สูจิบัตร จุฬาวาทิตครั้งที่ 235 การบรรเลงดนตรีไทย “คณะศิษย์ครูฟุ้ง ครูองุ่น บัวเอี่ยม”

Page 1


ดุริยางค์กรมตารวจเป็นจานวนมาก

ควบคุมของครูฟุ้ง

วัฒนธรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ไปบันทึกเสียงข้อมูลที่เป็นผลงานเพลง

ของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลป

บรรเลง) ไว้หลายเพลง ซึ่งบทเพลง

เหล่านั้นจะเป็นมรดกของชาติที่เป็น

ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาค้นคว้า

ต่อไปในอนาคต

บัวเอี่ยม ได้รับยกย่องเชิด

ชูเกียรติเป็นบุคคลดีเด่นทางวัฒนธรรม จากศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดนนทบุรี ในปี

รณรงค์วัฒนธรรมไทย

ความสามารถและการอุทิศตนด้านศิลปะวัฒนธรรม จากกองทุนหม่อมราชวงศ์อายุมงคล

ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๘

พ.ศ. ๒๕๐๓ เข้ารับพระราชทานเข็มที่ระลึกจากพระบาทสมเด็จพระชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช

บรมนาถบพิตร เนื่องในการบรรเลงดนตรีไทยคณะศิษย์หลวงประดิษฐไพเราะ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

รายนามนักร้องและนักดนตรี

ลาว หลังจากนั้นคณะแคนวงได้ไปบรรเลงที่กรมประชาสัมพันธ์โดยการนาของครูโชติ ดุริยประณีต อีกเช่นกัน

บรรเลงเพลงเดี่ยวลาวแพน

ขณะนั้นหม่อมหลวงขาบ กุญชร

ส่งที่สถานีโทรทัศน์ทันที เพราะฟังจากวิทยุกระจายเสียงแล้วไม่ทราบว่าเป็นการบรรเลงเครื่องดนตรีชนิดใด มี

ความไพเราะเป็นอันมาก การแสดงดังกล่าวได้สร้างชื่อเสียงให้กับคณะอินทประสิทธิ์ศิลป์เป็นที่แพร่หลาย

นาคเพื่อจะทรงนาไปเป่าที่ต่างประเทศ

นี้ ได้สืบทอดมาโดยบุตรีของรอง

อามาตย์โทขุนแสนประศาสน์ (เขียน

อินทาปัจ) คือครูองุ่น

ทาปัจ) และจ่าสิบตรีฟุ้ง

ทั้งสองได้ทาการถ่ายทอดให้แก่ลูกศิษย์

นาออกแสดงเผยแพร่อนุรักษ์รูปแบบ

การบรรเลงแคนวงของบิดาไม่ให้สูญ

หาย ได้มีการบันทึกเสียงและการสาธิต

การบรรเลงให้แก่ศูนย์สังคีตศิลป์

ธนาคารกรุงเทพไว้เป็นข้อมูลทาง

มาบรรเลงและขับร้องอีกครั้งเพื่อระลึกถึงครูองุ่น

ซึ่งนิยมเล่น กันเป็นดนตรีพื้นบ้านกลุ่มคนในแถบอีสานหรือกลุ่มคนที่ได้รับการถ่ายโอนวัฒนธรรม อิทธิพลจากประเทศลาว

ซึ่งปรากฏหลักฐานเป็นที่นิยมแอ่วลาวเป่าแคนกันมากในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การแอ่วลาวของครูองุ่นนั้นเริ่มร้องประกอบแคนวงอินทประสิทธิ์ศิลป์

และเป็นเพลงประจาของแคนวงคณะอินทประสิทธิ์ศิลป์

ศิลปวัฒนธรรมไทยสู่สากล โดยนาเสนอคุณค่าดั้งเดิมและพลวัตวัฒนธรรมในบริบทร่วมสมัย

การผลิตบัณฑิตที่เป็นเลิศย่อมมาจากรากฐานที่มั่นคง

ถือเป็นหนึ่งในผู้วางรากฐานทางด้านการขับร้องเพลงไทยตามเจตนารมณ์ของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลป

รายนามนักร้องและนักดนตรี

ศิลปินที่มีชื่อเสียงจึงเป็นปัจจัยที่สาคัญยิ่ง

รายนามนักร้องและนักดนตรี

เพลงประกอบการแสดงชนิดนี้ก็เป็นได้สุดแต่จะวินิจฉัย

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๔).

กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัด อรุณการพิมพ์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๙).

กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

สาเนียง มณีกาญจน์และสมบัติ จาปาเงิน (๒๕๓๙).

ภาคประวัติและบทร้องเพลงเถา (พิมพ์ครั้งที่ ๓).

. (พิมพ์ครั้งที่ ๒).

(ประวัติและบทร้อง). กรุงเทพฯ: บริษัทเลิฟแอนด์ลิพเพรส จากัด.

หนังสือที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพนายบุญยงค์

โรงเรียนรัตนาธิเบศร์

โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

โรงเรียนบ้านราไทย

อาจารย์ ดร.สมาน น้อยนิตย์ อาจารย์สิงหล สังจุ้ย

รองศาสตราจารย์ณรงค์

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.