Aging Society
& Urbanization
The School of Global Health Presenting the 2022 SGH Forum#3 Global Megatrends: Reshaping Future Thailand April 27th, 2022
ศ.ดร.วิพรรณ ประจวบเหมาะ วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Global Megatrends ภาวะโลกร้อน Global Warming
การพลิกโฉมทางดิจิทัล Digital Disruption
สังคมสูงวัย Aging Society
การเปลี่ยนเป็นเมือง Urbanization
การพัฒนาอย่างยั่งยืน Sustainable Development 2
แนวโน้มทางประชากร 3
ประชากรสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ของโลก % 20
1.4 พันล้านคน 1 พันล้านคน
15
237 ล้านคน 382 ล้านคน 10
7.8
7.8
2503
2523
611 ล้านคน
16.5
13.5
9.9
5 0 2543
2563
2573
พ.ศ.
ที่มา: United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2019). World Population Prospects 2019, custom data acquired via website.
4
ผู้สูงอายุไทย
สังคมสูงวัยระดับสุดยอด
สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ สังคมสูงวัย 10.0% (6.2 ล้านคน)
พ.ศ. 2543
16.9% (11.7 ล้านคน)
2560
30.0% (20.9 ล้านคน)
20.0% (13.8 ล้านคน)
2564
2578
ที่มา: United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2019). World Population Prospects 2019, custom data acquired via website.
5
การเปลี่ยนเป็นสังคมสูงวัยด้วยอัตราเร็วสูง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ประเทศในเอเชีย ญี่ปุ่น ฮ่องกง เกาหลีใต้ ไต้หวัน จอร์เจีย สิงคโปร์ ไซปรัส ไทย มาเก๊า อาร์มิเนีย
พ.ศ.2563 34.3% 26.1% 23.2% 22.9% 21.5% 20.9% 19.8% 19.2% 18.9% 18.5%
ประเทศในเอเชีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ฮ่องกง ไต้หวัน สิงคโปร์ ไทย มาเก๊า จีน ไซปรัส จอร์เจีย
ที่มา: United Nations. World Population Prospects: The 2019 Revision
พ.ศ.2578 40.7% 37.2% 35.3% 33.5% 33.4% 30.5% 29.5% 28.4% 26.2% 25.2% 6
ประเด็นท้าทาย จากสังคมสูงวัย 7
สัสังคมสูงคมสู ง วั ย เป็นเรื่องของคนทุกวัย งวัยไม่ใช่สังคมที่มีแต่ผู้สูงอายุเป็นส่วนใหญ่ แต่เป็นสังคมที่ผู้สูงอายุมีสัดส่วนเพิ่มขึ้น ในขณะที่สัดส่วนประชากรในวัยแรงงาน (15-59 ปี) และสัดส่วนประชากรในวัยเด็ก (อายุ 0-14 ปี) ลดลงเป็นลาดับ
8
ประเด็นท้าทายทางเศรษฐกิจ
การลดลงของศักยภาพการเกื้อหนุน (Potential Support Ratio)
สัดส่วนประชากรวัยแรงงานที่จะ เป็นกาลังในการเกื้อหนุน ผู้สูงอายุในฐานะบุตรหลาน หรือกาลังการผลิต หรือฐานภาษี มีแนวโน้มลดลงอย่างมาก
2550 (2007)
2560 (2017)
2565 (2022)
2570 (2027)
2580 (2037)
ที่มา: United Nations. World Population Prospects: The 2019 Revision
9
สูงอายุเสี่ยงติด เสี่ยงตาย อัตราการเสียชีวิตจาก COVID-19 ของประชากรไทย ตามกลุ่มอายุ % 14
12.48
12
10 8 6
4.19
4 2 0
0.01
0.29
0.05
1.47
0.01
0.01
0-9
10-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-69 ที่มา: ศูนย์ข้อมูล COVID-19 ข้อมูล ณ เดือนเมษายน 2564
70+ อายุ (ปี) 10
สุขภาพ
ยิ่งอยู่นาน ยิ่งอมทุกข์อมโรค ร้อยละของผู้สูงอายุทมี่ ีข้อจากัดในการทากิจวัตรประจาวัน (ADL)
3.7% ในปี พ.ศ.2544
6.3% ในปี พ.ศ.2559
ที่มา: 1. Prachuabmoh,V. and others. 2011. The Project on Monitoring and Evaluation of the Second National Plan for Older Person (2002-2021) Round 2. 2. Pothisiri, W. and others. 2016. The Project on Monitoring and Evaluation of the Second National Plan for Older Person (2002-2021) Round 3.
11
การคาดประมาณสัดส่วนผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง (มีข้อจากัดในการทากิจวัตรประจาวัน – ADL) ล้านคน
6 แสนคน ในปี พ.ศ.2558
เพิ่มขึ้นประมาณ 2558 2563 2568 2573 2578 2583 2588 2593 พ.ศ.
1.4 - 1.6 ล้านคน ภายในปี พ.ศ.2593
ที่มา: Loichinger, Elke. and Pothisiri, W. 2018. “Health prospects of older persons in Thailand: the role of education”. Asian Population Studies. Vol.14 (3), 322.
12
ความเหลื่อมล้าด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ร้อยละของประชากรอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต หรือโทรศัพท์มือถือ และซื้อสินค้าออนไลน์
ผลจากโลกาภิวัตน์ – โลกาวิบัติ ใช้คอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต
โทรศัพท์มือถือ
ซื้อสินค้าออนไลน์
• การพลิกโฉมทางเทคโนโลยี และนวัตกรรม • ผู้สูงอายุเข้าไม่ถึง รู้ไม่ทันเทคโนโลยี
ที่มา: National Statistical Office. 2018. The 2018 Household Survey on the use of Information and Communication Technology.
13
ความเป็นเมือง: แนวโน้ม และประเด็นท้าทาย 14
สัดส่วนประชากรโลกอาศัยอยู่ในเมืองมากกว่าชนบท
15
คาดว่า มหานครขนาดยักษ์จะเพิ่ม จาก 10 แห่งใน ปี พ.ศ. 2533 เป็น 43 แห่งในปี 2573
16
• การย้ายถิ่นเป็นสาเหตุหลักของความเป็นเมือง – 1 ใน 7 ของประชากรโลกเป็นผู้ย้ายถิ่น – โดยในปี 2653 คาดประมาณว่า ประชากรโลก 763 ล้านคน เป็นผู้ย้ายถิ่นภายในประเทศ และ 272 ล้านคนย้ายถิ่นระหว่าง ประเทศ • ความเหลื่อมล้ายังคงปรากฏในเมือง – ความเหลื่อมล้าทางรายได้ยังคงปรากฏและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างชัดเจน • ยังคงมีความแตกต่างกันในโอกาสที่จะเป็นเจ้าของที่อยู่อาศัย และอาศัยในที่อยู่อาศัยที่ได้มาตรฐาน • เมืองเป็นแหล่งเริ่มต้นของการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว และรุนแรงของโควิด-19
Chicago’s coronavirus disparity: Black Chicagoans still dying disproportionately in city as Mayor Lightfoot creates response teams for hard-hit neighborhoods
17
เมืองอู่ฮั่น (Wuhan) สาธารณรัฐประชาชนจีน
เมืองมิลาน (Milan) อิตาลี
ความหนาแน่นประชากร 1,250 คน ต่อตารางกิโลเมตร
ความหนาแน่นประชากร 7,551 คน ต่อตารางกิโลเมตร
กรุงเทพมหานคร ความหนาแน่นประชากร 5,300 คนต่อตารางกิโลเมตร
เมืองมาดริด (Madrid) สเปน
เมืองนิวยอร์ค (New York) สหรัฐอเมริกา
ความหนาแน่นประชากร 5,400 คน ต่อตารางกิโลเมตร
ความหนาแน่นประชากร 10,194 คน ต่อตารางกิโลเมตร 18
ชุมชนอ่อนแอลง?
การเปลี่ยนวิถีชีวิตจากชนบทเป็นเมืองมากขึ้น ร้อยละของประชากรไทยทีอ่ าศัยอยู่ในเขตเมือง1 43.9
47.7
51.4
52.9
55.0
58.4
37.4
19.7
20.2
20.9
23.8
26.8
28.1
29.4
30.3
31.4
ผู้สูงอายุไทย ในปี 2563 2 อยู่ในเขตเมือง (เทศบาล) 55.2% อยู่ในเขตชนบท (นอกเขตเทศบาล) 44.8%
2503
2508
2513
2518
2523
2528
2533
2538
2543
2548
2553
2558
2563
2565
2568
ที่มา : 1. United Nations, Department of Economic and Social Affairs. World Urbanization Prospects: The 2018 Revision 2. มส.ผส.ใ สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปีพ.ศ. 2563
2573 พ.ศ. 19
ความมั่นคงด้านที่อยู่อาศัย • ผู้สูงอายุไทยประมาณ 3 ใน 4 เป็นเจ้าของบ้านที่อาศัยอยู่ • กว่า 2 ใน 3 มีบ้านอยู่บนที่ดินที่ตนเองเป็นเจ้าของ
• ผู้สูงอายุใน กทม.เป็นเจ้าของบ้าน (ร้อยละ 48.5) หรือเจ้าของที่ดินที่ ปลูกบ้านน้อยที่สุด (ร้อยละ 43) เมื่อเทียบกับภาคอื่น และมีผู้สูงอายุอยู่ ในบ้านเช่าหรือบ้านของคนอื่น หรือเช่าที่ดินหรือปลูกบ้านบนที่ดินของ คนอื่นมากที่สุด (ร้อยละ 27.9 และร้อยละ 34.7 ตามลาดับ)
20
ร้อยละของผู้สูงอายุที่อาศัยในบ้านที่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจาแนกตามภาค พ.ศ.2560 ภาค
%
กรุงเทพมหานคร กลาง (ไม่รวม กทม.) เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต้
7.3 2.9 2.9 2.4 4.6
ทั้งประเทศ
3.4
ทีม่ า: วิราภรณ์ โพธิศิริ และคณะ, 2560. รายงานการศึกษา โครงการติดตามและประเมินผลแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ระยะที่ 3 (พ.ศ.2555-2559), กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กันยายน 2560
21
การเว้นระยะห่าง ทางกายภาพและสังคม Physical and Social Distancing
2 เมตร
22
การเว้นระยะห่าง ทางกายภาพและสังคม Physical and Social Distancing
2 เมตร
23
สภาพแวดล้อมไม่เอื้อต่อพฤฒพลัง
ที่มาภาพ: https://tonkit360.com/26656
ที่มาภาพ: https://tonkit360.com/26656
ที่มาภาพ: https://www.bltbangkok.com/poll/5145/
ที่มาภาพ: https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%AD%E0 %B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%8D%E0%B8%B2% E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A 1/138319
24
ชนบท
เมือง
25
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน • เศรษฐกิจ: ควรเน้นการสร้างความมั่งคั่ง และโอกาสสาหรับทุกคน • สภาพแวดล้อม: การพัฒนาเมืองให้มีโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม สภาพแวดล้อมคานึงถึงคนทุกวัย (พื้นที่สีเขียว พื้นที่ทากิจกรรมรวม) • สังคม: เมืองที่ไม่ทิ้งคนกลุ่มใดหรือพื้นที่ใดไว้ข้างหลัง เมืองควรจะตอบสนองความต้องการของประชากรคน ทุกกลุ่มทุกวัย การมีส่วนร่วมทางสังคม การสื่อสาร และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร • สุขภาพ: ระบบสุขภาพที่รองรับคนทุกวัย และทุกฐานะเศรษฐกิจ ระบบการดูแลระยะยาว โทรเวชกรรม • เทคโนโลยีและนวัตกรรม: Smart city ที่ให้ความสาคัญกับคนเป็นศูนย์กลาง ระบบข้อมูลของประชากรในเมืองที่เป็นปัจจุบันและเทีย่ งตรง ต้องมีไปถึงระดับชุมชน กฎระเบียบ บรรทัดฐานทางสังคม และวัฒนธรรม มีส่วนอย่างสาคัญต่อการพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ บทบาทขององค์กรสปกครองส่วนท้องถิ่น (กทม. เทศบาล) กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรและการพั ฒนาอย่างยั่งยืน ที่มา: United Nations Human Settlements Programme. 2020. World Cities Report 2020.
26
ระบบเสริมสร้างพฤฒพลัง (Active and Healthy Aging)ในชุมชนเมือง
27