CHIANG RAI TRIBAL TRIP

Page 1

CHIANGRAI

TRIBAL TRIP


ชนเผ่ า ในเชี ย งรายมี อ ยู่ ห ลายชนเผ่ า ด้ ว ยกั น แต่ ล ะชนเผ่ า จะมี เ อกลั ก ษณ์ ภาษาวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป แต่ เ พราะอธิ พ ลทางเทคโนโลยี ค วาม ก้าวหน้าทำ�ให้ปจั จุบนั สามารถเห็นการใช้ ชีวิตของแต่ละชนเผ่าได้ยากมาก เพราะ การได้ รั บ อธิ พ ลความทั น สมั ย เข้ า มา ทั้งการแต่งกายแม้แต่ยานพาหนะทำ�ให้ ความเป็นชนบทหายไปโดยสิ้นเชิงผมก็ เลยอยากนำ�เสนอที่ทำ�ให้เห็น ความเป็น อยูใ่ นรูปแบบท่องเทีย่ วซึง่ ทุกคนสามารถ ทำ�ตามผมได้ หนังสือเล่มนี้จัดทำ�ขึ้นโดยนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาเอกการออกแบบ กราฟิกดีไซน์ สำ�นักวิชาคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงรายในรายวิชาการออกแบบ วารสาร (GD3209) ภาคการศึกษา 2/2558 โดยมีอาจารย์ฐานปัทม์ ไชยชม ภูเป็นอาจารย์ประจำ�วิชา

02


สารบัญ 2

ความเป็นมา

4

การแต่งกาย

4

ชนเผ่าลาหู่

6

ชนเผ่าอาข่า

8

ชนเผ่าเย้า

10

ชนเผ่ากรเหรี่ยงหรือปกาเกอะญอ

12

เที่ยวสบายสไตล์ชาวเขา

13

ทัวร์ช้างบ้านรวมมิตร

17

น้ำ�ตกห้วยแม่ซ้าย

20

หมู่บ้านกระเหรี่ยงคอยาว

03


ความเป็นมา

04


1.ชนเผ่าลาหู่ ชาวลาหู่ เ ป็ น กลุ่ ม ชนชาติ โ ลโล ตระกู ล ธิ เ บต-พม่ า คำ � ว่ า ลาหู่ หมายถึ ง ผู้ มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ แ ละมี สัจจะ ช่วงศตวรรษ 18 และ 19 ตั้ง ถิน่ ฐานอยูท่ ี่ ภูเขาโหล่เฮ่ย ทางตะวัน ตกเฉียงใต้ของยูนนาน มีพระเป็น ผู้นำ� จักรพรรดิพยายามแผ่ขยาย อิทธิพลด้านวัฒนธรรมเข้าครอบงำ� ทว่าพระและชาวลาหู้ส่วนใหญ่ต่อ ต้านปฎิเสธจักรพรรติจึงส่งทหาร เข้าปราบปราม ชาวลาหู่ต้านทานไม่

ไหวหนีไปพึง่ พิงชาวละว้าบนภูเขาว้า ช่วงเวลานั้นชาวละว้ามีพิธีกรรมล่า ศรีษะมนุษย์ แต่กย็ กเว้นไม่ลา่ ศีรษะ ชาวลาหู่ โดยถือว่าชาวลาหูเ่ ป็นน้อง ชาวลาหู่ เ ป็ น กลุ่ ม ชาติ พั น ธ์ ที่ มี จำ�นวนประชากรมาก จำ�แนกกลุ่ม ย่อยถึง 23 กลุม่ เฉพาะทีอ่ พยพเข้า มาอยู่ในภาคเหนือตอนบนของไทย มีเพียง 5 กลุม่ ย่อย ตามภาษาทีพ ่ ดู และสีของเสื้อผ้าที่สวมใส่และราว 100 ปีทผี่ า่ นมา ก็ได้ตงั้ บ้านเรือนอยู่ ด้ า นเหนื อ และด้ า นตะวั น ตกของ เชียงราย

2.ชนเผ่าอาข่า อาข่า เป็นกลุ่มย่อยชนชาติโลโล อพยพมาจากแถบหยวนเชียง ซึ่ง อยู่ห่างจากคุนหมิงประมาณ 160 กิ โ ลเมตร เมื่ อ ประมาณปี พ.ศ. 2435 กระจายตั้งถิ่นฐานในรัฐฉาน ทางตะวั นออกของพม่า ในแขวง ห ล ว ง น้ำ � ท า แ ล ะ บ่ อ แ ก้ ว ข อ ง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว และเข้ามาอยู่ในจังหวัดภาค เหนือตอนบนของไทย เมือ่ ประมาณ 90-100 ปีที่ผ่านมา โดยย้ายจาก เชียงตุงมาอยู่ที่ดอยช้างงูหรือดอย

05


สะโง้ ตำ � บลศรี ด อนมู ล ใกล้ สามเหลีย่ มทองคำ� อำ�เภอเชียงแสน ซึง่ เป็นถิน่ ฐานของเผ่าละว้า ผูน้ �ำ ชาว อาข่าจากเชียงตุง คือ แสนอุ่นเรือน ได้พาผู้คนมาตั้งบ้านเรือนบนดอย ตุงหลังแสนอุ่นเรือนเสียชีวิตญาติ พี่น้องได้แยกย้ายกระจายไปอยู่ใน ทีต่ า่ งๆ แสนพรหมน้องชายได้ไปตัง้ หมู่บ้านผามี แสนใจผู้เป็นหลาน นำ� อาข่ า ส่ ว นหนึ่ ง ย้ า ยไปอยู่ ใ นพื้ น ที่ แม่จันส่วนหนึ่งไปอยู่ที่กิ่วสะไต และ ในแนวลำ � น้ำ � กกตอนบน หลั ง ปี พ.ศ. 2492 ชาวอาข่ า บ้ า นลาย

06

อำ�เภอเมืองฮาย ได้อพยพมาอยู่ที่ ต่อมาได้เคลือ่ นย้ายไปอยูท่ เี่ จียงซีก ดอยตุ ง อำ � เภอแม่ จั น จั ง หวั ด วางตุง้ ฮุหนาน กุ้ยโจว ยูนนาน และ เชียงราย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเขต 3.ชนเผ่าเย้า ปกครองตนเองกวางสี-จ้วง นัก ชาวเย้อยู่ในกลุ่มจีน-ธิเบต กลุ่ม ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ระบุว่าเย้า ย่อยชนชาติจีน มีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ กลุ่ ม อิ้ ว เมี่ ย นเคลื่ อ นลงมาสู่ ภ าค ที่ลุ่มน้ำ�แยงซีชาวเย้าแยกเป็นกลุ่ม เหนือของไทยด้านจังหวัดน่าน แต่ เย้าเมี่ยน และกลุ่มเย้ามุน ช่วงหนึ่ง บางส่วนย้ายไปอยู่แม่สลอง อำ�เภอ ถูกปรกครองโดยพระจักรพรรดิที่ แม่ฟ้าหลวง อำ�เภอแม่จัน จังหวง โหดเหี้ยม ได้แบ่งแยกชาวเย้าออก หวัดเชียงราย นั่นเอง จากกัน แล้วขับไล่ให้ขึ้นไปอยู่บน 4.กระเหรี่ยง เทื อ กเขาหนานหลิ ง อั น หนาวเย็ น ชาวกระเหรี่ยงหรือปกาเกอะญอ ต้องเผชิญความทุกยากแสนสาหัส เป็ น ชนชาติ โ ลโลเป็ น ชาติ พั น ะุ์ ท่ มี


จำ�นวนประชากรมากที่สุดในไทย มี ถิน่ ฐานดัง้ เดิมบริเวณด้านตะวันตก ของธิเบต แล้วย้ายเข้ามาตัง้ ถิน่ ฐาน จีนเมื่อ 733 ปี ก่อนพุทธกาล ในปี พ.ศ.207 ชาวกะเหรีย่ งถูกทัพหลวง ของจักรพรรดิจนี รุกราน จึงเคลือ่ น ย้ายลงมาตามลำ�น้�ำ แยงซี แม่น�้ำ โขง และแม่น้ำ�สาละวินในเขตพม่า โดย ส่ ว นใหญ่ เ คลื่ อ นลงไปตั้ ง ถิ่ น ฐาน บริเวณที่ราบลุ่มอุดมสมบูรณ์ของ แม่ น้ำ � อิ ร ะวดี หลั ง จากมอญทำ � สงครามครั้งใหญ่กับพม่า และตก เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ ส่งผลให้ทั้งมอญ

และกะเหรีย่ งจำ�นวนมากอพยพเข้า มาในไทย จนกระทัง้ พ.ศ.2428 ก็ได้ มีการอพยพครั้งใหญ่อีกครั้งโดย จ่อปาละผ่อผูน้ �ำ กระเหรีย่ งทีไ่ ม่ยอม อยูใ่ ต้อ�ำ นาจของอังกฤษ อังกฤษได้ สัง่ ทหารเข้าปราบปราม ชาวกระเหรี่ ยงจำ�นวนมากหนีขา้ มแม่น�้ำ สาละวิน และแม่น�้ำ เมยเข้ามาตัง้ ถืน่ ฐานปะปน กับชาวละว้า บริเวณที่ราบสูงกอง ลอย แม่เหาะ แม่สะเรียง แม่แจ่ม แม่ วาง แม่วิน สันป่าตอง แม่คอง เขียง ดาว ห้วยแก้ว แม่ปิง เมืองน้อย อำ�เภอปายชาวะเหรีย่ งกลุม่ เดียวกับ

ยางคำ�นุได้ข้ามเทือกเขาสันปันน้ำ� มาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่เชียงราย เช่น ที่บ้านห้วยลินลาด ตำ�บลบ้านโป่ง อำ�เภอเวียงป่าเป้าเมือ่ ประมาณ 100 ปี ที่ แ ล้ ว ชาวกระเหรี่ ย งกลุ่ ม นี้ มี ความเชื่อเรื่องผีและศัทธาในพุทธ ศาสนาแรงกล้ า กลุ่ ม ที่ ม าจาก อมก๋ อ ยและแม่ แ จ่ ม ตั้ ง ชุ ม ชนใน พื้นที่แม่สรวย กลุ่มที่มาจากแม่โถ แม่แจ่ม บ่อแก้ว สะเมิง ไปตั้งบ้าน เรือนทีบ่ �้ำ น้�ำ ลัด อำ�เภอเมือง ก่อนจะ แยกย้ า ยไปอยู่ ที่ บ้ า นรวมมิ ต ร นั่นเอง

07


เครื่องแต่งกาย

08


การแต่งกายชนเผ่าลาหู่ จะเด่นของเครื่องแต่งกายจะเป็นคล้ายๆของชุดหม้าฮ่อมของไทยเราและจะมีแถบผ้าสีแดง อาจจะมีตกแต่ง ลวดลายเล็กน้อยผู้ชายจะใส่กางเกงขายางผู้หญิงจะใส่ซิ้นกระโปงผ้าไหม เครื่องประดับจะเป็นแผ่นเงินจะใช้เนื่อง ในโอกาสพิเศษ

09


การแต่งกายชนเผ่าอาข่า การแต่งกายของชนเผ่าอาข่าจะดูอลังการหน่อย เพราะ เครื่องประดับเยอะมากผู้หญิงจะใส่หมวกที่มีรูปร่าง ทรงสามเหลี่ยมแหลมและมีเหรียญเงินห้อยเป็นแนวยาวเรียงกันเป็นแถว สร้ายคอมีหลายรูปแบบหลายสีสรร ห้อยเงินเหมือนหมวก ส่วนชุดจะมีแถบคล้ายๆเผ่าลาหู่แต่สีสรรจะไม่เป็นเฉพาะสีแดง จะใส่กระโปงสั้นช่วงหัว เข่าและจะมีผ้าหุ้มระหว่างเข่าไปถึงเท้ามีลวดลายสีสรรฉุดฉาดสะดุดตา ส่วนผู้ชายจะมีหมวกลวดลายคล้ายๆผู้ หญิงชุดเป็นเสื้อแขนยาวกางเกงสะดอและมีลวดลายเหมือนของผู้หญิง

10


11


12


การแต่งกายชนเผ่าเย้า การแต่งจะออกสไตล์คนจีนยุคเก่าๆ ผู้หญิงจะโพกศรีษะด้วยผ้าสีเข้มเป็นก้อนกลม จะมีลวดลายดอกปัก อยู่ และจะมีผ้าพันคอสีแดงที่มีลักษณะเป็นปุยฝ้าย กางเกงสีดำ�มีลักษณะผืนใหญ่พันรอบเอว มีกำ�ไลข้อมือที่ มีลักษะเป็นเพรชพลอย ส่นผู้ชายบางคนสวมหมวกที่มีจุกสีเข้ม กางเกงเป็นทรงจีน เสื้อแขนยาวผ่าอกป้ายข้าง

13


การแต่งกายชนเผ่ากระเหรี่ยงหรือปกาเกอะญอ การแต่งกายจะเป็นแบบเรียบง่ายจะเน้นไปทางการปักทอลวดลายผ้า ผูห้ ญิงจะใส่ชดุ ทรงกระสอบ เป็นผ้าฝ้าย ที่ปักลวดลายคล้ายๆผ้าฝ้ายของไทยจะนุ้งซิ้น ส่วนคนที่มีครอบครัวแล้วจะเป็นสีแดง ส่วนผู้ชายจะสวมเสื้อตัว ยาวถึงสะโพกตัวเสื้อจะตกแต่งด้วยแทบสีไม่มีการปักลวดลายนุ้งกางเกงสะดอ

14


15


เที่ยวสบายสไตล์ชาวเขา

16


ทัวร์ช้างบ้านรวมมิตร บ้านรวมมิตร ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ�กกฝั่งซ้าย หมู่2ต.แม่ยาวอ.เมือง จ.เชียงราย หมู่บ้านนี้ส่วนใหญ่จะเป็นชนเผ่ากระเหรี่ ยงอาศัยอยูแ่ ละมีหมูบ่ า้ นชนเผ่าอืน่ ๆใกล้เคียงมีขนเผ่า อาข่าและลาหู่ หมูบ่ า้ นรวมมิตรเป็นหมูบ่ า้ นกระเหรีย่ งที่ ได้รบั การพัฒนาคถณภาพโดยใช้แหล่งท่องเทีย่ วจาก องค์กรเอกชนและประสบความสำ�เร็จจากการนำ�ช้าง มาเป็นจุดเด่นในการนำ�พาเที่ยวรอบหมู่บ้าน จนกลาย เป็นชมรมๆหนึง่ ทีม่ กี ฏหลายอย่างเช่น ห้ามทำ�ร้ายช้าง ห้ามขายสุราของมึนเมา ผู้ประกอบการต้องเป็นคนใน หมู่บ้านเท่านั้น เป็นต้น

17


จุ ด เริ่ ม ก็ จ ะอยู่ ที่ ทั ว ร์ ช้ า งโดยจะมี เ คาเตอร์ ใ ห้ ติดต่อก่อนขึ้นช้างค่าใช้จ่ายก็อยู่ที่300ขั้นต่ำ�แล้ว แต่ระยะทางพูดถึงราคา300ก็คือระยะทางเดินน้ำ� กก15นาทีในหมู่บ้านอีก15นาทีระยะเวลาเดินทางก็ อยู่ที่ประมาณชั่วโมงครึ่งโดยช้างส่วนใหญ่จะมาอา ยุราวๆ30ปีมีทั้งเพศผู้เพศเมีย

1.ทางลงส่แม่น้ำ�กกอาจจะดูหวาดเสียวนิดนึง

2.มีบริการถ่ายรูปให้ฟรีด้วย 18

3.จุดนี้จะเป็นที่พักให้อาหารช้าง


6.ระหว่างทางก่อนถึงทัวร์ช้างก็จะเหมือนถนน ทั่วๆไป

5.พอขึ้นมาก็จะเห็นวิวของหมู่บ้านที่เป็นมุมสูง และจะเห็นโบสที่ต้องบนเขาได้ชัดขึ้นชาวบ้านก็มี คุยกับคนขี่ช้างบ้างผมก็ไม่รู้ว่าคุยอะไรกัน

4.พอถึงที่ให้อาหารช้างแล้วจากที่งอแงก็จะกลาย เป็ น ช้ า งที่ แ สนดี ไ ปโดยปริ ย ายตอนนี้ ถึ ง จุ ด ที่ จ ะ ต้องขึ้นไปยังหมู่บ้านรวมมิตร

19


“ช้างเป็นสัตว์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองไทยมายาวนานและ เป็นสัตว์ที่ต่อสู้สงครามทำ�ให้มีแผ่นดินไทยจนถึง ทุกวันนี้” 20


น้ำ�ตกห้วยแม่ซ้าย ต่อจากบ้านรวมมิตรแล้วน้ำ�ตกห้วยแม่ซ้ายเป็นแหล่งท่อง เที่ยวแห่งหนึ่งสำ�หรับคนที่ชื่นชอบการผจญภัยรูปแบบเดิน ป่าเขาที่เต็มไปด้วยชนเผ่าที่มีความสนุกกับการเล่นน้ำ�ตก

21


ทางเดินแคบได้ความรู้สึกเหมือนเดินป่าสำ�ผัสกับอากาศบริสุทธิ์กับ ความเย็นของนำ�้กับเสียงนกสำ�หรับนักท่องเที่ยวที่สนใจ ก็เป็นเส้น ทางเดียวกับทางไปบ้านรวมมิตรห่างจากตัวเมืองเชียงรายประมาน 19 กิโลเมตรเป็นถนนลาดยางจนถึงหมู่บ้านห้วยแม่ซ้ายแล้วต่อด้วยถนน ลูกรังประมาณ3กิโลเมตร ต้นลำ�น้�ำ มาจากลำ�น้�ำ ห้วยแม่ซา้ ย น้�ำ ตกจาก ผามีสองขั้นขั้นแรกสูงประมาน 15 เมตร ชั้นที่สองสูงประมาน 20 เมตร สามารถเดินทางด้วยรถยนต์สว่ นตัว รถโดยสาร แต่ทางเข้าค่อนข่างไกล และทรุกันดารเหมาะกับรถกระบะ ที่ตั้งบ้านห้วยแม่ซ้าย หมู่ที่ 11 ต.แม่ ยาว อ.เมือง จ.เชียงราย

ป้ายนี้คงหมายถึงรักษาผืนป่าก็เหมือนรักษาชีวิต

22


23


หมู่บ้านกระเหรี่ยงคอยาว ต่ อ มาผมจะพาข้ า มฟากมาที่ บ้ า นป่ า อ้ อ ต.นางแล อ.เมือง จ.เชียงราย เป็นสถานที่เกีย วกับการเกษตรเยีย่ มชมวัตรนธรรมและวิถชี วี ติ ของแต่ละชนเผ่าเป็นหมู่บ้านที่รักษาวัฒนธรม เอาไว้ให้ได้ดูได้สัมผัส

24


พู ด ถึ ง กระเหรี่ ย งคอยาวไม่ ใ ช่ เ ผ่ า ปกาเกอะญอ เหมื อ นที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น เผ่ า นี้ จ ะเรี ย กตั ว เองว่ า เผ่ า ประด่องหรือกาเร็นไม่ชอบให้เรียกว่ากระเหรี่ยงเป็น ชนเผ่าที่มีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ที่พม่าจากหลักฐานทาง ประวัตศิ าสตร์เมือ่ ปี ค.ศ. 1955 มีประชาชนชาวประด่อง ประมาณ 25000 คน ประกอบอาชีพเกษตรและล่าสัตว์ เพือ่ การยังชีพแบบดัง้ เดิมจนถึงปัจจุบนั ภายหลังจากที่ เกิดความวุ่นวายในพม่า จนกระทั่งเกิดปัญหาชนกลุ่ม น้อยและมีการดำ�เนินการทหารจากรัฐบาลพม่าเป็น ผลให้ชาวประด่องที่เหลืออยู่แตกกระจายอพยพหลบ หนีไปยังที่ปลอดภัยต่างๆ จนขณะนี้ยังไม่ทราบแน่ชัด

ว่าชุมชนส่วนใหญ่รวมตัวอยู่ที่ใด ทราบเพียงแต่มีชาว ประด่องแยกเป็นหลายกลุ่มเข้าไปรวมอาศัยรวมอยู่ กับชนกลุ่มน้อยของพม่า ที่มีกำ�ลังทหารและสามารถ ดูแลความปลอดภัยได้ จากนั้นปลายปี 2527 ในห้วงที่ กองกำ�ลังพม่าเข้าทำ�การกวาดล้างชนกลุ่มน้อยเผ่าคะ ยา บริเวณพรมแดนไทย-พม่า ตรงกันข้ามพืน้ ทีต่ �ำ บล ผาบ่องและปางหมู อำ�เภอแม่ฮ่องสอน ซึ่งเกิดการสู้รบ ขึน้ ทำ�ให้กลุม่ ผูอ้ พยพชาวพม่าเข้ามาสูป่ ระเทศไทยและ มีชาวประด่องปะปนเข้ามด้วย ส่วนทางประเทศไทยได้ ทำ�การช่วยเหลือ ควบคุมดูแลให้อยู่ในฐานะผู้อพยพ ตามหลักมนุษยธรรมจนกระทั่งปี 2528 สมัยนายคง

25


ศักดิ์ ลิ่วมโนมนต์ เป็นผู้ว่าราชการจังหวัด และมีนโย บายเปิดเมืองแม่ฮ่องสอนสู่การท่องเที่ยวการใส่ห่วง ของชนเผ่า ประด่องจากเมื่อก่อนที่เป็นเผ่าที่ใช้ผู้หญิง ออกไปหาอาหารในป่า เลยใช้ห่วงเหล็กป้องกันไม่ให้ สัตว์ร้าย อย่างเช่นเสือ ทำ�ร้ายได้โดยห่วงจะมีอยู่ที่ ลำ� คอ แขน และขา การใส่ห่วงนั้นจะเริ่มใส่ตอนเมื่อเด็ก มีอายุ 4-5 ขวบ และต้องเป็นเด็กผู้หญิเท่านั้นโดยจะ ใช้หว่ งประมาณ 4-5 ชัน้ ทุกๆ5ปีจะทำ�การถอดห่วงอัน

26

เดิมออกโดยห่วงอันเดิมจะเป็นมรดกตกทอดไปสูร่ นุ่ ต่อ ไปและจะทำ�การเพิม่ ความยาวของห่วงจนครอบ 9 ครัง้ (อายุ45ปี)แต่ละครั้งจะเพิ่มห่วงขึ้น3-5ห่วงแล้วแต่การ ทรุดตัวของกระดูกไหปลาร้าและกระดูกซี่โครง แต่ละ คนร่างกายไม่เหมือนกันห่วงคอทองเหลืองจึงไปกดทับ ไหล่ท�ำ ให้ดคู อยาวเมือ่ ใส่แล้วจะไม่ถอดออกเลยถ้าถอด ออกจะเกิดอาการปวดคอปวดหลัง จึงทำ�ให้ชีวิตของ ชาวปะด่องต้องใส่ห่วงคอ แขน ขา ไปตลอดชีวิต


จะมีเด็กออกมาต้อนรับถ่ายรูปและมีของขายทำ�เอง ของเผ่าประด่องของทีจ่ ะมีประเภทกำ�ไรผ้าฝ้ายทอมือ หุ่นไม้ต่างๆ เด็กๆน่ารักให้การต้อนรับเป็นอย่างดี

27


ข้างในจะมีการแสดงประจำ�เผ่าของเผ่าลาหู่ และ อาข่าเป็นการแสดง เต้นรำ�ประกอบกับเสียงโดนตรีและมีคนร้องเป็นภาษาถิ่นอยู่1คนลา หู่จะเป็นการเต้นคล้ายๆเต้นรอบกลองไฟโดยจะถือเครื่องดนตรีและ เดินเป็นวงกลมตามจังหวะดนตรีที่เล่นส่วนเผ่าอาข่าจะให้ผู้หญิงถือไม้ คล้ายๆเป็นเครือ่ งเคาะจังหว่ะละก็ผชู้ ายจะเล่นดนตรีประเภทเครือ่ งเป่า ฆ้อง อยู่ด้านหลังและจะมีผู้อาวุโสเป็นคนร้องนำ�

28


ขอขอบคุณสถานที่ แหล่งข้อมูล และภาพ

สวนตุงและโคมเชียงราย ถ.ธนาลัย (เยื้องพิพิธภัณฑ์ชาวเขา) ต.เวียง อ.เมือง จ.เชียงราย บ้านรวมมิตร หมู่ 2 ต.แม่ยาว อ.เมือง จ.เชียงราย น้ำ�ตกห้วยแม่ซ้าย หมู่บ้านกระเหรี่ยง บ้านป่าอ้อ ต.นางแล อ.เมือง จ.เชียงราย 29


มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เลขที่ 80 หมูท่ ี่ 9 ถนนพหลโยธิน อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 โทร 0 5377 6000 - 5, แฟกซ์ 0 5377 6001 Copyright © Chiang Rai Rajabhat University All Right Reserved. power by Office of Organization Communication 30


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.