สูจิบัตรออนไลน์ "คีตามันถนะ : ท่วงทำนองและจังหวะข้ามพรมแดน" วันเสาร์ที่ 29 เมษายน 2566

Page 1

Programme

Raga Mela Kuljit Bhamra

Himalaya Kuljit Bhamra

Wistful Horizons Kuljit Bhamra/ Davide Giovanini

Road to Freedom Kuljit Bhamra/ Davide Giovanini

Tabla & Percussion Improvisation Kuljit Bhamra

Dervish Dancer Kuljit Bhamra

Ghodey Pe Sawaar Amit Trivedi/ Amitabh Bhattacharya

Charkha Mera Rangla Jagjit Singh/ Inderjeet Hassanpuri

Chaudhvin ka Chand Ravi/ Shakeel Badayuni

Kuch Kuch Hota Hai Jatin-Lalit

Bhangra Mystic Kuljit Bhamra

Aruni Bagga

Guest Singer

อรุณี บาก้า
นักร้องรับเชิญ
รวยชัย แซ่โง้ว Ruaychai Saengow หัวหน้าวง Concertmaster จอห์น ทัสเกอร์ John Tasker ผู้อานวยเพลงรับเชิญ Guest Conductor ผศ. พันเอก ชูชาติ พิทักษากร
ผู้อานวยการดนตรี Music Director
Asst.
Prof. Col. Choochart Pitaksakorn

Programme Note

This composition was inspired by three raga scales evoking the rainy season. Ragas are usually performed by virtuoso instrumentalists, on sitar, sarangi, bansuri or by singing. I have explored how the Indian ragas and musical style can be adapted for a western orchestra, adding the harmonic depth and richness of texture. In this Songkran season I hope that the music also helps to encourage the rain!

เทือกเขาที่ผู้คนรู้จักกันดีแห่งนี้คือเส้นแบ่งพรมแดนทางธรรมชาติระหว่างอินเดียและจีน

It can be said that the Mountains of the Himalaya form a natural boundary between the cultural worlds of India and China. Alternatively, boundaries can be viewed as places where different cultures meet and interact. This piece of music incorporates musical elements of both India and China.

ราคะเมลา Raga Mela กุลชิต ภมรา Kuljit Bhamra คีตนิพนธ์บทนี้ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก ราคะ หรือ ชุดบันไดเสียงของดนตรีอินเดีย 3 ชุดที่สื่อถึงฤดูฝน
เช่น สิตาร สารังคี พานสุรี หรือผ่านเสียงร้อง ในงานชิ้นนี้ผู้ประพันธ์ได้ทดลองหาแนวทางถ่ายทอด ชุดของเสียงดนตรีอินเดียสู่การบรรเลงดนตรีตะวันตกเต็มวง ด้วยการเติมแต่งเสียงประสานอัน ลุ่มลึกและโสตสัมผัสอันหลากหลาย
ราคะมักจะใช้บรรเลงเดี่ยวโดยนักดนตรีที่เชี่ยวชาญในเครื่องดนตรีต่างๆ
หิมาลัย Himalaya กุลชิต ภมรา
Kuljit Bhamra
ในทางกลับกันนั้น พรมแดนก็คือสถานที่ที่วัฒนธรรมอันหลากหลายปะทะสังสรรค์กัน คีตนิพนธ์ ชิ้นนี้เป็นการประสานเสียงจากทั้งสองดินแดน

A reflective piece which spotlights the tuning of the tabla. Normally a two-piece drum, the table can only play one pitch. In this composition, Kuljit explores the use of three tablas of different tunings.

Road to Freedom

Kuljit Bhamra/ Davide Giovanini

ตาละ ที่ใช้เรียกชุดของจังหวะในทางดนตรีอินเดียแปลว่า

สาหรับท่วงทานองของงานชิ้นนี้ได้รับแรงบันดานใจมาจากบันไดเสียงของดนตรีจากทวีป

A foot-tapping piece based on a popular 6 beat rhythm called Dadratal . In Sanskrit, the word ‘tala’means ‘clap’. The melodic content is inspired by a scale from African where Kuljit was born.

ขอบฟ้าชวนถวิล Wistful Horizons Kuljit Bhamra/ Davide Giovanini กุลชิต ภมรา/ ดาวิเด้ จิโอวานนี่ คีตนิพนธ์สะท้อนความคิดเกี่ยวกับการปรับระดับเสียงตาบลา โดยปกติแล้วตาบาลจะเป็น ชุดของกลองสองลูกที่เล่นเสียงระดับเดียว ในผลงานเพลงชิ้นนี้กุลชิตทดลองใช้กลองตาบลา สามชุดที่ปรับระดับเสียงให้ต่างกัน
มรรคาสู่เสรีภาพ
กุลชิต ภมรา/ ดาวิเด้ จิโอวานนี่ คีตนิพนธ์เร้าจังหวะชิ้นนี้ประพันธ์ขึ้นจากชุดจังหวะ 6 จังหวะที่เรียกว่า ทาทราตาละใน ภาษาสันสกฤตคาว่า
การตบมือ
แอฟริกา
อันเป็นสถานที่กาเนิดของกุลชิต
การบรรเลงสดตาบลาและเครื่องเคาะ
Improvisation กุลชิต ภมรา Kuljit Bhamra การบรรเลงครั้งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของ ตาบลา ทัช อันเป็นชุดตาบลาไฟฟ้า ชุดแรกของโลกที่พัฒนาขึ้นโดยกุลชิต ภมราและคณะทางานแห่งเกดามิวสิค
Tabla & Percussion

This is the very first opportunity to hear TablaTouch- the world’s first electronic tablain Southeast Asia. Tabla Touch is a groundbreaking innovation by myself and my team at Keda Music.

เสียงแหลมบาดแก้วหูของเครื่องดนตรีชิ้นนี้ให้ทั้งความรู้สึกสุขและเศร้าใน คราวเดียวกัน เป็นเสียงที่เหมาะสมกับชั่วขณะที่เจ้าสาวก้าวออกจากบ้านเพื่อเข้าสู่เรือนหอ

A piece dedicated to my friend Kadir Durvesh. He was an extraordinary musician and the only shehnai player in Europe. Shehnai is a double-reed wind instrument which is typically played at wedding ceremonies in India. Its piercing, sharp tone evokes both joy and sadness at the same time - the prefect soundtrack for a bride leaving her marital home. I once asked Kadir if he is related to the whirling dervish dancers from Turkey, and he replied that he came from that lineage.

นักระบาดาร์วิช Dervish Dancer กุลชิต ภมรา Kuljit Bhamra คีตนิพนธ์ชิ้นนี้อุทิศให้สหายของผู้ประพันธ์ กอดีร์ ดูรเวช ผู้ซึ่งเป็นนักดนตรีฝีมือเลิศและ เป็นนักเล่นศหะไนคนเดียวในยุโรป ศหะไน (ปี่ไฉน –ผู้แปล ) เป็นปี่สองท่อนที่มักจะใช้บรรเลงในงาน
ครั้ง หนึ่งผู้ประพันธ์ถามกอดีร์ว่าครอบครัวของเขาเกี่ยวข้องกับนักระบาดาร์วิชแห่งตุรกีหรือไม่ ซึ่ง เขาก็ตอบว่าสามารถสืบเชื้อสายขึ้นไปได้
แต่งงานในอินเดีย
โฆเฑ เป สะวาระ Ghodey Pe Sawaar อมิต ตรีเวดี และอมิตาภ ภัฏฏาจารยา
บทเพลงจากภาพยนตร์ภาษาฮินดีเรื่อง กาลา ในปี ค.ศ. 2022 ชื่อของบทเพลงนั้นมาจาก วลีในภาษาฮินดีที่หมายถึง “คนที่รีบเร่ง” (อย่างกับควบม้า) โดยเนื้อเพลงกล่าวถึงผู้หญิงที่บอก กับชายที่มาเกี้ยวเธอว่าให้เดินช้าๆ อย่างระมัดระวัง แทนที่จะรีบครอบครองเธอ

This song is from the 2022 Bollywood film Gala. The song’s title is a Hindi expression which means “Someone in a hurry” (Like a rider on a horse). This refers to a woman telling her suitor to be careful and move slowly, rather than be in a hurry to claim her.

This is a Punjabi song originally written nd performed by the husband-and-wife duo Jagjit and Chitra Singh. A woman is reminded of her lover each time she glances at her cotton spinning wheel (charkha). Its beautiful and ornate features remind her of those similar traits in her lover.

This is a gem from the era of 1960s Hindi cinema and featured in a film of the same name. A young man compares his lover to the beauty of the full moon.

จักรา เมรา รังคะลา Charkha Mera Rangla ชคชิต สิงห์ และอินทรชิต หะสันปุรี Jagjit Singh/ Inderjeet Hassanpuri บทเพลงภาษาปัญจาบีที่ประพันธ์และขับร้องโดยนักร้องคู่สามีภรรยา ชคชิต และ จิตรา สิงห์ เนื้อเพลงกล่าวถึงหญิงสาวที่ระลึกถึงคนรักของเธอทุกครั้งที่เห็นกวงกรอฝ้าย (จักรา) ลวดลายประดับประดาสวยงามของเครื่องมือนั้นทาให้เธอนึกถึงลักษณะนิสัยของคนรักของเธอ
โจทะวิน กา จันท์ Chaudhvin ka Chand ระวี และ ศกีล พทายูนนี Ravi/ Shakeel Badayuni อัญมณีเม็ดงามจากยุคทองของภาพยนตร์ภาษาฮินดี ในบทเพลงชื่อเดียวกันกับชื่อ ภาพยนตร์นี้ ชายหนุ่มเปรียบเปรยความงามของหญิงคนรักกับดวงจันทร์วันเพ็ญ

This is the title song from the Bollywood blockbuster film “You pass by, you smile - and something happens to me inside” .

Bhangra dance - originally a Punjabi folk dance - paved the way for a new genre of music to be created in the UK. Nowadays, when people refer to Bhangra, they are usually talking about the musical genre rather than the dance form alone. In this piece I explore the elements of Bhangra music and to combine them with more western elements.

กุฉ กุฉ โหตา ไห Kuch Kuch Hota Hai ชติน-ลลิต Jatin-Lalit เพลงเอกจากภาพยนตร์บอลลีวูดที่ได้รับความนิยมอย่างสูง “เธอผ่านมา เธอส่งยิ้มให้ และบางสิ่งบางอย่างก็ปะทุขึ้นมาในใจฉัน”
ภังครา มิสติก Bhangra Mystic กุลชิต ภมรา
Bhamra ภังคราเป็นการเต้นราที่พัฒนามาจากการเต้นราพื้นบ้านของชาวปัญจาบ การเต้นรา รูปแบบนี้ได้ช่วยเบิกทางให้กับดนตรีแนวทางใหม่ในสหราชอาณาจักร ทุกวันนี้เวลาพูดถึงภังครา คนก็จะนึกถึงดนตรีรูปแบบหนึ่งมากกว่าการเต้นราเพียงอย่างเดียว ในคีตนิพนธ์ชิ้นนี้ ผู้ประพันธ์ ค้นหารูปแบบการแสดงออกอย่างดนตรีภังคราและนามาสอดประสานเข้ากับองค์ประกอบของ ดนตรีคลาสสิกอย่างตะวันตก
Kuljit

Aruni Bagga is a Thai singer and musician of Indian heritage, who believes that "music is a medium of transcultural communication". She is best remembered here in Thailand from a song "A Mumbai girl waiting for love", a Hindi version of a popular Thai song from a very successful Thai film. Aruni is also an international recording artist with successful albums such as Shabad Gurbani and The Sound of Sufi.

อรุณี บาก้า, นักร้องรับเชิญ Aruni Bagga, Guest Singer อรุณี บาก้าเป็นนักร้องชาวไทยเชื้อสายอินเดีย ผู้ซึ่ง เชื่อว่า “ดนตรีนั้นคือสื่อของการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม” เธอเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปจากเพลง “สาวมุมไบรอรัก” ที่เป็น เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง พรจากฟ้า นอกจากนี้แล้ว อรุณีก็ยังเป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติจากผลงานเพลงอาทิ ชาห์บาด กุรบานี และ เสียงแห่งซูฟี
จอห์น ทัสเกอร์, ผู้อานวยเพลงรับเชิญ
จอห์น ทัสเกอร์ได้รับปริญญาดุริยางคศาสตร์ บัณฑิตจากมหาวิทยาลัยลอนดอนและศึกษาการเล่นเซลโล กับราฟาเอล ซอมเมอร์ นักเซลโล่ผู้มีชื่อเสียงที่ราชวิทยาลัย ดนตรีแห่งภาคเหนือ เขาเล่นเชลโลอาชีพในวงออร์เคสตรา เป็นเวลาหลายปีก่อนที่จะเข้ามาอยู่ในแวดวงการศึกษา ที่ซึ่ง เขาได้มีโอกาสฝึกสอนนักดนตรีและควบคุมวงออร์เคสตรา เยาวชน

John Tasker received BMus degree at London University and studied ‘cello for two years with Raphael Sommer at the Royal Northern College of Music. He worked as an orchestral ‘cellist before moving into education, where he also conducted youth symphony orchestra and coached music scholars in chamber music.

Kuljit Bhamra MBE Hon DMus (born 1959) is a British Asian composer, record producer and musician whose main instrument is the tabla. He is best known as one of the record producers who pioneered the British Bhangra sound and for his many collaborations with musicians from different genres and continents. His MBE was awarded in the Queen's Birthday Honour's List 2009 with the citation for services to Bhangra and British Asian Music. In July 2010 he was awarded an honorary doctorate by the University of Exeter.

กุลชิต ภัมรา, ผู้ประพันธ์เพลง
กุลชิต ภัมรา เป็นคีตกวีและผู้อานวยเพลง ชาวอังกฤษเชื้อสายอินเดียผู้มีฝีมือในการเล่น กลองตาบลา กุลชิตมีชื่อเสียงในฐานะผู้บุกเบิก ดนตรีภังกราสมัยใหม่ในสหราชอาณาจักร และ จากการทางานร่วมกับนักดนตรีหลากรูปแบบใน นานาทวีป เมื่อปีค.ศ. 2002 เขาได้รับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันวิเศษยิ่งแห่งจักรวรรดิบริ ติช จากการทางานดนตรีภังกราและดนตรีอังกฤษเชื้อสายอินเดีย และได้รับปริญญาดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาการดนตรีจากมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ เมื่อปี ค.ศ. 2010
Composer

Chulalongkorn University Chamber Ensemble

นักดนตรี Musician ไวโอลิน 1 1st Violin รวยชัย แซ่โง้ว Ruaychai Saengow อติภา วิเศษโอภาส Atipa Wisedopas ณิชชา แป้นเหมือน Nichcha Panmuan รัชพล แสงจันทร์ Rachapong Saengchan ไวโอลิน 2 2nd Violin นิรัฐศา อยู่สมบูรณ์ Nirutsa Usomboon ณัฐชา วงศ์อริยะกวี Nuttacha Wongareyakawee ปัญรัฏฐ์ วงศ์ปัทมภาส Panrat Wongpattamapad ฟ้าใส บูรณศิริ Fasai Bunranasiri วิโอลา VIola ธนวรรณ ฤทธิ์เดชขจร Tanawan Ritdatchkajorn ภัทรพล บุญฉิม Patharapol Boonchim เชลโล Cello กิตติคุณ สดประเสริฐ Kittikun Sodprasert ณัฐนนท์ กู้เดียรติกาญจน์ Nuttanon Googietgarn ดับเบิลเบส Double Bass ภูมิรพี วงศ์อนุสรณ์ Phumraphi Wong-anusorn ฉัทมน ปั้นประเสริฐ Chattamon Punprasert
ฟลูต Flute กชวรรณ ไทญาณสิทธิ Kotchawan Taiyansit ณิชากร เอมจ้อย Nichakon Emjoy โอโบ Oboe สิรดนัย เหลืองอรุณ Siradanai Luengaroon อธิชนันท์ จูน้อย Athichanun Joonoi คลาริเน็ต Clarinet ศุภวุฒิ สหสัจจญาณ Supawuth Sahasatjakarn ศุภกรณ์ สอนศรี Supakorn Sornsri บาสซูน Bassoon ณัฐพล โกสัลล์ประไพ Nattaphon Kosalpraphai นนทปรีชา อุ่นเจริญ Nonthapreecha Uncharoen ฮอร์น Horn สรวิชญ์ โสภณคณาสาร Sorawith Soponkanasan ทรัมเป็ต Trumpet สุรเสฎร์ ประสันธวงศ์ Suraset Prasanthawong ทิพวรรณ สันธิศิริ Thipawan Santisiri ทรอมโบน Trombone บัณฑิต ผ่องโชค Bundit Pongchok ทูบา Tuba รวิช รัชตะสมภพ Ravich Rachatasompope
เครื่องกระทบจังหวะ Percussion นฤชิต ป้องเกียรติกุล Naruechit Pongkiettikul รัชพล เฟื่องคอน Ratchaphon Fuangkorn บูรพา นกทอง Burapa Nokthong คีย์บอร์ด Keyboard อรกมล นาวาผล Ornkamol Nawapol Chulalongkorn University String Quartet ไวโอลิน 1 1st Violin รวยชัย แซ่โง้ว Ruaychai Saengow ไวโอลิน 2 2nd Violin นิรัฐศา อยู่สมบูรณ์ Nirutsa Usomboon วิโอลา VIola ธนวรรณ ฤทธิ์เดชขจร Tanawan Ritdatchkajorn เชลโล Cello กิตติคุณ สดประเสริฐ Kittikun Sodprasert

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.