห นองแซงไปจน ถึงสถานีปากเพรียว (สถานีรถไฟสระบุรี) และขึ้นไป ท า ง อ� า เ ภ อ แ ก ่ ง ค อ ย ซึ่ ง ก า ร ส ร ้ า ง ท า ง ร ถ ไ ฟ นี้ เ ป ็ น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง รู ป แ บ บ ก า ร เ ดิ น ท า ง แ ล ะ การค้าขายไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง เพราะแต่เดิมนั้น การเดิ น ทางค้ า ขายระหว่ า งเมื อ งในเขตภาคกลาง กั บ หั ว เ มื อ ง ด ้ า น ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ ต ้ อ ง ใ ช ้ เกวียนเดินเท้าผ่านป่าดงพญาเย็น ซึ่งมีความล�าบาก และล่ า ช้ า เมื่ อ เกิ ด การเดิ น ทางด้ ว ยรถไฟขึ้ น ท� า ให้ เศรษฐกิ จ ของเมื อ งสระบุ รี ดี ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จนท� า ใ ห ้ เ มื อ ง ส ร ะ บุ รี ก ล า ย เ ป ็ น เ มื อ ง ชุ ม ท า ง ส� า ห รั บ แลกเปลี่ ย นสิ น ค้ า ระหว่ า งเมื อ งทางฝั ่ ง ภาคกลางกั บ เมื อ งจากภาคอี ส าน เป็ น พื้ น ฐานส� า คั ญ ที่ ส ่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ในด้ า นต่ า ง ๆ แก่ เ มื อ ง สระบุรีมาจนถึงปัจจุบัน

แผนที่จังหวัดสระบุรี ปี พ.ศ. ๒๔๕๗

สถานีรถไฟจังหวัดสระบุรี

กิจกรรมริมแม่นํ้าป่าสัก

การแสดงบริเวณโยนกอุทยาน

โยนกอุทยาน อําเภอเสาไห้

30 พระราชพงศาวดารกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ รั ช กาลที่ ๒ พระนิ พ นธ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ (พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๑๑), หน้า ๑๔. 31 ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา, เทศาภิบาล (กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๕), หน้า ๑๘๗-๑๘๘. 32 การรถไฟแห่ ง ประเทศไทย, ๑๐๐ ปี รถไฟไทย (กรุ ง เทพฯ : การรถไฟแห่งประเทศไทย, ๒๕๔๐), หน้า ๖๕.


41

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

ช�วไทยวน

ช�วไทยวนจ�กเมื อ งเชี ย งแสน ที่ ถู ก เกณฑ์ ใ ห้ อพยพเข้�ม�ตั้งถิ่นฐ�นในพื้นที่เมืองสระบุรี ตั้งแต่ สมั ย ต้ น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ นั้ น ต�มคำ � บอกเล่ � ของช�วบ้�นได้เล่�สืบต่อกันม�ว่� ผู้นำ�ในก�รเดิน ท�งอพยพเข้ � ม�ในครั้ ง นั้ น ได้ แ ก่ ปู ่ เ จ้ � ฟ้ � และ ปู ่ คั ม ภี ร ะ โดยปู ่ เ จ้ � ฟ้ � ได้ ชั ก ชวนให้ ช �วไทยวน กลุ ่ ม หนึ่ ง ตั้ ง ชุ ม ชนขึ้ น บริ เ วณบ้ � นเจ้ � ฟ้ � ส่ ว นอี ก กลุ ่ ม หนึ่ ง ได้ ติ ด ต�มปู ่ คั ม ภี ร ะไปตั้ ง บ้ � นเรื อ นอยู ่ บริเวณบ้�นไผ่ล้อม33 ต่ อ มาชุ ม ชนของชาวไทยวนจึ ง ได้ ข ยายตั ว ไปยั ง พื้นที่ส่วนอื่น ๆ ของอ�าเภอเสาไห้ ได้แก่ ต�าบลเสาไห้ ต� า บลสวนดอกไม้ ต� า บลต้ น ตาล ต� า บลพระยาทด ต� า บลท่ า ช้ า ง ต� า บลศาลารี ต� า บลงิ้ ว งาม ต� า บล บ้ า นยาง และต� า บลหั ว ปลวก 34 ด้ ว ยเหตุ ดั ง กล่ า ว รูปแบบวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ตลอดจนขนบธรรมเนียม ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ ง า น ช ่ า ง ศิ ล ป ก ร ร ม ข อ ง ช า ว บ ้ า น เสาไห้เมืองสระบุรี ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากชาวไทยวน เชียงแสน ที่ได้ปฏิบัติสืบทอดกันมา จึงมีความพิเศษ โดดเด่ น ของวั ฒ นธรรมล้ า นนา ต่ า งจากรู ป แบบ วัฒนธรรมภาคกลางของพื้นที่โดยรอบ รู ป แบบวิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ แ ละศิ ล ปวั ฒ นธรรมใน แบบแผนล้ า นนา ซึ่ ง บรรพบุ รุ ษ ชาวไทยวนเมื อ ง เชียงแสนได้น�าเข้ามาพร้อมกับการเดินทางอพยพมา ตั้งถิ่นฐานในเขตอ�าเภอเสาไห้เมืองสระบุรีนั้น ยังคง มี ก ารปฏิ บั ติ สื บ ทอดมาตราบจนปั จ จุ บั น ที่ มี ค วาม เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นมีหลากหลายลักษณะ ตัวอย่าง เช่น ในด้านภาษาและวรรณกรรม ชาวไทยวนสระบุรี มีภาษาพูดที่เรียกว่า ฟู่ยวน35 ซึ่งมีความคล้ายคลึงกัน อย่ า งยิ่ ง กั บ การอู ้ ค� า เมื อ งของคนล้ า นนา ในส่ ว น ภาษาเขี ย นนั้ น จะใช้ ห นั ง สื อ ยวนหรื อ อั ก ษรธรรม

ภาพจิตรกรรมแสดงวิถีชีวิตของชาวไทยวน วัดสมุหประดิษฐาราม จังหวัดสระบุรี

33 ดวงหทั ย ลื อ ดั ง , “การสื บ ทอดประเพณี เ ทศน์ ก าเผื อ กในชุ ม ชน ไทยวน อํ า เภอเสาไห้ จั ง หวั ด สระบุ รี , ” (วิ ท ยานิ พ นธ์ อั ก ษรศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๔), หน้า ๑๕-๑๖. 34 เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๙. 35 ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดสระบุรี, วัฒนธรรมคนยวนเสาไห้, (สระบุรี : โรงเรียนเสาไห้วิมลวิทยานุกูล, ๒๕๒๘), หน้า ๙๔.


43

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

ล้ า นนา ดั ง จะพบได้ จ ากคั ม ภี ร ์ ใ บลาน ที่ จ ารึ ก เรื่ อ ง ผ้ า ซิ่ น ในการแต่ ง กายแบบไทยวน ซึ่ ง ยั ง มี ผ ้ า ซิ่ น ราวค� า สอนในพระพุ ท ธศาสนา เช่ น ปฐมสมโพธิ ประเภทอื่ น ๆ อี ก ตั ว อย่ า งเช่ น ซิ่ น มุ ก 41 ซิ่ น เก็ บ 42 นิพพานสูตร เป็นต้น36 ซึ่ ง มี ค วามวิ จิ ต รงดงามตลอดจนมี รู ป สั ญ ลั ก ษณ์ อั น มี ค ว า ม ห ม า ย ที่ เ ป ็ น ม ง ค ล ส อ ด แ ท ร ก อ ยู ่ ใ น ด้ า นวรรณกรรมและบทประพั น ธ์ อื่ น ๆ ชาวไทยวน ลวดลายของผื น ผ้ า อี ก ด้ ว ย นอกจากผ้ า ทอที่ ใ ช้ เ ป็ น สระบุรีจะมีการขับขานวรรณกรรมที่เรียกว่า บทจ๊อย เครื่ อ งนุ ่ ง ห่ ม แล้ ว ยั ง มี ผ ้ า ที่ ท อขึ้ น เพื่ อ ประโยชน์ เป็ น การขั บ ร้ อ งโดยใช้ ว รรณกรรมที่ มี ฉั น ทลั ก ษณ์ ใช้สอยอื่น ๆ อีก เช่น ผ้าสไบ ผ้าเช็ดหน้า ผ้าห่อคัมภีร์ ประเภทคร่าว37 ซึ่งยังคงมีการสืบทอดทั้งในด้านการ ผ้าปรกหัวนาค รวมทั้งย่าม ซึ่งมีวิธีการเย็บตะเข็บที่ ประพันธ์และขับร้องมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนั้นยัง เรียกว่า “ก�าปี้” หรือ “ก�าเบ้อ” แปลว่า การเย็บแบบ มี ก ารค้ น พบหลั ก ฐานส� า คั ญ ทางด้ า นวรรณกรรมอี ก ผี เ สื้ อ อั น เป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องการเย็ บ ถุ ง ย่ า มแบบ ชิ้ น หนึ่ ง ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความเชื่ อ มโยงกั น ของ ไทยวน43 เป็นต้น ชาวไทยวนสระบุ รี กั บ อาณาจั ก รล้ า นนา กล่ า วคื อ มี ก ารค้ น พบ “มั ง รายศาสตร์ ” อั น เป็ น กฏหมายที่ ในปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารรวมกลุ่ ม ของชาวบ้ า นไทยวน ตราขึ้นในสมัยของพญามังราย (ราว พ.ศ. ๑๘๐๔ – สระบุ รี ที่ อ� า เภอเสาไห้ เพื่ อ รื้ อ ฟื้ น และสื บ ทอดภู มิ ๑๘๕๔) ที่ วั ด เสาไห้ เมื อ งสระบุ รี มั ง รายศาสตร์ ปัญญาในการทอผ้า ทั้งในส่วนของเครื่องนุ่งห่ม และ ฉบั บ ที่ ค ้ น พบนั้ น เป็ น ฉบั บ ที่ มี ค วามเก่ า แก่ ที่ สุ ด และ เพื่อการใช้สอยอื่น ๆ กลับมาอีกครั้ง นับเป็นงานฝีมือ น้ อ ย คั ม ภี ร ะเป็ น ผู ้ คั ด ลอกขึ้ น ไว้ ใ นราวปี พ.ศ. อั น เป็ น ที่ รู้ จั ก และสร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ กั บ อ� า เภอเสาไห้ ๒๓๔๓ 38 สั น นิ ษ ฐานว่ า เป็ น ฉบั บ ที่ ช าวไทยวนได้ เป็นอย่างดี น� า ม า พ ร ้ อ ม กั บ ก า ร อ พ ย พ เ ข ้ า ม า ตั้ ง ถิ่ น ฐ า น ใ น ในด้านศิลปะการแสดงทั้งดนตรีและนาฏยศิลป์ ไม่ว่า เขตอ�าเภอเสาไห้ เมื่อครั้งต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เป็ น การฟ้ อ น อาทิ ฟ้ อ นเล็ บ ฟ้ อ นผาง ฟ้ อ นดาบ เอกลักษณ์อันโดดเด่นอีกประการหนึ่ง ได้แก่ รูปแบบ รวมทั้ ง การตี ก ลองสะบั ด ชั ย ที่ มี ก ารสื บ ทอดรู ป แบบ การแต่ ง กายของชาวไทยวนสระบุ รี ที่ ยั ง คงรั ก ษา การแสดงจากครู ผู ้ เ ชี่ ย วชาญให้ กั บ เยาวชนที่ มี แบบแผนการแต่งกายแบบล้านนามาตราบจนปัจจุบัน ความสนใจ ไปจนถึ ง จั ด เป็ น การเรี ย นการสอนใน ดั ง ปรากฏในภาพจิ ต รกรรมฝาผนั ง ประดั บ ตกแต่ ง โรงเรี ย น ดั ง นั้ น ในงานประเพณี ส� า คั ญ ตลอดจน ภายในอุ โ บสถวั ด หนองยาวสู ง (เขี ย นในราว พ.ศ. กิ จ กรรมทางด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมที่ จั ด ขึ้ น ในอ� า เภอ ๒๓๔๓) และภายในพระอุโบสถวัดสมุหประดิษฐาราม เสาไห้ จึ ง มี ก ารบรรเลงดนตรี แ ละจั ด การแสดงแบบ (เขียนในราว พ.ศ. ๒๔๐๑) โดยสตรีในภาพจิตรกรรม พื้ น บ้ า นไทยวนร่ ว มในงานเสมอ ช่ ว ยสร้ า งสี สั น จะนุ ่ ง ซิ่ น ลายขวาง ต่ อ หั ว ซิ่ น และตี น ซิ่ น เรี ย กว่ า บรรยากาศ และแสดงถึ ง ความหวงแหนภาคภู มิ ใ น ซิ่ น ชาวเหนื อ ซิ่ น ไก และซิ่ น มุ ก ด้ า นบนห่ ม ผ้ า สไบ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทยวนของชาวอ� า เภอเสาไห้ เ ป็ น ส่ ว นบุ รุ ษ จะเปลื อ ยอก นุ ่ ง ผ้ า ยกสู ง เพื่ อ ความกระชั บ อย่างดี รั ด กุ ม และเปิ ด ให้ เ ห็ น รอยสั ก ที่ ส ะโพกและต้ น ขาทั้ ง ๒ ข้ า ง เรี ย กว่ า การนุ ่ ง ผ้ า เค็ ต ม่ า ม แล้ ว ใช้ ผ ้ า ลาย ตารางหรือเข็มขัดคาดทับ 36 “การสื บ ทอดประเพณี เ ทศน์ ก าเผื อ กในชุ ม ชนไทยวน อํ า เภอ รูปแบบของผ้าซิ่นที่ปรากฏในการเขียนภาพจิตรกรรม อั น ได้ แ ก่ ซิ่ น ชาวเหนื อ หรื อ ซิ่ น สามแลว 39 และ ซิ่นไก40 ดังกล่าวข้างต้น นับเป็นส่วนหนึ่งของรูปแบบ ภาพจิตรกรรมแสดงวิถีชีวิตของชาวไทยวน วัดสมุหประดิษฐาราม จังหวัดสระบุรี

เสาไห้ จังหวัดสระบุรี”, หน้า ๕๒. 37 คณิเทพ ปิตุภูมินาค และคณะ. “การขับขานวรรณกรรมล้านนา” ใน วารสารวิ จิ ต รศิ ล ป์ ปี ที่ ๕ ฉบั บ ที่ ๒ กรกฎาคม – ธั น วาคม ๒๕๕๗ : หน้า ๒๒๕. 38 ประเสริ ฐ ณ นคร, มั ง รายศาสตร์ , (กรุ ง เทพฯ : มหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๒๑), หน้า ๑-๓. 39 ซิ่นสามแลว คือ มีแถบเส้นขนานขวางตัวซิ่น ทอด้วยด้ายต่างสี มีริ้วเล็ก ๆ ใช้นุ่งในชีวิตประจําวัน 40 ซิ่ น ไก คื อ เป็ น ซิ่ น ที่ มี ล ายขวางที่ ตั ว ซิ่ น เส้ น ลายแต่ ล ะเส้ น มี ไส้ลายเป็นลายมัดหมี่ ใช้ในชีวิตประจําวัน 41 ซิ่ น มุ ก คื อ ตี น ซิ่ น และส่ ว นใกล้ หั ว ซิ่ น ทอพื้ น เป็ น แถบสี ดํ า และ สี แ ดง ตั ว ซิ่ น ทอพื้ น เป็ น ริ้ ว สลั บ กั บ ทอยกดอก การยกดอกเกิ ด จากการใช้ตะกอหรือเขา ๘ เขา ใช้ในโอกาสพิเศษ 42 ซิ่ น เก็ บ คื อ ผู ้ ท อต้ อ งมี ค วามสามารถมาก โดยตี น ซิ่ น ทอเป็ น ลวดลายเรขาคณิต ลายพรรณพฤกษา หรือลายรูปสัตว์ ส่วนตัวซิ่น นิยมทอพื้นสลับลายเป็นริ้ว ๆ สลับกับลายขิด และทอพื้นเป็นริ้ว ๆ สลับกับการทอยกมุกหรือทอยกดอก ใช้ในงานสําคัญเท่านั้น 43 บุญชัย ทองเจริญบัวงาม, ผ้าทอไทยวน, โยนกเชียงแสน, ผ้าซิ่น ตีนจก (กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม, ๒๕๕๖), หน้า ๙๓๔.


45

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติศาสตร์เมืองสระบุรี

ช�วล�วเวียง

ล�วเวียง เป็นชื่อเรียกของกลุ่มชนที่สืบเชื้อส�ยม�จ�กช�วล�ว นครเวียงจันทน์ ซึ่งปร�กฏหลักฐ�นว่�ได้เดินท�งอพยพเข้�ม� ตั้ ง ถิ่ น ฐ � น ใ น ดิ น แ ด น ส ย � ม ตั้ ง แ ต่ ก่ อ น ก � ร ส ถ � ป น � กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ โดยช�วเวี ย งจั น ทน์ ส่ ว นหนึ่ ง ได้ อ พยพหนี ภั ย สงคร�มระหว่ � งล�วและพม่ � เพื่ อ เข้ � ม�ขอพึ่ ง พระบรม โพธิ ส มภ�รสมเด็ จ พระเจ้ � ต�กสิ น มห�ร�ชในสมั ย กรุ ง ธนบุ รี ครั้ ง นั้ น ทรงโปรดฯ ให้ ช �วล�วที่ อ พยพเข้ � ม�ไปตั้ ง ถิ่ น ฐ�นอยู่ ณ เมื อ งสระบุ รี 44 ต่ อ ม�ในปี พ.ศ. ๒๓๒๒ หลั ง จ�กทรงทำ � ศึ ก ยึ ดนครเวี ย งจั นทน์ ไ ด้ จึ งทรงโปรดฯ ให้ อ พยพช�วเมืองเข้� ม� ในพระร�ชอ�ณ�จั ก ร โดยไปตั้ ง ถิ่ น ฐ�นในเมื อ งสระบุ รี ร่ ว มกั บ ช�วล�วที่อพยพเข้�ม�ก่อนหน้�แล้ว45 ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ภายหลังจากพระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงน�าทัพปราบปรามกบฏเจ้าอนุวงศ์ ได้ในปี พ.ศ. ๒๓๗๒ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กวาดต้อน ครอบครัวชาวลาวจากนครเวียงจันทน์เข้ามายังหัวเมืองชั้นใน เช่น เมื อ งลพบุ รี เมื อ งสุ พ รรณบุ รี เมื อ งนครไชยศรี และเมื อ งสระบุ รี เป็ น ต้ น 46 ซึ่ ง เมื อ งสระบุ รี นั้ น เคยมี ช าวลาวเวี ย งจั น ทน์ อ ยู ่ อ าศั ย มา ก่อนแล้ว และถือเป็นเมืองชุมทางส�าคัญที่หัวเมืองลาวต่าง ๆ ได้อาศัย เป็ น จุ ด เปลี่ ย นถ่ า ยพาหนะพร้ อ มทั้ ง จั ด เตรี ย มเสบี ย งอาหารจาก เมืองสระบุรีเพื่อใช้ประกอบในการเดินทางอีกด้วย47 ชุ ม ชนของชาวลาวที่ อ พยพมาจากนครเวี ย งจั น ทน์ หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า ชาวลาวเวี ย ง จึ ง มี ก ารรวมกลุ ่ ม และตั้ ง ถิ่ น ฐานอาศั ย อยู ่ ใ นพื้ น ที่ เมืองสระบุรี โดยชุมชนของชาวลาวเวียงได้กระจายตัวอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านหนองหอย บ้านไก่เซา บ้านกระเบื้อง บ้านท่าทราย บ้านท่าเรือ บ้านเสาไห้ บริเวณพระพุทธบาท ถ�้าเขาปถวี เขาแก้ว บ้านอ้อย48 ปั จ จุ บั น พื้ น ที่ ซึ่ ง มี ช าวลาวเวี ย งอาศั ย อยู ่ ม ากอยู ่ ใ นต� า บลม่ ว งงาม อ� า เภอเสาไห้ จั ง หวั ด สระบุ รี ชื่ อ ของต� า บลม่ ว งงามนี้ มี ที่ ม าจาก ม่วงบ้านลาว หรือมะม่วงบ้านลาว ท�าให้ชุมชนในเขตนี้มีชื่อเรียกว่า บ้านม่วงลาว และในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามได้เปลี่ยนมาเป็น บ้านม่วงงามอันเป็นชื่อของต�าบลในปัจจุบัน

ตลาดลาวเวียง บริเวณตําบลม่วงงาม

ชาวลาวเวี ย งในเมื อ งสระบุ รี มี ค วามภาคภู มิ ใ จในขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี ตลอดจนรูปแบบของวิถีชีวิตและศิลปวัฒนธรรมของตน โดยยังคงรักษาแบบแผนของวัฒนธรรมอันสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ อาทิ ในด้ า นภาษาพู ด ปั จ จุ บั น มี ผู ้ เ ฒ่ า และชาวบ้ า นส่ ว นหนึ่ ง ยั ง คง ใช้ภาษาลาวในชีวิตประจ�า วัน แต่ก็เป็นส� า เนีย งที่มีความแตกต่า ง ไปจากส�าเนียงของชาวนครเวียงจันทน์อยู่บ้าง

ในด้ า นประเพณี ที่ แ สดงถึ ง เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะซึ่ ง ชาวลาวเวี ย ง ปฏิบัติสืบต่อ กันมา ได้แ ก่ การท�า บุญห่อ ข้า ว หรือ การท� า บุญข้า ว ประดับดิน จากธรรมเนียมปฏิบัติตามฮีต ๑๒ หรือประเพณีประจ�า ๑๒ เดือนของชาวอีสาน การท�าบุญห่อข้าวจะจัดขึ้นในเดือน ๙ แต่ ส�าหรับชุมชนชาวลาวเวียงบ้านม่วงงามจะจัดขึ้นในเดือน ๑๐ ของ ทุ ก ปี โดยถื อ ปฏิ บั ติ ต ามแบบแผนของหลวงศรี ข รภู มิ ห นึ่ ง ในผู ้ น� า ชุ ม ชนเมื่ อ คราวอพยพมาจากนครเวี ย งจั น ทน์ ใ นสมั ย รั ช กาลที่ ๓ ท่ า นได้ จั ด งานบุ ญ ถวายข้ า วห่ อ ครั้ ง ใหญ่ ใ นเดื อ น ๑๐ ข้ า วห่ อ ซึ่ ง ชาวลาวเวี ย งจั ด ท� า ขึ้ น เพื่ อ ถวายในงานบุ ญ นั้ น ประกอบด้ ว ย ข้าวเจ้าหรือข้าวเหนียว และอาหารแห้งต่าง ๆ เช่น เนื้อเค็ม ไข่เค็ม เป็นต้น น�ามาห่อรวมกัน ท�าข้าวห่อตามจ�านวนสมาชิกในครอบครัว และเพิ่มอีก ๑ ห่อเป็นข้าวห่อส�าหรับบรรพบุรุษ จัดเตรียมไว้เพื่อถวาย พระในวันขึ้น ๑๕ ค�่า เดือน ๑๐49 จากความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางด้านเชื้อชาติตลอดจนความคล้ายคลึง กันของวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี และรูปแบบ ของศิลปวัฒนธรรม โดยมีพระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมความศรัทธา ชาวไทยวนและชาวลาวเวี ย งในปั จ จุ บั น ซึ่ ง สื บ เชื้ อ สายมาจาก บรรพบุ รุ ษ ที่ อ พยพมาจากเชี ย งแสนและนครเวี ย งจั น ทน์ ต่ า งก็ อาศัยอยู่ร่วมกันฉันพี่น้อง รูปแบบวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ปฏิบัติสืบทอดต่อมา หลอมรวมให้วัฒนธรรมพื้นบ้านชาวไทยวน และชาวลาวเวียง อ�าเภอเสาไห้มีความพิเศษเฉพาะตัว แตกต่างจาก วัฒนธรรมภาคกลางของพื้นที่โดยรอบ เป็นเสน่ห์อันน่าประทับใจ อี ก ประการหนึ่ ง ของเมื อ งสระบุ รี นอกเหนื อ จากพลั ง ความศรั ท ธา ในรอยพระพุ ท ธบาท หรื อ ความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ในบทบาทเมื อ ง อุตสาหกรรมส�าคัญของชาติ

44 ดํ า รงราชานุ ภ าพ, สมเด็ จ ฯ กรมพระยา, เที่ ย วตามทางรถไฟ (กรุ ง เทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๕๗), หน้า ๑๐. 45 บั ง อร ปิ ย ะพั น ธุ ์ , ลาวในกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ (กรุ ง เทพฯ : มู ล นิ ธิ โ ครงการตํ า รา สังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, ๒๕๔๑), หน้า ๕๒. 46 พระราชพงศาวดารกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ รั ช กาลที่ ๓ (กรุ ง เทพฯ : กรมศิ ล ปากร, ๒๕๔๗), หน้า ๓๙. 47 ลาวในกรุงรัตนโกสินทร์, หน้า ๗๗. 48 เรื่องเดียวกัน, หน้า ๘๔. 49 สั ม ภาษณ์ พั น เอก กฤษ เดชอุ ด ม ประธานชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วโอท็ อ ปวิ ถี บ้ า น ม่วงงาม วันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑


วัดเข�แก้ววรวิห�ร


49

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติ

ประวัติวัดเข�แก้ววรวิห�ร

วัดเข�แก้ววรวิห�ร ตั้งอยู่ตำ�บลต้นต�ล อำ�เภอเส�ไห้ เป็นพระอ�ร�มหลวง ชั้ น ตรี ชนิ ด วรวิ ห �ร โดยที่ ตั้ ง ของวั ด มี ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศเป็ น เนิ น เข�อยู ่ ท�งฝั่งซ้�ยของแม่นำ้�ป่�สัก คว�มเป็นม�ของก�รสถ�ปน�วัดเข�แก้ววรวิห�ร นั้นไม่ปร�กฏหลักฐ�นที่ระบุอย่�งชัดเจนว่�สร้�งขึ้นเมื่อใด สันนิษฐ�นว่�อ�จ สร้ � งขึ้ น ในสมั ย อยุ ธ ย�ระหว่ � งปี พ.ศ. ๒๑๔๙ – ๒๑๗๑ หลั ง จ�กที่ มี ก �ร ค้นพบรอยพระพุทธบ�ทบนยอดเข�สุวรรณบรรพต ในรัชก�ลสมเด็จพระเจ้� ทรงธรรม การสถาปนาพระมหามณฑปเพื่ อ ครอบรอยพระพุ ท ธบาท ตลอดจนสร้ า ง วั ด พระพุ ท ธบาทในครั้ ง นั้ น ส่ ง ผลให้ เ มื อ งสระบุ รี มี ค วามส� า คั ญ มี ก ารสถาปนา พระอาราม และการตั้ ง ชุ ม ชนของชาวบ้ า นอั น สื บ เนื่ อ งมาจากการตั ด เส้ น ทาง เ ชื่ อ ม ร ะ ห ว ่ า ง ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า แ ล ะ วั ด พ ร ะ พุ ท ธ บ า ท ด ้ ว ย ค ว า ม ศ รั ท ธ า ที่ พุทธศาสนิกชนมีต่อรอยพระพุทธบาท การเสด็จพระราชด� าเนินไปทรงนมัสการ รอยพระพุ ท ธบาท จึ ง ถื อ เป็ น ประเพณี ซึ่ ง พระมหากษั ต ริ ย ์ ท รงยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ สืบเนื่องมา

วัดซุ้ง

วัดจันทบุรี

วัดท่าช้างเหนือ วัดพระยาทด วัดสมุหประดิษฐาราม

วัดเขาแก้ว

วัดไผ่ล้อม

แผนผังแสดงตําแหน่งของวัด ซึ่งตั้งเรียงรายอยู่ริมแม่นํ้าป่าสัก อําเภอเสาไห้


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติ

51


53

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ประวัติ

๒ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด�าเนินไป นมั ส การรอยพระพุ ท ธบาทและพระพุ ท ธฉาย กระบวนเสด็ จ ฯ ได้ ห ยุ ด พั ก ณ พลั บ พลาท่ า หิ น ลานหน้ า วั ด เขาแก้ว ครั้นทรงทอดพระเนตรวัดเขาแก้ว ซึ่งเป็นวัดโบราณตั้งอยู่บนเนินเขาท่ามกลางสภาพธรรมชาติอัน ร่มรื่น ด้วยพระราชศรัทธาจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยานิกรบดินทร์ (โต กัลยาณมิตร) สมุหนายก เป็นแม่กองในการปฏิสังขรณ์พระอาราม รวมทั้งทรงเปลี่ยนนามพระอารามจาก วัดเขาแก้ว เป็น วัดคีรีรัตนาราม การปฏิ สั ง ขรณ์ พ ระอารามในครั้ ง นั้ น ปรากฏหลั ก ฐานในเอกสารตั ว เขี ย น จดหมายเหตุ รั ช กาลที่ ๔ ร่ า ง ตราพระพุทธบาท เรื่องการท�ายอดพระมณฑปเมืองพระพุทธบาท ความว่า “หนังสือ เจ้าพระยานิกรบดินทร์ มาถึง พระปลัดเมืองสระบุรี ด้วยเสด็จฯขึ้นไปทอดพระเนตรเขาแกว (เขาแก้ว) ... ทรงพระราชศรัทธาให้พระปลัดนาปลัดกองฯ ปฏิสังขรณ์ พระเจดีย์ พระอุโบสถ กุฏิสงฆ์ ศาลาให้งามดี ให้แล้วโดยเร็ว จะเสด็จขึ้นไป...โดยให้เมืองเพชรบูรณ์ เมืองวิเชียร ตัดเสายาว.... หนังสือ ลงวันที่ ๑ เดือน ๔ แรม ๒ คํ่า ปีมะเมียสปฤทธิ... (วันเสาร์ที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ.๒๔๐๒)”1 ต่ อ มาในรั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ในปี พ.ศ. ๒๔๑๓ ได้ มี ก ารสร้ า งพระวิ ห าร ยอดปรางค์ ขึ้ น ตั้ ง อยู ่ บ นชั้ น ฐานประทั ก ษิ ณ ที่ มุ ม ด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ข องพระเจดี ย ์ และเมื่ อ คราวที่ สมเด็ จ พระมหาสมณเจ้ า กรมพระยาวชิ ร ญาณวโรรสได้ ท รงเสด็ จ ออกตรวจการคณะสงฆ์ ใ นเขตพื้ น ที่ เมืองสระบุรี ได้เสด็จมายังวัดคีรีรัตนาราม ทรงมีพระด�าริว่าชื่อของพระอารามนี้เป็นภาษามคธ จึงโปรดให้ ออกชื่อพระอารามด้วยภาษาไทยว่า วัดเขาแก้ว นับแต่นั้นมา

1 เอกสารตัวเขียน จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๔ ร่างตราพุทธบาท เรื่องการทํายอดพระมณฑปเมืองพระพุทธบาท ฯลฯ เลขที่ ๕๐


55

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ผังบริเวณ

ผังบริเวณวัดเข�แก้ววรวิห�ร

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗

พระเจดีย์ หอระฆังเก่า พระวิหารยอดปรางค์ หอระฆังใหม่ ลานพระศรีมหาโพธิ์ พระอุโบสถ ซุ้มประตูทางเข้า และบันไดทางขึ้นวัด

วัดเข�แก้ววรวิห�ร ตั้งอยู่ที่ ตำ�บลต้นต�ล อำ�เภอ เ ส � ไ ห ้ จั ง ห วั ด ส ร ะ บุ รี ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ข อ ง ที่ ตั้ ง พระอ�ร�มมี ลั ก ษณะเป็ น เนิ น เข�เตี้ ย ๆ โดยมี แม่ นำ้ � ป่ � สั ก ไหลผ่ � นอยู ่ ท �งด้ � นทิ ศ ใต้ เมื่ อ ผ่ � น ซุ ้ ม ประตู ท �งเข้ � วั ด จะพบกั บ ซุ ้ ม ประตู บั น ได ท � ง ขึ้ น วั ด ก ลุ ่ ม อ � ค � ร สิ่ ง ป ลู ก ส ร ้ � ง ภ � ย ใ น พระอ�ร�มตั้ งรวมกลุ ่ ม กั นอยู ่ บ นยอดเข�ในระดั บ พื้ น ล � น ที่ มี ค ว � ม ล ด ห ลั่ น กั น เ ล็ ก น ้ อ ย ต � ม ลักษณะภูมิประเทศ

๒ ๔

ภายในพระอาราม ประกอบด้วยเขตพุทธาวาส เขต สังฆาวาส และพื้นที่สาธารณะประโยชน์อื่น ๆ พื้นที่ แต่ ล ะส่ ว นเชื่ อ มต่ อ กั น ด้ ว ยลาน จึ ง เกิ ด ลั ก ษณะการ ใช้ ส อยพื้ น ที่ ซึ่ ง มี ค วามต่ อ เนื่ อ งกั น ภาพรวมของ การวางผังบริเวณพระอารามมิได้มีการวางต�าแหน่ง อาคารตามแนวแกนอย่างเคร่งครัด โดยแต่ละอาคาร จะมี ก ารวางต� า แหน่ ง และการหั น ทิ ศ ทางเยื้ อ งกั น เล็กน้อยก่อให้เกิดบรรยากาศที่ผ่อนคลาย สอดคล้อง กั บ สภาพแวดล้ อ มในธรรมชาติ อั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของ พระอาราม เขตพุ ท ธาวาสของพระอารามตั้ ง อยู ่ บ น พื้ น ลานที่ มี ร ะดั บ สู ง สุ ด ของเนิ น เขา ประกอบด้ ว ย พระอุ โ บสถซึ่ ง วางอาคารหั น ด้ า นหน้ า ไปทางทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก ล ้ อ ม ร อ บ ด ้ ว ย ล า น ป ร ะ ทั ก ษิ ณ แ ล ะ ก� า แพงแก้ ว ทางด้ า นทิ ศ เหนื อ ของพระอุ โ บสถเป็ น ลานกว้างปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ถัดขึ้นไปทางด้าน ทิศเหนือของลานประดิษฐานพระเจดีย์พร้อมอาคาร ประกอบ อันได้แก่ พระวิหารยอดปรางค์และหอระฆัง

๑ ๓

เขตสั ง ฆาวาส ตั้ ง อยู ่ ท างด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกของเขต พุทธาวาส ประกอบด้วย ศาลาโถง ศาลาการเปรียญ หมู ่ กุ ฏิ ที่ พ� า นั ก ของพระภิ ก ษุ ส งฆ์ ทั้ ง หมู ่ กุ ฏิ โ บราณ และหมู่กุฏิที่สร้างเพิ่มเติมขึ้นภายหลัง

เขตสาธารณะประโยชน์ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออก ของเขตพุ ท ธาวาส โดยมี ก ลุ ่ ม ของเมรุ แ ละศาลา บ� า เพ็ ญ กุ ศ ลตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของ พระเจดี ย ์ ส่ ว นทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของลานพระ ศรี ม หาโพธิ์ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ของศาลาเอนกประสงค์ แ ละ บริเวณลานจอดรถ


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ผังบริเวณ

ลานพระศรีมหาโพธิ์

57


59

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ซุ้มทางเข้า และบันไดทางขึ้นวัด

ซุ้มประตูท�งเข้� และบันไดท�งขึ้นวัด

ซุ้มประตูท�งเข้�วัดเข�แก้ววรวิห�ร ตั้งอยู่ริมถนนซึ่ง ตัดขน�นไปกับแม่นำ้�ป่�สัก มีลักษณะเป็นซุ้มประตู ท�งเข้ � โดยตั้ ง เส�กลมประดั บ บั ว ปล�ยเส�รั บ ส่ ว น ยอดซุ้ม ในทรงส�มเหลี่ยมหน้�จั่วประดับด้วยเครื่อง ลำ�ยองและลวดล�ยง�นปูนปั้นท�สี พร้อมด้วยป้�ย ชื่อพระอ�ร�ม

ถัดจากซุ้มประตูทางเข้าวัด มีเส้นทางน�าเข้าไปสู่กลุ่ม อาคารสิ่งปลูกสร้างบนยอดเขา ในแนวแกนทางด้าน ทิศเหนือของซุ้มประตูทางเข้าวัดเป็นบันไดทางเดินเท้า ขึ้นสู่ยอดเขา ส่วนเส้นทางรถยนต์จะเป็นทางลาดชัน เลี้ยวอ้อมไปทางทิศตะวันออกขึ้นไปบรรจบกับลานบน ยอดเขาบริเวณด้านหน้าพระอุโบสถ ที่ จุ ด เ ริ่ ม ต ้ น ข อ ง เ ส ้ น ท า ง เ ดิ น เ ท ้ า ขึ้ น สู ่ ย อ ด เ ข า ก่ อ เป็ น ซุ ้ ม ทางเข้ า มี ลั ก ษณะเป็ น ซุ ้ ม โครงสร้ า ง คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ประดั บ ตกแต่ ง ด้ ว ยลวดลาย ปู น ปั ้ น รู ป แบบของซุ ้ ม มี ค วามเรี ย บง่ า ยสอดคล้ อ ง กั บ สภาพแวดล้ อ มอั น ร่ ม รื่ น ของที่ ต้ั ง พระอาราม มี ลั ก ษณะเป็ น ซุ ้ ม ที่ ตั้ ง เสาสี่ เ หลี่ ย ม ๒ ต้ น ตอนบน พาดคานทับหลังเชื่อมปลายเสาทั้ง ๒ ข้างเข้าด้วยกัน เหนื อ คานทั บ หลั ง ตรงกลางประดั บ ประติ ม ากรรม สิ ง โตจี น ปู น ปั ้ น ที่ ป ลายทั้ ง ๒ ข้ า งประดั บ ปู น ปั ้ น เป็นทรงพุ่มดอกบัวตูม ใต้คานทับหลังก่อเป็นซุ้มโค้ง ประดั บ ลวดลาย งานปู น ปั ้ น ทาสี ที่ ด ้ า นหน้ า เป็ น ลวดลายดอกไม้ ใ บไม้ ส่ ว นที่ ด ้ า นหลั ง เป็ น รู ป คิ ว ปิ ด เทวดาแบบตะวั น ตกถื อ แถบผ้ า ที่ ผิ ว ด้ า นในของเสา ซุ ้ ม ทั้ ง ๒ ต้ น ประดั บ ประติ ม ากรรมปู น ปั ้ น รู ป ทหาร ในเครื่ อ งแบบ ในลั ก ษณะของการยื น อารั ก ขาทาง เข้าของพระอารามซึ่งนับเป็นแนวความคิดที่คลี่คลาย มาจากคติในการสร้างรูปเทวดาทวารบาล ผู้อารักขา ทางเข้าของพระอาราม ตามแบบแผนงาน สถาปัตยกรรมไทยประเพณี


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ซุ้มทางเข้า และบันไดทางขึ้นวัด

61

ถัดจากซุ้มทางเข้าเป็นจุดเริ่มต้นของบันไดซึ่งเป็นเส้น ทางเดินเท้าขึ้นสู่ยอดเขา ปลายบันไดสิ้นสุดบริเวณมุม ก�าแพงแก้วทางด้านหน้าพระอุโบสถ พนักบันไดทั้ง ๒ ข้างเป็นงานโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยตั้งเสา พนักห่างกันเป็นระยะสม�่าเสมอ ระหว่างเสาของพนัก ประดั บ ลู ก กรงปู น ปั ้ น เหนื อ พนั ก บั น ไดประดั บ ราว บันไดพญานาค ๓ เศียร ส่วนเศียรพญานาคพิงอยู่ที่ ด้านหลังของเสาซุ้มทางเข้า มีล�าตัวทอดยาวไปตาม แนวพนั ก บั น ได ปลายหางสิ้ น สุ ด ที่ ป ลายเส้ น ทาง พญานาคราวบันไดเป็นงานปูนปั้นประดับด้วยชิ้นส่วน กระเบื้องดินเผาเคลือบสี


63

วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระอุโบสถ

พระอุโบสถ

พระอุโบสถวัดเข�แก้ววรวิห�ร ว�งอ�ค�รหันด้�น หน้�ไปท�งทิศตะวันออก ตัวอ�ค�รพระอุโบสถตั้ง อยู ่ บ นล�นประทั ก ษิ ณ แผนผั ง รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ � ล้ อ มรอบด้ ว ยกำ � แพงแก้ ว ทั้ ง ๔ ด้ � น ที่ กึ่ ง กล�ง กำ � แพงแก้ ว ด้ � นทิ ศ ตะวั น ออก ทิ ศ ตะวั น ตก และ ทิศเหนือก่อเป็นซุ้มประตูท�งเข้�สู่ล�นประทักษิณ มี ลั ก ษณะเป็ น ซุ ้ ม ประตู เ ครื่ อ งก่ อ ฉ�บปู น เรี ย บ ท�สี ข �ว เส�ซุ ้ ม ย่ อ มุ ม ไม้ สิ บ สองประดั บ บั ว ปล�ย เส�ตอนบนของซุ ้ ม ก่ อ เป็ น ทรงโค้ ง ครึ่ ง วงกลม ไม่ประดับลวดล�ย ที่มุมทั้ง ๔ ของกำ�แพงแก้วทั้ง เส�หัวเม็ด ผังย่อมุมไม้สิบสอง กำ�แพงแก้วมีลักษณะ เป็ น กำ � แพงทึ บ ก่ อ ด้ ว ยอิ ฐ ฉ�บปู น เรี ย บท�สี ข �ว ประดั บ ด้ ว ยลวดบั ว ที่ มี ค ว�มต่ อ เนื่ อ งกั บ ลวดบั ว ของเส�หั ว เม็ ด ตอนบนของกำ � แพงแก้ ว ประดั บ ด้ ว ยง�นก่ อ อิ ฐ ฉ�บปู น เป็ น ทรงโค้ ง ครึ่ ง วงกลมที่ มี รูปแบบคล้�ยกับยอดซุ้มประตูแต่มีขน�ดย่อมกว่�


65

วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระอุโบสถ

รู ป แบบพระอุ โ บสถวั ด เขาแก้ ว วรวิ ห ารที่ ป รากฏใน ปั จ จุ บั น เป็ น งานที่ ก ่ อ ขยายขึ้ น จากพระอุ โ บสถเดิ ม ในคราวบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในรัชกาลพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระอุโบสถมีลักษณะ เป็นงานสถาปัตยกรรมไทยทรงเครื่องล�ายอง แผนผัง อาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หลังคาหลัก ๒ ซ้อน ๒ ตับ ท� า มุ ข ลดทางด้ า นหน้ า และด้ า นหลั ง หลั ง คา ๒ ตั บ มุงกระเบื้องดินเผาประดับเครื่องล�ายอง ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ หน้ า บั น ฉาบปู น เรี ย บทาสี ข าว ไม่ ป ระดั บ ลวดลาย ผนังอาคารเป็นผนังก่ออิฐรับน�้าหนัก

กรอบประตูแบบเรียบไม่ประดับซุ้มประตู บานประตู ทั้งผิวด้านนอกและด้านในทาสีแดงไม่ประดับลวดลาย ผนังด้านยาวท�าเป็นช่องหน้าต่างด้านละ ๓ ต�าแหน่ง กรอบช่ อ งหน้ า ต่ า งและบานหน้ า ต่ า ง ท� า เป็ น กรอบ แบบเรียบเช่นเดียวกับกรอบประตู

มุ ข ทางเข้ า ที่ เ ป็ น ด้ า นสกั ด ทั้ ง ด้ า นหน้ า และด้ า นหลั ง รองรับด้วยฐานปัทม์ ตั้งเสาหน้าตัดสี่เหลี่ยมผืนผ้า ๔ ต้ น รั บ หลั ง คามุ ข ระหว่ า งเสากั้ น พนั ก ปู น ปั ้ น ประดั บ กระเบื้อ งปรุสีเขีย ว ท�า บันไดทางขึ้นอยู่ทางด้านข้าง พนั ก พลสิ ง ห์ โ ค้ ง ปลายพลสิ ง ห์ บั น ไดตั้ ง เสาสี่ เ หลี่ ย ม ฐานพระอุโบสถเป็นฐานสิงห์ตั้งอยู่บนฐานบัวคว�่า ผนัง ประดั บ ประติ ม ากรรมรู ป สิ ง ห์ พระอุ โ บสถล้ อ มรอบ และฐานอาคารฉาบปูนเรียบทาสีขาว ที่กึ่งกลางผนัง ด้ ว ยลานประทั ก ษิ ณ แสดงต� า แหน่ ง ของเขตเสมา ด้า นสกัดทั้งด้า นหน้า และด้า นหลังท�า เป็น ช่อ งประตู ด้ ว ยใบเสมาซึ่ ง รองรั บ ด้ ว ยฐานสิ ง ห์ ง านปู น ปั ้ น ทา ทางเข้าพระอุโบสถ ด้านละ ๑ ต�าแหน่ง ลักษณะเป็น สีขาวจ�านวน ๘ ต�าแหน่ง


วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระอุโบสถ

67

ภายในพระอุ โ บสถประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ปาง มารวิ ชั ย เป็ น พระพุ ท ธรู ป ประธานเบื้ อ งหน้ า ตั้ ง รู ป พระสาวก ทั้ ง ทางด้ า นซ้ า ยและขวา ตั้ ง พระพุ ท ธรู ป ขนาดย่อมอีกหลายองค์ขนาบอยู่สองข้างร่วมอยู่บน ชั้ น ฐานอั น เป็ น ลั ก ษณะการประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ที่ มั ก พ บ ใ น พ ร ะ อุ โ บ ส ถ ห รื อ พ ร ะ วิ ห า ร ใ น ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ผนั ง ภายในพระอุ โ บสถฉาบปู น เรี ย บ ทาสี ข าว ฝ้ า เพดานไม้ ท าสี เ ขี ย ว โครงสร้ า งขื่ อ ทา สี แ ดงเดิ น เส้ น ขอบสี ท อง ทั้ ง ผนั ง และเพดานภายใน อุโบสถมีความเรียบง่าย ไม่ประดับลวดลาย


69

วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระเจดีย์

พระเจดีย์

ท � ง ด ้ � น ทิ ศ เ ห นื อ ข อ ง พ ร ะ อุ โ บ ส ถ เ ป ็ น ล � น เอนกประสงค์ ข น�ดใหญ่ ใช้ เ ป็ น สถ�นที่ จั ด กิจกรรมต่�ง ๆ กล�งล�นปลูกต้นพระศรีมห�โพธิ์ ใ ห ้ ร ่ ม เ ง � ที่ ร ่ ม รื่ น แ ก ่ ล� น แ ล ะ เ ป ็ น สั ญ ลั ก ษ ณ ์ อั น สำ � คั ญ ที่ ช ่ ว ยเชื่ อ มต่ อ คว�มสั ม พั น ธ์ ข องกลุ ่ ม อ�ค�รหลักภ�ยในเขตพุทธ�ว�สของพระอ�ร�ม ทางด้ า นทิ ศ เหนื อ ของลานพระศรี ม หาโพธิ์ เ ป็ น ที่ตั้งของพระเจดีย์และกลุ่มอาคารประกอบ อันได้แก่ พระวิหารยอดปรางค์ หอระฆัง และหอระฆังโบราณ รู ป แบบทางสถาปั ต ยกรรมของพระเจดี ย ์ วั ด เขาแก้ ว วรวิ ห ารมี ลั ก ษณะเป็ น พระเจดี ย ์ ท รงระฆั ง ๕ ยอด ที่มีสัดส่วนเพรียวชะลูด ตลอดจนมีรายละเอียดของ องค์ ป ระกอบทางสถาปั ต ยกรรมที่ มี ค วามแตกต่ า ง จากสถูปเจดีย์ทรงระฆังอื่น ๆ ซึ่งสถาปนาขึ้นในรูปแบบ พระราชนิ ย มในพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๓๙๔ - ๒๔๑๖ ทั้งที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา ขึ้ น ภายในเขตพระนครและหั ว เมื อ งต่ า ง ๆ ตาม พระราชประสงค์ อาจด้ ว ยเหตุ ที่ วั ด เขาแก้ ว วรวิ ห าร เป็ น วั ด โบราณที่ ส ถาปนามาแต่ ค รั้ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (ราวพุทธศักราช ๒ ๑ ๗ ๑ ) ห ลั ง จ า ก ก า ร ส ถ า ป น า พ ร ะ ม ณ ฑ ป วั ด พระพุ ท ธบาทฯ ไม่ น านนั ก ดั ง นั้ น ในรั ช กาล พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ซึ่ ง ทรง พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯให้ เ จ้ า พระยานิ ก รบดิ น ทร์ (โต กั ล ยาณมิ ต ร) เป็ น แม่ ก องในการปฏิ สั ง ขรณ์ วั ด เ ข า แ ก ้ ว ว ร วิ ห า ร จึ ง เ ป ็ น ก า ร ซ ่ อ ม แ ซ ม แ ล ะ สร้ า งเสริ ม จากสิ่ ง ปลู ก สร้ า งเดิ ม ซึ่ ง ปรากฏอยู ่ ใ น พระอาราม ประกอบกับการบูรณะซ่อมแซมพระอาราม ในชั้ น หลั ง จนส่ ง ผลให้ รู ป แบบทางสถาปั ต ยกรรม ของพระเจดี ย ์ วั ด เขาแก้ ว วรวิ ห าร มี ค วามเป็ น เอกลักษณ์แตกต่างจากที่อื่น ๆ ดังกล่าว


71

วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระเจดีย์

พระเจดี ย ์ วั ด เขาแก้ ว วรวิ ห ารตั้ ง อยู ่ บ นฐาน ๒ ชั้ น ฐานล่ า ง เป็ น เนิ น เขาหิ น ธรรมชาติ นั บ เป็ น จุ ด ที่ มี ร ะดั บ สู ง สุ ด ตาม สภาพภู มิ ป ระเทศของที่ ตั้ ง พระอาราม มี ก ารก่ อ เสริ ม ฐาน ชั้ น ล่ า งบางส่ ว นในบริ เ วณทางด้ า นทิ ศ ใต้ ข ององค์ พ ระเจดี ย ์ และก่ อ บั น ไดเป็ น ทางเข้ า หลั ก ต่ อ เนื่ อ งมาจากบริ เ วณ ลานพระศรี ม หาโพธิ์ ในระดั บ ฐานชั้ น ล่ า งนี้ ที่ มุ ม ทางด้ า น ทิศตะวันตกเฉียงใต้ขององค์พระเจดีย์เป็นที่ตั้งของพระวิหาร ยอดปรางค์ หอระฆัง และหอระฆังโบราณ

ฐานชั้นบนมีลักษณะเป็นฐานประทักษิณ ผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ก่อบันไดทางขึ้นที่กึ่งกลางทั้ง ๔ ด้าน กั้นพนักปูนปั้นประดับ ลู ก กรงคั่ น ด้ ว ยเสาหั ว เม็ ด เป็ น ระยะ ที่ ร ะดั บ ฐานชั้ น บนนี้ เป็ น ที่ ตั้ ง ขององค์ พ ระเจดี ย ์ มี ร ายละเอี ย ดของรู ป แบบ สถาปัตยกรรมเป็นล�าดับไปดังนี้


73

วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระเจดีย์

ฐานชั้นล่างสุดขององค์พระเจดีย์เป็นฐานปัทม์แทรกบัวอกไก่ ในส่ ว นท้ อ งไม้ มี ผั ง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ย่ อ มุ ม ไม้ สิ บ สองที่ ขอบหน้ า กระดานบนตั้ ง เสาหั ว เม็ ด ประดั บ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ รูปทรงโดยรวมของพระเจดีย์เข้าสู่รูปทรงจอมแห เสาหัวเม็ดคู่ ที่อยู่กึ่งกลางแต่ละด้านยอดประดับทรงกลีบดอกบัว ส่วนเสา หั ว เม็ ด ที่ ตั้ ง อยู่ ที่ ย่ อ มุ ม ไม้ สิ บ สองประดั บ ส่ ว นยอดด้ ว ย

รู ป จ� า ลองเจดี ย์ ท รงระฆั ง กลม ระหว่ า งเสาหั ว เม็ ด กั้ น พนั ก ปู น ปั้ น ลู ก ฟั ก ทึ บ เว้ น ช่ อ งว่ า งระหว่ า งเสาหั ว เม็ ด คู่ ก ลาง ของแต่ละด้าน เพื่อส่งเสริมให้เกิดความต่อเนื่องของมุมมอง ใ ห้ ผู้ ที่ อ ยู่ บ ริ เ ว ณ ล า น โ ด ย ร อ บ ส า ม า ร ถ ม อ ง เ ห็ น ส่ ว น ซุ้ ม ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ยื น ในส่ ว นเรื อ นธาตุ ข ององค์ พระเจดีย์ที่อยู่ถัดขึ้นไปได้


วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระเจดีย์

75

ฐ า น ชั้ น ถั ด ขึ้ น ไ ป เ ป ็ น ฐ า น ป ั ท ม ์ แทรกบั ว อกไก่ เ ช่ น เดี ย วกั บ ฐาน ชั้ น ล่ า ง มี ผั ง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ย่ อ มุ ม ไม้ สิ บ สอง ฐานทั้ ง ๔ ด้ า น ก่ อ เพิ่ ม มุ ม ออกมาเพื่ อ รองรั บ ส่ ว น ฐานของซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูป ในชั้นถัดขึ้นไป ส่ ว นเรื อ นธาตุ ข ององค์ พ ระเจดี ย ์ มี ผั ง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ย่ อ มุ ม ไม้สิบสอง ลักษณะเป็นฐานปัทม์ยึด ส ่ ว น ท ้ อ ง ไ ม ้ สู ง ขึ้ น แ ล ะ แ ท ร ก บัวปากปลิง ซึ่งแลดูคล้ายกับรูปแบบ ล ว ด บั ว ข อ ง ง า น ส ถ า ป ั ต ย ก ร ร ม ล้ า นนา ที่ ข อบหน้ า กระดานบนใน ส่ ว นย่ อ มุ ม ไม้ สิ บ สองตั้ ง รู ป จ� า ลอง เจดี ย ์ ท รงระฆั ง กลม กึ่ ง กลางเรื อ น ธาตุ ทั้ ง ๔ ด้ า นก่ อ เป็ น ซุ ้ ม จระน� า ยอดซุ ้ ม ทรงบั น แถลงซ้ อ น ๒ ชั้ น ตรงกลางเว้นเป็นคูหาที่ประดิษฐาน พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ยื น ป ร ะ ก อ บ ด ้ ว ย พระพุทธรูปปางร�าพึง ปางประทาน พร ปางลี ล า และปางอุ ้ ม บาตร ใ น ซุ ้ ม จ ร ะ น� า ท า ง ด ้ า น ทิ ศ เ ห นื อ ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก ทิ ศ ใ ต ้ แ ล ะ ทิ ศ ตะวันตก ตามล�าดับ


77

วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระเจดีย์

ถั ด ขึ้ น ไป เหนื อ บั น แถลงซ้ อ นบนของซุ ้ ม ประดิ ษ ฐาน พระพุทธรูปก่อเป็นฐานยืดขึ้นไปรองรับเจดีย์ทรงระฆัง ขนาดย่ อ ม ลั ก ษณะเป็ น เจดี ย ์ บ ริ ว ารอยู ่ ทั้ ง ๔ ด้ า น ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมี ค วามสอดคล้ อ งกั บ รู ป แบบของ พระศรี รั ต นเจดี ย ์ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม ซึ่ ง สถาปนาขึ้นในรัชกาลที่ ๔ มีการสร้างเจดีย์ทรงระฆัง ขนาดย่ อ ม อยู ่ ที่ ย อดของซุ ้ ม บั น แถลงทั้ ง ๔ ด้ า น แต่ จ ะมี ค วามแตกต่ า งกั น ที่ สั ด ส่ ว นในภาพรวมของ องค์ระฆังของเจดีย์ประธาน

ยอดกลางของพระเจดี ย ์ ก่ อ เป็ น ฐานปั ท ม์ ผั ง รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ย่ อ มุ ม ไม้ ยี่ สิ บ ยื ด ส่ ว นท้ อ งไม้ สู ง ขึ้ น แทรกบัวอกไก่ ถัดขึ้นไปเป็นชั้นบัวถลารองรับส่วนฐาน แข้ ง สิ ง ห์ ซึ่ ง มี ผั ง เป็ น รู ป วงกลม เหนื อ แข้ ง สิ ง ห์ เ ป็ น ชั้ น กลี บ บั ว รองรั บ องค์ ร ะฆั ง ตอนบนขององค์ ร ะฆั ง ประดั บ ลวดลายกระจั ง และพู ่ ห ้ อ ย ถั ด ขึ้ น ไปคื อ ชั้ น บั ล ลั ง ก์ ชั้ น บั ว กลุ ่ ม ๗ ชั้ น และปลี ย อด เหนื อ ปลี ยอดประดิษฐานฉัตรโลหะ องค์พระเจดีย์และชั้นฐาน และองค์ ป ระกอบประดั บ ตกแต่ ง ทั้ ง หมดเป็ น งาน เครื่ อ งก่ อ ฉาบปู น เรี ย บทาสี ข าว เมื่ อ ประกอบกั บ รู ป ท ร ง ที่ มี ค ว า ม เ พ รี ย ว ช ะ ลู ด แ ล ะ รู ป แ บ บ อั น เป็ น เอกลั ก ษณ์ แ ล้ ว ส่ ง ผลให้ พ ระเจดี ย ์ แ ห่ ง นี้ เ ป็ น จุดหมายตาที่มีความโดดเด่นของภูมิประเทศเนินเขา ริมแม่น�้าป่าสัก อันเป็นสถานที่ตั้งพระอาราม


วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระเจดีย์

79


81

วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระวิหารยอดปรางค์

พระวิห�รยอดปร�งค์

พระวิห�รยอดปร�งค์ตั้งอยู่ที่มุมท�งด้�นทิศตะวัน ตกเฉียงใต้ของฐ�นชั้นล่�งขององค์พระเจดีย์ มีรูป แบบสถ�ปัตยกรรมเป็นอ�ค�รตรีมุขประกอบเครื่อง ยอดทรงปร�งค์ ๕ ยอด พระวิห�รนี้สร้�งขึ้นในคร�ว ปฏิ สั ง ขรณ์ แ ละสร้ � งเสริ ม พระอ�ร�มในรั ช ก�ล พระบ�ทสมเด็จพระจอมเกล้�เจ้�อยู่หัว ในสมัยรัชกาลที่ ๔ การสถาปนาพระอารามตลอดจน การสร้างเสริมอาคารขึ้นในพระอาราม ตามแนวทาง พระราชด�าริ ปรากฏรูปแบบของการสร้างพระวิหาร ยอดปรางค์ ขึ้ น ในหลากหลายลั ก ษณะ มั ก จะพบว่ า เป็นอาคารที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป ส�าคัญหรือรูปเคารพส�าคัญ เพิ่มเติมประกอบเข้ากับ กลุ ่ ม อาคารสิ่ ง ปลู ก สร้ า งภายในเขตพุ ท ธาวาสของ พระอาราม ซึ่ ง มั ก มี ส ถู ป เจดี ย ์ ท รงระฆั ง เป็ น อาคาร ประธานตั ว อย่ า งเช่ น พระพุ ท ธปรางค์ ป ราสาท (ปราสาทพระเทพบิดร) และหอพระคันธาราราษฎร์ วั ด พ ร ะ ศ รี รั ต น ศ า ส ด า ร า ม ห อ พ ร ะ จ อ ม แ ล ะ หอพระไตรปิ ฏ ก วั ด ราชประดิ ษ ฐ์ ส ถิ ต มหาสี ม าราม ราชวรวิ ห าร เป็ น ต้ น ตลอดจนสถาปั ต ยกรรม เครื่องยอดทรงปรางค์ที่สร้างขึ้นในพระราชวังที่ประทับ อาทิ พระที่ นั่ ง เวชยั น ต์ วิ เ ชี ย รปราสาท พระนครคี รี เมืองเพชรบุรี เป็นต้น


83

วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระวิหารยอดปรางค์

พระวิ ห ารยอดปรางค์ วั ด เขาแก้ ว วรวิ ห ารเป็ น อาคารตรี มุ ข วางอาคารหั น หน้ า ไปทางด้ า นทิ ศ ใต้ เ ข้ า สู่ ล านพระศรี มหาโพธิ์ มุ ข ด้ า นทิ ศ ใต้ เ ป็ น มุ ข สั้ น มุ ข ด้ า นข้ า งทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกและทิ ศ ตะวั น ตกเป็ น มุ ข ยาว พระวิ ห ารตั้ ง อยู่ บ น ฐานเขี ย งเตี้ ย ๆ เสาหน้ า ตั ด สี่ เ หลี่ ย มและผนั ง งานเครื่ อ งก่ อ ฉาบปู น เรี ย บทาสี ข าว ระหว่ า งเสาคู่ ห น้ า กั้ น พนั ก ปู น ปั้ น ประดับกระเบื้องปรุ หลังคาพระวิหารเป็นทรงจั่วมุงกระเบื้อง

ดินเผา หน้าบันประดับเครื่องล�ายอง แบบตัวรวยลักษณะงาน เครื่องก่อไม่ท�าไขราหน้าจั่ว หน้าบันฉาบปูนประดับลวดลาย ปู น ปั้ น เป็ น ลายพฤกษชาติ เป็ น กิ่ ง ก้ า นประดั บ ด้ ว ยใบไม้ ใ น ลักษณะธรรมชาติ หน้าบันมุขทางด้านหน้า ตรงกลางประดับ ปู น ปั้ น รู ป พานรองรั บ ป้ า ยจารึ ก ข้ อ ความการสร้ า งและ ปฏิ สั ง ขรณ์ พ ระวิ ห ารยอดปรางค์ ซึ่ ง เป็ น แผ่ น ป้ า ยที่ ท� า ขึ้ น ภายหลัง เหนือแผ่นป้ายจารึกประดับภาพปูนปั้นเป็นรูปพัดยศ


วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระวิหารยอดปรางค์

85

แกนกลางพระวิ ห ารก่ อ ผนั ง มี ผั ง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย ม รองรั บ ส่ ว นเครื่ อ งยอดอาคาร ซึ่ ง มี ร ายละเอี ย ดของ องค์ ป ระกอบดั ง นี้ ตอนล่ า งของเครื่ อ งยอดก่ อ เป็ น ฐานมี ผั ง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มย่ อ มุ ม ไม้ สิ บ สอง กึ่ ง กลาง แต่ ล ะด้ า นก่ อ เป็ น ซุ้ ม บั น แถลงซ้ อ น ๒ ชั้ น เป็ น ที่ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ทั้ ง ๔ ด้ า น ตรงกลางก่ อ เป็ น ฐานยื ด ส่ ว นท้ อ งไม้ สู ง ขึ้ น รองรั บ เครื่ อ งยอด ทรงปรางค์ ตรงกลางเป็ น ยอดปรางค์ ป ระธาน มี ข นาดใหญ่ แ ละมี ร ายละเอี ย ดขององค์ ป ระกอบ มากกว่ า ทั้ ง ๔ ด้ า นก่ อ เป็ น ชั้ น ลดรองรั บ ส่ ว นยอด ของปรางค์ บ ริ ว าร องค์ ป ระกอบทั้ ง หมดของส่ ว น เครื่ อ งยอดบรรจุ อ ยู่ ใ นทรงจอมแห การประดั บ ต ก แ ต่ ง ใ น ภ า พ ร ว ม เ ป็ น ง า น ปู น ปั้ น ท า สี ข า ว เฉพาะส่วนยอดทรงปรางค์ทั้ง ๕ ยอดเป็นสีทอง


วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระวิหารยอดปรางค์

87

ภายในพระวิ ห ารยอดปรางค์ มุ ข ทางด้ า นทิ ศ ใต้ ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ป า ง ส ม า ธิ แ ล ะ ร อ ย พระพุ ท ธบาทจ� า ลอง ที่ ผ นั ง ภายในพระวิ ห ารเจาะ เป็นช่องประตูทางเข้า บานประตูเป็นภาพทวารบาล เซี่ ย วกางพื้ น หลั ง ผู ก เป็ น ลายดอกพุ ด ตานใบเทศ งานไม้ แ กะสลั ก ปิ ด ทอง มุ ข ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ปางป่ า เลไลยก์ มุ ข ทาง ด ้ า น ทิ ศ ต ะ วั น ต ก ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ท ร ง เครื่องปางห้ามสมุทร และพระพุทธรูปปางห้ามสมุทร อีก ๑ องค์


วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระวิหารยอดปรางค์

89


วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระวิหารยอดปรางค์

91

น อ ก จ า ก รู ป แ บ บ ข อ ง พ ร ะ วิ ห า ร เ ค รื่ อ ง ย อ ด ท ร ง ป ร า ง ค ์ จ ะ เ ป ็ น รู ป แ บ บ ที่ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ อ า ค า ร เครื่องยอดทรงปรางค์อื่น ๆ ที่สถาปนาขึ้นในรัชกาล พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว แล้ ว การ ป ร ะ ดั บ ต ก แ ต ่ ง ภ า ย ใ น อ า ค า ร ด ้ ว ย ก า ร เ ขี ย น ภาพจิ ต รกรรมฝาผนั ง เป็ น ภาพ ข้ อ วั ต รปฏิ บั ติ ข อง พระภิ ก ษุ ส งฆ์ ซึ่ ง ปรากฏบริ เ วณตอนบนของผนั ง หุ ้ ม กลอง ภายในมุ ข ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกและทิ ศ ตะวั น ตกของพระวิ ห ารยอดปรางค์ ยั ง เป็ น ลั ก ษณะ การประดั บ ตกแต่ ง ที่ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ การ เขี ย นภาพจิ ต รกรรมประดั บ ตกแต่ ง ภายในอาคาร ของพระอารามที่ ส ถาปนาขึ้ น ในรั ช กาลที่ ๔ ด้ ว ย เช่ น เดี ย วกั น รายละเอี ย ดของภาพจิ ต รกรรมภายใน พ ร ะ วิ ห า ร ย อ ด ป ร า ง ค ์ ป ร ะ ก อ บ ด ้ ว ย มุ ข ท า ง ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกซึ่ ง เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ปางป่าเลไลย์


93

วัดเขาแก้ววรวิหาร

พระวิหารยอดปรางค์

ตอนบนของผนั ง หุ ้ ม กลองทั้ ง ทางด้ า นหน้ า และ ด ้ า น ห ลั ง เ ขี ย น ภ า พ จิ ต ร ก ร ร ม แ ส ด ง ก า ร ป ล ง อสุ ภ กรรมฐาน หรื อ การฝึ ก กรรมฐานด้ ว ยการ พิ จ ารณาซากศพ เรื่ อ ง อสุ ภ กรรมฐานนี้ จั ด อยู ่ ใ น มหาสติ ป ั ฏ ฐานสู ต ร ซึ่ ง เป็ น พระสู ต รที่ พ ระพุ ท ธองค์ ทรงแสดงแก่ พ ระภิ ก ษุ เมื่ อ คราวที่ ป ระทั บ อยู ่ ณ หมู่บ้านกัมมาสธัมมะ จัดอยู่ในกายานุปัสสนา ข้อที่ ๖ นวสี ว ถิ ก าบรรพ หรื อ การพิ จ ารณาซากศพที่ อ ยู ่ ในป่ า ช้ า สามารถแบ่ ง ออกเป็ น อสุ ภ กรรมฐาน ๑๐ ประการ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.

อุทธุมาตกะ วินีลกะ วิปุพพกะ วิจฉิททกะ วิกขายิตกะ วิกขิตตกะ หตวิกขิตตกะ โลหิตกะ ปุฬุวกะ อัฏฐิกะ

ซากผีที่พองขึ้น ซากผีที่เขียว ซากผีน�้าหนองไหล ผีขาดสองท่อน กาหมาแร้งกัดกินซากผี ซากผีหัวขาด ตีนขาด ซากผีขาดกระจัดกระจาย เชือดเลือดทั้งตัวผี หนอนกินตามทวารทั้ง ๙ ปรากฏแต่กระดูกขาว

ส่วนที่มุขด้านข้างทางด้านทิศตะวันตก ตอนบนของ ผนังหุ้มกลองด้านตรงข้าม กับที่ประดิษฐานพระพุทธ รู ป ทรงเครื่ อ งปางห้ า มสมุ ท ร เขี ย นภาพจิ ต รกรรม เรื่องเปรตวิสัย ซึ่งจ�าแนกเปรตออกเป็น ๑๒ จ�าพวก อาทิ ปั พ พตั ง คาเปรต เปรตจ� า พวกนี้ จ ะมี ไ ฟลุ ก ท่ ว มร่ า งกายตลอดเวลา เกิ ด จากเมื่ อ ยามมี ชี วิ ต เผา บ้ า นเรื อ นของผู ้ มี ศี ล หรื อ อชครั ง คาเปรต เปรต จ� า พวกที่ มี ร ่ า งกายคล้ า ยกั บ งู เ หลื อ ม และมี เ ปลวไฟ ลุกท่วม เป็นต้น


95

วัดเขาแก้ววรวิหาร

หอระฆังโบราณ

หอระฆังโบร�ณ

ท�งด้ � นทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ข องฐ�นประทั ก ษิ ณ ชั้นล่�งของพระเจดีย์ เป็นที่ตั้งของหอระฆังโบร�ณ ของวั ด เข�แก้ ว วรวิ ห �ร ในปั จ จุ บั น มี ส ภ�พชำ � รุ ด มิได้มีก�รใช้สอยอ�ค�ร รู ป แบบทางสถาปั ต ยกรรมเป็ น อาคารเครื่ อ งก่ อ ขนาดเล็ ก มี ผั ง รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ฐานยกสู ง รองรั บ ส่ ว นผนั ง ทั้ ง ส่ ว นฐานและผนั ง ก่ อ เว้ น เป็ น ช่ อ งทรง โค้ ง แหลมทั้ ง ๔ ด้ า น ส่ ว นยอดของอาคารช� า รุ ด หั ก พั ง ไปแล้ ว แต่ พ อจะสั น นิ ษ ฐานรู ป แบบได้ จ าก หอระฆั ง ของวั ด ไผ่ ล ้ อ ม ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นไผ่ ล ้ อ ม ฝั ่ ง ตรง ข้ า มแม่ น�้ า ป่ า สั ก ไม่ ไ กลจากวั ด เขาแก้ ว รู ป แบบของ หอระฆั ง วั ด ไผ่ ล ้ อ มยั ง คงหลงเหลื อ ลั ก ษณะของส่ ว น ยอดเป็ น ทรงเจดี ย ์ เ หลี่ ย มย่ อ มุ ม ไม้ สิบสอง ส่ ว นผนั ง และฐานตอนล่ า งมี ค วามคล้ า ยคลึ ง กั บ หอระฆั ง โบราณที่วัดเขาแก้ววรวิหาร

หอระฆังวัดไผ่ล้อม


97

วัดเขาแก้ววรวิหาร

หอระฆัง

หอระฆัง

อ�ค�รหอระฆั ง ซึ่ ง รองรั บ ก�รใช้ ง �นในปั จ จุ บั น ตั้ ง อยู ่ ที่ มุ ม ท�งด้ � นทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ข อง พระเจดีย์ มีระดับของพื้นอ�ค�รต่อเนื่องกับระดับ ของพื้นท�งด้�นหน้�พระวิห�รยอดปร�งค์ มีรูปแบบเป็นอาคารโถง ผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ส่วนตัว เรื อ นซึ่ ง เป็ น โถงส� า หรั บ แขวนระฆั ง ตั้ ง เสาคอนกรี ต หน้ า ตั ด สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ที่ มุ ม ทั้ ง ๔ กั้ น พนั ก ลู ก กรง ปูนปั้นเป็นพนักกันตก ตอนบนพาดคานเชื่อมเสาเข้า ด้ ว ยกั น ใต้ ค านประดั บ คู ห าโค้ ง ลั ก ษณะคล้ า ยกั บ ซุ้มประตูบันไดทางขึ้นพระอาราม ส่ ว นยอดของหอระฆั ง เป็ น งานเครื่ อ งก่ อ เลี ย นแบบ ลั ก ษณะหลั ง คาจตุ ร มุ ข งานโครงสร้ า งเครื่ อ งไม้ ซ ้ อ น ๒ ชั้ น หน้ า บั น ประดั บ ลวดลายปู น ปั ้ น ภาพเทพนม ในทรงพุ ่ ม ข้ า วบิ ณ ฑ์ ประกอบลายกระหนกก้ า นขด ก ล า ง ห ลั ง ค า จ ตุ ร มุ ข ตั้ ง เ ค รื่ อ ง ย อ ด ข น า ด ย ่ อ ม มี ลั ก ษณะเป็ น ยอดทรงสถู ป เจดี ย ์ ท รงระฆั ง ๕ ยอด แสดงถึ ง ความสั ม พั น ธ์ กั บ รู ป แบบของพระเจดี ย ์ อันเป็นอาคารประธานในพระอาราม


99

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ธรรมาสน์

ธรรม�สน์

ธรรม�สน์ วั ดเข�แก้ววรวิห�ร ตั้งอยู่ในศ�ล�ท�ง ด้ � นทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ข องพระเจดี ย ์ นั บ เป็ น โบร�ณวัตถุชิ้นสำ�คัญซึ่งเป็นหลักฐ�นที่แสดงให้เห็น ถึ ง คว�มสำ � คั ญ ของวั ด เข�แก้ ว วรวิ ห �ร เนื่ อ งด้ ว ย ธรรม�สน์ นี้ เ ป็ น เครื่ อ งสั ง เค็ ต ที่ ท รงพระกรุ ณ � โปรดเกล้ � ฯ สร้ � งขึ้ น เพื่ อ พระร�ชท�นไปยั ง พระอ�ร�มสำ�คัญต่�ง ๆ เพื่ออุทิศถว�ยเป็นพระร�ช กุ ศ ล ใ น ง � น พ ร ะ ร � ช พิ ธี ถ ว � ย พ ร ะ เ พ ลิ ง พระบรมศพพระบ�ทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ � เจ้�อยู่หัว ในปีพุทธศักร�ช ๒๔๕๓ - ๒๔๕๔ ธรรมาสน์นี้สร้างขึ้นด้วยไม้ มีลักษณะเป็นธรรมาสน์ เท้ า สิ ง ห์ ขอบด้ า นบนกั้ น พนั ก ลู ก กรงกลึ ง ประดั บ เสาหั ว เม็ ด พนั ก ด้ า นข้ า งทั้ ง ๒ ด้ า นประดั บ กระจั ง ใบปรื อ ซึ่ ง มี ป ลายยอดพลิ้ ว สะบั ด ไปทางด้ า นหลั ง ส่ ว นพนั ก ทางด้ า นหลั ง ประดั บ กระจั ง ปฏิ ญ าณใหญ่ ที่ กึ่ งกลางประดิ ษฐานอั กษรพระปรมาภิ ไธยย่ อ จปร ในกรอบวงกลมประกอบรั ศ มี ภายใต้ พ ระเกี้ ย วอั น เ ป ็ น ต ร า พ ร ะ ร า ช ลั ญ จ ก ร ใ น พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ตอนล่ า งของกระจั ง ปรากฏข้อความ “ทรงพระราชอุทิศ ในงานพระบรมศพ พ.ศ. ๒๔๕๓” ลวดลายประดั บ ตกแต่ ง ธรรมาสน์ เป็นงานลวดลายฉลุปิดทองบนพื้นสีด�า ด้านหลังของ องค์ประกอบต่าง ๆ ทาสีแดงชาด


101

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ตู้พระธรรม

ตู้พระธรรม

ตู ้ พ ระธรรมวั ด เข�แก้ ว วรวิ ห �ร ตั้ ง อยู ่ ใ นศ�ล� ซึ่ ง อ ยู ่ ท � ง ด ้ � น ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ ข อ ง พระเจดี ย ์ มี ลั ก ษณะเป็ น ตู ้ ข �หมู แ บบมี ลิ้ น ชั ก ประดั บ ตกแต่ ง ด้ ว ยก�รเขี ย นล�ยรดนำ้ � ขอบหน้ � กระด�นท�งนอนเขี ย นล�ยหน้ � กระด�นดอกซี ก ดอกซ้ อ น เส�ตู ้ พ ระธรรมเขี ย นล�ยพุ ่ ม ข้ � วบิ ณ ฑ์ ในทรงหน้�กระด�นท�งตั้ง ตอนบนและล่�งเขียน ล�ยกรวยเชิ ง กรอบลู ก ฟั ก ของลิ้ น ชั ก เขี ย นล�ย ประจำ�ย�มประกอบล�ยพฤกษช�ติและสัตว์ต่�ง ๆ หู ข ้ � ง มุ ม ข � ตู ้ เ ขี ย น ภ � พ ผี เ สื้ อ ป ร ะ ก อ บ ล � ย ก้�นขดพฤกษช�ติ บ า น ตู ้ พ ร ะ ธ ร ร ม เ ขี ย น ภ า พ ท ว า ร บ า ล เ ซี่ ย ว ก า ง พื้ น หลั ง เขี ย นลายกระหนกเปลว รายละเอี ย ดของ ภาพเซี่ยวกางแต่งกายด้วยเครื่องแต่งกายอิทธิพลจีน สวมชฎายอดทรงหั ว นาค ยื น เงื้ อ กระบี่ เ หยี ย บอยู ่ บนหลังกิเลน บ า น ท า ง ด ้ า น ข ้ า ง ข อ ง ตู ้ พ ร ะ ธ ร ร ม เ ขี ย น ภ า พ พุทธประวัติต อนเสด็จ ออกมหาภิเนษกรมณ์ เมื่อ หัน หน้ า เข้ า หาตู ้ พ ระธรรมบานทางด้ า นข้ า งขวาเขี ย น ภาพเหตุการณ์ตอนที่เจ้าชายสิทธัตถะ ทอดพระเนตร พระนางยโสธรา และพระราหุ ล พระราชโอรสซึ่ ง บรรทมอยู ่ ใ นพระมหาปราสาท ในขณะที่ ท รงเสด็ จ ออกผนวช โดยมี น ายฉั น นะเตรี ย มม้ า กั ณ ฐกะเป็ น พระราชพาหนะในการเสด็ จ ส่ ว นบานทางด้ า นซ้ า ย เป็ น ภาพเหตุ ก ารณ์ ต ่ อ เนื่ อ งขณะที่ เ จ้ า ชายสิ ท ธั ต ถะ ประทั บ อยู ่ บ นหลั ง ม้ า กั ณ ฐกะ มี น ายฉั น นะเกาะ หางม้ า ติ ด ตามมา โดยมี เ ทวดาประคองเท้ า ทั้ ง ๔ ของม้ า กั ณ ฐกะ พร้ อ มทั้ ง แวดล้ อ มมาในกระบวน เสด็จออกผนวช ทางซ้ า ยของภาพเป็ น ภาพพญามารมายื น ขวางไว้ มิ ใ ห ้ เ ส ด็ จ อ อ ก ผ น ว ช ต อ น ล ่ า ง ข อ ง ภ า พ เ ป ็ น เหตุ ก ารณ์ ใ นตอนตั ด พระเกศาริ ม แม่ น�้ า อโนมา โดยมี พ ระอิ น ทร์ เ ทวะลงมาอั ญ เชิ ญ พระเกศานั้ น ไปประดิ ษ ฐาน ณ พระจุ ฬ ามณี เ จดี ย ์ บนสวรรค์ ชั้ น ดาวดึ ง ส์ มี ฆ ฏิ ก ารพรหมพร้ อ มด้ ว ยบริ ว าร มาอั ญ เชิ ญ เครื่ อ งทรงไปประดิ ษ ฐาน ณ ทุ ส สเจดี ย ์ ในพรหมเทวโลก พร้ อ มด้ ว ยภาพเหตุ ก ารณ์ ใ น ตอนที่พระอินทร์ลงมาดีดพิณ ๓ สาย เพื่อเป็นอุบาย แ ส ด ง ใ ห ้ เ ห็ น คุ ณ ข อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ท า ง สายกลาง หรือ มัชฌิมาปฏิปทา ในขณะที่พระพุทธ องค์ทรงบ�าเพ็ญทุกกรกิริยา


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ตู้พระธรรม

ภาพทวารบาลเซี่ยวกาง พื้นหลังเขียนลายกระหนกเปลว ที่บานประตูตู้พระธรรม

103


105

วัดเขาแก้ววรวิหาร

บทสรุปวัดเขาแก้ววรวิหาร

บทสรุป

วั ด เข�แก้ ว วรวิ ห �ร พระอ�ร�มหลวง ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ บนยอดเข�ริ ม แม่ นำ้ � ป่ � สั ก ในเขตอำ � เภอเส�ไห้ จั ง หวั ด สระบุ รี ด้ ว ยบรรย�ก�ศอั น สงบร่ ม รื่ น ของพระอ�ร�ม ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นชุ ม ชนต่ � งจั ง หวั ด ประกอบกั บ คว�มเรี ย บง่ � ยของสถ�ปั ต ยกรรม สิ่งปลูกสร้�งต่�ง ๆ ภ�ยในพระอ�ร�ม อ�จทำ�ให้ เกิ ด คว�มเข้ � ใจได้ ว ่ � วั ด เข�แก้ ว วรวิ ห �รแห่ ง นี้ เป็นวัดธรรมด� เช่นเดียวกับวัดอื่น ๆ ที่พบได้ทั่วไป แต่เมื่อได้ทราบประวัติความเป็นมารายละเอียดของ งานสถาปั ต ยกรรม งานศิ ล ปกรรม รวมทั้ ง ประเพณี พิธีกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในพระอารามแล้ว การ ได้ มี โ อกาสเดิ น ทางมายั ง พระอาราม หรื อ แม้ ก ระทั่ ง เห็ น เพี ย งภาพถ่ า ยของพระอารามก็ ดี ย่ อ มจะก่ อ ให้ เกิ ด บรรยากาศของความลึ ก ซึ้ ง ดื่ ม ด�่ า ในคุ ณ สมบั ติ และลั ก ษณะเฉพาะพิ เ ศษ ที่ ซ ่ อ นอยู ่ ใ นภาพรวมที่ สงบเรียบง่ายดังกล่าวข้างต้น การสถาปนาพระอาราม ตลอดจนการปฏิ สั ง ขรณ์ ครั้ ง ใหญ่ ใ นรั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ล้ ว นมี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ การค้ น พบและ การเสด็จพระราชด�าเนินไปนมัสการรอยพระพุทธบาท ความส� า คั ญ ยิ่ ง ของพระอารามสั ง เกตได้ จ ากการมี ที่ ตั้ ง อยู ่ บ นยอดเขาริ ม แม่ น�้ า ปาสั ก อั น เป็ น ลั ก ษณะ ข อ ง ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี ค ว า ม โ ด ด เ ด ่ น ใ น บ ริ เ ว ณ นี้ นอกจากนั้ น ความสั ม พั น ธ์ ที่ เ กิ ด จากความเลื่ อ มใส ศรั ท ธาในรอยพระพุ ท ธบาทดั ง กล่ า ว อาจสั ง เกตได้ จ า ก ก า ร ส ร ้ า ง ร อ ย พ ร ะ พุ ท ธ บ า ท จ� า ล อ ง เ พื่ อ ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น ภ า ย ใ น มุ ข ห น ้ า ข อ ง พ ร ะ วิ ห า ร ยอดปรางค์ได้อีกประการหนึ่ง แม้ จ ะสถาปนาขึ้ น ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา แต่ ด ้ ว ย ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ ย า ว น า น ท� า ใ ห ้ รู ป แ บ บ ข อ ง ง า น สถาปั ต ยกรรมสิ่ ง ปลู ก สร้ า งภายในพระอาราม แสดงถึ ง ลั ก ษณะของแบบแผนพระราชนิ ย มใน สมั ย รั ช กาลที่ ๔ ซึ่ ง เป็ น ช่ ว งเวลาที่ มี ก ารบู ร ณ ปฏิ สั ง ขรณ์ พ ระอารามครั้ ง ใหญ่ ม ากกว่ า ดั ง จะเห็ น ได้ จ ากลั ก ษณะการวางผั ง รู ป แบบของพระอุ โ บสถ ตลอดจนการน�าเอาลักษณะศิลปกรรมแบบตะวันตก มาผสมผสานในการประดับตกแต่งงานสถาปัตยกรรม เช่ น งานปู น ปั ้ น ที่ ซุ ้ ม ประตู บั น ไดทางขึ้ น พระอาราม เป็นต้น นอกจากนั้นการที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ท่านเจ้าพระยานิกรบดินทร์ (โต กัลยาณมิตร) ผู้มี เชื้อสายจีนเป็นแม่กองในการปฏิสังขรณ์พระอาราม

ตลอดจนลู ก หลานในสายสกุ ล ที่ ไ ด้ อุ ป ถั ม ภ์ พ ระ อารามสื บ เนื่ อ งมา อาจส่ ง ผลให้ มี ล วดลายแบบ อิทธิพลศิลปะจีนสอดแทรกอยู่ในงานประดับตกแต่ง ในจุ ด ต่ า ง ๆ เช่ น ภาพเซี่ ย วกางที่ บ านประตู ง าน ประดั บ ด้ ว ยกระเบื้ อ งเคลื อ บ เป็ น ต้ น รู ป แบบของ งานสถาปั ต ยกรรมและการประดั บ ตกแต่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในช่ ว งเวลาที่ แ ตกต่ า งกั น ดั ง กล่ า ว สามารถ ปรากฏอยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ โ ดยอาศั ย ความเรี ย บง่ า ย และบรรยากาศ อันร่มรื่นของธรรมชาติโดยรอบเป็น ส�าคัญ ความพิ เ ศษประการส� า คั ญ อี ก ประการหนึ่ ง เกิ ด จาก การที่บริเวณอ�าเภอเสาไห้ เป็นพื้นที่ซึ่งมีชาวไทยวน จ า ก เ มื อ ง เ ชี ย ง แ ส น แ ล ะ ช า ว ล า ว เ วี ย ง จ า ก นครเวี ย งจั น ทน์ ไ ด้ เ ดิ น ทางอพยพเข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐาน เมื่ อ ครั้ ง ต้ น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ด้ ว ยความภาคภู มิ ในวั ฒ นธรรมประเพณี ป ระจ� า ถิ่ น ฐานเดิ ม ส่ ง ผลให้ ชาวไทยวนและชาวลาวเวี ย งซึ่ ง ตั้ ง รกรากสื บ ต่ อ มา จากบรรพบุ รุ ษ สามารถรั ก ษาแบบแผนวั ฒ นธรรม ประเพณีดั้งเดิมของตน อยู่ร่วมกับวัฒนธรรมประจ�า ท้อ งถิ่นเมือ งสระบุรีได้อ ย่า งผาสุขสืบมา ปัจ จัย หลัก ประการหนึ่ ง ที่ ช ่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การประสาน รู ป แบบวั ฒ นธรรมประเพณี อั น แตกต่ า งหลากหลาย เข้ า ด้ ว ยกั น นั้ น ได้ แ ก่ ความศรั ท ธาในพระบวรพุ ท ธ ศ า สนา ด้ ว ย เหตุ ที่ วั ด เขา แ ก้ ว วรวิ ห า รมี ชุ ม ชน ช า ว ไ ท ย ว น ตั้ ง อ ยู ่ โ ด ย ร อ บ พิ ธี ก ร ร ม ป ร ะ เ พ ณี ตลอดจนกิ จ กรรมในโอกาสต่ า ง ๆ ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ใน พระอาราม จึ ง มี ช าวชุ ม ชนไทยวนเข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว ม อ ยู ่ เ ส ม อ ภ า พ บ ร ร ย า ก า ศ ง า น บุ ญ ป ร ะ เ พ ณี ใ น พระอาราม ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคกลาง ที่คลาคล�่าไป ด้ ว ยพุ ท ธศาสนิ ก ชน ชาวบ้ า นในเครื่ อ งแต่ ง กาย ไทยวน นุ่งผ้าซิ่น ประกอบกับเสียงบรรเลงเครื่องดนตรี และการแสดงนาฏศิลป์แบบชาวล้านนา จึงเป็นภาพ แ ป ล ก ต า ที่ ส ร ้ า ง ค ว า ม ป ร ะ ทั บ ใ จ แ ก ่ ผู ้ พ บ เ ห็ น เอกลั ก ษณ์ พิ เ ศษนานาประการดั ง กล่ า วมาข้ า งต้ น หลอมรวมกั น อยู ่ ภายใต้ บ รรยากาศอั น สงบเรี ย บ ง่ายของพระอารามแห่งนี้


ระเบียงภ�พ


109

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

ระเบียงภ�พ ระเบี ย ง ต�มพจน�นุ ก รม หม�ยถึ ง โรงมี ห ลั ง ค� คลุ ม สร้ � งขึ้ น ล้ อ มอุ โ บสถหรื อ วิ ห �ร ซึ่ ง ในกรณี ที่ เป็นพระอ�ร�มหลวงจะเรียกว่� พระระเบียง นอกจากระเบียงจะเป็นเครื่องปิดล้อมแสดงอาณาเขต และส่ ง เสริ ม ความส� า คั ญ ให้ กั บ อาคารต่ า ง ๆ ที่ ถู ก ปิดล้อมอยู่นั้น พื้นที่ภายในระเบียงยังถูกใช้ประโยชน์ ในด้ า นต่ า ง ๆ ซึ่ ง มี ส ่ ว นช่ ว ยให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ่ อ การใช้ ส อยพื้ น ที่ เ พื่ อ จั ด กิ จ กรรมต่ า ง ๆ ภายใน พระอารามอีกด้วย บ้างใช้เป็นที่พัก จัดเตรียมความ เรี ย บร้ อ ยก่ อ นเข้ า สู ่ พิ ธี ก รรมส� า คั ญ ในอุ โ บสถวิ ห าร บ้ า งใช้ เ ป็ น ที่ ป ฏิ บั ติ ธ รรม เป็ น ที่ พั ก ค้ า งแรมของ พุ ท ธศาสนิ ก ชน ในบางพระอารามจั ด ให้ ร ะเบี ย ง เป็นที่ศึกษาของพระภิกษุสามเณรก็มี ด้วยความส�าคัญของกิจกรรมที่เกิดขึ้น และลักษณะ ของพื้ น ที่ ซึ่ ง ทุ ก คนสามารถเข้ า ถึ ง ได้ องค์ ป ระกอบ ต่ า ง ๆ ภายในระเบี ย งจึ ง มิ ไ ด้ ถู ก ละเลยให้ สู ญ เปล่ า ระเบี ย งบางแห่ ง เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป เพี่อเป็นที่สักการะบูชาหรือประกอบพิธีกรรม บางแห่ง ประดั บ จารึ ก เนื้ อ หาเรื่ อ งราวอั น ทรงคุ ณ ประโยชน์ ที่ ต ้ อ งการรั ก ษาและเผยแพร่ สู ่ ว งกว้ า งและด้ ว ย เหตุที่ในสมัยโบราณชาวบ้านส่วนใหญ่ยังไม่รู้หนังสือ “ภาพ” จึงเป็นอุปกรณ์ส�าคัญในการบอกเล่าเรื่องราว ต่าง ๆ การตกแต่งผนังของระเบียงตลอดจนอาคาร สิ่ ง ปลู ก สร้ า งต่ า ง ๆ ในพระอาราม ด้ ว ยการเขี ย น ภาพจิ ต รกรรม จึ ง เปรี ย บได้ กั บ การใช้ ภ าพที่ ผ ่ า น การคั ด สรรเป็ น อย่ า งดี แ ล้ ว นั้ น เป็ น สื่ อ กลางใน การถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ให้กับผู้ที่เข้ามาใช้สอย พื้ น ที่ ภ ายในระเบี ย ง ภาพอั น งดงามนั้ น จึ ง ไม่ เ พี ย ง ประดั บ ตกแต่ ง ให้ เ กิ ด ความสวยงาม แต่ ยั ง เกิ ด ประโยชน์ ท างด้ า นการส่ ง เสริ ม ความคิ ด สติ ป ั ญ ญา ตลอดจนความประทั บ ใจแก่ ผู ้ ที่ ไ ด้ พ บเห็ น เป็ น ประการส�าคัญ งานบุญกุศลนานาซึ่งเกิดขึ้นในพื้นที่ พระอารามย่ อ มน� า มาซึ่ ง ความอิ่ ม ใจแก่ ผู ้ ร ่ ว มงาน โดยทั่ ว กั น แง่ คิ ด และคุ ณ ประโยชน์ ที่ ไ ด้ จ ากการ รั บ ชมภาพ เช่ น ที่ เ รี ย งร้ อ ยไว้ ณ ระเบี ย งจึ ง นั บ เป็ น ของก� า นั ล ที่ น ่ า ประทั บ ใจตอบแทนกุ ศ ลเจตนาแด่ ทุ ก ท่ า น ดั ง เช่ น ภาพวั ด เขาแก้ ว วรวิ ห ารและภาพ เมืองสระบุรี ซึ่งทางคณะบรรณกรได้น�ามาเรียงร้อยไว้ ณ ระเบียงแห่งนี้ ภาพซ้อนของวัดเขาแก้ววรวิหาร


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

ภาพซ้อนของรอยพระพุทธบาทและแม่นํ้าป่าสัก บริเวณอําเภอเสาไห้

111


113

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

วัดพระพุทธฉาย

115


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

แม่นํ้าป่าสักในเขตอําเภอเสาไห้

117


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

ภาพซ้อนของศิลปะการทอผ้าของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี

119


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

121

ผ้ า ทอโบราณของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

กิ จ กรรมการทํ า ตุ ง ไส้ ห มู และ การฝึกการฟ้อนแบบล้านนาของ เ ย า ว ช น ช า ว ไ ท ย ว น จั ง ห วั ด สระบุรี

123


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

ภาพซ้อนของภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายทางภาคพื้นดินพระเจดีย์ วัดเขาแก้ววรวิหาร

125


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

ซุ้มทางเข้า ราวบันไดพญานาค ๓ เศียร

127

พระอุโบสถด้านทิศตะวันออก พระพุทธรูปประธานและพระพุทธรูปอื่นๆ ภายในพระอุโบสถ


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

พระเจดีย์ทรงระฆัง ๕ ยอด

129


131

วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

รอยพระพุทธบาทประดิษฐานภายในมุขด้านทิศใต้ ของพระวิหารยอดปรางค์ บานประตูเชี่ยวกาง มุขด้านทิศใต้ของพระวิหารยอดปรางค์

พระพุ ท ธรู ป ปางประทั บ ยื น ปาง ห้ า มสมุ ท ร ประดิ ษ ฐานภายใน มุ ข ด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกของพระ วิหารยอดปรางค์


วัดเขาแก้ววรวิหาร

ระเบียงภาพ

ภาพซ้อนบรรยากาศการแข่งเรือยาวประเพณี ณ อําเภอเสาไห้ ประจําปี ๒๕๖๑

133


135

วัดเขาแก้ววรวิหาร

บรรณ�นุกรม กรมศิลปากร. กฏหมายตราสามดวง. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจํากัดอุดมศึกษา, ๒๕๒๑. _________. ประชุมวรรณคดีเรื่องพระพุทธบาท. กรุงเทพฯ : สํานักวรรณกรรมและ ประวัติศาสตร์, ๒๕๕๖. _________. มรดกทางวัฒนธรรมบนแผ่นดินไทย ก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙. พระนคร : กรม ศิลปากร, ๒๕๑๓. การรถไฟแห่งประเทศไทย. ๑๐๐ ปี รถไฟไทย. กรุงเทพฯ : การรถไฟแห่งประเทศไทย, ๒๕๔๐. คณิเทพ ปิตุภูมินาค และคณะ. “การขับขานวรรณกรรมล้านนา” ใน วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๕๗. จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๔ เลขที่ ๑๕๐ เรื่อง การท�ายอดพระมณฑปเมืองพระพุทธบาท ฯลฯ (เอกสารตัวเขียน) ณัฐวิทย์ พิมพ์ทอง. ความสําคัญของเมืองสระบุรีใรสมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๕๕๐. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาประวัติศาสตร์ไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ, ๒๕๕๐. ดวงหทัย ลือดัง. การสืบทอดประเพณีเทศน์กาเผือกในชุมชนไทยวน อําเภอเสาไห้ จังหวัด สระบุรี. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๔. ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. เทศาภิบาล. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๕. ________. เที่ยวตามทางรถไฟ. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๕๗. ธรรมคามน์ โภวาที. ประวัติมหาดไทย (ส่วนกลาง) ภาคที่ ๒ พิมพ์ครั้งที่ ๑. พระนคร : โรงพิมพ์มหาดไทย กรมราชทัณฑ์, ๒๕๑๐. นงคราญ ศรีชาย, “โบราณสถานตามเส้นทางนมัสการรอยพระพุทธบาท”, ใน เมืองโบราณ ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๓ (กรกรฎาคม – กันยายน ๒๕๓๙). __________. “พระตําหนักท้ายพิกุล พระตําหนักธารเกษม พระตําหนักสระยอ”, ใน เมืองโบราณ ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๓ (กรกรฎาคม – กันยายน ๒๕๓๙). บังอร ปิยะพันธุ์. ลาวในกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร์และ มนุษย์ศาสตร์. บุญชัย ทองเจริญบัวงาม. ผ้าทอไทยวน, โยนกเชียงแสน, ผ้าซิ่นตีนจก. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม, ๒๕๕๖. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๗ (ค�าให้การขุนโขลน). พระนคร : โรงพิมพ์บํารุงนุกูลกิจ, ๒๔๖๐. ประเสริฐ ณ นคร. มังรายศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๒๑. ผ่องศรี วนาสิน. รายงานผลการวิจัยเรื่อง เมืองโบราณาบริเวณชายฝั่งทะเลเดิม ของที่ราบ ภาคกลางประเทศไทย : การศึกษาต�าแหน่งที่ตั้งและภูมิศาสตร์สัมพันธ์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๑๕๒๓. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ - ๔ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�า บุนนาค). กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา, ๒๕๕๕. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒ พระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๑๑. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๗. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และพระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐ. คําให้การชาวกรุงเก่า. คําให้การขุนหลวงหาวัด. นนทบุรี : ศรีปัญญา, ๒๕๕๓. ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดสระบุรี. วัฒนธรรมคนยวนเสาไห้. สระบุรี : โรงเรียนเสาไห้วิมลวิทยา นุกูล, ๒๕๒๘. Bidyalankarana, H.R.H. Prince, “The Buddha’s Footprint”, JSS Vol.28 (1935). http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=754 สัมภาษณ์ พันเอก กฤษ เดชอุดม ประธานชุมชนท่องเที่ยวโอท็อปวิถี บ้านม่วงงาม วันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑


คณะบรรณกร บรรณาธิการที่ปรึกษา ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ ศาสตราจารย์ ดร.พิรงรอง รามสูต

บรรณาธิการอ�านวยการ รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ์ กรรชิต จิตระทาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กวีไกร ศรีหิรัญ

บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พงศกร ยิ้มสวัสดิ์ วีรยา บัวประดิษฐ

กองบรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ์ เพ็ญนภา วงศ์สวัสดิ์

บรรณาธิการภาพ

รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ์ นัฐพนธ์ โพธิ์ประทีป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พงศกร ยิ้มสวัสดิ์ วีรยา บัวประดิษฐ

บรรณาธิการศิลป์ อธิโชค พิมพ์วิริยะกุล

จัดท�าแผนผังและลายเส้น ธนนาถ กรมณีโรจน์

ขอขอบพระคุณ

วัดเขาแก้ววรวิหาร ชุมชนชาวไทยวน อ�าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ชุมชนชาวลาวเวียง ต�าบลม่วงงาม อ�าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี หอวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน อ�าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี โยนกอุทยาน ท่าน�้าศักดิ์สิทธ์ อ�าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี กลุ่มทอผ้าบ้านต้นตาล อ�าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.