นอกจากที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีนักลงทุนไทยไปลงทุนในกัมพูชา ในหลายประเภทธุรกิจ ได้แก่
5.2
ป ต ท . ใ น น า ม PTT (Cambodia) Limited. บริ ษัทซีเมนต์ไทย จ ากัด และบริ ษัทใน เครื อ โรงงานปู น ซี เ มนต์ Kampot Cement (K. Cement Brand) ใ น จังหวัดกัมปอต โรงงานผลิตซีเมนต์ผสม สาเร็จรูป (Mixed Cement Plant) และ โรงงานผลิตซีเมนต์บล็อก CPAC Monier การปลู ก ยู ค าลิ ป ตั ส เพื่ อ ท ากระดาษใน
นามบริ ษั ท CPAC Agro Industry การ ผลิตผลิตกระเบื้องมุงหลั งคาของบริษั ท CPAC Monier แ ล ะ SCG Trading (Cambodia) Co., Ltd. โรงงานผลิ ต น้ าดื่ ม ยี่ ห้ อ LYYON ของ กลุ่ ม บริ ษั ท ไทยนครพั ฒ นา ในนาม บริษัท Cambodia Development เป็น ต้น
จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ของกัมพูชา
ปั จ จุ บั น กัมพูช ากาหนดนโยบายเศรษฐกิจที่มี เป้ า หมายเพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า นการเกษตร อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว โดยส่งเสริมการ ลงทุนจากต่างชาติ ผ่านการดาเนินมาตรการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายให้เอื้ออานวยต่อธุรกิจของ ภาคเอกชน การปรับปรุงสิทธิประโยชน์ที่ให้แก่นัก ลงทุนต่างชาติ การปฏิรูประบบการจัดเก็บภาษีเงิน ได้ การเร่ ง รั ด พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานและ
สาธารณู ป โภค โดย ได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ จาก กองทุนการเงินระหว่า งประเทศ (IMF) ธนาคาร เพื่อการพัฒ นาแห่ งเอเชี ย (ADB) และ โครงการ พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) รวมทั้งประเทศ ผู้ บริจาคอื่นๆ ดังนั้ นเมื่อพิจารณาถึงจุดอ่ อน จุด แข็ง โอกาส และอุปสรรคของกัมพูชา ที่รองรับการ ลงทุนทั้งจากของไทยและนานาประเทศ มีดังนี้
Page | 3
จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ของกัมพูชา
จุดแข็ง
จุดอ่อน
โอกาส
การเมืองของกัมพูชามีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ ผู้บริหารประเทศมีอานาจและสามารถ ตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายของประเทศในด้านต่างๆ ได้อย่างเป็นเอกภาพ กัมพูชามีความสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติ เช่น มีป่าไม้ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ประมาณ ร้ อยละ 50 ของพื้น ที่ของประเทศ นอกจากนี้ยังมีสิ นแร่ต่างๆ จานวนมาก อาทิ ทอง ทองแดง แร่เหล็ก แมงกานิส ถ่านหิน ดีบุก ตะกั่ว ฯลฯ รวมทั้งกัมพูชามีแนวชายฝั่งทะเล ทางอ่าวไทยซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์น้าชุกชุม และมีแหล่งน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ กัมพูชาได้รับสิทธิพิเศษต่างๆจากนานาประเทศในฐานะประเทศพัฒนาน้อยที่สุด อาทิ GSP จาก สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สแกนดิเนเวียแคนาดาและออสเตรเลีย ทาให้ สินค้าส่งออกกัมพูชามีความได้เปรียบในการแข่งขันด้านราคา และปัจจัยที่ช่วยดึงดูดการ ลงทุนต่างชาติในการผลิตเพื่อส่งออกไปยังประเทศพัฒนาแล้วดังกล่าว มีแรงงานจานวนมาก จานวนประชากรวัยทางานประมาณร้อยละ 60 เหมาะแก่การลงทุน ในอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น เช่น เสื้อผ้า สิ่งทอ รองเท้า และอุตสาหกรรมเกษตร ฯลฯ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ ILO ประเมินว่าในปี 2019 กัมพูชา จะมีอัตราการ ว่างงานเพียงร้อยละ 0.7 มีโครงการสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้า ที่จังหวัดเกาะกง เป็นการลงทุนของจีน ซึ่งจะช่วยลด ต้นทุนค่าไฟฟ้าต่อหน่วย ยังไม่มีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค โดยต้องพึ่งพาความช่วยเหลือ จากต่างประเทศในการพัฒนา ส่งผลให้ต้นทุนโลจิสติกส์สูง แรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงานไร้ฝีมือ ขาดแคลนแรงงานฝีมือและบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการทาธุรกิจต่างประเทศ ผู้ประกอบการท้องถิ่นของกัมพูชายังขาดองค์ความรู้ (Knowhow) และความสามารถใน การบริหารจัดการ มีการลักลอบทาการค้าผิดกฎหมาย เช่น อัญมณี ไม้ รวมถึงสินค้าเกษตร ใช้กัมพูชาเป็นฐานการผลิตเพื่อส่งออกไปยังประเทศพัฒนาแล้วเพื่อใช้ประโยชน์จากสิทธิ พิเศษ เช่น GSP รวมถึงการส่งออกไปยังเวียดนามและจีนซึ่งเป็น ตลาดที่มีศักยภาพ ขยายตัวสูงจากจานวนประชากรและกลุ่มคนที่มีรายได้ระดับปานกลางในสัดส่วนเพิ่มขึ้น ศักยภาพของตลาดภายในประเทศที่มีการขยายตัวสูงอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการขยายตัว ของการลงทุนจากต่างชาติและของรัฐบาลในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจขยายตัวร้อยละ 7 อัตราเงินเฟ้อค่อนข้างต่า (น้อยกว่าร้อยละ 5) อัตรา แลกเปลี่ยนค่อนข้างคงที่ (1 ดอลลาร์สหรัฐ = 4000 5%) ตั้งอยู่บนเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจที่สาคัญ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง คือ Southern Economic Corridors ซึ่งถือเป็นแนวพื้นที่เศรษฐกิจที่มีโอกาสขยายตัวสูง การท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง เช่น โรงแรม ร้านอาหาร มีการขยายตัวสูงจาก การมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมค่อนข้างมาก
Page | 4
จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ของกัมพูชา
อุปสรรค
มีแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้าจืดขนาดใหญ่ คือ ตนเลสาบ ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากกรุงพนมเปญ ประมาณ 100 กม.ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด และมีพันธุ์ปลามากกว่า 300 ชนิด รัฐบาลกัมพูชามีนโยบายชัดเจนในการพัฒนาข้าว ภายใต้ “Rice – White Gold” โดย ตั้งเป้าหมายเป็นผู้ส่งออกข้าวรายสาคัญของโลก ปี 2558 ระบบการเงิน การธนาคาร รวมถึงระบบศาล ยังต้องพัฒนาให้ได้รับความน่าเชื่อถือมากขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบบ่อยครั้ง การปฏิรูปกฎหมายและกฎระเบียบดาเนินไปอย่าง ล่าช้า พึ่งพาเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศเป็นอย่างมากในการพัฒนาประเทศ ระบบการคมนาคมและสาธารณูปโภคยังไม่มีประสิทธิภาพและขาดแคลน ทาให้การ ติดต่อสื่อสาร และการคมนาคมเป็นไปอย่างล่าช้า ยังมีการคอรัปชั่น ทั้งยังมีการเก็บค่าธรรมเนียมอย่างไม่เป็นทางการในการขนส่ง ภายในประเทศ ณ จุดต่างๆ ทาให้ต้นทุนในการทาธุรกิจสูงขึ้น
Page | 5