“โปรยดอกไมบนผืนผา หยุดเวลาไวบนผืนสไบ”
เกริ่นนำ ชุดปกสไบมอญนี้เปนสวนหนึ่งของดุษฏีนิพนธ เรื่อง “ภูมิปญญาดานศิลปกรรม ของชุมชนไทยเชื้อสายมอญเพื่อออกแบบสื่อการเรียนรู “ ผูวิจัยขอขอบคุณ คุณสุกัญญา เบาเนิด ผูเชี่ยวชาญดานการปกสไบมอญที่ไดเอื้อเฟอขอมูลเกี่ยวกับการปกสไบ และผูวิจัยไดนำองคความรู นี้มาพัฒนาเปนสื่อการเรียนรูตนแบบ “ชุดปกสไบมอญ” เพื่อสืบทอดภูมิปญญามอญแกผูสนใจทั่วไป ไดเกิดการเรียนรูและไดลงมือปฏิบัติไดดวยตนเอง “ชุดปกสไบมอญ” ประกอบไปดวย 1. หนังสือคูมือการปกสไบมอญ มีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของสไบมอญ ขั้นตอนและวิธีการปกสไบมอญ 2. อุปกรณชุดปกสไบมอญ ประกอบดวย ผาสำหรับปก สดึง ดายปก เข็มและหมอนปก กรรไกร
การใชสไบมอญในอดีต จากการศึกษาเกี่ยวกับการใชสไบของชาวมอญ นั้นปรากฏหลักฐานในภาพจิตรกรรม สมัยรัตนโกสินทรตอนตน ตามวัดของชุมชนมอญตางๆ ดังภาพ 1.จิตรกรรมสาวมอญคลองสไบ ที่วัดบางน้ำผึ้งนอก อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 2. จิตรกรรมสาวมอญคลองสไบที่วัดไทรอารีรักษ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 3. จิตรกรรมที่วัดบางแคใหญ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม 4. จิตรกรรมมอญรำ ที่วัดประดูทรงธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1
2
3
4
1
ความเชื่อและคำทำนายเกี่ยวกับสไบมอญ
“แมงเจน” หรือคำทำนายโบราณที่กลาวถึงเหตุแหงความลม สลายของชาติมอญ 1 ใน 10 ประการนั้น คือ "หญิงมอญจะละทิ้งสไบ" สะทอนใหเห็นถึงความสำคัญสไบที่คนมอญทั้งชา ยหญิง เมื่อเขาวัดเขาวาจะตองมีผาพาดไหลสักผืน สำหรับผูชายเรียกวา ผาขาวมา สำหรับผูหญิงก็คือ ผาสไบ ความเปนมาของสไบมอญ (แบบปก หรือ สไบมอญน้ำเค็ม) ในอดีตสไบมอญ หรือ หญาดฮะเหริ่มโตะ มีรูปแบบแตกตางกันไปในแตละทองถิ่น พบทั้งที่เปนผาแพรจีบ ผาสไบปก ผาสไบผาพื้น ที่ทำจากผาธรรมดา ผาไหม ผาลายดอก ซึ่งขึ้นอยูกับความนิยมหมุนเวียนสลับสับเปลี่ยนกั นไปในแตละชวงเวลา
แตในบรรดาสไบทั้งหลายสไบปกเปนสไบที่ถือวามี รูปแบบเฉพาะตัวมากที่สุด สไบปก หรือสไบมอญน้ำเค็ม ของชาวมอญสมุทรสาครหรือชุมชนมอญที่อพยพ โยกยายไปจากทางสมุทรสาคร เชน บางกระดี่ บางเลน ไทรนอย ลาดกระบัง และ คลองสิบสี่ มีรูปแบบที่เปนเอกลักษณเฉพาะตัวของทองถิ่นที่สื บทอดตอกันมานับรอยป นับวาเปนงานฝมือของลูกผูหญิงมอญที่มีความละ เอียดออน และตองลงมือทำดวยตนเองทุกคน ทุกครัวเรือน ที่สำคัญตองมีไวอวดฝมือกันดวย เอาไวใชสอยยามออกวัดออกวา และไปงานรื่นเริง สามารถใชไดทั้งชายหญิง
สไบปกของชุมชนมอญบานเกาะสมุทรสาคร 2
ขนาดของผาสไบ ขนาดของผาสไบมีความ กวางประมาณ 50 เซนติเมตร ยาวประมาณ 180-250 เซนติเมตร ขอบสไบเปนลายหยักและปกเ ปนลายดอกพิกุลตลอดทั้งผืน บริเวณกลางผืนผานิยมปกลา ยดอกมะเขือ (ดอกไมหากลีบ) สอดสลับสีสวยงามตัดกับสีพื้ นของผืนผา ที่นิยมสีสดใส เชน แดง สม เขียวตองออน เหลือง ขาว ฟา ชมพู
1.-2 สไบมอญน้ำเค็ม ลายแบบดั้งเดิม 3. ลายดอกมะเขือ เอกลักษณของสไบมอญ 4. รูปหงสนำมาปกแทนสัญลักษณคนมอญ 3
วิธีหมสไบแบบตางๆ สไบมอญมีวิธีหมและการใชงานที่แตกตางกันหลายรูปแบบ เชน การหมเฉียง การคลองคอ การพาดบา คาดเอว
ชาย 1. พาดบาสองดาน 2. หมเฉียง 3. พาดบา
หญิง 1. หมเฉียง 2. คลองคอ 3. พาดไหล
4
การเตรียมวัสดุอุปกรณการปกสไบ 1.ผา เปนผาพื้นสีสดใส เนื้อแนนสวนใหญมักใชผาโทเรเนื้อดี หรือผาไหมอิตาลี ซึ่งจะตองผานการอบและรองผากาวแลว 2.ดายปก ใชดายเอนกประสงค ยี่หอวีนัส เบอร 8 ใชสีตัดกับผาพื้น 2 - 6 สี เนนการจับคูสีตรงขาม 3.สะดึง วัสดุเปนไมหรือพลาสติกก็ได 4.เข็ม กรรไกร หมอนปกเข็ม ดินสอเขียนผา ไมบรรทัด ตัวอยางการจับคูสี ผาและสีดายปก เอกลักษณการใชสีผาและดายปกของสไบมอญ คือการใชคูตรงขามหรือสีตัดกัน โดยผาสไบ 1 ผืน นิยมใชสีประมาณ 3-4 สี
5
ลายพื้นฐานที่นิยมใช ลายดอกจัน
ลายดอกมะเขือ
ลายดอกพิกุล
ขั้นตอนการเตรียมลายและการปก 1.นำผาที่เตรียมไววาดขอบโดยรอบตามแบบ ที่เตรียมไวบนริมผาเพียง 1 ดาน โดยใชดินสอ ปากกา หรือดินสอเขียนผา (ตัดตัวอยางขอบสไบจากคูมือ)
6
2.นำกระดาษตนแบบลายวางบนผาและ ใชดินสอวาดลายตามแบบ เพื่อใหลายติดบนผา
3. ปกลายดอกจันและลายดอกพิกุล ตลอดริมผืนผาดานใดดานหนึ่งเพียงหนึ่งดานเดียว
7
4.เมื่อปกขอบและปกลายดอกจันและลายดอกพิกุลเรียบรอยแลว จากนั้นจึงปกลายดอกมะเขือ หรือดอกไมอื่นๆที่ตรงกลางผืนผา เวนระยะตามความสวยงาม โดยปกตลอดทั้งผืน
5.เมื่อปกลายทั้งหมดเรียบรอยแลว จึงประกบริมผาใหเสมอกันทั้งสองดาน (ดวยการเนา หรือตรึงดวยเข็มหมุด) จากนั้นปกริมผาแบบคัทเวิรค
8
วิธีการปกผาแบบคัทเวิรค -
เริ่มจากจุดที่ 1 แทงเข็มขึ้นมา ดึงดายตวัดปลายเข็ม
-
แทงเข็มลงจุดที่ 2 ใหขึ้นมาจุดที่ 3 ดังภาพ
5.เมื่อปกผาเสร็จเรียบรอยแลวใหตัดขอบผาที่ไมใชออก ตามรอยหยักตลอดริมผืนดวยความระมัดระวัง
9
การเก็บรักษา - ซักดวยน้ำสบู และผึ่งลมใหแหง นำมารีดโดยใชความรอนที่ระดับต่ำ พับเก็บหรือแขวน