ฟังดนตรีที่จุฬาฯ ONLINE รายการจุฬาวาทิต ครั้งที่ ๒๑๖ "วงเครื่องสาย คณะเพื่อนรัก" วันศุกร์ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๖๓
รายการแสดง เพลงโหมโรงราโค (วงเครื่องสายเครื่องคู่) เพลงตลุ่มโปง สองชั้น (วงเครื่องสายเครื่องคู่ผสมซอสามสาย) เพลงหกบท เถา (วงเครื่องสายเครื่องคู่ผสมซอสามสาย) เพลงทยอยญวน เถา (วงเครื่องสายผสมออร์แกน ขิม และไวโอลิน) เพลงจีนขิมใหญ่ สองชั้น (การบรรเลงจะเข้หมู่) เพลงตับเรื่องสามก๊ก (วงเครื่องสายผสมขิม) เพลงจีนเก็บบุปผา สองชั้น (วงเครื่องสายผสมขิมและซอสามสาย)
วงเครื่องสาย คณะเพื่อนรัก ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ นิสิตจากชมรมดนตรีไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักเรียนจาก โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ามารวมตัวกันเพื่อเข้าร่วมประกวดดนตรีไทยรายการ "ดนตรีไทย เพื่อความมั่นคง" ตั้งชื่อวงว่า "เกี้ยวเกล้า" โดยมี อาจารย์ศักรินทร์ สู่บุญ เป็นหัวหน้าวง ภายหลังมี เพื่อนสมาชิกจากชมรมดนตรีไทยสถาบันอื่นมาร่วมด้วย จึงเปลี่ยนชื่อวงเป็น "เพื่อนรัก" ปัจจุบัน สมาชิกของวงดนตรีไทยคณะนี้มาจากหลากหลายสาขาอาชีพ ส่วนมากเป็นครูบาอาจารย์ที่สอน ดนตรีไทยอยู่ตามสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ซึ่งยังคงมารวมตัวกันเพื่อฝึกซ้อมและแสดงดนตรีไทยอยู่ เป็นประจา ----------------------------รายการที่ ๑ เพลงโหมโรงราโค (วงเครื่องสายเครื่องคู)่ เพลงโหมโรงราโคเป็นผลงานการประพันธ์ของคุณครูมนตรี ตราโมท ซึ่งคุณครูได้แต่ง เพลงโหมโรงนี้ไว้เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๔ โดยขยายมาจากเพลงราโคในอัตรา ๒ ชั้น ของสองสานวนมา รวมกัน สานวนแรกคุณครูมนตรีได้มาจากพระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) ส่วนอีก สานวนหนึ่งเป็นสานวนของบ้านพาทยโกศล รายนามนักดนตรี ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ฉิ่ง โทน-รามะนา
สุรพล ลิ้มพานิช อรรณพ หอมจันทร์ มารุธ วิจิตรโชติ ดุษฎี สว่างวิบูลย์พงศ์ สิทธิพร ศรกาญจน์ สิทธิชัย ศรกาญจน์ สุรชัย แดงกูร ตรีรัตน์ ยังรอต สุพจน์ สาราญจิตร์ อุดม ชุ่มพุดซา
รายการที่ ๒ เพลงตลุ่มโปง สองชั้น (วงเครื่องสายเครือ่ งคู่ผสมซอสามสาย) เพลงตลุ่มโปงในอัตราชั้นเดียวมักจะใช้อยู่เป็นประจ าในการแสดงลิเก ส่วน ๒ ชั้นเป็น เพลงร้องประกอบการแสดงละคร ซึ่งในทานอง ๒ ชั้นนี้ เดิมทีเดียวมีแต่ทางร้อง ไม่มีทางรับ ใช้ ร้องในการเล่นสักวา ต่อมาเมื่อปลายรัชกาลที่ ๕ ครูเพ็งได้แต่งทางรับขึ้น ให้วงมโหรีหญิงซึ่งท่าน เป็นครูสอนอยู่นั้นใช้บรรเลงและได้ใช้กันมาจนทุกวันนี้ บทร้องที่จ ะนาเสนอในวันนี้ ประพันธ์โดยนายสิทธิชัย ศรกาญจน์ สมาชิกผู้ร่วมก่อตั้ง คณะเพื่อนรัก เป็นบทประพันธ์ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ ในการประกวด "ดนตรีไทยเพื่อความมั่นคง" ที่เวทีโรงละครแห่งชาติเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๖ บทร้อง อันชาติไทยเรามีเอกลักษณ์ เพราะไทยเราพร้อมพรักสามัคคี มีองค์ราชันเป็นขวัญราษฎร์ ชาติไทยจึงมั่นคงยืนยงมา รายนามนักดนตรี ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ฉิ่ง โทน-รามะนา
เอกราชซึ่งประจักษ์ไปทุกที่ เสียสละรู้หน้าที่มีจรรยา มีพระศาสน์เป็นหลักใจไทยถ้วนหน้า ขอไทยอยู่คู่ฟ้าสถาพร
จักรี มงคล สุรพล ลิ้มพานิช อรรณพ หอมจันทร์ มารุธ วิจิตรโชติ ดุษฎี สว่างวิบูลย์พงศ์ สิทธิพร ศรกาญจน์ สิทธิชัย ศรกาญจน์ สุรชัย แดงกูร ตรีรัตน์ ยังรอต สุพจน์ สาราญจิตร์ อุดม ชุ่มพุดซา
ขับร้อง
จันทรา สุขะวิริยะ นิตยา แดงกูร สุกัญญา กุลวราภรณ์
รายการที่ ๓ เพลงหกบท เถา (วงเครื่องสายเครื่องคู่ผสมซอสามสาย) เพลงหกบท ๒ ชั้น เป็นเพลงโบราณส าหรับบรรเลงมโหรีในสมัยอยุธยา สมัยโบราณ เรียกว่า ยิกินหกบท หรือลิกินหกบท ปัจจุบันเรียกแต่เพียงหกบท พระประดิษฐ์ไพเราะ (มี ดุริยาง กูร หรือครูมีแขก) เป็นผู้แต่งขึ้นเป็นอัตรา ๓ ชั้น เพิ่งมาครบเป็นเถาเมื่อมีผู้ตัดลงเป็นชั้นเดียวใน สมัยรัชกาลที่ ๖ บทร้องที่นามาใช้ในวันนี้ มาจากพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ เรื่องอิเหนา ตอนอิเหนา พาระเด่นบุษบามาซ่อนตัวอยู่ในถ้ากลางป่าลึกนอกกรุงดาหา แล้วจะกลับไปแก้สงสัยในกรุงดากา จึงทาให้บุษบาน้อยใจ โดยเข้าใจผิดว่าอิเหนาจะลอบไปหาชายาทั้งสามที่เมืองหมันหยา และตัดพ้อ ต่อว่าเอา ดังปรากฏตามบทร้องต่อไปนี้ บทร้อง กรรแสงพลางทางทูลสนองไป ทาการหาญหักลักน้องมา น้องนิราศมาตุรงค์บิตุเรศ เห็นแต่ภูวไนยได้ปกครอง ไหนนั่นสัญญาพาที อันถ้อยยาคามั่นที่บรรยาย รายนามนักดนตรี ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้
จักรี มงคล สุรพล ลิ้มพานิช อรรณพ หอมจันทร์ มารุธ วิจิตรโชติ ดุษฎี สว่างวิบูลย์พงศ์
คิดไฉนไยฉะนี้พระเชษฐา สถิตย์อยู่คูหาถ้าทอง ยังไม่คลายวายเทวษหม่นหมอง จะสลัดซัดน้องไว้เดียวดาย ว่าจะครองไมตรีไม่หนีหน่าย ไม่รู้เลยว่าจะกลายเป็นมารยา
จะเข้ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ฉิ่ง โทน-รามะนา ขับร้อง
สิทธิพร ศรกาญจน์ สิทธิชัย ศรกาญจน์ สุรชัย แดงกูร ตรีรัตน์ ยังรอต สุพจน์ สาราญจิตร์ อุดม ชุ่มพุดซา สุกัญญา กุลวราภรณ์
รายการที่ ๔ เพลงทยอยญวน เถา (วงเครื่องสายผสมออร์แกน ขิม และไวโอลิน) เพลงนี้ทานองของเก่ามีอยู่เพียง ๒ ชั้น สมัยโบราณเรียกว่าเพลงกะเหรี่ยงไกวเปล ใช้ใน การแสดงโขนละคร อารมณ์ของเพลงเป็นไปในทางโศกเศร้ารันทดใจ สานวนเพลงทยอยญวน เถา ที่จ ะนาเสนอในวั นนี้ เ ป็น ผลงานการประพั น ธ์ ของคุณ ครูเ ฉลิม บัว ทั่ ง ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ สาขา ศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ประจาปี พ.ศ. ๒๕๒๙ บทร้องในวันนี้ นามาจากพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนา ในรัชกาลที่ ๒ บทร้อง คิดพลางทางทรงกรรแสงร่า เดิมพลัดกาจัดจากพารา มิสามาซ้าให้จาจาก อกเอ๋ยไม่เคยจะเดินไพร ครั้งนี้ตกไร้ได้ยาก เกือกทองจะรองก็ไม่มี รายนามนักดนตรี ซอด้วง ซออู้ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ
อาทร ธนวัฒน์ มารุธ วิจิตรโชติ สุรชัย แดงกูร ตรีรัตน์ ยังรอต
ชะรอยกรรมทาไว้เป็นหนักหนา มาอยู่คูหาค่อยคลายใจ พลัดพรากถ้าทองผ่องใส เคยสาราญแต่ในพระบุรี ลาบากชอกช้าบทศรี จะเหยียบย่างจรลีกลใด
ขิม ออร์แกน ไวโอลิน ฉิ่ง โทน-รามะนา ขับร้อง
วิทยา เรืองสุทธิพงศ์ จักรี มงคล ธีรุตม์ รักษ์บารุง สุพจน์ สาราญจิตร์ อุดม ชุ่มพุดซา นิตยา แดงกูร
รายการที่ ๕ เพลงจีนขิมใหญ่ สองชั้น (การบรรเลงจะเข้หมู)่ เพลงจีนขิมใหญ่ เป็นเพลงสาเนียงจีนของเก่า บางทีก็เรียกสั้น ๆ ว่า ขิมใหญ่ เป็นเพลงที่ มีทานองไพเราะได้รับความนิยมแพร่หลายมาก จนมีการนาไปประดิษฐ์เป็นทางเดี่ยวสาหรับเครื่อง ดนตรีหลายชนิดโดยเฉพาะจะเข้ การบรรเลงเพลงจีนขิมใหญ่ในวันนี้เป็นการบรรเลงจะเข้หมู่ แบ่งออกเป็นสองช่วง เริ่ม ด้วยการบรรเลงรับร้องด้วยทางธรรมดา ผูกกลอนเพลงโดย อาจารย์ศักรินทร์ สู่บุญ เมื่อจบแล้วจะ บรรเลงทางเดี่ยวจะเข้ที่ได้รับการสืบทอดมาจากคุณครูระตี วิเศษสุรการ ติดต่อกันไป บทขับร้องในวันนี้เป็นของเก่า ไม่ทราบผู้แต่ง บทร้อง รื่นรื่นชื่นกลิ่นมณฑาทอง หอมหวนประหลาดไม่ขาดคราว สาเนียงผู้ใดช่างไพเราะ หงส์ทองล่องฟ้ามารอรี รายนามนักดนตรี จะเข้
ฉิ่ง
จะโรยร้างห่างห้องเวหาหาว จวนฟ้าขาวดาวเคลื่อนเลื่อนลับลี้ มาพร้องเพราะหวานหูอยู่เมื่อกี้ สาเนียงนี้ขิมน้องสนองนาม
วิทยา เรืองสุทธิพงศ์ สิทธิชัย ศรกาญจน์ ดุษฎี สว่างวิบูลย์พงศ์ ปกรณ์ รักยงค์ ศักรินทร์ สู่บุญ
โทน-รามะนา เครื่องประกอบจังหวะจีน ขับร้อง
อุดม ชุ่มพุดซา ธีรภัทร บุตรเทศน์ จันทรา สุขะวิริยะ
รายการที่ ๖ เพลงตับเรื่องสามก๊ก (วงเครื่องสายผสมขิม) สามก๊กเป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ แต่งขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๔ เป็นที่ รู้จักและได้รับความนิยมมาอย่างต่อเนื่อง นับได้ว่าเป็นวรรณกรรมชิ้นเอกของโลกเรื่องหนึ่ง มีการ แปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า ๑๐ ภาษา และมีการตีพิมพ์อย่างแพร่หลายทั่วโลก แปลและเรียบ เรียงเป็นภาษาไทยครั้งแรก โดย เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๔๕ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ นาเรื่องสามก๊กตอนเล่า ปี่แตกทัพโจโฉมาทรงนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองเป็นเพลงตับที่รู้จักกันในชื่อ "ตับจูล่ง" ใช้บรรเลงและ ขับร้องประกอบรูปภาพ การบรรเลงตับเรื่องสามก๊กของคณะเพื่อนรักในวันนี้ ได้นาบทร้องเพลงหุ่นกระบอก ประพันธ์โดย คุณวัลลภิศร์ สดประเสริฐ ที่เคยใช้เป็นเพลงเปิดเรื่องของการแสดงหุ่นกระบอกเรื่อง สามก๊ก ตอน โจโฉแตกทัพเรือ ของอาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (วิจิตรศิลป์) ประจาปี ๒๕๔๓ มาขับร้องและบรรเลงในตอนต้น ตามด้วยเพลงบรรเลงชื่อ "จีนชาว วัง " ซึ่ง เรียบเรียงขึ้นจากทานองเพลงจีน โดย อาจารย์ ดร.ดุษ ฎี สว่างวิบูล ย์พงศ์ เพื่อสื่อถึง นางบีฮูหยินที่บาดเจ็บและต้องอุ้มอาเต๊า (ลูกชายของเล่าปี่) กระเซอะกระเซิงหนีสงคราม แล้วต่อ ด้วยการบรรเลงและขับร้องเพลง "ตับจูล่ง" ของเดิม บทร้อง ร้องหุ่นกระบอก จะจับเรื่องรื่นเริงบันเทิงเล่น ให้กะเกณฑ์ช่างฉลักปักทั้งหลาย ทั้งพลเชิดช่างประทัดถนัดลาย ตามประทีปโคมรายระเริงชม ผูกสาเภาขึ้นสายทาใบชัก เอาธงปักค่ายคูประตูถม ออกภาษาจีนจับทัพระงม คนนิยมก่อนเก่าเล่าให้ฟัง
เบื้องโบราณการสงครามเรื่องสามก๊ก พุทธศกเจ็ดร้อยนับถอยหลัง เมืองฮูโต๋ธานีมีกาลัง โจโฉตั้งเกณฑ์พหลพลโยธี ทาสงครามเล่าปี่เสียทึทัพ ต้องย่อยยับเสียเชิงกระเจิงหนี ได้ขงเบ้งเจ้าปัญญาวิชาดี หลอกไพรีลงสมุทรยุทธนา ( เล่งซือเป๊ เล่งซือเป๊ เล่งซือเป๊ ซีไห่อ้วง ) อาศัยลิ้นร้อยเล่ห์จึงเทถ่าย เสี้ยมศึกใหญ่มาประจบรบหนักหนา คือซุ่นกวนกังตั๋งฝั่งคงคา ต่อนาวารบทัพกับแซ่โจ จะจับแต่จูล่งอุ้มอาเต๊า จนลวงเผาพ่ายยับทัพโจโฉ พอได้ฤกษ์เบิกสนามสงครามโต ให้ขานโห่เริ่มศึกคึกคะนอง - บรรเลง จีนชาววัง ร้องเกริ่น บัดนั้น จูล่งด้นค้นหาเมียเล่าปี่ พอพบนางพลางโจนจากพาชี เข้าไปน้อมเกศีแล้วโศกา ฯ - บรรเลง โอดจีน ร้องจีนฮูหยิน เมื่อนั้น บีฮูหยินอุ้มอาเต๊าเศร้าสีหน้า พอเหลือบเห็นจูล่งตรงเข้ามา นางดีใจจึงร้องว่าไปทันใด ข้าถูกแทงด้วยทวนที่ตรงขา เจ็บหนักหนาหนีต่อไปไม่ได้ ข้าศึกไล่อ้อมล้อมเอาไว้ นึกว่าลูกคงประลัยเศร้าใจคอ เจ้าตามมาได้ปะเป็นบุญนัก จงรับเอาลูกรักไปส่งพ่อ ตัวเราตายก็ช่างอย่ารั้งรอ พลางส่งลูกน้อยหน่อให้ทันใด ร้องจีนเสียผี บัดนั้น จูล่งจะรับก็หาไม่ ตอบว่ายากเพียงนี้มิเป็นไร ข้าจะช่วยแก้ไขในบัดนี้ เสียงข้าศึกใกล้นักอย่าชักช้า เชิญอุ้มบุตรขึ้นม้าขมันขมี ข้าจะเดินรบฝ่าพาชี พาแหกหมู่ไพรีหนีออกไป
ร้องจีนขิมเล็ก เมื่อนั้น ฮูหยินตอบวาจาหาช้าไม่ จะเดินดินสู้ศึกนึกเอาชัย ลูกข้าคงประลัยเจ้าไม่รัก ตัวข้าเจ็บจวนจะสิ้นใจ อย่าอาลัยเป็นห่วงหน่วงหนัก ว่าพลางวางอาเต๊าไว้ต่อพักตร์ นงลักษณ์โจนบ่อมรณา ร้องจีนช้วน บัดนั้น จูล่งเสียใจจนมืดหน้า กวาดเถ้าถมบ่อไม่รอช้า อุ้มอาเต๊าขึ้นม้าฝ่าฟันไป รับรองป้องปัดอุตลุด มิให้อาวุธถูกตัวได้ ม้าดีฝีเท้าก็ว่องไว ทางหนีทีไล่ก็ชานาญ เผ่นโผนโจนไปในที่รบ ไม่หลีกหลบโยธาล้วนกล้าหาญ จูล่งโรมรันประจัญบาน ควบม้าพาผ่านหนีไป - บรรเลง จีนฮ้อแห่ รายนามนักดนตรี ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขิม ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ฉิ่ง เครื่องประกอบจังหวะจีน
ขับร้อง
อาทร ธนวัฒน์ มารุธ วิจิตรโชติ จักรี มงคล (หุ่นกระบอก) ปกรณ์ รักยงค์ วิทยา เรืองสุทธิพงศ์ สุรชัย แดงกูร ตรีรัตน์ ยังรอต สุพจน์ สาราญจิตร์ อุดม ชุ่มพุดซา ศักรินทร์ สู่บุญ ธีรภัทร บุตรเทศน์ ดุษฎี สว่างวิบูลย์พงศ์ สุกัญญา กุลวราภรณ์
รายการที่ ๗ เพลงจีนเก็บบุปผา สองชั้น (วงเครื่องสายผสมขิมและซอสามสาย) เพลงจีนเก็บบุปผา เดิมเป็นเพลงร้องที่ใช้เป็นเพลงลาในการเล่นสักรวา ต่อมาเมื่อได้รับ ความนิยมมากขึ้น ครูบาอาจารย์ฝ่ายดนตรีจึงประพันธ์ทานองดนตรีขึ้น โดยดาเนินทานองตาม ทานองร้องไว้สาหรับบรรเลงรับร้อง ทานองเพลงจีนเก็บบุปผามีสานวนเป็นสามชั้น และมีเค้า เงื่อนของเพลงจีนขิมเล็ก สองชั้น ของพระประดิษฐ์ไพเราะ (มี ดูรยางกูร) จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น เพลงจีนขิมเล็ก สามชั้น ทางสักรวาก็น่าจะได้ บทขับร้องในวันนี้ เป็นบทที่ดัดแปลงมาจากบทสักวาของเก่า ไม่ทราบผู้แต่ง บทร้อง สักวาหวานคาหวานน้าเสียง ล้วนกวีปรีชาปัญญากรอง เสียดายเอยเสียดายน้าเสียง กรรมเอ๋ยจะลับ จะจากไปก็ไม่วาย จะจาลาอาลัยใจวับหวาม จะลีลาคลาคลาดหวาดประวิง เสียดายเอยเสียดายพระทอง ใจเอ๋ยจะขาด จะจากไปก็ไม่วาย รายนามนักดนตรี ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขิม
ได้ระเบียบเรียบเรียงสาเนียงสนอง เชิงพระทองปทุมมาลย์ชานาญจริง สาเนียงร้องรับ ไปเสียแล้วหนา อกเอ๋ย อาลัยเลย ด้วยสุนทรกลอนความงามทุกสิ่ง ขอให้ยิ่งเป็นสุขทุกคนเอย จะต้องคลาคลาด ไปเสียแล้วหนา อกเอ๋ย คลายโศกเอย
จักรี มงคล อาทร ธนวัฒน์ มารุธ วิจิตรโชติ สิทธิพร ศรกาญจน์ สิทธิชัย ศรกาญจน์ วิทยา เรืองสุทธิพงศ์
ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ฉิ่ง เครื่องประกอบจังหวะจีน
ขับร้อง
สุรชัย แดงกูร ตรีรัตน์ ยังรอต สุพจน์ สาราญจิตร์ อุดม ชุ่มพุดซา ศักรินทร์ สู่บุญ ธีรภัทร บุตรเทศน์ จันทรา สุขะวิริยะ นิตยา แดงกูร สุกัญญา กุลวราภรณ์ ดุษฎี สว่างวิบูลย์พงศ์