สูจิบัตรออนไลน์ CU String Orchestra วันที่ 28 สิงหาคม 2563

Page 1

Friday, August 28, 2020 CU Music Hall


สารจากผู้อํานวยการดนตรี

ในปีพ.ศ. 2563 นี้ เป็นโอกาสสําคัญของการก่อตั้งวงซิมโฟนีออร์เคสตรา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ

เจ้าฟ้า

กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ครบ 30 ปี เราเติบใหญ่และมี พัฒนาการทางด้านดนตรีอย่างต่อเนื่องในหลายๆ นําเสนอในแต่ละฤดูกาลคอนเสิร์ต

ด้าน

ด้วยจํานวนคอนเสิร์ตที่

ประเภทของบทประพันธ์เพลงที่มีความ

หลากหลายในคอนเสิร์ต อีกทั้งจํานวนผู้ชมที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และการขยาย กลุ่มอายุของผู้ฟัง รวมทั้งการผลิดอกออกใบเป็นวงดนตรีอีกหลายรูปแบบ ทั้งนี้ เพื่อสืบสานพระดําริของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงฯ

ในการเผยแพร่ความรู้ทางด้าน

ดนตรีคลาสสิกให้แก่เยาวชนและประชาชนทั่วไป วงเครื่องสายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU String Orchestra) อีกหนึ่งใน การนํ า เสนอโครงการทางด้ า นดนตรี ข องนิ สิ ต แก่ ผู้ ช ม จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ มุ่ ง หวั ง พัฒนาทักษะทางด้านดนตรีการบรรเลงกลุ่ม (Ensemble) ให้แก่นิสิตผู้เข้าร่วม การ

ส่ งเสริม พื้ น ที่ ก ารเรีย นรู้ส ร้างสรรค์ แม้ ก ารแสดงครั้งนี้ จะไม่ ส ามารถต้ อ นรับ ท่ าน ผู้ชมทุกท่านให้เข้ามารับชมการแสดงดนตรีสดได้ด้วยเหตุการณ์ แพร่ระบาดของโค วิด-19ทําให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบมาแสดงทางออนไลน์ที่สามารถรับชมจาก ที่ต่างๆ โดยไม่ต้องเดินทางมายังหอแสดงดนตรี ในนามของวงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาฯ

ผมขอขอบคุณสถาบันและ

หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย รวมทั้งเจ้าหน้าที่ทุกส่วน ตลอดจนนักดนตรี และผู้ปกครองที่มีส่วนร่วมให้การแสดงครั้งนี้สําเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี

ผศ. พ.อ.ชูชาติ พิทักษากร ผู้อํานวยการดนตรี


Program Wolfgang AmadeusMozart

Serenade No. 13 in G Major KV 525

“Eine Kleine Nachtmusik”

(1756-1791)

I.

Allegro

II.

Romanze: Andante

III.

Menuetto: Allegro

IV.

Rondo: Allegro

Ludwig van Beethoven

Romance No. 2 in F Major, Op. 50

(1770-1827)

รวยชัย แซ่โง้ว ผู้แสดงเดี่ยว Ruaychai Sae-Ngow Soloist Intermission 15 Minutes

Nino Rota

Concerto for Strings

I.

Preludio - allegro ben moderato

II.

Scherzo - allegretto comodo

III. IV.

(1911-1979)

Aria - andante

Finale - allegrissimo รวยชัย แซ่โง้ว

Ruaychai Sae-Ngow ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นรอรรถ จันทร์กลํ่า

Asst. Prof. Dr. Nora-ath Chanklum

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกชูชาติ พิทักษากร Asst. Prof. Col. Choochart Pitaksakorn

หัวหน้าวง

Concert Master ผู้อํานวยเพลง Conductor

ผู้อํานวยการดนตรี Music Director


Eine kleine Nachtmusik

Wolfgang Amadeus Mozart

Serenade No. 13 for strings in G major, KV 525

โวล์ฟกัง อมาดีอุส โมสาร์ท (Wolfgang A. Mozart; ค.ศ. 1756-1791) เป็นนักประพันธ์เพลงเอกชาวออสเตรีย

จากสมัยคลาสสิก

โมสาร์ทเป็นอัจฉริยะ

แสดงความสามารถทางดนตรีรอบด้านตั้งแต่ยังเด็ก เล่นเครื่องดนตรีได้ยอดเยี่ยม หลายชนิดรวมทั้งแต่งเพลง แม้จะอายุเพียง 35 ปีก็ด่วนจากโลกนี้ไป แต่ทิ้งผลงานไว้ มากกว่า 600 บท โมสาร์ทแต่ง ‘Eine kleine Nachtmusik’ บทนี้ในปี ค.ศ. 1787 เป็นเพลง

แบบ ‘เซเรเนด’ ซึ่งโมสาร์ทแต่งไว้มากมายหลายชุด เพราะเป็นที่นิยมเล่นและฟังกัน

มากในสมัยนั้น สําหรับชุดนี้เมื่อตีพิมพ์ เป็นหมายเลข 13 อยู่ในกุญแจเสียง G, เป็น ผลงานลําดับที่ 525 นับเป็นผลงานในช่วงท้ายชีวิต มีความไพเราะ ฟังง่ายแบบ เพลงเซเรเนดแต่ก็สมบูรณ์ลงตัวยิ่งในเชิงดนตรี

กลายมาเป็นเพลงคลาสสิกยอด

นิยมตราบทุกวันนี้ ‘Eine kleine Nachtmusik’ ประกอบด้วย 4 ท่อนย่อย; ท่อนแรกอยู่ในลีลา เร็ว ทํานองหลักกระฉับกระเฉงแจ่มใส, ท่อนที่สองอยู่ในลีลาแช่มช้า หวานๆแบบเพลง โรมานซ์ (Romanze), ท่อนที่สามอยู่ในลีลาเพลงเต้นรําแบบมินูเอ็ท (minuet,) ท่อน ส่งท้าย อยู่ในลีลาเร็วแจ่มใส Romance No. 2 in F Major, Op. 50

Ludwig van Beethoven

Beethoven เป็นนักประพันธ์เพลงเอกชาวเยอรมัน จากสมัยคลาสสิก ร่วม ส มั ย กั บ Franz Joseph Haydn (ค .ศ .1732-1809) แ ล ะ Wolfgang A. Mozart (ค.ศ.1756-1791) บทประพั น ธ์ เพลงที่ ดู จ ะเป็ น signature ของ Beethoven นั้ น แม้ จ ะอยู่ ใน โครงสร้างดนตรีตามแบบแผนประเพณี แต่ก็มักมีความ dramatic แสดงออกอย่าง ฮึกเหิมและลึกลํ้าในอารมณ์ เบื้องลึกอันซับซ้อน เช่นในผลงานประเภท symphony, piano concerto, piano sonata แ ล ะ string quartet แ ต่ บ ท เพ ล ง Romance


หมายเลข 2, Op 50 ในกุญแจเสียง F สําหรับไวโอลินและวงดุริยางค์ขนาดย่อมที่จะ นําเสนอคืนนี้ ก็ดูจะเป็น Beethoven ในบุคลิกและอารมณ์ที่ต่างออกไป กล่าวคือ ให้ ความรู้สึกอ่อนหวาน ราบรื่นในอารมณ์ สําหรับเพลงประเภท Romance นั้น เมื่อล่วงมาถึงช่วงปลายสมัยคลาสสิก มักหมายถึงบทเพลงขนาดย่อม ท่วงทํานองไพเราะงดงาม อ่อนหวาน ลีลาช้าเนิบ Beethoven ประพันธ์ Romance สําหรับเดี่ยวไวโอลินและวงดุริยางค์ขนาด ย่อมไว้ด้ วยกั น 2 บท มี ชื่อเสียงนิ ยมกั นมากทั้ งสองบท และทั้ งสองบท อุ ทิศ ให้ แก่ Ignaz Schuppanzigh นักไวโอลินฝี มือเลิศของยุคสมัย ผู้ เป็นทั้งเพื่ อนและครูของ Beethoven ด้วย สําหรับ Romance บทที่สองที่จะเสนอคืนนี้ (อันที่จริงแต่งเป็นบทแรก ในปี ค.ศ. 1798 แต่ได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1805 หลังจากหมายเลข 1 ซึ่งตีพิมพ์ในปี 1803, บทนี้จึงได้หมายเลข 2) มีทํานองเอกในแนวไวโอลินที่ไพเราะอ่อนหวาน ราว เพลงร้ อ ง (cantabile) ให้ อ ารมณ์ ราบรื่ น ตามแบบฉบั บ เพลง Romance อยู่ ใ น โครงสร้างเพลงแบบ Rondo ซึ่งแนวทํานองเอกที่นําเสนอแต่แรก เป็นสร้อยเพลงที่ จะหวนกลั บ มาบ่ อ ยๆ สลั บ กั บ ทํ า นองรองอื่ น ๆ ที่ เปิ ด โอกาสให้ แ นวไวโอลิ น ได้ โชว์ กลเม็ดเด็ดพราย Concerto for Strings

Nino Rota

Rota เป็ น นั ก ประพั น ธ์ เพลง นั ก เปี ย โน ผู้ อํ านวยเพลง และอาจารย์ ด นตรี

ท่านประพันธ์เพลงไว้มาก ที่เป็นที่จดจํามากที่สุด คือดนตรีประกอบภาพยนต์ ซึ่งแต่ง ไว้ราว 150 เรื่อง หลายเรื่องได้รับรางวัลตุ๊กตาทองสําหรับดนตรีประกอบยอดเยี่ยม นอกจากนี้ ยั ง แต่ ง เพลงในแนวคลาสสิ ก ไม่ น้ อ ย อาทิ อุ ป รากร 10 เรื่ อ ง, ดนตรี บั ล เลต์ 5 เรื่ อ ง และผลงานมากมายสํ า หรั บ วงดุ ริ ย างค์ แ ละกลุ่ ม เชมเบอร์ ห ลาย รูปแบบ Concerto for Strings (Concerto per archi) ที่จะนําเสนอในรายการคืนนี้ ดูจะเป็นบทประพันธ์เพลงในแนวดนตรีคลาสสิกที่รู้จักกันมากที่สุดของ Rota


ในคอนแชร์โตบทนี้ ไม่มีเครื่องเดี่ยวชิ้นใดชิ้นหนึ่งมีบทบาทโดดเด่น แต่เป็น การเดี่ยวประชันกันเป็นกลุ่มของเครื่องสายกลุ่มต่างๆในวง ประกอบด้วยท่อนย่อย 4 ท่อน 1. บ ท นํ า (Preludio) ใน ลี ล า เร็ ว พ อ ส ม ค ว ร (allegro ben moderato) 2. Scherzo ในลีลาสนุก สบายๆ (allegretto comodo) 3. Aria ในลีลาช้า (andante) 4. บทส่งท้าย ในลีลาว่องไว มีชีวิตชีวา (allegrissimo) คําบรรยายเพลงโดย สดับพิณ รัตนเรือง


รวยชัย แซ่โง้ว

Ruaychai Saengow

ผู้แสดงเดี่ยว/ หัวหน้าวง

Soloist/ Concertmaster

รวยชัย แซ่โง้ว เริ่มเรียนไวโอลินกับ ซี โมน ชตาเดิลไมเออร์ เมื่ออายุ 11 ปี จากนั้น

ได้รับทุนเรียนไวโอลินระยะเวลา 3 เดือน ณ ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยศึกษากับ เกอร์ตี โพ เดอไวน์ และ ธีโอดอรา เกเร็ตส์ หัวหน้าวงลิ มเบิร์กซิมโฟนีออร์เคสตรา ติดต่อกันเป็นเวลา

2 ปี ในปี พ.ศ.2551 ได้รับทุน ฟูกุดะ-ชไตน์ฟาท เพื่อเข้าร่วมโรงเรียนดนตรีฤดูร้อน โตเกียว นิว มิลเลนเนียม อินเตอร์เนชันแนล ประเทศญี่ปุ่น และได้มีโอกาสร่วมอบรม เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการบรรเลงดนตรีเชมเบอร์กับนักเปียโน รูดิเกอร์ ชไตน์ฟาท และได้อบรมเชิงปฏิบัติการกับ สตีเฟน โรส หัวหน้าภาควิชาเครื่องสาย สถาบันดนตรี

คลีฟแลนด์ และคลีฟแลนด์ออร์เคสตรา ในระหว่างที่เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วม เทศกาลดนตรี แปซิฟิค มิวสิค เฟสติวัล 2012 เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2555 ณ เมืองซัปโปโร ประเทศญี่ปุ่น รวยชัยเริ่มเล่นดนตรีในระดับอาชีพกับวงสยามฟิลฮาร์โมนิคออร์เคสตรา

(วงมีฟ้าซินโฟเนียตตา ในสมัยนั้น) หนึ่งปีหลังจากเข้าร่วมวงดุริยางค์เยาวชนไทย เมื่ออายุเพียงสิบสองปี เป็นสมาชิก

และเป็นนักไวโอลินที่มีอายุน้อยที่สุดที่ผ่านการคัดเลือกเข้า

ต่อมาได้เป็นผู้ช่วยหัวหน้าวงและเป็นหัวหน้าวงเมื่ออายุได้สิบเก้าปี

นับเป็นหัวหน้าวงดนตรีระดับอาชีพที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย กล่าวถึงโดยหนังสือพิมพ์เดอะเนชัน น้อยที่มีอนาคตไกล

และได้รับการ

และบางกอกโพสต์ว่าเป็นนักดนตรีอาชีพอายุ

รวยชัยเป็นสมาชิกวงสยามฟิลฮาร์โมนิคออร์เคสตราจนถึงปี

พ.ศ.2553 ในปี พ.ศ.2549 รวยชั ย ร่ ว มงานกั บ วงดุ ริ ย างค์ ซิ ม โฟนี ก รุ ง เทพฯ ใน ตํ าแหน่ งไวโอลิ น 1 ได้ ร่วมบรรเลงภายใต้ ก ารอํ านวยเพลงของผู้ อํ านวยเพลงที่ มี ชื่อเสียงระดับนานาชาติหลายท่านรวมทั้ง มิคาอิล เพล็ตเนฟ, แบรี ดักลาส, และฮิโค ทาโร ยาซากิ และร่วมกับวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพฯ ในการแสดงทัวร์คอนเสิร์ตใน

ทวีปยุโรปในปี พ.ศ.2554 นอกจากนั้นยังเป็นสมาชิกวงดุริยางค์อาชีพอื่น ๆ อีกมาก


และเป็นสมาชิกวงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 โดยเป็นหัวหน้าวงตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 นอกจากนี้รวยชัยยังออกแสดงในฐานะผู้แสดงเดี่ยวหลายครั้ง รวมถึงการ แสดงที่ประสบความสําเร็จอย่างมากในนครโตเกียว เมืองไซตามะ และเมืองโยโกฮามา ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ.2551-2552 และได้รับเชิญจากมหาวิทยาลัยวาเซดะ ประเทศ ญี่ปุ่น เพื่อแสดงคอนเสิร์ตในปี พ.ศ.2553 Ruaychai Saengow took his first violin lessons at the age of eleven with Simone Stadlmair. At the age of thirteen and fourteen he was awarded

three-month scholarships in two consecutive years to study in the Netherlands with Geertje Podevyn and the Concertmaster of the Limburg Symphony Orchestra, Theodora Geraets. Ruaychai received the FukudaSteinfatt Overseas Award in 2008 to join Tokyo New Millennium

International Music Summer School where he had an opportunity to attend chamber music masterclass given by a pianist Rudiger Steinfatt. He also had masterclasses with Fujiwara Hamao, the concertmaster of Yomiuri Symphony Orchestra in 2010, and recently with Stephen Rose, Head of String Department, Cleveland Institute of Music and The Cleveland Orchestra when Ruaychai was selected to represent Thailand in Pacific Music Festival 2012, Sapporo, Japan in June. Ruaychai’s professional career started with Siam Philharmonic Orchestra (formerly known as MIFA Sinfonietta) one year after joining Thai Youth Orchestra when he was twelve years old, and is the youngest violinist ever accepted to the orchestra to date.

After having become the

assistant concertmaster for a few years Ruaychai, at the age of nineteen, took the post as the concertmaster where he was acclaimed as the youngest professional concertmaster in Thailand, and was noted as a


promising young professional by the Nation and Bangkok Post.

He

remained with the orchestra until 2010. In 2006 Ruaychai joined the Bangkok Symphony Orchestra in the first violin section and has played under the baton of several notable international conductors including Mikhail Pletnev, Barry Douglas and

Hikotaro Yazaki; and was part of the orchestra’s European tour in 2011. He is also a member of numerous well-known professional orchestras in Bangkok; has been a member of Chulalongkorn University Symphony Orchestra since 2007, and its concertmaster since December 2011. As a soloist, Ruaychai also extensively performed in his successful recitals in Tokyo, Saitama and Yokohama, Japan in 2008 and 2009, and was invited by Waseda University, Tokyo to give a concert in 2010.


นรอรรถ จันทร์กลํ่า

Nora-ath Chanklum

ผู้อํานวยเพลง

Conductor

นรอรรถ จั น ทร์ ก ลํ่ า อาจารย์ ป ระจํ า ภาควิชาดุริยางค์ศิลป์ตะวันตก คณะศิลปกรรม ศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ตํ า แหน่ ง

ผู้ ช่ ว ย ศ าส ต ราจ ารย์ จ บ ก ารศึ ก ษ าระดั บ ปริ ญ ญาโทด้ านการแสดงไวโอลิ น ณ สถาบั น ด น ต รี นิ วอิ งแล น ด์ เมื อ งบ อ ส ตั น ป ระเท ศ สหรั ฐ อเมริ ก า และปริ ญ ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นรอรรถมี ผ ลงานสร้ า งสรรค์ ท าง ดนตรีที่หลากหลายอย่างมากมายและสมํ่าเสมอ ทั้ ง ก ารอํ าน วย เพ ล ง ก ารเรี ย บ เรี ย ง เสี ย ง

ประสาน การประพันธ์เพลง การบรรเลงและการ ขับร้องในบางคราว นรอรรถและวงรอยั ล บางกอกซิ ม โฟนี อ อร์ เ คสตรา (Royal Bangkok Symphony Orchestra; RBSO) ได้สร้างผลงานที่ถือเป็นนวัตกรรมทางดนตรีชิ้น

สําคัญคือ อัลบั้ม “บีเอสโอบรรเลงสุนทราภรณ์” ซึ่งเป็นการผสมผสานบทเพลงสุนท ราภรณ์ กั บ วงซิ ม โฟนี อ อร์เคสตราและแนวทางการเรีย บเรีย งแบบดนตรีค ลาสสิ ก อั ล บั้ ม ดั ง กล่ า ว เป็ น ที่ ย อมรั บ ของทั้ ง นั ก วิ ช าการด้ า นดนตรี และผู้ ฟั ง ดนตรี ทั่ ว ไป รวมถึงคนรุน ่ ใหม่ที่ได้รู้จักบทเพลงสุนทราภรณ์ผ่านอัลบั้มนี้ นอกจากนี้ นรอรรถได้มีโอกาสประพั นธ์เพลงประกอบเอนิเมชันชุด ‘วรรค ทอง’ ประกอบด้ ว ยบทเพลง 26 บท มี ผ ลงานการเรี ย บเรี ย งและอํ า นวยเพลงชุ ด ‘สยามดุ ริ ย างค์ เครื่ อ งสาย’ และได้ จั ด คอนเสิ ร์ ต ผลงานดั ง กล่ า วขึ้ น ซึ่ ง ประสบ ความสําเร็จอย่างดียิ่ง ปัจจุบัน นอกเหนือจากงานสอนแล้ว นรอรรถมีผลงานการสร้างสรรค์และการแสดง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง การเป็ น ผู้ อํ า นวยเพลงประจํ า วงซิ ม โฟนี อ อร์ เ คสตราแห่ ง จุ ฬ าล ง ก รณ์ ม ห าวิ ท ย าลั ย (CU Symphony Orchestra) ว ง เค รื่ อ ง ส าย แห่ ง


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU String Orchestra) ผู้อํานวยเพลงรับเชิญประจําวง

RBSO และการเป็ น นั ก ประพั น ธ์ เพลงและนั ก เรี ย บเรี ย งเสี ย งประสาน กระทั่ ง ล่ า สุ ด นรอรรถ ได้รับรางวัลศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ประจําปี พ.ศ.2561 Nora-ath started his conducting lessons with Richard Hornich at the New England Conservatory of Music, Boston, USA. After graduating his

master’s degree, he joined the faculty member of the Department of Music, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, and Academic Affair at the KPN Music Academy. He furthered his conducting studies with Assistant Professor Col. Choochart Pitaksakorn and regularly received advice on conducting form Dr. Pradhak Pradipasen. In addition to playing the violin, his major instrument, Nora-ath continues his conducting activities in various kinds of music, including compositions by Aaron Copland, Igor Stravinsky, Darius Milhaud, Ottorino Respighi etc. He also conducted and directed Gian Carlo Menotti’s Opera, The Medium.

In 2004, he was awarded a scholarship from Chulalongkorn University to

study conducting with Michael Jinbo at the Pierre Monteux School of Conducting, Mains, USA. After having finished the course, he has regularly appeared as conductor with the Chulalongkorn University

Symphony Orchestra, the Bangkok Symphony Orchestra and also as guest conductor with the National Symphony Orchestra. In 2006 Noraath was invited as guest conductor at the Yong Seaw Taw Conservatory, National University of Singapore and also as a jury for the conservatory’s

concerto competition. In 2007 his violin solo recording “Tri” was awarded the Best Instrumental Recording by Khom Chud Luek magazine.


Currently, Nora-ath is a resident conductor of Chulalongkorn University Orchestra, and Guest Conductor of the Royal Bangkok Symphony Orchestra (RBSO). From his dedication and numerous musical activities, Nora-ath was recently awarded the prestigious ‘Silapathorn’ Award for the year 2018.


นักดนตรี - Musician ไวโอลิน 1

1st Violin

รวยชัย แซ่โง้ว

Ruaychai Sae-ngow

กุลิสรา แสงจันทร์

Kulisara sangchan

ภูมิสิริ ภัทรกุลบารมี

Poomsiri Phatarakulbaramee

อัญชิสา ศรียายาง

Anchisa Sriyayang

สุประวีณ์ จันทร์สว่าง

Supravee Chansawang

ณัฐชา วงศ์อริยะกวี

Nuttacha Wongareyakawee

ไวโอลิน 2

2nd Violin

โชติ บัวสุวรรณ

Choti Buasuwan

อาคม กิตินพคุณ

Arkom Kittinopakun

นิรัฐศา อยู่สมบูรณ์

Nirutsa Usomboon

ชมบงกช วัฒนาตั้งตระกูล

Chombongkot Wattanatangtrakool

วรากุล ศรีนวล

Warakul Srinoan

ณิชานันทน์ เอมอิ่ม

Nichanant Aim-im

วิโอลา

Viola

อัจยุติ สังขเกษม

Ausjayut Sungkasem

มิติ วิสุทธิอัมพร

Miti Visuttiaumporn

เบญจธรรม ธนกมลนันท์

Benjatham Thanakamonnun

ธนวรรณ ฤทธิ์เดชขจร

Thanawan Ritdechkajorn

ดาราวลี กรุงศรีเมือง

นวรัตน์ ลิมนภาพวัลย์

เพ็ญพัชร์ สุวรรณกิจ

ณิชชา แป้นเหมือน

ธัชพล นามวงษ์

ภาณุพงศ์ เสริมพงษ์ไพศาล

Daravalee Krungsrimuang

Nawarat Limnapapawan

Phenpach Suwanakit

Nicha Panmuan

Thachapol Namwong

Phanupong Sermpongpaisal


เชลโล

Cello

สมรรถยา วาทะวัฒนะ

Smatya Wathawathana

ไพโรจน์ พึ่งเทียน

Pairoj Puengtian

ชญานิศ ศิริโรจน์

Chayanit Siriroj

เสาวภา แจ่มโคกสูง

Saowapha Jamkoksoong

ดับเบิลเบส

Double Bass

พีรภัค เฉลิมสุข

Perapark Chalermsuk

ณัฐนนท์ กู้เกียรติกาญจน์

Nuttanon Googietgarn

สุรสิทธิ์ แจ่มดี ฟลูต

Flute

นรนรรฆ์ นฤปกรณ์

Noranan Narupakorn

โอโบ

Oboe

สิรดนัย เหลืองอรุณ

Siradanai Liangarun

บาสซูน

Bassoon

นนทปรีชา อุ่นเจริญ

Nonthapreecha Auncharoen

ณัฐพล โกสัลล์ประไพ

Natthapol Kosaiprapai

ฮอร์น

Horn

ตฤษนันท์ อรัญญกานนท์

Trissanun Arunyakanon

ณพชนก เลิศวลีรัตน์

Nopchanok Loetwaleerat

อธิชนันท์ จูน้อย

Athichanant Junoi


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.