การแสดงดนตรี “รัก” เนื่องในวันแม่แห่งชาติ จัดโดยสํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยได้จัดเป็นประจําต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 แล้ว ทุกการแสดงที่ผ่านมาได้รับเสียงตอบรับทีอ ่ บอุ่น เสมอ ซึ่งโดยปกติเราจะจัดการแสดงบริเวณลานอัฒจันทร์ ชั้น LG สยามสแควร์วัน แต่ด้วยสถานการณ์แพร่ ระบาดโควิด-19 ทําให้ปีนี้เราได้ปรับรูปแบบเป็นการแสดงทางออนไลน์แทน แม้บรรยากาศการชมการแสดง ดนตรีครั้งนี้จะดูห่างเหินไปบ้าง แต่ทางเราจะยังคง “หัวใจ” ของการแสดงดนตรีนี้อย่างไม่เปลี่ยนแปลง เช่นเคย วงจุฬาฯ เชมเบอร์จะนําเอาบทเพลงเกี่ยวกับความรักมาจัดแสดง แถมด้วยบทเพลงของการ ให้กําลังใจ และขอบคุณในความเข้มแข็ง ความร่วมมือ และความอดทนต่อสู้กับสถานการณ์ที่เลวร้ายในครั้งนี้ ในช่วงท้ายของรายการแสดงขอเชิญชวนทุกท่านร่วมจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล
ขับร้องบทเพลง
สรรเสริญพระบารมีแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ด้วยกัน ในนามของวงจุฬาฯ เชมเบอร์ ขอขอบคุณนักร้องรับเชิญตัวน้อยที่มาสร้างสีสันให้กับการแสดงครั้ง นี้ รวมถึงผู้ประพันธ์ คําร้อง ทํานอง และเรียบเรียงบทเพลงทุกบทเพลงที่จัดแสดงในครั้งนี้ เพื่อแทนความรัก และกําลังใจทีส ่ ่งให้กับท่านผู้ชมทุก ๆ ท่าน
รายการแสดง CU (See You) New Normal
คําร้องและทํานอง: นรอรรถ จันทร์กลํ่า ภัทรนันท์ ติระศรี กัสมาพร เพ่งเล็งดี ทวาทิตย์ กําลังยิ่ง
ใครหนอ
คําร้องและทํานอง: สุรพล โทณะวณิก ฐิติรัตน์ วิสิทธิภักดีกุล
คําว่า... แม่
คําร้องและทํานอง: วสา พลเยี่ยม ภัทรนันท์ ติระศรี
รักแม่เท่าฟ้า
คําร้องและทํานอง: สมชาย สันติฤทธิ์ กัสมาพร เพ่งเล็งดี
Mama Hao
Li Jun Qing อธิตานันท์ อัศวจรัสภัทร์
Hero
Lyric: Mariah Carey Produced: Walter Afanasieff ภัทรนันท์ ติระศรี
Wind Beneath My Wings from “ Beaches”
Words and Music: Jeff Silbar and Larry Henley
อธิตานันท์ อัศวจรัสภัทร์ You Raise Me Up
Lyric: Brendan Graham Music: Rolf Løvland รัฐพงศ์ ปิติชาญ
A Million Dreams from “The Greatest Showman”
Words and Music: Benj Pasek and Justin Paul เรียบเรียง: วานิช โปตะวานิช
ณภชา ประทีปวิศรุต When You Believe from “The Prince of Egypt” ณภัทร ลูค เสถียรถิระกุล
Words and Music: Stephen Schwartz
Journey to the Past from “Anastasia”
Lyric: Lynn Ahrens Music: Stephen Flaherty เรียบเรียง: นบ ประทีปะเสน พัชรพร จิรจิตร
I Dreamed a Dream from “Les Misérables”
Lyric: Herbert Kretzmer Music: Claude-Michel Schönberg
ญาณิกา สุวรรณธัย The Moon Represents my Heart
Lyric: Sun Yi Music: Weng Ching-hsi พัชรพร จิรจิตร รัฐพงศ์ ปิติชาญ
เติมใจให้กัน จากภาพยนตร์เรื่อง “พริกขี้หนูกับหมูแฮม”
คําร้อง: ศุ บุญเลี้ยง ทํานอง: สินนภา สารสาส เรียบเรียง: พีรณัฐ สายเสน่ห์
ทวาทิตย์ กําลังยิ่ง ความงดงามแห่งการให้
คําร้อง: ฉัตรชัย ดุริยประณีต ทํานอง: จักรพัฒน์ เอี่ยมหนุน ญาณิกา สุวรรณธัย
ร่มฉัตร จากละครโทรทัศน์เรื่อง “ร่มฉัตร”
คําร้องและทํานอง: วิรัช อยู่ถาวร เรียบเรียง: ศศิศ จิตรรังสรรค์ กัสมาพร เพ่งเล็งดี
แม่ของคนไทย
คําร้อง: วิเชียร ตันติพิมลพันธ์ ทํานอง: สราวุธ เลิศปัญญานุช ญาณิกา สุวรรณธัย กัสมาพร เพ่งเล็งดี ทวาทิตย์ กําลังยิ่ง
สายใยแผ่นดิน
คําร้องและทํานอง: กมลศักดิ์ สุนทานนท์ และ ปิติ ลิ้มเจริญ เรียบเรียง: เกรียงไกร เตรียมชาญชูชัย ทวาทิตย์ กําลังยิ่ง รัฐพงศ์ ปิติชาญ
คําบรรยายเพลง CU (See You) New Normal บทเพลงที่สํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาฯ มอบหมายให้อ.นรอรรถ จันทร์กลํ่า ประพันธ์เนื้อ ร้องและทํานอง เพื่อการต้อนรับกลับเข้าสู่การทํางานของชาวจุฬาฯ และรวมถึงคนไทย ที่จะได้เริ่มผ่อนคลาย กลับมาในช่วงนววิถี (New Normal) หลังจากได้หยุด Lock Down และปรับเปลี่ยนเป็นการทํางานจากบ้าน (Work from Home) ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 อ.นรอรรถได้ใช้เสียงของดนตรีในยุค 60-70 ที่เน้นเรื่องของทํานองของบทเพลงที่ไพเราะ ติดหู และฟังง่าย เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาได้อย่างชัดเจน การทํางานเปิดการกลักิจกรรมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใครหนอ อ. สุรพล โทณะวณิก ได้ประพันธ์บทเพลงนี้เมื่อปี พ.ศ. 2498 และได้มอบให้ คุณสวลี ผกาพันธ์ เป็นผู้ ขับร้อง บทเพลงนีไ้ ด้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคําพระราชทาน ครั้งที่ 2 เมื่อ ปีพ.ศ. 2507 ปัจจุบันได้รับความ นิยมขับร้องกันอย่างแพร่หลาย คําว่า... แม่ วาสนา (วสา) พลเยี่ยม เป็นที่รู้จักจากบทบาทของ “มิมปี” จากภาพยนตร์เรื่อง “ผีเสื้อและดอกไม้” ผลงานกํากับของ ยุทธนา มุกดาสนิท ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เมื่อปีพ.ศ. 2528 และอีกครั้งจากบทบาทของ “จําเรียง” ในเรื่อง “ขุนศึก” ต่อมาได้ผันตัวเองไปอยู่เบื้องหลัง และทํางานเป็นนักแต่งเพลงโฆษณา บทเพลงนี้ ได้แต่งขึ้นเพื่อบรรยายถึงคําว่า “แม่” คําๆ เดียวที่แทนความหมายที่ยิ่งใหญ่ทั้งหมด รักแม่เท่าฟ้า เป็นบทเพลงที่ได้รับคัดเลือกจาก คณะทํางานด้านประชาสัมพันธ์ในคณะอนุกรรมาธิการคุณ ธรรม และจริยธรรม คณะกรรมาธิการการศาสนา จริยธรรม ศิลปะและวัฒนธรรม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้เป็น เพลงส่งเสริมคุณธรรมด้านความกตัญญู ปีพ.ศ. 2550 เป็นบทเพลงบอกรักแม่ในมุมมองของเด็กๆ เปรียบ ความรักของแม่กับท้องฟ้าที่ว่ากว้างแล้ว แต่ความรักที่แม่มีให้ลูกนั้นยังกว้างใหญ่กว่าหลายเท่า Mama Hao บทเพลงประกอบภาพยนตร์จีนฮ่องกงเรื่อง “เด็กอาภัพพเนจร” ที่บรรยายถึงความรักของแม่ที่มีต่อ ลูก โดยใช้ภาษาง่ายผ่านง่ายๆ ถ่ายทอดผ่าน เซียวฟางฟาง นางเอกของเรื่องเมื่อปีค.ศ. 1958 กลายเป็น เพลงอมตะที่ใช้ในการสอนให้เด็กๆ รู้จักค่านํ้านม ทําให้นึกถึงภาพของเด็กกําพร้า (ที่ในเพลงเปรียบกับหญ้า ริมทาง) ตัดกับภาพเด็กที่มีแม่คอยทะนุถนอม (ที่ในเพลงเปรียบกับของมีค่า ลํ้าค่า ของวิเศษ) Li Jun Qing ผู้ประพันธ์ได้ใช้คําที่ใกล้เคียงกับภาษาพูด ทําให้เข้าถึงผู้ฟังได้ง่าย แต่แฝงความหมายลึกซึ้ง นอกจากบท เพลงนี้ ท่านยังได้ประพันธ์เพลงที่โด่งดังอีกมากมาย เช่น เพลงประกอบภาพยนตร์จีน "ม่านประเพณี"
Hero เพลงที่เขียนและโปรดิวซ์โดย Mariah Carey และ Walter Afanasieff จากอัลบั้มชุดที่ 4 Music Box (1993) Mariah ใช้คําว่า “Hero” แทนกําลังใจ แรงบันดาลใจ ความมุมานะ ความสามารถ ในการเผชิญหน้า กับปัญหาต่างๆ ซึ่งอยู่ภายในจิตใจของเราเองที่จะต่อสู้และชนะอุปสรรคได้ บทเพลงนี้ได้รับเพียงการเสนอชื่อ เข้าชิงรางวัลแกรมมี่ในสาขานักร้องเพลงป็อปหญิ งยอดเยียม แต่ได้รับรางวัล ASCAP ในสาขาริทึมแอนด์ โซลและสาขาเพลงป็อป และได้อีกรางวัลจากบีเอ็มไอป็อปอวอร์ด ในสาขารางวัลนักแต่งเพลงยอดเยี่ยม Wind Beneath My Wings from “ Beaches” เมื่ อ ปี ค .ศ. 1982 นั ก แต่ ง เพลงคั น ทรี่ Jeff Silbar และ Larry Henley ได้ เขี ย นกลอนชื่ อ ว่ า “Wind Beneath My Wings” โดย Silbar ได้ แ รงบั น ดาลใจจากความรู้ สึ ก เมื่ อ ตอนหั ด ขั บ เครื่ อ งบิ น บทเพลงนี้ กลายเป็นตัวแทนคํา “ขอบคุณ” คนที่สําคัญต่อชีวิตเรา” ที่ช่วยสนับสนุนให้เราประสบความสําเร็จ ต่ อ ม าใน ปี ค .ศ . 1988 ผู้ กํ ากั บ Garry Marshall ใน นํ าเพ ลงนี้ ไป ป ระก อ บ ใน ภ าพ ยน ต ร์ เ รื่ อ ง “Beaches” นําแสดงโดย Bette Midler และ Barbara Hershey เรื่องราวของ 2 เพื่อนรักที่พบกันโดยบังเอิญ ตั้งแต่ยังเด็กใต้สะพานปลา และสัญ ญาว่าจะเป็นเพื่อนกันตลอดไป ต่อมาบทเพลงนี้ก็ได้รับรางวัล Song of the Year และ Record of the Year ในงาน Grammy ปี 1990 และ Bette ได้ขึ้นร้องเพลงนี้ในงาน Oscar ปี 2014 ช่วงรําลึกถึงนักแสดงผู้จากไป You Raise Me Up ทํานองจากเพลงไอริชดั้งเดิมที่ชื่อ Londonderry Air เรี ย บ เรี ย ง โด ย Rolf Løvland แ ห่ ง ว ง Secret Garden โดยได้แรงบันดาลใจจากนิยายเรื่อง ”The Whitest Flower” ของ Graham และนํามาแต่ง เป็ น เพลง บทเพลงนี้ อ ยู่ ใ นอั ล บั้ ม “Once in a Red Moon (2001)” ของ Secret Garden โดยได้ Brian Kennedy นักร้องชาวไอริช มาเป็นผู้ขับร้อง A Million Dreams from “The Greatest Showman” ภาพยนตร์ มิ ว สิ คั ล ที่ ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งราวของ Phineas Taylor Barnum บุ ค คลที่ มี ตั ว ตนอยู่ จ ริ ง ใน ประวัติศาสตร์ของอเมริกา เขาเป็นบุคคลที่คิดค้นโชว์ทําการแสดง ซึ่งสร้างความตื่นตาตื่นใจให้กับผู้ชมจน กลายเป็นแรงบันดาลใจให้กับคนทํางานศิลปะด้านการแสดงในเวลาต่อมา บทเพลงนี้ถ่ายทอดเรื่องราวของ คนที่เชื่อมั่นในความฝันของตัวเอง และมุ่งมั่นทําให้ฝันเป็นจริง เวอร์ชั่นที่จะได้รับฟังในการแสดงครั้งนี้เป็น ของคณะนักร้องประสานเสียงเด็ก “One Voice” When You Believe from “The Prince of Egypt” เพลงประกอบภาพยนตร์อนิเมชั่นเรื่อง The The Prince of Egypt เรื่องราวของโมเสส ผู้นําทาส ชาวยิวหนี ม าจากอี ยิป ต์ โดยแหวกทะเลแดงเดิ น ทางข้ามมายังดิ น แดนพั น ธสัญ ญา โดยได้ โดย Whitney Houston และ Mariah Carey ศิลปินนักร้องที่โด่งดังที่สุดมาขับร้องคู่กัน ทั้งคู่ได้ร่วมร้องสดร่วมกัน 2 ครั้ง
ครั้งแรกที่รายการ The Oprah Winfrey Show ส่วนอีกครั้งที่งานมอบรางวัลออสการ์ครั้งที่ 71 ต่อมาในปี 2016 ภายหลังจากที่ Whitney เสีย ชีวิต Mariah ได้ ห ยิ บ เพลงนี้ ม าร้อ งเพื่ อ รําลึก ถึ งเพื่ อ นของเธอ ในวัน ครบรอบการจากไปของเธอ 4 ปี เวอร์ชั่นที่จะได้รับฟังในการแสดงครั้งนี้เป็นของคณะนักร้องประสานเสียง เด็ก “One Voice” Journey to the Past from “Anastasia” บทเพลงจากอนิเมชั่นมิวสิคัลในปีค.ศ. 1997 ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเพลงนํายอดเยี่ยมจาก เวทีออสการ์ (Academy Award) และรางวัลลูกโลกทองคํา (Golden Glove Award) ในปีค.ศ. 1988 I Dreamed a Dream from “Les Misérables” หนึ่ งในบทเพลงเอกจากละครเพลงที่ ดั ด แปลงจากวรรณกรรมภาษาฝรั่งเศสในชื่อเดี ยวกั น ของ Victor Hugo ได้ รั บ นํ า มาทํ าเป็ น ภาพยนตร์ แล้ ว ถึ ง 2 ครั้ ง ครั้ ง แรกในปี ค .ศ. 1998 ที่ นํ า แสดงโดย Liam Neeson และ อีกครั้งในปีค.ศ. 2012 ที่มาในรูปแบบของภาพยนตร์มิวสิคัล ที่ได้รวมเอานักแสดงชื่อดังมา ร่วมงานมากมายทั้ง Huge Jackman, Russell Crowe และ Anne Hathaway กลายเป็นอีกหนึ่งภาพยนตร์ เพลงที่ครองใจใคร ๆ หลายคน แต่เวอร์ชั่นที่จะได้รับฟังในการแสดงครั้งนี้มาจากเวอร์ชั่นจากละครซีรี่ย์เรื่อง “Glee” The Moon Represents my Heart บทเพลงภาษาจีนกลางที่มีชื่อเสียงของ เติ้ง ลี่จวิน (Terasa Teng) เปิดตัวครั้งแรกในปี พ.ศ. 2516 ขับร้องโดย เฉิน เฟิ นหลัน (Chén Fēnlán) ในเดือนพฤษภาคม และหลิว กวานหลิน (Liú Guānlín) ในเดือน พฤศจิกายน ต่อมาเติ้ง ลี่จวินนํามาขับร้องบันทึกเสียงในปี พ.ศ. 2520 ในอัลบั้ม The 4th Episode of the Island of Love Songs - Love of Hong Kong ได้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งมาก บทความในหนั ง สื อ พิ มพ์ นิวยอร์กไทมส์กล่าวถึงเพลงนี้ว่าเป็นหนึ่งในเพลงจีนที่ได้รับความนิยมที่สุดตลอดกาล เพลงนี้เป็นเพลงแรกๆ ของเติ้ง ลี่จวิน ที่ได้รับความนิยมในสาธารณรัฐประชาชนจีนในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2521 ภายหลั ง นโยบายเปิ ด ประตู ข องเติ้ ง เสี่ ย วผิ ง ที่ เริ่ ม ยอมรั บ การเข้ า มาของวั ฒ นธรรมต่ า งชาติ โดยเฉพาะจากไต้หวัน เวอร์ชั่นที่จะได้รับฟังในการแสดงครั้งนี้มาจากการแสดงในพิธีเปิดกีฬาฯ The 2009 World Games in Kaohsiung, Taiwan เติมใจให้กัน จากภาพยนตร์เรื่อง “พริกขี้หนูกับหมูแฮม” เป็ น ภาพยนตร์ ไทยโดยไท เอ็ น เตอร์ เทนเมนต์ ที่ อ อกฉายเมื่ อ ปี พ .ศ. 2532 กํ า กั บ โดยสมจริ ง ศรี สุภาพ นําแสดงโดยขจรศักดิ์ รัตนนิสัย และจันทร์จิรา จูแจ้ง ได้รับรางวัลเกียรติยศในงานมหกรรมภาพยนตร์ เอเซียนแปซิฟิก และรางวัลแต่งผมและแต่งหน้ายอดเยี่ยม รางวัลพระสุรัสวดี ปี 2532 เวอร์ชั่นที่จะใช้ในการ แสดงครั้งนี้มาจากการแสดงของ ก้อง สหรัถ สังคปรีชา และ โต๋ ศักดิ์สิทธิ์ เวชสุภาพร ในการแสดงดนตรี “คุณพระช่วยสําแดงสด” เมื่อปีพ.ศ. 2552
ความงดงามแห่งการให้ บทเพลงจากโครงการ “84 พัสสะ พระผู้ให้” โดยโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และคณะ แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดเนื่องในในโอกาสสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2559 และ ครบรอบ 60 ปี ในวาระทรงดํารงตําแหน่งองค์สภานายิกาสภากาชาดไทย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ซึ่ง ทางคตณะทํางานได้จัดทํารายการพิเศษ
“ความงดงามแห่งการให้”
เพื่อรวบรวมพระราชกรณียกิจของ
พระองค์ ที่ทรงเป็นพระผู้ให้ทั้งในด้านการแพทย์ การพยาบาล การสาธารณสุข และด้านอื่นๆ ถ่ายทอดสู่ สายตาชาวไทยทั่วประเทศ
ร่มฉัตร จากละครโทรทัศน์เรื่อง “ร่มฉัตร” ละครโทรทัศน์ แนวพีเรียดอิงประวัติศาสตร์เล่าถึงชีวิตของ แม้นวาด หญิงสาวที่เกิดในช่วงยุคสมัย รัชกาลที่ 5 จากบทประพันธ์ของ ทมยันตีหรือ วิมล เจียมเจริญ แม่ของคนไทย และสายใยแผ่นดิน บทเพลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2555 โดยบทเพลง “แม่ ของแผ่นดิน” ขับร้องโดยศิลปินแกรมมี่ พร้อมด้วยหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน และพสกนิกรชาวไทย ส่วน เพลง “สายใยแผ่นดิน” ขับร้องโดย เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย คําร้องของเพลงนี้ ได้แรงบันดาลใจจาก โครงการในพระราชดําริเกี่ยวกับ “การสืบสานและอนุรักษ์การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม”
รายชื่อนักดนตรี Violin 1
Flute
รวยชัย แซ่โง้ว
กชวรรณ ไทญาณสิทธิ
อัญชิสา ศรียายาง สุประวีณ์ จันทร์สว่าง
Oboe
นวรัตน์ ลิมนภาพวัลย์
สิรดนัย เหลืองอรุณ
ภูมิสิริ ภัทรกุลบารมี
อธิชนันท์ จูน้อย
ชมบงกช วัฒนาตั้งตระกูล Clarinet Violin 2
ศศิกานต์ แสงสว่างวัฒนะ
นิรัฐศา อยู่สมบูรณ์
จรรยารักษ์ ปานปลั่ง
เพ็ญพัชร์ สุวรรณกิจ ภัทรมน ไกรธีรวุฒิ
Bassoon
เขมมิสรา อนันต์วัจรัตน์
นนทปรีชา อุ่นเจริญ
ณิชชา แป้นเหมือน
ณัฐพล โกสัลล์ประไพ
นิลาวัลย์ บุตตะ Horn Viola
ณพชนก เลิศวลีรัตน์
มณีรัตน์ แสงเนตรสว่าง
ตฤษนันท์ อรัญญกานนท์
จงกล แสงผล เบญจธรรม ธนกมลนันท์
Percussion
ธนวรรณ ฤทธิ์เดชขจร
พีรณัฐ สายเสน่ห์
ภาณุพงศ์ เสริมพงษ์ไพศาล
จิรัชฌา อริยะวัตรกุล
Cello ณัฐนนท์ กู้เกียรติกาญจน์
Piano ศศิภา รัศมิทัต
รอยพิมพ์ ถาวรสุวรรณ กิ่งกาญจน์ แสงผล ชญานิศ ศิริโรจน์ Double Bass พีรภัค เฉลิมสุข สุรสิทธิ์ แจ่มดี
Guitar ทัตพงศ์ มาสุข
Singer พัชรพร จิรจิตร
รัฐพงศ์ ปิติชาญ
อธิตานันท์ อัศวจรัสภัทร์
กัสมาพร เพ่งเล็งดี
ญาณิกา สุวรรณธัย
ภัทรนันท์ ติระศรี
ทวาทิตย์ กําลังยิ่ง
สุพรรษา สุขภิรมย์
Guest Singer from Krutann Voice Studio ฐิติรัตน์ วิสิทธิภักดีกุล
ณภชา ประทีปวิศรุต
ณภัทร ลูค เสถียรถิระกุล ดาเรศ (ตาล) รักษาราษฎร์, ครูผู้ควบคุมการฝึกซ้อม